525
การประชุมทางวิชาการ เรื่อง การวิจัยทางการบริหารการศึกษา Symposium in Ed. Adm. โดย สํ านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา และ สภาผู บริหารหลักสูตรการบริหารการศึกษาแหงประเทศไทย วันที 22 - 23 สิงหาคม 2546 ศูนยการประชุมอิมแพค เมืองทองธานี นนทบุรี

Symposium in Ed. Adm.backoffice.onec.go.th/uploads/Book/803-file.pdf · 2018. 1. 25. · หลักสูตรการบริหารการศึกษาแห งประเทศไทย

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • การประชุมทางวิชาการ เรื่อง

    การวิจัยทางการบริหารการศึกษา

    Symposium in Ed. Adm.

    โดยสํ านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

    และสภาผูบริหารหลกัสูตรการบริหารการศึกษาแหงประเทศไทย

    วันท่ี 22 - 23 สิงหาคม 2546ณ ศูนยการประชุมอิมแพค เมืองทองธานี นนทบุรี

  • คํ านํ า

    การวิจยัมบีทบาทและความสํ าคญัย่ิงตอการพฒันาการศึกษาของประเทศ เพราะเปนกระบวนการแสวงหาความรูอยางเปนระบบ ทํ าใหไดองคความรูและขอมูลที่เปนประโยชนในการก ําหนดนโยบาย การวางแผน การบริหารและการจัดการศึกษา โดยเฉพาะอยางย่ิงงานวิจัยทางการบรหิารการศึกษา ซึ่งนอกจากจะนํ าไปใชในการกํ าหนดนโยบายและวางแผนพัฒนาการศึกษาแลวยังชวยเสริมสรางศาสตรทางการบริหารการศึกษาใหมีความเขมแข็งข้ึน

    ปจจุบันมีงานวิจัยทางการบริหารการศึกษา ทัง้ในลักษณะงานวิจยัของหนวยงาน งานวิจยัสวนบคุคล และวิทยานิพนธ เปนจํ านวนมาก แตการเผยแพรและการนํ าผลงานวิจัยไปใชประโยชนยังอยูในวงจํ ากดั สํ านักงานเลขาธิการสภาการศึกษาตระหนักถงึความสํ าคญัของการเสรมิสรางและเผยแพรองคความรูดานการบริหารการศึกษา จึงรวมกับสภาผูบริหารหลักสูตรการบริหารการศึกษาแหงประเทศไทย (สผบท.) และคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ จัดประชุมทางวชิาการเรื่อง การวิจัยทางการบริหารการศึกษา ขึ้นเปนครั้งแรก เมื่อวันที่ 23-24 กันยายน 2545 ณ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ บางนา

    จากความสํ าเร็จในครั้งแรก สํ านักงานเลขาธิการสภาการศึกษาจึงรวมกับสภาผูบริหารหลักสูตรการบรหิารการศึกษาแหงประเทศไทย (สผบท.) จดัประชมุทางวิชาการเรือ่ง การวิจยัทางการบริหารการศึกษา เปนปท่ี 2 ในระหวางวันท่ี 22-23 สิงหาคม 2546 ณ ศูนยการประชุมอมิแพค เมืองทองธาน ี จังหวัดนนทบุรี เพ่ือเผยแพรผลงานวิจัยทางการบริหารการศึกษาใหแพรหลายและมกีารนํ าไปใชประโยชนใหมากข้ึน รวมทั้งเปดโอกาสใหมีการน ําเสนอผลงานวิจัยและแลกเปล่ียนความรู ซ่ึงจะชวยพัฒนามาตรฐานวิชาการดานการบริหารการศึกษาใหสูงข้ึน

    เอกสารประกอบการประชุมฉบับนี้ เปนการรวบรวมผลงานวิจัยทางดานบริหารการศึกษาประมาณ 119 เรื่อง ในจ ํานวนน้ีมีงานวิจัยสวนหน่ึงท่ีไดนํ าเสนอในท่ีประชุม จ ํานวน29 เรือ่ง โดยสํ านักงานเลขาธิการสภาการศึกษาจะบนัทกึขอมลูผลงานวิจยัทัง้หมดน้ีไวใน Web Sitewww.thaiteacher.org/admin/index.html เพือ่ใหบริการผูใชขอมูลตอไป

    สํ านักงานเลขาธิการสภาการศึกษาหวังเปนอยางย่ิงวา เอกสารฉบับน้ีจะเปนประโยชนตอคณาจารย นิสิต นักศึกษา นักวิชาการ และผูสนใจทั่วไป และขอขอบคุณคณะกรรมการด ําเนินการจัดประชุมทางวิชาการฯ คณาจารย นิสิต นักศึกษา นักวิชาการผูทํ าการวิจัยและผูนํ าเสนอผลการวิจัย รวมทั้งผูที่มีสวนเกี่ยวของทุกทาน ทีไ่ดใหความรวมมือสนับสนุนการจัดประชุมในคร้ังน้ีจนประสบความสํ าเร็จดวยดี

    (นายรุง แกวแดง) เลขาธิการสภาการศึกษา

  • I

    สารบัญ

    หนาค ํานํ าการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน• การปฏิบติัตามแนวทางการบรหิารโดยใชโรงเรยีนเปนฐาน ตามทัศนะของ ผูบรหิารและครู โรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดสตูล : อุมัร สวาลัง 1• การพัฒนาแบบจํ าลองแบบสมบูรณในการบริหารโดยใชโรงเรียน เปนฐาน สํ าหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน : ดิเรก วรรณเศียร 10• การพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนที่บริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน : สมุทร ชํ านาญ 19• ปจจัยที่เกี่ยวของกับความผูกพันตอองคการของอาจารยระดับมัธยม ศึกษาในโรงเรียนแกนนํ าที่มีการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน เขตกรุงเทพมหานคร : ภคนีิ ดอกไมงาม 22

    การมีสวนรวม• การมีสวนรวมในการบริหารงานของอาจารยในโรงเรียนประถมศึกษา สังกดัสํ านักงานการประถมศึกษาจังหวัดขอนแกน : แสวง จันทรซุย 28• การมีสวนรวมบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานของคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดมุกดาหาร : ฉลุวิทย ดีวงศ 30• ศึกษาสภาพและปญหาการมีสวนรวมพัฒนาการศึกษาของชุมชนใน โรงเรียนประถมศึกษา สังกดัสํ านักงานการประถมศึกษาจังหวัดพิจิตร : ประทุมทิพย พวงวัฒนวงศ 33• การมีสวนรวมของคณะกรรมการโรงเรียนในการก ําหนดเนื้อหางาน พื้นฐานอาชีพที่สอดคลองกับความตองการของทองถิ่นของโรงเรียน ในสังกดัสํ านักงานการประถมศึกษาอํ าเภอปะทิว จังหวัดชุมพร : วนัเพ็ญ อ ํานาจ 35• การมีสวนรวมของผูปกครองนกัเรยีนในการสงเสรมิการเรยีนรูของนกัเรยีน ในเขตอ ําเภอเมืองสุพรรณบรุ ีจงัหวัดสุพรรณบรุ ี: สวุชั พานิชวงษ 39

