66
ตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตตตตตตตตตต ต ตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตตตตต ตตตตตต 30 ตตตตตตตต 2557 – 2 ตตตตตตต 2557 ตตตตตตตต 2554 ตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตต ตตตตตตตต ตตตตตตตตตตตตตตตตต 1. ตตตตตตตตตตตต ตตตตตตต : ตตตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตต : Bachelor of Education Program in Early Childhood Education 2. ตตตตตตตตตต ตตตตตตตต (ตตตตตตต) : ตตตตต ตตตตตตตตตตต (ตตตตตตตต ตตตตตต) ตตตตตตต (ตตตตตตต) : ตต.ต. (ตตตตตตตตตตตตตต) ตตตตตตตต (ตตตตตตตตตต) :

mbuisc.ac.thmbuisc.ac.th/dev57/ba_childhood.doc · Web viewข อ ๔ จ ตว ทยาสำหร บคร (ครอบคล ม) หล กส ตร 2554 ข อเสนอแนะแนวทางในการปร

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

ตารางโครงร่างการพัฒนาหลักสูตร คณะศึกษาศาสตร์ สาขาการศึกษาปฐมวัย

ณ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

วันที่ 30 มิถุนายน 2557 – 2 กรกฏาคม 2557

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

1. ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย

ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Early Childhood Education

2. ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การศึกษาปฐมวัย)

ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : ศษ.บ. (การศึกษาปฐมวัย)

ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Education (Early Childhood Education)

ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : B.Ed. (Early Childhood Education)

3. วิชาเอกเดี่ยว

การศึกษาปฐมวัย

4. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร

198 หน่วยกิต

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

5.รูปแบบของหลักสูตร

5.1รูปแบบ

หลักสูตรระดับปริญญาตรี 5 ปี

5.2ภาษาที่ใช้

ภาษาไทย

ควรเพิ่มภาษาอังกฤษ/ภาษาอาเซียน(ภาษาใดภาษาหนึ่ง)

เพื่อความเป็นสากลและเพื่อเข้าสู่อาเซียนในปี2558

5.3การรับเข้าศึกษา

รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่สามารถใช้ภาษาไทยได้

5.4ความร่วมมือกับสถาบันอื่น

เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ

5.5การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา

ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

6.สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรเป็นหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 ปรับปรุงจากหลักสูตรศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2549

สภาวิชาการกลั่นกรองหลักสูตรของมหาวิทยาลัย เห็นชอบในการประชุมครั้งที่ 1/2554 วันที่ 25 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554

สภามหาวิทยาลัย อนุมัติหลักสูตรในการประชุมครั้งที่ 1/2554 วันที่ 7 เดือน เมษายน พ.ศ. 2554

สภาวิชาการกลั่นกรองหลักสูตรของมหาวิทยาลัย เห็นชอบในการประชุมปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร ครั้งที่ 2/2555 วันที่ 30 เดือน มกราคม 2555

สภามหาวิทยาลัย อนุมัติหลักสูตรที่ปรับปรุงแก้ไขแล้ว ในการประชุมครั้งที่ 1/2555 วันที่ 23 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2555 เปิดสอน ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2554

7.ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน

หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่ว่าเป็นหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ในปีการศึกษา 2556 (หลังจากเปิดสอนเป็นเวลา 2 ปี)

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

8.อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. บุคลากรทางการศึกษา

2. นักวิชาการการศึกษา

3. พนักงานในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน

4. นักวิจัยทางการศึกษา

5. ประกอบอาชีพส่วนตัว

11.สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จำเป็นต้องนำมาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร

11.1.5 มีการกำหนดมาตรฐานวิชาชีพตามข้อบังคับของสำนักงานเลขาธิการคุรุสภาว่าด้วย มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ พ.ศ. 2548 รวมทั้งการกำหนดคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่างๆ

มีการกำหนดมาตรฐานวิชาชีพตามข้อบังคับของสำนักงานเลขาธิการคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ พ.ศ.2556 รวมทั้งการกำหนดคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่างๆ

เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพครูตามที่คุรุสภากำหนด

2. แผนพัฒนาปรับปรุง

แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง

กลยุทธ์

หลักฐาน/ตัวบ่งชี้ความสำเร็จ

· การพัฒนาการเรียนการสอน

1. ส่งเสริมการเรียนการสอนที่เน้น

ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

2. ส่งเสริมการสอนปฐมวัย

3. ส่งเสริมการวิเคราะห์หลักสูตร

การทำแผนการสอนและการ

นำเสนอหน้าชั้นเรียนอย่าง

ถูกต้อง

1. มีจำนวนชั่วโมงหรือหัวข้อการ

เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน

เป็นศูนย์กลาง

2. มีรายวิชาภาษาอังกฤษสำหรับ

ครูปฐมวัย

3. มีรายวิชาสัมมนาการศึกษา

ปฐมวัย

· การพัฒนานักศึกษา

1. ส่งเสริมนักศึกษาให้มีความเป็น

ผู้นำและผู้ร่วมงานที่ดี

มีมนุษยสัมพันธ์

2. ส่งเสริมให้นักศึกษามีคุณธรรม

จริยธรรมและจรรยาบรรณ

1. จำนวนกิจกรรมที่ส่งเสริม

นักศึกษาให้มีความเป็นผู้นำ

และผู้ร่วมงานที่ดี

มีมนุษยสัมพันธ์

2. จำนวนกิจกรรมที่ส่งเสริมให้

นักศึกษามีคุณธรรม

จรรยาบรรณ และจริยธรรม

มีรายวิชากฎหมายการศึกษา

และคุณธรรมและจริยธรรม

สำหรับครู

· การเปลี่ยนแปลงจุดเน้นของหลักสูตร

1. เพิ่มรายวิชาหมวดวิชาชีพให้มี

เนื้อหาครอบคลุมตามสาระการ

เรียนรู้ที่คุรุสภากำหนด

1. มีรายวิชาในหมวดวิชา

เฉพาะที่เป็นวิชาครูได้มีการ

ปรับเนื้อหารายวิชาบาง

รายวิชาให้สอดคล้องกับสาระ

การเรียนรู้ทั้ง 11 สาระของคุรุ

สภา

· การเพิ่มเนื้อหาใหม่ๆที่สำคัญ

1. เพิ่มเนื้อหารายวิชาที่ครอบคลุม

สาระการเรียนรู้ทั้ง 11

สาระการเรียนรู้

2. ส่งเสริมให้นักศึกษามี

ความสามารถในการเรียนรู้ด้วย

ตนเองโดยการสืบค้นจากระบบ

สารสนเทศ

1. มีเนื้อหาครบตามสาระการ

เรียนรู้ทั้ง 11 สาระการเรียนรู้

2. จำนวนกิจกรรมที่กำหนดให้

นักศึกษาเข้าไปสืบค้น

สารสนเทศ

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร

1. ระบบการจัดการศึกษา

1.1 ระบบ

ระบบการจัดการศึกษาเป็นแบบทวิภาค (Semester Credit System) โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งเวลาการศึกษาออกเป็นปีละ 2 ภาค คือ

ภาคการศึกษาที่ 1 (The First Semester) มีเวลาเรียนไม่ต่ำกว่า 15 สัปดาห์

ภาคการศึกษาที่ 2 (The Second Semester) มีเวลาเรียนไม่ต่ำกว่า 15 สัปดาห์

ข้อกำหนดต่างๆ ให้เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2554 (ภาคผนวก)

1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน

การศึกษาภาคฤดูร้อนเป็นภาคการศึกษาที่ไม่บังคับสำหรับนักศึกษาภาคปกติทั้งนี้การจัดการศึกษา

ภาคฤดูร้อนให้เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย

1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค

เทียบเคียงกับระบบทวิภาค โดย1 หน่วยกิต เท่ากับ 1 ชั่วโมงบรรยายต่อสัปดาห์ ใช้เวลา 15 สัปดาห์ รวมศึกษา 15 ชั่วโมงและเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2556

2. การดำเนินการหลักสูตร

2.1 วัน-เวลาในการดำเนินการเรียนการสอน

ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนสิงหาคม-เดือนพฤศจิกายน

ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนมกราคม-เดือนพฤษภาคม

ภาคการศึกษาฤดูร้อน เดือนมิถุนายน-เดือนกรกฎาคม

2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

2.2.1 คุณวุฒิของผู้มีสิทธิสมัครเข้าเป็นนักศึกษา

2.2.1.1เป็นผู้สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่า มีความถนัดทางวิชาชีพครู มีบุคลิกภาพและจิตใจที่เหมาะสมกับวิชาชีพครู และมีคุณวุฒิอื่นๆ ที่สภามหาวิทยาลัยกำหนด

2.2.1.2เป็นผู้ที่สภาวิชาการพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้รับเข้าศึกษา

2.2.2 ไม่เป็นผู้ที่เป็นโรคติดต่อหรือโรคร้ายแรงที่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา

2.2.3 ไม่เป็นผู้ที่มีความประพฤติเสียหายอย่างร้ายแรงทางศีลธรรม

2.2.4 ไม่เคยถูกไล่ออกจากสถาบันการศึกษาเดิม

2.2.5 ไม่เป็นผู้ที่วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือติดยาเสพย์ติดให้โทษ

2.3 ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้า

ปัญหาการปรับตัวจากการเรียนในระดับมัธยมศึกษา มาเป็นการเรียนที่มีรูปแบบแตกต่างไปจากเดิมที่คุ้นเคย มีสังคมกว้างขึ้น ต้องดูแลตนเองมากขึ้น มีกิจกรรมทั้งการเรียนในห้องและกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่นักศึกษาต้องสามารถจัดแบ่งเวลาให้เหมาะสม

2.4 กลยุทธ์ในการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา/ข้อจำกัดของนักศึกษาในข้อ 2.3

2.4.1 จัดการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ แนะนำการวางเป้าหมายชีวิต เทคนิคการเรียนในมหาวิทยาลัย และการแบ่งเวลา

2.4.2 จัดกิจกรรมนัดพบนักศึกษา เพื่อสร้างความคุ้นเคยและชี้แจงระบบการเรียนการสอน การดำเนิน ชีวิตในมหาวิทยาลัย เป็นต้น และการตอบข้อซักถามต่างๆ

2.4.3 มีการจัดอาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์ประจำชั้นแก่นักศึกษา ทำหน้าที่สอดส่องดูแล ตักเตือน ให้คำปรึกษา แนะนำ

2.4.4 จัดให้มีการพบปะพูดคุยระหว่างนักศึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาอย่างสม่ำเสมอทุกภาคการศึกษา

2.4.5 มีระบบการติดตามผลการเรียนโดยอาจารย์ที่ปรึกษาพร้อมการแนะนำการเรียน

2.4.6 มีระบบทบทวนความรู้แก่นักศึกษาในหัวข้อที่นักศึกษาไม่เข้าใจอย่างต่อเนื่อง

2.5แผนการรับนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี

จำนวนนักศึกษา

จำนวนนักศึกษา (รูป/คน) แต่ละปีการศึกษา

2554

2555

2556

2557

2558

ชั้นปีที่ 1

100

100

100

100

100

ชั้นปีที่ 2

100

100

100

100

ชั้นปีที่ 3

100

100

100

ชั้นปีที่ 4

100

100

ชั้นปีที่ 5

100

รวม

100

200

300

400

500

คาดว่าจะสำเร็จการศึกษา

80

2.1 งบประมาณตามแผน

ประมาณการรายรับ

ปีงบประมาณ

2554

2555

2556

2557

2558

ค่าธรรมเนียมการศึกษา

900,000

1,800,000

2,700,000

3,600,000

4,500,000

งบประมาณแผ่นดิน

(ใช้สอย ตอบแทน วัสดุ ครุภัณฑ์)

1,000,000

1,500,000

2,000,000

2,500,000

3,000,000

งบประมาณแผ่นดิน (เงินเดือน)

