170
สรุปผลงานของ คณะกรรมาธิการการพลังงาน สภาผูแทนราษฎร ชุดที๒๓ / ระหวางวันที๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๑ ถึงวันที๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ จัดทําโดย กลุมงานคณะกรรมาธิการการพลังงาน สํานักกรรมาธิการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

สรุปผลงานของ

คณะกรรมาธิการการพลังงาน สภาผูแทนราษฎร ชุดที่ ๒๓ / ๑

ระหวางวนัที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๑ ถึงวันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒

จัดทําโดย กลุมงานคณะกรรมาธิการการพลังงาน สํานกักรรมาธิการ ๑

สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

Page 2: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

คํานํา

บทบัญญัติรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๓๕

ไดกําหนดใหสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา มีอํานาจเลือกสมาชิกของแตละสภาตั้งเปน

คณะกรรมาธิการสามัญ และมีอํานาจเลือกบุคคลผูเปนสมาชิกหรือมิไดเปนสมาชิกตั้งเปน

คณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อกระทํากิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยูใน

อํานาจหนาที่ของสภาผูแทนราษฎร แลวรายงานตอสภาผูแทนราษฎร ดังนั้น ในการประชุมสภา

ผูแทนราษฎร ชุดที่ ๒๓ ปที่ ๑ คร้ังที่ ๗ (สมัยสามัญ) เมื่อวันศุกรที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๑ ที่ประชุม

จึงมีมติต้ังคณะกรรมาธิการสามัญประจําสภาผูแทนราษฎร ตามขอบังคับการประชุมสภา

ผูแทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ ๘๒ จํานวน ๓๕ คณะ โดยคณะกรรมาธิการการพลังงานเปน

คณะกรรมาธิการสามัญ มีอํานาจหนาที่กระทํากิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ที่

เกี่ยวกับการบริหาร การพัฒนา การจัดหา การใช การอนุรักษ และผลกระทบจากการจัดหาและ

การใชพลังงาน ในคณะกรรมาธิการการพลังงาน ชุดที่ ๒๓/๑ ที่ผานมา ชวงระหวางวันที่ ๒๗

มิถุนายน ๒๕๕๑ ถึงวันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ คณะกรรมาธิการการพลังงานไดดําเนินการใน

เร่ืองตาง ๆ ตามอํานาจหนาที่ซึ่งไดสรุปเปนผลงานของคณะกรรมาธิการการพลังงาน โดยมี

วัตถุประสงคเพื่อเผยแพรผลงานและขอมูลการดําเนินงานของคณะกรรมาธิการการพลังงานตอ

สาธารณชน

สุดทายนี้ หวังเปนอยางยิ่งวาสรุปผลงานของคณะกรรมาธิการการพลังงานฉบับนี้

คงจะเปนประโยชนตอการศึกษาคนควาและใชเปนขอมูลอางอิงสําหรับผูสนใจเกี่ยวกับการ

ดําเนินงานและภารกิจของคณะกรรมาธิการการพลังงาน สภาผูแทนราษฎร ตอไป

ฝายเลขานุการ

กลุมงานคณะกรรมาธิการการพลังงาน

สํานักกรรมาธิการ ๑

Page 3: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

สารบัญ . หนา รายชื่อกรรมาธิการการพลังงาน

รายชื่อที่ปรึกษากิตติมศักดิ ์

รายชื่อที่ปรึกษา ผูชาํนาญการ และเลขานุการ ประจําคณะกรรมาธกิาร

รายชื่อฝายเลขานุการคณะกรรมาธิการ

อํานาจหนาทีข่องคณะกรรมาธิการการพลังงาน สภาผูแทนราษฏร ๑

การประชุมเร่ืองตางๆ ของคณะกรรมาธกิาร ๒

- คร้ังที่ ๑ เร่ืองพิจารณา การเลือกตั้งตําแหนงตาง ๆ ในคณะกรรมาธิการและ ๓

กําหนดวัน เวลา การประชุมของคณะกรรมาธิการ

- คร้ังที่ ๒ เร่ืองพิจารณา การเดินทางไปศึกษาดูงานตางประเทศ ๔

- คร้ังที่ ๓ เร่ืองพิจารณา สถานการณพลังงานของประเทศไทยและตางประเทศ ๕

- คร้ังที่ ๔ เร่ืองพิจารณา การจัดหาการผลิตและจําหนายพลังงานของประเทศไทย ๑๑

- คร้ังที่ ๕ เร่ืองพิจารณา สถานการณพลังงานไฟฟาในปจจุบันและแผนพัฒนา ๑๓

กําลังการผลิตไฟฟาของประเทศ

- คร้ังที่ ๖ เร่ืองพิจารณา ๑๔

- สถานภาพอุตสาหกรรมยานยนตและแนวโนมการพัฒนาพลังงานทางเลอืก

- โครงการ Eco car และแนวทางการพัฒนาในอนาคต

- คร้ังที่ ๗ เร่ืองพิจารณา ความปลอดภัยของกาซธรรมชาติสําหรับยานยนต ๒๓

- คร้ังที่ ๘ เร่ืองพิจารณา ๒๕

- สถานการณพลังงานทดแทนในปจจุบัน

- การบริหารงานของกระทรวงพลังงาน

- คร้ังที่ ๙ เร่ืองพิจารณา แนวทางการพัฒนาจักรยานยนตสําหรับน้ํามัน E ๘๕ ๓๓

- คร้ังที่ ๑๐ เร่ืองพิจารณา ๓๔

- การปรับแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟา เนื่องจากโครงการโรงไฟฟาใน

สปป. ลาว ๕ โครงการ เลื่อนออกไป

- ประมาณการคา Ft งวดเดือนตุลาคม ๒๕๕๑ – พฤษภาคม ๒๕๕๒

- คร้ังที่ ๑๑ เร่ืองพิจารณา การบริหารงานของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ใน ๓๗

หัวขอ ภาพรวมการดําเนินธุรกิจและแผนการลงทุนและหัวขอดาน

การวิจัยและพัฒนา

- คร้ังที่ ๑๒ เร่ืองพิจารณา กิจการการบริหารงานของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ๔๑

ในสวนของ ภาพรวมการดําเนินธุรกิจและแผนการลงทุน และดาน

การวิจัยและพัฒนา

Page 4: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

สารบัญ (ตอ) . หนา

- คร้ังที่ ๑๓ เร่ืองพิจารณา ๔๓

- นโยบายพลังงานทดแทนโดยใชน้ํามันปาลมดิบ

- โครงการพลังงานเชื้อเพลิงทางชีวภาพ

- คร้ังที่ ๑๔ เร่ืองพิจารณา ๔๕

- วิเคราะหแนวโนมราคาน้ํามันและผลกระทบจากราคาน้ํามันที่ปรับตัวลดลง

- ความคืบหนาปรับปรุงแผน PDP ของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

- คร้ังที่ ๑๕ เร่ืองพิจารณา ๔๘

- รายงานผลพิจารณาเรื่อง การสอบกรณีถังกาซ NGV ที่ติดตั้งในรถยนต

โดยสารระเบิดที่จังหวดัสมุทรปราการ ซึ่งคณะอนุกรรมาธิการศึกษา

ปญหาการใชกาซธรรมชาติกับรถยนตพิจารณาเสร็จแลว

- วิเคราะหแนวโนมราคาน้ํามันและผลกระทบจากราคาน้ํามันที่ปรับตัวลดลง

- คร้ังที่ ๑๖ เร่ืองพิจารณา ๕๐

- แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย (PDP ๒๐๐๗) และตนทุน

โครงสรางไฟฟาในอนาคต

- การศึกษาดูงานตางประเทศ

- คร้ังที่ ๑๗ เร่ืองพิจารณา ๕๒

- การจัดหาพื้นที่พัฒนาโครงการโรงไฟฟา

- การรับฟงความคิดเห็นผูประกอบการดานพลังงานทดแทน

- คร้ังที่ ๑๘ เร่ืองพิจารณา ๕๖

- การสงเสริมการใชน้ํามันไบโอดีเซล B๑๐๐ สําหรับยานยนต

- การเดินทางไปศึกษาดูงาน ณ ตางประเทศ

- รายงานผลการศึกษาของคณะอนุกรรมาธิการศึกษาปญหาการใช

กาซธรรมชาติกับรถยนต

- คร้ังที่ ๑๙ เร่ืองพิจารณา การสงเสริมการใชน้ํามันไบโอดีเซล B๑๐๐ สําหรับยานยนต ๕๙

- คร้ังที่ ๒๐ เร่ืองพิจารณา การกําหนดแนวทางการศึกษาดูงานภายในประเทศ และ ๖๑

การจัดสัมมนาของคณะกรรมาธิการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒

- คร้ังที่ ๒๑ เร่ืองพิจารณา สถานภาพ และปญหาการจัดตั้งโครงการโรงไฟฟาจากขยะ ๖๒

ของเทศบาล

- คร้ังที่ ๒๒ เร่ืองพิจารณา สถานภาพ และปญหาการจัดตั้งโครงการโรงไฟฟาจากขยะ ๖๔

ของเทศบาล

Page 5: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

สารบัญ (ตอ) . หนา

- คร้ังที่ ๒๓ เร่ืองพิจารณา มาตรการปองกันความผันผวนของราคาน้ํามันและ ๖๖

ผลประกอบการของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

- คร้ังที่ ๒๔ เร่ืองพิจารณา แนวทางและอนาคตของพลังงานทดแทน ๖๘

- คร้ังที่ ๒๕ เร่ืองพิจารณา ๗๓

- สถานภาพอุตสาหกรรมยานยนต และโครงการ Eco Car

- การสงเสริมการสงออกดานพลงังาน

- คร้ังที่ ๒๖ เร่ืองพิจารณา การสงเสริมการสงออกสนิคาดานพลังงาน พลังงานทดแทน ๗๕

และการบริหารจัดการผลผลิตทางการเกษตร

- คร้ังที่ ๒๗ เร่ืองพิจารณา การสงเสริมการสงออกสินคาดานพลังงาน พลังงานทดแทน ๗๖

และการบริหารจัดการผลผลิตทางการเกษตร

- คร้ังที่ ๒๘ เร่ืองพิจารณา สถานการณน้ํามนัปาลม การแทรกแซงราคาและการผลิต ๗๙

ไบโอดีเซล

- คร้ังที่ ๒๙ เร่ืองพิจารณา ปญหาการพัฒนาการผลิตไบโอดีเซลและปาลมน้ํามันราคา ๘๑

ตกต่ํา

- คร้ังที่ ๓๐ เร่ืองพิจารณา กรณีการนาํเสนอผลงานวจิัยแกสโซฮอลมีสารกอมะเรง็ ๘๓

- คร้ังที่ ๓๑ เร่ืองพิจารณา แนวทางการพัฒนาวิจัยเพื่อแกไขปญหามลพิษจากยานยนต ๘๕

ที่ใชพลังงานทดแทน

- คร้ังที่ ๓๒ เร่ืองพิจารณา ๘๘

- ระบบการขนสงกาซ LPG

- ปญหาในการดําเนินนโยบายพลังงานทดแทนในประเทศไทย

การพิจารณาศึกษาของคณะอนุกรรมาธิการในคณะกรรมาธิการการพลังงาน ๙๕

- คณะอนุกรรมาธิการศึกษาปญหาการใชกาซธรรมชาติกับรถยนต ๙๖

- คณะอนุกรรมาธิการการบรหิารกองทนุและการลงทนุดานพลงังานของรัฐ ๑๐๒

- คณะอนุกรรมาธิการพิจารณาการสงเสริมดานพลังงานทดแทน ๑๑๓

ศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ ๑๒๑

๑. ศึกษาดูงานการผลิตกระแสไฟฟาดวยพลงัน้าํแบบสูบกลับ ๑๒๒

๒. ศึกษาดูงานการใชไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยและกระบวนการผลติ ๑๒๕

แผงเซลลแสงอาทิตย

๓. ศึกษาดูงานการโครงการศึกษาความเปนไปไดของการปลูกพืชน้ํามนัและ ๑๒๗

พัฒนารูปแบบการผลิตพลงังานจากพืชแบบครบวงจรในพืน้ที่ตัวอยางเขตภาคเหนอื

๔. ศึกษาดูการผลิตไฟฟาพลังน้ําใชภาคในชมุชน ๑๒๙

Page 6: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

สารบัญ (ตอ) . หนา ๕. ศึกษาดูงานไบโอดีเซลชุมชน ๑๓๒

๖. ศึกษาดูงานการผลิตกระแสไฟฟาจากถานหิน ๑๓๓

๗. ศึกษาดูงานโรงแยกกาซธรรมชาต ิ ๑๓๗

๘. ศึกษาดูงานบริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และการผลิตไบโอดีเซลของ ๑๔๒

