417
11 รูปแบบการพัฒนาวิชาชีพเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพครู ด้านการจัดประสบการณ์ที่ส ่งเสริม ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย โดย นางสาวเกษศิรินทร์ ศรีสัมฤทธิ วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2556 ลิขสิทธิ ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

11...11 บ ณฑ ตว ทยาล ย มหาว ทยาล ยศ ลปากร อน ม ต ให ว ทยาน พนธ เร องร ปแบบการพ

  • Upload
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • 11

    รูปแบบการพฒันาวชิาชีพเพือ่เสริมสร้างสมรรถภาพครู ด้านการจัดประสบการณ์ทีส่่งเสริม

    ทกัษะกระบวนการทางวทิยาศาสตร์และจิตวทิยาศาสตร์ของเด็กปฐมวยั

    โดย

    นางสาวเกษศิรินทร์ ศรีสัมฤทธ์ิ

    วทิยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎบีณัฑิต

    สาขาวชิาหลกัสูตรและการสอน

    ภาควชิาหลกัสูตรและวธีิสอน

    บัณฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

    ปีการศึกษา 2556

    ลขิสิทธ์ิของบณัฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

  • 11

    รูปแบบการพฒันาวชิาชีพเพือ่เสริมสร้างสมรรถภาพครู ด้านการจัดประสบการณ์ทีส่่งเสริม

    ทกัษะกระบวนการทางวทิยาศาสตร์และจิตวทิยาศาสตร์ของเด็กปฐมวยั

    โดย

    นางสาวเกษศิรินทร์ ศรีสัมฤทธ์ิ

    วทิยานิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎบีณัฑิต

    สาขาวชิาหลกัสูตรและการสอน

    ภาควชิาหลกัสูตรและวธีิสอน

    บัณฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

    ปีการศึกษา 2556

    ลขิสิทธ์ิของบณัฑิตวทิยาลยั มหาวทิยาลยัศิลปากร

  • 11

    THE PROFESSIONAL DEVELOPMENT MODEL FOR ENHANCING

    INSTRUCTIONAL COMPETENCY OF TEACHERS TO ENCOURAGE

    SCIENCE PROCESS SKILLS AND SCIENTIFIC MINDS OF EARLY CHILDHOOD

    By

    Miss Kessirin Srisamrith

    A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree

    Doctor of Philosophy Program in Curriculum and Instruction

    Department of Curriculum and Instruction

    Graduate School, Silpakorn University

    Academic Year 2013

    Copyright of Graduate School, Silpakorn University

  • 11

    บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร อนุมติัใหว้ิทยานิพนธ์เร่ือง “รูปแบบการพฒันาวิชาชีพ

    เพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพครู ดา้นการจดัประสบการณ์ท่ีส่งเสริมทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ

    จิตวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวยั” เสนอโดย นางสาวเกษศิรินทร์ ศรีสัมฤทธ์ิ เป็นส่วนหน่ึงของ

    การศึกษาตามหลกัสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบณัฑิต สาขาวิชาหลกัสูตรและการสอน

    ……...........................................................

    (รองศาสตราจารย ์ดร.ปานใจ ธารทศันวงศ)์ คณบดีบณัฑิตวทิยาลยั

    วนัท่ี..........เดือน.................... พ.ศ...........

    อาจารยท่ี์ปรึกษาวิทยานิพนธ์

    1. ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.มาเรียม นิลพนัธ์ุ

    2. รองศาสตราจารย ์ดร.วิชยั วงษใ์หญ่

    3. อาจารย ์ดร.ชชัว ์ เถาวช์าลี

    คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์

    .................................................... ประธานกรรมการ

    (ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.อรพิณ ศิริสมัพนัธ์)

    ............/......................../..............

    .................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ

    (อาจารย ์ดร.มารุต พฒัผล ) (ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.มาเรียม นิลพนัธ์ุ)

    ............/......................../.............. ............/......................../..............

    .................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ

    (รองศาสตราจารย ์ดร.วิชยั วงษใ์หญ่ ) (อาจารย ์ดร.ชชัว ์ เถาวช์าลี )

    ............/......................../.............. ............/......................../..............

  • 11

    53253901 : สาขาวิชาหลกัสูตรและการสอน คาํสาํคญั : การพฒันาวิชาชีพ/ทกัษะกระบวนการทางวทิยาศาสตร์/จิตวทิยาศาสตร์

    เกษศิรินทร์ ศรีสัมฤทธ์ิ : รูปแบบการพฒันาวิชาชีพเพ่ือเสริมสร้างสมรรถภาพครู ดา้นการจดัประสบการณ์ท่ีส่งเสริมทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวยั. อาจารย ์

    ท่ีปรึกษาวทิยานิพนธ์ : ผศ.ดร.มาเรียม นิลพนัธ์ุ, รศ.ดร.วชิยั วงษใ์หญ่ และ อ.ดร.ชชัว ์ เถาวช์าลี. 399 หนา้.

    การวิจยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงคเ์พื่อ 1) พฒันาและตรวจสอบประสิทธิภาพของรูปแบบการพฒันาวิชาชีพเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพครู ดา้นการจดัประสบการณ์ท่ีส่งเสริมทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ของ

    เด็กปฐมวยั 2) ประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการพฒันาวิชาชีพท่ีพฒันาข้ึน ดาํเนินการวิจยัดว้ยการวิจยัและพฒันา

    และใชก้ารวิจยัแบบผสมผสานวิธี ทดสอบก่อนและหลงั รวมทั้งผสมผสานกบัแบบแผนการวิจยัแบบอนุกรมเวลากลุ่มเดียว

    ประเภทอนุกรมเวลาสมมูล กลุ่มตวัอยา่ง คือ ครูผูส้อนระดบัปฐมวยั 5 คน ผูบ้ริหารโรงเรียน 1 คน และเดก็ปฐมวยั 67 คน

    จากโรงเรียนในสงักดัสาํนกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม จาํนวน 4 โรงเรียน และผูเ้ช่ียวชาญดา้นการ

    ช้ีแนะการจดัประสบการณ์ 1 คน เคร่ืองมือท่ีใช ้คือ คู่มือรูปแบบการพฒันาวิชาชีพ แผนการพฒันาวิชาชีพ แบบทดสอบ

    ความรู้ แบบประเมินแผนการจดัประสบการณ์ แบบสังเกตพฤติกรรมการจดัประสบการณ์ แบบประเมินคุณลกัษณะ

    ส่วนตวัของครู แบบสอบถามความพึงพอใจของผูนิ้เทศและผูรั้บการนิเทศท่ีมีต่อรูปแบบการพฒันาวิชาชีพ และประเด็น

    การสนทนากลุ่ม วเิคราะห์ขอ้มูลโดยใช ้ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า Z (Z- test) และการวิเคราะห์

    เน้ือหา ผลการวจิยั พบวา่

    1. รูปแบบการพฒันาวิชาชีพท่ีพฒันาข้ึน มีช่ือวา่ “ACTAR Model” ประกอบดว้ยองคป์ระกอบ 4 ส่วน

