128
1 ๑.๑ ๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑ ชชชชชชชชชชชช ชชชชชชชชช ชชชชชชช(ชชชชชช/ชชช/ชชช) 292 ชชช ชชชชชชช 35 ชชช ชชชชชชชช 77 ชชชช ชชชชชชช ชชช ชชชชชชช ชชชชชชชชชชชชช ชชชชชชชช/ชชชชชช 02-321- 2684 e-Mail [email protected] Website http://203.155.220.242/watpakbor ชชชชชชชชชชชชชชชช ชชชชชช 1 ชชชชชชชชชชชช ชชชชชชชชชชชชชชช 3 ๑.๑ ๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑ ช) ชชชชชชชชชชชชช ช) ชชชช ชชช ชชชชช ชชชชชชชชชชชชชชชช ชชชชชช/ชชชชชชชช ชชชชชชชชชชชชช ชชช ชชชช ชชชช ชชชชชช ชชช ชชชชช ชชชช ชชชชช ชชช ชชชชช ชชชช 1. ชชชชชชชชชชชชช ชชชชช - ชชชชชชชชชชชช - - 1 - 1 - ชชชชชชชชชชชช ชชช - - 3 - 3 ชชช - - 4 - 4 ๑๑๑๑๑๑๑ ๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑ ชชชชชชช ชชช ชชชชชช ชชช ชชช ชชช ชชชช ชชชชชชช ชชชชช ชชชชชชชชชช ชช 60 4 67 16

203.155.220.242203.155.220.242/watpakbor/images/Activitys/SAR2560.docx · Web viewส วนท ๑ ข อม ลพ นฐานของสถานศ กษา ๑.๑ ข อม

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

๔๔

ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา

๑.๑ ข้อมูลทั่วไป

ชื่อโรงเรียน วัดปากบ่อ ที่ตั้ง(เลขที่/ซอย/ถนน) 292 ซอย อ่อนนุช 35 ถนน สุขุมวิท 77 แขวง อ่อนนุชเขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์/โทรสาร02-321-2684 e-Mail [email protected] Website http://203.155.220.242/watpakbor เปิดสอนระดับชั้น อนุบาล 1 ถึงระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3

๑.๒ ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา

๑) จำนวนบุคลากร

บุคลากร

ผู้บริหาร

ครูผู้สอน

เจ้าหน้าที่อื่นๆ

ปีการศึกษา ๒๕60

4

67

16

๒) วุฒิการศึกษาสูงสุดของบุคลากร

ประเภท/ตำแหน่ง

จำนวนบุคลากร

รวม

ต่ำกว่าปริญญาตรี

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

1. ผู้บริหารสถานศึกษา

- ผู้อำนวยการ

-

-

1

-

1

- รองผู้อำนวยการ

-

-

3

-

3

รวม

-

-

4

-

4

2. ผู้สอนระดับประถมศึกษา/หรือมัธยมศึกษา

- ครูระดับอนุบาล

-

1

2

-

3

- ครูระดับประถมศึกษา

-

28

12

-

40

- ครูระดับมัธยมศึกษา

-

11

13

-

24

รวม

-

40

27

-

67

3. บุคลากรสายสนับสนุน

- เจ้าหน้าที่ธุรการ

-

1

-

-

1

- เจ้าหน้าที่การเงิน

-

1

-

-

1

- ลูกจ้างประจำ

5

-

-

-

5

- ลูกจ้างชั่วคราว

3

-

-

-

3

- ครูพี่เลี้ยง

4

1

-

-

5

- พนักงานทำความสะอาด

1

-

-

-

1

รวม

13

3

-

-

16

รวมทั้งสิ้น

13

43

31

-

87

คิดเป็นร้อยละ

14.94

49.43

35.63

0

100

๓) สาขาวิชาที่จบการศึกษาและภาระงานสอน

สาขาวิชา

จำนวน (คน)

ภาระงานสอนเฉลี่ยของครู ๑ คน ต่อสัปดาห์

ภาษาไทย

6

21

คณิตศาสตร์

7

21

ภาษาอังกฤษ

6

20

การประถมศึกษา

4

16

นาฏศิลป์ไทยศึกษา

1

18

ดนตรีศึกษา

1

18

ประวัติศาสตร์

1

19

คหกรรม

2

19

สังคมศึกษา

5

24

บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์

1

16

สุขศึกษา

2

20

ชีววิทยาประยุกต์

1

18

จิตวิทยาแนะแนว

3

22

พลศึกษา

4

19

การศึกษาพิเศษ

3

30

การวัดและประเมินทางการศึกษา/วัดผลทางการศึกษา

2

22

เคมี

2

22

เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

2

22

วิทยาศาสตร์ทั่วไป

1

22

คอมพิวเตอร์

1

18

วิทยาการคอมพิวเตอร์

1

23

ฟิสิกส์

2

23

สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา

1

18

วิทยาศาสตร์(ชีววิทยา)

