2
ตั้งแตป 2504 นักวิทยาศาสตรของธุรกิจยาสูบ รายงานวารอยละ 84 ของควันบุหรีมีสารกอมะเร็ง ดังนั้น หนวยงานและภาคีเครือขายทั้งระดับประเทศและระดับโลก จึงได ใหความสําคัญกับการดําเนินมาตรการตางๆ เพื่อคุมครองสุขภาพของผูไมสูบบุหรี่จาก อันตรายของการไดรับควันบุหรี่มือสอง ในประเทศไทย แมจะมีมาตรการทางกฎหมายและการสรางกระแสสังคม อยางตอเนื่องเพื่อใหประชาชนตระหนักถึงอันตรายและพิทักษสิทธิของตนเองจากการ ไดรับควันบุหรี่มือสอง หากแตผลการสํารวจจากโครงการสํารวจการบริโภคยาสูบ ในผูใหญระดับโลก ป 2552 และป 2554 บงชี้วา ควันบุหรี่มือสองยังคงเปนภัยคุกคาม สุขภาพของประชาชนไทยอยู ดังนั้น การใหความรูกับสาธารณชนถึงสถานการณและ พิษภัยจากการไดรับควันบุหรี่มือสอง จึงจําเปนตองเรงดําเนินการและกระทําอยางสม่ําเสมอ และตอเนื่อง ผูสูบบุหรี่มือสอง คือใคร? คือ บุคคลที่ไมสูบบุหรี่ แตไดรับควันบุหรี่จากผูสูบบุหรี่เขาสูรางกาย ซึ่งการเปน ผูสูบบุหรี่มือสองนี้ มิไดเกิดขึ้นจากความตองการของตนเอง แตเปนผลจากการตกอยูใน ภาวะจํายอม ยากจะหลีกเลี่ยงได เราสัมผัสควันบุหรี่มือสองไดอยางไร? ทางที่ 1 ควันบุหรี่ที่ผูสูบบุหรี่พนออกมา โดยสวนใหญผูสูดควันนี้คือ ตัวผูสูบบุหรี่เอง ทางที่ 2 ควันบุหรี่ที่ลอยจากปลายมวนบุหรี่ทีเผาไหม กระจายทั่วไปในอากาศ เปนแหลงมลพิษที่สําคัญที่สุดภายใน อาคาร และเปนที่มาของการสัมผัสควันบุหรี่มือสอง u คนไทย ไดรับควันบุหรี่มือสองในสถานที่ทํางานและสถานที่สาธารณะตางๆ ที่เปนเขตปลอด บุหรี่ตามกฎหมายเพ�มขึ้นในชวง 2 ปที่ผานมา 0 10 20 30 40 50 60 70 80 รอยละ ป 2552 ป 2554 สถานบริการสาธารณสุข อาคารของสถานที่ราชการ ขนสงสาธารณะ สถานที่ทำงาน อาคารของมหาวิทยาลัย โรงเรียน สถานบันเทิง ตลาดสด/นัด 4.8 7.3 13.0 14.7 21.6 25.6 27.2 30.5 31.0 34.9 55.6 68.4 69.3 68.8 33.4 28.8 สรุป แมประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 19 ออกตามพระราชบัญญัติคุมครองสุขภาพ ของผูไมสูบบุหรี่ พ.ศ. 2535 มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 28 มิถุนายน 2553 เปนตนมา ไดขยายพื้นทีคุมครองสุขภาพของผูไมสูบบุหรี่เพิ่มขึ้น และประชากรไทยสวนใหญ รับรูวาการไดรับควันบุหรีมือสองกอใหเกิดโรครายแรงไดในผูไมสูบบุหรี่ หากแตประชากรไทยเหลานี้ ยังคงสัมผัสควัน บุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะตางๆ ที่เปนเขตปลอดบุหรี่ตามที่กฎหมายกําหนด รวมถึงบาน ซึ่งเปนสถานที่สวนบุคคล ก็มีแนวโนมไดรับควันบุหรี่มือสองเพิ่มขึ้น ดังนั้น ทุกภาคสวนจึงควรรวมกันทําใหบานและสถานที่สาธารณะเปนเขตปลอดบุหรีตามที่กฎหมายกําหนด ดังนี1. จัดกิจกรรมรณรงค และประชาสัมพันธอยางจริงจัง สม่ําเสมอ และตอเนื่อง เพื่อ สรางความตระหนักของสาธารณชนใหรับรูถึงอันตรายจากการสัมผัสควันบุหรี่มือสอง 2. พัฒนานวัตกรรมการสื่อสารสาธารณะ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรับรูขาวสาร และ โอกาสการเขาถึงสื่อของกลุมเปาหมายเฉพาะที่ไดรับผลกระทบจากการควันบุหรี่มือสอง เชน ประชากรในพื้นที่หางไกล ผูดอยโอกาสทางสังคม ผูประกอบการ/ผูรับผิดชอบสถานที่สาธารณะ และสถานที่ทํางาน ที่เปนเขตปลอดบุหรี่ตามที่กฎหมายกําหนด เปนตน แผนภูมิที่ 5 รอยละของประชากรอายุ 15 ปขึ้นไป ที่ไดรับควันบุหรี่มือสองในสถานที่ทํางาน และสถานที่สาธารณะตางๆ อยางนอยเดือนละครั้ง ในรอบ 30 วันที่ผานมา ขอมูลเพิ่มเติม: กลุมพัฒนาวิชาการ สํานักควบคุมการบริโภคยาสูบ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ถ.