Transcript
Page 1: จดหมายข่าว สถาบันวิจัย ......จ ฬาลงกรณ มหาว ทยาล ย อาคารสถาบ น ช น ถ.พญาไท

ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ ประจ าเดือน กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙

กิจกรรมทั่วไป

กิจกรรมวิชาการและวิจัย

การประชุมโครงการ Retreat ผู้บริหารจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ เกาะสีชัง

ในระหว่างวันที่ ๒๑ - ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดย ศ .นพ.ภิรมย์ กมลรัตนกุล อธิการบดี พร้อมด้วย รองอธิการบดี และผู้ช่วยอธิการบดี ได้

เดินทางไปร่วมประชุม “โครงการ Retreat ผู้บริหารจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย” ณ ศูนย์ฝึกอบรมและสัมมนา สถานีวิจัยวิทยาศาสตร์ทางทะเลฯ เกาะสีชัง จ.ชลบุรี

ในการจัดประชุมฯ มี รศ.ดร.วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล ผู้อ านวยการสถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ า พร้อมด้วยหัวหน้าสถานีฯ นักวิจัย และเจ้าหน้าที่ของสถานีวิจัยฯ และศูนย์ฝึกอบรมและสัมมนา ให้การต้อนรับและอ านวยความสะดวกตลอดการประชุมฯ

ส าห รั บกิ จก ร รมกา รฝึ กอบรม ประกอบไปด้วย การบรรยายให้ความรู้ ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางทะเล ระบบนิเวศชายฝั่ ง สมุทรศาสตร์ การประมงและเพาะ เลี้ ย งสั ตว์ น้ า รวมไปถึ ง กา รฝึ ก

ปฏิบัติงานในพื้นที่ทดลองต่างๆ ของสถานีวิจัยฯ ทั้ง งานเพาะเลี้ยงหอยเป๋าฮื้อ งานฟื้นฟูปะการัง และงานพิพิธภัณฑ์ชลทัศสถาน เพื่อให้นักเรียนได้ทดลอง/ร่วมปฏิบัติงานในสภาพการท างานจริง

ทั้ ง นี้ โ ด ย มี นั ก เ รี ยน เข้ า รั บก า รอ บ ร ม ฯ ใ น ค รั้ ง นี้ จ านวน ๓๐ คน และครูผู้ควบคุม ๔ คน

การฝึกอบรม “ค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเล” โรงเรียนจักรค าคณาธร จ. ล าพูน

ระหว่างวันที่ ๓ - ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ า ได้จัดกิจกรรม การฝึกอบรม “ค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเล” ให้แก่นักเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ห้องเรียนพิเศษ ชั้นมัธยมศึกษา

ปีที่ ๕ โรงเรียนจักรค าคณาธร จ.ล าพูน ซึ่งน าคณะมาโดย อาจารย์พิชิต ค าบุรี ณ ศูนย์ฝึกอบรมและสัมมนา สถานีวิจัยวิทยาศาสตร์ทางทะเลและศูนย์ฝึกนิสิต เกาะสีชัง จ.ชลบุร ี

วัตถุประสงค์การจัดฝึกอบรม เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เพิ่มพูนประสบการณ์และมีความรู้พื้นฐานทางทะเลที่ส าคัญๆ อันไม่สามารถหาได้ในห้องเรียน รวมไปถึงเพื่อสร้างแรงบันดาลใจในเรื่องที่เกี่ยวข้องต่างๆ ซึ่งจ ะ ส าม า ร ถน า ไ ปป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ แ ล ะประกอบการตัดสินใจในการเลือกเรียนและการใช้ชีวิตต่อไป

ทั้ งนี้ สถาบันฯ ได้จั ดเมนูอาหารพิเศษจากปลากะพงขาวและหอยเป๋าฮื้อเพื่อเลี้ยงรับรองผู้บริหารจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่เข้าร่วมประชุมฯ เป็นที่ประทับใจ