1

23

ศิลปะ

1

24

รัฐศาสตร์

1

27

นาฏศิลป์

1

20

ผ้าและเครื่องแต่งกาย

1

24

การศึกษาปฐมวัย

3

25

รวมทั้งสิ้น

67

21

๑.๓ ข้อมูลนักเรียน

จำนวนนักเรียนปีการศึกษา ๒๕60 รวม 1,497 คน

จำนวนนักเรียนระดับชั้นอนุบาล 1 ถึง มัธยมศึกษาปีที่ 3

ปีการศึกษา/ระดับชั้น

พ.ศ.๒๕59

พ.ศ.๒๕60

ชาย

หญิง

รวม

ชาย

หญิง

รวม

อนุบาล ๑

40

31

71

37

36

73

อนุบาล ๒

46

37

83

46

35

81

ประถมศึกษาปีที่ ๑

64

55

119

72

66

138

ประถมศึกษาปีที่ ๒

64

65

129

58

58

116

ประถมศึกษาปีที่ ๓

65

76

141

65

74

139

ประถมศึกษาปีที่ ๔

79

43

122

73

74

147

ประถมศึกษาปีที่ ๕

83

58

141

78

49

127

ประถมศึกษาปีที่ ๖

81

71

152

80

60

140

มัธยมศึกษาปีที่ ๑

120

59

179

110

82

๑๙๒

มัธยมศึกษาปีที่ ๒

104

97

201

112

57

169

มัธยมศึกษาปีที่ ๓

96

70

166

86

89

175

รวม

842

662

1504

๘๑๗

๖๘๐

๑๔๙๗

๑.๔ ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา

ระดับการศึกษา : ปฐมวัย

ผลพัฒนาการนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1

พัฒนาการด้าน

จำนวนเด็กที่ประเมิน

จำนวนของเด็กตามระดับคุณภาพ

ดี

พอใช้

ปรับปรุง

๑.ด้านร่างกาย

67

61

6

0

๒.ด้านอารมณ์-จิตใจ

67

40

21

6

๓.ด้านสังคม

67

63

4

0

๔.ด้านสติปัญญา

67

63

4

0

ผลพัฒนาการนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2

พัฒนาการด้าน

จำนวนเด็กที่ประเมิน

จำนวนของเด็กตามระดับคุณภาพ

ดี

พอใช้

ปรับปรุง

๑.ด้านร่างกาย

80

66

12

2

๒.ด้านอารมณ์-จิตใจ

80

45

22

13

๓.ด้านสังคม

80

71

7

2

๔.ด้านสติปัญญา

80

77

2

1

ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน : ประถมศึกษา-มัธยมศึกษา

กลุ่มสาระการเรียนรู้

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

จำนวน นร.

ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

ร้อยละ นร.

ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

จำนวน

ที่เข้าสอบ

จำนวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้

๑.๕

๒.๕

๓.๕

ภาษาไทย

132

11

0

7

10

21

28

14

41

83

62.88

คณิตศาสตร์

132

9

2

6

4

8

19

17

67

103

78.03

วิทยาศาสตร์

132

7

1

6

5

8

21

25

59

105

79.55

สังคมศึกษา ฯ

132

5

2

2

6

12

21

31

53

105

79.55

ประวัติศาสตร์

132

5

4

3

7

14

26

24

49

99

75

สุขศึกษาและพลศึกษา

132

5

1

5

4

10

24

28

55

107

81.06

ศิลปะ

132

3

1

1

4

9

21

39

54

114

86.36

การงานอาชีพฯ

132

4

5

6

3

4

22

19

69

110

83.33

ภาษาต่างประเทศ

132

6

4

9

16

9

18

17

53

88

66.67

รายวิชาเพิ่มเติม

หน้าที่พลเมือง

132

3

5

2

3

8

31

33

47

111

84.09

กลุ่มสาระการเรียนรู้

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

จำนวน นร.

ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

ร้อยละ นร.

ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

จำนวน

ที่เข้าสอบ

จำนวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้

๑.๕

๒.๕

๓.๕

ภาษาไทย

106

0

5

1

12

13

29

19

27

75

70.75

คณิตศาสตร์

106

0

2

7

10

14

11

19

43

73

68.87

วิทยาศาสตร์

106

0

0

0

1

6

23

26

50

86

81.13

สังคมศึกษา ฯ

106

0

1

0

5

12

25

24

39

88

83.02

ประวัติศาสตร์

106

0

0

2

4

19

26

23

32

81

76.42

สุขศึกษาและพลศึกษา

106

0

0

0

0

4

17

25

60

102

96.23

ศิลปะ

106

0

0

0

0

7

29

28

42

99

93.4

การงานอาชีพฯ

106

0

0

1

3

9

15

27

51

93

87.74

ภาษาต่างประเทศ

106

0

1

1

12

15

16

13

48

77

72.64

รายวิชาเพิ่มเติม

หน้าที่พลเมือง

106

0

0

1

4

2

25

22

52

99

93.40

กลุ่มสาระการเรียนรู้

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

จำนวน นร.

ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

ร้อยละ นร.

ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

จำนวน

ที่เข้าสอบ

จำนวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้

๑.๕

๒.๕

๓.๕

ภาษาไทย

138

0

5

3

14

22

28

20

46

94

68.12

คณิตศาสตร์

138

0

4

2

6

19

29

24

54

107

77.54

วิทยาศาสตร์

138

0

6

4

19

10

41

31

27

99

71.74

สังคมศึกษา ฯ

138

0

5

4

14

15

46

24

30

100

72.46

ประวัติศาสตร์

138

0

4

3

12

16

44

26

33

103

74.64

สุขศึกษาและพลศึกษา

138

0

5

1

0

9

24

37

62

123

89.13

ศิลปะ

138

0

2

2

2

12

33

35

52

120

86.96

การงานอาชีพฯ

138

0

4

3

8

21

33

23

46

102

73.91

ภาษาต่างประเทศ

138

0

1

4

14

9

30

29

51

110

79.71

รายวิชาเพิ่มเติม

หน้าที่พลเมือง

138

0

3

1

5

16

25

34

52

111

80.43

กลุ่มสาระการเรียนรู้

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

จำนวน นร.

ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

ร้อยละ นร.

ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

จำนวน

ที่เข้าสอบ

จำนวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้

๑.๕

๒.๕

๓.๕

ภาษาไทย

135

0

1

7

8

25

33

27

34

94

69.63

คณิตศาสตร์

135

0

0

5

19

21

31

21

38

90

66.67

วิทยาศาสตร์

135

0

0

0

3

17

33

35

47

115

85.19

สังคมศึกษา ฯ

135

0

4

10

10

25

28

30

28

86

63.70

ประวัติศาสตร์

135

0

0

6

8

31

29

25

36

90

66.67

สุขศึกษาและพลศึกษา

135

0

4

3

9

5

13

26

75

114

84.44

ศิลปะ

135

0

1

6

13

29

31

31

24

86

63.70

การงานอาชีพฯ

135

0

0

4

11

10

26

25

59

110

81.48

ภาษาต่างประเทศ

135

0

6

4

10

10

20

29

56

105

77.78

รายวิชาเพิ่มเติม

หน้าที่พลเมือง

135

0

1

6

21

25

22

30

30

82

60.74

กลุ่มสาระการเรียนรู้

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

จำนวน นร.

ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

ร้อยละ นร.

ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

จำนวน

ที่เข้าสอบ

จำนวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้

๑.๕

๒.๕

๓.๕

ภาษาไทย

124

0

2

6

12

14

13

35

42

90

72.58

คณิตศาสตร์

124

0

6

6

8

19

28

24

33

85

68.55

วิทยาศาสตร์

124

0

1

10

12

8

28

32

33

93

75

สังคมศึกษา ฯ

124

1

2

13

20

18

22

28

20

70

56.45

ประวัติศาสตร์

124

0

1

9

16

20

31

36

11

78

62.90

สุขศึกษาและพลศึกษา

124

0

2

2

6

6

21

33

54

108

87.10

ศิลปะ

124

0

0

6

7

26

36

33

16

85

68.55

การงานอาชีพฯ

124

0

0

2

8

9

31

35

39

105

84.68

ภาษาต่างประเทศ

124

0

6

3

18

20

21

14

42

77

62.10

หน้าที่พลเมือง

124

0

4

18

20

28

21

17

16

54

43.55

กลุ่มสาระการเรียนรู้

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

จำนวน นร.

ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

ร้อยละ นร.

ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

จำนวน

ที่เข้าสอบ

จำนวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้

๑.๕

๒.๕

๓.๕

ภาษาไทย

136

0

7

9

12

6

41

29

32

102

75

คณิตศาสตร์

136

0

21

18

19

21

39

8

10

57

41.91

วิทยาศาสตร์

136

0

0

2

12

10

33

21

58

112

82.35

สังคมศึกษา ฯ

136

0

0

2

20

35

21

21

37

79

58.09

ประวัติศาสตร์

136

0

0

0

7

19

20

24

66

110

80.88

สุขศึกษาและพลศึกษา

136

0

0

0

11

21

21

31

52

104

76.47

ศิลปะ

136

0

22

32

24

16

13

19

10

42

30.88

การงานอาชีพฯ

136

0

0

1

6

19

36

38

36

110

80.88

ภาษาต่างประเทศ

136

0

5

6

11

28

28

20

38

86

63.24

หน้าที่พลเมือง

136

0

0

0

5

42

24

21

44

89

65.44

กลุ่มสาระการเรียนรู้

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1

จำนวน นร.

ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

ร้อยละ นร.

ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

จำนวน

ที่เข้าสอบ

จำนวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้

๑.๕

๒.๕

๓.๕

ภาษาไทย

194

3

1

9

24

42

38

37

40

115

59.28

คณิตศาสตร์

194

3

62

28

20

18

18

20

25

63

32.47

วิทยาศาสตร์

194

3

34

20

35

37

38

16

11

65

33.51

สังคมศึกษา ฯ

194

3

2

1

12

36

79

37

24

140

72.14

ประวัติศาสตร์

194

3

5

4

21

70

46

23

22

91

46.91

สุขศึกษาและพลศึกษา

194

3

8

10

8

20

23

26

96

145

74.74

ศิลปะ

194

3

23

15

21

37

50

25

20

95

48.97

การงานอาชีพฯ

194

3

16

4

18

20

29

34

70

133

68.56

ภาษาต่างประเทศ

194

3

8

17

58

48

36

14

10

60

30.93

การอ่านเชิงสร้างสรรค์

194

2

12

23

53

55

23

14

12

49

25.26

คณิตศาสตร์ประยุกต์

194

6

15

43

47

34

23

13

13

49

25.26

หน้าที่พลเมือง

194

4

17

13

17

24

24

25

70

119

61.34

ภาษาจีน

194

0

2

17

12

28

31

48

56

135

69.59

กลุ่มสาระการเรียนรู้

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2

จำนวน นร.

ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

ร้อยละ นร.

ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

จำนวน

ที่เข้าสอบ

จำนวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้

๑.๕

๒.๕

๓.๕

ภาษาไทย

191

5

9

15

37

45

37

17

26

80

41.88

คณิตศาสตร์

191

5

64

30

26

18

13

13

22

48

25.13

วิทยาศาสตร์

191

5

23

15

20

25

47

30

26

103

53.93

สังคมศึกษา ฯ

191

5

21

19

41

44

36

8

17

61

31.94

ประวัติศาสตร์

191

5

31

15

48

29

28

14

21

63

32.98

สุขศึกษาและพลศึกษา

191

5

5

13

23

40

51

32

22

105

54.97

ศิลปะ

191

5

27

17

29

34

34

21

24

79

41.36

การงานอาชีพฯ

191

5

21

11

20

25

42

41

26

109

57.07

ภาษาต่างประเทศ

191

5

35

29

39

29

18

21

15

54

28.27

รายวิชาเพิ่มเติม

การอ่านเชิงสร้างสรรค์

191

8

22

44

37

38

20

15

7

42

21.99

คณิตศาสตร์ประยุกต์

191

1

50

26

27

25

22

15

25

62

32.46

หน้าที่พลเมือง

191

0

15

20

26

28

39

24

39

102

53.40

ภาษาจีน

191

0

12

23

14

38

43

16

45

104

54.45

กลุ่มสาระการเรียนรู้

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1

จำนวน นร.

ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

ร้อยละ นร.

ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

จำนวน

ที่เข้าสอบ

จำนวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้

๑.๕

๒.๕

๓.๕

ภาษาไทย

159

0

18

16

58

37

17

7

6

30

18.87

คณิตศาสตร์

159

0

38

24

30

16

10

14

27

51

32.08

วิทยาศาสตร์

159

0

43

28

28

18

25

9

8

42

26.42

สังคมศึกษา ฯ

159

0

37

19

33

19

25

18

8

51

32.08

ประวัติศาสตร์

159

0

33

19

47

26

14

10

10

34

21.38

สุขศึกษาและพลศึกษา

159

0

22

16

19

23

20

21

38

79

49.69

ศิลปะ

159

0

45

19

19

18

39

12

7

58

36.48

การงานอาชีพฯ

159

0

39

23

27

15

24

10

21

55

34.59

ภาษาต่างประเทศ

159

0

17

29

34

23

27

14

15

56

35.22

เสวนาพาที

159

23

2

0

21

52

32

16

13

61

38.36

คณิตศาสตร์ประยุกต์

159

3

9

10

28

22

31

37

19

87

54.72

หน้าที่พลเมือง

159

2

33

12

15

10

15

20

52

87

54.72

ภาษาจีน

159

1

29

17

10

12

18

15

57

90

56.60

กลุ่มสาระการเรียนรู้

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2

จำนวน นร.

ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

ร้อยละ นร.

ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

จำนวน

ที่เข้าสอบ

จำนวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้

๑.๕

๒.๕

๓.๕

ภาษาไทย

147

0

9

6

40

35

36

11

10

57

38.78

คณิตศาสตร์

147

0

23

45

19

21

14

10

15

39

26.53

วิทยาศาสตร์

147

0

8

18

39

38

21

15

8

44

29.93

สังคมศึกษา ฯ

147

0

36

17

28

16

22

21

7

50

34.01

ประวัติศาสตร์

147

0

34

16

18

17

17

11

34

62

42.18

สุขศึกษาและพลศึกษา

147

0

1

2

10

26

26

29

53

108

73.47

ศิลปะ

147

0

40

21

29

15

22

10

10

42

28.57

การงานอาชีพฯ

147

0

47

13

15

12

14

19

27

60

40.82

ภาษาต่างประเทศ

147

0

44

24

36

26

7

3

7

17

11.56

เสวนาพาที

147

6

3

3

12

32

46

23

22

91

61.90

คณิตศาสตร์ประยุกต์

147

3

20

45

19

21

14

10

15

39

26.53

หน้าที่พลเมือง

147

3

13

11

25

26

32

16

21

69

46.94

ภาษาจีน

147

2

14

10

20

14

42

26

19

87

59.18

กลุ่มสาระการเรียนรู้

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1

จำนวน นร.

ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

ร้อยละ นร.

ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

จำนวน

ที่เข้าสอบ

จำนวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้

๑.๕

๒.๕

๓.๕

ภาษาไทย

171

4

27

23

31

26

34

12

14

60

35.09

คณิตศาสตร์

171

4

53

33

20

26

16

8

11

35

20.47

วิทยาศาสตร์

171

3

30

15

29

25

39

16

14

69

40.35

สังคมศึกษา ฯ

171

6

35

29

36

26

22

7

10

39

22.81

ประวัติศาสตร์

171

4

40

29

31

21

24

11

11

46

26.90

สุขศึกษาและพลศึกษา

171

3

5

5

22

14

20

23

79

122

71.35

ศิลปะ

171

3

47

26

29

31

23

8

4

35

20.47

การงานอาชีพฯ

171

5

22

25

26

32

31

19

11

61

35.67

ภาษาต่างประเทศ

171

2

43

25

28

21

30

7

15

52

30.41

การเขียนเชิงสร้างสรรค์

171

17

20

13

23

29

26

24

19

72

42.11

คณิตศาสตร์ประยุกต์

171

48

18

14

18

15

13

15

30

58

33.92

หน้าที่พลเมือง

171

0

10

5

19

13

22

20

82

124

72.51

ภาษาจีน

171

0

20

12

9

6

18

18

88

124

72.51

กลุ่มสาระการเรียนรู้

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2

จำนวน นร.

ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

ร้อยละ นร.

ที่ได้ระดับ ๓ ขึ้นไป

จำนวน

ที่เข้าสอบ

จำนวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้

๑.๕

๒.๕

๓.๕

ภาษาไทย

163

3

32

10

25

30

29

25

9

63

38.84

คณิตศาสตร์

163

8

44

20

27

14

17

13

20

50

30.67

วิทยาศาสตร์

163

4

13

13

21

32

32

22

26

80

49.08

สังคมศึกษา ฯ

163

2

17

34

34

33

26

8

9

43

26.38

ประวัติศาสตร์

163

3

49

37

33

25

11

2

3

16

9.82

สุขศึกษาและพลศึกษา

163

1

0

5

6

15

16

41

79

136

83.44

ศิลปะ

163

1

5

7

14

25

37

36

38

111

68.10

การงานอาชีพฯ

163

0

13

2

10

11

28

33

66

127

77.91

ภาษาต่างประเทศ

163

2

19

18

40

24

30

10

20

60

36.81

การเขียนเชิงสร้างสรรค์

163

4

28

16

25

41

28

18

3

49

30.06

คณิตศาสตร์ประยุกต์

163

6

14

16

10

31

30

20

36

86

52.76

หน้าที่พลเมือง

163

0

10

4

16

23

44

34

32

110

67.48

ภาษาจีน

163

0

5

9

8

23

42

39

37

118

72.39

1.5 ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test: NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

1) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ประจําปีการศึกษา ๒๕60

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓

ด้าน

ค่าเฉลี่ยร้อยละจำแนกตามระดับ

หมายเหตุ

โรงเรียน

ประเทศ

ด้านภาษา

55.00

52.67

ด้านคำนวณ

32.32

37.75

ด้านเหตุผล

50.22

45.31

รวมความสามารถทั้ง 3 ด้าน

45.85

45.25

๒) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ประจำปีการศึกษา ๒๕๕9 - ๒๕60 โดย

- เปรียบเทียบภาพรวมผลและจำแนกตามระดับคุณภาพของการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ปี ๒๕๕9 กับ ปี ๒๕60

ด้าน

ค่าเฉลี่ยร้อยละจำแนกตามปีการศึกษา

หมายเหตุ

2559

2560

ด้านภาษา

50.97

55.00

ด้านคำนวณ

29.67

32.32

ด้านเหตุผล

52.67

50.22

รวมความสามารถทั้ง 3 ด้าน

44.44

45.85

๑.6 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)

1. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ประจำปีการศึกษา ๒๕60 ทุกระดับชั้นที่มีการทดสอบ

กลุ่มสาระการเรียนรู้

ระดับชั้น

หมายเหตุ

ป. 6

ม. 3

ภาษาไทย

48.09

56.54

คณิตศาสตร์

35.04

25.38

วิทยาศาสตร์

40.84

33.54

ภาษาอังกฤษ

31.87

28.07

๒. เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา ๒๕๕9 – ๒๕60

กลุ่มสาระการเรียนรู้

ป.6

ม.3

หมายเหตุ

2559

2560

2559

2560

ภาษาไทย

55.02

48.09

50.29

56.54

คณิตศาสตร์

34.51

35.04

30.62

25.38

วิทยาศาสตร์

39.91

40.84

37.17

33.54

ภาษาอังกฤษ

29.05

31.87

27.72

28.07

๑.๗ ข้อมูลการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน ปีการศึกษา ๒๕60