    คือ 1) หลกัการ 2) วตัถุประสงค ์ 3) กระบวนการพฒันาวชิาชีพ มี 5 ขั้น คือ ขั้นท่ี 1 การวเิคราะห์ความตอ้งการจาํเป็น

    (Analyzing Needs : A) ขั้นท่ี 2 ออกแบบการพฒันาวิชาชีพ (Creating Program : C) ขั้นท่ี 3 ดาํเนินการพฒันาวิชาชีพ

    (Taking Action : T) ขั้นท่ี 4 ประเมินผลการพฒันาวิชาชีพ (Assessing Program : A) และขั้นท่ี 5 รายงานผลการพฒันา

    วชิาชีพ (Reporting Program : R) และ 3) เง่ือนไขสาํคญัในการนาํรูปแบบไปใช ้

    2. ประสิทธิผลของรูปแบบการพฒันาวิชาชีพ พบว่า 1) หลงัการใชรู้ปแบบการพฒันาวิชาชีพ ครูมีความรู้ ความ

    เขา้ใจเก่ียวกบัการจดัประสบการณ์ท่ีส่งเสริมทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์สูงกว่าก่อนการใชรู้ปแบบการ

    พฒันาวิชาชีพ อยา่งมีนยัสาํคญัทางสถิติท่ีระดบั .05 2) ครูมีพฒันาการความสามารถในการออกแบบแผนการจดั

    ประสบการณ์ และมีการจดัประสบการณ์ท่ีส่งเสริมทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวยั

    สูงข้ึนอยา่งต่อเน่ือง 3) คุณลกัษณะส่วนตวัของครูอยูใ่นระดบัดีมาก 4) เดก็ปฐมวยัมีพฒันาการดา้นทกัษะกระบวนการทาง

    วทิยาศาสตร์และจิตวทิยาศาสตร์สูงข้ึนอยา่งต่อเน่ือง 5) ความพึงพอใจของผูนิ้เทศ และผูรั้บการนิเทศท่ีมีต่อการใชรู้ปแบบการพฒันา

    วิชาชีพอยูใ่นระดบัมากท่ีสุด และ6) หลงัการขยายผลการใชรู้ปแบบการพฒันาวิชาชีพท่ีพฒันาข้ึน พบวา่ รูปแบบการ

    พฒันาวิชาชีพ “ACTAR Model” สามารถทาํใหค้รูมีสมรรถภาพในการจดัประสบการณ์ ท่ีส่งเสริมทกัษะกระบวนการทาง

    วทิยาศาสตร์และจิตวทิยาศาสตร์ และทาํใหเ้ดก็ปฐมวยัเกิดทกัษะกระบวนการทางวทิยาศาสตร์และจิตวทิยาศาสตร์

    ภาควิชาหลกัสูตรและวิธีสอน บณัฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร

    ลายมือช่ือนกัศึกษา........................................ ปีการศึกษา 2556 ลายมือช่ืออาจารยท่ี์ปรึกษาวิทยานิพนธ์1. ........................... 2. ............................. 3. ............................

  • 11

    53253901 : MAJOR : CURRICULUM AND INSTRUCTION

    KEY WORDS :PROFESSIONAL DEVELOPMENT,SCIENCE PROCESS SKILLS, SCIENTIFIC MINDS

    KESSIRIN SRISAMRITH :THE PROFESSIONAL DEVELOPMENT MODEL FOR ENHANCING

    INSTRUCTIONAL COMPETENCY OF TEACHER TO ENCOURAGE SCIENCE PROCESS SKILLS AND

    SCIENTIFIC MINDS OF EARLY CHILDHOOD. THESIS ADVISORS : ASS. PROF. MAREAM NILLAPUN,

    Ed.D.,ASSOC. PROF.WICHAI WONGYAI, Ph.D., AND CHACH THAOCHALEE,Ed.D. 399 pp.

    This research aims at two main objectives: (1) creating the development model for enhancing

    instructional competency of teachers to encourage science process skills and scientific minds of early

    childhood and (2) evaluating the effectiveness of the development model. It is a research and development

    project applying the mixed methods of “one-group pretest-posttest design” and “equivalent time-samples

    design”. Sample groups included the following : 5 school teachers currently teaching students at early

    childhood level; 1 school administrator; 67 students at the early childhood level of four schools from the

    office of Samutsongkhram Primary Educational Service Area; And 1 expert coach for skill training of the

    teachers. The following research instruments were evaluated for their suitability and then employed : a

    handbook for the model program of enhancing instructional competency; the program of enhancing

    instructional competency; achievement test, an evaluation form; an evaluation record; a form for behavioral

    observations; a questionnaire; and, themes of group discussion. Statistical tools for the research analysis were

    percentages, means, standard deviations, and z-test. The research yielded the following results:

    1. The model developed in this research is called “ACTAR Model”. It comprises 4 components: rationales, objectives, development process and conditions for practical usage. Five operational actions were

    sequentially involved in the development process: “Analyzing Needs” (A); “Creating Program” (C); “Taking

    Action” (T); “Assessing Program” (A); and “Reporting Program” (R).

    2. The following results were obtained from analysis of the Program’s success: (1) teachers’

    competence on encouraging science process skills and scientific minds of early childhood was significantly

    higher than before at the statistical level of .05; (2) teachers’ ability on the task had been continuously

    increasing; (3) personal qualification of the teachers for the program was at an excellent level; (4) the students

    showed continuously improvement of their science process skills and scientific minds ; (5) the satisfaction on

    the program of the supervisors and teachers were at highest level; and, (6) The disseminating of the program

    reviewed that teacher increased instructional competency in science process skills and scientific minds ; and

    the early childhood also improved science process skills and scientific minds.

    Department of Curriculum and Instruction Graduate School, Silpakorn University

    Student's signature .................................... Academic Year 2013

    Thesis Advisors' signature 1. ................................... 2. .................................... 3. ...............................................

  • 11

    กติติกรรมประกาศ

    วิทยานิพนธ์ เร่ือง “รูปแบบการพฒันาวิชาชีพ เพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพครูดา้นการจดั

    ประสบการณ์ท่ีส่งเสริมทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวยั”

    สาํเร็จลุล่วงดว้ยดี ดว้ยความกรุณาจาก ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร.มาเรียม นิลพนัธ์ุ รองศาสตราจารย ์

    ดร.วชิยั วงษใ์หญ่ และ อาจารย ์ดร. ชชัว ์เถาวช์าลี ผูเ้ป็นอาจารยท่ี์ปรึกษาและควบคุมวิทยานิพนธ์

    ผูช่้วยศาสตราจารย ์ดร. อรพิณ ศิริสัมพนัธ์ ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ และอาจารย ์ดร.