  • II

    สารบัญ

    หนาการมีสวนรวม (ตอ)• การมีสวนรวมในการจัดการศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน ประจ ําโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดพิษณุโลก : ศุภมาศ การะเกตุ 44• การศึกษาการมีสวนรวมของบุคลากรทองถิ่นในการพัฒนาหลักสูตร ทองถิ่นในโรงเรียนประถมศึกษา สังกดัสํ านักงานคณะกรรมการการ ประถมศึกษาแหงชาติ เขตการศึกษา 8 : วิจิตรา ใสยะ 48• บทบาทการมีสวนรวมในการบริหารวิชาการของคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนประถมศึกษาในเขตพัฒนา คุณภาพการศึกษาที่ 5 สังกดัสํ านักงานการประถมศึกษาจังหวัด ขอนแกน : สวัสดิ ์แกวชนะ 51• ศกึษาการมีสวนรวมในการบริหารโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ของผูบริหารและครู สังกดัสํ านักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน จังหวัดสงขลา : มูหัมหมัด เบ็ญนุย 53

    การศึกษาทองถ่ิน• การศึกษารูปแบบการจัดการศึกษาทองถิ่นของจังหวัดสกลนคร ในอนาคต : ปญยุต นันทราช และคณะ 56• การวเิคราะหบทบาทขององคการบรหิารสวนตํ าบลในการจดัการศกึษา และการมีสวนรวมในการจดัการศกึษา : ประภาพรรณ ไชยวงษ 60• ความเหมาะสมในการถายโอนสถานศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการ ใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น : บทสะทอนจากกลุมผูมีสวนไดเสีย : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 70• ปจจัยที่สงผลตอการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น : หนวยศึกษานิเทศก ส ํานักงานการประถมศึกษาอํ าเภอเสิงสาง สํ านักงานการประถมศึกษาจังหวัดนครราชสีมา 73

  • III

    สารบัญ

    หนาการบริหารวิชาการ• รูปแบบการนิเทศภายในที่มีประสิทธิภาพในโรงเรียนประถมศึกษา สังกดัสํ านักงานการประถมศึกษา จังหวัดนนทบุร ี: พุฒิชัย กันตรง 76• องคประกอบพฤติกรรมการติดตอสื่อสาร และกระบวนการตัดสินใจ ของผูบริหารที่สงผลตอการปฏิบัติงานวิชาการในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร : พัชรีพันธ รัตโนดม 78• การบริหารแผนปฏิบัติการประจํ าปในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรม สามัญศึกษา ในจังหวัดอุบลราชธาน ี: วาที่รอยตรี สุรพล สืบพรหม 81• การศึกษาตัวบงชี้ประสิทธิภาพการบริหารงานวิชาการของผูบริหาร วทิยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี เขตภาคเหนอืตอนบน : สํ าราญ ร่ืนรวย 83• การศึกษาสภาพและปญหาของการบริหารงานวิชาการเกี่ยวกับการ จัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสํ าคัญ ตามทัศนะของผูบริหาร สถานศึกษาและครูผูสอน สังกดัสํ านักงานการประถมศึกษาจังหวัด นครราชสีมา : ประกอบ กุฎโพธิ์ 90• สภาพปญหาและความตองการเกี่ยวกับการใหบริการงานวิชาการของ นักศึกษาระดับปริญญาตร ีภาควิชามัธยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาเชียงใหม : นิตยา สอาดลวน 94• สมรรถภาพในงานของผูนิเทศที่สงผลตอการพัฒนางานวิชาการ ของโรงเรียนประถมศึกษาเอกชนในกรุงเทพมหานคร : สุนีรัตน มิตรเจริญถาวร 97

    การบริหารบุคคล• การนิเทศภายในอยางเปนระบบเพื่อพัฒนาความเปนครูมืออาชีพ ของโรงเรียนบานวังสาร อํ าเภอบางกระทุม จังหวัดพิษณุโลก : นวลจันทร จันทรเจริญ 100• แรงจงูใจท่ีสมพนัธกบัความทอแทในการปฏิบติังานของครโูรงเรยีน อาชีวศกึษาเอกชน ในเขตกรงุเทพมหานคร : นันทพร ชูทรัพย 102

  • IV

    สารบัญ

    หนาการบริหารบุคคล (ตอ)• การศึกษาบทบาทของผูบริหารโรงเรียนเกี่ยวกับ การเสรมิสรางและ พฒันาจรรยาบรรณครู ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา และโรงเรียน มัธยมศกึษา จังหวัดนครราชสีมา : เอื้อ ทรวงโพธิ์ 105• การศึกษาสภาพและปญหาการดํ าเนินงานการพัฒนาบุคลากรใน โรงเรียนแกนน ําปฏิรูปกระบวนการเรียนรูและโรงเรียนประถมศึกษา ท่ัวไป สังกดัสํ านักงานการประถมศึกษาจังหวัด นครราชสีมา : วาสนา ราชนิล 108• ความสัมพันธระหวางทักษะการบริหารกับการปฏิบัติงานตามกระบวน การบริหารงานบุคคลของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัด นราธิวาส : วันซาวีรา เบ็ญละเดะ 113• รปูแบบการกํ ากับ ดูแล การปฏิบัติตามจรรยาบรรณของวิชาชีพคร ู: สํ านักงานเลขาธิการครุสภา 119• แรงจูงใจในการทํ างานที่สงผลตอความผูกพันของครูโรงเรียน ประถมศึกษา สังกดัสํ านักงานการประถมศึกษาจังหวัดนนทบุร ี: ขตัติยา ดวงส ําราญ 125• ศึกษาความคิดเห็นของนักบริหารระดับสูงตอหลักสูตรฝกอบรมของ สถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือน : เบญจพร ลัทธิเดช 131• สภาพการบริหารงานของครูใหญโรงเรียนเอกชนอาชีวศึกษา ในเขต กรุงเทพมหานคร : พวงเพชร แตงต้ัง 134• สภาพปจจุบัน ปญหา และการพัฒนาการบริหารงานบุคคลใน โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต : ชารรีฟท สือนิ 137• อนาคตภาพการบริหารงานบุคลากรโรงเรียนเอกชนในจังหวัด เชียงราย : ดอน ไชยดวง 143