ติวานนท อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทรศัพท: 02-580-6292 โทรสาร: 02-580-9307 Website: http://btc.ddc.moph.go.th; e-mail: [email protected] การเขียนอางอิง: สํานักควบคุมการบริโภคยาสูบ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. ขอมูลนารู : สถานการณ การไดรับควันบุหรี ่มือสองของประชากรไทย. ปทุมธานี: โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2555. 3. พัฒนาศักยภาพ และสนับสนุนใหเกิดการรวมกลุ มของหนวยงาน หรือภาคีภาคประชาสังคม เพื่อการมีสวนรวมดําเนินกิจกรรมเฝาระวังและสนับสนุนการสรางสิ่งแวดลอมปลอดบุหรี่ในระดับ พื้นที4. กรณีพบเห็นการละเมิดกฎหมายสิ่งแวดลอมปลอดบุหรี่ แจงเรื่องรองเรียนไดทีS สายดวนกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โทร. 1422 S ศูนยรับเรื่องรองเรียนบุหรี่และสุรา โทร. 02-590-3342 กด 2 S สํานักควบคุมการบริโภคยาสูบ โทร. 02-580-9264 S ระบบรองเรียนยาสูบออนไลน และอีเมล w http://btc.ddc.moph.go.th/complain/ w [email protected] S รองเรียนทางไปรษณีย มาทีสํานักควบคุมการบริโภคยาสูบ กรมควบคุมโรค เอกสารอางอิง 1. ประกิต วาทีสาธกกิจ. ควันบุหรี่มือสองเรื่องใกลตัว. แหลงขอมูล http://www.ashthailand.or.th/th/informationcenter. php?act=list_category เขาถึงขอมูลเมื่อมิถุนายน พ.ศ. 2552. 2. http://www.helpwithsmoking.com/passive-smoking.php เขาถึงขอมูลเมื่อมิถุนายน พ.ศ.2555 3. U.S. Department of Health and Human Services. The Health Consequences of Involuntary Exposure to Tobacco Smoke: A Report of the Surgeon General. Nation Center for Chronic Disease Prevention and Health Promotion, Office on Smoking and Health, CDC, 2006. แหลงขอมูล http://www.surgeongeneral.gov/library/ reports/secondhandsmoke/fullreport.pdf เขาถึงขอมูลเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2555. 4. ศรัณญา เบญจกุล มณฑา เกงการพานิช ลักขณา เติมศิริกุลชัย และณัฐพล เทศขยัน. สถานการณและแนวโนมการบริโภค ยาสูบของประชากรไทยอายุ 15 ปขึ้นไป ป พ.ศ. 2534-2554. ปทุมธานี: โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2555. 5. Bureau of Tobacco Control, Department of Disease Control, Ministry of Public Health, National Statistical Office (NSO) and Faculty of Public Health, Mahidol University. Global Adult Tobacco Survey (GATS): Thailand Country Report. Bangkok, Thailand, 2009. 6. Bureau of Tobacco Control, Department of Disease Control, Ministry of Public Health, National Statistical Office (NSO) and Faculty of Public Health, Mahidol University. Global Adult Tobacco Survey (GATS): Thailand Country Report. Bangkok, Thailand, 2012. 5 6 ขอมูลนารู: สถานการณการไดรับควันบุหรี่มือสองของประชากรไทย