    มารุต พฒัผล ผูท้รงคุณวุฒิ ท่ีกรุณาให้คาํปรึกษาแนะนาํ และตรวจสอบ แกไ้ขขอ้บกพร่องต่าง ๆ

    ตลอดระยะเวลาของการศึกษาวิจยั ทาํใหง้านวิจยัสาํเร็จลุล่วงดว้ยดี ผูว้ิจยัขอกราบขอบพระคุณเป็น

    อยา่งสูงมา ณโอกาสน้ี

    ขอกราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารย ์ดร.พชัรี ผลโยธิน ดร.อภิชาติ เลนะนนัท์

    ดร.เทพกญัญา พรหมขติัแกว้ ดร.ดารารัตน์ อุทยัพยคัย ์ดร.ยพุิน ยนืยง และ ดร.นฤมล เนียมหอม

    ท่ีกรุณาเป็นผูเ้ช่ียวชาญในการพิจารณาตรวจแกไ้ขรูปแบบการพฒันาวิชาชีพ และเคร่ืองมือท่ีใชใ้น

    การวิจยั

    ขอขอบพระคุณคณะผูบ้ริหาร ครูผูส้อนระดับปฐมวยั และนักเรียนในสังกัด

    สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม ในโรงเรียนท่ีเขา้ร่วมโครงการทั้ง 12

    โรงเรียน ท่ีใหค้วามร่วมมือ และแนะนาํเป็นอยา่งดี รวมทั้งขอขอบคุณ อาจารยแ์น่งนอ้ย แจง้ศิริกุล

    ท่ีร่วมเป็นคณะผูนิ้เทศในการวิจัยในคร้ังน้ี และขอขอบคุณเพื่อนศึกษานิเทศก์ และบุคลากร

    สาํนกังานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม ท่ีให้ความร่วมมือและให้การช่วยเหลือ

    ดว้ยดีตลอดการดาํเนินการวิจยั

    ทา้ยน้ี ตอ้งกราบขอบพระคุณ คุณพิศาล และอาจารยณิ์ฐากร บรรจงแสวง ท่ีให้

    ทุนสนบัสนุนการทาํวิจยัในคร้ังน้ี และขอขอบคุณเป็นอยา่งยิง่สาํหรับ เพ่ือน พ่ี นอ้งและหลาน ๆ

    ท่ีใหก้ารช่วยเหลือและเป็นกาํลงัใจใหก้ารเรียนและทาํวิทยานิพนธ์น้ีสาํเร็จลุล่วงดว้ยดี และคุณค่า

    ของวิทยานิพนธ์ขอมอบแด่พระคุณของบิดา มารดา และผูมี้พระคุณทุกท่าน

  • 11

    สารบัญ

    หนา้ บทคดัยอ่ภาษาไทย .................................................................................................................. ง บทคดัยอ่ภาษาองักฤษ ............................................................................................................. จ กิตติกรรมประกาศ ................................................................................................................... ฉ สารบญัตาราง .......................................................................................................................... ฎ สารบญัภาพ ............................................................................................................................. ฐ บทท่ี 1 บทน า ....................................................................................................................................... 1 ความเป็นมาและความส าคญัของปัญหา .................................................................................. 1 กรอบแนวคิดการวิจยั .............................................................................................................. 9 ค าถามของการวิจยั ................................................................................................................... 14 วตัถุประสงคข์องการวิจยั ........................................................................................................ 15 สมมติฐานของการวิจยั ............................................................................................................ 16 ขอบเขตของการวิจยั ................................................................................................................ 16 นิยามศพัทเ์ฉพาะ ..................................................................................................................... 18 ความส าคญัของการวิจยั ........................................................................................................... 22 2 วรรณกรรมท่ีเก่ียวขอ้ง .............................................................................................................. 23 ตอนท่ี 1 แนวคิด ทฤษฎีเก่ียวกบัการพฒันาวิชาชีพ .................................................................. 24 ความหมายของการพฒันาวิชาชีพ ..................................................................................... 24 กระบวนการขั้นตอนการพฒันาวชิาชีพ ....................................................................... 26 รูปแบบการพฒันาวิชาชีพ............................................................................................ 32 การฝึกอบรม .................................................................................................................... 41 รูปแบบการนิเทศเพื่อการพฒันาวิชาชีพ........................................................................... 46 การช้ีแนะแบบเพือ่นช่วยเพื่อน ............................................................................... 46 การนิเทศโดยผูบ้ริหาร ............................................................................................ 48 การนิเทศแบบพฒันาตนเอง .................................................................................... 51 การช้ีแนะโดยผูเ้ช่ียวชาญ ........................................................................................ 53 การนิเทศแบบพฒันาการ ........................................................................................ 55

  • 11

    บทท่ี หนา้

    การดูแลใหค้ าปรึกษาแนะน า (Mentoring) .............................................................................. 62 การจดัการความรู้ (KM) .......................................................................................................... 65 งานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้ง ................................................................................................................... 76 ตอนท่ี 2 แนวคิดเก่ียวกบัสมรรถภาพดา้นการจดัประสบการณ์ ................................................ 82 ความหมายของสมรรถภาพ ..................................................................................................... 84 ลกัษณะของสมรรถภาพ .......................................................................................................... 87 สมรรถภาพครูดา้นการจดัประสบการณ์ฯ ............................................................................... 89 เป้าหมายของการจดัประสบการณ์การเรียนรู้ .......................................................................... 91 บทบาทของการจดัประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ......................................................... 92 วิธีการจดัประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ส าหรับเดก็ปฐมวยั .......................................... 95 การใชค้ าถามของครู ................................................................................................................ 104 การประเมินพฒันาการเดก็ปฐมวยั ........................................................................................... 113 คุณลกัษณะครูท่ีดี .................................................................................................................... 118 งานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้ง ................................................................................................................... 128 ตอนท่ี 3 แนวคิดเก่ียวกบัทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ระดบัปฐมวยั ........................... 129 ความหมายของทกัษะกระบวนการวิทยาศาสตร์...................................................................... 129 ประเภทของทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ .................................................................... 130 ทกัษะการสังเกต .............................................................................................................. 138 ทกัษะการวดั .................................................................................................................... 143 ทกัษะการจ าแนกประเภท ................................................................................................ 146 ทกัษะการจดักระท าและส่ือความหมายขอ้มูล ................................................................. 150 ทกัษะการลงความเห็นจากขอ้มูล ..................................................................................... 153 ทกัษะการพยากรณ์ .......................................................................................................... 155 งานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้ง ................................................................................................................... 157 ตอนท่ี 4 แนวคิดเก่ียวกบัจิตวิทยาศาสตร์ระดบัปฐมวยั .......................................................... 158 ความหมายของจิตวิทยาศาสตร์ ............................................................................................... 159 ความส าคญัของจิตวิทยาศาสตร์ ............................................................................................... 160 การพฒันาจิตวิทยาศาสตร์ ....................................................................................................... 160

  • 11

    บทท่ี หนา้

    ลกัษณะของผูท่ี้มีจิตวิทยาศาสตร์ ............................................................................................. 162 ความสนใจใฝ่รู้ ................................................................................................................ 170 ความมุ่งมัน่อดทน ............................................................................................................ 171 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผูอ่ื้น ............................................................................... 171 ความมีเหตุผล .................................................................................................................. 172 งานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้ง ................................................................................................................... 173 สรุป ......................................................................................................................................... 174

    3 วิธีด าเนินการวิจยั ...................................................................................................................... 175 ขั้นตอนท่ี 1 การวิจยั (Research : R1) ...................................................................................... 176 ขั้นตอนท่ี 2 การพฒันา (Development : D1).......................................................... 184 ขั้นตอนท่ี 3 การน าไปใช(้Implementation = Research : R2) ............................... 206 ขั้นตอนท่ี 4 การประเมินผล (Evaluation= Development : D2).............................. 223 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้มูล .............................................................................................................. 228 ตอนท่ี 1 ผลการพฒันาและตรวจสอบประสิทธิภาพของรูปแบบฯ ...................................... 229 ผลการสังเคราะห์ขอ้มูลเพื่อใชป้ระกอบการพฒันารูปแบบการพฒันา

    วิชาชีพ .................................................................................................

