Transcript
  • จดัทาํขึน้เพือ่เผยแพร่ความรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝ่ัง “ โดยได้รับทุนอุดหนุนวจิยัมหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร์ จากสถาบันวจิยัและพฒันาแห่งมหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร์ ”

    ถ่ายภาพ : คณะผู้จัดทาํ

    ความสําคญัของหญ้าทะเล

    หญ้าทะเล เป็นแหล่งอนุบาลตัวอ่อน แหล่งที่อยู่อาศัย แหล่งอาหาร และที่กําบังหรือหลบภัยของสัตว์ทะเลหลายชนิด

    เช่น ปลา กุ้ง ปู ปลงิทะเล หอยบางชนิด เป็นต้น นอกจากนีใ้นแนวหญ้าทะเลยังพบสัตว์มีกระดูกสันหลงัอืน่ๆ เข้ามาหาอาหาร

    ได้แก่ พะยูน และเต่าทะเล พบพืชบางชนิดในแนวหญ้าทะเล เช่น แพลงก์ตอนพืช สาหร่ายทะเล เป็นต้น รวมทั้งยังพบ

    ส่ิงมีชีวติอืน่ๆ ซ่ึงทําหน้าที่ย่อยสลายซากส่ิงมีชีวติต่างๆ ได้แก่ แบคทีเรีย และรา ซ่ึงทําให้เกดิการหมุนเวยีนของสารต่างๆ ใน

    ระบบนิเวศ

    หญ้าทะเลเป็นแหล่งทําการประมง เช่น การทําประมงอวนรุนลูกปลาเก๋า เพือ่นําไปเลีย้งต่อในกระชัง การทําประมง

    อวนรุนเคย เพือ่นําไปทํากะปิ เป็นต้น

    หญ้าทะเล มรีะบบรากที่แขง็แรง จึงช่วยลดความรุนแรงของคลืน่และช่วยป้องกนัชายฝ่ังไม่ให้พงัทลาย

    หญ้าทะเลบางชนิด เช่น หญ้าคาทะเล (Enhalus acoroides) สามารถนําผลมาบริโภค หรืออาจนําใบมาสานเป็นตะกร้า

    ได้ เป็นต้น

    หญ้าทะเลในประเทศไทย Seagrasses of Thailand

    หน่วยปฏิบัตกิารวจิยัทางการประมง สถานีวจิยัเพือ่การพฒันาชายฝ่ังอนัดามนั สถาบันวจิยัและพฒันาแห่งมหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร์

    หญ้าทะเล (Seagrasses) เป็นกลุ่มของพืชดอกเพียงกลุ่มเดียว ที่ได้มีวิวัฒนาการให้สามารถดํารงชีวิตอยู่ได้ในทะเล โดยมีลักษณะโครงสร้างภายนอกคล้ายคลึงกับหญ้าที่

    เจริญอยู่บนบก ซ่ึงประกอบด้วย 3 ส่วน ส่วนแรก คือ ราก เป็นส่วนที่ใช้ในการดูดซึมสารอาหารและแร่ธาตุจากในดิน ทั้งยังช่วยในการยึดเกาะกับพืน้ดิน ทําให้หญ้าทะเลมีความ

    มั่นคง ส่วนที่สอง คอื เหง้า เป็นส่วนของลาํต้นที่เจริญคบืคลานไปใต้พืน้ผวิดิน และส่วนที่สาม คอื ใบ เป็นส่วนทีใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสงเพือ่สร้างอาหาร มีรูปร่างแตกต่างกัน

    ตามแต่ชนิดของหญ้าทะเล มทีั้งชนิดที่ใบมลีกัษณะเป็นแผ่นแบน และชนิดที่เป็นท่อกลม ใบของหญ้าทะเลใช้เป็นลกัษณะสําคญัในการจําแนกชนิดของหญ้าทะเล

    เอกสารอ้างองิ

    ชชัรี สุพนัธ์ุวณิช. 2543. หญา้ทะเล. ใน อุทยานทรัพยากรชายฝ่ังอนัดามนัเฉลิมพระเกียรติ. สถาบนัวิจยัและพฒันาแห่งมหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. 140 หนา้.

    กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั มหาวิทยาลยับูรพา มหาวิทยาลยัมหิดล มหาวิทยาลยัรามคาํแหง

    มหาวิทยาลยัวลยัลกัษณ์ มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร์ สถาบนัเทคโนโลยรีาชมงคลจงัหวดัตรัง และสถาบนัเทคโนโลยรีาชมงคล วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพ.

    2548. รายงานการสาํรวจและประเมินผลกระทบจากเหตุการณ์ธรณีพิบติัภยัต่อทรัพยากรชายฝ่ังทะเลในทะเลอนัดามนั. 241 หนา้

    ผู้จัดทาํ : สหัส ราชเมืองขวาง

    ใบ

    ราก

    เหง้า ดดัแปลงจาก ชัชรี (2543)

    หญ้าใบมะกรูดขน Hairy spoon seagrass Halophila decipiens

    หญ้าชะเงาใบมน Smooth ribbon seagrass Cymodocea rotundata

    หญ้าชะเงาใบฟันเลือ่ย Serrated ribbon seagrass Cymodocea serrulata

    หญ้าคาทะเล Tape seagrass Enhalus acoroides

    หญ้าใบพาย Beccari’s seagrass Halophila beccarii

    หญ้าใบมะกรูดแคระ Small spoon seagrass Halophila minor

    หญ้าใบมะกรูด Spoon seagrass Halophila ovalis หญ้ากยุช่ายเข็ม Fiber strand seagrass

    Halodule pinifolia

    หญ้ากยุช่ายทะเล Fiber strand seagrass Halodule uninervis

    หญ้าตะกานนํ้าเคม็ Hairy seagrass Ruppia maritima

    หญ้าต้นหอมทะเล Noodle seagrass Syringodium isoetifolium

    หญ้าชะเงาเต่า Sickle seagrass Thalassia hemprichii ภาพโดย IUCN/

    Nonsak SOONJAREON

    แนวหญ้าทะเลหาดทุ่งนางดาํ จังหวดัพงังา

    Slide Number 1


Recommended