14
โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ“โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ/โโโโโโโโ” โโโโโโโโโโโโโโโโโ : โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ โโโโโโโโโโโโโโโโโ/โโโโโโโโ โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ โโโโโโโโโโโโโโโโ 3 โโโโโโ 2559 โโโโ โโโโ 8.30 – 11.30 โ. โ โโโโโโโโโโโโโ โโโโโโโโโโโโ โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ โโโโโโโโโโโโโโโโโโโ โโโโโโโโโโโโโโโ โโโโโโโ ศศศศศศศศศศศ ศศ.ศศศศศศศศ ศศศศศศศศ ศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศ โโโโโโโโโโโโโโโโโโโโโ 2 โโโโ โโโ 1. ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ 2. ศศศศศศศศ manuscript ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศ “ศศศศ” ศศศศศศศ ศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศ ศศศศศศศ ศ ศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ศศศศศศศศศศศศศศศศศ

kmhcu.files.wordpress.com · Web view“No cookbook recipe” (ไม จำเป นต องเป นแบบน ก ได ข นก บแต ละวารสารท

  • Upload
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

โครงการการจัดการความรู้“การเขียนบทความวิชาการเพื่อตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ/นานาชาติ” กิจกรรมระยะที่สอง : การเขียนบทความวิชาการเพื่อตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ/นานาชาติจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ในวันพฤหัสบดีที่ 3 มีนาคม 2559 เวลา เวลา 8.30 – 11.30 น. ณ ห้องสื่อประสม อาคารบรรณสาร

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

วิทยากร ศาสตราจารย์ ดร.นทีทิพย์ กฤษณามระ อาจารย์ประจำภาควิชาสรีรสิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

แบ่งการนำเสนอออกเป็น 2 ส่วน คือ

1. ภาพรวมของวารสารที่เราจะตีพิมพ์

2. การเขียน manuscript เพื่อใช้ในการตีพิมพ์

ต้องมีการโน้มน้าวเพื่อให้เห็นว่าการวิจัยมีความสำคัญขนาดไหน หลักในการเขียนบทความวิชาการ คือต้อง “อ่าน”

เยอะมาก เช่น การอ่านจากบทความวิชาการ ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการทจะทำให้เรารู้ว่าขั้นตอนการเขียนเป็นอย่างไร โดยบทความวิชาการมีหลายระดับ แต่มีหลักการเดียวกัน โดยถ้าเราเริ่มต้นที่มีวัฒนธรรมองค์กรที่ดี เช่น ทุกคนทำงานวิจัย มีอาจารย์ที่ปรึกษาหรือพี่เลี้ยงนักวิจัยที่ดี ก็สามารถทำให้เราพัฒนาตนเองขึ้นได้ การเรียนภาษาอังกฤษจะทำให้สามารถเขียนงานวิจัยหรือบทความระดับนานาชาติได้ง่ายขึ้น งานวิจัยหรืองานที่ทำเป็นสิ่งที่ตัวเองรักจะทำได้ดี และการทำงานวิจัยควรทำทุกวัน ทำซ้ำ ๆ คิดทบทวน ถ้ามีข้อผิดพลาดก็แก้ไขไปเรื่อย ๆ จนวันหนึ่งเราจะมีทักษะขึ้นมาเอง เรื่องอายุไม่เป็นอุปสรรคในการทำงานวิจัย เพราะเราสามารถหาพี่เลี้ยงควรช่วยเหลือได้ หรืออาจจะทำงานเป็นกลุ่มเป็นทีม แบ่งงานกันในส่วนที่ตนเองถนัด “การวิจัยต้องสนุกกับสิ่งที่ทำ” จะทำให้ได้ผลงานที่ดีและมีคุณภาพ

การเลือกตีพิมพ์ในวารสาร

1. วารสารวิชาการในประเทศ

แบ่งได้เป็น 2 ส่วน

· วารสารในประเทศที่ผ่านการรับรองคุณภาพจาก Thai Journal Citation Index Center (TCI) สามารถดูรายละเอียดตามเวปไซต์ http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/Evaluation /2556/G1_Sci.html หรือ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (Thailand Research Fund)