    229 ผลการพฒันารูปแบบการพฒันาวิชาชีพฯ.................................................... 248 ผลการตรวจสอบคุณภาพรูปแบบการพฒันาวิชาชีพฯ................................... 253 ผลการศึกษาทดลองน าร่องการใชรู้ปแบบการพฒันาวิชาชีพฯ...................... 257 ตอนท่ี 2 ประสิทธิผลของรูปแบบการพฒันาวิชาชีพฯ........................................... 260 ผลการทดสอบความรู้ ความเขา้ใจเก่ียวกบัการจดัประสบการณ์ฯ................ 260 ผลการประเมินพฒันาการความสามารถดา้นการออกแบบ แผนการจดัประสบการณ์ฯ..................................................................... 261 ผลการศึกษาพฒันาความสามารถดา้นการจดัประสบการณ์.......................... 267 ผลการศึกษาคุณลกัษณะส่วนตวัของครู........................................................ 277 ผลการศึกษาพฒันาการดา้นทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์.................. 284 ผลการศึกษาพฒันาการดา้นจิตวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวยั......................... 294 ผลการศึกษาความพึงพอใจของครูผูส้อนและผูนิ้เทศ................................... 301

  • 11

    บทท่ี หนา้

    ผลการขยายผลรูปแบบการพฒันาวิชาชีพฯ ....................................................................

    310 ประสิทธิผลของการใชรู้ปแบบการพฒันาวิชาชีพ(การขยายผล) ........................... 148 ผลการเปรียบเทียบความรู้ ความเขา้ใจเก่ียวกบัการจดั

    ประสบการณ์ฯ ........................................................................................................

    310 ผลการประเมินความสามารถดา้นการออกแบบแผน ..................................................... 111 ผลการศึกษาพฒันาการความสามารถดา้นการจดัประสบการณ์ .................................... 313 ผลการศึกษาคุณลกัษณะส่วนตวัของครู ........................................................................ 319 ผลการศึกษาพฒันาการทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ......................................... 320 ผลการศึกษาพฒันาการดา้นจิตวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวยั .......................................... 325 ผลการศึกษาความพึงพอใจของครูผูส้อและผูนิ้เทศ ...................................................... 330 5 สรุปผลการวิจยั อภิปรายผล และขอ้เสนอแนะ....................................................................... 332 สรุปผลการวิจยั ........................................................................................................................ 333 อภิปรายผล .............................................................................................................................. 337 ขอ้เสนอแนะ ............................................................................................................................ 346 ขอ้เสนอแนะเพื่อน าผลการวิจยัไปใช ้....................................................................................... 346 ขอ้เสนอแนะเพื่อการวิจยัคร้ังต่อไป .......................................................................................... 347

    รายการอา้งอิง .......................................................................................................................... 348 ภาคผนวก ................................................................................................................................ 361

    ภาคผนวก ก รายนามผูเ้ช่ียวชาญตรวจสอบรูปแบบฯ ................................................................................... 362 ภาคผนวก ข ตวัอยา่งเคร่ืองมือท่ีใชใ้นการวิจยั ............................................................................................. 363 ภาคผนวก ค ตวัอยา่งโครงการ แผนพฒันาวิชาชีพและแผนการจดั

    ประสบการณ์ ...........................................................................................................................

    377 ประวติัผูว้ิจยั ............................................................................................................................ 399

  • 11

    สารบัญตาราง

    ตารางท่ี หนา้ 1 การสงัเคราะห์แนวคิดและงานวิจยัเก่ียวกบักระบวนการขั้นตอน

    การพฒันาวิชาชีพ .............................................................................................................

    31

    2 การสังเคราะห์วิธีการพฒันาวิชาชีพ ......................................................................................... 40 3 วิธีการท่ีใชใ้นการพฒันาบุคลากรกบัระดบัของความรู้ ............................................................ 54 4 การสงัเคราะห์ขั้นตอนการจดัประสบการณ์ ท่ีส่งเสริมทกัษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวยั .............................................................. 101 5 แสดงค าถามท่ีน าไปสู่ทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ..................................................... 107 6 การวิเคราะห์ประเภทของทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ส าหรับ

    เดก็ปฐมวยัตามแนวคิดของนกัวิชาการ .............................................................................

    135 7 ความเห็นของผูเ้ช่ียวชาญเก่ียวกบัทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

    ระดบัปฐมวยั ...................................................................................................................

    137 8 การวิเคราะห์คุณลกัษณะของผูมี้จิตวิทยาศาสตร์ ..................................................................... 166 9 ความคิดเห็นของผูเ้ช่ียวชาญเก่ียวกบัจิตวิทยาศาสตร์ ระดบัปฐมวยั ......................................... 169 10 สรุปการด าเนินการวจิยัขั้นตอนท่ี 1 (Research : R1) การศึกษาวเิคราะห์ขอ้มูล

    พื้นฐาน ............................................................................................................................

    182 11 เกณฑก์ารประเมินการออกแบบแผนการจดัประสบการณ์ ...................................................... 193 12 ก าหนดการจดัประสบการณ์ของครู และการก ากบั ติดตาม และเกบ็ขอ้มูล ของผูว้ิจยัในโรงเรียนน าร่อง ................................................................................................... 200 13 สรุปการด าเนินการวจิยัขั้นตอนท่ี 2 ......................................................................................... 203 14 แสดงวิธีการพฒันาวิชาชีพของครูในโรงเรียนกลุ่มทดลอง ..................................................... 208 15 ปฏิทินการการนิเทศ ติดตามก ากบั และการดูแลใหค้ าปรึกษา แนะน า

    และเกบ็รวบรวมขอ้มูล .....................................................................................................

    215 16 แสดงเคร่ืองมือและระยะเวลาในการเกบ็รวบรวมขอ้มูลการวิจยั ............................................. 219 17 สรุปการด าเนินการวจิยั ขั้นตอนท่ี 3 ........................................................................................ 221 18 สรุปการด าเนินการวจิยั ขั้นตอนท่ี 4 ....................................................................................... 224 19 แสดงการวเิคราะห์นิยามปฏิบติัการ และเคร่ืองมือท่ีใชใ้นการเกบ็รวบรวม

    ขอ้มูลทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเดก็ปฐมวยั ......................................................

    237

  • 11

    ตารางท่ี หนา้ 20 แสดงการวิเคราะห์นิยามปฏิบติัการและเคร่ืองมือท่ีใชใ้นการเกบ็รวบรวม

    ขอ้มูลจิตวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวยั ......................................................................................