TOL บริษัทในเครือ

ศึกษาดูงานตางประเทศของคณะกรรมาธิการ ๑๔๕

๑. ศึกษาดูงานดานการพัฒนาการผลิตยานยนตไฮบริด ๑๔๖

๒. ศึกษาดูงานดานการผลิตไฟฟาจากพลังนวิเคลียร ๑๔๖

๓. ศึกษาดูงานดานการผลิตไฟฟาจากถานหนิ ๑๔๘

๔. ศึกษาดูงานดานการพัฒนากระบวนการขนสง การจัดเก็บ และการใชงาน ๑๔๘

กาซธรรมชาติเหลว

๕. ศึกษาดูงานดานความกาวหนาในการพฒันาพลังงานทดแทนและพลังงาน ๑๔๙

ทางเลือกของญี่ปุน

การจัดสัมมนาของคณะกรรมาธิการ ๑๕๑

๑. เผยแพรความรูรณรงคการใชพลังงานทดแทนในภูมิภาคตางๆ ๑๕๒

๒. เชิงวิชาการระดมความคิด ๑๕๔

Page 7: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

รายชื่อกรรมาธิการการพลังงาน (ชุดท่ี ๒๓ / ๑) สภาผูแทนราษฎร ปพุทธศักราช ๒๕๕๑

นายแพทยวรรณรัตน ชาญนุกลู

ประธานคณะกรรมาธิการ

นายไพโรจน ตันบรรจง นาวาตรีสธุรรม ระหงษ รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สอง

นายเฉลิมชาติ การญุ นายอลงกรณ พลบุตร รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สาม ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ

Page 8: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

นายพิกิฏ ศรีชนะ หมอมหลวงอภิมงคล โสณกุล โฆษกคณะกรรมาธิการ โฆษกคณะกรรมาธิการ

นายนิรมิต สุจาร ี นายปริญญา ฤกษหราย โฆษกคณะกรรมาธิการ กรรมาธิการ

นายมานะ โลหะวณิชย นายแพทยสุกิจ อัถโถปกรณ กรรมาธิการ กรรมาธิการ

Page 9: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

นายสุรจิตร ยนตตระกูล นาวาอากาศเอกอนุดิษฐ นาครทรรพ

กรรมาธิการ กรรมาธิการ

นายรัฐกิตติ์ ผาลีพฒัน นายสาคร เกี่ยวของ เลขานุการคณะกรรมาธิการ ผูชวยเลขานุการคณะกรรมาธิการ

Page 10: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

รายชื่อที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

นายเมธี เอือ้อภิญญกุล นายกิติชัย สินเจรญิกุล ที่ปรึกษากิตตมิศักดิ ์ ที่ปรึกษากิตตมิศักดิ ์

นายเชน สุขสวี นายเอกเพชร ชันซื่อ ที่ปรึกษากิตตมิศักดิ ์ ที่ปรึกษากิตตมิศักดิ ์

นายประเชญิ ติยะปญจนิตย นายประภัสสร วังศกาญจน ที่ปรึกษากิตตมิศักดิ ์ ที่ปรึกษากิตตมิศักดิ ์

นายวิจิตร ศรียรรยงวัฒน นายศุภฤกษ วิวัฒนรางกุล ที่ปรึกษากิตตมิศักดิ ์ ที่ปรึกษากิตตมิศักดิ ์

Page 11: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

นายรัชนิพล ภาคเดช นายอนุตร จาติกวณิช ที่ปรึกษากิตตมิศักดิ ์ ที่ปรึกษากิตตมิศักดิ ์

นายวิรัช พิมพะนติย นายวิสิทธิ์ พิทยาภรณ ที่ปรึกษากิตตมิศักดิ ์ ที่ปรึกษากิตตมิศักดิ ์

รองศาสตราจารย สมเกียรติ ศุภเดช

นายนพดล ภูเกาลวน

ที่ปรึกษากิตตมิศักดิ ์ ที่ปรึกษากิตตมิศักดิ ์

นางสาวรดามน เปลงปญญารัตน ที่ปรึกษากิตตมิศักดิ ์

Page 12: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

รายชื่อที่ปรึกษา ผูชํานาญการ และเลขานุการประจําคณะกรรมาธิการ

นายสมภพ ศักด์ิพันธพนม นายวิโรจน พุทธวิถี ที่ปรึกษาประจําคณะกรรมาธิการ ที่ปรึกษาประจําคณะกรรมาธิการ

ศาสตราจารย บัณฑิต เอื้ออาภรณ

รองศาสตราจารย พรชัย เหลืองอาภาพงศ

ผูชํานาญการประจําคณะกรรมาธิการ ผูชํานาญการประจําคณะกรรมาธิการ

นายสุทธิชัย ธรรมประมวล นายธนา พุฒรังษี ผูชํานาญการประจําคณะกรรมาธิการ ผูชํานาญการประจําคณะกรรมาธิการ

นาวาเอกสมัย ใจอินทร ผูชํานาญการประจําคณะกรรมาธิการ

Page 13: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

นายคํานวน สวางเพราะ นายภิรมย วิชัยศร เลขานุการประจําคณะกรรมาธิการ เลขานุการประจําคณะกรรมาธิการ

นายสันติภาพ เก่ียวของ นายสุขสันติ ์ ตั้งสะสม เลขานุการประจําคณะกรรมาธิการ เลขานุการประจําคณะกรรมาธิการ

นายพลกิตติ์ พรพงษศักด์ิ นายเอกเดช รติรันต เลขานุการประจําคณะกรรมาธิการ เลขานุการประจําคณะกรรมาธิการ

นายกฤตพงษ พัชรภิญโญพงศ นายปยะวิทย เจียงประดิษฐ เลขานุการประจําคณะกรรมาธิการ เลขานุการประจําคณะกรรมาธิการ

Page 14: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

นายวิศิษฎ ลีนุตพงษ นายธนาวุฒิ ภัทตรนกิร เลขานุการประจําคณะกรรมาธิการ เลขานุการประจําคณะกรรมาธิการ

นางสาวกัญสิตา สวัสดี นางสาววรารัตน เช่ียวชาญ เลขานุการประจําคณะกรรมาธิการ เลขานุการประจําคณะกรรมาธิการ

Page 15: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

รายชื่อฝายเลขานุการคณะกรรมาธิการ

นางสมถวิล จํานงนภรักษ

ผูอํานวยการกลุมงานคณะกรรมาธิการการพลังงาน

นายพิศณุ พลพืชน นางสาวธัญญรัตน มวงศิริ นายไกรสิทธิ์ ธัมมัญ ู

วิทยากร ๘ วิทยากร ๕ นิติกร ๔

นายนิพนธ เล็กใบ นางสาวสุวรรณา จันทรแดง นายเจรญิพร มูลวงศ นิติกร ๔ นิติกร ๓ นิติกร ๓

นางพิศเพลนิ สุขสถาน นางปาลิดา รวมอยู

เจาหนาที่ธุรการ ๕ เจาหนาที่บนัทกึขอมูล ๖

Page 16: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | อํานาจหนาที่ของคณะกรรมาธิการการพลังงาน

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมาธิการการพลังงาน สภาผูแทนราษฎร

คณะกรรมาธิการการพลังงาน สภาผูแทนราษฎร มีอํานาจหนาที่กระทํากิจการ พิจารณาสอบสวนหรือศึกษาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับการบริหาร การพัฒนา การจัดหา การใช การอนุรักษพลังงาน และผลกระทบจากการจัดหาและการใชพลังงาน

คณะกรรมาธิการมีหนาที่กระทํากิจกรรมหรือพิจารณาหรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยูในอํานาจหนาที่ของคณะกรรมาธิการในดานตาง ๆ แลวรายงานตอสภา คณะกรรมาธิการมีอํานาจเรยีกเอกสารจากบุคคลใด ๆ หรือเรียกบุคคลใด ๆ มาแถลงขอเท็จจริง หรือแสดงความคิดเห็นในเรื่องที่พิจารณาสอบสวนหรือศึกษาอยูดวยก็ไดตามแนวทางปฏิบัติ ปรากฏตามขอบังคับการประชุมสภาผูแทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ ๘๙ ขอ ๙๖ และขอ ๙๗ คือ

“ขอ ๘๙ การเรียกเอกสารจากบุคคลใด ๆ หรือเรียกบุคคลใด ๆ มาแถลงขอเท็จจริง

หรือแสดงความคิดเห็นในกิจการที่กระทําหรือในเรื่องที่พิจารณาสอบสวนหรือศึกษาอยู ใหทําเปนหนังสือลงลายมือช่ือประธานคณะกรรมาธิการ หรือรองประธานคณะกรรมาธิการผูปฏิบัติหนาที่แทนประธานคณะกรรมาธิการ”

“ขอ ๙๖ เมื่อคณะกรรมาธิการไดกระทํากิจการ พิจารณาสอบสวนหรือศึกษาเรื่องใด ๆ

ตามอํานาจหนาที่หรือตามที่สภามอบหมายเสร็จแลวใหรายงานตอสภา ในที่ประชุมสภา คณะกรรมาธิการมีสิทธิแถลง ช้ีแจง หรือแกไขเพิ่มเติมเกี่ยวกับการ

กระทําดังกลาวในวรรคหนึ่ง ในการนี้ คณะกรรมาธิการอาจมอบหมายใหบุคคลใด แถลงหรือช้ีแจงแทนก็ได เมื่อไดรับอนุญาตจากประธาน”

“ขอ ๙๗ ถาคณะกรรมาธิการเห็นวา มีขอสังเกตที่คณะรัฐมนตรี ศาล หรือองคกรตาม

รัฐธรรมนูญที่เกี่ยวของควรทราบหรือควรปฏิบัติก็ใหบันทึกขอสังเกตดังกลาวไวในรายงานของคณะกรรมาธิการเพื่อใหสภาพิจารณา”

Page 17: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

การประชมุพิจารณาเรื่องตางๆ ของคณะกรรมาธิการ

Page 18: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

ครั้งที่ ๑ วันพธุที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๕๑ ๑) เร่ืองพิจารณา

การเลือกตั้งตําแหนงตาง ๆ ในคณะกรรมาธิการและกําหนดวัน เวลา การประชุมของ

คณะกรรมาธิการ

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง (ไมมี)

๓) ประเด็นการพิจารณา การเลือกตั้งตําแหนงตาง ๆ ในคณะกรรมาธกิาร

๑. นายวรรณรัตน ชาญนุกูล เปนประธานคณะกรรมาธิการ

๒. นายไพโรจน ตันบรรจง เปนรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง

๓. นาวาตรี สุธรรม ระหงษ เปนรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สอง

๔. นายเฉลิมชาต ิ การุญ เปนรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สาม

๕. นายอลงกรณ พลบุตร เปนทีป่รึกษาคณะกรรมาธกิาร

๖. นายพิกิฏ ศรีชนะ เปนโฆษกคณะกรรมาธกิาร

๗. หมอมหลวงอภิมงคล โสณกุล เปนโฆษกคณะกรรมาธกิาร

๘. นายนิรมิต สุจารี เปนโฆษกคณะกรรมาธกิาร

๙. นายรัฐกิตติ์ ผาลีพัฒน เปนเลขานุการคณะกรรมาธกิาร

๑๐. นายสาคร เกีย่วของ เปนผูชวยเลขานุการคณะกรรมาธิการ

การพจิารณากําหนดวัน เวลา การประชุมของคณะกรรมาธิการ ที่ประชุมมมีติกําหนดวนัประชุมของคณะกรรมาธิการเปนประจําทุกวนัพุธ เวลา

๐๙.๓๐ นาฬกิา ของทุกสปัดาห

๔) มติที่ประชุม

ต้ังตําแหนงตาง ๆ ในคณะกรรมาธิการและกําหนดวัน เวลาประชุมของ

คณะกรรมาธกิาร

Page 19: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

ครั้งที่ ๒ วันพธุที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๑ ๑) เร่ืองพิจารณา

การเดินทางไปศึกษาดูงานตางประเทศ

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง (ไมมี)

๓) ประเด็นการพิจารณา

พิจารณากรอบการทํางานของคณะกรรมาธิการเรื่อง การศึกษาดูงาน ประธาน

คณะกรรมาธิการไดมอบหมายให นายอลงกรณ พลบุตร ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ นายไพโรจน

ตันบรรจง รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง และนาวาตรี สุธรรม ระหงษ รองประธาน

คณะกรรมาธิการ คนที่สอง เปนผูพิจารณาการเดินทางไปศึกษาดูงาน ณ ตางประเทศ ซึ่งสรุปไดวาการ

เดินทางไปศึกษาดูงานดานพลังงานชวงระยะเวลาที่เหมาะสมอยูระหวางวันที่ ๒๖ กรกฎาคม ถึงวันที่ ๔

สิงหาคม ๒๕๕๑ สถานที่ที่เหมาะสม ควรจะศึกษาดูงานมี ๒ ประเทศ คือ ประเทศสหรัฐอเมริกา และ

ประเทศญี่ปุน การศึกษาดูงานจะเกี่ยวกับเร่ืองการผลิตรถยนตใชพลังงานทดแทน การใช LNG LPG กาซ

ธรรมชาติ โรงไฟฟานิวเคลียร และโรงไฟฟาถานหิน

๔) มติที่ประชุม

การเดินทางไปศึกษาดูงานตางประเทศ

คณะกรรมาธิการพิจารณาวาจะสามารถดําเนินการไดทันเวลาหรือไม และหากไม

สามารถดําเนินการไปดูงาน ณ ประเทศสหรัฐอเมริกาไดทันเวลาก็ดําเนินการเรื่อง การศึกษาดูงาน ณ

ประเทศญี่ปุนแทนใหฝายเลขานุการดําเนินการตอไป

Page 20: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

ครั้งที่ ๓ วันพุธที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๑ ๑) เร่ืองพิจารณา

- สถานการณพลังงานของประเทศไทยและตางประเทศ

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

- การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

- กระทรวงพลังงาน

- สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

๓) ประเด็นการพิจารณา

ประเทศไทยมีประชากรประมาณ ๖๓ ลานคน มีปริมาณการใชพลังงานในป พ.ศ.