1.7.1แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน

ชื่อแหล่งเรียนรู้

สถิติการใช้จำนวนครั้ง/ปี

1. สวนสุขภาพ

200

2. ระบบนิเวศน้ำพุ

250

3. ห้องเรียน OCC

300

4. เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ

300

5. ภูมิปัญญาท้องถิ่นและพืชผักสวนครัว

300

6 ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์

400

7. สำนวนไทยน่ารู้

350

8. สหกรณ์

350

9. สนามกีฬาฟุตซอล

400

10. ห้องเรียนนาฏศิลป์

300

11. ห้องคอมพิวเตอร์

400

12. ห้องวิทยาศาสตร์

350

1๓. ผักไฮโดรโปนิกส์

300

14. ระบบนิเวศน์สวนสมุนไพร

300

15. พรรณไม้น้ำงามตา ปลาสวยงาม

300

16. คัดแยกขยะ

300

17. ห้องสมุด

400

18. ธนาคารโรงเรียนวัดปากบ่อ

300

19. การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ

300

20.บ้านหนังสือชุมชนหลังวัดปากบ่อ

150

1.7.2 แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน

ชื่อแหล่งเรียนรู้

สถิติการใช้จำนวนครั้ง/ปี

1. วัดปากบ่อ

150

2. มัสยิดอัลกุ๊บลอ

150

3. มัสยิดอัลเอี๊ยะติซอม

150

4. บ้านหนังสือชุมชนอัลกุ๊บลอ

150

5 ศูนย์กีฬาปานเหล็ง

70

9. ท้องฟ้าจำลอง

1

10. สระว่ายน้ำศูนย์เยาวชนอ่อนนุช

28

11. มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ อิมแพคเมืองทองธานี

1

๑.8 ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนปีการศึกษา ๒๕60

1.8.1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

กิจกรรม

จำนวนนักเรียนจำแนกตามผลการประเมิน

รวม

ร้อยละของนักเรียนที่ผ่าน

ผ่าน

ไม่ผ่าน

แนะแนว

128

4

132

96.97

ลูกเสือ –ยุวกาชาด/เนตรนารี

128

4

132

96.97

ชุมนุม/ชมรม

128

4

132

96.97

กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

128

4

132

96.97

1.8.2 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

กิจกรรม

จำนวนนักเรียนจำแนกตามผลการประเมิน

รวม

ร้อยละของนักเรียนที่ผ่าน

ผ่าน

ไม่ผ่าน

แนะแนว

106

0

106

100

ลูกเสือ –ยุวกาชาด/เนตรนารี

106

0

106

100

ชุมนุม/ชมรม

106

0

106

100

กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

106

0

106

100

1.8.3 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

กิจกรรม

จำนวนนักเรียนจำแนกตามผลการประเมิน

รวม

ร้อยละของนักเรียนที่ผ่าน

ผ่าน

ไม่ผ่าน

แนะแนว

138

0

138

100

ลูกเสือ –ยุวกาชาด/เนตรนารี

138

0

138

100

ชุมนุม/ชมรม

138

0

138

100

กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

138

0

138

100

1.8.4 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

กิจกรรม

จำนวนนักเรียนจำแนกตามผลการประเมิน

รวม

ร้อยละของนักเรียนที่ผ่าน

ผ่าน

ไม่ผ่าน

แนะแนว

135

0

135

100

ลูกเสือ –ยุวกาชาด/เนตรนารี

135

0

135

100

ชุมนุม/ชมรม

135

0

135

100

กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

135

0

135

100

1.8.5 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

กิจกรรม

จำนวนนักเรียนจำแนกตามผลการประเมิน

รวม

ร้อยละของนักเรียนที่ผ่าน

ผ่าน

ไม่ผ่าน

แนะแนว

124

0

124

100

ลูกเสือ –ยุวกาชาด/เนตรนารี

124

0

124

100

ชุมนุม/ชมรม

124

0

124

100

กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

124

0

124

100

1.8.6 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

กิจกรรม

จำนวนนักเรียนจำแนกตามผลการประเมิน

รวม

ร้อยละของนักเรียนที่ผ่าน

ผ่าน

ไม่ผ่าน

แนะแนว

136

0

136

100

ลูกเสือ –ยุวกาชาด/เนตรนารี

136

0

136

100

ชุมนุม/ชมรม

136

0

136

100

กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

136

0

136

100

1.8.7 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

กิจกรรม

จำนวนนักเรียนจำแนก

ตามผลการประเมิน ภาค 1

รวม

ร้อยละของนักเรียนที่ผ่าน

จำนวนนักเรียนจำแนกตามผลการประเมิน ภาค 2

รวม

ร้อยละของนักเรียนที่ผ่าน

ผ่าน

ไม่ผ่าน

ผ่าน

ไม่ผ่าน

แนะแนว

191

3

194

98.45

186

5

191

97.38

ลูกเสือ –ยุวกาชาด/เนตรนารี

191

3

194

98.45

186

5

191

97.38

ชุมนุม/ชมรม

191

3

194

98.45

186

5

191

97.38

กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

191

3

194

98.45

186

5

191

97.38

1.8.8 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

กิจกรรม

จำนวนนักเรียนจำแนก

ตามผลการประเมิน ภาค 1

รวม

ร้อยละของนักเรียนที่ผ่าน

จำนวนนักเรียนจำแนกตามผลการประเมิน ภาค 2

รวม

ร้อยละของนักเรียนที่ผ่าน

ผ่าน

ไม่ผ่าน

ผ่าน

ไม่ผ่าน

แนะแนว

159

0

159

100

147

0

147

100

ลูกเสือ –ยุวกาชาด/เนตรนารี

159

0

159

100

147

0

147

100

ชุมนุม/ชมรม

159

0

159

100

147

0

147

100

กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

159

0

159

100

147

0

147

100

1.8.9 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

กิจกรรม

จำนวนนักเรียนจำแนก

ตามผลการประเมิน ภาค 1

รวม

ร้อยละของนักเรียนที่ผ่าน

จำนวนนักเรียนจำแนกตามผลการประเมิน ภาค 2

รวม

ร้อยละของนักเรียนที่ผ่าน

ผ่าน

ไม่ผ่าน

ผ่าน

ไม่ผ่าน

แนะแนว

171

0

171

100

163

0

163

100

ลูกเสือ –ยุวกาชาด/เนตรนารี

171

0

171

100

163

0

163

100

ชุมนุม/ชมรม

171

0

171

100

163

0

163

100

กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

171

0

171

100

163

0

163

100

๑.9 ข้อมูลงบประมาณ

๑.10 ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม

1.10.๑สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะเป็นชุมชนขนาดใหญ่ บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ หมู่บ้าน บ้านจัดสรร อาคารพาณิชย์คอนโดมิเนียม อพาร์ตเม้นต์ โรงงานอุตสาหกรรม วัด และมัสยิด อาชีพหลักของชุมชน คือ รับจ้าง พนักงานโรงงาน ส่วนใหญ่นับถือศาสนา พุทธ

1.10.๒ผู้ปกครองส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา และประกาศนียบัตรวิชาชีพ

อาชีพหลัก คือ รับจ้าง พนักงานบริษัทเอกชน และค้าขาย ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ

จำนวนคนเฉลี่ยต่อครอบครัว 5 คน

1.10.๓ โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียน

ข้อจำกัดของโรงเรียนกับความร่วมมือของชุมชน ผู้ปกครองส่วนใหญ่ มีฐานะยากจน ทำให้ผู้ปกครองต้องทำงานหารายได้เพิ่มมากขึ้นจึงไม่มีเวลาดูแลบุตรหลานของตัวเองได้เต็มที่มากนัก

๑.๑1 ผลการประเมินจากหน่วยงานภายนอกและข้อเสนอแนะ

1.11.1 ระดับการศึกษาปฐมวัย (รอบสาม)

การศึกษาปฐมวัย

น้ำหนัก(คะแนน)

คะแนนที่ได้

ระดับคุณภาพ

กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน

๑. เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย

5.00

5.00

ดีมาก

๑.๑ เด็กมีสุขภาพกายสมวัย

๑.๒ เด็กมีสุนทรียภาพ

๒. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์

5.00

5.00

ดีมาก

๒.๑ ผู้เรียนเป็นลูกที่ดีของพ่อแม่ ผู้ปกครอง

๒.๒ ผู้เรียนเป็นนักเรียนที่ดีของโรงเรียน

๒.๓ ผู้เรียนมีการบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม

๓. ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

5.00

5.00

ดีมาก

๓.๑ ผู้เรียนค้นคว้าหาความรู้และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

๓.๒ ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรงร่วมกับผู้อื่นทั้งในและนอกสถานศึกษา

๔ เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาสมวัย

10.00

9.00

ดีมาก

๔.๑ เด็กมีความใฝ่รู้สมวัย

๔.๒ เด็กมีการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องสมวัย

๔.๓ เด็กมีทักษะในการสื่อสารสมวัย

๔.๔ เด็กมีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์สมวัย

๕ เด็กมีความพร้อมศึกษาต่อในขั้นต่อไป

10.00

9.00

ดีมาก

๕.๑เด็กมีทักษะพื้นฐานตามพัฒนาการทุกด้านสมวัย

๕.๒เด็กมีความรู้พื้นฐานสมวัย

๖. ประสิทธิภาพของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ

35.00

32.00

ดีมาก

๖.๑ ครูหรือผู้เลี้ยงดูเด็กส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการ

ด้านร่างกาย

๖.๒ ครูหรือผู้เลี้ยงดูเด็กส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการ

ด้านอารมณ์และจิตใจ

๖.๓ ครูหรือผู้เลี้ยงดูเด็กส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการด้านสังคม

๖.๔ ครูหรือผู้เลี้ยงดูเด็กส่งเสริมส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อ

พัฒนาการด้านสติปัญญา

๖.๕ ครูหรือผู้เลี้ยงดูเด็กส่งเสริมความสัมพันธ์ทางบวกเด็ก

และครอบครัว

๖.๖ ครูหรือผู้เลี้ยงดูเด็กส่งเสริมการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อ

ธรรมชาติและพัฒนาการของเด็ก

๗. ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา

15.00

14.50

ดีมาก

๗.๑ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา

๗.๒ ประสิทธิภาพของคณะกรรมการสถานศึกษา

๗.๓ ประสิทธิภาพของสถานศึกษาในการจัดให้มีครูหรือ

ผู้เลี้ยงดูเด็กเพียงพอและมีคุณภาพ

๗.๔ ประสิทธิภาพของสถานศึกษาในการจัดให้มีมาตรการด้าน ความปลอดภัย และการป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก

๘. ประสิทธิพัฒนาการของการประกันคุณภาพภายใน

โดยสถานศึกษาและต้นสังกัด

5.00

5.00

ดีมาก

๘.๑ ประสิทธิผลของระบบประกันคุณภาพภายในโดย

สถานศึกษาหรือหน่วยงานที่มีหน้าที่กำกับดูแลสถานศึกษา

๘.๒ พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดย

สถานศึกษาและต้นสังกัด

กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์

๙. ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา

2.50

2.50

ดีมาก

๑๐. ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา

2.50

2.50

ดีมาก

กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม

๑๑. ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา

2.50

2.50

ดีมาก

๑๒. ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐานและพัฒนา เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา

2.50

2.50

ดีมาก

คะแนนรวม

100

94.50

ดีมาก

สถานศึกษามีผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ ตั้งแต่ ๘๐ คะแนนขึ้นไป ใช่ ไม่ใช่

สถานศึกษามีตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๐ ตัวบ่งชี้ จากทั้งหมด ๑๒ ตัวบ่งชี้ ใช่ ไม่ใช่

สถานศึกษาไม่มีตัวบ่งชี้ใดที่มีระดับคุณภาพต้องปรับปรุง หรือ ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ใช่ ไม่ใช่

สรุปผลการจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาในภาพรวม

สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา ไม่สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา

1.11.2 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (รอบสาม)

การศึกษาขั้นพื้นฐาน

น้ำหนัก(คะแนน)

คะแนนที่ได้

ระดับคุณภาพ

กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน

๑. ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี

10.00

9.75

ดีมาก

๑.๑ ผู้เรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูงและสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์

รวมทั้งรู้จักดูแลตนเองให้มีความปลอดภัย

๑.๒ ผู้เรียนมีสุนทรียภาพ

๒. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์

10.00

9.73

ดีมาก

๒.๑ ผู้เรียนเป็นลูกที่ดีของพ่อแม่ ผู้ปกครอง

๒.๒ ผู้เรียนเป็นนักเรียนที่ดีของโรงเรียน

๒.๓ ผู้เรียนมีการบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม

๓. ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

10.00

9.03

ดีมาก

๓.๑ ผู้เรียนค้นคว้าหาความรู้และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

๓.๒ ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรงร่วมกับผู้อื่นทั้งในและนอกสถานศึกษา

๔. ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น

10.00

9.96

ดีมาก

๔.๑ ผู้เรียนมีความสามารถด้านการคิด

๔.๒ ผู้เรียนมีความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสังคม

กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน

๕. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน

20.00

9.92

พอใช้

๕.๑ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยในระดับชั้น ม.๓ และ ม. ๖

๕.๒ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในระดับชั้น ม.๓ และ ม. ๖

๕.๓ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในระดับชั้น ม.๓ และ ม. ๖

๕.๔ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ในระดับชั้น ม.๓ และ ม. ๖

๕.๕ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ในระดับชั้น ม.๓ และ ม. ๖

๕.๖ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

ในระดับชั้น ม.๓ และ ม. ๖

๕.๗ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีในระดับชั้น ม.๓ และ ม. ๖

