25
Financial Analysis 5 - 1 วัตถุประสงค เพื่อใหทราบความสําคัญและวิธีการจัดทํางบประมาณของกิจการตาง เนื้อหา ลักษณะของงบประมาณประจําป ประโยชนของงบประมาณ การจัดทํางบประมาณกับมนุษยสัมพันธ ระยะเวลาของงบประมาณ ชนิดของงบประมาณ การจัดทํางบประมาณของกิจการอุตสาหกรรม การจัดทํางบประมาณของกิจการขายสินคา การจัดทํางบประมาณของกิจการขายบริการ งบประมา งบประมา

งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

  • Upload
    buique

  • View
    229

  • Download
    6

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

FFiinnaanncciiaall AAnnaallyyssiiss

5 - 1

วัตถุประสงค เพื่อใหทราบความสําคัญและวิธีการจัดทํางบประมาณของกิจการตาง ๆ

เนื้อหา ลักษณะของงบประมาณประจําป ประโยชนของงบประมาณ การจัดทํางบประมาณกับมนุษยสัมพันธ ระยะเวลาของงบประมาณ ชนิดของงบประมาณ การจัดทํางบประมาณของกิจการอุตสาหกรรม การจัดทํางบประมาณของกิจการขายสินคา การจัดทํางบประมาณของกิจการขายบริการ

งบประมางบประมาณณ

Page 2: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

งบประมาณงบประมาณ

5 - 2

งบประมาณ งบการเงินที่ไดจัดทําขึ้นตามปกติที่เสนอตอบุคคลภายนอกจะแสดงถึงเหตุการณที่ผานมาแลวในอดีตมากกวาสิ่งที่กิจการจะกระทําในอนาคต งบการเงินดังกลาวจึงไมมีขอมูลที่คาดวาจะเกิดขึ้น หรือขอมูลที่เกิดจากการพยากรณ เพราะคิดวาการรายงานถึงสิ่งที่ยังไมแนนอนและไมมีหลักฐานประกอบจะทําใหผูอานขาดความเชื่อถือขอมูลในงบการเงินนั้น ปจจุบันนี้ฝายจัดการ รวมท้ังผูลงทุนและผูใหกูเร่ิมเขาใจแลววา การประมาณการเหตุการณที่จะเกิดในอนาคต หรือการวางแผนนั้นมีคุณคาตอการดําเนินงานอยางมาก ความรับผิดชอบอยางหนึ่งของฝายจัดการคือ การวางแผน กิจการที่ประสบความสําเร็จยอมมีการวางแผนทั้งระยะสั้นและระยะยาว ซ่ึงแผนเหลานั้นจะเปนทางที่ชวยใหกิจการดําเนินงานใหสําเร็จตามวัตถุประสงคที่ไดตั้งไว โดยอยางนอย กิจการก็ควรจะมีการวางแผนการดําเนินงานในอนาคตที่ครอบคลุมระยะ 1 ปไว ซ่ึงการวางแผนการดังกลาว ก็คือ การจัดทํางบประมาณประจําป นั่นเอง ลักษณะของงบประมาณประจําป งบประมาณประจําปเปนแผนการดําเนินงานของกิจการที่แสดงออกในรูปของตัวเลข ตัวเลขในที่นี้ไมใชจํานวนเงินอยางเดียว แตจะมีตัวเลขอื่น เชน จํานวนหนวยของสินคา จํานวนหนวยของวัตถุทางตรง ช่ัวโมงแรงงานทางตรง เปนตน งบประมาณจะเปนการสรุปวัตถุประสงคของกิจการทุกดาน คือ ดานการขาย การผลิต การตลาด และการเงิน โดยแสดงเปาหมายของการขาย การผลิต กําไรสุทธิ ฐานะของเงินสดและเปาหมายอื่นๆ ที่กิจการตองการ งบประมาณจะประกอบดวยงบการเงินตาง ๆ ที่เปนงบพยากรณ เชน งบกําไรขาดทุน งบดุล งบประมาณเงินสด และงบประกอบอื่น ๆ ประโยชนของงบประมาณ ประโยชนที่สําคัญ ๆ ของงบประมาณมีดังนี้

1. ชวยใหเกิดการวางแผน ประโยชนที่สําคัญที่สุดของการจัดทํางบประมาณคือ บังคับใหฝายจัดการคิดลวงหนา มีการจัดทําและเตรียมงานสําหรับสถานการณที่อาจเปลี่ยนแปลงไป ฝายจัดการมีหนาที่รับผิดชอบวางแผนงานตาง ๆ เนื่องจากฝายจัดการของบางกิจการดําเนินงานไปโดยไมมีการวางแผน และไมมีเวลาในการคิดแกไขปญหาตาง ๆ ลวงหนา การวางแผนจะชวยลดการตัดสินปญหาเฉพาะหนาลง ทําใหฝายจัดการตองสํารวจตัวเองในเรื่องเกี่ยวกับหนาที่งาน

Page 3: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

FFiinnaanncciiaall AAnnaallyyssiiss

5 - 3

วิธีการทํางาน วัตถุประสงคของกิจการ การใชงบประมาณอยางถูกตองทําใหมีการวางแผนการดําเนินงานซึ่งจะชวยลดปญหาตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นกับกิจการได

2. ชวยในการวัดผลการดําเนินงาน โดยทั่วไป งบประมาณจะใชเปนเกณฑในการวัดผลงานทีเ่กดิขึน้จริงไดดีกวาการใชผลงานในอดีตเปนการวัด เชน ปนี้กิจการมียอดขาย 2,000,000 บาท เมื่อนําไปเปรียบเทียบกับยอดขายของปกอน 1,600,000 บาท ก็ไมแสดงวาปนี้กิจการมีประสิทธิภาพ และประสบความสําเร็จอยางสูง ซ่ึงบางทียอดขายในปนี้ควรจะเปน 2,200,000 บาท เนื่องจากเปนปกติที่เศรษฐกิจกําลังรุงเรืองเต็มที่และคูแขงในผลิตภัณฑที่ขายก็มีไมมาก การใชขอมูลในอดีตเพื่อวัดผลการทํางานอาจจะปดบังความไมมีประสิทธิภาพของการทํางานในอดีต ยิ่งไปกวานั้นการเปรียบเทียบขอมูลปจจุบันกับขอมูลในอดีตมีขอจํากัดที่วา ไมไดคํานึงถึงการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ทางเทคนิค คูแขงขันและอื่น ๆ