  • V

    สารบัญ

    หนาการบริหารทั่วไป• การน ําเสนอรปูแบบการบรหิารโรงเรยีนในก ํากบัของรฐัสํ าหรบัประเทศไทย : จินตนา ศักดิ์ภูอราม 149• การศึกษาความคิดเห็นของคร ูอาจารย เกี่ยวกับบทบาทการปฏิบัติจริง และบทบาทท่ีคาดหวงัของผูบรหิารโรงเรยีนประถมศกึษา เขตการศกึษา 5 ในการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียน : จิรพรรณ คชสวัสดิ์ 155• การศึกษาสภาพการด ําเนินการกระจายอํ านาจ การจัดซื้อจัดจาง ระดับโรงเรียน : หนวยตรวจสอบภายใน สํ านักงานคณะกรรมการ การประถมศึกษาแหงชาติ กระทรวงศึกษาธิการ 157• บทบาทของผูบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดลํ าปางในการสราง เสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน : เพชร กันทาดี 162• ปจจัยที่สงผลตอประสิทธิผลของโรงเรียนประถมศึกษา สังกดัสํ านักงาน คณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ : ภารดี อนันตนาวี 164• รปูแบบความสัมพนัธระหวางรฐักบัสถาบนัอดุมศกึษาของรฐัในก ํากบั ในการบรหิารการศกึษาระดับอดุมศกึษา : สทุธศร ี วงษสมาน 169• วฒันธรรมองคการและปจจยับางประการท่ีสงผลตอประสิทธิผลโรงเรยีน เหลาสายวทิยาการของกองทัพบก : พันเอก พร ภิเศก 172• กระบวนการวางแผนในโรงเรียนประถมศึกษา สังกดัสํ านักงานการ ประถมศึกษาจังหวัดอุดรธาน ี: ขจรเกียรติ มานิกลักษณ 181• การใชพฤติกรรมการบริหารของผูบริหารโรงเรียนที่สงผลตอขวัญ ในการปฏิบัติงานของพนักงานครูเทศบาลโรงเรียนสังกัดเทศบาล และเมืองพัทยา เขตการศึกษา 1 : สมถวิล ชูทรัพย 183• การใชพลังอ ํานาจของผูบริหารโรงเรียนท่ีสงผลตอประสิทธิภาพ การบริหารงานของโรงเรียนมัธยมศึกษา ในเขตการศึกษา 1 : สมบูรณ นนทสกุล 186• การเตรยีมพรอมของมหาวิทยาลัยของรัฐเพ่ือเปนมหาวิทยาลัยใน กํ ากับของรัฐ : เทียนฉาย กีระนันทน 188

  • VI

    สารบัญ

    หนาการบริหารทั่วไป (ทั่วไป)• การบริหารงานธุรการในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดนาน : อุมาพรรณ วัฒนรัตน 197• การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เอื้อตอการมีสวนรวมของชุมชน อยางยั่งยืน เขตการศึกษา 12 : ทูลธรรม วรรณค ํา 203• การประเมินโครงการโรงเรียนสีขาวของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกดั กรมสามัญศึกษา จังหวัดนครปฐม : สมจิต แกวแสงขวัญ 205• การมีสวนรวมของคณะกรรมการศูนยการเรียนชุมชนในการด ําเนิน งานศูนยการเรียนชุมชน : ศึกษาเฉพาะกรณีจังหวัดมุกดาหาร : บุญสง บุญทศ 209• การศกึษาความพงึพอใจของครโูรงเรยีนมัธยมศกึษา ท่ีมีตอการปฏิบติั งานของผูบรหิารโรงเรยีน สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 11 : สมใจ กอปรสิริพัฒน 212• การศึกษาสภาพปญหาการปฏิบัติงานตามกระบวนการวางแผน พัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัด สุราษฎรธานี : สมชาย กิจคาม 214• การศึกษาสภาพและความตองการพัฒนาความเปนผูบริหารมืออาชีพ ของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกดัสํ านักงานการประถมศึกษา จังหวัดชัยภูมิ : ถวัลย หงษไทย 218• การสังเคราะหวิทยานิพนธดานการบริหารการศึกษาของมหาวิทยาลัย ศิลปากร : พิสมร วิญูกุล 222• ความพึงพอใจของคณาจารยและบุคลากรในการจัดและบริหารสถาบัน ราชภัฏธนบุร ี: ทิพวรรณ จันทรสถิตย 228• ประสิทธิผลการใชคอมพิวเตอรในการบริหารโรงเรียนประถมศึกษา : ศึกษาเฉพาะกรณี กลุมกรุงธนใต สังกัดกรุงเทพมหานคร : รุงนภา เลิศพัชรพงศ 233

  • VII

    สารบัญ

    หนาการบริหารทั่วไป (ตอ)• ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของคณะกรรมการโรงเรียนประถมศึกษา สังกดัสํ านักงานการประถมศึกษาจังหวัดตรัง : พิเชษฐ เจยทองศรี 237• ปจจัยทางวัฒนธรรมในโรงเรียนที่สงผลตอการปฏิบัติงานดาน โรงเรียนกับชุมชนของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 6 : ณรงศักด์ิ ถนอมศรี 240• ปจจัยที่สัมพันธกับการเลือกสาขาวิชาของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ในสถาบันราชภัฏราชนครินทร : พรทิพย ค ําชาย 242• ปญหา สาเหตุ และแนวทางแกปญหาการปฏิบัติงานดานความสัมพันธ กับชุมชนของโรงเรียนมัธยมศึกษา ท่ีต้ังอยูในกลุมชาติพันธุไทยลาว, ไทยลาว-ไทยเขมร, ไทยลาว-ไทยสวย, ไทยลาว-ไทยเยอ สังกดั กรมสามัญศึกษา จังหวัดศรีสะเกษ : ณัฐพงศ แกวตาป 246• ปญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารงานพัสดุในโรงเรียนมัธยม ศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดหนองคาย : นุชา อินทรสูต 251• ผูบริหารกับการเสริมสรางพลังอ ํานาจตามการรับรูของครูในโรงเรียน ประถมศึกษา สังกดัสํ านักงานการประถมศึกษาจังหวัดราชบุร ี: จันทรลอย เครือเชา 254• สุขภาพองคการของโรงเรียนอนุบาลเอกชน ในจังหวัดนนทบุร ี: ศิริพงษ ทิณรัตน 258

    การบริหารอาชีวศึกษา• การพัฒนาชุดการเรียนรูสํ าหรับครูชางอุตสาหกรรม เพื่อเพิ่ม สมรรถนะดานการวางแผนการสอน วิชาทฤษฎีชางอุตสาหกรรม : พรเลิศ แสงกวีเลิศ 262• การศึกษาความคิดเห็นของผูส ําเร็จการศึกษา และความตองการของ ผูบังคับบัญชาตอหลักสูตรครุศาสตรอุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชา วิศวกรรมโทรคมนาคม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร ลาดกระบัง : ประสงค แกววิจิตร 266