๕.๘ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศในระดับชั้น ม.๓ และ ม. ๖

๖. ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

10.00

9.00

ดีมาก

๖.๑ ประสิทธิผลการดำเนินการของสถานศึกษา

๖.๒ กระบวนการจัดการเรียนรู้ของครู

๗. ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา

5.00

4.80

ดีมาก

๗.๑ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา

๗.๒ ประสิทธิภาพของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

๗.๓ บรรยากาศและสภาพแวดล้อม

๘. พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัด

5.00

5.00

ดีมาก

๘.๑ เกณฑ์การพิจารณาเชิงปริมาณ ผลการประเมินคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด

๘.๒ เกณฑ์การพิจารณาพัฒนาการ พัฒนาการของระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์

๙. ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา

5.00

5.00

ดีมาก

๑๐. ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา

5.00

5.00

ดีมาก

กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม

๑๑. ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา

5.00

5.00

ดีมาก

๑๒. ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐานและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา

5.00

5.00

ดีมาก

คะแนนรวม

100

86.79

ดี

สถานศึกษามีผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ ตั้งแต่ ๘๐ คะแนนขึ้นไป ใช่ ไม่ใช่

สถานศึกษามีตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๐ ตัวบ่งชี้ จากทั้งหมด ๑๒ ตัวบ่งชี้ ใช่ ไม่ใช่

สถานศึกษาไม่มีตัวบ่งชี้ใดที่มีระดับคุณภาพต้องปรับปรุง หรือ ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ใช่ ไม่ใช่

สรุปผลการจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาในภาพรวม

สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา ไม่สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา

ข้อเสนอแนะของ สมศ.

จุดเด่น

๑. เด็กมีร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคมและสติปัญญาสมวัย

๒. ครูและเด็กมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีซึ่งกันและกัน ครูมีความรับผิดชอบ กระตือรือร้น ทำงานเป็นทีม พัฒนา ตนเองและพัฒนานักเรียนตามศักยภาพ

1. ผู้บริหารมีภาวะผู้นำ วิสัยทัศน์ มีความสามารถในการบริหารจัดการและมุ่งมั่นในการพัฒนา

สถานศึกษา

2. สถานศึกษามีโครงสร้างการบริหารมีความชัดเจน บุคลากรเข้าใจ บทบาท มีการบริหารงาน

แบบ กระจายอำนาจ มีจุดเด่นซึ่งเป็นเอกลักษณ์ประจำโรงเรียน '‘คนดีศรีปากบ่อ” เป็นที่ยอมรับของชุมชน มีแหล่ง เรียนรู้และบรรยากาศที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้

จุดที่ควรพัฒนา

๑. ครูควรทำความเข้าใจกับผู้ปกครองให้มีการร่วมมือในการพัฒนาเด็กร่วมกัน

๒. ควรส่งเด็กเข้ารับการประกวดแข่งข้นกับองค์ภายนอกให้มากขึ้นและทุกด้าน

๓.ครูควรสนับสนุนและเน้นให้เด็กมีส่วนร่วมในการทำโครงงานต่างๆ มากยิ่งขึ้น เพื่อพัฒนา

ทักษะ กระบวนการคิดและการแก้ปัญหา

๔. จัดให้มีครูหรือผู้เลี้ยงดูเด็กเป็นไปตามเกณฑ์

๕. ควรสร้างความเข้าใจเรื่องการประกันคุณภาพภายในให้สอดคล้องกับการประกันคุณภาพภายนอก

ข้อเสนอแนะ

๑. ด้านผลการจัดการศึกษา

๑) ครูควรทำความเช้าใจกับผู้ปกครองให้มีการร่วมมือในการพัฒนาเด็กร่วมกัน และควรส่งเด็กไปประกวดแข่งขันกับองค์ภายนอกให้มากขึ้นและทุกด้าน อาทิ ศิลปะ การแสดงประกอบเพลง และกีฬา เป็นต้น

๒) ครูควรสนับสนุนและเน้นให้เด็กมีส่วนร่วมในการทำโครงงานต่างๆ มากยิ่งขึ้น โดยฝึกให้เด็กเป็นผู้ลงมือเองมากกว่าที่ครูจะเป็นผู้ลงมือปฏิบัติ

๓) ควรนำผลการประเมินโครงการพิเศษมาใช้ในการพัฒนากิจกรรมใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนา ผู้เรียนและแก้ไขปัญหาทั้งในสถานศึกษาและชุมชนรอบสถานศึกษา โดยการทำงานอย่างมีส่วนร่วม ทั้งสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา เครือข่ายผู้ปกครอง และชุมชน

2. ด้านการบริหารจัดการศึกษา

ควรมีการวิจัยเพื่อพัฒนานโยบายและแผน เพื่อสนับสนุนการกำหนดนโยบายและแผนงานในการ พัฒนาผู้เรียน บุคลากรและสถานศึกษา สนับสนุนการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้ทันสมัย และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน ส่งเสริมและพัฒนางานพัฒนาการเด็ก'ให้ครบทุกด้าน พัฒนาบุคลากรเพื่องานด้านพัฒนาการเด็ก เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ใน ?ถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ

๓. ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

-

๔. ด้านการประกันคุณภาพภายใน

ควรสร้างความเข้าใจด้านการประกันคุณภาพภายใน ให้สอดคล้องกับการประเมินคุณภาพภายนอกสร้างแรงจูงใจ ผลักด้นและติดตามให้มีการนำผลการประเมินการประกันคุณภาพภายใน มาใช้ประโยชน์ในการ บริหารจัดการ การกำหนดนโยบายและแผนงาน การจัดสรรงบประมาณ การพัฒนาสถานศึกษาและการพิจารณาความดีความชอบ

ส่วนที่ ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

ระดับการศึกษาปฐมวัย

มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน

มาตรฐานที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย (๕ คะแนน)

ที่

ตัวบ่งชี้

ระดับคุณภาพ

แปลคุณภาพ

๑.๑

มีน้ำหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน

5

ดีเยี่ยม

๑.๒

มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย

5

ดีเยี่ยม

๑.๓

มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตน

5

ดีเยี่ยม

๑.๔

หลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรคอุบัติเหตุภัยและสิ่งเสพติด

5

ดีเยี่ยม

สรุปมาตรฐาน

5

ดีเยี่ยม

ร่องรอยความพยายาม (โครงการ/กิจกรรม/งานที่โรงเรียนทำ)