3. ชวยในการประสานงานและการติดตอ ฝายจัดการและผูควบคุมงานทุกระดับจะมีสวนในการจัดทํางบประมาณไมมากก็นอย การประสานงานคือการรวบรวมและการทําใหเกิดความสมดุลในการใชทรัพยากรของกิจการ เพื่อใหเปาหมายของแตละคนเปนไปในทางเดียวกันกับเปาหมายของธุรกิจ งบประมาณจะใชเปนสื่อในการติดตอใหวัตถุประสงคของแตละแผนกประสานกัน ทําใหแตละแผนกไดทราบวาการทํางานของแผนกจะประสานกับงานของแผนกอื่นไดอยางไร และไดทราบถึงมาตรการการทํางานตางๆ ที่ตองถือเปนแนวทางในการทํางาน การรวมมือกันในองคการเปนสิ่งสําคัญยิ่ง แผนกจัดซื้อจะซ้ือวัตถุดิบก็ตองดูถึงความตองการใชของแผนกผลิต แผนกผลิตจะผลิตไดเทาใดก็ตองดูจากประมาณการยอดขายของฝายขาย เปนตน

การจัดทํางบประมาณกับมนุษยสัมพันธ

งบประมาณมักถูกมองในแงวิธีการการไดมาของตัวเลขเพียงอยางเดียว ที่จริงแลวปจจัยเกี่ยวกับมนุษยในการจัดทํางบประมาณมีความสําคัญมากกวาเทคนิคทางการจัดทํา ความสําเร็จของ

งบประมาณขึ้นอยูกับการยอมรับของบุคคลที่ดําเนินงานตามงบประมาณนั้น ธรรมชาติของมนุษยจะมีนิสัยคัดคานเมื่อถูกจํากัด การจัดทํางบประมาณ จะทําใหพนักงานมีความรูสึกวาตนกําลังถูกเพงเล็ง ถูกจํากัดอะไรบางอยาง จึงเปนหนาที่ของฝายจัดการที่จะชี้แจงใหพนักงานเห็นความสําคัญของการ

จัดการทํางบประมาณ หัวหนาแผนกสวนมากถือวางบประมาณเปนเครื่องมือของฝายจัดการในการจัดการพวกเขา พวกเขาจึงมีความรูสึกวา คําวางบประมาณมีความหมายเหมือนคําวา ปลดออก ลดคาจาง หรือลงโทษ หากพนักงานไดรับการอบรมที่ถูกตองแลวก็จะทราบวาเขาจะใชงบประมาณเปนแนวทางมาตรฐานในการปฏิบัติงาน ชวยใหแตละหนวยงานประสานงานกันและรวมมือในการทํางาน

Page 4: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

งบประมาณงบประมาณ

5 - 4

งบประมาณหากใชไปในทางที่ถูกตองแลวจะเปนเครื่องมือจูงใจในการวัดผลงานและชวยใหฝายจัดการบรรลุวัตถุประสงค ผูที่เกี่ยวของกับงบประมาณควรเขาใจวา งบประมาณเปนเครื่องชวย มิใชการกอใหเกิดความยุงยาก การทํางบประมาณควรไดรับความรวมมือจากฝายจัดการทุกระดับ เพราะวาผลที่ไดรับจากงบประมาณขึ้นอยูกับการยอมรับและปฏิกิริยาของผูที่เกี่ยวของ

ระยะเวลาของงบประมาณ

งบประมาณที่จัดทําขึ้นอาจคลุมระยะเวลา 1 ป นอยกวาหรือมากกวา 1 ปก็ได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคในการจัดทํางบประมาณและความไมแนนอนตางๆ ที่อาจเกิดขึ้น งบประมาณที่เรียกวางบประมาณจายลงทุน มักเปนงบประมาณระยะยาวและมักจัดทําขึ้นเพื่อวัตถุประสงคเฉพาะอยาง เชนการซื้อเครื่องจักร การสรางโรงงานใหม

และการเพิ่มสายผลิตภัณฑ งบประมาณซึ่งเปนงบที่รวมแผนงานการดําเนินงานตามปกติของกิจการ มักจะจัดทําเปนรายป และแสดงรายละเอียดออกเปนรายเดือนหรืออาจเปนรายไตรมาสก็ได

ในปจจุบันกิจการตางๆ นิยมจัดทํางบประมาณแบบตอเนื่อง (Continuous Budgets) มากขึ้น งบประมาณแบบตอเนื่องคืองบประมาณที่แบงละเอียดออกเปนรายเดือนหรือรายไตรมาส และขณะที่กิจการดําเนินงานในไตรมาส 1 กิจการจะทํางบประมาณของไตรมาส 1 ของปตอไปไว ดังนั้น กิจการจะมีงบประมาณอยูในมือ 4 ไตรมาสหรือ 1 ปเสมอ คือ งบประมาณของไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 และไตรมาส 1 ของปตอไป การที่กิจการจัดทํางบประมาณแบบนี้ก็เพื่อชวยใหฝายจัดการสนใจคาดการณเหตุการณลวงหนาของกิจการตลอดเวลา

ชนิดของงบประมาณ

งบประมาณที่แตละกิจการจัดทําขึ้นนั้น อาจมีช่ือเรียกไดหลายอยาง บางกิจการอาจเรียกวางบพยากรณ เพราะถือวาเปนงบการเงินที่เกิดจากการพยากรณลวงหนา งบประมาณประจําป แบงเปน 2 สวน สวนที่ 1 คือ งบประมาณการดําเนินงาน ซ่ึงจะประกอบดวยงบประมาณตาง ๆ ซ่ึงจะนํามารวมกันทําใหไดงบประมาณงบกําไรขาดทุน ไดแก งบประมาณขาย งบประมาณการผลิต งบประมาณวัตถุทางตรง งบประมาณคาแรงงานทางตรง งบประมาณคาใชจายการผลิต งบประมาณคาใชจายในการขายและบริหาร งบประมาณเหลานั้น จะเกี่ยวกับเปาหมายของการขาย การผลิต และการดําเนินงานของกิจการ สําหรับสวนที่ 2 จะเปนงบประมาณการเงิน ซ่ึงประกอบดวยงบประมาณการลงทุน งบประมาณเงินสด และงบประมาณงบดุล เปนงบประมาณการเงินที่เนนเกี่ยวกับการเงินที่ตองใชในการดําเนินงาน และแผนการจายลงทุน ในการจัดทํางบประมาณประจาํปจะจัดทําตามลําดับ โดยที่จะทํางบประมาณการดําเนินงาน ซ่ึงเริ่มจากงบประมาณขายกอน แลวจึงทํางบประมาณการเงินตอไป

Page 5: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

FFiinnaanncciiaall AAnnaallyyssiiss

5 - 5

งบประมาณ การดําเนินงาน

ขั้นตอนของการจัดทํางบประมาณประจําปของกิจการอุตสาหกรรม

งบประมาณขาย

งบประมาณคาใชจาย ในการขายและบริหาร

งบประมาณคาแรงงานทางตรง

งบประมาณการผลิต

งบประมาณงบกําไรขาดทุน

งบประมาณเงนิสด

งบประมาณวตัถุทางตรง งบประมาณคาใชจายการผลิต

งบประมาณการลงทุน งบประมาณงบดุล งบประมาณ การเงิน

Page 6: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

งบประมาณงบประมาณ

5 - 6

ตัวอยางการจัดทํางบประมาณประจาํป

บริษัท แสงตะวัน จํากัด เปนบริษัทที่ตั้งขึ้นเพื่อผลิตและขายสินคาชนิดหนึ่ง บริษัทตองการจัดทํางบประมาณประจําป 25X6 โดยมีงบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X5 ดังนี้