  • VIII

    สารบัญ

    หนาการบริหารอาชีวศึกษา (ตอ)• ความคิดเห็นของผูบริหาร คร-ูอาจารยที่มีตอโครงสรางหลักสูตร และเนื้อหาวิชาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาวิชา ชางอิเล็กทรอนิกส : ศวัสกร ไชยสุนทร 274• ความสัมพันธระหวางองคประกอบการผลิตและคุณลักษณะ ที่พึงประสงคของนักศึกษาอาชีวศึกษาในทัศนะของผูประกอบการ ในจังหวัดเชียงราย : พรอมพร ณ เชียงใหม 277

    การประเมินคุณภาพ/ประกันคณุภาพการศึกษา• การติดตามผลผูสํ าเร็จการศึกษาหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาการ บริหารการศึกษา : สุพีพรรณ พัฒนพาณิชย และ ทัศนา แสวงศักด์ิ 286• การพฒันาระบบการตรวจติดตามคุณภาพภายใน ของสถาบันราชภัฏ : เฉลิมชัย พาญกลา 291• การพัฒนาหลักสูตรฝกอบรมเพื่อประสิทธิภาพในการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา สังกัดกรมอาชีวศึกษา : สิริรักษ รัชชุศานติ 295• การศกึษาความตองการจ ําเปนในการดํ าเนนิการดานประกนัคุณภาพ ภายในสถานศกึษา ของโรงเรยีนมัธยมศกึษา สังกดักรมสามัญศกึษา หลังการไดรบัการประเมินภายนอกจากสํ านกังานรบัรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศกึษา (สมศ.) : ดวงใจ กฤดากร 304• ความสัมพันธระหวางทักษะการบริหารงานกับกระบวนการปฏิบัติงาน ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของผูบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา ในจังหวัดยะลา : วิรัช ชูสิน 312• ปจจัยระดับบุคคลและระดับโรงเรียนที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจ เกี่ยวกับนวัตกรรมดานการประกันคุณภาพการศึกษาของคร ูสังกดั สํ านักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแหงชาต ิเขตการศึกษา 1 : ดุษฎี โยเหลา 317

  • IX

    สารบัญ

    หนาการประเมินคุณภาพ/ประกันคณุภาพการศึกษา (ตอ)• การดํ าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาตามความคิดเห็นของบุคลากร ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี : วชริาภรณ สรุธนะสกุล 323• การนํ าเสนอนโยบายการประกันคุณภาพของสถานศึกษา ในการจัด สภาพแวดลอมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมของเด็กและเยาวชน : วิศนี ศิลตระกูล 325• การประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับมัธยมศึกษา เขตการศึกษา 1 : วิมาน วรรณค ํา 330• การประเมินผลการดํ าเนินงานการจัดทุนการศึกษาตามโครงการเสมา พัฒนาชีวิต : ศึกษากรณีจังหวัดเชียงราย : ทองใบ เชาวนจินดา 332• การประเมินหลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียนสายสามัญ ระดับมัธยม ศึกษาตอนปลายสํ าหรับสมาชิกองคการบริหารสวนต ําบล (อบต.) ใน จังหวัดสุโขทัย : ส ําอางค บุญเกิด 337• การศกึษาการดํ าเนินการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ประถมศึกษา สังกดัสํ านักงานการประถมศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ : ชาติชาย พิมพิไสย 342• การศึกษาการยอมรับมาตรฐานระบบคุณภาพ ISO 9002 ของโรงเรียน มัธยมศกึษา กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ : สุรินทร ศรีทอง 344• การศึกษาประสิทธิผลของศูนยอบรมเด็กกอนเกณฑในวัด จังหวัด บุรีรัมย : โสธร บุญเลิศ 348• การศึกษาสภาพการด ําเนินการประเมินผลภายใน และความตองการ รับการสนับสนุนการดํ าเนินการประเมินผลภายในของสถานศึกษา ประเภทอาชีวศึกษา : กลุมพัฒนามาตรฐานคุณภาพการศึกษา สํ านักพัฒนาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เขตการศึกษา 6 352• การสรางเครื่องมือประกอบการประเมินคุณภาพการศึกษา ดานปจจัย การศึกษาของโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครเชียงใหม : จินตนา กันธวัง 356

  • X

    สารบัญ

    หนาการประเมินคุณภาพ/ประกันคณุภาพการศึกษา (ตอ)• ประสิทธิผลการบริหารงานโรงเรียนดวยการใชเทคนิคการประกันคุณภาพ การศึกษาในโรงเรียน สังกดัสํ านักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน เขตการศึกษา 12 : วิเชียร พันธเครือบุตร 359• ศกึษาการดํ าเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาโรงเรียน วิเชียรชม สังกดัสํ านักงานการประถมศึกษาจังหวัดสงขลา : นวพร จุทอง 362• ปญหาและความตองการสนับสนุนจากหนวยงานภาครัฐใน การน ําโรงเรียนไปสูการประกันคุณภาพการศึกษา : ศึกษาเฉพาะ กรณีโรงเรียนเอกชนระดับประถมศกึษาในจังหวัดปทุมธานี : ศรีวัฒนา ธีระเผาพงษ 366• สภาพปญหาและแนวทางการแกปญหาการดํ าเนินการประกันคุณภาพ การศกึษาโรงเรยีนมัธยมศกึษา จงัหวดัเชยีงใหม : พยอมศรี วรุณวนารักษ 370

    ภาวะผูนํ า• การนํ าเสนอรูปแบบการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนํ าของผูบริหาร วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข : เบญจพร แกวมีศรี 374• การศึกษาความสัมพันธเชิงสาเหตุของคุณสมบัติพื้นฐานของผูบริหาร และแบบภาวะผูนํ า ที่มีตอคุณภาพการบริหารของผูบริหารโรงเรียน : ประคอง รัศมีแกว 381• การศึกษาแบบผูน ําของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกดัสํ านักงาน การประถมศึกษาจังหวัดนครราชสีมา : ศรีสุนันท ตายแสง 385• ความสัมพันธระหวางความฉลาดทางอารมณ กับภาวะผูน ําการเปลี่ยน แปลงของผูบริหาร ในวิทยาลัยพลศึกษา : กัลยาณี พรมทอง 388• ความสัมพนัธระหวางพฤติกรรมภาวะผูน ําของผูบรหิารกับความพึงพอใจ ในการปฏิบัติงานของบุคลากรในสํ านักงานศึกษาธิการอ ําเภอ เขตการ ศึกษา 1 : ธงชัย แกวมาตย 392