๒๕๕๐ โดยเฉลี่ยมีการใชพลังงานทุกประเภทเทียบเทาน้ํามันดิบ (เทียบคาความรอน) อยูที่ ๑.๖ ลาน

บารเรลตอวัน (๑ บารเรลเทากับ ๑๕๙ ลิตร) มีมูลคาการใชพลังงานประมาณ ๑.๔๘ ลานลานบาท คิด

เปนรอยละ ๑๗ ของรายไดประชาชาติ มีการนําเขาพลังงานรอยละ ๖๔ ของปริมาณการใชพลังงาน

ทั้งหมดของประเทศ

ประเทศไทยมีโรงกลั่นน้ํามัน ๗ โรง กําลังการกลั่นประมาณ ๑.๐๕ ลานบารเรลตอวัน ป

พ.ศ. ๒๕๕๐ ประเทศมีสัดสวนการใชน้ํามันอยูที่รอยละ ๔๒ ของปริมาณการใชพลังงานของประเทศ

หรือประมาณ ๖.๕ แสนตอวัน ประเทศไทยสามารถผลิตน้ํามันดิบไดเองประมาณ ๑.๓ แสนบารเรลตอ

วัน และนําเขาประมาณ ๘-๙ แสนบารเรลตอวันผานกระบวนการกลั่นและใชในประเทศ ประมาณ ๖.๕

แสนบารเรลตอวัน ที่เหลือสงออกไปยังตางประเทศ

กาซธรรมชาติในป พ.ศ. ๒๕๕๐ ประเทศไทยมีปริมาณการใชอยูที่รอยละ ๗๐ ถึง ๗๕

หรือ ๓,๗๐๐ ลานลูกบาศกฟุตตอวัน ซึ่งผลิตไดเองในอาวไทยและนําเขาจากประเทศพมา ๑,๑๐๐ ลาน

ลูกบาศกฟุตตอวัน มีปริมารการใชเพิ่มข้ึนรอยละ ๑๐ – ๑๒ ตอป คาดวาในอีก ๔ ป ขางหนาจะมี

ปริมาณการใชกาซธรรมชาติมากถึง ๕,๐๐๐ ลานลูกบาศกฟุตตอวัน

นโยบายของกระทรวงพลังงาน คือการสรางความมั่นคงดานพลังงานดวยการจัดหาพลังงาน

ใหเพียงพอตอการพัฒนาประเทศ สงเสริมใหมีการกํากับดูแลกิจการพลังงานใหมีราคาที่เปนธรรม

สงเสริมพัฒนาพลังงานทดแทนทุกรูปแบบ เพื่อเปนทางเลือกที่ทดแทนน้ํามันไดแก แกสโซฮอล ๙๕, ๙๑ (E

๑๐) และแกสโซฮอล E๒๐ ผลักดันใหเกิดการใชเพิ่มข้ึน ในป พ.ศ. ๒๕๕๑ และในโอกาสหนาอาจมีการ

พัฒนาสู E๘๕ และสงเสริมการประหยัดพลังงานอยางจริงจังและตอเนื่อง และสนับสนุนการใชพลังงาน

อยางมีประสิทธิภาพ

แหลงพลังงานในการผลิตกระแสไฟฟา การผลิตไฟฟาดวยพลังน้ําและถานหินลิกไนต เปน

ตนทุนที่เหมาะสมมากที่สุด โดยพลังน้ําฟรีไมเสียคาใชจาย ถานหินลิกไนตราคาไมผูกติดกับน้ํามัน และ

ราคาถูกกวาน้ํามัน ๒ – ๓ เทา กาซธรรมชาติ น้ํามันเตาและดีเซลตอไปขางหนาไมเหมาะนํามาผลิตไฟฟา

Page 21: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

เพราะราคาจะสูงขึ้นมาก ปจจุบันทั่วโลกเริ่มใหความสนใจการผลิตไฟฟาดวยพลังงานนิวเคลียร แมตนทุน

คากอสรางสูงแตใชเชื้อเพลิงนอย คาดวาในอีก ๑๓ ปขางหนาประเทศไทยอาจตองใชพลังงานนิวเคลียรใน

การผลิตไฟฟา

ที่ประชุมซักถามผูแทนจากกระทรวงพลังงานสรุปได ดังนี้

๑. การนําเขาน้ํามันดีเซลจากประเทศรัสเซีย คุณภาพน้ํามันของประเทศรัสเซีย

เทียบเทาน้ํามันดีเซลในไทยเมื่อ ๕ ปกอน มีกํามะถันในปริมาณมาก แตราคาถูกกวาที่ไทยใชอยูในปจจุบัน

ถึง ๘ บาท หากมีการนําเขามาใชในไทยกระทรวงพลังงานมีแนวทางในการพิจารณาอยางไร

๒. ปริมาณความตองการใชไฟฟาใหประเทศเพิ่มมากขึ้น กระทรวงพลังงานมี

แผนการผลิต การจัดหาพลังงานไฟฟาอยางไร และไดมีการชี้แจงทําความเขาใจแกประชาชนถึงความ

ตองการใชไฟฟาที่เพิ่มข้ึน ความจําเปนตองมีการสรางโรงไฟฟาหรือไม

๓. การสรางโรงไฟฟานิวเคลียรสําหรับประเทศไทยมีความเปนไปไดหรือไม การนํา

กาซธรรมชาติมาใชในภาคการขนสงมีเพียงพอความตองการหรือไม

๔. โครงสรางราคาน้ํามันเชื้อเพลิงมีโครงสรางอยางไร

๕. กระทรวงพลังงานมีนโยบายสงเสริมพลังงานทดแทนอยางไร มีการสนับสนุน

วัตถุดิบและเทคโนโลยีในการผลิตพลังงานทดแทนหรือไม

๖. อัตราคาไฟฟามีความสําคัญตอการลงทุนของผูประกอบการในประเทศไทย แต

การสรางโรงไฟฟาเพิ่มเพื่อสนองตอความตองการทําไดยาก เนื่องจากการตอตานจากภาคประชาชน และ

กระทรวงพลังงานมีการชี้แจงทําความเขาใจกับประชาชนในเรื่องนี้หรือไม

ผูแทนจากกระทรวงพลังงานตอบขอซักถามสรุปได ดังนี้

๑. การนําเขาน้ํามันเชื้อเพลิง ตองมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กระทรวงพลังงาน

กําหนดเทานั้น การนําเขาน้ํามันที่มีคุณภาพต่ํากวามาตรฐานที่กําหนด ตองมีการขออนุญาตตอกระทรวง

พลังงาน และตองนํามาใชในกิจการที่อนุญาตไวเทานั้น ที่ผานมามีการอนุญาตใหนําเขานํามันที่มี

คุณภาพต่ํากวาที่กําหนดมาใชในทะเลไดเทานั้น โดยมีหนวยงานราชการรับผิดชอบดูแลการจําหนายและ

ใชในทะเลเทานั้น สําหรับการนําเขาน้ํามันดีเซลจากประเทศรัสเซียขณะนี้อยูระหวางการตรวจสอบ

รายละเอียดและคุณภาพของน้ํามัน ยังไมมีการอนุญาตใหนําเขาแตอยางไร

๒. ปจจุบันประเทศไทยมีการใชกาซธรรมชาติในการผลิตพลังงานไฟฟาประมาณ

รอยละ ๗๕ ถานหินลิกไนต ประมาณรอยละ ๑๙ พลังน้ํา ประมาณรอยละ ๕ พลังงานทดแทน ประมาณ

รอยละ ๑ สัดสวนการใชกาซธรรมชาติผลิตไฟฟาในประเทศไทยเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ถือวาอยูใน

ระดับสัดสวนที่สูง กระทรวงพลังงานมีนโยบายในอีก ๑๕ ป ขางหนาจะลดสัดสวนการใชกาซธรรมชาติให

Page 22: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

อยูในประมาณรอยละ ๖๒ เพื่อกระจายความเสี่ยงดานเชื้อเพลิง และเพิ่มการผลิตไฟฟาดวยพลังงาน

นิวเคลียรประมาณรอยละ ๑๐ ซึ่งขณะนี้อยูระหวางการศึกษาถึงความเปนไปได

กาซธรรมชาติสามารถผลิตไดเองภายในประเทศ และมีการนําเขาจากประเทศพมา

ประมาณ ๑,๑๐๐ ลูกบาศกฟุตตอวัน มาจาก ๒ แหลง คือ แหลงยาดานา และเยตากุน

๓. พลังงานนิวเคลียรในการผลิตไฟฟา คือใชเชื้อเพลิงยูเรเนียมผานกระบวนการ

เสริมสมรรถนะ (Enrichment) ใหมีความเขมขนของยูเรเนียม -๒๓๕ ประมาณรอยละ ๓ – ๕ แตการสราง

ระเบิดปรมาณูตองผานกระบวนการเสริมสมรรถนะเพิ่มความเขมขนประมาณรอยละรอย เพื่อกระจาย

ความเสี่ยงของแหลงเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟา โรงฟานิวเคลียรปจจุบันมี ๓ ประเภท คือ ปฏิกรณแบบน้ํา

เดือด ปฏิกรณแบบแคนดู โดยระบบที่ใชมากที่สุด คือ ปฏิกรณแบบน้ําอัดความดัน มีระบบการทํางาน ใช

เชื้อเพลิงยูเรเนียมผานกระบวนการเสริมสมรรถนะแตกตัวเปนความรอนใชน้ําเปนตัวพาความรอนไปยัง

เครื่องกําเนิดไอน้ําเพื่อปนกังหันซึ่งตอกับเครื่องกําเนิดไฟฟา

เปรียบเทียบเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟา ถานหิน ๑ กิโลกรัม สามารถผลิตไฟฟาได

๓ กิโลวัตต กาซธรรมชาติ ๑ กิโลกรัม (โดยการเทียบคาความรอน) สามารถผลิตไฟฟาได ๖ กิโลวัตต

พลังงานนิวเคลียร ใชเชื้อเพลิงยูเรเนียม – ๒๓๕ เสริมสมรรถนะ ๑ กิโลกรัม ผลิตไฟฟา ๓๐๐,๐๐๐

กิโลวัตต

สําหรับการใชกาซเอ็นจีวี (NGV) ในภาคการขนสงไดต้ังเปาหมายภายในปนี้

๑๒๐,๐๐๐ คันโดยจะใชกาซเอ็นจีวี (NGV) ประมาณ ๙๐ ลานลูกบาศกฟุตตอวัน การใช LPG กับ

ภาคขนสงกระทรวงพลังงานมิไดมีนโยบายในเรื่องนี้แตเนื่องจากน้ํามันราคาสูงขึ้นคนสวนใหญจึงหันมา

ดัดแปลงรถยนตใชกับ LPG ซึ่งมีราคาถูกกวา ปจจุบันนี้วิธีการที่จะผลักดันใหเลิกใช LPG ในภาคการ

ขนสงคือปรับราคาใหสูงและเพื่อใหหันมาใช NGV ดวย

๔. โครงสรางราคาเชื้อเพลิง แยกได ๓ สวน ไดแก ๑. ผลิตจากน้ํามันทั้งหมด

คือ เบนซิน ๙๕ เบนซิน ๙๑ ๒. น้ํามันผสมเอทานอล คือ แกสโซฮอล ๙๕, ๙๑ (E ๑๐) และ แกส

โซฮอล E ๒๐ และในอนาคตอาจมีการพัฒนาสู E ๘๕ และ ๓. กาซเอ็นจีวี (NGV) การแยกเชื้อเพลิง

ออกเปน ๓ สวน เพราะเครื่องยนตในประเทศไทยมีหลายกลุม คือ ๑. กลุมที่ใชเบนซินเทานั้น เชน

รถยนตกอนป พ.ศ. ๒๕๓๘ ๒. กลุมที่ใชเบนซินหรือแกสโซฮอล ๙๕, ๙๑ (E ๑๐) แกสโซฮอล E ๒๐

และในอนาคต E ๘๕ และ ๓. กลุมที่ใชกาซหรือน้ํามัน ดวยลักษณะความตองการใชเชื้อเพลิงที่

หลากหลาย โครงสรางราคาน้ํามันจึงมีความตางกัน โดยโครงสรางราคาน้ํามันจะประกอบดวย ราคาหนา

โรงกลั่นน้ํามัน ภาษีสรรพสามิต (อัตราคงที่ เชน เบนซินออกเทน ๙๕ เก็บภาษีสรรพสามิต ๓.๖๘๕๐

บาทตอลิตร) ภาษีทองถิ่น (อัตรารอยละ ๑๐ ของภาษีสรรพสามิต) กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง (เบนซินเก็บ

ในอัตรา ๓.๔๕ บาทตอลิตร แกสโซฮอลเก็บในอัตรา ๒๕ สตางค) ภาษีกองทุนอนุรักษพลังงาน

(อัตรา ๒๕ สตางคตอลิตร) และภาษีมูลคาเพิ่ม

Page 23: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๕. พลังงานทดแทนรัฐบาลไดมีการสงเสริมอยางตอเนื่อง ในชวง ๓-๔ ป ที่ผานมา