สินทรัพย

หนี้สินและสวนของผูถือหุน เงินสด 38,000 เจาหนี้การคา 10,600 เงินลงทุนชั่วคราว 2,000 ภาษีเงินไดคางจาย 40,000 ลูกหนี้การคา 60,000 ทุนเรือนหุน 225,000 สินคาสําเร็จรูป (600 หนวย) 26,400 กําไรสะสม 6,480 วัตถุทางตรง (620 กรัม) 2,480 อาคารและอุปกรณ 182,000 หัก คาเสื่อมราคาสะสม 28,800 153,200 รวมสินทรัพย 282,080 รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน 282,080 งบประมาณขาย

งบประมาณขายเปนงบประมาณงบแรกที่ตองจัดทําขึ้น และเปนงบประมาณที่สําคัญเพราะงบประมาณอื่นที่จะจัดทําตอไปจะขึ้นกับตัวเลขในงบประมาณขาย งบประมาณขายไดตัวเลขมาจากการพยากรณยอดขาย ฝายขายตองพยายามพยากรณใหแมนยํา เพราะถาพยากรณผิดพลาดมาก อาจมีผลกระทบตอกําไรได เชน ถาพยากรณยอดขายดีมากไป อาจทําใหมีสินคาคงเหลือมาก ซ่ึงมีผลทําใหตองลดราคาขายลง ถาพยากรณยอดขายต่ําเกินไป อาจทําใหสูญเสียโอกาสการขาย เนื่องจากไมมีสินคาที่จะขาย บริษัท แสงตะวัน ไดพยากรณยอดขายของป 25X6 เปนรายไตรมาส โดยพยากรณยอดขายของไตรมาส 1 ไววาจะขายได 3,000 หนวย และยอดขายจะเพิ่มขึ้นไตรมาสละ 500 หนวย ราคาขายหนวยละ 70 บาท งบประมาณขายของบริษัทจะเปนดังนี้

Page 7: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

FFiinnaanncciiaall AAnnaallyyssiiss

5 - 7

งบประมาณขาย ป 25X6

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม ปริมาณขาย (หนวย) 3,000 3,500 4,000 4,500 15,000 คูณราคาขาย (บาทตอหนวย) 70 70 70 70 70 ยอดขาย (บาท) 210,000 245,000 280,000 315,000 1,050,000 งบประมาณการผลิต

งบประมาณการผลิต จะแสดงจํานวนสินคาที่จะผลิต ซ่ึงจํานวนสินคาท่ีจะผลิตในแตละงวด จะเทากับ

จํานวนสินคาท่ีขาย + จํานวนสินคาสําเร็จรูปปลายงวด – จํานวนสินคาสําเร็จรูปตนงวด

กิจการจะตองมีการกําหนดจาํนวนสินคาสาํเร็จรูปปลายงวดที่ตองการไว เพื่อใหกจิการผลิตสินคาในแตละงวดในจํานวนที่เหมาะสม ถาไมมีการกําหนด บางงวดอาจผลิตมาก ทําใหมีสินคาเหลือมาก จนกระทบการผลิตของงวดถัดไป คือ ตองลดกําลังการผลิตและตองลดการจางแรงงานลง บางงวดอาจมสิีนคาไมเพียงพอ ตองเพิ่มกาํลังการผลิต ตองมีการจางงานลวงเวลา ทําใหตนทนุผลิตแพงขึ้น เปนตน บริษัท แสงตะวัน มีนโยบายวาตองการมีสินคาสําเร็จรูปปลายไตรมาสทุกไตรมาสเทากับ 20% ของยอดขายไตรมาสถัดไปเสมอ ยอดขายของไตรมาสที่ 1 ของป 25X7 คาดวาจะขายได 5,000 หนวย งบประมาณการผลิตจะเปนดังนี้

งบประมาณการผลิต ป 25X6

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม ปริมาณขาย (หนวย) 3,000 3,500 4,000 4,500 15,000 บวก สินคาสําเร็จรูปปลายงวด* 700 800 900 1,000 1,000 3,700 4,300 4,900 5,500 16,000 หัก สินคาสําเร็จรูปตนงวด 600** 700 800 900 600 จํานวนสินคาท่ีจะผลิต (หนวย) 3,100 3,600 4,100 4,600 15,400 * 20% ของยอดขายไตรมาสถัดไป ** สินคาสําเร็จรูปปลายป 25X5 จํานวนสินคาที่จะผลิตจากงบประมาณการผลิต จะเปนขอมูลที่จะนําไปจัดทํางบประมาณตนทุนผลิตตอไป

Page 8: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

งบประมาณงบประมาณ

5 - 8

งบประมาณวัตถุทางตรง

งบประมาณวัตถุทางตรงจะแสดงถึงปริมาณและตนทุนของวัตถุทางตรงที่ตองซื้อ ปริมาณวัตถุทางตรงที่จะซื้อในแตละงวดจะเทากับ

วัตถุทางตรงที่ตองการใช + วัตถุทางตรงคงเหลือปลายงวด – วัตถุทางตรงคงเหลือตนงวด

กิจการจะตองมีการกําหนดจํานวนวัตถุทางตรงคงเหลือปลายงวดที่ตองการไว เพื่อใหกิจการมีวัตถุทางตรงเพียงพอที่จะใช ไมมากหรือนอยเกินไป ถา มีนอยไป อาจมีผลทําใหหยุดการผลิต บางครั้งถามีมากเกินไปอาจทําใหวัตถุเสื่อมสภาพได

บริษัท แสงตะวัน มีนโยบายตองการมีวัตถุทางตรงคงเหลือปลายไตรมาสเทากับ 10% ของจํานวนที่ตองใชไตรมาสถัดไปเสมอ ในการผลิตสินคา 1 หนวย ตองใชวัตถุทางตรง 2 กรัม และราคาซื้อกรัมละ 4 บาท บริษัทคาดวา วัตถุทางตรงของไตรมาส 1 ของป 25X7 ที่ตองใชในการผลิตมีจํานวน 10,200 กรัม

งบประมาณวัตถุทางตรง ป 25X6

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม จํานวนหนวยท่ีจะผลิต 3,100 3,600 4,100 4,600 15,400 คูณจํานวนกรัมท่ีตองใช ตอหนวย