นอกจากนี ้ทางสถานีวิจัยฯ เกาะสีชัง ยังได้จัดเตรียมลูกพันธุ์ปลากะพงขาว

และหอยเป๋าฮื้อ เพื่อให้คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยได้ร่วมปล่อยลงสู่ทะเลเพื่อฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลข อ ง ห มู่ เ ก า ะ สี ชั ง โ ด ย มีผู้บริหารมหาวิทยาลัย เข้าร่วมประชุมฯ ทั้งสิ้น ๓๔ คน

จดหมายข่าว สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ าสถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ า

จุฬาลงกรณม์หาวิทยาลยั อาคารสถาบัน ๓ ชั้น ๙ ถ.พญาไท ปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐ โทรศัพท์ ๐๒-๒๑๘๘๑๖๐-๓ โทรสาร ๐๒-๒๕๔๔๒๕๙ เว็ปไซต์ www.arri.chula.ac.th

Page 2: จดหมายข่าว สถาบันวิจัย ......จ ฬาลงกรณ มหาว ทยาล ย อาคารสถาบ น ช น ถ.พญาไท

ทั้งนี้ ที่ผ่านมากลุ่มผู้ เสียหายได้ออกมาถามหาความรับผิดชอบและเรียกร้องให้ภาครัฐเร่งหาทางป้องกันและแก้ปัญหา เป็นต้นว่า ให้ก่อสร้างคันกั้นคลื่นตลอดแนวชายฝั่ง โดยได้จัดตั้งศูนย์รับเรื่องราวร้อง

ทุกข์ “ทวงคืนโฉนดทะเล” รวมไปถึงการยื่นหนังสือเรียกร้องขอความเป็นธรรมต่อท่านนายกรัฐมนตรีและหัวหน้า คสช. แม้จะทราบว่าไม่ได้เป็น “เรื่องง่าย” ก็ตาม

เกี่ยวกับเรื่องนี้ ผศ.ดร.ธรณ์ ธ ารงนาวาสวัสดิ์ นักวิชาการด้านระบบนิเวศทางทะเล และอดีตสมาชิก สปช. ได้ให้ทัศนะอย่างน่าสนใจว่า ”ปัญหากัดเซาะชายฝั่งต้องแก้ด้วยวิทยาศาสตร์ โดยส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการกระท าที่ไม่ถูกหลักวิชาการ โดยเฉพาะการสร้างแนวกันคลื่นในหลายพื้นที่ ซึ่งส่งผลให้เกิดการกัดเซาะในอีกพื้นที่หนึ่ง โดยเวลานี้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีข้อมูลพื้นที่ประสบปัญหาอยู่ทั้งหมดแล้วซึ่งจ าเป็นต้องแก้ไขให้สอดคล้องต้องกัน และการด าเนินการต้องศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจน” จะเห็นว่าในเรื่องนี้ยังต้องรอการพิสูจน์อีกมาก และคงจะไม่ได้ “จบลง” ในเร็ววัน

ที่มา: Saveoursea.net, Google, mkh.in.th, เดลินิวส,์ แนวหน้า ฯลฯ

เว๊ปไซต:์ www.arri.chula.ac.th อีเมล:์ [email protected] อาคารสถาบัน ๓ ชั้น ๙ ถ.พญาไท ปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐ โทรศัพท์ ๐๒-๒๑๘๘๑๖๐-๓ โทรสาร ๐๒-๒๕๔๔๒๕๙

รายละเอียดเพ่ิมเติม: ติดต่อ

กองบรรณาธิการ จดหมายข่าวสถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ ากองบรรณาธิการ จดหมายข่าวสถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ า

“โฉนดทะเล” ความมีเจ้าของท่ีต้องรอการพิสูจน์ โดย สมบัติ อินทร์คง

เมื่อพูดถึง “โฉนดทะเล” หลายๆ ท่าน คงนึกสงสัยว่า มันคืออะไรยังไงกัน แต่ถ้าบอกว่า เป็นพื้นแผ่นดินชายฝั่งที่หายไปจากผลการพัดถล่มและกัดเซาะของ