Brochure Second hand smoke55btc.ddc.moph.go.th/th/upload/datacenter/data20.pdf · 2016-03-21 · สรุป แม ... บุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะต

  • Upload
    vuthuan

  • View
    213

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

ตัง้แต�ป� 2504 นกัวทิยาศาสตร�ของธรุกจิยาสบู รายงานว�าร�อยละ 84 ของควนับหุรี ่มีสารก�อมะเร็ง ดังนั้น หน�วยงานและภาคีเครือข�ายทั้งระดับประเทศและระดับโลก จึงได�ให�ความสําคัญกับการดําเนินมาตรการต�างๆ เพื่อคุ�มครองสุขภาพของผู�ไม�สูบบุหรี่จากอันตรายของการได�รับควันบุหรี่มือสอง

ในประเทศไทย แม�จะมีมาตรการทางกฎหมายและการสร�างกระแสสังคมอย�างต�อเนื่องเพื่อให�ประชาชนตระหนักถึงอันตรายและพิทักษ�สิทธิของตนเองจากการได�รับควันบุหรี่มือสอง หากแต�ผลการสํารวจจากโครงการสํารวจการบริโภคยาสูบในผู�ใหญ�ระดับโลก ป� 2552 และป� 2554 บ�งชี้ว�า ควันบุหรี่มือสองยังคงเป�นภัยคุกคามสุขภาพของประชาชนไทยอยู� ดังนั้น การให�ความรู�กับสาธารณชนถึงสถานการณ�และพษิภยัจากการได�รบัควนับหุรีม่อืสอง จงึจาํเป�นต�องเร�งดาํเนนิการและกระทาํอย�างสม่าํเสมอและต�อเนื่อง

ผู�สูบบุหรี่มือสอง คือใคร?

คือ บุคคลที่ไม�สูบบุหรี่ แต�ได�รับควันบุหรี่จากผู�สูบบุหรี่เข�าสู�ร�างกาย ซึ่งการเป�น

ผู�สูบบุหร่ีมือสองนี้ มิได�เกิดขึ้นจากความต�องการของตนเอง แต�เป�นผลจากการตกอยู�ในภาวะจํายอม ยากจะหลีกเลี่ยงได�

เราสัมผัสควันบุหรี่มือสองได�อย�างไร?

ทางที่ 1 ควันบุหรี่ที่ผู�สูบบุหรี่พ�นออกมา โดยส�วนใหญ�ผู�สูดควันนี้คือ ตัวผู�สูบบุหรี่เอง

ทางที่ 2 ควันบุหร่ีท่ีลอยจากปลายมวนบุหรี่ที่ เผาไหม� กระจายทั่วไปในอากาศ เป�นแหล�งมลพิษที่สําคัญที่สุดภายในอาคาร และเป�นที่มาของการสัมผัสควันบุหรี่มือสอง

u คนไทย ได�รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่ทํางานและสถานที่สาธารณะต�างๆ ที่เป�นเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมายเพ��มขึ้นในช�วง 2 ป�ที่ผ�านมา

