วัดทัศนารุณสุนทริการามsys.dra.go.th/module/attach_media/sheet1620110131110418.pdfสายตรงศาสนา...

Preview:

Citation preview

สายตรงศาสนา 21

เข้าวัดวันธรรมสวนะ

สิ่งสำคัญภายในวัด อุโบสถ เป็นอาคารแบบศรีวิชัยประยุกต์ สร้าง

เมื ่อ พ.ศ. ๒๕๓๒-๒๕๔๑ สร้างทับอุโบสถหลังเดิม

ซึ ่งชำรุดทรุดโทรมยากแก่การบูรณปฏิสังขรณ์ ก่ออิฐ

ถือปูน มีพระพุทธรูปปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง

๔๐นิ้วสูง๖๖นิ้วเป็นพระประธาน

วิหาร เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน กว้าง ๑๑ เมตร

ยาว๑๕.๔๐เมตรสร้างเมื่อพ.ศ.๒๕๐๐บูรณะครั้งแรก

เมื ่อ พ.ศ. ๒๕๒๗ และครั ้งที ่ ๒ เมื ่อ พ.ศ. ๒๕๔๒

เป็นที่ประดิษฐานหลวงพ่อโต พระพุทธรูปสมัยสุโขทัย

ปางป่าเลไลยก์ ซึ่งมีขนาดจากฐานถึงเกศกว้าง๒ เมตร

๓๐เซนติเมตรสูง๖เมตร๓๕เซนติเมตร

เจดีย์ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ

ศาลาการเปรียญ เป ็นอาคารก่ออ ิฐถ ือปูน

กว้าง๑๗เมตรยาว๓๕เมตร

ปัจจุบัน พระมงคลบัณฑิต (บรรทม ฐฺิตปญฺโฐฺ

ป.ธ.๖)เป็นเจ้าอาวาส

ประวัติความเป็นมา วัดทัศนารุณสุนทริการามสร้างเมื่อพ.ศ.๒๓๒๐

ชื่อเดิมของวัดคือวัดตะพานซึ่งอาจมาจากสาเหตุดังนี้

(๑) เป็นชื่อของคนสร้างวัด คือ ตาผ่าน ล่วงกาลนานเข้า

จึงกลายเป็นสะพาน (๒) เป็นทางผ่านของโขลงช้างที่นำ

เข้ามาใช้งานในเมือง (๓) บริเวณสร้างวัดมีสะพาน

ข้ามคลองสามเสนต่อมาหม่อมหรุ่น ได้บริจาคสวนจำนวน

๖๕ไร่๒๔ตารางวาให้เป็นธรณีสงฆ์พระธรรมปาโมกข์

(ถม) วัดมกุฏกษัตริยาราม ซึ่งเป็นญาติของท่าน เห็นว่า

หม ่อมหร ุ ่นได ้สร ้างบ ุญสร ้างก ุศลเป ็นจำนวนมาก

เพื ่อเป็นบุญญานุสรณ์ จึงตั ้งชื ่อใหม่เป็น วัดทัศนา

รุณสุนทริการาม ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื ่อ

พ.ศ.๒๕๓๖

สถานะและที่ตั้ง วัดทัศนารุณสุนทริการาม ตั้งอยู่เลขที่ ๕๑ ถนน

ราชปรารภ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร

มีเนื้อที่๑๒ไร่๑งาน๕๘ตารางวา

วัดทัศนารุณสุนทริการาม

กรมการศาสนาขอเชิญชวนพุทธศาสนิกชนเข้าวัดทุกวันธรรมสวนะ ณ วัดใกล้บ้าน หรือร่วมเข้าวัดกับ

กรมการศาสนา ซึ่งในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๓ กรมการศาสนามีกำหนดการเข้าวัดปฏิบัติธรรม ณ วัดทัศนารุณสุนทริการาม

(วันเสาร์ที่ ๖ พฤศจิกายน) วัดบางประทุนนอก (วันอาทิตย์ที่ ๑๔ พฤศจิกายน) วัดม่วง (วันอาทิตย์ที่ ๒๑ พฤศจิกายน)

วัดฉัตรแก้วจงกลณี (วันจันทร์ที่ ๒๙ พฤศจิกายน) จึงขอนำเสนอประวัติวัดดังกล่าวโดยย่อ เพื่อให้พุทธศาสนิกชน