660,000

600,000

600,000

600,000

600,000

รวมรายรับ

2,560,000

3,960,000

5,360,000

6,760,000

8,160,000

ประมาณการรายจ่าย

ปีงบประมาณ

2554

2555

2556

2557

2558

งบใช้สอย ตอบแทน

900,000

1,000,000

1,100,000

1,200,000

1,300,000

งบวัสดุ

200,000

250,000

300,000

350,000

400,000

งบครุภัณฑ์

500,000

500,000

500,000

500,000

500,000

งบดำเนินการ (พัฒนาการเรียนการสอน ทุนการศึกษา ฯลฯ)

200,000

200,000

200,000

200,000

200,000

งบดำเนินการ (เงินเดือน)

660,000

1,200,000

1,800,000

2,400,000

3,000,000

รวมรายจ่าย

2,460,000

3,150,000

3,900,000

4,650,000

5,400,000

ประมาณการค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษาต่อหลักสูตร = 45,000 บาท

หมวด ๑

มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ

ข้อ ๖ ผู้ประกอบวิชาชีพครู ต้องมีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการศึกษา หรือเทียบเท่า หรือมีคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง โดยมีมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ ดังต่อไปนี้

(1) มาตรฐานความรู้ ประกอบด้วยความรู้ ดังต่อไปนี้

๑) ความเป็นครู

๒)ปรัชญาการศึกษา

๓) ภาษาและวัฒนธรรม

๔) จิตวิทยาสำหรับครู

๕) หลักสูตร

๖) การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน

๗) การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้

๘) นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

๙) การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้

๑๐) การประกันคุณภาพการศึกษา

๑๑) คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ

(2)กลุ่มวิชาชีพครู 51หน่วยกิต

รายวิชาบังคับเรียน33หน่วยกิต

ED1002

วิทยาการการสอนและการจัดการเรียนรู้

3(3-0-6)

Instructional Science and Learning Management

ED1003

การวิจัยทางการศึกษาและการวิจัยในชั้นเรียน

3(2-2-6)

Educational and Classroom Research

ED1004

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับครู

3(3-0-6)

Information Technology and Communication for Teacher

ED1005

การวัดและการประเมินผลการศึกษา

3(2-2-6)

Measurement and Evaluation in Education

ED1007

จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว

3(3-0-6)

Educational Psychology and Guidance

รายวิชาเลือกเรียน6หน่วยกิตจากรายวิชาต่อไปนี้

ED1014ปรัชญาและแนวคิดทางการศึกษา

3(3-0-6)

Educational Philosophy and Concepts

ED1018ครูไทยในอุดมคติ

3(3-0-6)

The Ideal Thai Teacher

ED1019ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับวิชาชีพครู

3(3-0-6)

Languages and Technology for Teaching Profession

ED1021 คุณธรรมและจริยธรรมสำหรับครู

3(3-0-6)

Morality and Ethics for Teacher

ED1023หลักสูตรและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

3(3-0-6)

Curriculum and Fundamental Education

ED1028การประกันและการปรับปรุงคุณภาพการศึกษา

3(3-0-6)

Quality Assurance and Educational Improvement

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

รายวิชากลุ่มวิชาชีพครู 51 หน่วยกิต

ED1002วิทยาการการสอนและการจัดการเรียนรู้3(3-0-6) Instructional Science and Learning Management

ทฤษฏีการเรียนรู้และการสอน เทคนิคและวิทยาการจัดการเรียนรู้ รูปแบบการเรียนรู้ การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน การออกแบบและการจัดประสบการณ์เรียนรู้ การบูรณาการ

สาระการเรียนรู้ การจัดการการเรียนรู้แบบเรียนรวมการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ และการจัดการการ

เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โครงงานวิชาการ การจัดการโครงการและกิจกรรมการศึกษาสำหรับนักเรียน

ทฤษฏีการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน การสอน เทคนิคและวิทยาการจัดการเรียนรู้ รูปแบบการเรียนรู้ การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน การออกแบบและการจัดประสบการณ์เรียนรู้ การบูรณาการสาระการเรียนรู้ การจัดการการเรียนรู้แบบเรียนรวมการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ และการจัดการการ

เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โครงงานวิชาการ การจัดการโครงการและกิจกรรมการศึกษาสำหรับนักเรียน

สอดคล้องกับมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ

(ข้อ ๖)การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน

รายวิชากลุ่มวิชาชีพครู 51 หน่วยกิต

ED1003การวิจัยทางการศึกษาและการวิจัยในชั้นเรียน3(2-2-6) Educational and Classroom Research

แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีการวิจัย กระบวนการวิจัย คุณลักษณะของการวิจัยทางการศึกษาและการวิจัยในชั้นเรียน บทบาทงานวิจัยกับการพัฒนาและการแก้ปัญหาการเรียนการสอน การออกแบบและการวางแผนการวิจัยทางการศึกษา การสร้างเครื่องมือและการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการรายงานผลการวิจัยการศึกษาค้นคว้า

แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีการวิจัย กระบวนการวิจัย คุณลักษณะของการวิจัยทางการศึกษาและการวิจัยในชั้นเรียน บทบาทงานวิจัยกับการพัฒนาและการแก้ปัญหาการเรียนการสอน การออกแบบและการวางแผนการวิจัยทางการศึกษา การสร้างเครื่องมือและการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการรายงานผลการวิจัยการศึกษาค้นคว้างานวิจัยเพื่อพัฒนาการ

สอดคล้องกับมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ

ข้อ ๗ การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้

(ครอบคลุม)

รายวิชากลุ่มวิชาชีพครู 51 หน่วยกิต

ED1004เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับครู 3(3-0-6)