2 2 2 2 2

จํานวนกรัมท่ีตองใชรวม 6,200 7,200 8,200 9,200 30,800 บวก วัตถุทางตรง-ปลายงวด* 720 820 920 1,020 1,020 6,920 8,020 9,120 10,220 31,820 หัก วัตถุทางตรง-ตนงวด 620** 720 820 920 620 วัตถุทางตรงที่ตองซื้อ (กรัม) 6,300 7,300 8,300 9,300 31,200 คูณราคาทุนตอกรัม 4 4 4 4 4 วัตถุทางตรงที่ตองซื้อ (บาท) 25,200 29,200 33,200 37,200 124,800 * 10% ของจํานวนที่ตองใชไตรมาสถัดไป ** วัตถุทางตรงปลายป 25X5 งบประมาณคาแรงงานทางตรง

Page 9: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

FFiinnaanncciiaall AAnnaallyyssiiss

5 - 9

เชนเดียวกับงบประมาณวัตถุทางตรง งบประมาณคาแรงงานทางตรงจะแสดงถึงจํานวน(ช่ัวโมง) และตนทุนของคาแรงงานทางตรงที่ตองใชในการผลิตในแตละงวด งบประมาณคาแรงงานทางตรงจะชี้ใหเห็นถึงจํานวนแรงงานที่ตองการ

บริษัท แสงตะวัน ผลิตสินคา 1 หนวย ตองใชแรงงานทางตรง 2 ช่ัวโมงในการผลิต อัตราคาแรงงานทางตรงชั่วโมงละ 10 บาท งบประมาณคาแรงงานทางตรงจะเปนดังนี้

งบประมาณคาแรงงานทางตรง ป ป 2255XX66

ไตรมาส ไตรมาส 11 ไตรมาส ไตรมาส 22 ไตรมาส ไตรมาส 33 ไตรมาส ไตรมาส 44 รวมรวม จํานวนหนวยที่จะผลิตจํานวนหนวยที่จะผลิต 33,,110000 33,,660000 44,,110000 44,,660000 1155,,440000 คูณคูณ ช่ัวโมงแรงงานทางตรงช่ัวโมงแรงงานทางตรง ตอหนวยตอหนวย

22 22 22 22 22

ช่ัวโมงแรงงานทางตรงรวมช่ัวโมงแรงงานทางตรงรวม 66,,220000 77,,220000 88,,220000 99,,220000 3300,,880000 คูณคูณ อัตราคาแรงอัตราคาแรงงานตอช่ัวโมงงานตอช่ัวโมง 1100 1100 1100 1100 1100 คาแรงงานทางตรงรวมคาแรงงานทางตรงรวม 6622,,000000 7722,,000000 8822,,000000 9922,,000000 330088,,000000

งบประมาณคาใชจายการผลิต

งบประมาณคาใชจายการผลิต จะแสดงถึงจํานวนคาใชจายการผลิตที่จะเกิดขึ้นในแตละงวด การจัดทํางบประมาณคาใชจายการผลิตมักแบงเปน 2 สวน คือ สวนผันแปร และสวนคงที่ สําหรับสวนผันแปร จะผันแปรไปตามปริมาณที่ผลิต

Page 10: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

งบประมาณงบประมาณ

5 - 10

บริษัท แสงตะวันไดประมาณการคาใชจายการผลิตที่จะเกิดขึ้นดังนี้ สวนผันแปร คาวัตถุทางออม 1.00 บาทตอช่ัวโมงแรงงานทางตรง คาแรงงานทางออม 1.40 บาทตอช่ัวโมงแรงงานทางตรง คาสาธารณูปโภค 0.60 บาทตอช่ัวโมงแรงงานทางตรง สวนคงที่ เงินเดือน 29,000 บาทตอไตรมาส คาเชา 5,700 บาทตอไตรมาส คาเสื่อมราคา 3,800 บาทตอไตรมาส งบประมาณคาใชจายการผลิตจะเปนดังนี้

งบประมาณคาใชจายการผลิต

ป 25X6 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม ช่ัวโมงแรงงานทางตรง 6,200 7,200 8,200 9,200 30,800 สวนผันแปร วัตถุทางออม 6,200 7,200 8,200 9,200 30,800 คาแรงงานทางออม 8,680 10,080 11,480 12,880 43,120 คาสาธารณูปโภค 3,720 4,320 4,920 5,520 รวม 18,600 21,600 24,600 27,600 สวนคงที่

18,480 92,400

เงินเดือน 29,000 29,000 29,000 29,000 116,000 คาเชา 5,700 5,700 5,700 5,700 22,800 คาเสื่อมราคา 3,800 3,800 3,800 3,800 15,200 รวม 38,500 38,500 38,500 38,500 154,000 รวมคาใชจายการผลิต 57,100 60,100 63,100 66,100 246,400 อัตราคาใชจายการผลิตคิดเขางานตอช่ัวโมงแรงงานทางตรง = 246,400 / 30,800

= 8.00 บาท

Page 11: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

FFiinnaanncciiaall AAnnaallyyssiiss

5 - 11

งบประมาณคาใชจายในการขายและบริหาร

แตละแผนกทั้งแผนกขายและแผนกบริหารของกิจการจะมีงบประมาณคาใชจายของแผนก ซ่ึงงบประมาณคาใชจายของแตละแผนกจะนํามารวมเปนงบประมาณคาใชจายในการขาย และบริหารรวมของ กิจการ ซ่ึงมักแบงเปน 2 สวน คือ สวนผันแปร และสวนคงที่ สําหรับสวนผันแปรมักจะผันแปรจะไปตามยอดขาย

บริษัท แสงตะวัน ไดประมาณการคาใชจายในการขายและบริหารที่จะเกิดขึ้นดงันี ้ สวนผันแปร คานายหนา 3 บาทตอหนวยที่ขาย คาขนสงออก 2 บาทตอหนวยที่ขาย สวนคงที ่ เงินเดือน 22,500 บาทตอไตรมาส คาโฆษณา 6,500 บาทตอไตรมาส คาเสื่อมราคา 1,000 บาทตอไตรมาส งบประมาณคาใชจายในการขายและบริหารจะเปนดังนี ้

งบประมาณคาใชจายในการขายและบริหาร ป 25X6

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม ยอดขาย (หนวย) 3,000 3,500 4,000 4,500 สวนผันแปร

15,000

คานายหนา 9,000 10,500 12,000 13,500 45,000 คาขนสงออก 6,000 7,000 8,000 9,000 30,000 รวม 15,000 17,500 20,000 22,500 สวนคงที่

75,000

เงินเดือน 22,500 22,500 22,500 22,500 90,000 คาโฆษณา 6,500 6,500 6,500 6,500 26,000 คาเสื่อมราคา 1,000 1,000 1,000 1,000 4,000 รวม 30,000 30,000 30,000 30,000 120,000 รวมคาใชจายในการขายและบริหาร 45,000 47,500 50,000 52,500 195,000

