8
33

หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32

  • Upload
    -

  • View
    225

  • Download
    2

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32

33

Page 2: หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32

34

Page 3: หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32

35

1. ศึกษาขอมูลอยางเปนระบบ การที่จะพระราชทานโครงการใดโครงการหนึ่ง จะทรงศึกษาขอมูลรายละเอียดอยางเปนระบบ ทั้งจากขอมูลเบื้องตน จากเอกสาร แผนที่ สอบถามจากเจาหนาที่ นักวิชาการ และราษฎรในพื้นที่ ใหไดรายละเอียดที่ถูกตอง เพื่อที่จะพระราชทานความชวยเหลือไดอยางถูกตองและรวดเร็วตามความตองการของประชาชน

2. ระเบิดจากขางใน หมายความวา ตองสรางความเขมแข็งใหคนในชุมชนที่เราเขาไปพัฒนาใหมีสภาพพรอมที่จะรับการพัฒนาเสียกอน มิใชการนำเอาความเจริญหรือบุคคลจากสังคมภายนอกเขาไปหาชุมชนหมูบานที่ยังไมทันไดมีโอกาสเตรียมตัวหรือตั้งตัว

3. แกปญหาที่จุดเล็ก ทรงมองปญหาในภาพรวม (macro) กอนเสมอ แตการแกปญหาจะเริ่มจากจุดเล็กๆ (micro) คือ การแกไขปญหาเฉพาะหนาที่คนมักจะมองขาม “...ถาปวดหัวคิดอะไรไมออก...ตองแกไขการปวดหัวนี้กอน... เพื่อใหอยูในสภาพที่คิดได...”

4. ทำตามลำดับขั้น ทรงเริ่มตนจากสิ่งที่จำเปนที่สุดของประชาชนกอน ไดแก สาธารณสุข ตอไปจึงเปนเรื่องสาธารณูปโภค ขั้นพื้นฐาน

และสิ่งจำเปนสำหรับประกอบอาชีพ การพัฒนาประเทศตองสรางพื้นฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใช ของประชาชนสวนใหญกอน จึงคอยสรางคอย

เสริมความเจริญและเศรษฐกิจขั้นสูงโดยลำดบัตอไป

5. ภูมิสังคม การพัฒนาใดๆ ตองคำนึงถึง (1) ภูมิประเทศของบริเวณนั้น (ดิน, น้ำ, ปา, เขา ฯลฯ) (2) สังคมวิทยา (นิสัยใจคอของผูคน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีของทองถิ่น)

6. องครวม

• ทรงมีวิธีคิดอยางองครวม (holistic) หรือมองอยางครบวงจร • ทรงมองเหตุการณที่เกิดขึ้นและแนวทางแกไขอยางเชื่อมโยง

Page 4: หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32

36

7. ไมติดตำรา การพัฒนาตามแนวพระราชดำริ มีลักษณะของการพัฒนาที่อนุโลม และรอมชอมกับสภาพธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และสภาพของสังคมจิตวิทยาแหงชุมชน “ไมติดตำรา” ไมผูกมัดกับวิชาการและเทคโนโลยีที่ไมเหมาะสมกับสภาพชีวิต ความเปนอยูที่แทจริงของคนไทย

8. ประหยัด เรียบงาย ไดประโยชนสูงสุด ทรงใชหลักในการแกไขปญหาดวยความเรียบงายและประหยัด ราษฎรสามารถทำไดเอง หาไดในทองถิ่น และประยุกตใชสิ่งที่มีอยูในภูมิภาพนั้นๆ มาแกไขปญหา โดยไมตองลงทุนสูง หรือใชเทคโนโลยีที่ไมยุงยากนัก “ใหปลูกปา โดยไมตองปลูกปา โดยปลอยใหขึ้นเองตามธรรมชาติ จะไดประหยัดงบประมาณ”

9. ทำใหงาย – simplicity ทรงคิดคน ดัดแปลง ปรับปรุง และแกไขงานการพัฒนาประเทศตามแนวพระราชดำริโดยงาย ไมยุงยากซับซอน ทรงโปรดที่จะทำสิ่งยากใหกลายเปนงาย ทำสิ่งที่สลับซับซอนใหเขาใจงาย “ทำใหงาย”