ได้ทราบ

22 สายตรงศาสนา

มณฑป เป ็นท ี ่ประดิษฐานรูปหล่อเหมือน

อดีตเจ้าอาวาส

ปัจจุบัน พระมงคลวราภรณ์ (วิทยา ฐฺิตธมฺโม

น.ธ.เอก)เป็นเจ้าอาวาส

วัดบางประทุนนอก

ประวัติความเป็นมา วัดบางประทุนนอก เป็นวัดที่สร้างขึ้นมาในสมัย

กรุงรัตนโกสินทร์ ไม่ปรากฏหลักฐานผู ้สร้างที ่ชัดเจน

ตั้งอยู่ริมคลองสนามชัยด้านฝั่งตะวันตก และด้านทิศเหนือ

ของวัดติดกับคลองบางประทุน จึงเป็นที่มาของชื่อวัด

เพราะตั้งอยู่ในเขตตำบลบางประทุน ซึ่งเป็นชื่อตำบลเดิม

และอยู ่ปากคลองบางประทุน ส่วนที ่มีคำว่า “นอก”ต่อท้าย เนื่องจากในคลองบางประทุนมีวัดอีกวัดหนึ่ง

ชื่อว่า“วัดบางประทุนใน” ปัจจุบันคือ“วัดแก้วไพฑูรย์” สถานะและที่ตั้ง วัดบางประทุนนอกตั้งอยู่เลขที่๑๐๔ถนนเอกชัย

ซอย๙แขวงบางขุนเทียนเขตจอมทองกรุงเทพมหานคร

มีเนื้อที่๙ไร่๒งาน๑๘ตารางวา

สิ่งสำคัญภายในวัด อุโบสถ เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนกว้าง๙.๓๐ เมตร

ยาว๒๐ เมตร มีพระพุทธรูปปางมารวิชัย ขนาดหน้าตัก

กว้าง๔๕นิ้วสูง๔๕นิ้วเป็นพระประธาน

วิหารเป็นอาคารก่ออิฐถือปูนกว้าง๖.๕๐เมตร

ยาว ๑๑ เมตร มีรูปลักษณะเช่นเดียวกับอุโบสถต่างแต่

ช่องหน้าต่างเป็นรูปโค้งยอดแหลมทั้งหมด

ศาลาการเปรียญ เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน กว้าง

๑๒.๒๐ เมตร ยาว ๒๐.๖๐ เมตร ม ีพระพุทธรูป

ปางนาคปรก ขนาดหน้าตักกว้าง ๒๗ นิ้ว สูง ๓๘ นิ้ว

เป็นพระประธาน

สายตรงศาสนา 23

วัดม่วง

ประวัติความเป็นมา

วัดม่วง เป็นวัดที ่ส ันนิษฐานว่า สร้างในรัชสมัย

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ มีประวัติ

เล่าว่า หลวงปู่เฒ่า มีชื่อเดิมว่าหลิมหรือบาง ชาวจังหวัด

พระนครศรีอยุธยา ได้พายเรือมา ค่ำไหนจอดนั่น ครั้นมาถึง

บริเวณวัดม่วง ชาวบ้านได้สร้างวัดแล้วนิมนต์ให้ท่านครองวัด

ตั้งชื่อวัดว่าวัดราชครูสิทธารามต่อมาเปลี่ยนมาเป็นวัดม่วง

หรือวัดมะม่วง เนื่องจากเมื่อขุดคลองภาษีเจริญและชาวบ้าน

ใช้คลองนี้เป็นที่ลำเลียงพืชผลทางเกษตรกรรม โดยเฉพาะ

มะม่วงมาขายในกร ุงเทพฯ เม ื ่อมาถึงบร ิเวณหลักสอง

คลองจะตื้นเขิน เรือไม่สามารถแล่นต่อไปได้ มะม่วงอาจ

สุกงอมเน่าเสียจึงต้องนำมาผึ่งลมบนลานวัด

สถานะและที่ตั้ง

วัดม่วง ตั ้งอยู ่เลขที่ ๘ ถนนเพชรเกษม ซอย ๖๓

แขวงหลักสอง เขตบางแค กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ ๔๐ ไร่

