2
ปีทฉบับทีประจาเดือน กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ กิจกรรมทั่วไป กิจกรรมวิชาการและวิจัย การประชุมโครงการ Retreat ผู้บริหารจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ เกาะสีชัง ในระหว่างวันที่ ๒๑ - ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โดย ศ.นพ.ภิรมย์ กมลรัตนกุล อธิการบดี พร้อมด้วย รองอธิการบดี และผู้ช่วยอธิการบดี ได้ เดินทางไปร่วมประชุม โครงการ Retreat ผู้บริหารจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยณ ศูนย์ฝึกอบรมและสัมมนา สถานีวิจัยวิทยาศาสตร์ทางทะเลฯ เกาะสีชัง จ.ชลบุรี ในการจัดประชุมฯ มี รศ.ดร.วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล ผู้อานวยการ สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้พร้อมด้วยหัวหน้าสถานีฯ นักวิจัย และเจ้าหน้าที่ของสถานีวิจัยฯ และศูนย์ฝึกอบรมและสัมมนา ให้การต้อนรับและอานวยความ สะดวกตลอดการประชุมฯ สาหรับกิจกรรมการฝึกอบรม ประกอบไปด้วย การบรรยายให้ความรูได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางทะเล ระบบนิเวศ ชายฝั่ง สมุทรศาสตร์ การประมงและ เพาะเลี้ยงสัตว์น้า รวมไปถึง การฝึก ปฏิบัติงานในพื้นที่ทดลองต่างๆ ของสถานีวิจัยฯ ทั้ง งานเพาะเลี้ยง หอยเป๋าฮื้อ งานฟื้นฟูปะการัง และ งานพิพิธภัณฑ์ชลทัศสถาน เพื่อให้ นักเรียนได้ทดลอง /ร่วมปฏิบัติงาน ในสภาพการทางานจริง ทั้ ง นี้ โดยมี นักเรียนเข้ารับการ อบรมฯ ในครั้ ง นีจานวน ๓๐ คน และครู ผู้ควบคุม ๔ คน การฝึกอบรม ค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเล โรงเรียนจักรคาคณาธร จ. ลาพูน ระหว่างวันที่ ๓ - ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ได้จัด กิจกรรม การฝึกอบรม ค่ายวิทยาศาสตร์ ทางทะเลให้แก่นักเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร์ ห้องเรียนพิเศษ ชั้นมัธยมศึกษา ปีท่ ๕ โรงเรียนจักรคาคณาธร จ.ลาพูน ซึ่งนาคณะมาโดย อาจารย์พิชิต คาบุรี ณ ศูนย์ฝึกอบรมและสัมมนา สถานีวิจัย วิทยาศาสตร์ทางทะเลและศูนย์ฝึกนิสิต เกาะสีชัง จ.ชลบุรี วัตถุประสงค์การจัดฝึกอบรม เพื่อเปิดโอกาสให้ นักเรียนได้เพิ่มพูนประสบการณ์และมีความรู้พื้นฐานทางทะเล ที่สาคัญๆ อันไม่สามารถหาได้ในห้องเรียน รวมไปถึงเพื่อสร้างแรงบันดาลใจในเรื่องทีเกี่ยวข้องต่างๆ ซึ่ง จะสามารถนาไป ประยุกต์ใช้และ ประกอบการตัดสินใจ ในการเลือกเรียนและ การใช้ชีวิตต่อไป ทั้งนีสถาบันฯ ได้จัด เมนูอาหารพิเศษจากปลากะพงขาว และหอยเป๋าฮื้อเพื่อเลี้ยงรับรอง ผู้บริหารจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่เข้าร่วมประชุมฯ เป็นที่ประทับใจ นอกจากนีทางสถานีวิจัยฯ เกาะ สีชัง ยังได้จัดเตรียมลูกพันธุ์ปลากะพงขาว และหอยเป๋าฮื้อ เพื่อให้คณะ ผู้บริหารมหาวิทยาลัยได้ร่วม ปล่อยลงสู่ทะเลเพื่อฟื้นฟูและ อนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเล ของหมู่เกาะสีชัง โดยมี ผู้บริหารมหาวิทยาลัย เข้าร่วม ประชุมฯ ทั้งสิ้น ๓๔ คน จดหมายข่าว สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาคารสถาบัน ๓ ชั้น ๙ ถ.พญาไท ปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐ โทรศัพท์ ๐๒-๒๑๘๘๑๖๐-โทรสาร ๐๒-๒๕๔๔๒๕๙ เว็ปไซต์ www.arri.chula.ac.th