    242 21 ค่าความสอดคลอ้งของการตรวจสอบประสิทธิภาพของรูปแบบดา้น

    ความสมเหตุสมผลเชิงทฤษฎี และความเป็นไปไดข้องรูปแบบฯ .....................................

    255 22 ค่าความสอดคลอ้งของการตรวจสอบประสิทธิภาพของความสอดคลอ้งของ

    รูปแบบการพฒันาวิชาชีพ (ACTAR Model) ....................................................................

    257 23 เปรียบเทียบผลคะแนนความรู้ความเขา้ใจของครู .................................................................... 259 24 พฒันาการความสามารถดา้นการออกแบบแผนการจดัประสบการณ์ของครู ........................... 262 25 ความสามารถดา้นการจดัประสบการณ์ของครูจ าแนกตามวิธีการพฒันา ................................. 268 26 พฒันาการความสามารถดา้นการจดัประสบการณ์ของครู ....................................................... 270 27 คุณลกัษณะส่วนตวัของครูท่ีจดัประสบการณ์ฯ ....................................................................... 278 28 พฒันาการทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวยั จ าแนกตาม

    ทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และวิธีการพฒันา .....................................................

    285 29 ผลการพฒันาทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวยั .......................................... 288 30 พฒันาการจิตวิทยาศาสตร์ของเดก็ปฐมวยัภาพรวม และจ าแนกตามวิธีการ

    พฒันา ...............................................................................................................................

    295 31 ผลการพฒันาจิตวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวยั .......................................................................... 298 32 ความพึงพอใจของครูผูส้อนและผูนิ้เทศท่ีมีต่อรูปแบบการพฒันาวิชาชีพ ............................... 301 33 เปรียบเทียบคะแนนผลการประเมินความรู้ ความเขา้ใจของครูกลุ่มขยายผล ........................... 311 34 ผลการประเมินความสามารถดา้นการออกแบบแผนการจดัประสบการณ์ .............................. 312 35 ผลการประเมินความสามารถดา้นการจดัประสบการณ์ของครู ................................................ 314 36 วิธีการจดักิจกรรมและค าถามของครูในการจดักิจประสบการณ์ ............................................. 317 37 ผลการประเมินคุณลกัษณะส่วนตวัของครู .............................................................................. 319 38 พฒันาการทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ภาพรวม ......................................................... 321 39 ทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวยั จ าแนกตามวิธีการพฒันา ....................... 323 40 พฒันาการจิตวิทยาศาสตร์ของเดก็ปฐมวยัในภาพรวม............................................................. 326 41 จิตวิทยาศาสตร์ของเดก็ปฐมวยักลุ่มขยายผลจ าแนกตามวธีิการพฒันา .................................... 328 42 ความพึงพอใจของครูผูส้อนและผูนิ้เทศกลุ่มขยายท่ีมีต่อการใชรู้ปแบบ ฯ .............................. 330

  • 11

    สารบัญแผนภาพ

    แผนภาพท่ี หนา้ 1 กรอบแนวคิดการวิจยั ............................................................................................................... 13 2 ขั้นตอนการพฒันาวิชาชีพของ Bredeson, P. V. ...................................................................... 25 3 ขั้นตอนการพฒันาวิชาชีพของ The University of Hawaii’s Curriculum

    Research and Development Group (CRDG) ...................................................................

    27 4 กระบวนการพฒันาวิชาชีพท่ีมีประสิทธิภาพของ Loucks Horsley et al,., ............................... 28 5 ขั้นตอนการพฒันาวิชาชีพและการฝึกปฏิบติัการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ Nicole

    Strangman, Tracey Hall & Anne Meyer, . ..............................................................................

    29 6 วิธีการพฒันาครูของ Higgins and Leat .................................................................................... 34 7 วงจรการประชุมปรึกษาหา (The Cycle of Mentoring Conferencing) .................................... 64 8 การสร้างความรู้ (Knowledge Spiral) ...................................................................................... 67 9 สามองคป์ระกอบหลกัของ KM .............................................................................................. 70 10 โมดูลภูเขาน ้าแขง็(Iceberg Model) ........................................................................................... 84 11 แสดงทกัษะการส่ือความหมายขอ้มูล ....................................................................................... 151 12 แสดงการลงความคิดเห็นจากขอ้มูล ......................................................................................... 154 13 กรอบด าเนินการวิจยั 4 ขั้นตอนของการพฒันารูปแบบ .......................................................... 227 14 รูปแบบการพฒันาวิชาชีพเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพครูฯ (ACTAR Model) .......................... 259 15 กราฟแสดงพฒันาการความสามารถในการออกแบบแผนฯ..................................................... 266 16 กราฟแสดงความสามารถในการจดัประสบการณ์ของครูจ าแนกตามวิธีการ

    พฒันา ...............................................................................................................................

    275 17 กราฟแสดงพฒันาการทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวยั ............................. 287 18 กราฟแสดงพฒันาการจิตวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวยัโดยภาพรวม ......................................... 297 19 การสะทอ้นวธีิการนิเทศแบบเพื่อนช่วยเพือ่นของครูผูส้อน ..................................................... 307 20 กราฟแสดงพฒันาการความสามารถในการออกแบบแผนการจดัประสบการณ์ ...................... 311 21 กราฟแสดงพฒันาการความสามารถในการจดัประสบการณ์ของครูฯ ..................................... 315 22 กราฟแสดงคุณลกัษณะส่วนตวัของครูกลุ่มขยายผล................................................................. 320 23 กราฟแสดงพฒันาการทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เดก็ปฐมวยั .................................... 324

    24 กราฟแสดงพฒันาการจิตวทิยาศาสตร์เดก็ปฐมวยักลุ่มขยายผล ................................................ 329

  • บทที ่1

    บทนํา

    ความเป็นมาและความสําคญัของปัญหา

    ปัจจุบนัประเทศไทยในฐานะท่ีเป็นสมาชิกของสังคมโลกไดรั้บผลกระทบจากก ระ แ ส

    โลกาภิวตัน์ ในยคุของคล่ืนลูกท่ี 4 ยคุสงัคม-เศรษฐกิจฐานความรู้ท่ีหลัง่ไหลเขา้มา และเป็นปัจจยัเร่ง

    การเปล่ียนแปลงท่ีรวดเร็วรุนแรงในทุกดา้น ทั้งดา้นการเมืองเศรษฐกิจ สังคม และวฒันธรรม และ

    ในปี พ.ศ.2558 ประเทศไทยจะเขา้สู่การเป็นสมาชิกของประชาคมอาเซียน จึงเห็นไดว้่าประเทศไทย

    หลีกเล่ียงไม่ได้ท่ีจะรับมือกับสภาวะเช่นน้ีซ่ึงอาจมีผลกระทบตามมาในหลากหลายรูปแบบ

    โดยเฉพาะด้านสังคมแนวทางหน่ึงในการรับกับการเปล่ียนแปลงน้ีรวมทั้งในแง่ของการพฒันา

    ประเทศจึงต้องเน้นท่ีการพัฒนาคุณภาพชีวิตซ่ึงมิติแห่งคุณภาพชีวิตน้ีเป็นส่วนหน่ึงท่ีจะช่วย