Information Technology and Communication for Teacher

แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้และการวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ การออกแบบ การพัฒนาและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในรูปแบบของเครื่องมือและสื่อสำหรับการเรียนรู้ การเลือกใช้รูปแบบการสื่อสารที่เหมาะสมกับการเรียนการสอน ศึกษาและวิเคราะห์การออกแบบ การสร้างและการพัฒนาบทเรียนแบบต่างๆ (Courseware) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนรู้ (CAL : Computer Assisted Learning) บทเรียนแบบสื่อประสม การเรียนรู้ผ่านทางไกล (DistanceLearning) บนระบบเทคโนโลยีต่างๆ และการเรียนรู้บนโครงข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ (WebbasedLearning)

แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้และการวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ การออกแบบ การพัฒนาและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในรูปแบบของเครื่องมือและสื่อสำหรับการเรียนรู้ การเลือกใช้รูปแบบการสื่อสารที่เหมาะสมกับการเรียนการสอน ศึกษาและวิเคราะห์การออกแบบ การสร้างและการพัฒนาบทเรียนแบบต่างๆ (Courseware) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนรู้ (CAL : Computer Assisted Learning) บทเรียนแบบสื่อประสม การเรียนรู้ผ่านทางไกล (DistanceLearning) บนระบบเทคโนโลยีต่างๆ และการเรียนรู้บนโครงข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ (WebbasedLearning)

สอดคล้องกับมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ

ข้อ ๘ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา

(ครอบคลุม)

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

รายวิชากลุ่มวิชาชีพครู 51 หน่วยกิต

ED1005การวัดและการประเมินผลการศึกษา3(2-2-6) Measurement and Evaluation in Education

หลักการและแนวคิดของการวัดและการประเมินผล เทคนิคการวัดและการประเมินผลทางการศึกษา การสร้าง การวิเคราะห์คุณภาพ และการใช้เครื่องมือวัดและประเมินผลการศึกษา เทคนิคการประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง รวมถึงการประเมินด้วยแฟ้มสะสมงานและการประเมินภาคปฏิบัติ การประเมินแบบย่อยและแบบรวม ระเบียบและเกณฑ์ว่าด้วยการประเมินผลการเรียน คุณธรรมและจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการวัดและการประเมินผลการศึกษา

หลักการและแนวคิดของการวัดและการประเมินผล เทคนิคการวัดและการประเมินผลทางการศึกษา การสร้าง การวิเคราะห์คุณภาพ และการใช้เครื่องมือวัดและประเมินผลการศึกษา เทคนิคการประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง รวมถึงการประเมินด้วยแฟ้มสะสมงานและการประเมินภาคปฏิบัติ การประเมินแบบย่อยและแบบรวม ระเบียบและเกณฑ์ว่าด้วยการประเมินผลการเรียน คุณธรรมและจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการวัดและการประเมินผลการศึกษา

สอดคล้องกับมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ

ข้อ ๙ การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้

(ครอบคลุม)

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

รายวิชากลุ่มวิชาชีพครู 51 หน่วยกิต

ED1007จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว3(3-0-6) Educational Psychology and Guidance

แนวคิดและทฤษฎีทางจิตวิทยากลุ่มต่าง ๆ จิตวิทยาพื้นฐานการพัฒนามนุษย์ จิตวิทยาการศึกษา จิตวิทยาการแนะแนวและให้คำปรึกษา แนวคิดและกระบวนการเรียนรู้ตาม พัฒนาการในแต่ละวัย การส่งเสริมการเรียนรู้ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล โดยอาศัยทฤษฎีและแนวคิดทางจิตวิทยา การนำทฤษฎีทางจิตวิทยาไปใช้ในการเรียนการสอน ศึกษาผลงานการวิจัยทางด้านจิตวิทยาการศึกษาและการพัฒนาการเรียนการสอน

แนวคิดและทฤษฎีทางจิตวิทยากลุ่มต่าง ๆ จิตวิทยาพื้นฐานการพัฒนามนุษย์ จิตวิทยาการศึกษา จิตวิทยาการแนะแนวและให้คำปรึกษา แนวคิดและกระบวนการเรียนรู้ตาม พัฒนาการในแต่ละวัย การส่งเสริมการเรียนรู้ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล โดยอาศัยทฤษฎีและแนวคิดทางจิตวิทยา การนำทฤษฎีทางจิตวิทยาไปใช้ในการเรียนการสอน ศึกษาผลงานการวิจัยทางด้านจิตวิทยาการศึกษาและการพัฒนาการเรียนการสอน

สอดคล้องกับมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ

ข้อ ๔ จิตวิทยาสำหรับครู

(ครอบคลุม)

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

รายวิชาเลือกเรียน 6 หน่วยกิต

ED1014ปรัชญาและแนวคิดทางการศึกษา3(3-0-6) Educational Philosophy and Concepts

ความหมายและความสำคัญของปรัชญาและแนวคิดทางการศึกษา ปรัชญาการศึกษาและแนวคิดทางการศึกษาที่สำคัญและมีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา ปัญหาการศึกษาไทย การปฏิรูปการศึกษา แนวโน้มการศึกษาในอนาคต พระพุทธศาสนากับการศึกษา

ความหมายและความสำคัญของปรัชญาและแนวคิดทางการศึกษา ปรัชญาการศึกษาและแนวคิดทางการศึกษาที่สำคัญและมีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา ปัญหาการศึกษาไทย การปฏิรูปการศึกษา ในอนาคต พระพุทธศาสนากับการศึกษาแนวโน้มการศึกษาเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและระดับสากล

เพื่อความเป็นอาเซียนและระดับสากลมากยิ่งขึ้น

สอดคล้องกับมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ

ข้อ ๒ ปรัชญาการศึกษา

(ครอบคลุม)

ED1018ครูไทยในอุดมคติ

3(3-0-6) The ideal Thai Teacher

ความหมายของความเป็นครู ครูในฐานะปูชนียบุคคลและกัลยาณมิตร คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณครู วิชาชีพครู บทบาทหน้าที่ของครู คุณสมบัติของครูที่พึงประสงค์ การปลูกฝังความศรัทธาในวิชาชีพครู การพัฒนาจิตวิญญาณครู ความสำเร็จและความสุขในวิชาชีพตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง

ความหมายของความเป็นครู ครูในฐานะปูชนียบุคคลและกัลยาณมิตร คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณครู วิชาชีพครู บทบาทหน้าที่ของครู คุณสมบัติของครูที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานวิชาชีพครู การปลูกฝังความศรัทธาในวิชาชีพครู การพัฒนาจิตวิญญาณครูความสำเร็จและความสุขในวิชาชีพตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง

สอดคล้องกับมาตรฐานความรู้

และประสบการณ์วิชาชีพ

ข้อ ๑ ความเป็นครู

(ครอบคลุม)

รายวิชาเลือกเรียน 6 หน่วยกิต

ED1019 ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับวิชาชีพครู 3(3-0-6) Languages and Technology for Teaching Profession

รูปแบบ เทคนิค และวิธีการการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง การพัฒนาทักษะการใช้ภาษาไทย

ในการศึกษางานวิชาการสำหรับวิชาชีพครู การพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ในด้านโครงสร้าง สำนวนและคำศัพท์เฉพาะเพื่อใช้ประโยชน์ทางวิชาการทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน

รูปแบบ เทคนิควิธีการ การใช้ภาษาไทยที่ถูกต้องการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาและวัฒนธรรม

ในการศึกษางานวิชาการสำหรับวิชาชีพครู การพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ในด้านโครงสร้าง สำนวนและคำศัพท์เฉพาะเพื่อใช้ประโยชน์ทางวิชาการทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน

สอดคล้องกับมาตรฐานความรู้

และประสบการณ์วิชาชีพ

ข้อ ๓ ภาษาและวัฒนธรรม

(ครอบคลุม)

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

รายวิชาเลือกเรียน 6 หน่วยกิต

ED1021คุณธรรมและจริยธรรมสำหรับครู3(3-0-6) Morality and Ethics for Teacher

คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม บุคลิกภาพ และการพัฒนาตนของครู ปัญหาที่มีผลกระทบต่อคุณธรรมและจริยธรรมในการประกอบวิชาชีพครู กรณีศึกษาความคิดและวิถีชีวิตของบุคคลตัวอย่างที่มีประวัติโดดเด่นในเชิงคุณธรรมและจริยธรรม การพัฒนาและการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมของครู และการนำหลักธรรมในทางพระพุทธศาสนามาเป็นหลักปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพ การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และการเป็นผู้นำทางวิชาการ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา

คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ ค่านิยม บุคลิกภาพ และการพัฒนาตนของครู ปัญหาที่มีผลกระทบต่อคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ ในการประกอบวิชาชีพครู กรณีศึกษาความคิดและวิถีชีวิตของบุคคลตัวอย่างที่มีประวัติโดดเด่นในเชิงคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณการพัฒนาและการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของครู และการนำหลักธรรมในทางพระพุทธศาสนามาเป็นหลักปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพ การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้และการเป็นผู้นำทางวิชาการ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา

สอดคล้องกับมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ

ข้อ ๑๑ คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ

(ครอบคลุม)

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

รายวิชาเลือกเรียน 6 หน่วยกิต

ED1023 หลักสูตรและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน3(3-0-6) Curriculum and Fundamental Education

ความหมายและความสำคัญของหลักสูตร ทฤษฎีหลักสูตร หลักการและแนวคิดพื้นฐานในการจัดทำหลักสูตร องค์ประกอบและโครงสร้างของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน การใช้หลักสูตรให้เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น การเลือกใช้แหล่งวิทยาการเสริมหลักสูตร การบริหารหลักสูตร การสร้างและการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรท้องถิ่น การประเมินผลหลักสูตร วิธีการสอนที่สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้โดยให้ความสำคัญแก่ผู้เรียน การวางแผนการเรียนและการสอน การฝึกปฏิบัติการเขียนแผนการสอน การฝึกเทคนิคและทักษะต่างๆ ในการสอน การฝึกปฏิบัติการสอนตามรูปแบบที่กำหนดในแผนการสอน

ความหมายและความสำคัญของหลักสูตร ทฤษฎีหลักสูตร หลักการและแนวคิดพื้นฐานในการจัดทำหลักสูตร องค์ประกอบและโครงสร้างของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน การใช้หลักสูตรให้เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น การเลือกใช้แหล่งวิทยาการเสริมหลักสูตร การบริหารหลักสูตร การสร้างและการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรท้องถิ่น การประเมินผลหลักสูตร วิธีการสอนที่สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้โดยให้ความสำคัญแก่ผู้เรียน การวางแผนการเรียนและการสอน การฝึกปฏิบัติการเขียนแผนการสอน การฝึกเทคนิคและทักษะต่างๆ ในการสอน การปฏิบัติการสอนตามรูปแบบที่กำหนดในแผนการสอน

สอดคล้องกับมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ

ข้อ ๕ หลักสูตร

(ครอบคลุม)

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

รายวิชาเลือกเรียน 6 หน่วยกิต

ED1028 การประกันและการปรับปรุงคุณภาพการศึกษา3(3-0-6)

Quality Assurance and Educational Improvement

ความหมายและขอบข่ายและของคุณภาพการศึกษา แนวคิด หลักการ ระบบ และวิธีการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา การศึกษาสภาพและกิจกรรมทางการศึกษาของสังคมและท้องถิ่น การจัดทำโครงการและกรณีศึกษาในสถานการณ์จริงและสถานการณ์จำลอง เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสังคมและชุมชน

ความหมายและขอบข่ายและของคุณภาพการศึกษา แนวคิด หลักการ ระบบ และวิธีการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา การศึกษาสภาพและกิจกรรมทางการศึกษาของสังคมและท้องถิ่น การจัดทำโครงการและกรณีศึกษาในสถานการณ์จริงและสถานการณ์จำลอง เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสังคมและชุมชน

สอดคล้องกับมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ

ข้อ ๑๐ การประกันคุณภาพการศึกษา

(ครอบคลุม)

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

รายวิชาเอกการศึกษาปฐมวัย 81 หน่วยกิต

ED2002 พัฒนาการเด็กปฐมวัยแบบองค์รวม 3(3-0-6) Early Childhood Development in Holistic