จดหมายข่าว สถาบันวิจัย ......จ ฬาลงกรณ มหาว ทยาล ย อาคารสถาบ น ช น ถ.พญาไท

  • Upload
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: จดหมายข่าว สถาบันวิจัย ......จ ฬาลงกรณ มหาว ทยาล ย อาคารสถาบ น ช น ถ.พญาไท

ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ ประจ าเดือน กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙

กิจกรรมทั่วไป

กิจกรรมวิชาการและวิจัย

การประชุมโครงการ Retreat ผู้บริหารจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ เกาะสีชัง

ในระหว่างวันที่ ๒๑ - ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดย ศ .นพ.ภิรมย์ กมลรัตนกุล อธิการบดี พร้อมด้วย รองอธิการบดี และผู้ช่วยอธิการบดี ได้

เดินทางไปร่วมประชุม “โครงการ Retreat ผู้บริหารจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย” ณ ศูนย์ฝึกอบรมและสัมมนา สถานีวิจัยวิทยาศาสตร์ทางทะเลฯ เกาะสีชัง จ.ชลบุรี

ในการจัดประชุมฯ มี รศ.ดร.วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล ผู้อ านวยการสถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ า พร้อมด้วยหัวหน้าสถานีฯ นักวิจัย และเจ้าหน้าที่ของสถานีวิจัยฯ และศูนย์ฝึกอบรมและสัมมนา ให้การต้อนรับและอ านวยความสะดวกตลอดการประชุมฯ

ส าห รั บกิ จก ร รมกา รฝึ กอบรม ประกอบไปด้วย การบรรยายให้ความรู้ ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางทะเล ระบบนิเวศชายฝั่ ง สมุทรศาสตร์ การประมงและเพาะ เลี้ ย งสั ตว์ น้ า รวมไปถึ ง กา รฝึ ก

ปฏิบัติงานในพื้นที่ทดลองต่างๆ ของสถานีวิจัยฯ ทั้ง งานเพาะเลี้ยงหอยเป๋าฮื้อ งานฟื้นฟูปะการัง และงานพิพิธภัณฑ์ชลทัศสถาน เพื่อให้นักเรียนได้ทดลอง/ร่วมปฏิบัติงานในสภาพการท างานจริง

ทั้ ง นี้ โ ด ย มี นั ก เ รี ยน เข้ า รั บก า รอ บ ร ม ฯ ใ น ค รั้ ง นี้ จ านวน ๓๐ คน และครูผู้ควบคุม ๔ คน

การฝึกอบรม “ค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเล” โรงเรียนจักรค าคณาธร จ. ล าพูน

ระหว่างวันที่ ๓ - ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ า ได้จัดกิจกรรม การฝึกอบรม “ค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเล” ให้แก่นักเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ห้องเรียนพิเศษ ชั้นมัธยมศึกษา

ปีที่ ๕ โรงเรียนจักรค าคณาธร จ.ล าพูน ซึ่งน าคณะมาโดย อาจารย์พิชิต ค าบุรี ณ ศูนย์ฝึกอบรมและสัมมนา สถานีวิจัยวิทยาศาสตร์ทางทะเลและศูนย์ฝึกนิสิต เกาะสีชัง จ.ชลบุร ี

วัตถุประสงค์การจัดฝึกอบรม เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เพิ่มพูนประสบการณ์และมีความรู้พื้นฐานทางทะเลที่ส าคัญๆ อันไม่สามารถหาได้ในห้องเรียน รวมไปถึงเพื่อสร้างแรงบันดาลใจในเรื่องที่เกี่ยวข้องต่างๆ ซึ่งจ ะ ส าม า ร ถน า ไ ปป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ แ ล ะประกอบการตัดสินใจในการเลือกเรียนและการใช้ชีวิตต่อไป

ทั้ งนี้ สถาบันฯ ได้จั ดเมนูอาหารพิเศษจากปลากะพงขาวและหอยเป๋าฮื้อเพื่อเลี้ยงรับรองผู้บริหารจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่เข้าร่วมประชุมฯ เป็นที่ประทับใจ