นี้ ประเทศไทยมีโรงไฟฟาพลังงานทดแทนสามารถผลิตไฟฟาได ๔,๐๐๐ เมกะวัตต ในปนี้กระทรวง

พลังงานมีนโยบายสงเสริมพัฒนาพลังงานทดแทนทุกรูปแบบโดยจะเนนการพัฒนาพลังงานทางเลือกที่ใช

ทดแทนน้ํามัน เชน แกสโซฮอล ๙๕, ๙๑ (E ๑๐) แกสโซฮอล E ๒๐ นอกจากนี้ยังมีการสงเสริมพลังงาน

ทดแทนดานอื่น ๆ โดยมีการจัดทําแผนแมบทการพัฒนาพลังงานทดแทน (REDP) รองรับในอีก ๑๕ ป

ขางหนาเพื่อเปนการพัฒนาพลังงานทดแทนที่ครบวงจร เร่ิมตนใชโครงการนํารองในทุกจังหวัด จังหวัดละ

๑ แหง

๖. การประชาสัมพันธและการใหขอมูลกับประชาชนที่ถูกตองเกี่ยวกับการกอสราง

โรงไฟฟา ปริมาณความตองการใชไฟฟา กระทรวงพลังงานไดมีการดําเนินการอยางตอเนื่อง เชน จัดใหมี

กองทุนพัฒนาพื้นที่รอบโรงไฟฟามีคณะกรรมการไตรภาคีรวมดูแลกิจการโรงไฟฟาและสิ่งแวดลอมรอบ

โรงไฟฟา

ความปลอดภัยของโรงไฟฟานิวเคลียรที่มีความปลอดภัยสูงมีสํานักงานปรมาณู

เพื่อสันติคอยดูแลและอนุญาตใหสรางโรงไฟฟา ซึ่งจะตองมีระบบความปลอดภัยสูง มีองคกรอิสระควบคุม

โรงไฟฟาไดทันทีที่จัดตั้งขึ้นโดยกฎหมาย คือ กิจการของโรงไฟฟานิวเคลียรจะตองมีการออกกฎหมาย

รองรับการประกอบกิจการไฟฟา ความปลอดภัย ความมั่นคงและสิ่งแวดลอม

โรงไฟฟานิวเคลียร ปจจุบันไดมีการจัดตั้งสํานักโครงการผลิตไฟฟาจากพลังงาน

นิวเคลียรในสํานักงานปลัดกระทรวงพลังงาน ทําหนาที่ศึกษาดานเทคโนโลยี ที่ต้ังโรงไฟฟา การพัฒนา

บุคลากร การฝกอบรม ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

ผูแทนจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ชี้แจง

และใหขอมูลตอคณะกรรมาธิการ ดังนี้

ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๐ พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔

กําหนดใหความสําคัญกับความมั่นคงทางดานพลังงานเปนยุทธศาสตรขนาดใหญ โดยคณะกรรมการ

พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดทําการศึกษา ตรวจสอบ ความเสี่ยงของประเทศไทยกับเศรษฐกิจ

โลกในเรื่องพลังงานพบวาประเทศไทยมีปริมาณการใชพลังงานสูงกวาความสามารถของการผลิต

ภายในประเทศ ทําใหวิกฤตการณพลังงานสงผลกระทบโดยตรงตอประเทศไทยโดยเฉพาะราคาน้ํามันที่

เพิ่มสูงขึ้นประเทศไทยมีการนําเขาพลังงานในป พ.ศ. ๒๕๔๔ – ๒๕๔๗ ประมาณรอยละ ๖๔.๓ ป พ.ศ.

๒๕๔๘ – ๒๕๕๐ ประมาณรอยละ ๖๓.๒ ของปริมาณพลังงานที่ใชภายในประเทศซึ่งมีสัดสวนการ

นําเขาที่ลดลงเนื่องจากมีการผลิตพลังงานทดแทนภายในประเทศเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น ยุทธศาสตรดาน

พลังงานจะเนนการสงเสริมพัฒนาพลังงานทดแทนทุกรูปแบบเพื่อเปนทางเลือกแกประชาชนตามแนวทาง

Page 24: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

เศรษฐกิจพอเพียงโดยจะเนนการพัฒนาพลังงานทางเลือกที่ใชทดแทนน้ํามันสงเสริมการประหยัดพลังงาน

และการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพในภาคการผลิต ภาคบริการและภาคประชาชน

การกําหนดยุทธศาสตรดานพลังงานไดพิจารณาโครงสรางการใชพลังงานของ

ประเทศภาคอุตสาหกรรมมีปริมาณการใชอยูที่ รอยละ ๓๗ ภาคการขนสงมีปริมาณการใชอยูที่ รอยละ

๓๖ และภาคครัวเรือน การคา การเกษตรและอื่น ๆ ประมาณรอยละ ๒๗ ในภาคการขนสงซึ่งมี

ความสําคัญตอตนทุนของสินคา คาครองชีพ จําเปนตองพัฒนาระบบการคมนาคมขนสงใชนโยบายขนสง

จากระบบลอเปนระบบรางเพื่อลดตนทุนคาใชจายและสงเสริมใหมีการผลิตพลังงานทดแทนมากขึ้น

สนับสนุนการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพในภาคการผลิต ภาคบริการและภาคประชาชน

ที่ประชุมซักถาม ดังนี้

๑. ปริมาณการใชพลังงานของตางประเทศเมื่อเทียบกับประเทศไทยหลังมีสัดสวน

การใชอยางไรโดยเทียบกับรายไดประชาชาติ

๒. การสงเสริมพัฒนาพลังงานทดแทน สงเสริมการปลูกพืชพลังงาน สํานักงาน

คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไดมีการกําหนดสัดสวนการปลูกพืชพลังงานและพืช

อาหารอยางไร

๓. การกอสรางโรงไฟฟานิวเคลียร คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม

แหงชาติมีนโยบายในเรื่องนี้อยางไร มีการกําหนดไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติหรือไม

ผูแทนจากสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ตอบ

ขอซักถาม ดังนี้

๑. ปริมาณการใชพลังงานในกลุมประเทศที่พัฒนาแลว เชน ในยุโรป อเมริกา มี

การใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพมากกวาประเทศที่กําลังพัฒนาอยางเชน ไทย จีน และความตองการ

ดานพลังงานของกลุมประเทศกําลังพัฒนาอยูในระดับที่สูงขึ้นเปนลําดับโดยประเทศไทยมีสัดสวนการ

ขยายตัวดานพลังงานในป พ.ศ. ๒๕๔๔ – ๒๕๔๘ อยูที่รอยละ ๑.๔ และป พ.ศ. ๒๕๔๘ – ๒๕๕๐ อยูทีร่อย

ละ ๐.๗ ซึ่งจะสงรายละเอียดเปนเอกสารตอคณะกรรมาธิการในโอกาสตอไป

๒. คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดมีการศึกษาในเรื่องนี้

ดวย โดยไดสอบถามไปยังกระทรวงพลังงานและกระทรวงเกษตรและสหกรณ เพื่อหาขอมูลมาศึกษา

รวมกัน

๓. ตามแผนพลังงานของกระทรวงพลังงานไดมีการกําหนดเรื่องโรงไฟฟานิวเคลียร

เปนแผนระยะยาว ซึ่งจะตองมีการทําความเขาใจกับประชาชนโดยตองแสดงใหเห็นวามีการพยายามใช

พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกทุกรูปแบบแลว แตความตองการดานพลังงานยังมีสูงจําเปนตอง

Page 25: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๑๐

พิจารณาการสรางโรงไฟฟานิวเคลียร หากมีการทําความเขาใจกับประชาชนอยางตอเนื่องแลวการตอตาน

จากภาคประชาชนก็จะลดลง

๔) มติที่ประชุม / ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ (ไมมี)

Page 26: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๑๑

ครั้งที่ ๔ วันพุธที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๑ ๑) เร่ืองพิจารณา

การจัดหาการผลิตและจําหนายพลังงานของประเทศไทย

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

๓) ประเด็นการพิจารณา

สถานการณพลังงานของประเทศไทย การใชพลังงานสวนใหญอยูที่ภาคขนสงและ

ภาคอุตสาหกรรม ซึ่งพลังงานหลักที่ใชคือ พลังงานน้ํามัน ประเทศไทยมีการใชพลังงานขั้นตนเชิงพาณิชย

จากน้ํามัน ๔๒% กาซธรรมชาติ ๓๘% ถานหิน, ลิกไนต ๑๗% และพลังงานน้ํา ๓% คิดเปนมูลคาการใช

พลังงานอยูที่ ๑,๖๐๒ บารเรลตอวัน โดยในป พ.ศ. ๒๕๕๐ มีมูลคาการนําเขาพลังงานอยูที่ ๙ แสนลาน

ลานบาท

ดานการจัดหา การผลิตและจําหนายพลังงานของประเทศไทย ประเทศไทยมีการนําเขา

น้ํามันดิบจากตางประเทศอยูที่ ๘๐๓,๐๐๐ บารเรลตอวัน หรือคิดเปน ๘๖% และสามารถผลิตน้ํามันไดเอง

ภายในประเทศ คิดเปน ๑๔% ซึ่งปจจุบัน บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) มีโรงกลั่นน้ํามันทั้งหมด ๗ โรง

มีกําลังการกลั่นรวม ๑,๑๖๒ ลานบารเรลตอวัน โครงขายการจําหนายน้ํามันทั่วประเทศ ในป พ.ศ. ๒๕๕๐

บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) มีคลังน้ํามัน ๑๘ แหง คลังกาซธรรมชาติเหลว LPG ๒ แหง คลังน้ํามัน

อากาศยาน ๑๐ แหง ทาเรือขนสงน้ํามันและกาซธรรมชาติ ๒ แหง สถานที่จําหนายน้ํามัน ๑,๑๘๖ แหง

และสถานีจําหนายกาซธรรมชาติเหลว LPG) ๓๗ แหง ทั่วประเทศ

ดานการจัดหา การผลิตและจําหนายกาซธรรมชาติ ปจจุบันประเทศไทยจัดหากาซธรรมชาติ

จากภายในประเทศ ๒,๘๓๕ ลานลูกบาศกฟุตตอวัน หรือเทียบเทา ๗๗% และมีการนําเขาจากประเทศ

พมา ๘,๒๘๐ ลานลูกบาศกฟุตตอวัน หรือเทียบเทา ๒๓% ซึ่งกาซธรรมชาติสวนใหญที่จัดหาไดจะใชใน

ภาคไฟฟา ๗๒% ใชเปนผลิตภัณฑโรงแยกกาซธรรมชาติ ๑๗% และใชในภาคอุตสาหกรรม ๑๐% ซึ่ง

ปจจุ บันไดมีการขยายระบบทอจัดจําหนายกาซธรรมชาติ เพื่อสงเสริมการใชกาซธรรมชาติใน

ภาคอุตสาหกรรมและภาคขนสง ซึ่งมีการขยายระบบทอจัดจําหนายทั้งหมด ๓,๕๒๕ กิโลเมตร คิดเปน

กําลังการจัดสง ๔,๒๔๐ ลานลูกบาศกฟุตตอวัน

โครงสรางราคาพลังงานของประเทศ แบงได ๒ ประเภท กลาวคือ

๑. โครงสรางราคาน้ํามัน

โครงสรางราคาน้ํามันของประเทศไทยมีการอางอิงราคาของประเทศสิงคโปร เนื่องจากการ

กําหนดราคาน้ํามัน ณ โรงกลั่นของประเทศไทยใชเกณฑอางอิงราคาน้ํามันสําเร็จรูปที่ซื้อขายกันใน

ตลาดโลกที่ต้ังอยูที่ประเทศสิงคโปร ซึ่งเปนตัวเลขราคาที่ผูคาน้ํามันจากประเทศตาง ๆ ในแถบเอเชียเขาไป

ตกลงซื้อขายผานตลาดกลางประเทศสิงคโปร จึงเปนศูนยกลางซื้อขายน้ํามันระหวางประเทศที่สําคัญที่สุด

Page 27: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๑๒

ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกไกลและยังเปนที่ต้ังของสํานักงานของตัวแทนบริษัทน้ํามันรายใหญทั่วโลกและ

มีปริมาณการซื้อขายสูงเชนเดียวกับตลาดยุโรปและสหรัฐอเมริกา

๒. ราคาและสถานการณกาซหุงตม

ราคากาซหุงตมในประเทศไทยมีราคาขายปลีกอยูที่ ๑๘.๑๓ บาทตอกิโลกรัม ซึ่งมีราคาถูก

กวาประเทศเพื่อนบาน เนื่องจากภาครัฐเขาควบคุมราคากาซหุงตมทําใหความตองการการใชกาซหุงตม

เพิ่มสูงขึ้น โดยเมื่อเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๑ มีปริมาณการใชกาซหุงตมสูงถึง ๖๒,๙๐๐ ตัน และมีปริมาณ

กาซธรรมชาติเหลว (LPG) คงคลังลดลง ทําใหตองมีการนําเขาจากตางประเทศเพิ่มข้ึน

ดานพลังงานทางเลือก การใช NGV (Natural Gas Vehicles) ไดรับการสงเสริมการใชเปน

พลังงานทางเลือกและสนับสนุนใหมีการใชทดแทนน้ํามัน เพื่อลดปญหาการนําเขาน้ํามันดิบ และคาดวาใน