Page 12: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

งบประมาณงบประมาณ

5 - 12

งบประมาณงบกําไรขาดทุน

งบประมาณงบกําไรขาดทุนเปนงบสุดทายของงบประมาณดําเนินงาน เปนงบที่แสดงผลการดําเนินงานที่คาดวาจะเปนของงวดถัดไป งบประมาณงบกําไรขาดทุนจะนําขอมูลมาจากงบประมาณที่ไดทํามา เชน ยอดขายไดมาจากงบประมาณขาย ตนทุนขายจะไดจากการคํานวณตนทุนผลิตตอหนวยของสินคา นํามาคูณจํานวนหนวยที่ขาย คาใชจายในการขายและบริหารมาจากงบประมาณคาใชจายในการขายและบริหาร สําหรับดอกเบี้ยจายอาจตองรอขอมูลการจัดหาเงินจากงบประมาณเงินสด หรืออาจใชวิธีประมาณการจํานวนที่จะจายก็ได ภาษีเงินไดนิติบุคคล จะเกิดขึ้นในอัตรา 30% ของกําไรกอนภาษีเงินได

งบประมาณงบกําไรขาดทุนของบริษัท แสงตะวัน มีดังนี้

บริษัทแสงตะวัน จํากัด งบประมาณงบกําไรขาดทุน

สําหรับป สิ้นสุดวันท่ี 31 ธันวาคม 25X6 ยอดขาย (จากงบประมาณขาย) 1,050,000 บาท หัก ตนทุนขาย (15,000x44*) 660,000 กําไรขั้นตน 390,000 หัก คาใชจายในการขายและบริหาร (จากงบประมาณคาใชจายในการขายและบรหิาร) 195,000 กําไรจากการดาํเนินงาน 195,000 หัก ดอกเบี้ยจาย (จากงบประมาณเงินสด) 300 กําไรกอนภาษเีงินได 194,700 หัก ภาษีเงินไดนิติบุคคล (30%) 58,410 กําไรสุทธิ 136,290 บาท

*ตนทุนมาตรฐานตอหนวย

ปริมาณที่ใช อัตราตอปริมาณ รวม วัตถุทางตรง คาแรงงานทางตรง

2 กรัม 2 ช่ัวโมง

4.00 บาทตอกรัม 10.00 บาทตอช่ัวโมง

8.00 20.00

คาใชจายการผลิต 2 ช่ัวโมง 8.00 บาทตอช่ัวโมง 16.00 รวม 44.00

Page 13: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

FFiinnaanncciiaall AAnnaallyyssiiss

5 - 13

งบประมาณเงินสด

งบประมาณเงินสด จะแสดงถึงเงินสดรับ เงินสดจาย และเงินสดคงเหลือเปนงบที่มีความสําคัญมากงบหนึ่ง จะแสดงใหเห็นภาพของเงินสดวา จะมีเหตุการณเงินสดไมเพียงพอหรือไม ถามีจะไดเตรียมการจัดหาทุนใหพรอม งบประมาณเงินสดจะมีขอมูลเกี่ยวกับเงินสดรับ เงินสดจาย การจัดหาเงิน รวมทั้งยอดเงินสดคงเหลือตนงวด และปลายงวด

งบประมาณเงินสด เงินสดตนงวด xx บวก เงินสดรับ (รายละเอียดที่รับ) xx รวมเงินสดที่มี xx หัก เงินสดจาย (รายละเอียดที่จาย) xx เงินสดคงเหลือ (ขาด) xx การจัดหาเงิน xx เงินสดปลายงวด xx เงินสดรับ จะประกอบดวย เงินสดรับจากการดําเนินงาน เชน จากการขายสินคาหรือบริการ หรือจากรายไดอ่ืน เชน ดอกเบี้ยรับ รายไดเงินปนผล เปนตน นอกจากนี้จะมีเงินสดรับจากการขายเงินลงทุน ขายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ รวมทั้งการเพิ่มทุนดวย เงินสดจาย จะประกอบดวย เงินสดจายจากการดําเนินงาน เชน การจายซื้อวัตถุทางตรง คาแรงงานทางตรง คาใชจายการผลิต และคาใชจายในการขายและบริหาร เปนตน นอกจากนั้น จะมีเงินสดจายซื้อเงินลงทุน ซ้ือที่ดิน อาคาร และอุปกรณ การคืนทุน รวมทั้งการจายเงินปนผล การจัดหาเงิน จะแสดงจํานวนเงินที่ตองกู หรือการจายคืนเงินตนและดอกเบี้ยจาย สวนนี้จะมีกรณีที่เงินสดจายมากกวาเงินสดรับ หรือกรณีที่มีเงินสดคงเหลือต่ํากวาเงินสดอยางต่ําที่กิจการตองการใหมีปลายงวด เงินสดปลายงวด จะถูกยกไปเปนเงินสดตนงวดถัดไป ขอมูลที่ใชในการจัดทํางบประมาณเงินสดไดมาจากงบประมาณตาง ๆ รวมทั้งขอมูลเพิ่มเติมที่กิจการกําหนดขึ้น ตามปกติงบประมาณเงินสดมักจะจัดทําเปนรายเดือน

Page 14: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

งบประมาณงบประมาณ

5 - 14

บริษัท แสงตะวัน สรุปขอมูลที่ตองใชในการจัดทํางบประมาณเงินสดไวดังนี้

ขอมูลเงินสดรบั - บริษัทขายสินคาเปนเงินเชื่อ 60% ของยอดขายจะเก็บไดในไตรมาสที่ขาย และ 40%

จะเก็บไดในไตรมาสแรกถัดจากไตรมาสที่ขายเสมอ - บริษัทตั้งใจจะขายเงินลงทุนชั่วคราวที่มีอยูทั้งหมดในไตรมาส 1

ขอมูลเงินสดจาย - บริษัทซื้อวัตถุทางตรงเปนเงินเชื่อ บริษัทจะชําระคาวัตถุทางตรงที่ซ้ือในไตรมาสที่ซ้ือ

50% และที่เหลือจะชําระในไตรมาสแรกถัดจากไตรมาสที่ซ้ือเสมอ - คาแรงงานทางตรง คาใชจายการผลิต และคาใชจายในการขายและบริหาร ที่จายเงินจะ

จายทันทีในไตรมาสที่เกิดขึ้น - ภาษีเงินไดคางจายของแตละปจะตองนําไปชําระกรมสรรพากรในไตรมาส 2 ของป

ถัดไปเสมอ ดังนี้ ภาษีเงินไดของป 25X5 จํานวน 40,000 บาท ตองชําระในไตรมาส 2 ของป 25X6

- บริษัทจะซื้ออุปกรณเพิ่มโดยจายเงินสดในไตรมาส 2 จํานวน 10,000 บาท

ขอมูลเพิ่มเติม - บริษัทตองการมีเงินสดอยางต่ําในมือจํานวน 30,000 ทุกสิ้นไตรมาส ถามีเงินสดไม

เพียงพอใหทําการกูยืมระยะสั้นในตอนตนไตรมาสที่ไมเพียงพอ ถาไตรมาสถัดไปมีเงินสดเพียงพอใหชําระคืนทันที พรอมดอกเบี้ย โดยใหชําระตอนปลายไตรมาส บริษัทไดตกลงทําสัญญาไวกับบริษัทการเงินแหงหนึ่ง โดยบริษัทการเงินจะคิดดอกเบี้ยในอัตรา 8% ตอป ถามีการกูยืม