ศึกษาและวิเคราะห์ทฤษฎีพัฒนาการของเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยเด็กตอนต้น พัฒนาการชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนารูปแบบการเลี้ยงดู และการฝึกอบรม เพื่อส่งเสริมพัฒนาการตามวัย เรียนรู้และสังเกตเด็กปฐมวัยในบ้าน และสถานศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย

ศึกษาและวิเคราะห์ทฤษฎีพัฒนาการของเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยเด็กตอนต้น(ก่อนระดับประถมศึกษา) พัฒนาการชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนารูปแบบการเลี้ยงดู และการฝึกอบรม เพื่อส่งเสริมพัฒนาการตามวัย เรียนรู้และสังเกตเด็กปฐมวัยในบ้าน และสถานศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย

เพื่อให้คำอธิบายรายวิชามีความชัดเจนมากขึ้น

รายวิชาเอกการศึกษาปฐมวัย 81 หน่วยกิต

ED2003สมองกับการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย

3(3-0-6)

Brain and Learning for Young Children

เรียนรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของสมอง การทำงานของสมองกับการพัฒนาสติปัญญา การเสริมสร้างศักยภาพ ความถนัด การพัฒนาการเรียนรู้ตามหลักพระพุทธศาสนา

เรียนรู้เกี่ยวกับโครงสร้างสมองเด็กปฐมวัยการทำงานของสมองกับการพัฒนาสติปัญญา การเสริมสร้างศักยภาพ ความถนัด การพัฒนาการเรียนรู้ตามหลักพระพุทธศาสนา และการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ

เพื่อให้คำอธิบายรายวิชามีความชัดเจนมากขึ้น

รายวิชาเอกการศึกษาปฐมวัย 81 หน่วยกิต

ED2004การจัดกิจกรรมแบบบูรณาการเพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย 3(3-0-6)

Integrated Learning Activities for Early Childhood Children

ศึกษาและวิเคราะห์ทฤษฎี หลักการ และวิธีการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ สำหรับเด็กปฐมวัย การเขียนแผนการสอน และการฝึกปฏิบัติการการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ

ศึกษาและวิเคราะห์ทฤษฎี หลักการ และวิธีการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ สำหรับเด็กปฐมวัย การเขียนแผนการจัดประสบการณ์แบบบูรณาการ และการฝึกปฏิบัติการการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ

เพื่อให้คำอธิบายรายวิชามีความชัดเจนมากขึ้น

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

รายวิชาเอกการศึกษาปฐมวัย 81 หน่วยกิต

ED2005การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย3(3-0-6) Assessment of Young Children Development

ความสำคัญ ความมุ่งหมายของการประเมินพัฒนาการสำหรับเด็กปฐมวัย ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการประเมินผลและจุดมุ่งหมายของการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย เทคนิค วิธีการและการสร้างเครื่องมือ การประเมินพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน การเสนอผลการประเมิน การร่วมมือกับผู้ปกครองในการประเมินผล

ความสำคัญ ความมุ่งหมายของการประเมินพัฒนาการสำหรับเด็กปฐมวัย ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการประเมินผลและจุดมุ่งหมายของการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย เทคนิค วิธีการและการสร้างเครื่องมือ การประเมินพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน การเสนอผลการประเมิน การร่วมมือกับผู้ปกครองและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการประเมินผลสำหรับเด็กปฐมวัย

เพื่อให้คำอธิบายรายวิชามีความชัดเจนมากขึ้น

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

รายวิชาเอกการศึกษาปฐมวัย 81 หน่วยกิต

ED2007 การพัฒนาและการใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย

3(3-0-6)

Early Childhood Curriculum Development and Implementation

แนวคิดและความมุ่งหมายของหลักสูตรปฐมวัย กระบวนการพัฒนาหลักสูตร การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ การวิเคราะห์หลักสูตรปฐมวัย การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การนำไปใช้ การติดตามและการประเมินผลหลักสูตร ศึกษาเปรียบเทียบหลักสูตรปฐมวัยและต่างประเทศ

รายวิชาเอกการศึกษาปฐมวัย 81 หน่วยกิต

ไม่ได้แก้ไข

ED2008 พระพุทธศาสนาสำหรับเด็กปฐมวัย3(3-0-6) Buddhism for Young Children

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา หลักปฏิบัติตนพื้นฐานเกี่ยวกับพระรัตนตรัยสำหรับเด็กปฐมวัย หลักการสร้างและการปลูกฝังศรัทธาที่ดีงามต่อพระพุทธศาสนา กิจกรรมศาสนพิธี การบริหารจิตและการเจริญปัญญาสำหรับเด็กปฐมวัย

ไม่ได้แก้ไข

ED2011 ศิลปะสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย3(3-0-6) Creative Arts and Music for Childhood

พัฒนาการ ทฤษฎีทางศิลปะสำหรับเด็กปฐมวัย การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์สำหรับเด็กการฝึกปฏิบัติ และการพัฒนางานศิลปะเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก

พัฒนาการ ทฤษฎีทางศิลปะสำหรับเด็กปฐมวัย การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัยการฝึกปฏิบัติ และการออกแบบ การพัฒนางานศิลปะเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย

เพื่อให้คำอธิบายรายวิชามีความชัดเจนมากขึ้น

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

รายวิชาเอกการศึกษาปฐมวัย 81 หน่วยกิต

ED2012การวิจัยกับการพัฒนาการศึกษาปฐมวัย3(3-0-6) Research and Early Childhood Education Development

การศึกษาและการรายงานผลการวิจัยทางการศึกษาปฐมวัยที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการเด็กการอบรมเลี้ยงดูเด็ก สื่อการเรียนและของเล่นเด็ก สุขภาพอนามัย โครงการพัฒนากิจกรรมการเรียน หลักสูตร การประเมินพัฒนาเด็กทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษาเด็กปฐมวัยสรุปข้อคิดเห็นจากงานวิจัยเพื่อนำไปใช้แนะแนวทางให้เกิดประโยชน์ในการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย

การศึกษาและการรายงานผลการวิจัยทางการศึกษาปฐมวัยที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการเด็กการอบรมเลี้ยงดูเด็ก สื่อการเรียนและนวัตกรรม สุขภาพอนามัย โครงการพัฒนากิจกรรมการเรียน หลักสูตร การประเมินพัฒนาเด็กทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษาเด็กปฐมวัยสรุปข้อคิดเห็นจากงานวิจัยเพื่อนำไปใช้แนะแนวทางให้เกิดประโยชน์ในการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย

เพื่อให้คำอธิบายรายวิชามีความชัดเจนมากขึ้น

รายวิชาเอกการศึกษาปฐมวัย 81 หน่วยกิต

ED2013 ภาษาไทยสำหรับเด็กปฐมวัย3(3-0-6) Thai Language for Young Children

ความหมายและความมุ่งหมายของการสอนภาษาไทยสำหรับเด็กปฐมวัยธรรมชาติและพฤติกรรมทางภาษา พัฒนาการทางภาษาของเด็ก 0-6 ปี จิตวิทยาการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พัฒนาการทางภาษาของเด็ก 3-6 ปี การจัดกิจกรรมเพื่อเสริมทักษะเกี่ยวกับการคิด การฟัง การพูด การเตรียมความพร้อมด้านการอ่านและการเขียนสำหรับเด็กปฐมวัย การจัดโปรแกรมการสอนภาษาเด็กปฐมวัย การทดสอบและประเมินผล ความพร้อมทางการเรียนภาษาเด็กปฐมวัย การผลิตสื่อและของเล่น เพื่อส่งเสริมทักษะด้านภาษา

ไม่ได้แก้ไข

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

รายวิชาเอกการศึกษาปฐมวัย 81 หน่วยกิต

ED2014 คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย3(3-0-6) Mathematics for Young Children

แนวทางการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย การจัดบรรยากาศการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ การผลิตสื่อและการใช้สื่อเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านคณิตศาสตร์ ฝึกปฏิบัติและการประเมินผลทักษะทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

นักศึกษาสาขาการศึกษาปฐมวัยต้องได้เรียนเพื่อให้สอดคล้องกับโครงการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขึ้นพื้นฐาน

ED2015 วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย3(3-0-6) Sciences for Young Children

ความสำคัญทางธรรมชาติทางวิทยาศาสตร์ ทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการทางสติปัญญา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การผลิตสื่อและการใช้สื่อเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ การจัดบรรยากาศการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ ฝึกปฏิบัติและการประเมินผลทักษะทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

นักศึกษาสาขาการศึกษาปฐมวัยต้องได้เรียนเพื่อให้สอดคล้องกับโครงการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขึ้นพื้นฐาน

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

รายวิชาเอกการศึกษาปฐมวัย 81 หน่วยกิต

ED2016 สังคมศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

3(3-0-6) Social Science for Young Children

แนวคิดและทฤษฎี เกี่ยวกับการพัฒนาเด็กวัย 0-6 ปี ความหมายและความสำคัญของทักษะสำหรับเด็กปฐมวัย ขอบข่าย เนื้อหา หลักการพัฒนาทักษะทางสังคม บทบาทหน้าที่ของครูในการจัดกิจกรรมและประสบการณ์ด้านสังคม การเสริมสร้างบุคลิกภาพและคุณธรรมที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในปัจจุบันที่มีผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัย

ไม่ได้แก้ไข

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

รายวิชาเอกการศึกษาปฐมวัย 81 หน่วยกิต

ED2017ดนตรีกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะสำหรับเด็กปฐมวัย

3(2-2-6)

Music, Activity, Movement and Stroke for Young Children

วิธีการเคลื่อนไหวที่ถูกต้องตามหลักสรีระวิทยา การใช้จังหวะ ดนตรี และเพลงในการจัดกิจกรรมสำหรับเด็ก การพัฒนาการเคลื่อนไหวโดยใช้จังหวะดนตรี การเต้นรำเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ มิติสัมพันธ์ด้านเวลาและพื้นที่

วิธีการเคลื่อนไหวที่ถูกต้องตามหลักสรีระวิทยา การใช้จังหวะ ดนตรี และเพลงในการจัดกิจกรรมสำหรับเด็ก การพัฒนาการเคลื่อนไหวโดยใช้จังหวะดนตรี อย่างสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ สมรรถภาพทางด้านร่างกายและกลไก

เพื่อให้คำอธิบายรายวิชามีความชัดเจนมากขึ้น

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

รายวิชาเอกการศึกษาปฐมวัย 81 หน่วยกิต

ED2018การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย3(3-0-6)

Creative Thinking Development for Young Children

ความหมายและความสำคัญของความคิดสร้างสรรค์พัฒนาการทางความคิดสร้างสรรค์ บทบาทของครูและผู้ปกครองในการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และการประเมินผล การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ตามแนวพุทธวิธี

ไม่ได้แก้ไข

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

รายวิชาเอกการศึกษาปฐมวัย 81 หน่วยกิต

ED2019 สุขศึกษาและพลศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย 3(3-0-6) Health and Physical Education

ศึกษาแนวคิด หลักการ และทฤษฎีเกี่ยวกับสุขศึกษาและพลศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย พัฒนาการและความพร้อมทางด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย การเคลื่อนไหวพื้นฐาน เกมและการเล่น การสร้างเกมสำหรับเด็กปฐมวัย การจัดพื้นฐานที่สนามเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายสำหรับเด็กปฐมวัย การวัดและประเมินพัฒนาการทางร่างกาย

วิชานี้ควรจัดอยู่ในรายวิชาดนตรีกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะสำหรับเด็กปฐมวัย

รายวิชาเอกการศึกษาปฐมวัย 81 หน่วยกิต

ED2020 ภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย 3(3-0-6) English for Childhood