ป พ.ศ. ๒๕๕๕ จะสามารถใช NGV เพื่อทดแทนน้ํามันไดถึง ๒๐% นอกจากนี้มีการสงเสริมการใชแกส

โซฮอลและการใชไบโอดีเซล เนื่องจากประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรมมีปริมาณผลผลิตของออยและ

มันสําปะหลังเพียงพอตอการนํามาผลิตเปนเอทานอล โดยกําหนดราคาขายปลีกน้ํามันแกสโซฮอลใหมี

ราคาถูกกวาน้ํามันเบนซิน และภาครัฐไดหาแนวทางในการสงเสริมการใชไบโอดีเซล โดยกําหนดราคาขาย

ปลีกน้ํามันไบโอดีเซลใหถูกวาน้ํามันดีเซล ๐.๕ – ๑ บาทตอลิตร ซึ่งบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

ไดจัดเตรียมความพรอมของสถานีบริการในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในการจําหนายน้ํามันแกส

โซฮอลและน้ํามันไบโอดีเซลใหเพียงพอตอความตองการของประชาชน

๔) มติที่ประชุม / ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ (ไมมี)

Page 28: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๑๓

ครั้งที่ ๕ วันพุธที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๕๑ ๑) เร่ืองพิจารณา สถานการณพลังงานไฟฟาในปจจุบันและแผนพัฒนากําลังการผลิต

ไฟฟาของประเทศ

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

- การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

๓) ประเด็นการพิจารณา

สถานการณพลังงานไฟฟาในปจจุบันและแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟาของประเทศ

๑. สถานการณไฟฟา ต้ังแตเดือนมกราคม – เดือนมิถุนายน ๒๕๕๑ มีกําลังผลิตติดตั้ง

รวม ๓๐,๖๖๔.๓ เมกะวัตต การผลิตพลังงานไฟฟาโดยมีความตองการพลังงานไฟฟารวมอยูที่ ๗๕,๑๓๙

ลานหนวย เชื้อเพลิงที่ใชในการผลิตไฟฟาโดยสวนใหญมาจากกาซธรรมชาติถึง ๖๗.๘% และมีสถิติความ

ตองการไฟฟาในป พ.ศ. ๒๕๕๐ มาจากภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ ภาคที่อยูอาศัย และลูกคาอื่น ๆ

๑๓๓,๑๓๒ ลานหนวย โดยการใชพลังงานไฟฟาสวนใหญอยูที่ภาคอุตสาหกรรม ภาคธรุกจิ ภาคทีอ่ยูอาศยั

และลูกคาอื่น ๆ ๑๓๓,๑๓๒ ลานหนวย มีการใชพลังงานไฟฟาสวนใหญอยูที่ภาคอุตสาหกรรม

๒. แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย (PDP ๒๐๐๗ ฉบับปรับปรุง คร้ังที่ ๑)

การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยไดปรับปรุงแผน PDP ใหม เนื่องจากมีแนวโนมการใชพลังงานลดลง มี

การปรับปริมาณรับซื้อไฟฟาจากผูผลิตเอกชนรายเล็ก รวมพลังงานไฟฟารับซื้อจากผูผลิตเอกชนรายเล็ก

ตามสัญญา Non-Firm มีการเลื่อนโครงการโรงไฟฟาถานหิน และมีการซื้อไฟฟาจากตางประเทศแลว

โครงการโรงไฟฟาในอนาคตตามแผน PDP ๒๐๐๗ (ฉบับปรับปรุง คร้ังที่ ๑) การไฟฟาฝาย

ผลิตแหงประเทศไทย แบงโครงการออกเปน ๓ ชวง คือ ชวงแรก พ.ศ. ๒๕๕๒ – พ.ศ. ๒๕๕๓ ชวงที่ ๒

พ.ศ. ๒๕๕๔ - พ.ศ. ๒๕๕๘ และชวงที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๕๔ – พ.ศ. ๒๕๖๔ มีโครงการชวงที่ ๒ ดังนี้ วังนอย

ชุดที่ ๔ บางปะกง ชุดที่ ๖ ถานหินเครื่องที่ ๑ ผลิตจากกาซ ๒ โรง ผลิตจากถานหิน ๒ โรง และซื้อจาก

ตางประเทศ ๙ โรง โครงการชวงที่ ๓ มีดังนี้ ถานหินเครื่องที่ ๒ – ๓ ถานหินเครื่องที่ ๔ พระนครใต ชุดที่ ๔

– ๕ พลังความรอนรวมภาคใต พระนครเหนือ ชุดที่ ๒ โรงไฟฟานิวเคลียร ๒ โรง ของผูผลิตไฟฟาเอกชนราย

ใหญ ๒ ราย และซื้อจากตางประเทศ ๕ โครงการ

การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยไดวางแผนเพื่อรักษาสัดสวนการผลิตไฟฟาใหเปน

รอยละ ๕๐ ของการผลิตรวมทั้งประเทศทั้งไดวางแผนการใชเชื้อเพลิงผลิตไฟฟาโดยการลดใชกาซ

ธรรมชาติและเพิ่มเชื้อเพลิงชนิดอื่น รวมทั้งนําพลังงานทดแทนเขามามีบทบาทมากขึ้น

๔) มติที่ประชุม / ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ (ไมมี)

Page 29: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๑๔

ครั้งที่ ๖ วันพุธที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๑ ๑) เร่ืองพิจารณา

- สถานภาพอุตสาหกรรมยานยนตและแนวโนมการพัฒนาพลังงานทางเลือก

- โครงการ Eco car และแนวทางการพัฒนาในอนาคต

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

- สถาบันยานยนต

- สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

- มูลนิธิสถาบันพลังงานทดแทน

- ผูประกอบการรถยนต

๓) ประเด็นการพิจารณา สถานภาพอุตสาหกรรมยานยนตและแนวโนมการพัฒนาพลังงานทางเลือก

กระทรวงอุตสาหกรรม

การใชพลังงานทดแทนสามารถแบงออกไดเปน ๒ แบบ คือ การใชพลังงานในเครื่องยนต

เบนซิน ที่ใชกาซ NGV กาซ LPG และเชื้อเพลิงเอทานอลเปนเชื้อเพลิง และการใชพลังงานในเครื่องยนต

ดีเซล ที่ใชไบโอดีเซลเปนเชื้อเพลิง ประเทศญี่ปุนไดมีการนําเซลลเชื้อเพลิงมาใชกับรถยนตแลว โดยเซลล

เชื้อเพลิงนั้นเปนการนําไฮโดรเจนผสมกับออกซิเจนทําปฏิกริยาทางเคมีทําใหเกิดไฟฟาเปนพลังงานสําหรับ

เครื่องยนต ปจจุบันประเทศญี่ปุนมีสถานีเติมเชื้อเพลิงไฮโดรเจนอยู ๑๑ สถานี อยางไรก็ตามขณะนี้

ประเทศญี่ปุนไดมีการพัฒนาเซลลเชื้อเพลิงไปอีกขั้นหนึ่ง โดยนําไฟฟาที่ใชอยูตามบานนํามาชารจไฟฟา

เก็บไวในแบตเตอรี่ในรถ ซึ่งในการชารจไฟฟา ๑ คร้ัง สามารถวิ่งไดระยะทาง ๖๐ กิโลเมตร โดยการพัฒนา

เซลลเชื้อเพลิงนี้เรียกวา ปล๊ักอินไฮบริด

ประเทศไทยเปนประเทศทางดานการเกษตร ซึ่งสามารถนําผลผลิตทางการเกษตรมาผลิต

เปนเชื้อเพลิงทดแทนได ถามีการวิจัยและพัฒนาผลผลิตทางการเกษตรใหสามารถเพิ่มผลผลิตใหมากขึ้น

ได ก็จะสามารถผลิตเปนเชื้อเพลิงทดแทนได

แกสโซฮอล E ๘๕ เปนการนําน้ํามันเบนซินผสมกับเอทานอลรอยละ ๘๕ เปนเชือ้เพลงิทีเ่ปน

มิตรกับส่ิงแวดลอม เนื่องจากมลพิษที่ปลอยออกมาจากไอเสียนอยมากเมื่อเทียบกับเชื้อเพลิงเบนซิน ซึ่ง

ณ ปจจุบันไดมีการพัฒนาเทคโนโลยีอยางตอเนื่อง และประเทศตาง ๆ ไดใหความสนับสนุนแกสโซฮอลล

E ๘๕ กันมากขึ้น รวมทั้งบริษัทรถยนตตาง ๆ ไดพัฒนาเครื่องยนตใหใชกับแกสโซฮอล E ๘๕ ดวยเชน

รถยนตระบบใหมที่เรียกวา Flexible Fuel Vehicles (FFVS) รถยนตระบบใหม FFVS จะมีระบบเซนเซอร

ตรวจจับปริมาณเอทานอลในน้ํามันเชื้อเพลิงเพื่อควบคุมการเผาไหมไดเหมาะสมกับชนิดของเชื้อเพลิงที่ใช

Page 30: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๑๕

สถานภาพอุตสาหกรรมยานยนตไทยและแนวโนมการพัฒนาพลังงานทางเลือก สรุปไดดังนี้

๑. แนวโนมและทิศทางอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศไทยในอนาคต ในการผลิต

รถยนตและรถเพื่อการพาณิชย ในป พ.ศ. ๒๕๕๐ ประเทศในกลุมเอเชียและแปซิฟกผลิตรถยนต จํานวน

ทั้งหมด ๑,๒๙๙,๗๖๖ คัน และรถเพื่อการพาณิชยทั้งหมดจํานวน ๑,๑๖๙,๔๙๑ คัน ซึ่งประเทศไทยผลิต

รถยนต จํานวน ๓๑๕,๔๔๔ คัน ผลิตรถเพื่อการพาณิชย จํานวน ๙๗๑,๙๐๒ คัน ในการขายรถยนตและรถ

เพื่อการพาณิชยในป พ.ศ. ๒๕๕๐ การขายรถยนตและรถเพื่อการพาณิชยของประเทศในแถบเอเชียและ

แปซิฟก มีรถยนตจํานวน ๑,๙๒๓,๑๘๗ คัน และรถเพื่อการพาณิชย จํานวน ๑,๐๗๒,๕๔๕ คัน ประเทศ

ไทยมีการขายรถยนต จํานวน ๑๗๒,๘๓๖ คัน และรถเพื่อการพาณิชย จํานวน ๔๗๓,๐๘๕ คัน ซึ่งการผลิต

รถยนตทั่วโลกในป พ.ศ. ๒๕๕๐ ประเทศไทยอยูอันดับที่ ๑๔ สามารถผลิตรถยนตประเภทตาง ๆ รวม

ทั้งหมด จํานวน ๑,๒๘๗,๒๔๖ คัน โดยประเทศญี่ปุนเปนอันดับที่ ๑ ในการผลิตรถยนต จํานวน

๑๐,๗๖๔,๗๕๓ คัน

ในการผลิตรถยนตของประเทศไทยที่ผลิตไดในป พ.ศ. ๒๕๕๐ จํานวน ๑,๒๘๗,๖๔๙ คัน

แบงเปนเพื่อการสงออกจํานวน ๖๙๐,๑๐๐ คัน และเพื่อขายภายในประเทศ จํานวน ๕๙๗,๕๔๙ คัน

ในป พ.ศ. ๒๕๕๑ มีการคาดการณในการผลิตรถยนตจะเติบโตขึ้นประมาณ รอยละ ๑๑.๑

โดยสามารถผลิตรถยนตได ๑,๔๓๐,๐๐๐ คัน โดยคาดการณการขายภายในประเทศจะมีอัตราลดลง

รอยละ ๑๐.๙ แตอัตราการสงออกตางประเทศเพิ่มข้ึนรอยละ ๑๑.๖

ในป พ.ศ. ๒๕๕๑ ประเทศไทยมียอดขายรถยนตต้ังแตเดือน มกราคม ถึงเดือนมิถุนายน

แบงเปนรถยนตนั่ง ๑๑๘,๕๒๒ คัน รถกระบะ ๑๖๑,๘๘๘ คัน และรถเพื่อการพาณิชย ๒๑,๐๖๕ คัน

การใชน้ํามันเบนซิน ๙๕ และแกสโซฮอล ๙๕ ต้ังแตเดือนมกราคม ถึงเดือนพฤษภาคม การ

ใชน้ํามันมีการใชลดลง เนื่องจากราคาน้ํามันไดเพิ่มสูงขึ้นโดยน้ํามันเบนซิน ๙๕ มีปริมาณการใช

๖๘๐,๐๐๐ ลิตรตอวัน และน้ํามันแกสโซฮอล ๙๕ มีปริมาณการใช ๕.๓๑ ลานลิตรตอวัน สวนน้ํามัน

เบนซิน ๙๑ และแกสโซฮอล ๙๑ มีอัตราการใชเพิ่มข้ึน โดยน้ํามันเบนซิน ๙๑ มีปริมาณการใช ๑๐.๐๓ ลาน

ลิตรตอวัน น้ํามันแกสโซฮอลมีปริมาณการใช ๒.๐๒ ลานลิตรตอวัน การใชน้ํามันดีเซลมีปริมาณการใช

๔๗.๗๔ ลานลิตรตอวัน น้ํามันดีเซล B๕ มีปริมาณการใช ๑๐.๕๐ ลานลิตรตอวัน สวนการใชกาซ NGV ใน