Page 15: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

FFiinnaanncciiaall AAnnaallyyssiiss

5 - 15

งบประมาณเงนิสดของบริษทั แสงตะวัน มีดังนี ้บริษัท แสงตะวัน จํากัด งบประมาณเงนิสด

ป 25X6 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 เงินสดตนงวด 38,000 43,500 30,000 66,700 บวก เงินสดรับจากการขายสินคา (งบประกอบ 1) 186,000 231,000 266,000 301,000 การขายเงินลงทุน 2,000 0 0 0 รวม 188,000 231,000 266,000 301,000 รวมเงินสดที่มี 226,000 274,500 296,000 267,700 หัก เงินสดจาย การซื้อวัตถุทางตรง (งบประกอบ 2) 23,200 27,200 31,200 35,200 คาแรงงานทางตรง 62,000 72,000 82,000 92,000 คาใชจายการผลิต* 53,300 56,300 59,300 62,300 คาใชจายในการขายและบริหาร** 44,000 46,500 49,000 51,500 ซื้ออุปกรณ 0 10,000 0 0 ภาษีเงินได 0 40,000 0 0 รวม 182,500 252,000 221,500 241,000 เงินสดคงเหลือ (ขาด) 43,500 22,500 74,500 126,700 การจัดหาเงิน การกู 7,500 การคืน - เงินตน 7,500 - ดอกเบี้ยจาย ***300 เงินสดปลายงวด 43,500 30,000 66,700 126,700

*งบประมาณคาใชจายการผลิตไมรวมคาเสื่อมราคา ** งบประมาณคาใชจายในการขายและบริหารไมรวมคาเสื่อมราคา ***ดอกเบี้ยจาย คิดจาก 7,600 x 8% x 6/12

Page 16: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

งบประมาณงบประมาณ

5 - 16

งบประกอบ 1 การคํานวณการเก็บเงินจากการขาย ป 25X6

ไตรมาส ขาย/ลูกหนี ้ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 4 ป 25X5 60,000 60,000 1 ป 25X6 210,000 126,000 84,000 2 ป 25X6 245,000 147,000 98,000 3 ป 25X6 280,000 168,000 112,000 4 ป 25X6 315,000 189,000 186,000 231,000 266,000 301,000

งบประกอบ 2 การคํานวณการชําระคาวัตถทุางตรง ป 25X6

ไตรมาส ซื้อ/เจาหนี ้ ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 4 ป 25X5 10,600 10,600 1 ป 25X6 25,200 12,600 12,600 2 ป 25X6 29,200 14,600 14,600 3 ป 25X6 33,200 16,600 16,600 4 ป 25X6 37,200 18,600 23,200 27,200 31,200 35,200

Page 17: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

FFiinnaanncciiaall AAnnaallyyssiiss

5 - 17

งบประมาณงบดุล

งบประมาณงบดุลเปนงบประมาณแสดงฐานะการเงิน ณ วนัสิ้นงวดตอไปของกิจการ ซ่ึงจะไดมาจากงบดลุของงวดกอน และงบประมาณตาง ๆ ของปตอไป

บริษัทแสงตะวัน จํากัด งบดุล

ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 25X6

สินทรัพย

เงินสด (จากงบประมาณเงนิสด) 126,700 บาท ลูกหนี้การคา (40% ของยอดขายไตรมาส 4) 126,000 สินคาสําเร็จรูป (1,000x44) 44,000 วัตถุทางตรง (1,020x4) 4,080 อาคารและอุปกรณ (182,000+10,000) 192,000 หัก คาเสื่อมราคาสะสม (28,800+19,200) 48,000 144,000 รวมสินทรัพย 444,780 บาท

หนี้สินและสวนของผูถือหุน

เจาหนีก้ารคา (50%ของยอดซื้อไตรมาส 4) 18,600 บาท ภาษีเงนิไดคางจาย (30%ของกําไรกอนภาษเีงินได) 58,410 ทุนเรือนหุน (ยกมาจากป 25X5) 225,000 กําไรสะสม (6,480+136,290) 142,770 รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน 444,780 บาท

Page 18: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

งบประมาณงบประมาณ

5 - 18

งบประมาณประจําปของกิจการอื่น

การจัดทํางบประมาณประจําปนั้น ไมไดทําเฉพาะกิจการอุตสาหกรรมเทานั้น กิจการอื่น เชน กิจการขายสินคาและกิจการขายบริการ ก็จะทําเชนเดียวกัน

กิจการขายสนิคา

กิจการอุตสาหกรรมและกิจการขายสินคา จะเริ่มตนการจัดทํางบประมาณประจําปที่เหมือนกัน คือ เร่ิมตนดวยงบประมาณขาย ส่ิงที่ตางกันคือ กิจการขายสินคาจะไมทํางบประมาณการผลิต และงบประมาณตนทุนผลิต งบประมาณวัตถุดิบทางตรง งบประมาณคาแรงงานทางตรง และงบประมาณคาใชจายการผลิต แตกิจการขายสินคาจะทํางบประมาณซื้อสินคาแทน กิจการจะซื้อสินคาแตละงวดเทากับ

สินคาท่ีขาย + สินคาคงเหลือปลายงวด – สินคาคงเหลือตนงวด

กิจการขายสินคาตองมีการกําหนดวา ตองการมีสินคาคงเหลือปลายงวดเปนจํานวนเทาใด ซ่ึงเปนสิ่งจําเปน เพื่อใหมีสินคาเพียงพอที่จะขาย และมีจํานวนสินคาคงเหลือที่เหมาะสม ไมมากไปหรือนอยไป

ตัวอยางงบประมาณซื้อสินคา บริษัทแหงหนึ่ง ไดพยากรณยอดขายของเดือนพฤศจิกายนวาจะมีจํานวน 300,000 บาท และของเดือนธันวาคม มีจํานวน 320,000 บาท อัตรากําไรขั้นตนตอยอดขายเทากับ 30% บริษัทตองการมีสินคาคงเหลือปลายเดือนเทากับ 30% ของสินคาที่จะขายเดือนถัดไป วันที่ 1 พฤศจิกายน มีสินคาคงเหลือยกมา จํานวน 63,000 บาท งบประมาณซื้อของเดือนพฤศจิกายนจะเปนดังนี้ ยอดขาย 300,000 บาท ตนทุนขาย (70% x 300,000) 210,000 บวก สินคาคงเหลือปลายเดือน [30% x (320,000 x 70%)] 67,200 277,200 หัก สินคาคงเหลือตนเดือน 63,000 ยอดซื้อของเดอืนพฤศจิกายน 214,200 บาท