คลื่นลมรุนแรงของทะเลไทยตลอดช่วงหลายปีที่ผ่านมา ซึ่ งพบได้ตลอดแนวชายฝั่ งทั้ ง ๑๗ จังหวัดชายทะเล ไม่ว่าภาคใต้ ภาคตะวันออก ภาคกลาง หรือแม้แต่ กทม. ท าให้ที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง ตลอดถึงสาธารณูปโภคต่างๆ ถูกน้ าทะเลบุกรุกกลืนหายไปใน

ทะเล สร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวง และท าให้มีชาวบ้านจ านวนมากต้องถือ “โฉนด” แต่ไม่มีสิทธิ์ครอบครองพื้นที่ดินของตนเอง ก่อให้เกิดความเดือดร้อนแสนสาหัสไปตามๆ กัน

ส าหรับ การกัดเซาะชายฝั่ง เป็นผลมาจากการกระท าของคลื่นและลมเป็นส าคัญ ความรุนแรงของการกัดเซาะจะขึ้นอยู่กับการเกิดพายุและลมมรสุม รวมไปถึงลักษณะทางกายภาพของชายฝั่งเอง โดยชายฝั่งทะเลเปิดจะเกิดได้มากกว่าบริเวณที่เป็นอ่าว นอกจากนี้ ปรากฏการณ์โลกร้อนและระดับน้ าทะเลที่เพิ่มสูงขึ้น ยังจะส่งผลให้การกัดเซาะชายฝั่งรุนแรงขึ้นอีกด้วย

การฝึกงาน Chiba - Chula Workshop ครั้งที่ ๗ ณ สถานีวิจัยฯ เกาะสีชัง

ในระหว่างวันที่ ๒๐ - ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ ภาควิชา เทคโนโลยีทางภาพและ การพิมพ์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ได้ส่งนิสิตในสังกัด พร้อมด้วยนิสิตนักศึกษาแลกเปลี่ยนจากมหาวิทยาลัยชิบะ (Chiba University) ประเทศ

ญี่ปุ่น ตามโครงการ Chiba - Chula workshop ครั้งที่ ๗ มาเข้ารับการฝึกงานในส่วนของงานเพาะเลี้ยงหอยเป๋าฮื้อ และงานฟื้นฟูปะการัง ณ สถานีวิจัยวิทยาศาสตร์ทางทะเลและ

ศูนย์ฝึกนิสิต เกาะสีชัง จ.ชลบุร ีส า ห รั บ กิ จ ก ร รม ในก า ร

ฝึกงานฯ ประกอบไปด้วย ๑) การฟื้นฟูปะการังแบบไม่อาศัยเพศ โดยฝึกการย้ายปลูกปะการังเขากวาง การตัดชื้น

ปะการังและเทคนิคการปลูกบนวัสดุต่างชนิด การอนุบาลและการติดตามผลหลังปลูก การด าน้ าตรวจสอบสภาพปะการังที่อนุบาลและน าลงฟื้นฟู พร้อมทดลองน า

ปะการังที่อนุบาลไว้แล้ว ๘ - ๑๐ เดือน ลงปลูกบนแท่งซีเมนต์ และน าลงอนุบาลในแพกลางน้ าและลงฟื้นฟูบนพื้นทะเล ๒) การเพาะเลี้ยงหอยเป๋าฮื้อ ได้แก่ การคัดพ่อแม่พันธ์ การฝึกเลี้ยง

หอยขนาดต่างๆ การตรวจสอบเพศและความสมบูรณ์เพศ การติดเครื่องหมาย การปล่อยหอยลงสู่ทะเลและการติดตามผล และ ๓) การทัศนศึกษารอบเกาะสีชัง เยี่ยมชมสถานที่ท่องเที่ยวส าคัญต่างๆ รวมไปถึงได้เข้าพบนายอ าเภอเกาะสีชัง อีกด้วย

ทั้งนี้ โดยมีนิสิตชาวญี่ปุ่น จ านวน ๖ คน ชาวอินโดนีเซีย ๑ คน และนิสิตจุฬาฯ จ านวน ๓ คน ซึ่งการฝึกงานฯ ดังกล่าว เป็นไปด้วยความเรียบร้อยดี บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ทุกประการ

กิจกรรมวิชาการและวิจัย (ต่อจากหน้า ๑)

ความรู้ทั่วไปทางทะเล


Recommended