0 10 20 30 40 50 60 70 80ร�อยละ

ป� 2552

ป� 2554

สถานบริการสาธารณสุข

อาคารของสถานที่ราชการ

ขนส�งสาธารณะ

สถานที่ทำงาน

อาคารของมหาวิทยาลัย

โรงเรียน

สถานบันเทิง

ตลาดสด/นัด

4.87.3

13.014.7

21.625.6

27.230.5

31.034.9

55.668.4

69.368.8

33.428.8

สรุป

แม�ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ฉบบัที ่19 ออกตามพระราชบญัญตัคิุ�มครองสขุภาพของผู�ไม�สบูบหุรี ่พ.ศ. 2535 มผีลบงัคบัใช�ตัง้แต�วนัที ่28 มถินุายน 2553 เป�นต�นมา ได�ขยายพืน้ที่คุ�มครองสุขภาพของผู�ไม�สูบบุหรี่เพิ่มขึ้น และประชากรไทยส�วนใหญ� รับรู�ว�าการได�รับควันบุหรี่มือสองก�อให�เกิดโรคร�ายแรงได�ในผู�ไม�สูบบุหรี่ หากแต�ประชากรไทยเหล�านี้ ยังคงสัมผัสควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะต�างๆ ที่เป�นเขตปลอดบุหรี่ตามที่กฎหมายกําหนด รวมถึงบ�าน ซึ่งเป�นสถานที่ส�วนบุคคล ก็มีแนวโน�มได�รับควันบุหรี่มือสองเพิ่มขึ้น

ดังนั้น ทุกภาคส�วนจึงควรร�วมกันทําให�บ�านและสถานที่สาธารณะเป�นเขตปลอดบุหรี่ตามที่กฎหมายกําหนด ดังนี้

1. จัดกิจกรรมรณรงค� และประชาสัมพันธ�อย�างจริงจัง สม่ําเสมอ และต�อเนื่อง เพื่อสร�างความตระหนักของสาธารณชนให�รับรู�ถึงอันตรายจากการสัมผัสควันบุหรี่มือสอง

2. พัฒนานวัตกรรมการสื่อสารสาธารณะ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรับรู�ข�าวสาร และโอกาสการเข�าถึงสื่อของกลุ�มเป�าหมายเฉพาะท่ีได�รับผลกระทบจากการควันบุหรี่มือสอง เช�น ประชากรในพืน้ทีห่�างไกล ผู�ด�อยโอกาสทางสงัคม ผู�ประกอบการ/ผู�รบัผดิชอบสถานทีส่าธารณะและสถานที่ทํางาน ที่เป�นเขตปลอดบุหรี่ตามที่กฎหมายกําหนด เป�นต�น

แผนภูมิที่ 5 ร�อยละของประชากรอายุ 15 ป�ขึ้นไป ที่ได�รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่ทํางาน และสถานที่สาธารณะต�างๆ อย�างน�อยเดือนละครั้ง ในรอบ 30 วันที่ผ�านมา

ข�อมูลเพิ่มเติม: กลุ�มพัฒนาวิชาการ สํานักควบคุมการบริโภคยาสูบ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ถ.ติวานนท� อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทรศัพท�: 02-580-6292 โทรสาร: 02-580-9307 Website: http://btc.ddc.moph.go.th; e-mail: [email protected]

การเขียนอ�างอิง: สํานักควบคุมการบริโภคยาสูบ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. ข�อมูลน�ารู�: สถานการณ�การได�รับควันบุหร่ีมือสองของประชากรไทย. ปทุมธานี: โรงพิมพ�มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร�, 2555.

3. พัฒนาศักยภาพ และสนับสนุนให�เกิดการรวมกลุ�มของหน�วยงาน หรือภาคีภาคประชาสังคม

เพื่อการมีส�วนร�วมดําเนินกิจกรรมเฝ�าระวังและสนับสนุนการสร�างส่ิงแวดล�อมปลอดบุหร่ีในระดับ

พื้นที่

4. กรณีพบเห็นการละเมิดกฎหมายสิ่งแวดล�อมปลอดบุหรี่ แจ�งเรื่องร�องเรียนได�ที่

S สายด�วนกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โทร. 1422

S ศูนย�รับเรื่องร�องเรียนบุหรี่และสุรา โทร. 02-590-3342 กด 2

S สํานักควบคุมการบริโภคยาสูบ โทร. 02-580-9264

S ระบบร�องเรียนยาสูบออนไลน� และอีเมล�

w http://btc.ddc.moph.go.th/complain/

w [email protected]

S ร�องเรียนทางไปรษณีย� มาที่ สํานักควบคุมการบริโภคยาสูบ กรมควบคุมโรค

เอกสารอ�างอิง1. ประกิต วาทีสาธกกิจ. ควันบุหรี่มือสองเรื่องใกล�ตัว. แหล�งข�อมูล http://www.ashthailand.or.th/th/informationcenter.