Page 19: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

FFiinnaanncciiaall AAnnaallyyssiiss

5 - 19

ข้ันตอนการจัดทํางบประมาณประจําปของกิจการขายสินคา

งบประมาณขาย

งบประมาณคาใชจาย ในการขายและบริหาร

งบประมาณซือ้

งบประมาณงบกําไรขาดทุน

งบประมาณเงนิสด งบประมาณการลงทุน งบประมาณงบดุล

งบประมาณ การดําเนินงาน

งบประมาณ การเงิน

Page 20: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

งบประมาณงบประมาณ

5 - 20

กิจการงานบริการ ส่ิงสําคัญที่สุดของกิจการงานบริการ เชน สํานักงานบัญชี สํานักงานทนายความ คือ จํานวนพนักงานที่ตองใชกับงานที่มี ถากิจการมีพนักงานมากเกินกวาจํานวนงาน ก็จะทําใหคาใชจายเงินเดือนและคาจางสูงมาก ในทางกลับกัน ถาจํานวนพนักงานนอยไป จะทําใหการบริการลูกคามีขอบกพรอง

อาจทําใหเสียลูกคา หรือเสียรายได รวมทั้งพนักงานอาจมีการเขาออกมาก เพราะทํางานหนักเกินไป การจัดทํางบประมาณของกิจการงานบริการจะเริ่มตนแบบเดียวกันกับกิจการแบบอื่น ๆ คือ ตองทําการพยากรณรายไดคาบริการ เพื่อใชในการจัดทํางบประมาณรายได ในการพยากรณรายไดมีหลายวิธี เชน อาจใชปริมาณงานที่คาดวาจะใหบริการ หรืออาจใชจํานวนพนักงานเปนตัวกําหนดรายได เปนตน กิจการงานบริการไมตองทํางบประมาณซื้อแบบกิจการขายสินคา การจัดทํางบประมาณประจําปของกิจการขายบริการจะมีขั้นตอนการจัดทําที่ส้ันกวากิจการอื่น

ขั้นตอนการจัดทํางบประมาณประจาํปของกิจการขายบริการ

งบประมาณขาย

งบประมาณคาใชจาย ในการขายและบริหาร

งบประมาณงบกําไรขาดทุน

งบประมาณเงนิสด งบประมาณการลงทุน งบประมาณงบดุล

งบประมาณ การดําเนินงาน

งบประมาณ การเงิน

Page 21: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

FFiinnaanncciiaall AAnnaallyyssiiss

5 - 21

แบบฝกหัดการบัญชี บทที่ แบบฝกหัดการบัญชี บทที่ 55

งบประมาณงบประมาณ

1. บริษัทแหงหนึ่ง เปนบริษัทที่ผลิตเครื่องคิดเลข 2 ชนิด ออกจําหนาย เครื่องคิดเลข “ก” ซ่ึงขาย

ในราคาอันละ 480 บาท เครื่องคิดเลข “ข” ซ่ึงขายในราคาอันละ 800 บาท บริษัทตองการทํางบประมาณขายเปนรายไตรมาส 2 ไตรมาสแรกของป 25X6 ฝายขายไดพยากรณยอดขายไวดังนี้

จํานวนหนวย เคร่ืองคิดเลข ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ก 30,000 27,000 ข 12,000 13,000 ใหทํา งบประมาณขายของไตรมาส 1 และไตรมาส 2 โดยใหแสดงจํานวนหนวย ราคาขายตอ

หนวย ยอดขายรวมของแตละไตรมาส และของทั้งสองไตรมาสรวมกัน

2. คณะกรรมการงบประมาณของบริษัทแหงหนึ่ง ไดตกลงอนุมัติงบประมาณ 2 ไตรมาสของป 25X6 ดังนี้

จํานวนหนวยที่ขาย : ไตรมาส 1 5,000 หนวย ไตรมาส 2 8,000 หนวย

นโยบายวัตถุทางตรงคงเหลือปลายไตรมาส : 40% ของวัตถุดิบที่ตองการใชไตรมาสถัดไป

นโยบายสินคาสําเร็จรูปคงเหลือ : 20% ของยอดขายของไตรมาสถัดไป

ป 25X5 บริษัทใชนโยบายเกี่ยวกับสินคาคงเหลือแบบเดียวกัน ในการผลิตบริษัทตองใชวัตถุทางตรง 3 กิโลกรัม ในการผลิตสินคาสําเร็จรูป 1 หนวย ราคาของวัตถุทางตรงกิโลกรัมละ 4 บาท ในไตรมาส 3 ของป 25X6 คาดวาจะมียอดขาย 7,000 หนวย และตองผลิตสินคาสําเร็จรูปจํานวน 7,250 หนวย ใหทํา 1.1 งบประมาณการผลิตของไตรมาส 1 และไตรมาส 2 ของป 25X6

1.2 งบประมาณวตัถุทางตรงของไตรมาส 1 และไตรมาส 2 ของป 25X6

Page 22: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

งบประมาณงบประมาณ

5 - 22

3 บริษัทแหงหนึ่งตองการจัดทํางบประมาณคาแรงงานทางตรงของป 25X6 ขอมูลท่ีตองใชในการจัดทํามีดังนี้

ไตรมาส จํานวนหนวยท่ีผลิต 1 20,000 2 25,000 3 35,000 4 30,000

ในการผลิตตองใชช่ัวโมงแรงงานทางตรง 1.5 ช่ัวโมงในการผลิต อัตราคาแรงงานทางตรงของ 2 ไตรมาสแรกของป 25X5 มีอัตรา 14 บาทตอช่ัวโมง และอัตราคาแรงงานทางตรงของไตรมาส 3 และไตรมาส 4 มีอัตรา 16 บาทตอช่ัวโมง

ใหทํา งบประมาณคาแรงงานทางตรงของแตละไตรมาส และของทั้งปรวมกนัของป 25X6 4 บริษัทแหงหนึ่งตองการทาํงบประมาณคาใชจายการผลิตของป 25X6 ขอมูลท่ีตองใชในการจัดทํามีดังนี ้

1. จํานวนหนวยที่ผลิต : ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 10,000 12,000 14,000 16,000

2. ช่ัวโมงแรงงานทางตรงที่ตองใชในการผลิตสินคา 1 หนวย : 1.5 ช่ัวโมง

3. คาใชจายการผลิตสวนผันแปรตอช่ัวโมงแรงงานทางตรง : คาวัตถุทางออม 0.70 บาท คาแรงงานทางออม 1.20 บาท คาซอมบํารุง 0.30 บาท

4. คาใชจายการผลิตคงที่ตอไตรมาส : เงินเดือนโรงงาน 35,000 บาท คาเสื่อมราคาเครื่องจักร 12,000 บาท คาเชาโรงงาน 9,000 บาท