10. การมีสวนรวม ทรงเปนนักประชาธิปไตย เปดโอกาสใหสาธารณชน ประชาชน หรือเจาหนาที่ทุกระดับไดมารวมกันแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเรื่องที่ตองคำนึงถึงความคิดเห็นของประชาชน หรือความตองการของสาธารณชน “ ...ตองหัดทำใจใหกวางขวางหนักแนน รูจักรับฟงความคิดเห็น แมกระทั่งความวิพากษวิจารณจากผูอื่นอยางฉลาด เพราะการรูจักรับฟงอยางฉลาดนั้นแทจริง คือการระดมสติปญญาและประสบการณอันหลากหลาย มาอำนวยการปฏิบัติบริหารงานใหประสบความสำเร็จที่สมบูรณนั่นเอง...”

11. ประโยชนสวนรวม “...ใครตอใครก็มาบอกวา ขอใหคิดถึงประโยชนสวนรวมอาจมานึกในใจวา ใหๆ อยูเรื่อยแลวสวนตัวจะไดอะไร ขอใหคิดวา คนที่ใหเพื่อสวนรวมนั้น มิไดใหแตสวนรวมอยางเดียว เปนการใหเพื่อตัวเองสามารถที่มีสวนรวมที่จะ

อาศัยได...” (มข. 2514) พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงระลึกถึงประโยชนของสวนรวมเปนสำคัญเสมอ

12. บริการที่จุดเดียว

ทรงให “ศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” เปนตนแบบในการบริหารรวมที่ จุดเดียว เพื่อประโยชนตอประชาชนที่จะมาใชบริการ จะประหยัดเวลาและคาใชจาย โดยมีหนวยงานราชการตางๆ มารวมดำเนินการและใหบริการ

ประชาชน ณ ที่แหงเดียว “...เปนสองดาน ก็หมายถึงวา ที่สำคัญปลายทางคือ ประชาชนจะไดรับประโยชน และตนทางของเจาหนาที จะใหประโยชน”

13. ใชธรรมชาติชวยธรรมชาต ิ การเขาใจถึงธรรมชาติและตองการใหประชาชนใกลชิดกับธรรมชาติ ทรงมองอยางละเอียดถึงปญหาของธรรมชาติ หากเราตองการแกไขธรรมชาติ จะตองใชธรรมชาติเขาชวยเหลือ เชน การแกไขปญหาปาเสื่อมโทรมโดยพระราชทานพระราช

ดำริ การปลูกปาโดยไมตองปลูก (ตนไม) ปลอยใหธรรมชาติชวยในการฟนฟูธรรมชาติ

Page 5: หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32

37

14. ใชอธรรมปราบอธรรม ทรงนำความจริงในเรื่องความเปนไปแหงธรรมชาติและกฎเกณฑของธรรมชาติมาเปนหลักการ และแนวปฏิบัติที่สำคัญในการแกปญหาและปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสภาวะที่ไมปกติเขาสูระบบที่เปนปกติ เชน การนำน้ำดีขับไลน้ำเสีย การใชผักตบชวาบำบัดน้ำเสียโดยดูดซึมสิ่งสกปรกปนเปอนในน้ำ

15. ปลูกปาในใจคน “...เจาหนาที่ปาไมควรจะปลูกตนไมลงในใจคนเสียกอน แลวคนเหลานั้นก็จะพากันปลูกตนไมลงบนแผนดินและรักษาตนไมดวยตนเอง...” การที่จะฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติใหกลับคืนมาจะตองปลูกจิตสำนึกใหคนรักปาเสียกอน

16. ขาดทุนคือกำไร “...ขาดทุนคือกำไร Our loss is our gain…การเสียคือการได ประเทศก็จะกาวหนา และการที่คนจะอยูดีมีสุขนั้น เปนการนับที่เปนมูลคาเงินไมได...” หลักการคือ “การให” และ “การเสียสละ” เปนการกระทำอันมีผลเปนกำไรคือ ความอยูดีมีสุขของราษฎร “...ถาเราทำอะไรที่เราเสีย แตในที่สุดที่เราเสียนั้นเปนการไดทางออม ตรงกับงานของรัฐบาลโดยตรง เงินของรัฐบาลหรืออีกนัยหนึ่งคือเงินของประชาชน ถาอยากใหประชาชนอยูดีกินดีก็ตองลงทุน...”