  • XI

    สารบัญ

    หนาภาวะผูนํ า (ตอ)• บทบาทที่รับรูของผูบริหารโรงเรียนในการสงเสริมการจัดการเรียนการ สอนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลางในโรงเรียนประถมศึกษา สํ านักงาน การประถมศึกษาในเขตการศึกษา 7 : สมนึก จุยดอนกลอย 394• แบบภาวะผูน ําและความฉลาดทางอารมณของหัวหนาแผนก สังกดั วิทยาลัยเทคนิค ในเขตการศึกษา 8 : ปยพล ศรีธิเดช 397• พฤติกรรมการบริหารของครูใหญตามการรับรูของครูที่สงผลตอความ พึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนคาทอลิกสังกัดอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ : อรวรรณ จันทรชลอ 399• พฤติกรรมภาวะผูนํ าที่เปนจริงและที่คาดหวังของผูบริหารโรงเรียน ประถมศึกษา สังกดัสํ านักงานการประถมศึกษาจังหวัดหนองคาย : นิรันดร หม่ืนสุข 402• พฤติกรรมภาวะผูนํ าแบบความสามารถพิเศษของผูบริหารการจัดการ ศึกษาจังหวัดนครราชสีมา : นงลักษณ ยุทธสุทธิพงศ 404• ภาวะผูน ําของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกดัสํ านักงาน คณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ : รุงกานต รอดเรือง 407• ภาวะผูน ําทางวิชาการของผูบริหารโรงเรียนที่สงผลตอผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปที ่3 ในโรงเรียนขนาดใหญ สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร : อรพร อุนากรสวัสดิ์ 408• ภาวะผูน ําที่มีคุณภาพของผูบริหารดีเดนโรงเรียนประถมศึกษา : ชลี แตรุงเรือง 410• แรงผลักดันภาวะผูน ําของผูบริหารท่ีสงผลตอการปฏิรูปกระบวนการ เรียนรูประถมศึกษา สํ านักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาต ิ: สุรศักดิ์ ขันติธีวาโร 412• ลักษณะทางจติ ลักษณะผูนํ า และสถานการณทางสังคม ท่ีสัมพันธ กบัพฤติกรรมการบริหารงานอยางมีจริยธรรมของผูบริหารโรงเรียน ประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร : อ ําพร อัศวโรจนกุลชัย 416

  • XII

    สารบัญ

    หนาภาวะผูนํ า (ตอ)• ศึกษาความสัมพันธระหวางทักษะการบริหารกับผลการปฏิบัติงาน วิชาการของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกดัสํ านักงานการ ประถมศึกษาจังหวัดสงขลา : จิราพิชญ ขวัญพรหม 421• ศึกษาความสัมพันธระหวางวิธีการแกปญหาความขัดแยงของผูบริหาร โรงเรียน กับความทอแทในการท ํางานของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกดัสํ านักงานการประถมศึกษาจังหวัดพัทลุง : พรศักด์ิ บุญยัง 426

    การปฏิรูปการศึกษา• การศึกษาคุณลักษณะอันพึงประสงคของนักเรียนระดับประถมศึกษา ตามท่ีกํ าหนดในจุดหมายของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ตามการประเมินและความคาดหวังของผูปกครอง : กรณีศึกษาโรงเรียนเอกชน จังหวัดชัยภูมิ : รจนา อาจศิริ 430• การศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหา และแนวทางในการจัดทํ างบประมาณ แบบมุงเนนผลงานตามความคิดเห็นของผูบริหารและครูโรงเรียน มัธยมศกึษา สังกดัสํ านักงานสามัญศึกษาจังหวัดบุรีรัมย : สมหวัง ขอเอื้อนกลาง 434• กระบวนการบริหารเชิงยุทธศาสตรของผูบริหารสถานศึกษาเพื่อ สงเสริมความสามารถการใชเทคโนโลยีทางการศึกษาของคร ูสังกดั สํ านักงานการประถมศึกษาจังหวัดเชียงราย : อมร สีแสง 436• การเตรียมความพรอมของผูบริหารโรงเรียนในการนํ านโยบายปฏิรูป การศึกษาไปใชในโรงเรียนประถมศึกษา สังกดัสํ านักงานเขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร : ชานินันท บวนนอก 444• การมีสวนรวมในการบริหารโรงเรียนของครูในโรงเรียนศูนยปฏิรูปการ ศกึษา สังกดัสํ านักงานการประถมศึกษาจังหวัดนครราชสีมา : เกียรติพงศ ค ําไทย 449

  • XIII

    สารบัญ

    หนาการปฏิรูปการศึกษา (ตอ)• การศกึษาการดํ าเนินงานโรงเรียนปฏิรูปการเรียนรูเพื่อพัฒนาคุณภาพ ผูเรียน : กรณีศึกษา โรงเรียนบานสบขุน อํ าเภอทาวังผา จังหวัดนาน : อธกึ ปองค ํารด 452• การศึกษาบทบาทของผูบริหารสถานศึกษาในการปฏิรูปการจัดการเรียน การสอน ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ตามทัศนะ ของผูบริหารสถานศึกษาและครูผูสอนในสถานศึกษา สังกดัสํ านักงาน การประถมศึกษาจังหวัดนครราชสีมา : สมศักด์ิ พระเดชก่ิง 460• การศึกษาปจจัยที่มีผลตอการใชภูมิปญญาทองถิ่นเพื่อการเรียนรู ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา : กรณีศึกษาโรงเรียนบานหลวง กรมสามัญศึกษา จังหวัดนาน : บุญเสริม เสนนันตา 464• การศึกษาผลกระทบพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2545 ตอการปรับโครงสรางของคุรุสภา : สุญาดา สุนทรศารทูล 470• ความพรอมและความคาดหวังตอการกระจายอ ํานาจการบริหาร งบประมาณตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดชัยภูมิ : เสนห เหลาเสนา 480• ความสัมพันธระหวางสมรรถภาพทางการนิเทศของผูบริหารกับ การเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนส ําคัญ ในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดนครปฐม : วันเพ็ญ กิจกํ าจร 484• บทบาทของคุรุสภาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาต ิพ.ศ.2542 : อารักษ วิเศษสิงห 487• ปจจัยการบริหารที่สงผลตอการปฏิรูปกระบวนการเรียนรูในโรงเรียน แกนน ําปฏิรูปกระบวนการเรียนรู สังกดัสํ านักงานการประถมศึกษา จังหวัดนครราชสีมา : กํ าพล ฤทธ์ิรักษา 491

  • XIV

    สารบัญ

    หนาการปฏิรูปการศึกษา (ตอ)• รปูแบบการพัฒนาพฤติกรรมประชาธิปไตยดานคารวธรรมของ นักเรียนโรงเรียนประถมสาธิตสถาบันราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา : ชนิดา จันเรียง 496• สภาพและปญหาการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน สังกดัสํ านักงานการประถมศึกษาจังหวัดชุมพร : ชาญวิทย ยิกุสังข 498