ใหทํา งบประมาณคาใชจายการผลิตของแตละไตรมาสและของทั้งปรวมกันของป 25X6

Page 23: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

FFiinnaanncciiaall AAnnaallyyssiiss

5 - 23

5. บริษัทแหงหนึ่งตองการทํางบประมาณคาใชจายในการขายและบริหารของ 2 ไตรมาสแรกของป 25X6 ขอมูลท่ีตองใชในการจัดทํามีดังนี้ 1. จํานวนหนวยที่ขาย : ไตรมาส 1 15,000 หนวย ไตรมาส 2 18,000 หนวย

2. ราคาขายตอหนวย : 20 บาท

3. คาใชจายในการขายและบริหาร สวนผันแปร : คานายหนา 5% ของยอดขาย คาขนสงออก 2% ของยอดขาย สวนคงที่ : เงินเดือน 10,000 บาทตอไตรมาส คาเสื่อมราคา 4,200 บาทตอไตรมาส คาเบี้ยประกนั 1,500 บาทตอไตรมาส

ใหทํา งบประมาณคาใชจายในการขายและบริหารของไตรมาส 1 และไตรมาส 2 และของ 2 ไตรมาส รวมกันของป 25X6

6. ขอมูลท่ีตองใชในการจัดทํางบประมาณป 25X6 ของบริษทัแหงหนึ่ง มีดังนี ้

1. ขาย : 30,000 หนวย ราคาขายหนวยละ 80 บาท

2. ตนทุนผลิตตอหนวย : คาวัตถุทางตรง 3 กรัม ราคากรัมละ 5 บาท คาแรงงานทางตรง 3 ช่ัวโมง อัตราชั่วโมงละ 12 บาท คาใชจายการผลิต 3 ช่ัวโมง อัตราชั่วโมงละ 6 บาท

3. วัตถุทางตรงคงเหลือ : ยอดยกมาตนป 25X6 10,000 กรัม ยอดคงเหลือปลายป 25X6 15,000 กรัม

4. ราคาทุนของวัตถุทางตรงคงเหลือ : 5 บาทตอกรัม

5. คาใชจายในการขายและบริหาร : 150,000 บาทตอป

6. อัตราภาษีเงนิได : 30% ของกําไร

ใหทํา งบประมาณกําไรขาดทุนของป 25X6

Page 24: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

งบประมาณงบประมาณ

5 - 24

7. บริษัทแหงหนึ่งตองการจัดทํางบประมาณเงินสดของ 2 เดือนแรกของป 25X6 ขอมูลท่ีตองใชในการจัดทํามีดังนี้

1. วันที่ 1 มกราคม 25X6 มีเงินสดยกมา จํานวน 46,000 บาท 2. การเก็บเงินจากการขาย : เดือนมกราคม 80,000 บาท

เดือนกุมภาพนัธ 150,000 บาท

3. การชําระคาวตัถุดิบ : เดือนมกราคม 40,000 บาท เดือนกุมภาพนัธ 75,000 บาท

4. คาแรงงานทางตรงเกิดขึ้น : เดือนมกราคม 30,000 บาท เดือนกุมภาพนัธ 45,000 บาท

บริษัทจายคาแรงทางตรงในเดือนที่คาแรงงทางตรงเกิดขึน้เสมอ

5. คาใชจายการผลิตเกิดขึ้น : เดือนมกราคม 21,000 บาท เดือนกุมภาพนัธ 30,000 บาท

คาใชจายการผลิตที่เกิดขึ้นมีคาเสื่อมราคารวมอยูเดือนละ 1,000 บาท บริษัทจายคาใชจายการผลิตในเดือนที่คาใชจายการผลิตเกิดขึ้นเสมอ

6. คาใชจายในการขายและบริหาร: เดือนมกราคม 15,000 บาท เดือนกุมภาพันธ 20,000 บาท

จํานวนคาใชจายในการขายและบริหารของแตละเดือน ไมมีคาเสื่อมราคารวมอยู บริษัทจายคาใชจายในการขายและบริหารในเดือนที่คาใชจายเกิดขึ้นเสมอ

7. ขอมูลอ่ืน : บริษัทจะขายเงินลงทุนชั่วคราวที่บริษัทมีอยูในเดือนมกราคม คาดวาจะไดรับเงินสดจํานวน 10,000 บาท จากการขาย

8. เงินสดอยางต่ําในมือ: บริษัทมีนโยบายที่จะมีเงินสดอยางต่ําในมือทุกสิ้นเดือน 20,000 บาทเสมอ ถาไมพอจะทําการกูยืม ซ่ึงบริษัทไดตกลงกับธนาคารแหงหนึ่งไวแลว

ใหทํา งบประมาณเงนิสดของเดือนมกราคมและเดือนกุมภาพันธ ป 25X6

Page 25: งบประมาณlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T19F5.pdfประกอบด วยงบการเง ินต าง ๆ ท เป นงบพยากรณ

FFiinnaanncciiaall AAnnaallyyssiiss

5 - 25

8. บริษัทขายสินคาแหงหนึง่ตองการทํางบประมาณของเดอืนพฤศจิกายน 25X5 ขอมูลท่ีตองใชในการจัดทํามีดังนี้ 1. พยากรณยอดขาย : พฤศจิกายน 500,000 บาท ธันวาคม 600,000 บาท

2. อัตรากําไรขั้นตน : 35% ของยอดขาย

3. สินคาคงเหลือปลายเดือนที่ตองการ : 40% ของสินคาที่ขายในเดือนถัดไป

4. สินคาคงเหลือตนเดือน : มียอดยกมาตามจํานวนที่ไดกําหนดไว

5. คาใชจายในการขายและบริหาร : 100,000 บาทตอเดอืน

ใหทํา 1. งบประมาณการซื้อสินคาของเดือนพฤศจกิายน 25X6 2. จัดทํางบกําไรขาดทุนของเดือนพฤศจกิายน 25X6 9. ยอดซ้ือและยอดขายของบริษัทแหงหนึง่มีดงันี ้

ป 25X6 ยอดซ้ือ ยอดขาย มกราคม 42,000 72,000 กุมภาพนัธ 48,000 66,000 มีนาคม 36,000 60,000 เมษายน 54,000 78,000

การเก็บเงินจากการขาย : 70% เก็บไดในเดือนที่ขาย 20% เก็บไดในเดือนแรกถัดจากเดือนที่ขาย 9% เก็บไดในเดือนที่สองถัดจากเดือนที่ขาย 1% คาดวาจะเก็บไมได การซื้อสินคา : บริษัทจะชําระคาสินคาที่ซ้ือทั้งหมดในเดือนแรกถัดจากเดือนที่ซ้ือ การพยากรณ : บริษัทจะซื้อสินคาในเดือนพฤษภาคม เปนเงิน 60,000 บาท พยากรณยอดขายของ

เดือนพฤษภาคม จํานวน 66,000 บาท และจะจายคาใชจายของเดือนพฤษภาคม จํานวน 14,400 บาท ในตอนตนเดือนพฤษภาคมมีเงินสดยกมาจํานวน 20,000 บาท

ใหทํา งบประมาณเงนิสดของเดือนพฤษภาคม 25X6