นอกจากนี ้ทางสถานีวิจัยฯ เกาะสีชัง ยังได้จัดเตรียมลูกพันธุ์ปลากะพงขาว

และหอยเป๋าฮื้อ เพื่อให้คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยได้ร่วมปล่อยลงสู่ทะเลเพื่อฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลข อ ง ห มู่ เ ก า ะ สี ชั ง โ ด ย มีผู้บริหารมหาวิทยาลัย เข้าร่วมประชุมฯ ทั้งสิ้น ๓๔ คน

จดหมายข่าว สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ าสถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ า

จุฬาลงกรณม์หาวิทยาลยั อาคารสถาบัน ๓ ชั้น ๙ ถ.พญาไท ปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐ โทรศัพท์ ๐๒-๒๑๘๘๑๖๐-๓ โทรสาร ๐๒-๒๕๔๔๒๕๙ เว็ปไซต์ www.arri.chula.ac.th

Page 2: จดหมายข่าว สถาบันวิจัย ......จ ฬาลงกรณ มหาว ทยาล ย อาคารสถาบ น ช น ถ.พญาไท

ทั้งนี้ ที่ผ่านมากลุ่มผู้ เสียหายได้ออกมาถามหาความรับผิดชอบและเรียกร้องให้ภาครัฐเร่งหาทางป้องกันและแก้ปัญหา เป็นต้นว่า ให้ก่อสร้างคันกั้นคลื่นตลอดแนวชายฝั่ง โดยได้จัดตั้งศูนย์รับเรื่องราวร้อง

ทุกข์ “ทวงคืนโฉนดทะเล” รวมไปถึงการยื่นหนังสือเรียกร้องขอความเป็นธรรมต่อท่านนายกรัฐมนตรีและหัวหน้า คสช. แม้จะทราบว่าไม่ได้เป็น “เรื่องง่าย” ก็ตาม

เกี่ยวกับเรื่องนี้ ผศ.ดร.ธรณ์ ธ ารงนาวาสวัสดิ์ นักวิชาการด้านระบบนิเวศทางทะเล และอดีตสมาชิก สปช. ได้ให้ทัศนะอย่างน่าสนใจว่า ”ปัญหากัดเซาะชายฝั่งต้องแก้ด้วยวิทยาศาสตร์ โดยส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการกระท าที่ไม่ถูกหลักวิชาการ โดยเฉพาะการสร้างแนวกันคลื่นในหลายพื้นที่ ซึ่งส่งผลให้เกิดการกัดเซาะในอีกพื้นที่หนึ่ง โดยเวลานี้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีข้อมูลพื้นที่ประสบปัญหาอยู่ทั้งหมดแล้วซึ่งจ าเป็นต้องแก้ไขให้สอดคล้องต้องกัน และการด าเนินการต้องศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจน” จะเห็นว่าในเรื่องนี้ยังต้องรอการพิสูจน์อีกมาก และคงจะไม่ได้ “จบลง” ในเร็ววัน

ที่มา: Saveoursea.net, Google, mkh.in.th, เดลินิวส,์ แนวหน้า ฯลฯ

เว๊ปไซต:์ www.arri.chula.ac.th อีเมล:์ [email protected] อาคารสถาบัน ๓ ชั้น ๙ ถ.พญาไท ปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐ โทรศัพท์ ๐๒-๒๑๘๘๑๖๐-๓ โทรสาร ๐๒-๒๕๔๔๒๕๙

รายละเอียดเพ่ิมเติม: ติดต่อ

กองบรรณาธิการ จดหมายข่าวสถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ ากองบรรณาธิการ จดหมายข่าวสถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ า

“โฉนดทะเล” ความมีเจ้าของท่ีต้องรอการพิสูจน์ โดย สมบัติ อินทร์คง

เมื่อพูดถึง “โฉนดทะเล” หลายๆ ท่าน คงนึกสงสัยว่า มันคืออะไรยังไงกัน แต่ถ้าบอกว่า เป็นพื้นแผ่นดินชายฝั่งที่หายไปจากผลการพัดถล่มและกัดเซาะของ