๑งาน๘๓ตารางวา

สิ่งสำคัญภายในวัด

อุโบสถเป็นอาคารก่ออิฐถือปูนกว้าง๓วายาว๗วา

หลังคาลด ๒ ชั ้น ประดับช่อฟ้า ใบระกา มีพระพุทธรูป

ปางสมาธิ เป็นพระประธานอุโบสถหลังปัจจุบันนี้เป็นหลังที่๒

เล่ากันว่า อุโบสถหลังแรกนั้น นายอากรนิ่มได้เป็นผู้สร้างขึ้น

โดยได้นำพระประธานมาจากตลาดสำเพ็ง ปัจจุบันกำลังสร้าง

อุโบสถหลังใหม่ซึ่งขณะนี้ใกล้แล้วเสร็จสมบูรณ์

วิหาร เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน กว้าง ๙.๕๐ เมตร

ยาว ๑๕ เมตร เป็นที่ประดิษฐานหลวงปู่เฒ่า เจ้าอาวาส

รูปแรก

ศาลาการเปรียญ เป็นอาคารไม้ ใช้เป็นที่บำเพ็ญ

กุศลเนื่องในเทศกาลสำคัญต่างๆ

มณฑป เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน กว้าง ๘ เมตร

ยาว๘เมตรเป็นที่ประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจำลอง

ปัจจุบันพระพิพัฒน์ศาสนธำรง (ณรงค์ ปสนฺโน

น.ธ.เอก)เป็นเจ้าอาวาส

2� สายตรงศาสนา

วัดฉัตรแก้วจงกลณี

มีรากฐานมั่นคงแข็งแรง และต้องใช้ทุนทรัพย์เป็นจำนวนมาก

ดังนั้น สันนิษฐานว่า ผู้สร้างต้องเป็นผู้มีอำนาจวาสนาสูง

ในเขตกรุงเทพมหานครฝั่งธนบุรี เหนือวัดอรุณราชวราราม

ขึ ้นไปทางทิศเหนือ มีว ัดฉัตรแก้วจงกลณีเพียงวัดเดียว

ที่มีปรางค์ซึ่งมีอายุเก่าแก่

หอสวดมนต์ เป ็นอาคารไม ้ส ักทรงไทย กว ้าง

๑๑เมตรยาว๑๗เมตรเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปเก่าแก่

ปัจจุบันพระครูปลัดสิทธิวัฒน์ (ณัฐกร อินฺทวํโส

ป.ธ.๓,พธ.บ.,อ.ม.)

ประวัติความเป็นมา

วัดฉัตรแก้วจงกลณี หรือที ่ชาวบ้านในท้องถิ ่น

ใกล้เคียงเรียกกันว่า วัดบางอ้อ ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้าง

ที่ชัดเจน แต่มีคำเล่าขานกันสืบมาว่า สันนิษฐานว่าสร้าง

ในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ โดยมีเชื้อพระวงศ์ในราชตระกูล

เป็นผู้สร้าง และเชื่อกันว่าเป็นวัดพี่วัดน้องกับวัดแก้วฟ้าจุฬามณี

ซึ ่งอยู่คนละฟากแม่น้ำเจ้าพระยา ดังจะเห็นได้จากตระกูล

ที่อุปถัมภ์วัดได้สร้างถาวรวัตถุไว้ทั้ง๒วัด

สถานะและที่ตั้ง

วัดฉัตรแก้วจงกลณี ตั ้งอยู ่เลขที่ ๒๙๘ ถนนจรัญสนิทวงศ์

แขวงบางอ้อ เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ ๑๓ ไร่

๑๔ตารางวา

สิ่งสำคัญภายในวัด

อุโบสถ เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน หลังคาลด ๓ ชั้น

ประดับช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ ด้านหน้าและด้านหลัง

มีเสา ๔ ต้น ซุ้มประตูและหน้าต่างปูนปั้นลายไทย ประดับ

กระจกสี อุโบสถหลังนี ้สร้างขึ ้นแทนหลังเดิมที ่ร ื ้อไปเมื ่อ

พ.ศ.๒๕๒๔

ปรางค์ มีฐานกว้างประมาณ ๓๕ เมตร สูง ๒๕ เมตร

ส ันน ิษฐานกันว ่า สร ้างในร ัชสมัยพระบาทสมเด ็จ

พระจุลจอมเกล้าเจ ้าอยู ่ห ัว ร ัชกาลที ่ ๕ ซ ึ ่งขณะนั ้นมี

หลวงปู่กรัตเป็นเจ้าอาวาส มีผู้ให้ทรรศนะว่า ปรางค์องค์นี้

เมื่อพิจารณาลักษณะทางสถาปัตยกรรมแล้ว การก่อสร้าง

Recommended