· วารสารในประเทศที่ยังไม่ได้รับการรับรอง

ในคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มีวารสารเป็นของตัวเอง มีข้อดีคือ

· ช่วยสนับสนุนงานวิจัย มีแหล่งตีพิมพ์ให้กับนักศึกษา อาจารย์และบุคลากร

· แสดงความก้าวหน้าของคณะฯ มีชื่อเสียง ให้คนทั่วไปรู้จักคณะฯ มากยิ่งขึ้น จากการมาลงตีพิมพ์ในวารสารฯ

เราสามารถรู้ได้อย่างไรว่าวารสารไหนมีคุณภาพ ?

สามารถดูได้จาก peer – reviewer ของวารสารนั้น ๆ ว่ามีการถาม – ตอบ อ่าน หรือ comment หรือไม่ และต้องดูว่า peer – reviewer เป็นใคร ถ้ามีตำแหน่งทางวิชาการก็ยิ่งมีคุณภาพ

2. วารสารวิชาการนานาชาติ

วารสารวิชาการนานาชาติ ไม่ได้หมายถึงวารสารที่มีมาตรฐานสูงเสมอไป ขึ้นอยู่กับว่ามาจากประเทศไหน ซึ่งมีหลาย ปัจจัย โดยสามารถตรวจสอบได้ Journal Impact Factor (IF)

IF (ปี X) =

ข้อควรระวัง

· IF ของแต่ละสาขาวิชามีความแตกต่างกันมาก

· ควรทราบ IF range ของสาขาของเรา

· การตีพิมพ์งานในวารสาร IF สูง ถือเป็นชื่อเสียงของนักวิจัย

· ใช้ประกอบการขอตำแหน่งวิชาการ แต่ต้องดูคุณภาพของงานวิจัยด้วย

หรือสามารถตรวจสอบได้จาก Hirch Index (H – index) สามารถดูรายละเอียดตามเวปไซต์ http://en.wikipedia.org/wiki/Hirch_number โดยจะบอกถึงปริมาณของผลงานและความสามารถของนักวิจัย และ Index ดูจากงานตีพิมพ์จำนวนหนึ่งที่มีการอ้างอิงมากที่สุด และจำนวนครั้งของการอ้างอิง

Databases ของวารสารวิชาการมาตรฐานสากล

1. Institute of Sciencetific Information – Web of Science (ISI – WOS) database (มี IF)

2. วารสารวิชาการในประเทศไทย มีอยู่ 8 วารสารที่อยู่ใน ISI – WOS เช่น Science Asia, As Pac J Aller & Immunol Chiangmai J Science

3. SCOPUS – Elsevier (The largest abstract and citation database of peer – reviewed academic journal and books)

3. วารสารวิชาการนานาชาติที่เป็น Open Access Journal

เป็นวารสารที่ทุกคนสามารถเข้าไปอ่านใน website ของวารสารนั้น ๆ ได้ฟรี ผู้เขียนเป็นผู้จ่ายค่าตีพิมพ์ และวารสารบางเล่มมี IF ที่มีการยอมรับมากขึ้น

ข้อควรระวัง

· ตรวจสอบว่าวารสารอยู่ใน Database ที่เชื่อถือได้ เป็น ISI และ Scopus

· บางวารสารมีเพื่อการพาณิชย์ ไม่มี peer – reviewer จริงจัง

· บางวารสารไม่ได้รับการยอมรับจากแหล่งทุนวิจัย แม้จะมี IF

Beall’s List

(Predatory scholarly open access publishers) เป็นเครื่องมือช่วยในการตัดสินใจเลือกวารสารที่จะตีพิมพ์ โดยมีผู้ตรวจสอบว่ามีบริษัทตีพิมพ์จริงหรือไม่ เชื่อถือได้หรือไม่