    ดัชนีผูวิจัย 503คณะกรรมการด ําเนินการจัดประชุมวิชาการเรื่อง การวิจัยทางการบริหารการศึกษา 507คณะทํ างาน 509

  • 1

    ชื่อเรื่อง การปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ตามทัศนะของผูบริหารและครูโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดสตูล

    ผูวิจัย อุมัร สวาลังปที่งานวิจัยเสร็จ พ.ศ.2545ลักษณะของงานวิจัย วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการ

    ศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานีวัตถุประสงค

    1. เพื่อศึกษาระดับการปฏิบัติตามแนวทางการบริหาร โดยใชโรงเรียนเปนฐานตามทัศนะของผูบริหารและครูโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดสตูล ดานการกระจายอ ํานาจ ดานการบริหารแบบมีสวนรวม ดานการบริหารตนเอง ดานการพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบ ดานความรับผิดชอบเพื่อตรวจสอบได และดานการมีภาวะผูน ําแบบเกื้อหนุน

    2. เพือ่เปรยีบเทียบระดับการปฏิบติัตามแนวทางการบรหิารโดยใชโรงเรยีนเปนฐานตามทัศนะของผูบริหารและครูโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดสตูลที่มีตํ าแหนงตางกัน

    3. เพื่อเปรียบเทียบระดับการปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานตามทัศนะของผูบริหารและครูโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดสตูลท่ีปฏิบัติงานในโรงเรียนที่มีขนาดตางกัน

    4. เพือ่ศกึษาปฏิสัมพนัธรวมระหวางตํ าแหนงตางกนักบัขนาดโรงเรยีนตางกนัท่ีมีผลตอการปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ตามทัศนะของผูบริหารและครูโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดสตูล

    5. เพื่อรวบรวมปญหาและขอเสนอแนะในการปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใชโรงเรยีนเปนฐาน ตามทัศนะของผูบรหิารและครโูรงเรยีนประถมศกึษาในจงัหวดัสตูลวิธีดํ าเนินการวิจัย

    ประชากรที่ใชในการวิจัย คือ ผูบริหารและครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกดัสํ านักงานการประถมศึกษาจังหวัดสตูล ที่ปฏิบัติหนาที่ในปการศึกษา 2545 จ ํานวน 2,023 คนกํ าหนดขนาดของกลุมตัวอยางจากการค ํานวณโดยใชสูตรของ ยามาเน และใชวิธีการสุมแบบแบงชั้นภูมิ และสุมอยางงาย ไดกลุมตัวอยางจ ํานวน 334 คน

    เครือ่งมือท่ีใชในการวจิยั เปนแบบสอบถาม โดยผูวจิยัสรางข้ึนเองจากการศกึษาเอกสาร ตํ ารา และงานวิจัยที่เกี่ยวของ มาเปนกรอบแนวคิดในการสรางแบบสอบถามแบงเปน 3 ตอน คือ ตอนที ่ 1 เกี่ยวกับสถานภาพสวนตัวของผูเตอบแบบสอบถาม ซ่ึงมีลักษณะเปนแบบส ํารวจรายการ (Checklist) ประกอบดวย ตํ าแหนงและขนาดโรงเรียนตอนท่ี 2 การปฏิบติัตามแนวทางการบรหิารโดยใชโรงเรยีนเปนฐาน ตามทัศนะของผูบรหิาร

  • 2

    และครูโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดสตูล มีลักษณะเปนแบบมาตราสวนประมาณคา(Rating Scale) ตามแบบของลิเครท จ ํานวน 61 ขอ ตอนที ่3 ปญหาและขอเสนอแนะในการปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ตามทัศนะของผูบริหารและครูโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดสตูล ซึ่งมีลักษณะเปนแบบสอบถามปลายเปด

    การรวบรวมขอมูล ผูวิจัยขอหนังสือแนะน ําตัวผูวิจัยจากภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตาน ี เพื่อสงถึงผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกดัสํ านักงานการประถมศึกษาจังหวัดสตูล เพื่อขอความอนุเคราะหเก็บรวบรวมขอมูล และสงแบบสอบถามถึงผูบริหารโรงเรียนและไปรับแบบสอบถามกลับคืนดวยตนเอง โดยใหเวลาผูตอบแบบสอบถาม 15 วัน

    การวิเคราะหขอมูล วิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสํ าเร็จรูป SPSS สถิติท่ีใชไดแก คาความถี่ คารอยละ คาเฉล่ีย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมุติฐานเพ่ือเปรียบเทียบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของตัวแปร โดยทดสอบแบบเอฟ (F-test) โดยวิธีวิเคราะหความแปรปรวนแบบสองทาง (One-Way ANOVA) จากขอมูลการปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ตามทัศนะของผูบริหารและครูโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดสตูล และประมวลปญหาและขอเสนอแนะในการปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใชโรเงรียนเปนฐาน โดยการน ําเสนอตามลํ าดับความถี่สรุปผลการวิจัย

    1. การปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ตามทัศนะของผูบริหารและครูโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดสตูล โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เม่ือพจิารณาเปนรายดาน พบวา ดานการบริหารตนเอง ดานการพัฒนาโรงเรียนท้ังระบบดานความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได และดานการมีภาวะผูน ําแบบเกื้อหนุน อยูในระดับมาก สวนดานการกระจายอํ านาจและดานการบริหารแบบมีสวนรวมอยูในระดับมาก สวนดาน การกระจายอํ านาจและดานการบริหารแบบมีสวนรวมอยูในระดับปานกลาง โดยดานความรับผิดชอบที่ตรวจสอบไดมีคาเฉลี่ยสูงสุด สวนการบริหารแบบมีสวนรวมมีคาเฉลี่ยต่ํ าสุด ดังตารางท่ี 1

  • 3

    ตารางท่ี 1 คาเฉล่ีย คาเบีย่งเบนมาตรฐาน และระดับการปฏิบติัตามแนวทางการบรหิารโดยใชโรงเรยีนเปนฐาน ตามทัศนะของผูบรหิารและครโูรงเรยีนประถมศกึษาในจงัหวดัสตูล

    การปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

    X S.D. ระดับการปฏิบัติ

    ดานการกระจายอํ านาจ 3.47 .58 ปานกลางดานการบริหารแบบมีสวนรวม 3.34 .76 ปานกลางดานการบริหารตนเอง 3.54 .60 มากดานการพัฒนาโรงเรียนท้ังระบบ 3.66 .63 มากดานความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได 3.71 .61 มากดานการมีภาวะผูน ําแบบเกื้อหนุน 3.60 .72 มาก

    รวม 3.55 .55 มาก

    การปฏิบติัตามแนวทางการบรหิารโดยใชโรงเรยีนเปนฐาน ตามทัศนะของผูบรหิาร และครูโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดสตูลในแตละดาน สรุปไดดังนี้