ศึกษาทักษะพื้นฐานทางภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย กระบวนการจัดกิจกรรมและสื่อเพื่อส่งเสริมทักษะทางภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย

ไม่ได้แก้ไข

ED2021คุณธรรมสำหรับครูปฐมวัย

3(3-0-6) Morality for Early Childhood Teachers

ความประพฤติ การปฏิบัติหน้าที่ของครู จรรยาบรรณวิชาชีพครูปฐมวัย องค์กรวิชาชีพ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา อันเป็นพื้นฐานคุณธรรมของครูปฐมวัย การพัฒนาบุคลิกภาพด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับครู

ความประพฤติ การปฏิบัติหน้าที่ของครู จรรยาบรรณวิชาชีพครูปฐมวัย องค์กรวิชาชีพ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา อันเป็นพื้นฐานคุณธรรมของครูปฐมวัย การพัฒนาบุคลิกภาพด้านคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณสำหรับครูปฐมวัย

เพื่อให้คำอธิบายรายวิชามีความชัดเจนมากขึ้น

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

รายวิชาเอกการศึกษาปฐมวัย 81 หน่วยกิต

ED2022 การศึกษาปฐมวัยสำหรับผู้ปกครอง3(3-0-6) Early Childhood Education and Parents

ความสำคัญของพ่อแม่และผู้ปกครองต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย ความจำเป็นในการให้การศึกษาแก่พ่อแม่และผู้ปกครองหลักการและแนวคิดในการจัดการศึกษาการให้ความร่วมมือกับผู้ปกครองการประสานงานและการให้ความรู้ด้านพัฒนาเด็กแก่พ่อแม่และผู้ปกครอง ผู้ปกครองกับการมีส่วนร่วมส่งเสริมการจัดการศึกษาและพัฒนาการของเด็กปฐมวัย

ไม่ได้แก้ไข

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

รายวิชาเอกการศึกษาปฐมวัย 81 หน่วยกิต

ED2024สุขอนามัยสำหรับเด็กปฐมวัย

3(3-0-6) Health and Hygiene for Yong Children

ความหมายและความสำคัญของสุขอนามัย โรคและการป้องกัน ศึกษาวิเคราะห์ หลักการ ทฤษฎีเกี่ยวกับสุขอนามัยของเด็กปฐมวัย การดูแลสุขภาพ อุบัติเหตุ การป้องกันและการปฐมพยาบาล การวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพของเด็กปฐมวัย บทบาทของครูในการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพที่ดีในเด็กปฐมวัย ฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับสุขอนามัยเด็กปฐมวัยในสถานศึกษา และสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย

ไม่ได้แก้ไข

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

รายวิชาเลือก 6 หน่วยกิต

ED2026ดนตรีพื้นฐานสำหรับเด็กปฐมวัย3(2-2-6) Fundamental Music for Young Children

พัฒนาการทางดนตรีของเด็กปฐมวัย ทฤษฎีและแนวการจัดกิจกรรมดนตรีสำหรับเด็กปฐมวัย การฟัง การร้องเพลง การเคลื่อนไหวประกอบจังหวะ การเล่นเครื่องดนตรีโดยเน้นการปฏิบัติจริง

ไม่ได้แก้ไข

ED2027โครงการศึกษาเอกเทศทางด้านการศึกษาปฐมวัย

3(1-4-6)

Independent Study on Early Childhood Education

ศึกษา ปฏิบัติหรือทดลองเฉพาะกรณีในเรื่องที่สนใจเพื่อทำโครงการในขอบข่ายของการศึกษาปฐมวัย ภายใต้การนิเทศของอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ

ไม่ได้แก้ไข

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

รายวิชาเลือก 6 หน่วยกิต

ED2028นิทานและหุ่นสำหรับเด็กปฐมวัย3(3-0-6) Tales and puppets for Young Children

ความหมาย และความสำคัญของนิทานสำหรับเด็กปฐมวัย นิทานธรรมบทสำหรับเด็กปฐมวัย เทคนิคการเล่านิทาน การนำหุ่นมาใช้ประกอบการเล่านิทาน และความสำคัญของหุ่น ประวัติความเป็นมา และประเภทของหุ่น การสร้างหุ่นชนิดต่าง การสร้างหุ่นประเภทต่าง ๆ การเขียนบทเชิดหุ่น หลักการเชิดและการพากย์หุ่นพร้อมฝึกปฏิบัติการเชิดหุ่น การแสดงละครหุ่น

ไม่ได้แก้ไข

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

รายวิชาเลือก 6 หน่วยกิต

ED2029 วรรณกรรมสำหรับเด็กปฐมวัย 3(3-0-6) Literature for Young Children

ความหมาย คุณค่าและประเภทหนังสือเด็ก หนังสือพระพุทธศาสนาสำหรับเด็กปฐมวัย ลักษณะของหนังสือที่ดี ระดับความพร้อมและความต้องการในการใช้หนังสือของเด็กแต่ละวัย การเลือกหนังสือให้เหมาะสมกับวัย หลักการสร้างและเขียนหนังสือสำหรับเด็ก ปฏิบัติเกี่ยวกับการฝึกแต่ง สร้างและวิจารณ์หนังสือเด็ก การส่งเสริมการใช้และการรักษาหนังสือ

ไม่ได้แก้ไข

หลักสูตร 2554

ข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุง

เหตุผลการปรับปรุง

รายวิชาเลือก 6 หน่วยกิต

ED2030 พลศึกษาและเกมสำหรับเด็กปฐมวัย 3(3-0-6)

Physical Education and Games for Young children

ความหมาย และความมุ่งหมายของกิจกรรมพลศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย พัฒนาการและความพร้อมทางกายของเด็กปฐมวัยการเคลื่อนไหวพื้นฐานสำหรับเด็กปฐมวัย การจัดเครื่องเล่นสนามและสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมพัฒนาการทางร่างกาย ฝึกปฏิบัติการจัดกิจกรรมพลศึกษา การสร้างเกมและการเล่นสำหรับเด็กปฐมวั