7

Click here to load reader

บทที่ 3

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 3

บทที่ 3 การด าเนินการวิจัย

ในการวิจัยและการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ Social Media “Kruchaiwat to teach online.” โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพเทคโนโลยี รายวิชา คอมพิวเตอร์ เรื่อง แก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ส าหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ซึ่งมีรายละเอียดในการด าเนินการวิจัยดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย 3. เครื่องมือในการวิจัย

4. การสร้างและพัฒนาเครื่องมือในการวิจัย 5. การออกแบบการวิจัย

6. การเก็บรวบรวมข้อมูล 7. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 2. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย 2.1 ตัวแปรอิสระ คือ สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) - Wordpress

- Facebook - SlideShare - YouTube - Google docs - Flickr

2.2 ตัวแปรตาม คือ 2.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 ใช้ Social Media Facebook เพ่ือการเรียนรู้และใช้ในการแลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนได้จัดการตามกระบวนการเรียนรู้ในขณะเดียวกันศิษย์มีความแตกต่างกันในระดับความรู้ความเข้าใจ การคิด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในนักเรียนที่มีผลการเรียนต่ าได้สอนเสริมและแนะน าการเรียนรู้ให้นักเรียนจนประสบผลส าเร็จมีผลการเรียนที่ดีขึ้น นักเรียนที่มีระดับผลการเรียนสูงได้พัฒนาส่งเสริมให้มีความสามารถสูงขึ้นไปอีกระดับ จากการจัดกระบวนการเรียนการสอนส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์

Page 2: บทที่ 3

12

ทางการเรียนที่ดีข้ึน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน(O-NET)สูงขึ้น มีทักษะทางด้านเทคโนโลยี สามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวัน ใช้ในการสืบค้น ค้นคว้าข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ในการศึกษา เป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไปตลอดจนสามารถใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต 2.2.2 ความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) นักเรียนมีทักษะทางด้านการใช้เทคโนโลยีสามารถใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รู้จักการท างานเป็นทีม เป็นผู้น าผู้ตามที่ดีตามระบบประชาธิปไตย 3. เครื่องมือในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเรื่อง แก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก

ประกอบด้วย 3.1 สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 3.2 ข้อมูลจากสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) ดังนี้ word press comment , Facebook pan page , Facebook group , Google docs

3.2 แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) ในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จงัหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศกึษา เขต 26

4. การสร้างและพัฒนาเครื่องมือในการวิจัย 4.1 การสร้างและการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ “Social Media By Kruchaiwat” โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพเทคโนโลยี รายวิชา คอมพิวเตอร์ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ ที ่http:// chaiwat31.wordpress.com มีข้ันตอนการสร้างและพัฒนา 9 ขั้นตอนดังนี้

2.0 วิเคราะห์เนื้อหาที่จะน ามาสร้างสื่อการเรียนรู้ออนไลน์

3.0 ออกแบบกิจกรรมการเรียนผ่านออนไลน์

4.0 แปลงบทเรียนเป็นสื่อออนไลน์

1.0 ศึกษา ค้นคว้า อบรม เว็บไซต์ที่ใช้ในการสร้างสื่อการเรียนรู้ออนไลน์

Page 3: บทที่ 3

13

ภาพที่ 3 ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online)

4.2 การสร้างและพัฒนาแบบบันทึกการสังเกต

ภาพที่ 4 ขั้นตอนการสร้างและพัฒนาแบบบันทึกการสังเกต

5.0 น าสื่อออนไลน์เข้าสู่เว็บไซต์

6.0 ทดลองระบบบทเรียนออนไลน์

8.0 ทดสอบหาประสิทธิภาพในขั้นทดลองใช้เบื้องต้น

7.0 ตรวจสอบคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ

9.0 ปรับปรุง แก้ไข และน าไปใช้สอนจริง

1.0 ศึกษาทฤษฎีการสร้าง จากเอกสาร ต าราวิชาการ

2.0 ก าหนดประเด็นที่ต้องการสังเกต

3.0 ตรวจสอบความตรงโดยผู้เชี่ยวชาญ

4.0 หาความเชื่อมั่น (Reliability)

5.0 สร้างเป็นแบบบันทึกการสังเกตที่สมบูรณ์

Page 4: บทที่ 3

14

4.3 การสร้างและพัฒนาแบบสอบถามความคิดเห็น

ภาพที่ 5 ขั้นตอนการสร้างแบบสอบถามความคิดเห็น 5. การออกแบบการวิจัย การออกแบบการวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาก่อนการทดลองท่ีมีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (One group pretest-posttest Design) รูปแบบการวิจัยชนิดนี้เขียนเป็นแผนภูมิได้ดังนี้

เมื่อ O1 แทน การทดสอบก่อนเรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)

X แทน การเรียนจากสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)

O2 แทน การทดสอบหลังเรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)

1.0 ศึกษาทฤษฎีการสร้าง จากเอกสาร ต าราวิชาการ

2.0 ก าหนดประเด็นที่ต้องการถาม

3.0 ตรวจสอบความตรงโดยผู้เชี่ยวชาญ

4.0 หาความเชื่อมั่น (Reliability)