คำถามเพิ่มเติม

ถ้าบทความของเรามีอ้างอิงจากวารสารที่อยู่ใน Beall’s List จะมีผลกระทบอย่างไรไหม เพราะบางทีไม่ทราบว่าวารสารที่เรานำมาอ้างอิงอยู่ใน Beall’s List

คำตอบ : ไม่ควรนำมาอ้างอิงในวารสารของเรา เพราะจะทำให้บทความเราไม่ดีไปด้วย โดยต้องตรวจสอบเอกสารอ้างอิงให้ดีก่อนนำมาลง

การเผยแพร่ผลงานวิชาการ

สามารถเขียนรวมเป็น flow chart ได้ดังนี้

วารสารวิชาการ (Journal)

สามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ

1. Full article in research journal

เช่น - Nature

· Science American Journal of Physiology Science Asia

2. Review/Report article

· เป็นการนำความรู้จากหลาย ๆ เรื่องมาวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และสังเคราะห์ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ หรือมุมมอง หรือความเข้าใจ เห็นภาพรวมชัดเจนยิ่งขึ้น

· ผู้เขียนมีประสบการณ์ในเรื่องนั้น ๆ

· มักมีการอ้างอิงงานวิจัยของผู้เขียนด้วย

คำถามเพิ่มเติม

ถ้าเราไม่มีงานวิจัย สามารถเขียนบทความวิชาการได้ไหม สามารถนำไปขอตำแหน่งทางวิชาการได้หรือไม่

คำตอบ : ขึ้นอยู่กับข้อกำหนดของแต่ละมหาวิทยาลัย การเขียนบทความวิชาการ ควรเอามาจากงานวิจัยของเรา และที่สำคัญในการส่งบทความในวารสารต่าง ๆ จะต้องมี peer – reviewer

การเขียนบทความเพื่อตีพิมพ์

เมื่อไหร่ถึงจะพร้อมที่จะเตรียม Manuscript ?

· มีการทำงานวิจัยเสร็จสมบูรณ์ตามแผนที่วางไว้

· มีผลการวิจัยที่ให้ข้อมูลใหม่ หรือพิสูจน์สมมติฐานได้

· มีผลการวิจัยในรูปแบบที่ตีพิมพ์ได้ (กราฟ ตาราง รูปภาพ ฯลฯ)

· ได้อ่านทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องครบถ้วน และมี reference อยู่พร้อม

· ได้เลือกวารสารที่จะตีพิมพ์แล้ว

· ได้คิดชื่อเรื่องไว้แล้ว แสดงว่าเราเข้าใจงานของเรา

· มีชื่อผู้เขียนร่วม (co – authors) และได้แบ่งเปอร์เซ็นต์ส่วนร่วมไว้เรียบร้อย

· ต้องติดตามดูงานวิจัยต่าง ๆ ที่ใกล้เคียงกับงานของเราด้วย “ยิ่งอ่านเยอะ ยิ่งเขียนได้ดี”

ตัวอย่างแนวทางการเขียนบทความ (Authorship Guidelines) ของ Harvard Medical School (http://hms.harvard.edu)

1. Each author should have made a substantial, direct, intellectual contribution to the work. ie, conception, design, analysis and interpretation of data.; ทุกคนที่มีชื่ออยู่ในบทความ จะต้องเป็นผู้ที่ทำงานจริง

2. Everyone who has made other substantial contributions should be acknowledged.; ทุกคนต้องรับทราบว่าใครทำอะไร แบ่งงานกันอย่างไร

3. All authors should participate in drafting/writing the manuscript and approving the final version.; แบ่งเปอร์เซ็นต์ให้เรียบร้อยตั้งแต่แรก

4. One author should take primary responsibility for the work as a whole even if he/she does not have an in-depth understanding of every part of the work.; ในการทำงานจิจัยจะต้องมีหัวหน้าโครงการ

5. This primary author should prepare a concise, written description of the author’s contributions to the work, which has been approved by all authors. This record should remain with the sponsoring department.; ต้องแจกแบบฟอร์มเปอร์เซ็นต์วิจัยให้กับผู้เขียนบทความทุกคน ไม่ควรเก็บข้อมูลทั้งหมดไว้ที่หัวหน้าโครงการอย่างเดียว