php?act=list_category เข�าถึงข�อมูลเมื่อมิถุนายน พ.ศ. 2552.2. http://www.helpwithsmoking.com/passive-smoking.php เข�าถึงข�อมูลเมื่อมิถุนายน พ.ศ.25553. U.S. Department of Health and Human Services. The Health Consequences of Involuntary Exposure to

Tobacco Smoke: A Report of the Surgeon General. Nation Center for Chronic Disease Prevention and Health Promotion, Office on Smoking and Health, CDC, 2006. แหล�งข�อมูล http://www.surgeongeneral.gov/library/reports/secondhandsmoke/fullreport.pdf เข�าถึงข�อมูลเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2555.

4. ศรัณญา เบญจกุล มณฑา เก�งการพานิช ลักขณา เติมศิริกุลชัย และณัฐพล เทศขยัน. สถานการณ�และแนวโน�มการบริโภคยาสูบของประชากรไทยอายุ 15 ป�ขึ้นไป ป� พ.ศ. 2534-2554. ปทุมธานี: โรงพิมพ�มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร�, 2555.

5. Bureau of Tobacco Control, Department of Disease Control, Ministry of Public Health, National Statistical Office (NSO) and Faculty of Public Health, Mahidol University. Global Adult Tobacco Survey (GATS): Thailand Country Report. Bangkok, Thailand, 2009.

6. Bureau of Tobacco Control, Department of Disease Control, Ministry of Public Health, National Statistical Office (NSO) and Faculty of Public Health, Mahidol University. Global Adult Tobacco Survey (GATS): Thailand Country Report. Bangkok, Thailand, 2012.

5 6ข�อมูลน�ารู�:

สถานการณ�การได�รับควันบุหรี่มือสองของประชากรไทย

ทารกแรกคลอดน้ําหนักตัวน�อยกว�าปกติ(< 2.5 กิโลกรัม)

64.9

90.0

90.7

82.4

69.2

58.5

94.994.2

65.5

87.3

91.2

84.3

65.5

58.6

0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100

โรคร�ายแรงใดๆ

โรคหัวใจ

หอบหืด/โรคปอดในเด็ก

มะเร็งปอด

โรคถุงลมโป�งพอง

คลอดก�อนกําหนด (28-34 สัปดาห�)

ร�อยละ

ป� 2552

ป� 2554

u คนไทยอายุ 15 ป�ขึ้นไป มีแนวโน�มสัมผัสควันบุหรี่ ในบ�านตนเองเพ��มขึ้นในช�วง 2 ป�ที่ผ�านมา

u คนไทยอายุ 15 ป�ขึ้นไป ที่อาศัยอยู�นอกเขตเทศบาล สัมผัสควันบุหรี่ ในบ�านตนเองมากกว�าผู�ที่อาศัยอยู� ในเขตเทศบาล และมีแนวโน�มเพ��มขึ้นในช�วง 2 ป�ที่ผ�านมา

100

90

80

70

60

50

40

30

20

10

0

ร�อยล

อนุญาตเฉพาะกรณีพิเศษ

อนุญาต

ไม�อนุญาตเลย

ไม�มีข�อห�ามใดๆ

ป� 2552

1.35.2

32.4

61.1

1.24.4

32.1

62.2

ป� 2554

ป� 2552

33.236.0

ป� 2554

40

35

30

25

20

15

10

5

0

ร�อยล

17.4 ล�านคน 19.5 ล�านคน

45

40

35

30

25

20

15

10

5

0

ร�อยล

ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล รวม

25.3 25.9

36.7

41.4

33.236.0

ป� 2552

ป� 2554

แผนภูมิที่ 1 ร�อยละของประชากรอายุ 15 ป�ขึ้นไปที่เชื่อว�าการได�รับควันบุหรี่มือสอง ก�อให�เกิดโรคร�ายแรงในคนที่ไม�สูบบุหรี่