คลื่นลมรุนแรงของทะเลไทยตลอดช่วงหลายปีที่ผ่านมา ซึ่ งพบได้ตลอดแนวชายฝั่ งทั้ ง ๑๗ จังหวัดชายทะเล ไม่ว่าภาคใต้ ภาคตะวันออก ภาคกลาง หรือแม้แต่ กทม. ท าให้ที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง ตลอดถึงสาธารณูปโภคต่างๆ ถูกน้ าทะเลบุกรุกกลืนหายไปใน

ทะเล สร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวง และท าให้มีชาวบ้านจ านวนมากต้องถือ “โฉนด” แต่ไม่มีสิทธิ์ครอบครองพื้นที่ดินของตนเอง ก่อให้เกิดความเดือดร้อนแสนสาหัสไปตามๆ กัน

ส าหรับ การกัดเซาะชายฝั่ง เป็นผลมาจากการกระท าของคลื่นและลมเป็นส าคัญ ความรุนแรงของการกัดเซาะจะขึ้นอยู่กับการเกิดพายุและลมมรสุม รวมไปถึงลักษณะทางกายภาพของชายฝั่งเอง โดยชายฝั่งทะเลเปิดจะเกิดได้มากกว่าบริเวณที่เป็นอ่าว นอกจากนี้ ปรากฏการณ์โลกร้อนและระดับน้ าทะเลที่เพิ่มสูงขึ้น ยังจะส่งผลให้การกัดเซาะชายฝั่งรุนแรงขึ้นอีกด้วย

การฝึกงาน Chiba - Chula Workshop ครั้งที่ ๗ ณ สถานีวิจัยฯ เกาะสีชัง

ในระหว่างวันที่ ๒๐ - ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ ภาควิชา เทคโนโลยีทางภาพและ การพิมพ์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ได้ส่งนิสิตในสังกัด พร้อมด้วยนิสิตนักศึกษาแลกเปลี่ยนจากมหาวิทยาลัยชิบะ (Chiba University) ประเทศ

ญี่ปุ่น ตามโครงการ Chiba - Chula workshop ครั้งที่ ๗ มาเข้ารับการฝึกงานในส่วนของงานเพาะเลี้ยงหอยเป๋าฮื้อ และงานฟื้นฟูปะการัง ณ สถานีวิจัยวิทยาศาสตร์ทางทะเลและ

ศูนย์ฝึกนิสิต เกาะสีชัง จ.ชลบุร ีส า ห รั บ กิ จ ก ร รม ในก า ร

ฝึกงานฯ ประกอบไปด้วย ๑) การฟื้นฟูปะการังแบบไม่อาศัยเพศ โดยฝึกการย้ายปลูกปะการังเขากวาง การตัดชื้น

ปะการังและเทคนิคการปลูกบนวัสดุต่างชนิด การอนุบาลและการติดตามผลหลังปลูก การด าน้ าตรวจสอบสภาพปะการังที่อนุบาลและน าลงฟื้นฟู พร้อมทดลองน า

ปะการังที่อนุบาลไว้แล้ว ๘ - ๑๐ เดือน ลงปลูกบนแท่งซีเมนต์ และน าลงอนุบาลในแพกลางน้ าและลงฟื้นฟูบนพื้นทะเล ๒) การเพาะเลี้ยงหอยเป๋าฮื้อ ได้แก่ การคัดพ่อแม่พันธ์ การฝึกเลี้ยง

หอยขนาดต่างๆ การตรวจสอบเพศและความสมบูรณ์เพศ การติดเครื่องหมาย การปล่อยหอยลงสู่ทะเลและการติดตามผล และ ๓) การทัศนศึกษารอบเกาะสีชัง เยี่ยมชมสถานที่ท่องเที่ยวส าคัญต่างๆ รวมไปถึงได้เข้าพบนายอ าเภอเกาะสีชัง อีกด้วย

ทั้งนี้ โดยมีนิสิตชาวญี่ปุ่น จ านวน ๖ คน ชาวอินโดนีเซีย ๑ คน และนิสิตจุฬาฯ จ านวน ๓ คน ซึ่งการฝึกงานฯ ดังกล่าว เป็นไปด้วยความเรียบร้อยดี บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ทุกประการ

กิจกรรมวิชาการและวิจัย (ต่อจากหน้า ๑)

ความรู้ทั่วไปทางทะเล