ตลาดการขนสงมีอัตราการใชเพิ่มข้ึนโดยในเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ มีปริมาณการใช ๑,๗๓๖ ลาน

ลูกบาศกฟุต

ในอนาคตประเทศไทยโดยกระทรวงอุตสาหกรรมมีนโยบายในการสงเสริมในดานการผลิต

รถคือ มีนโยบายแบบตอเนื่องในการสงเสริมใหเกิดโครงการผลิตรถยนตสงเสริมใหมีการวิจัยพัฒนาในเรื่อง

มาตรฐานการผลิต และการสงเสริมพัฒนาบุคลากรและการอัพเกรดชิ้นสวนรถยนต สวนทางดานเชื้อเพลิง

จะมีการสงเสริมใหมีการลดการใชเชื้อเพลิง สงเสริมการใชพลังงานเชื้อเพลิงทางเลือกอื่น ๆ เชน แกส

โซฮอล ไบโอดีเซล กาซธรรมชาติ เปนตน ในการหาพลังงานเชื้อเพลิงใหม ๆ จากแหลงตาง ๆ ก็เปน

Page 31: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๑๖

นโยบายของภาครัฐดวย อยางไรก็ตาม เร่ืองของมาตรฐานของเครื่องยนตประเทศไทยไดใชมาตรฐานของ

เครื่องยนตในระดับ ยูโร ๓ (Euro III) ซึ่งประมาณป พ.ศ. ๒๕๕๕ ประเทศไทยมีแผนการที่จะใชมาตรฐาน

เครื่องยนตในระดับยูโร ๔ (Euro IV)

การคาดการณการผลิตรถยนตในป พ.ศ. ๒๕๕๔ ประเทศไทยจะมีการผลิตรถยนตเพิ่มข้ึน

ถึง ๑,๘๐๐,๐๐๐ คัน โดยที่จะมีการสงออกถึงรอยละ ๕๕ และใชภายในประเทศ รอยละ ๔๕

๒. มุมมองของผูผลิตรถยนตที่มีตออุตสาหกรรมยานยนต และผูผลิตชิ้นสวนยานยนตใน

ประเทศไทย

อุตสาหกรรมยานยนตไทยที่จุดเปลี่ยนแปลงที่สําคัญมีปจจัยคือ การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ

ของอุตสาหกรรมโลก เชน การพัฒนาและการขยายตัวอยางรวดเร็วของอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศ

จีนและอินเดีย การแขงขันในระดับสูงที่ระดับโลก ระดับภูมิภาค และภายในประเทศเอง การเปลี่ยนแปลง

ในหวงโซมูลคาในระบบการผลิตและแรงกดดันดานสิ่งแวดลอมและพลังงาน จุดเปลี่ยนแปลงที่สําคัญอีก

อยางหนึ่ง คือ ผลกระทบตออุตสาหกรรมยานยนตไทยและประเด็นความทาทาย เชน การขยายตัวของ

อุตสาหกรรมอยางยั่งยืน การปรับเปลี่ยนผลกระทบใหเปนผลประโยชนในระยะยาว และทิศทางการพัฒนา

และกลยุทธการแขงขัน

วิสัยทัศนอุตสาหกรรมยานยนตไทย ป พ.ศ. ๒๕๕๔ คือ “ประเทศไทยเปนฐานการผลิตยาน

ยนตในเอเชีย สามารถสรางคุณคาเพิ่มในประเทศไทย โดยมีอุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนตที่มีความ

แข็งแกรง” โดยที่ไดมีกลยุทธการพัฒนาคือ

กลยุทธที่ ๑ การพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนตไทยใหเปน Lean Supply Chain ทั้ง

อุตสาหกรรม

กลยุทธที่ ๒ การของตลาดในประเทศและตลาดอาเซียนที่เปนฐานในการขยายตลาดโลก

กลยุทธที่ ๓ การพัฒนาเทคโนโลยีและความสามารถดานวิศวกรรม

กลยุทธที่ ๔ การพัฒนาทรัพยากรมนุษยทั้งในดานการบริหารและการผลิตทั้งอุตสาหกรรม

กลยุทธที่ ๕ การสงเสริมและสนับสนุนการลงทุนในตางประเทศและการเชื่อมโยงในระดับ

นานาชาติ

๓. แนวโนมการพัฒนาพลังงานทางเลือก

ในการพัฒนาพลังงานทางเลือกนั้น พลังงานแบงออกไดเปนพลังงานจากพืช (Biofuel) และ

พลังงานฟอสซิล (Fossil) ปจจุบันไดมีการพัฒนาพลังงานหรือการใชพลังงานใหมีผลกระทบหรือสราง

มลภาวะใหนอยลงที่สุด ซึ่งจากสภาพทั่ว ๆ ไปแลว พลังงานประเภทฟอสซิลไดสงผลกระทบมากที่สุด

โดยที่พลังงานจากพืชจะมีสวนในการลดผลกระทบลง เนื่องจากมีการพัฒนาทางดานเครื่องยนต

และพัฒนาการผลิตพลังงานใหม ๆ จากพืชหรือแหลงใหม ๆ เชน การใชเชื้อเพลิง E๘๕ ในรถยนต การนํา

เอทานอล รอยละ ๘๕ ผสมกับน้ํามันเบนซิน รอยละ ๑๕ ซึ่งประเทศตาง ๆ ไดมีการใชเชื้อเพลิงชนิดนี้แลว

Page 32: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๑๗

รวมทั้งมีการผลิตรถยนตออกมาใชดวย ซึ่งอนาคตพลังงานเชื้อเพลิง E๘๕ อาจจะเปนพลังงานทางเลือกที่

จะเปนพลังงานทางเลือกในอนาคตได

สถานภาพอุตสาหกรรมยานยนตไทยและแนวโนมการพัฒนาพลังงานทางเลือก ควรที่จะมี

แนวทางปฏิบัติ ดังนี้

๑. การใชทรัพยากรดานพลังงานอยางมีประสิทธิภาพโดยใชเทคโนโลยีที่ถูกตองและ

เหมาะสม

๒. นําเสนอและแนะนําเทคโนโลยีดานพลังงานและยานยนตที่เหมาะสมกับการใชงาน

แตละประเภท

๓. ใหความมั่นใจวานโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนตตองมีความแนนอน และ

เปนประโยชนตอประเทศในภาพรวม

๔. ใหเวลาอยางเพียงพอเพื่อใหสามารถวางแผนการผลิตไดอยางมีประสิทธิผล

นายธิบดี หาญประเสริฐ รองประธานมูลนิธิสถาบันพลังงานทดแทน ไบโอดีเซลแหงประเทศ

ไทย ไดชี้แจงเรื่อง สถานภาพอุตสาหกรรมยานยนตไทยและแนวโนมการพัฒนาพลังงานทางเลือก สรุปไดดังนี้

ในประเด็นนโยบายภาครัฐที่ควรตองมีการกําหนดผูบริโภคดานพลังงานใหถูกตองกับ

ประเภทของเชื้อเพลิงใหตรงตามความตองการในกลุมผูใชพลังงาน นอกจากนี้ รถมอเตอรไซคที่มีอยู

ประมาณ ๑๐ ลานคันที่จดทะเบียนถูกตองตามกฎหมาย แตตัวเลขที่แทจริงมีประมาณ ๒๔ ลานคัน ซึ่ง

ตัวเลขที่หายไป เนื่องจากไมไดมีการตอทะเบียนรถมอเตอรไซคอยางถูกตอง ในจํานวนรถมอเตอรไซดมกีาร

ใชน้ํามันเชื้อเพลิงประมาณ ๗ ลานลิตรตอวัน อยางไรก็ตาม ไดมีการทดลองใชพลังงานทดแทนทดลองใน

มอเตอรไซคมาแลว ถาจะมีการสนับสนุนใหมีการพัฒนาก็จะเปนประโยชนตอประเทศตอไป

ผูแทนจากบริษัท ฟอรด ไดชี้แจงเรื่อง สถานภาพอุตสาหกรรมยานยนตไทยและแนวโนมการ

พัฒนาพลังงานทางเลือก สรุปไดดังนี้

บริษัท ฟอรด ผลิตรถยนตหลายประเภท และมีการพัฒนาเทคโนโลยีอยูตลอด ซึ่งเทคโนโลยี

ที่บริษัท ฟอรด พัฒนามีอยูหลายดาน บริษัท ฟอรดไดมีการศึกษาประเทศไทยแลวเห็นวาเปนประเทศทาง

การเกษตร ซึ่งมีผลผลิตทางการเกษตรมาพัฒนาเปนเชื้อเพลิงได ควรที่จะสนับสนุนนโยบายพลังงาน

ทดแทน โดยในระยะยาวจะทําใหนโยบายพลังงานทดแทนประสบผลสําเร็จ ทางบริษัทไดคํานึงถึงความ

มั่นคงทางดานพลังงานเปนลําดับแรก อยางไรก็ตาม ส่ิงแวดลอมทางบริษัทก็มีการพัฒนาควบคูกันไปดวย

นโยบายของรัฐก็จะเปนประเด็นหนึ่งที่บริษัทจะตองมีการศึกษาอยางตอเนื่อง เพื่อสรางความมั่นใจใหกับ

ทางบริษัท บริษัท ฟอรด มีแนวโนมในการพัฒนาคือ

Page 33: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๑๘

๑. การกําหนดการใชรถใหถูกตอง

๒. ตองมีนโยบายที่ชัดเจน

๓. การพัฒนารถตองมีการทดสอบอยางจริงจังและใชเวลานาน รวมทั้งตองพึ่งพาขอมูล

จากบริษัทใหญ

ที่ประชุมไดมีขอซักถาม สรุปไดดังนี้

๑. รถยนตไฮบริดและรถ Fuel Cell ในการใชไฟฟาในการขับเคลื่อนรถยนตและราคา

มีความแตกตางกันอยางไร

๒. ในเรื่องระบบความปลอดภัยในสวนของพลังงานเปนสิ่งสําคัญซึ่งคณะกรรมาธิการ

การพลังงาน ควรที่จะไดรับทราบขอมูลอยางถูกตอง เพื่อที่จะไดมีการรายงานความคิดเห็นเพื่อเสนอ

หนวยงานที่เกี่ยวของไดรับทราบนําไปปรับปรุงแกไข

ผูเขารวมประชุมไดตอบขอซักถามของคณะกรรมาธิการ โดยสรุป ดังนี้

๑. รถยนตไฮบริดเปนรถยนตที่ใชเครื่องยนตในการปนไฟฟากอนแลวจึงนําไฟฟาไปใชใน

การขับเคลื่อน ซึ่งจะตองใชเชื้อเพลิงในการติดเครื่องยนต สวนรถยนต Fuel Cell เปนรถยนตไฟฟา ที่มี

เซลลไฟฟาหรือแบตเตอรร่ีเปนตัวเก็บไฟฟาสําหรับสงไปยังมอเตอรไฟฟาเพื่อขับเคลื่อน

๒. นโยบายของรัฐบาลนั้นไดมีการวางแผนการใชพลังงานเปนไปตามขั้นตอนโดย

คํานึงถึงการประหยัดพลังงาน และผลกระทบตอส่ิงแวดลอม

โครงการ ECO Car และแนวทางการพัฒนาในอนาคต โครงการสงเสริมรถยนตประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล (ECO Car) คณะรัฐมนตรีไดมี

มติใหความเห็นชอบ เมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๐ เพื่อใหเกิดรถยนตประเภทใหมข้ึนในประเทศไทย ซึ่ง

มอบหมายให กระทรวงอุตสาหกรรมดําเนินการออกประกาศกําหนดคุณสมบัติรถยนตประหยัดพลังงาน

มาตรฐานสากล โดยครอบคลุมขอกําหนดทางเทคนิครถยนตประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล รวมทั้งเปน

หนวยงานรับผิดชอบตรวจสอบและพิจารณาอนุมัติวารถยนตรุนใด

โครงการสงเสริมรถยนตประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล (ECO Car) เปนการสราง

อุตสาหกรรมรถยนตนั่งของโลก เปลี่ยนจากการรับจางผลิตหรือฐานการประกอบมาเปนฐานการผลิต

รถยนตนั่ง ดังนั้น การที่ประเทศไทยสามารถสรางฐานการผลิตรถยนตประหยัดพลังงานมาตรฐานสากลได

เปนการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจใหกับอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นสวนรถยนตของไทยในสวนของรถยนตนั่ง

ซึ่งจะขยายผลไปสูการพัฒนาการขนสงและรายไดรวมของประเทศไดตอไป

Page 34: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๑๙

การลงทุนผลิตรถยนตประหยัดพลังงานมาตรฐานสากลเพื่อสรางฐานการผลิตรถยนต

ประเภทใหมที่ประหยัดพลังงาน ปลอดภัยและเปนมิตรตอส่ิงแวดลอมในประเทศไทย โดยไดมีการกําหนด

หลักเกณฑ ดังนี้

๑. ตองเสนอแผนงาน

๒. ตองเสนอแผนการลงทุนและแผนการผลิตระยะยาว ๕ ป ทั้งนี้ จะตองมีปริมาณการ

ผลิตไมนอยกวา ๑๐๐,๐๐๐ คันตอป ต้ังแตปที่ ๕ เปนตนไป

๓. ตองเปนรถยนตที่มี คุณสมบัติทางดานการประหยัดพลังงานเชื้อเพลิงรักษา

ส่ิงแวดลอม ซึ่งรถยนตประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล หมายรวมถึง รถยนตแบบผสมที่ใชพลังงาน