    ประคบัประคองให้การพฒันาเป็นไปอยา่งมีดุลยภาพและยัง่ยืนโดยแสดงออกดว้ยผลสาํเร็จจากการ

    พัฒนาคุณภาพของ “คน” ให้เป็นคนท่ีสมบูรณ์พร้อมทั้ งกาย ศีล จิตและปัญญา พร้อมทั้ ง

    ความสามารถในการสร้างสรรค์สังคมคุณภาพ สังคมแห่งการเรียนรู้ สังคมอนักอปรด้วยความ

    สมานฉันท์และเอ้ืออาทรต่อกนั (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2546 : คาํนาํ)

    นอกจากน้ี สาํนกังานเลขาธิการสภาการศึกษา (2551: 2-3) กล่าวว่า ขณะท่ีโลกกาํลงัหมุนสรรพส่ิง

    ลว้นมีการเปล่ียนแปลงตามเหตุแห่งปัจจยัการศึกษากลบัอยูใ่นภาวะท่ีค่อนขา้งหยดุน่ิงไม่ตอบสนอง

    ต่อการแข่งขนั องคค์วามรู้ แนวคิด ทฤษฎี กระบวนทศัน์เดิมท่ีไดจ้ากระบบการศึกษาไม่สามารถ

    ตอบสนองต่อความทา้ทายใหม่ได.้.... ทางหน่ึงในการแกปั้ญหาของประเทศจึงเน้นท่ีการพฒันา

    ทรัพยากรมนุษยโ์ดยใช้การศึกษาเป็นเคร่ืองมือสําคญัเพ่ือพฒันา “คน” ให้สามารถรับมือกบัการ

    เปล่ียนแปลงท่ีเกิดจากกระแสโลกาภิวตัน์ ให้สามารถตอบสนองต่อการแข่งขนัท่ีรวดเร็ว รุนแรง

    ดังนั้นประชากรวยัเรียนทุกคนควรได้รับการพฒันาอย่างเต็มตามศกัยภาพ เพราะการศึกษาเป็น

    กระบวนการท่ีช่วยให้คนไดพ้ฒันาในดา้นต่าง ๆ ตลอดชีวิต การพฒันาจึงตอ้งพฒันาตั้งแต่ระดบั

    ปฐมวยั เพราะในช่วงน้ีเด็ก ๆ จะสามารถเรียนรู้ไดดี้ และเป็นการวางรากฐานในการศึกษาในระดบัต่อ ๆ ไป

    ของชีวิต ซ่ึงการพฒันาบุคคลให้มีคุณภาพนั้น เป็นผลจากการส่งเสริมพฒันาการตั้งแต่ปฐมวยั

    ดงัท่ี Illig, 1998 : 35-36, Aubrey, 2000 : 24, เทพกญัญา พรหมขติัแกว้, 2554 : 33, และเกรียงศกัด์ิ

    เจริญวงศศ์กัด์ิ (2551 : 12) กล่าวถึงความสาํคญัของการพฒันาเด็กในช่วงปฐมวยัว่า เป็นช่วงท่ีสาํคญั

    เน่ืองจาก เด็กช่วงปฐมวยั 0-6 ปี มีการพฒันาสูงสุด ซ่ึงเซลล์สมองในช่วงน้ีจะแตกเพิ่มเส้นใยใน

    สมองเช่ือมโยงระหวา่งเซลลส์มองดว้ยกนัอยา่งมากมายรวดเร็ว และจะมีความสามารถ ในการเรียนรู้ดีกวา่

    1

  • 2

    ในวยัอ่ืน ๆ จึงกล่าวไดว้่าประเทศจะเจริญกา้วหน้าไดม้ากน้อยเพียงใด ข้ึนอยู่กบัการวางรากฐาน

    ให้แก่บุคลากรในประเทศตั้งแต่ปฐมวยั ดังนั้นจึงพบว่าแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2545-2559

    (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2546 : 12) ได ้กําหนดให้มีการส่ง เสริม และ

    สนับสนุนการพฒันาการเตรียมความพร้อมของเด็กปฐมวยั ในรูปแบบท่ีหลากหลายและให้มี

    คุณภาพครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายเพื่อพฒันารากฐานพฒันาการของทุกชีวิตอยา่งเหมาะสม จึงเห็น

    ไดว้า่การจดัการศึกษาปฐมวยัมีความสาํคญัเป็นอยา่งมากซ่ึงบุคคลสาํคญัท่ีจะเป็นผูพ้ฒันาผูเ้รียนใหมี้

    คุณภาพและเป็นกาํลงัสําคญัในการพฒันาประเทศในอนาคตคือ“ครูผูส้อน”ดงัพระราชดาํรัสของ

    สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีท่ีทรงพระราชดาํรัสเน่ืองในงานวนัครูโลก เม่ือ

    วนัท่ี 5 ตุลาคม พ.ศ. 2549 ณ หอประชุมคุรุสภาความวา่ “การท่ีจะทาํใหเ้ป้าหมายทางการศึกษาสาํเร็จ

    ไปไดย้่อมตอ้งอาศยัครูเป็นปัจจยัสําคญัท่ีจะบ่มเพาะนิสัยให้เด็กแต่ละคนสามารถพึ่งตนเองได ้มี

    นํ้ าใจ ช่วยเหลือ เอ้ือเฟ้ือเผือ่แผแ่บ่งปันต่อผูอ่ื้น” (รจนา เถาพนัธ์, 2549 : 19) นอกจากน้ี สาํนกัวิชาการ

    และมาตรฐานการศึกษา (2548 : 6), รุ่ง แกว้แดง (2541 : 135), ศศิธารา พิชยัชาญณรงค ์(ออนไลน์) ได้

    กล่าวถึงความสาํคญัของครูในทาํนองเดียวกนัว่า ครูเป็นปัจจยัสาํคญัในการพฒันาคุณภาพการศึกษา

    ของชาติ ถึงแมว้า่โรงเรียนจะมีเทคโนโลยทีนัสมยัเพียงใดกต็าม ครูกย็งัมีความสาํคญัและจาํเป็นอยา่ง

    ยิง่สาํหรับการเรียนการสอน ความสามารถของครูเป็นตวัแปรสาํคญัท่ีจะนาํไปทาํนายและคาดหมาย

    คุณภาพของนกัเรียนไดโ้ดยตรงครูซ่ึงถือว่าเป็นวิชาชีพชั้นสูง(Professional) จึงตอ้งไดรั้บการพฒันา

    อย่างต่อเน่ืองตลอดเวลา โดยเฉพาะในปัจจุบนัซ่ึงเป็น ยุคสังคม เศรษฐกิจฐานความรู้ ท่ีมีการ

    เปล่ียนแปลงอยา่งรวดเร็ว ดงัท่ี แดเนียลสัน (Danielson C.,2010 : 377-378) กล่าวว่า การสอนเป็นงาน