แผนภูมิที่ 2 ร�อยละของประชากรอายุ 15 ป�ขึ้นไป จําแนกตามข�อห�ามการสูบบุหรี่ในบ�าน

แผนภูมิที่ 4 ร�อยละของประชากรอายุ 15 ป�ขึ้นไป ที่ได�รับควันบุหรี่มือสองในบ�านตนเอง อย�างน�อยเดือนละครั้ง ในรอบ 30 วันที่ผ�านมา จําแนกตามเขตการปกครอง

u การสูบบุหรี่ของครัวเรือนไทยป� 2554 ประเทศไทย มีจํานวนครัวเรือนรวมทั้งสิ้น 19.8 ล�านครัวเรือน

S 40.2% ของครัวเรือนไทยทั้งหมด มีสมาชิกอย�างน�อย 1 คน เป�นผู�สูบบุหรี่ป�จจ�บัน

(8.0 ล�านครัวเรือน)

S 81.1% ของครวัเรอืนทีม่สีมาชกิอย�างน�อย 1 คนเป�นผู�สบูบหุรีป่�จจ�บนั เป�นครวัเรอืนที่

ได�รับควันบุหรี่มือสองในบ�านอย�างน�อยเดือนละครั้ง (6.5 ล�านครัวเรือน)

S 24.1% ของครวัเรอืนทีม่สีมาชกิอย�างน�อย 1 คนเป�นผู�สบูบหุรีป่�จจ�บนั เป�นครวัเรอืนที่

มีสมาชิกอายุน�อยกว�า/เท�ากับ 5 ป� (1.9 ล�านครัวเรือน)

S 79.6% ของครวัเรอืนทีม่สีมาชกิอย�างน�อย 1 คนเป�นผู�สบูบหุรีป่�จจ�บนัและมสีมาชกิ

ครัวเรือนอายุน�อยกว�า/เท�ากับ 5 ป� เป�นครัวเรือนที่ได�รับควันบุหรี่มือสองในบ�าน

อย�างน�อยเดือนละครั้ง (1.5 ล�านครัวเรือน)

“เด็กไทยอายุน�อยกว�า/เท�ากับ 5 ป� ส�วนใหญ�สัมผัสควันบุหรี่มือสองในบ�านตนเอง”

u คนไทยส�วนใหญ�ไม�มี ข�อห�ามหรือกฎเกณฑ�ไม�ให�สูบบุหรี่ ในบ�านด�วยเหตุผลว�า “บ�านไม�มีผู�สูบบุหรี่”

ควันบุหรี่มือสองมีพิษภัยเพียงใด?

S บุหรี่ 1 มวน มีสารปร�งแต�ง จํานวน 599 ชนิดS เมื่อบุหรี่มีการเผาไหม� จะทําให�เกิดสารเคมีกว�า

4,000 ชนิด สารพิษ 250 ชนิด และสารก�อมะเร็งกว�า 60 ชนิด

S เมือ่สูดควนับหุรีเ่ข�าปอด สารก�อมะเรง็เหล�านีจ้ะถูกดดูซมึเข�าสู�กระแสเลอืดและไหลเวยีนไปทัว่ร�างกาย จนเป�นสาเหตุของการเจ็บป�วยและเสียชีวิตจาก 3 กลุ�มโรคหลัก ได�แก� 1) กลุ�มโรคมะเร็งของอวัยวะต�างๆ 2) กลุ�มโรคระบบทางเดินหายใจ และ 3) กลุ�มโรคระบบหลอดเลือดและหัวใจ ตลอดจนโรคที่เกิดกับมารดาและทารก เช�น แท�ง คลอดก�อนกําหนด ทารกแรกคลอดมีน้ําหนักตัวน�อยกว�า 2,500 กรัม เป�นต�น

“ไม�มีระดับความปลอดภัยของการสัมผัสควันบุหรี่”

สถานการณ�การได�รับควันบุหรี่มือสอง

u คนไทยส�วนใหญ� เชื่อว�าการได�รับควันบุหรี่มือสองก�อให�เกิดโรคร�ายแรงในคนที่ไม�สูบบุหรี่

2 3 4

แผนภูมิที่ 3 ร�อยละของประชากรอายุ 15 ป�ขึ้นไป ที่ได�รับควันบุหรี่มือสองในบ�านตนเอง อย�างน�อยเดือนละครั้ง ในรอบ 30 วันที่ผ�านมา