Format (รูปแบบการจัดบทความ)

ประกอบด้วย

1. Title

· Abstract

· Summary

2. Introduction

· Materials and methods

3. Results

· Discussion

4. Acknowledgments

· Reference

“No cookbook recipe” (ไม่จำเป็นต้องเป็นแบบนี้ก็ได้ ขึ้นกับแต่ละวารสารที่ต้องการจะตีพิมพ์ แต่วารสารโดยทั่วไปจะเป็นแบบนี้)

ตัวอย่างส่วนประกอบในหน้าแรกของบทความ

Introduction

· Background, past experiments, previously – known – facts

· Statement of problem;

What has been found or clarified?

eg. Unresolved factors unanswered question lack of quantitative measure.

· Rationale; What is the reason for performing this experiment?

· The method used, and why it was used

· Objective or Aim; What is the Intention of the study to show?

· เป็นส่วนที่สำคัญ ต้องอ่านมาเยอะจะทำให้เห็นภาพรวม ทำให้ทราบว่าโจทย์วิจัยของเรามาจากไหน กระตุ้นให้เราคิดอยากจะทำงานวิจัยนั้น ๆ ขึ้นมา ต้องบอกโจทย์ที่เราจะทำ อาจเป็นโจทย์เดิมที่ได้จากการอ่านบทความแต่เราพัฒนาหรือเลือกใช้เทคนิคใหม่ หรือทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมา และต้องมีวัตถุประสง๕อยู่ในบทนำนี้ด้วย

ตัวอย่าง Introduction

Materials and methods

· Sufficient information for trained investigator from the relevant discipline to repeat the experiments.

· Give a reference If someone else’s methods were used, include a short description “Briefly….”

· Statistical analyses

· Approval by Ethic Committee?

· ควรให้ข้อมูลที่เพียงพอ ให้ข้อมูลแหล่งอ้างอิงได้ และการเลือกใช้วิธีการวิเคราะห์ทางสถิติที่นำมาใช้

Results

· ผลการวิจัยในรูปของกราฟ ตาราง ฯลฯ พร้อมคำอธิบายใต้ภาพ (Legend)

· เนื้อเรื่องที่อธิบายการทดลอง และผลที่ได้ มักเรียงตามลำดับของผลการทดลอง

· ไม่ควรให้ข้อมูลที่แสดงอยู่แล้วในกราฟ หรือตารางซ้ำอีก

· ไม่แสดงผลการทดลองเดียวกันใน 2 รูปแบบ เช่น ทั้งตารางและกราฟ

· ไม่ควรสิเคราะห์ผล หรือเปรียบเทียบกับงานวิจัยที่เคยมีมาก่อน นอกจากจำเป็นต้องอธิบายเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจการทดลองที่ตามมา

Discussion

· เกริ่นถึงที่มาของโจทย์วิจัยสั้น ๆ (Rationale)

· บอกผลที่พบ (Summary of results/findings)

· วิเคราะห์ผล (Interpretation) อธิบายกลไก หรือวิเคราะห์เชิงลึก

· ผลการทดลองสอดคล้องหรือขัดแย้งกับทฤษฎี หรือรายงานก่อนหน้า อธิบายว่าทำไมเป็นเช่นนั้น พร้อมการอ้างอิง

· อธิบายถึงความสำคัญหรือผลกระทบจากงานวิจัย

· มีข้อสรุป (Conclusions) เฉพาะประเด็นสำคัญที่พบ

· อาจมีการเสนอว่าควรศึกษาต่ออย่างไร หรือยังมีคำถาม/โจทย์วิจัยค้างอยู่

· วารสารบางฉบับขอให้มีหัวข้อ “Limitations” หรือข้อจำกัดของงานวิจัย

Acknowledgments (แสดงความขอบคุณ)

· แหล่งทุนวิจัย

· ผู้เอื้อเฟื้อให้ตัวอย่าง/สารตั้งต้น/เชื้อ ฯลฯ

· ผู้ช่วยวิจัย (Technicians)