17. การพึ่งตนเอง การพัฒนาตามแนวพระราชดำริเพื่อแกไขปญหาในเบื้องตนดวยการแกไขปญหาเฉพาะหนา เพื่อใหเขาแข็งแรงพอ ที่จะดำรงชีวิตไดตอไป แลวขั้นตอไปก็คือ การพัฒนาใหเขาสามารถอยูในสังคมไดตามสภาพแวดลอม และสามารถ ”พึ่งตนเองได” ในที่สุด

18. พออยูพอกิน สำหรับประชาชนที่ตกอยูในวงจรแหงความทุกขเข็ญนั้น ไดพระราชทานความชวยเหลือใหเขาสามารถอยูในขั้น ”พออยูพอกิน” เสียกอน แลวจึงคอยขยับขยายใหมีขีดสมรรถนะที่กาวหนาตอไป “..ถาโครงการดี ในไมชาประชาชนจะไดกำไร จะไดผล ราษฎรจะอยูดีกินดีขึ้น จะไดประโยชนตอไป..”

19. เศรษฐกิจพอเพียง เปนแนวทางการดำเนินชีวิต เพื่อสรางความเขมแข็งหรือภูมิคุมกันทุกดาน ซึ่งจะสามารถทำใหอยูไดอยางสมดุลในโลกแหงการเปลี่ยนแปลง ปรัชญานี้ไดมีการประยุกตใชทั้งระดับบุคคล องคการ ชุมชน และทุกภาคสวนมาแลวอยางไดผล

20. ความซื่อสัตย สุจริต จริงใจตอกัน

“...ผูที่มีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ แมจะมีความรูนอยก็ยอมทำประโยชนใหแกสวนรวมได มากกวาผูที่มีความรูมากแตไมมีความสุจริต ไมมีความบริสุทธิ์ใจ...” (18 มี.ค. 2533)

21. ทำงานอยางมีความสุข พระบาทสมเด็จอยูหัวทรงพระเกษมสำราญและทรงมีความสุขทุกคราที่จะชวยเหลือประชาชน

“...ทำงานกับฉัน ฉันไมมีอะไรจะใหนอกจากการมีความสุขรวมกัน ในการทำประโยชนใหกับผูอื่น...”

Page 6: หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32
Page 7: หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32

39

เปนปรัชญาการดำรงอยูและปฏิบัติตน – ครอบครัว – บริษัท – องคการ – หนวยงาน

หรือแมแตประเทศชาติ ใหเกิดสมดุลในทามกลางการเปลี่ยนแปลงจากภายนอกและภายใน

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระราชทานปรัชญานี้ใหแกคนไทยมานานกวา 25 ปแลว

และรัฐบาลไดถือเอา “ปรัชญาแหงเศรษฐกิจพอเพียง” เปนหลักในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

แหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 – 2549)

1. การเปลี่ยนแปลง (1) ทุกสิ่งทุกอยางมีการเปลี่ยนแปลง (2) การเปลี่ยนแปลงเกิดจากเหตุปจจัย - ทั้งเหตุปจจัยภายนอกและเหตุปจจัยภายใน - ทั้งเหตุปจจัยที่เราควบคุมไดและควบคุมไมได (3) การเปลี่ยนแปลงอาจปรากฏเปนวงจร - มีทั้งขาขึ้นและขาลง - อะไรคือเหตุปจจัยของ “ขาขึ้น” ? - อะไรคือเหตุปจจัยของ “ขาลง” ? - เราจะคาดหมายและควบคุมไดมากแคไหน ? (4) ในปจจุบันและอนาคต การเปลี่ยนแปลงจะยิ่งเกิดผลกระทบที่เร็ว – รุนแรง และกวางขวาง (5) ผลกระทบนั้นมีทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรม

2. ปรัชญา (1) แนวคิดหลัก คือ ทางสายกลาง (2) องคประกอบของ ความพอเพียง ไดแก

ก. ความพอประมาณ ข. ความมีเหตุผล

ค. ความจำเปนที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรตอการมีผลกระทบ ใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน

3. ปจจัยแหงความสำเร็จ (1) ตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมี

สำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต (2) ใหมีความรอบรูที่เหมาะสม

Page 8: หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32