โครงการหนูน้อยรักษ์สุขภาพ , โครงการอาหารกลางวัน , กิจกรรมกีฬาสี , กิจกรรมแปรงฟันโครงการเด็กยิ้ม อิ่มท้องโครงการเด็กไทยไร้พุง โครงการส่งเสริมสุขภาพ โครงการสุขาภิบาลอาหาร กิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรค กิจกรรมให้บริการและส่งเสริมอนามัยในโรงเรียน โครงการโรงเรียนปลอดภัย

วิธีการพัฒนา การส่งเสริมให้มีการออกกำลังกาย ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวร่างกายมีเครื่องเล่นสนามให้เด็กได้เล่นเกิดการพัฒนากล้ามเนื้อเล็ก , ใหญ่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร แปรงฟันก่อนนอน ส่งเสริมให้เด็กได้รับประทานอาหารครบ ๕ หมู่ หลีกเลี่ยงอาหารที่ไม่มีประโยชน์

ผลการพัฒนา เด็กมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุขมีความสามารถทางกายตามวัยร่วมกิจกรรมอย่างมีความสุขสนุกสนาน รู้จักกฎ กติกา ในการเล่นเพื่อให้ได้รับความปลอดภัยและได้เรียนรู้เกี่ยวกับโทษของยาเสพติดจากการเรียนการสอน ปฏิบัติทำกิจวัตรประจำวันในการรักษาความสะอาดของร่างกาย รู้จักช่วยเหลือตัวเองได้ดี เพื่อที่จะได้มีการพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน คือ ร่างกาย อารมณ์ – จิตใจ สังคม และสติปัญญา

แนวทางการพัฒนาในอนาคต ครูแสวงหาความรู้พัฒนาตนเอง จากการอบรม ด้านต่างๆ เพื่อให้เกิดความรู้ นำกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย มาใช้ในการจัดประสบการณ์ให้เด็กเกิดทักษะในการกล้าแสดงออกมีความกระตือรือร้นในการเข้า ร่วมกิจกรรมอย่างมีความสุข

มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ (๕ คะแนน)

ที่

ตัวบ่งชี้

ระดับคุณภาพ

แปลคุณภาพ

๒.๑

ร่าเริงแจ่มใสมีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง

5

ดีเยี่ยม

๒.๒

มีความมั่นใจและกล้าแสดงออก

5

ดีเยี่ยม

๒.๓

ควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกับวัย

5

ดีเยี่ยม

๒.๔

ชื่นชมศิลปะดนตรีการเคลื่อนไหวและรักธรรมชาติ

5

ดีเยี่ยม

สรุปมาตรฐาน

5

ดีเยี่ยม

ร่องรอยความพยายาม(โครงการ/กิจกรรม/งานที่โรงเรียนทำ)

โครงการวันเด็กแห่งชาติและกีฬาสี โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพปฐมวัย กิจกรรมหนูน้อยนักเล่ากิจกรรมค่ายสัมพันธ์วันอนุบาล กิจกรรมบัณฑิตน้อย กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ กิจกรรมสวดมนต์ยาว

กิจกรรมนั่งสมาธิ

วิธีการพัฒนา จัดการเรียนการสอนใน ๖ กิจกรรมหลัก การร้องเพลง( กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ) การเล่านิทานกิจกรรมเสริมประสบการณ์ การระบายสีสร้างสรรค์ เด็กมีความร่าเริงแจ่มใส เข้าร่วมกิจกรรมด้วยความมั่นใจกล้าแสดงออกทำกิจกรรมจนสำเร็จเกิดความชื่นชมในผลงานของตัวเอง

ผลการพัฒนา เด็กมีสุขภาพที่ดี รู้จักล้างมือก่อนรับประทานอาหาร แปรงฟันก่อนนอน รู้จักทำความสะอาดร่างกายตนเอง เก็บของเล่นเข้าที่เมื่อเล่นเสร็จ เช่น แก้วน้ำ แปรงสีฟัน รองเท้า ที่นอน รู้จักแยกแยะสิ่งของตนเอง

และผู้อื่นและร่วมกิจกรรมอย่างมีความสุขมีความร่าเริงแจ่มใสเกิดความมั่นใจในตนเองในการทำงานศิลปะดนตรี กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ รู้จักอดทนในการทำกิจกรรมต่างๆจนสำเร็จ เกิดความริเริ่มสร้างสรรค์และมี จินตนาการ

แนวทางการพัฒนาในอนาคต ครูแสวงหาความรู้ ค้นคว้าจากการอบรม จัดกิจกรรมให้เด็กได้มีกิจกรรมที่หลากหลายมาใช้จัดการเรียนการสอน ได้ทำกิจกรรมบ่อยๆ มีความมั่นใจในตนเองและกล้าแสดงออก

มาตรฐานที่ ๓ เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม (๕ คะแนน)

ที่

ตัวบ่งชี้

ระดับคุณภาพ

แปลคุณภาพ

๓.๑

มีวินัยรับผิดชอบเชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ครูอาจารย์

4

ดีมาก

๓.๒

มีความซื่อสัตย์สุจริตช่วยเหลือแบ่งปัน

5

ดีเยี่ยม

๓.๓

เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้

5

ดีเยี่ยม

๓.๔

ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนนับถือ

5

ดีเยี่ยม

สรุปมาตรฐาน

4.60

ดีเยี่ยม

ร่องรอยความพยายาม (โครงการ/กิจกรรม/งานที่โรงเรียนทำ)

โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย กิจกรรมค่ายสัมพันธ์วันอนุบาลกิจกรรมหนูน้อยนักเล่า โครงการอ่านสร้างสุข กิจกรรมบัณฑิตน้อย โครงการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพปฐมวัย

วิธีการพัฒนา จัดการเรียนการสอนโดยสอดแทรกการมีคุณธรรม จริยธรรมเข้าไป เช่น การเล่านิทานให้เด็กฟัง การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของเด็ก ทำให้เด็กมีระเบียบวินัย การช่วยเหลือแบ่งปัน , เก็บของเล่นเข้าที่ การปฏิบัติตนมาโรงเรียนและก่อนกลับบ้านแสดงความเคารพ พ่อ แม่ และคุณครู ให้เด็กทำซ้ำ ๆ จนเกิดจิตใต้สำนึก ปลูกฝังให้มีวัฒนธรรมไทย หรือศาสนาที่ตนนับถือ

ผลการพัฒนา เด็กสามา