    ท่ีซับซ้อนไม่มีรูปแบบกลยุทธ์การสอนใด ๆ สมบูรณ์มีประสิทธิภาพ ครูจึงตอ้งมีการพฒันาดา้นการ

    จดัการเรียนการสอนอยู่เสมอ การพฒันาคนให้สอดคลอ้งกบัสภาพสังคมปัจจุบนัสมรรถภาพหน่ึง

    ของคนก็คือ เป็นผูท่ี้มีความรู้ ความสามารถ ด้านการคิด การแก้ปัญหา มีเหตุผล มีทกัษะด้าน

    วิทยาศาสตร์ แต่ในปัจจุบนัประเทศไทยขาดแคลนนกัวิจยั และนกัประดิษฐ์คิดคน้ทางวิทยาศาสตร์

    และเทคโนโลยีเป็นอย่างมาก ทาํให้ผลงานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีพฒันาข้ึนใชเ้องนอ้ยมากเม่ือ

    เทียบกับประเทศอ่ืนๆผลท่ีตามมา ก็คือ การเสียค่าใช้จ่ายมหาศาลในการนําวิทยาศาสตร์และ

    เทคโนโลยเีขา้มาในประเทศ ซ่ึงเป็นสาเหตุหน่ึงของการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในปัจจุบนั ดงันั้นจึงมี

    ความจาํเป็นเร่งด่วนท่ีจะตอ้งสร้างนักวิจยัและนักประดิษฐ์คิดคน้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย ี

    (สาํนกังานคณะกรรมการพฒันาการเศรษฐกิจและสงัคมแห่งชาติ, 2551 : 1-6)

    นอกจากน้ีจากรายงานผลการประเมินนกัเรียนนานาชาติ PISA (Programme for

    International Student Assessment) พบว่านกัเรียนไทยวยั 15 ปี ซ่ึงส่วนใหญ่จบการศึกษาภาคบงัคบั

    แลว้ และกาํลงัเรียนอยู่ในร ะ ดับ ม ัธ ย ม ศึก ษ า ต อ น ป ล า ย ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ วิท ย า ศ า ส ต ร์ อ ยู่ใ น

    ระดับตํ่าโดยมีคะแนนเฉลี่ยตํ่ากว่าค่า เฉ ลี่ ยของประเทศสมาชิกองคก์รเพื่อความร่วมมือและ

  • 3

    พฒันาทางเศรษฐกิจ OECD (Organization for Economices Co-operation and Development) มี

    ตาํแหน่งคะแนนเฉล่ียอยู่ประมาณตาํแหน่งช่วง 44-47 จาก 57 ประเทศ และเม่ือพิจารณาระดบัการ

    เรียนรู้วิทยาศาสตร์ พบว่าค่าเฉล่ียของนกัเรียนไทยจดัอยูใ่นระดบั 2 จาก 6 ระดบั (ระดบัค่าเฉล่ียของ

    OECD อยู่ท่ีระดบั 3) โดยท่ีค่าระดบั 2 ของนกัเรียนไทยจดัเป็นค่าระดบัพื้นฐาน และรายงาน

    ผลการวิจยัไดแ้สดงให้เห็นว่านกัเรียนไทยเกือบคร่ึงหน่ึง(ประมาณ 46 %) มีค่าเฉล่ียตํ่ากว่าระดบัท่ี 2

    แสดงว่าการรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนไทยตํ่ากว่าระดบัพื้นฐานและไม่มีนักเรียนท่ีรู้วิทยาศาสตร์

    ระดบัสูง (ระดบั 5 และ 6) ซ่ึงสาเหตุประเดน็ท่ีสาํคญั พบวา่ ประเทศไทยขาดครูท่ีมีวุฒิวิทยาศาสตร์

    34 % ซ่ึงมีเปอร์เซ็นต์สูงกว่าค่าเฉล่ียของ OECD (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ

    เทคโนโลยี, 2550 : 1-2) และนอกจากน้ี จากผลการประเมินพฒันาการเด็กปฐมวยั ปีการศึกษา

    2553 ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2554 : 92,96) พบว่า พฒันาการดา้น

    สติปัญญา ดา้นมีความสามารถในการคิดและแกปั้ญหาเหมาะสมกบัวยั มีนกัเรียนไดร้ะดบัคุณภาพดี

    ร้อยละ 61.67 ระดบัพอใช ้ร้อยละ 35.43 และมีนกัเรียนตอ้งปรับปรุงร้อยละ 2.90 และเม่ือ

    พิจารณาเป็นรายดา้นยอ่ยพบว่า ความสามารถในการจาํแนกส่ิงของ พบว่า นกัเรียนไดร้ะดบัคุณภาพ

    ดีร้อยละ 69.46 ระดบัคุณภาพพอใชร้้อยละ 26.48 มีนกัเรียนท่ีตอ้งปรับปรุงร้อยละ 4.06 การ

    ตดัสินใจและแกปั้ญหาดว้ยตนเอง พบวา่มีนกัเรียนร้อยละ 72.75 ไดร้ะดบัคุณภาพดี ร้อยละ 23.73 ได้

    ระดบัพอใช ้ และมีนกัเรียนตอ้งปรับปรุง ร้อยละ 3.52 และสาํนกังานคณะกรรมการการศึกษาขั้น

    พื้นฐาน ( 2554 : 114) ไดใ้หข้อ้เสนอแนะสาํหรับโรงเรียนว่า การฝึกทกัษะการคิดและการแสวงหา

    ความรู้ ควรไดรั้บการพฒันาความคิดรวบยอด สังเกต จาํแนก เปรียบเทียบ จดัหมวดหมู่ เรียงลาํดบั

    เหตุการณ์ แกปั้ญหา และมิติสัมพนัธ์ และนอกจากน้ี 1 7ธิดา พิทกัษสิ์นสุข1 7 (ออนไลน์) ไดพู้ดถึงการ

    เรียนรู้วิทย-์คณิตของเด็กในช่วงปฐมวยัมีความสาํคญัต่ออนาคตของชาติ โดยพบปัญหาจากการทาํ

    วิจยัเด็กไทยทัว่ประเทศ พบว่า ทางดา้นสังคมนั้นเด็กไทยปรับตวัไดดี้ แต่เร่ืองสติปัญญาพ้ืนฐานดา้น

    คณิตศาสตร์-วิทยาศาสตร์นั้นตอ้งแกไ้ขปรับปรุง

    จากขอ้มูลดงักล่าวขา้งตน้พบว่าการศึกษาของไทยเก่ียวกบัการเรียนวิทยาศาสตร์และ

    พฒันาการทางด้านทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทั้งระดับมธัยม ประถมศึกษา และระดับ

    ปฐมวยั นกัเรียนมีคุณภาพดา้นน้ีอยู่ในเกณฑท่ี์ตอ้งเร่งดาํเนินการพฒันาอย่างเร่งด่วน ซ่ึงสาเหตุดว้ย

    ปัจจยัหลาย ๆ ดา้น โดยเฉพาะในระดบัปฐมวยัซ่ึงถือว่าเป็นช่วงเวลา ท่ีสาํคญัท่ีสุดท่ีจะวางรากฐาน