    1.1 การปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ตามทัศนะของผูบริหารและครูโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดสตูล ดานการกระจายอ ํานาจโดยภาพรวม อยูในระดับปานกลาง เม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา สวนใหญอยูในระดับปานกลางโดยขอโรงเรยีนมีการกระจายอ ํานาจการตัดสินใจและความรบัผิดชอบไปยังฝายตางๆ โดยแบงภาระงานที่รับผิดชอบอยางชัดเจนมีคาเฉลี่ยสูงสุด และขอ คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้พื้นฐานมีอ ํานาจในการกํ าหนดนโยบายดานวิชาการ งบประมาณ การบริหารบุคคลและการบริหารทั่วไปมีคาเฉลี่ยตํ่ าสุด

    1.2 การปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ตามทัศนะของผูบริหารและครูโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดสตูล ดานการบริหารแบบมีสวนรวมโดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา ขอคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานและบุคลากรในโรงเรียนมีสวนรวมในการวางแผนยุทธศาสตรของโรงเรียน และขอผูบริหารและครูสรางความสัมพันธที่ดีกับชุมชนในการรวมกันจัดการศึกษาอยูในระดับมาก สวนขออื่น ๆ มีการปฏิบัติอยูในระดับปานกลาง โดยขอผูบริหารและครูสรางความสัมพันธที่ดีกับชุมชนในการรวมกันจัดการศึกษา มีคาเฉล่ียสูงสุด และขอคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานและบุคลากรในโรงเรียนมีสวนรวมในการนิเทศ ติดตามประเมินผลมีคาเฉล่ียต่ํ าสุด

  • 4

    1.3 การปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ตามทัศนะของผูบริหารและครูโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดสตูล ดานการบริหารตนเอง โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอพบวา สวนใหญปฏิบัติอยูในระดับมาก สวนขอโรงเรียนมีอิสระและความคลองตัวในการตัดสินใจเรื่องการจัดสรรงบประมาณ การจัดเก็บคาเลาเรียนของโรงเรียนมีการปฏิบัติอยูในระดับปานกลาง และขอโรงเรียนมีอิสระในการสรรหาบุคลากรดวยตนเองมีการปฏิบัติอยูในระดับนอย โดยขอโรงเรียนมีอิสระและความคลองตัวในการตัดสินใจเรื่องการจัดการเรียนการสอนมีคาเฉลี่ยนสูงสุด และขอโรงเรียนมีอิสระในการสรรหาบุคลากรดวยตนเองมีคาเฉลี่ยตํ่ าสุด

    1.4 การปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ตามทัศนะของผูบรหิารและครโูรงเรยีนประถมศกึษาในจงัหวดัสตูล ดานการพฒันาโรงเรยีนท้ังระบบโดยภาพรวมอยูในระดับมาก และเม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา สวนใหญมีการปฏิบัติอยูในระดับมากเชนกัน ยกเวนขอโรงเรียนมีการจัดท ําระบบสารสนเทศครบถวน ทันสมัยพรอมที่จะนํ าไปใชประโยชนได ขอโรงเรียนมีการวิเคราะหศักยภาพของโรงเรียนเพื่อใหเขาถึงโอกาส ขอจ ํากัด และศักยภาพของโรงเรียนโดยใชเทคนิค SWOT หรือเทคนิคอืน่ๆ และขอโรงเรยีนมีการนเิทศและตรวจสอบผลการปฏิบติังานเปรยีบเทียบกบัเปาหมายอยางตอเนื่อง มีการปฏิบัติอยูในระดับปานกลาง โดยขอโรงเรียนมีการจัดทํ าแผนพัฒนาคุณภาพการศกึษาหรอืแผนยุทธศาสตร/ธรรมนญูโรงเรยีนท่ีประกอบดวย ปรชัญาโรงเรยีนแผนปฏิบัติการ และตัวช้ีวัดความสํ าเร็จ มีคาเฉล่ียสูงสุด และขอโรงเรียนมีการวิเคราะหศกัยภาพของโรงเรยีนเพือ่ใหเขาถงึโอกาส ขอจ ํากดั และศกัยภาพของโรงเรยีนโดยใชเทคนคิSWOT หรือเทคนิคอื่นๆ มีคาเฉล่ียต่ํ าสุด

    1.5 การปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ตามทัศนะของผูบรหิารและครโูรงเรยีนประถมศกึษาในจงัหวดัสตูล ดานความรบัผิดชอบท่ีตรวจสอบไดโดยภาพรวมอยูในระดับมาก และเม่ือพิจารณาเปนรายขอพบวา สวนใหญมีการปฏิบัติอยูในระดับมาก ยกเวนขอโรงเรียนมีการจัดท ํางบประมาณแบบมุงเนนผลงาน (PBB)และขอโรงเรียนมีการจัดทํ าสารสนเทศการทํ างานเพื่อใชในการประเมินผลพัฒนาโรเงรียน อยางเปนระบบมีการปฏิบัติอยูในระดับปานกลาง โดยขอโรงเรียนมีการปรับปรุงพัฒนาระบบการบริหารงาน งานการเงิน การจัดซื้อจัดจางใหมีประสิทธิภาพ โปรงใส และตรวจสอบได มีคาเฉล่ียสูงสุด และขอโรงเรยีนมีการจัดทํ างบประมาณแบบมุงเนนผลงาน (PBB)มีคาเฉล่ียสูงสุด

    1.6 การปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ตามทัศนะของผูบรหิารและครโูรงเรยีนประถมศกึษาในจงัหวดัสตูล ดานการมีภาวะผูน ําแบบเกือ้หนนุ

  • 5

    โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา สวนใหญมีการปฏิบัติอยูในระดับมาก ยกเวนขอผูบรหิารมีทักษะในการสรางเครอืขายการมีสวนรวมขององคกรตางๆเชน ภาคธุรกิจ สถาบันการศึกษาอื่นๆ ในพื้นที่เพื่อเพิ่มโอกาสในการนน ําทรัพยากรและภูมิปญญาทองถิ่นมาใชในการเรียนการสอน ขอผูบริหารมีทักษะในการแสวงหาบุคคลเปนท่ียอมรับและอิทธิพลตอองคการใหเปนตัวแบบของพฤติกรรมท่ีองคการตองการเปล่ียนแปลง และขอผูบริหารมีทักษะในการแสดงตนเปนแบบอยางในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียน มีการปฏิบัติอยูในระดับปานกลาง โดยขอผูบริหารมีความเขาใจแนวคิดในการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนสํ าคัญอยางชัดเจนมีคาเฉล่ียสูงสุด และขอผูบริหารมีทักษะในการแสวงหาบุคคลผูเปนท่ียอมรับและอิทธิพลตอองคการใหเปนตัวแบบของพฤติกรรมที่องคการตองการเปลี่ยนแปลง มีคาเฉล่ียต่ํ าสุด