5.0 สร้างเป็นแบบสอบถามที่สมบูรณ์

O1 X O2

Page 5: บทที่ 3

15

6. การเก็บรวบรวมข้อมูล

ภาพที่ 6 ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล

7. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ 7.1 การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่อง แก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com ได้หาประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70 จากสูตร E1/E2 (ชัยยงค์ พรหมวงศ์ สมเชาว์ เนตรประเสริฐ และสุดา สินสกุล 2520: 136-137)

สูตร 1001

A

N

X

E

เมื่อ E1 คือ ค่าประสิทธิภาพของกระบวนการ X คือ คะแนนรวมของการตอบค าถามท้ายหน่วย

A คือ คะแนนเต็มของค าถามท้ายหน่วย N คือ จ านวนนักเรียน

สูตร 1002

B

N

F

E

เมื่อ E2 คือ ค่าประสิทธิภาพของผลลัพธ์

1.0 น าแบบสอบถามที่สมบูรณ์มา

2.0 ผู้ท าการประเมินนักเรียนช้ัน ม.3,ม.5,ม.6

3.0 ส่งแบบสอบถามที่สมบูรณ์ให้ผูป้ระเมินท า

4.0 น าผลการประเมินท่ีได้มารวมคะแนน

5.0 วิเคราะหผ์ลการประเมิน

6.0 น าเสนอข้อมลูในรูปแบบตาราง

Page 6: บทที่ 3

16

F คือ คะแนนรวมของการท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน B คือ คะแนนเต็มของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน N คือ จ านวนนักเรียน 7.2 การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,5 ที่

เรียนจากสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยสีื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่อง แก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่http://chaiwat31.wordpress.com โดยการเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนที่ได้จากการท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและคะแนนที่ได้จากการท าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียน โดยใช้ t-test (t-test for Dependent group) (ล้วน สายยศ 2540 : 301)

สูตร t =

1

)( 22

N

DDN

D เมื่อ df = n-1

เมื่อ D เป็นความแตกต่างของคะแนนแต่ละคู่ N เป็นจ านวนคู่ 7.3 การวิเคราะห์นักเรียนที่เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3,5,6 โรงเรียนดงบังพสิัยนวการนสุรณ์ จังหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com ใช้ Social Media “Facebook” เพื่อการเรยีนรู้และใช้ในการแลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนได้ โดยใช้แบบบันทึกการสังเกต การส่งงานใน “Facebook group” Comdongbug ม.3, Comdongbug ม.5, Comdongbug ม.6 แบบมาตรส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 ระดับ ดังนี้ นักเรียนทุกคนมี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้ มีค่าน้ าหนัก 5 นักเรียนส่วนใหญ่มี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้ มีค่าน้ าหนัก 4 นักเรียนครึ่งหนึ่งมี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้ มีค่าน้ าหนัก 3 นักเรียนมี“Facebook” ไม่ถึงครึ่งหนึ่งที่ใช้ในการส่งงานได้ มีค่าน้ าหนัก 2 นักเรียนไม่มี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้ มีค่าน้ าหนัก 1

การน าคะแนนมาหาค่าเฉลี่ย(Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) น าค่าเฉลี่ย (Mean) ดังนี้ ค่าเฉลี่ย (Mean) 4.50 – 5.00 หมายถึง นักเรียนทุกคนมี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้ ค่าเฉลี่ย (Mean) 3.50 – 4.49 หมายถึง นักเรียนส่วนใหญ่มี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้ ค่าเฉลี่ย (Mean) 2.50 – 3.49 หมายถึง นักเรียนครึ่งหนึ่งมี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้

Page 7: บทที่ 3

17

ค่าเฉลี่ย (Mean) 1.50 – 2.49 หมายถึง นักเรียนมี“Facebook” ไม่ถึงครึ่งหนึ่งที่ใช้ในการส่งงานได้ ค่าเฉลี่ย (Mean) 1.00 – 1.49 หมายถึง นักเรียนไม่มี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้

เปรียบเทียบกับเกณฑ์ของเบสท์ (Best, 1970 อ้างถึงในบุญมี พันธุ์ไทย, 2545 : 60)

7.4 การวิเคราะห์ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ที่เรียนจากสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่http://chaiwat31.wordpress.com โดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็นมีลักษณะที่ใช้มาตราส่วนประเมินค่าของลิเคิร์ต (Likert’s Rating Scale) มี 5 ระดับ ดังนี้

เห็นด้วยอย่างยิ่ง มีค่าน้ าหนัก 5 เห็นด้วย มีค่าน้ าหนัก 4 ไม่แน่ใจ มีค่าน้ าหนัก 3 ไม่เห็นด้วย มีค่าน้ าหนัก 2 ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง มีค่าน้ าหนัก 1

การน าคะแนนมาหาค่าเฉลี่ย(Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) น าค่าเฉลี่ย (Mean) ดังนี้ ค่าเฉลี่ย (Mean) 4.50 – 5.00 หมายถึง เห็นด้วยอย่างยิ่ง ค่าเฉลี่ย (Mean) 3.50 – 4.49 หมายถึง เห็นด้วย ค่าเฉลี่ย (Mean) 2.50 – 3.49 หมายถึง ไม่แน่ใจ ค่าเฉลี่ย (Mean) 1.50 – 2.49 หมายถึง ไมเ่ห็นด้วย ค่าเฉลี่ย (Mean) 1.00 – 1.49 หมายถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง

เปรียบเทียบกับเกณฑ์ของเบสท์ (Best, 1970 อ้างถึงในบุญมี พันธุ์ไทย, 2545 : 60)