· ไม่ต้องขอบคุณ co – authors

Reference (เอกสาร/บทความอ้างอิง)

· ใช้รูปแบบที่วารสารนั้นระบุใน “Instruction to authors”

· เรียงตามลำดับที่กล่าวถึงในบทความ (1, 2, 3, ….25, …)

· เรียงตามอักษรของนามสกุลของ authors ที่อ้างอิง

· บทความทางวิทยาศาสตร์นิยมใช้เป็น “Vancouver”

· เช่น Charoenphandu N, Wongdee K, Teerapornpuntakit J, Thongchote K, Krishnama N. Transcriptome response of duodenal epithelial cells to prolactin in pituitary – grafted rats. Mol Cell Endocrinol 2008;296:41 – 52

Abstract/Summary (บทคัดย่อ)

· เป็นส่วนที่สำคัญที่สุด แต่เป็นส่วนสุดท้ายที่จะเขียน

· เกริ่นถึงที่มาของโจทย์วิจัย (Rationale) และวัตถุประสงค์ (Objective)

· อธิบายการทดลองย่อ ๆ

· บอกถึงผลที่สำคัญ อาจให้ข้อมูลเฉพาะที่สำคัญเท่านั้น

· สรุปข้อมูลสำคัญที่พบ

ตัวอย่าง Abstract

ข้อควรพิจารณาสำหรับเขียน manuscript เสร็จ

· ผลการทดลองตอบโจทย์วิจัยได้หรือไม่ และเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของภาพใหญ่ในเรื่องนี้อย่างไร

· ผลการทดลองที่เป็น “negative” ใช้อธิบายอะไรได้หรือไม่ ?

· ทำให้ manuscript สั้นลงได้ไหม ? ใช้ภาษาที่กระชับมากขึ้น ลดความซ้ำซ้อน

· ชื่อเรื่องบอกให้ทราบชัดเจนว่างานวิจัยพบอะไร

เช่น ตัวอย่างที่ผิด : “Effect of prolactin on the intestinal absorption of calcium”

ตัวอย่างที่ถูก : “Prolactin acutely stimulates the paracellular calcium absorption in rat duodenum”

· พิจารณา Key words อีกครั้งว่าเหมาะสมและครอบคลุมหรือไม่

Writing in English

· Interdiction and Disscussion: Present tense

· Abstract, Material and Methods and Results: Past tense

“Smith and coworkers reported that soy bean has high fiber content”

· Refer to Tables or Figures in your paper: Present tense

“Table 1 shows …”

“Figure 4 illustrates that …”

เมื่อไหร่จะเริ่ม “ร่าง” manuscript ?

· ตั้งแต่เริ่มที่จะลงมือทำวิจัย

· เริ่มส่วน Introduction หรือ Material and Methods

· ร่างรูปแบบของ Table หรือ Graph ไว้ก่อน เมื่อได้ผลการทดลอง สามารถเติมลงได้

· แยก Reference paper ที่สำคัญ ๆ ไว้ เพื่ออ่านได้บ่อย ๆ

· ติดตามงานวิจัยที่เกี่ยวข้องตลอดเวลา

Publication

แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ

1. Experimentation

2. Results

3. Analyses and Interpretation

มีขั้นตอน ดังนี้

1. Preparation of manuscript (which journal? -style)

2. Submission of manuscript to Editor Referees (with comments to editor)

3. Return of manuscript (3 months)

· Rejection

· Comments: point to be clarified, question answered, more experiments needed, reorganize, revise

4. Reversion of manuscript (resubmit usually in 3 months)

· Return manuscript to editor with typed point-to-point explanation/clarification /response to referees’ comments.

· Back to 3 or go onto 5

5. Acceptant of manuscript – copy right from authors

- Months

- Galley proof

- Payment for publication

6. Publication of manuscript

รูปแสดงขั้นตอนต่าง ๆ ก่อนนำไปตีพิมพ์ (Publication)