    2. ผูบรหิารและคร ู มีทัศนะตอการปฏิบติัตามแนวทางการบรหิารโดยใชโรงเรยีนเปนฐานไมแตกตางกัน ซ่ึงไมสอดคลองกับสมมุตฐานขอท่ี 1

    3. ผูบริหารและครูที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนที่มีขนาดตางกันคือ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ มีทศนะการปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานแตกตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ซ่ึงสอดคลองกับสมมุติฐานขอท่ี 2

    การปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ตามทัศนะของผูบริหารและครูโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดสตูลท่ีปฏิบัติงานอยูในโรงเรียนขนาดเล็ก แตกตางจากโรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดใหญ อยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติท่ีระดับ .001 และ .01 ตามลํ าดับ โดยคาเฉลี่ยของโรงเรียนขนาดกลาง (3.6443) และโรงเรียนขนาดใหญ (3.5787) สูงกวาโรงเรียนขนาดเล็ก (3.2887) สวนผูบริหารและครูท่ีปฏิบัติงานในโรงเรียนขาดกลางกับขนาดใหญมีการปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานไมแตกตางกัน

    4. ผลการศึกษาปฏิสัมพันธรวมระหวางตํ าแหนงที่ตางกัน กับขนาดโรงเรียนท่ีตางกันไมมีผลตอการปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ตามทัศนะของผูบริหารและครูโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดสตูล

    5. ผลการประมวลปญหาและขอเสนอแนะในการปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ตามทัศนะของผูบริหารและครูโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดสตูล สรุปเปนรายดาน ดังนี้

    5.1 ดานการกระจายอํ านาจ ผูตอบแบบสอบถามปลายเปดระบุปญหาที่มีความถ่ีมากท่ีสุด คือ การกระจายอํ านาจมาสูโรงเรียนยังไมท่ัวถึง ไมครอบคลุม สํ าหรับขอเสนอแนะ ไดแก ควรกระจายอ ํานาจใหโรงเรียนทุกงาน ทุกหนาท่ี โดยใหโรเงรียนมี

  • 6

    อ ํานาจในการตัดสินใจเอง เชน การจัดซื้อจัดจาง การบริหารงบประมาณ และงานอื่นๆและควรกระจายอ ํานาจใหโรงเรียนอยางเต็มท่ี

    5.2 ดานการบริหารแบบมีสวนรวม ปญหาขอท่ีมีความถ่ีมากท่ีสุด คือ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานขาดความรูความเขาใจในเรื่องงานวิชาการ หลักสูตร และงานอื่น ๆ ของโรงเรียน สํ าหรับขอเสนอแนะ คือ ควรมีการพัฒนาความรู ความสามารถใหแกคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

    5.3 ดานการบริหารตนเอง ปญหาขอท่ีมีความถ่ีมากท่ีสุด คือ โรงเรียนขาดอิสระในการสรรหาบุคลากรดวยตนเอง รองลงมาคือ โรงเรียนขาดความคลองตัวและไมมีอิสระในการบริหารงบประมาณ สํ าหรับขอเสนอแนะ ไดแก ควรใหโรงเรียนมีอิสระในการสรรหาบุคลากรดวยตนเองตามความจ ําเปนและความตองการ ควรจัดสรรงบประมาณในลักษณะยอดรวม และใหอิสระในการบริหารงบประมาณของโรงเรียนในรูปคณะกรรมการ

    5.4 ดานการพัฒนาโรงเรียนท้ังระบบ ปญหาขอท่ีมีความถ่ีมากท่ีสุด คือบคุลากรในโรงเรียนยังไมเขาใจเรื่องการพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบดีพอ รองลงมาคือ งานท่ีปฏิบัติอยูไมสอดคลองกับแผนและวิสัยทัศนของโรงเรียน สํ าหรับขอเสนอแนะ ไดแก ควรจัดอบรม ใหความรูแกคร ูผูบริหาร และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในเรื่องการพัฒนาโรงเรียนทั้งระบบ และใหมีการปฏิบัติงานตามแผนท่ีวางไว และใหทุกคนมีสวนรวมในการวางแผนรวมกัน

    5.5 ดานความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได ปญหาขอท่ีมีความถ่ีมากท่ีสุด คือคูณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูยังไมผานเกณฑท่ีก ําหนด ขอเสนอแนะ ไดแก มีการประเมินการปฏิบัติงานของครูอยางจริงจัง

    5.6 ดานการมีภาวะผูน ําแบบเกื้อหนุน ปญหาขอท่ีมีความถ่ีมากท่ีสุด คือผูบริหารขาดทักษะในการเปนผูน ําทางดานเทคโนโลยี สํ าหรับขอเสนอแนะ ไดแก จัดการอบรม พัฒนาความรู ดานเทคโนโลยีใหแกคณะครูและผูบริหารอยางตอเนื่อง

    ขอเสนอแนะจากผลการวิจัยครั้งนี ้ผูวิจัยมีขอเสนอแนะท่ีสํ าคัญเปนรายดาน ดังนี้1. ดานการกระจายอํ านาจ ผลการวิจัยพบวา การปฏิบัติตามแนวทางการบริหาร

    โดยใชโรงเรียนเปนฐาน ตามทัศนะของผูบริหารและครูโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดสตูล โดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง จงึมีประเด็นท่ีควรปรบัปรงุในการปฏิบติัไดมากข้ึนไดแก ใหคณะกรรมการสถานศกึษาข้ันพืน้ฐานมีอ ํานาจในการก ําหนดนโยบายดานวชิาการงบประมาณ การบริหารบุคคล และการบริหารทั่วไป ตลอดจนเปดโอกาสใหคณะกรรมการ

  • 7

    สถานศกึษาข้ันพืน้ฐานมีบทบาทในการก ําหนดวสัิยทัศน นโยบาย แผน งบประมาณ ของโรงเรยีน โดยเฉพาะอยางย่ิงบทบาทในการติดตามและรบัทราบรายงานการประเมินคุณภาพของโรงเรียน และในดานการจัดการเรียนการสอนท่ีสนองความตองการของทองถิ่นควรปฏิบัติใหมากข้ึน

    2. ดานการบริหารแบบมีสวนรวม ผลการวิจัยพบวา การปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ตามทัศนะของผูบริหารและครูโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดสตูล โดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง จึงมีประเด็นที่ควรปรับปรุงและปฏิบัติเพิ่มมากข้ึน ไดแก การเปดโอกาสใหคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและบุคลากรในโรงเรียนมีสวนรวมในการวิเคราะหสภาพปจจุบันเพื่อทราบ ขอเดน ขอดอยของโรงเรียนและกํ าหนดวิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมาย ยุทธศาสตรของ