เชื้อเพลิงและไฟฟา (Hybrid Electric Vehicle) และรถยนตที่สามารถใชเชื้อเพลิงทดแทน ดังนี้

(๑) ดานการประหยัดพลังงาน สําหรับรถยนตที่มีการใชหรือสามารถใชน้ํามัน

เชื้อเพลิงตองมีอัตราใชน้ํามันเชื้อเพลิงไมเกิน ๕.๐ ลิตรตอ ๑๐๐ กิโลเมตร

(๒) ดานสิ่งแวดลอม ตองเปนไปตามมาตรฐานมลพิษ ระดับยูโร ๔ หรือระดับที่สูงกวา

(๓) ดานความปลอดภัย ปองกันผู โดยสารกรณีที่ เกิดอุบัติเหตุการชน ตาม

มาตรฐาน UNECE (United Nations Economic Commission For Europe) หรือที่สูงกวา

ในปจจุบัน BOI ไดอนุมัติใหการสงเสริมการลงทุนแกโครงการสงเสริมรถยนตประหยัด

พลังงานมาตรฐานสากล (ECO Car) จํานวน ๖ โครงการ คือ

๑. บริษัท ฮอนดา ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด ใชเงินลงทุน ๖,๗๐๐ ลานบาท มี

กําลังการผลิต ๑๒๐,๐๐๐ คันตอป มีสัดสวนการขายในประเทศ รอยละ ๕๐ และตางประเทศ รอยละ ๕๐

จะเริ่มการผลิตในป พ.ศ. ๒๕๕๔

๒. บริษัท ซูซูกิ มอเตอร คอรปอเรชั่น ประเทศญี่ปุน ใชเงินลงทุน ๙.๕๐๐ ลานบาท มี

กําลังการผลิต ๑๓๘,๐๐๐ คันตอป มีสัดสวนการขายในประเทศ รอยละ ๑๙ และตางประเทศ รอยละ ๘๑

จะเริ่มการผลิตในป ๒๕๕๓

๓. บริษัท สยามนิสสัน ออโต โมบิล จํากัด มีเงินลงทุน ๕,๕๐๐ ลานบาท มกีาํลงัการผลติ

๑๒๐,๐๐๐ คันตอป มีสัดสวนการขายภายในประเทศ รอยละ ๒๐ และตางประเทศ รอยละ ๓๐ จะเริ่มการ

ผลิตในป พ.ศ. ๒๕๕๓

๔. บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด มีเงินลงทุน ๗,๗๓๑ ลานบาท มีกําลัง

การผลิต ๑๐๗,๐๐๐ คันตอป มีสัดสวนการขายในประเทศ รอยละ ๑๒ และตางประเทศ รอยละ ๘๘ จะ

เร่ิมการผลิตในป พ.ศ. ๒๕๕๓

๕. บริษัท โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด มีเงินลงทุน ๖,๖๔๒ ลานบาท มกีาํลงัการ

ผลิต ๑๐๐,๐๐๐ คนตอป มีสัดสวนการขายในประเทศ รอยละ ๕๐ และตางประเทศ รอยละ ๕๐ จะเริม่การ

ผลิตในป พ.ศ. ๒๕๕๕

Page 35: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๒๐

๖. บริษัท ทาทา มอเตอร ประเทศอินเดีย มีเงินลงทุน ๗,๓๑๗ ลานบาท มีกําลังการผลิต

๑๐๐,๐๐๐ คันตอป มีสัดสวนการขายในประเทศ รอยละ ๔๘ และตางประเทศ รอยละ ๕๒ จะเริ่มการผลิต

ในป พ.ศ. ๒๕๕๓

สวนบริษัท โฟลคสวาเกน กําลังอยูระหวางการพิจารณา

โครงการสงเสริมรถยนตประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล (ECO Car) จะกอใหเกิดมูลคา

เงินลงทุนทั้งระบบประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ ลานบาท มีขอเสนอปริมาณการผลิตจริง ประมาณ ๖๘๕,๐๐๐

คันตอป และมีการสงออกรถยนตสูงถึง ๔๖๒,๐๐๐ คันตอป หรือคิดเปนมูลคาสงออกประมาณ ๑๔๐,๐๐๐

ลานบาทตอป นอกจากนี้ โครงการสงเสริมรถยนตประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล (ECO Car) ยังสราง

ประโยชนตอภาคอุตสาหกรรมและประชาชน คือ

(๑) ประโยชนตอการพัฒนาอุตสาหกรรมรถยนต ในการขยายฐานการผลิตและ

สงออกของไทย การพัฒนามูลคาเพิ่มในประเทศจากอุตสาหกรรมการผลิตรถยนตนั่งใหทัดเทียม

อุตสาหกรรมรถปกอัพ และเปนการสรางความยั่งยืนและการลดความเสี่ยงใหกับรถยนตสงออกของไทย

(๒) ประโยชนตอการพัฒนาอุตสาหกรรมชิ้นสวนรถยนต ประเทศไทยไดรับการ

ขยายฐานการผลิตและสงออกตามการผลิตรถยนต การพัฒนามูลคาเพิ่มในประเทศ โดยเฉพาะชิ้นสวน

หลักของรถยนต เชน เครื่องยนต และอุตสาหกรรมวัตถุดิบหรืออุตสาหกรรมตนน้ํา เชน เหล็ก พลาสติก

ยางสังเคราะห

(๓) ประโยชนต อประชาชนไทย ๖๓ ล านคน ในการชะลอปญหาด าน

สภาพแวดลอมทางอากาศจากการใชรถยนต การชะลอการสูญเสียของประเทศจากการนําเขาเชื้อเพลิง

รวมทั้งการกระตุนใหเกิดการพัฒนามาตรฐานความปลอดภัย

ที่ประชุมมีขอซักถาม โดยสรุป ดังนี้

๑. โครงการสงเสริมรถยนตประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล (ECO Car) กับโครงการ

ผลิตรถยนตที่ใชเชื้อเพลิง E ๘๕ มีผลกระทบระหวางโครงการทั้งสองหรือไม

๒. สถาบันยานยนตมีนโยบายที่เกี่ยวกับรถยนตมือ ๒ หรือไมและมีมาตรการอะไร

ควบคุมการใชบาง

๓. การใชแกส NGV กับรถยนตสามารถทําไดหรือไม

๔. เครื่องยนตเทอรโบอิเลคทริคเปนอยางไร และสบูดําพืชทางการเกษตรที่นํามาผลิต

เปนพลังงานทดแทน

๕. ในเรื่องนโยบายของ โครงการสงเสริมรถยนตประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล (ECO

Car) ของรัฐในมุมมองของผูเขารวมประชุมเปนอยางไร

Page 36: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๒๑

๖. ผลกระทบของโครงการสงเสริมรถยนตประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล (ECO Car)

กับโครงการผลิตรถยนตที่ใชเชื้อเพลิง E๘๕ เปนอยางไร

๗. การสงเสริมการผลิตรถยนตในเรื่อง ภาษีสรรพสามิตที่ลดภาษีสรรพสามิตในโครงการ

สงเสริมรถยนตประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล (ECO Car) รอยละ ๑๗ แตรถยนตที่ใชเชื้อเพลิง E๘๕ ได

ลดภาษีสรรพสามิตเพียงรอยละ ๒๕ ทําไมไมสงเสริมการใชเชื้อเพลิง E๘๕ โดยลดภาษีสรรพาสามิตลงอีก

๘. การที่กรมควบคุมมลพิษจะใชเชื้อเพลิง E ๘๕ เปนตัวทดสอบมลพิษ ทําใหมีความ

กังวลของบริษัทที่ผลิตรถยนต ดังนั้นควรที่จะมีนโยบายที่ชัดเจนเพราะจะทําใหเกิดประโยชน

๙. ถาใหประเทศไทยเปนฐานการผลิตรถยนต ดังนั้นควรที่จะดูโครงสรางดานพลังงาน

ของประเทศในระยะยาวดวย วาจะเปนอยางไร

ผูแทนที่เขารวมประชุม ไดชี้แจงและตอบขอซักถามของคณะกรรมาธิการ โดยสรุป ดังนี้

๑. วัตถุประสงคสถาบันยานยนต เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนตใหมี ขีด

ความสามารถในการแขงขันระดับโลกโดยเนนโดยเนนการผลิตรถยนตเปนหลักเพื่อการสงออกและการ

ผลิตเพื่อใชภายในประเทศ

๒. ในกรณีรถบรรทุก ทางกระทรวงอุสาหกรรมไดมีการติดตอประสานงานกับ

บริษัทผูผลิตรถบรรทุกในประเทศ ซึ่งประเทศในแถบเอเชียกําลังพยายามที่จะใหบริษัทผลิตรถบรรทุกยาย

ฐานการผลิตไปจากประเทศไทยไป โดยใหเหตุผลวาขณะนี้มีเขตการคาอาเซียนหรืออาฟตา (Asean Free

Trade Area – AFTA) ทําใหไมตองเสียภาษีการนําเขามาขายในประเทศไทย

๓. การใชกาซ NGV กับเครื่องยนตดีเซลเปนการใชเชื้อเพลิงดีเซลและกาซ NGV

รวมกัน ซึ่งสามารถทําได และถามีการใชเชื้อเพลิงดีเซลอยางเดียวก็สามารถใชไดไมกอใหเกิดปญหากับ

เครื่องยนต

๔. สบูดําเปนผลผลิตทางดานการเกษตรที่สามารถที่นํามาผลิตเปนพลังงานทดแทน

นั้น ขณะนี้การผลิตสบูดําควรที่จะไดรับการสงเสริมและพัฒนาใหไดผลผลิตที่สูงขึ้น จะไดคุมคาในการผลิต

พลังงานทดแทน

๕. โครงการสงเสริมรถยนตประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล (ECO Car) เปน

รถยนตที่ประหยัดพลังงานซึ่งใชเชื้อเพลิง E ๘๕ ได ซึ่งนโยบายพลังงานของรัฐการใชพลงังานทดแทนตองมี

การวางแผนการใชโดยเริ่มจากการใชเชื้อเพลิง E ๑๐ และ E ๒๐ กอนที่จะไปใช E ๘๕ ซึ่งตองเปนไปตาม

ข้ันตอนในการสรางตลาดในอนาคต

๖. โครงการสงเสริมรถยนตประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล (ECO Car) และ

โครงการผลิตรถยนตที่ใชเชื้อเพลิง E ๘๕ สามารถที่จะดําเนินการควบคูไปกันได โดยโครงการสงเสริม

รถยนตประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล (ECO Car) จะเปนไปในรูปแบบที่ผลิตรถยนตเพื่อสงออกและใช

Page 37: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๒๒

ภายในประเทศ สวนโครงการผลิตรถยนตที่ใชเชื้อเพลิง E ๘๕ จะเนนการผลิตเพื่อใชภายในประเทศ ซึ่ง

ประเทศไทยมีผลผลิตทางการเกษตรที่สามารถนํามาผลิตเปนแกสโซฮอลได

๗. การลดภาษีสรรพสามิตใหกับโครงการสงเสริมรถยนตประหยัดพลังงาน

มาตรฐานสากล (ECO Car) รอยละ ๑๗ เปนการจูงใจบริษัทใหมาลงทุนในประเทศไทย แตถาลดตาม

พลังงานใหถึง E ๘๕ เหลือรอยละ ๒๐ อาจจะทําใหโครงการสงเสริมรถยนตประหยัดพลังงาน

มาตรฐานสากล (ECO Car) ไดสนใจที่จะลงทุนในประเทศ

๘. การทดสอบเครื่องยนตมีการระบุไววาถาเครื่องยนตที่ใชน้ํามันไดจะตองมีการ

ทดสอบ ซึ่งในกรณีของกรมควบคุมมลพิษจะดูที่สุขภาพของคนมากกวา ทําใหตองมีการควบคุมมลพิษ

๔) มติที่ประชุม / ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ (ไมมี)

Page 38: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๒๓

ครั้งที่ ๗ วันพุธที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๑ ๑) เร่ืองพิจารณา ความปลอดภัยของกาซธรรมชาติสําหรับยานยนต

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

- ผูแทนกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน

- ผูแทนกรมการขนสงทางบก กระทรวงคมนาคม

- ผูแทนสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

- อาจารยคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

- อาจารยคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

๓) ประเด็นการพิจารณา ความปลอดภัยของกาซธรรมชาติสําหรับรถยนต ความปลอดภัยของกาซธรรมชาติสําหรับยานยนตมีการติดตั้ง การตรวจและการ

ทดสอบถังและอุปกรณที่ใชบรรจุกาซธรรมชาติใหปลอดภัย กรมการขนสงทางบกไดกําหนดขั้นตอนการ

ดําเนินการ การใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิงในรถยนตโดยผูใชตองศึกษาขอมูลการใช NGV กับรถยนตให