    ใหก้บัเด็ก โดยในช่วงปฐมวยั สถาบนัส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย ี(2554 : 3) กล่าว

    ว่า การจดัประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์สําหรับเด็กปฐมวยั ยงัไม่ได้รับการส่งเสริมให้

    แพร่หลาย ครูปฐมวยัส่วนใหญ่ขาดความรู้ ความเขา้ใจท่ีถูกตอ้งทั้งในดา้นเน้ือหาวิทยาศาสตร์ ดา้นวิธี

    สอนวิทยาศาสตร์ และดา้นบริบทท่ีเก่ียวขอ้งกบัการจดัการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาเหตุหน่ึงอาจ

    เน่ืองดว้ยการจดัการศึกษาปฐมวยัมิไดเ้ป็นการศึกษาภาคบงัคบัและ ในหลกัสูตรการศึกษาปฐมวยั

  • 4

    ไดก้าํหนดกรอบสาระของหลกัสูตรไวก้วา้งๆส่งผลให้สาระของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ไม่มีความ

    ชดัเจน นอกจากน้ีจากการวิจยัยงัพบว่าครูผูส้อนระดบัปฐมวยัจาํนวนมากจดัประสบการณ์การเรียนรู้

    วิทยาศาสตร์ท่ีนาํเสนอสาระความรู้ และกระบวนการดว้ยความเขา้ใจท่ีคลาดเคล่ือนทาํให้ผูเ้รียนได้

    พฒันาความรู้ ความเขา้ใจ การสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการแกปั้ญหา ตลอดจนการมีจิตวิทยา

    ศาสตร์ไม่เหมาะสม ซ่ึงสอดคลอ้งกบัผลการประเมิน ท่ีไดจ้ากการศึกษาวิจยัร่วมกบันานาชาติท่ีระบุ

    ใหเ้ห็นวา่ผลสมัฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของเดก็ไทย อยูใ่นเกณฑต์ํ่าเม่ือเทียบเคียงกบันานาชาติ

    ดงันั้นเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมเด็กให้มีคุณลกัษณะท่ีสอดคลอ้งกบัการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21

    กล่าวคือ ผูเ้รียนควรมีทกัษะในลกัษณะ “7Cs Skills” ประกอบดว้ย 1) ทกัษะการคิดวิเคราะห์ และ

    แกปั้ญหา (Critical Thinking and Problem Solving) 2) ทกัษะการใชข้อ้มูลข่าวสาร และส่ือในการ

    ส่ือสาร (Communications Information and Media Literacy) 3) ทกัษะการทาํงานเป็นทีมและการมี

    ภาวะผูน้าํ (Collaborative Teamwork and Leadership) 4) ทกัษะการสร้างสรรคก์ารประดิษฐส่ิ์งใหม่

    (Creativity and Innovation) 5) ทกัษะดา้นการใชค้อมพิวเตอร์ และไอทีซี (Computer and ICT

    Literacy) 6) ทกัษะดา้นอาชีพและการพึ่งพาตนเองในการเรียนรู้ (Career and Learning Self-Reliance)

    7) ทกัษะความเขา้ใจขา้มวฒันธรรม (Cross-Cultural Understanding) (Tilling, Bernie and Fadel,

    2009 : 175-177) รวมทั้งตอ้งเตรียมความพร้อมเด็กเขา้สู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558 จึงจาํเป็นตอ้ง

    เร่งพฒันาเด็กในดา้นวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะ การพฒันาทกัษะดา้นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

    เพราะทกัษะเหล่าน้ีเป็นรากฐานท่ีสาํคญัสาํหรับการเรียนรู้และการพฒันาการคิดในขั้นสูง รวมทั้งการ

    นาํไปใชใ้นชีวิตประจาํวนั ดงัท่ี พรพรรณ ไวทยางกูร (ออนไลน์) ผูอ้าํนวยการสถาบนัส่งเสริมการ

    สอนวิทยาศาสตร์และเทคโน 1 7ชุติมา1 7 เตมียสถิต ผูเ้ช่ียวชาญของ สสวท. (ออนไลน์) และกุลยา ตนัติ

    ผลาชีวะ (2547 : 171) ไดก้ล่าวไวใ้นทาํนองเดียวกนัถึงความสาํคญัในการส่งเสริมให้เด็กปฐมวยั

    เรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพราะจะเป็นการวางรากฐานให้เด็กมีศกัยภาพในการคิดและการเรียนรู้ตลอด

    ชีวิต ทาํให้เด็กสามารถปรับตวัใน ยุคสมยัแห่งการเปล่ียนแปลงไดใ้นอนาคตรวมทั้ง1 7ทาํให้เด็กมี

    เคร่ืองมือสาํคญัท่ีจะแกปั้ญหา ในอนาคตของตวัเองได ้ เพราะเด็กไดเ้รียนรู้จากการคิดการแกปั้ญหา

    อยา่งมีเหตุมีผล สามารถสรุป ขอ้ความรู้ไดด้ว้ยตนเอง ซ่ึงถือว่าเป็นพื้นฐานสาํคญัสาํหรับชีวิตของเด็ก

    ในการเรียนรู้ต่อไป

    นอกจากทกัษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นทกัษะท่ีสาํคญัท่ีควรพฒันาให้กบัเด็ก

    ปฐมวยัแลว้ จิตวิทยาศาสตร์กเ็ป็นส่วนสาํคญัท่ีควรพฒันาควบคู่กนัไปดว้ย เน่ืองดว้ยจิตวิทยาศาสตร์

    เป็นส่ิงหน่ึงท่ีมีบทบาทสาํคญัยิ่งต่อความสาํเร็จในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และความสามารถ

    ในการแกปั้ญหาทางวิทยาศาสตร์ไดอ้ยา่งมีประสิทธิภาพของผูเ้รียนในการจดัการศึกษาวิทยาศาสตร์

    ของไทยได้กําหนดเป้าหมายข้อหน่ึงไว้ว่าควรพัฒนาให้ผูเ้รียนมีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม

    จริยธรรม และค่านิยมในการใชว้ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยอียา่งสร้างสรรค ์ และมีนโยบายในการจดั

  • 5

    การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้ นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

    ใหส้อคลอ้งกบัแผนการศึกษาชาติ (พ.ศ. 2545-2559) โดยเนน้กระบวนการท่ีนกัเรียนเป็นผูคิ้ดและลง

    มือปฏิบติัศึกษาคน้ควา้อยา่งมีระบบดว้ยกิจกรรมท่ีหลากหลาย สอดคลอ้งกบั วิซเซอร์ (Visser, 2000)

    กล่าวว่า การเรียนรู้ของผูเ้รียนจะเกิดข้ึนระหว่างการมีส่วนร่วมในการทาํกิจกรรมการเรียนการสอน

    ทาํให้มีความสามารถในการสืบเสาะหาความรู้และแกปั้ญหาดว้ยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ไดมี้การ

    พัฒนาด้านกระบวนการคิดขั้นสูง มีคุณธรรม จริยธรรม รวมถึง