เขาใจเพียงพอกอนนํารถไปติดตั้ง โดยดําเนินการ ๓ ข้ันตอน ดังนี้

๑. นํารถไปติดตั้งระบบกับผูติดตั้งที่มีมาตรฐานตามที่กรมการขนสงทางบกอนุญาต

เทานั้น

๒. นํารถไปตรวจรับรอง โดยวิศวกรที่ไดรับใบอนุญาตจากกรมการขนสงทางบกรับรอง

๓. นํารถไปตรวจสอบ ซึ่งดําเนินการทางทะเบียนโดยนํารถไปแจงเปลี่ยนชนิดเชื้อเพลิง

ภายใน ๑๕ วัน นับจากผานการตรวจสอบแลว ณ หนวยงานของกรมการขนสงทางบก และหลังจากนั้น

ตองผานการตรวจสอบจากหนวยงานที่กรมการขนสงทางบกรับรอง

สําหรับ LPG ทางกรมการขนสงทางบกไดเสนอกฎกระทรวงเหมือนกับ NGV แตเปลีย่น

รัฐบาลกอน จึงทําใหมีการกําหนดกฎกระทรวงลาชา และกระทรวงคมนาคมไดลงนาม เมื่อวันที่ ๑๗

สิงหาคม ๒๕๕๑ ซึ่งมีผลบังคับใช ๖๐ วันนับจากวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ เปนตนไป

สวนสาเหตุการระเบิดของรถยนตที่ติดตั้ง NGV ที่จังหวัดสมุทรปราการนั้น อาจจะเกิด

ได ๓ สาเหตุ สรุปดังนี้

๑. ถังที่บรรจุกาซธรรมชาติอาจไมไดมาตรฐาน

๒. เหล็กที่นํามาผลิตเปนถังไมมีคุณภาพ และระบบการผลิตไมดีพอ สวนกรณีที่เกิด

เหตุมีการติดตั้งถังที่ใตทองรถยนตจึงทําใหมีโอกาสกระแทกสูง

๓. การเชื่อมขาถังอาจไปทําปฏิกิริยาใหเกิดระเบิดได เชน การเชื่อมไปทําใหเกิดรอย

แตกราวและอาจทําใหรอยราวรุกลามไปเรื่อยๆ จนเกิดระเบิดได

Page 39: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๒๔

เหตุระเบิดดังกลาวนัน้ ลักษณะการระเบดิเปนเหมือนลกูโปงแตกหรืออีกนัยหนึ่งคือ

เหล็กแยกหรือฉีกขาดเปนชิน้ๆ ซึ่งถังไดรับรองมาตรฐานสากล ISO แลว โดยมีขอสังเกตวามีรอยสนิมตาม

ตัวถัง เนื้อในของเหลก็ และที่สายรัดถงั พรอมกับมีรอยกระแทกตามตัวถังอีกดวย สวนสนิมอาจเกิดจาก

การเสียดสีและทําใหเกิดรอยราว ลามไปเปนชวงๆ ดังนัน้ในที่สุดจึงทาํใหเกิดระเบิดได

๔) ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ

๑. ควรใชพระราชบัญญัติเกี่ยวกับการทดสอบ โดยไมทําลายคุณสมบัติ (Non –

destructive Testing : NDT) ที่ผานมาตรฐานของ มอก. ๙๗๑๒ – ๒๕๕๐ ดังกลาว ในประเทศไทย

เพื่อปองกันการระเบิด และควรมีการตรวจสอบอีกครั้งกอนที่จะสงไปใหผูใช

๒. ควรมีการตรวจสอบ แมแตแรงดันหัวจายก็ตองตรวจสอบ

๓. ควรมีมาตรการปองกันการนําถังประเภทหุงตมในครัวเรือนมาใชติดรถยนต ๔. ควรมีมาตรการควบคุมปม และวิธีการเติมใหถูกตอง

๕. โอกาสที่ จะ เกิดอุ บั ติ เหตุถั งระ เบิดไดถึ งแมจะผานมาตรฐานสากล ISO

ตางๆ แลวก็ตามยังควรตองมีมาตรฐานเพิ่มข้ึนใหมากกวานี้หรือไม

๖. ควรเปลี่ยนการตรวจสภาพรถยนตที่ติดตั้งถังกาซใหมีมาตรฐานมากกวาที่เปนอยู การติดตั้งถังที่ทายรถทําใหน้ําหนักเพิ่ม สวนคุณภาพของเหล็กในการผลิตถังควรมีหนวยงานตรวจสอบ

มาตรฐาน

Page 40: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๒๕

ครั้งที่ ๘ วันพุธที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๑ ๑) เร่ืองพิจารณา

- สถานการณพลังงานทดแทนในปจจุบัน

- การบริหารงานของกระทรวงพลังงาน

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

- นาวาเอก ดร. สมัย ใจอินทร ผูชํานาญการประจําคณะกรรมาธิการการพลังงาน

- กระทรวงพลังงาน

๓) ประเด็นการพิจารณา สถานการณพลังงานทดแทนในปจจุบัน การใชพลังงานของทั่วโลก (Total World) และเอเชียแปซิฟก (Total Asia Pacific) ณ

ปจจุบันทั่วโลกใชพลังงานทุกรูปแบบประมาณ ๑๒,๐๐๐ ลานตัน/ป และเอเชียแปซิฟกใชพลังงานทุก

รูปแบบประมาณ ๔,๐๐๐ ลานตัน/ป การใชพลังงานของเอเชียแปซิฟกเทากับ ๑/๓ ของการใชพลังงานทุก

รูปแบบของโลก

การใชพลังงานของประเทศไทย ต้ังแตป พ.ศ. ๒๕๐๘ ถึง พ.ศ. ๒๕๒๘ มีการใชพลังงาน

เพิ่มข้ึนเปนเสนตรง จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๕๒๙ ถึงปจจุบัน มีการใชพลังงานเพิ่มข้ึนเปนเทาตัว ณ ปจจุบัน

ประเทศไทยใชพลังงานทุกรูปแบบประมาณ ๙๐ ลานตันตอป

โครงสรางการใชพลังงาน การใชพลังงานของทั่วโลกในป พ.ศ. ๒๕๕๐ ประมาณ ๑๑,๐๙๙

ลานตัน/ป เปนน้ํามัน ๓,๙๕๒.๘ ลานตัน/ป (รอยละ ๓๕.๖) กาซธรรมชาติ ๒,๖๓๗.๗ ลานตัน/ป (รอยละ

๒๓.๗) ถานหิน ๓,๑๗๗.๕ ลานตัน/ป (รอยละ ๒๘.๖) พลังงานนิวเคลียรและน้ํา ๑,๓๓๑.๒ ลานตัน/ป

(รอยละ ๑๒)

การใชพลังงานของเอเชียแปซิฟกประมาณ ๓,๘๐๒ ลานตัน/ป น้ํามัน ๑๑๘๕.๑ ลานตัน/ป

(รอยละ ๓๑) กาซธรรมชาติ ๔๐๓.๑ ลานตัน/ป (รอยละ ๑๐) ถานหิน ๑๘๙๖.๒ ลานตัน/ป (รอยละ ๔๙)

พลังงานนิวเคลียรและน้ํา ๓๑๗.๔ ลานตันตอป (รอยละ ๙) ประเทศไทยใชพลังงานทุกรูปแบบประมาณ

๘๕.๖ ลานตัน/ป น้ํามัน ๔๓ ลานตัน/ป (รอยละ ๕๐) กาซธรรมชาติ ๓๑.๘ ลานตัน/ป (รอยละ ๓๗) ถาน

หิน ๘.๙ ลานตัน/ป (รอยละ ๑๐.๓) พลังน้ํา ๑.๘ ลานตัน/ป (รอยละ ๒.๑)

ปริมาณการนําเขาน้ํามันเชื้อเพลิงตอรายไดประชาชาติในป พ.ศ. ๒๕๕๐ ประเทศไทย

รอยละ ๘.๘๔ ของรายไดประชาชาติ ไตหวัน รอยละ ๖.๔ ฟลิปปนส รอยละ ๖.๔ มาเลเซีย รอยละ ๓.๒๓

เกาหลีใต รอยละ ๗.๖๔ อินโดนีเซีย รอยละ ๕.๑ อินเดีย รอยละ ๖.๐๙

ในป พ.ศ. ๒๕๕๐ ประเทศไทยมีคาใชจายดานพลังงาน ๑,๔๙๙,๓๑๗ ลานบาท รายไดของ

ประเทศเทากับ ๑,๕๕๐,๐๐๐ ลานบาท โดยเปนคาใชจายดานปโตรเลียม ๙๕๘,๕๓๗ ลานบาท คิดเปน

รอยละ ๖๔ ใชจายคาไฟฟา ๓๙๑,๑๑๘ ลานบาท คิดเปน รอยละ ๒๖ ใชจายคากาซธรรมชาติ ๓๗,๔๘๙

Page 41: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๒๖

ลานบาท คิดเปน รอยละ ๒ ใชจายคาถานหิน/ลิกไนต ๒๓,๔๑๙ ลานบาท คิดเปน รอยละ ๒ พลังงาน

หมุนเวียน ๙๖,๕๒๙ ลานบาท คิดเปน รอยละ ๖

การใชพลังงานของประเทศสามารถแยกไดคือ ภาคการขนสงประมาณ รอยละ ๓๗

ภาคอุตสาหกรรม รอยละ ๓๖ พานิชย เกษตร ครัวเรือน และอื่น ๆ รอยละ ๒๗

ปริมาณการนําเขาน้ํามันเชื้อเพลิงตอการสงออกสินคาเกษตรในป พ.ศ. ๒๕๕๐ ประเทศไทย

นําเขาน้ํามันเชื้อเพลิงประมาณ ๐.๙ ลานลานบาท สงออกสินคาเกษตรประมาณ ๐.๔๒ ลานลานบาท ใน

ป พ.ศ. ๒๕๕๑ จะมีปริมาณสงออกสินคาเกษตรประมาณ ๐.๕๕ ลานลานบาท นําเขาน้ํามันเชื้อเพลิง

ประมาณ ๑.๒ ลานลานบาท (โดยขึ้นลงตามราคาน้ํามันเชื้อเพลิงในตลาดโลก)

การใชพลังงานในภาคขนสงในป พ.ศ. ๒๕๕๑ ดีเซล รอยละ ๖๖ เบนซิน รอยละ ๒๘ กาซ

ธรรมชาติ รอยละประมาณ ๓ และพลังงานทดแทนประมาณ รอยละ ๔ อีก ๑๕ ปขางหนา คือ พ.ศ.

๒๕๖๕ มีเปาหมายพลังงานทดแทนในภาคขนสงเอทานอลรอยละ ๙ ไบโอดีเซล รอยละ ๕

ประเทศไทยมีโรงงานเอทานอล ๑๑ โรง และสิ้นป พ.ศ. ๒๕๕๑ จะเปน ๒๐ โรง เปนอันดับ

๑ ของเอเชีย และอันดับ ๓ ของโลก กําลังการผลิตเอทานอลในป พ.ศ. ๒๕๕๑ สหรัฐอเมริกามีกําลังการ

ผลิตเปนอันดับ ๑ คือประมาณ ๑๒,๐๐๐ กิโลตัน/ป อันดับ ๒ บราซิล ๑๑,๒๖๔ กิโลตัน/ป อันดับ ๓ จีน

๑,๐๔๓ กิโลตัน/ป ประเทศไทยเปนอันดับ ๙ ของโลก อยูที่ ๘๘ กิโลตัน/ป และถึงสิ้นป ๒๕๕๑ จะมีกําลัง

ผลิตถึง ๑,๘๔๖ กิโลตัน/ป พ.ศ. ๒๕๕๒ จะมีกําลังผลิตถึง ๒.๕๖ ลานตัน/ป

การผลิตไบโอดีเซลในประเทศไทย รอยละ ๓๐ ของผลผลิตปาลมนํามาผลิตไบโอดีเซล และ

อีก ๓ – ๔ ปขางหนาจะเพิ่มเปน รอยละ ๕๐ ของผลผลิตปาลมน้ํามันทั้งประเทศ

สัดสวนการผลิตเอทานอลกากน้ําตาล ๓.๗ กิโลกรัม ไดเอทานอล ๑ กิโลกรัม ออยสด ๑๐

กิโลกรัม ไดเอทานอล ๑ กิโลกรัม มันสําปะหลัง ๖ กิโลกรัม ไดเอทานอล ๑ กิโลกรัม คาใชจายประมาณ

๓.๕๐ บาท/ลิตร (ไมรวมคาวัตถุดิบ)

การผลิตไบโอดีเซลควรมีการผลักดัน ๓ ระดับ คือ

๑. ระดับชนบท คือ เกษตรกรที่กระจายตัวอยูทั่วไปไมตองใชเทคโนโลยีอะไรมาก ใชพืช

น้ํามันที่เก็บไดทั่วไป เชน สบูดํา หีบน้ํามันออกมาแลวนํามาใชกับเครื่องยนตการเกษตรตาง ๆ ไดเลย

๒. ระดับชุมชน คือ ไบโอดีเซลระดับชุมชนใชกับทองถิ่น เชน เทศบาล ซึ่งมีอยู ๑,๐๐๐

กวาแหง เก็บรวบรวมน้ํามันใชแลวนํามาผานกระบวนการกลั่นเปนไบโอดีเซล

๓. ระดับอุตสาหกรรม เชน บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) บริษัท บางจาก จํากัด

(มหาชน) โดยใชเทคโนโลยีระดับสูงในการผลิตไบโอดีเซลและนํามาใชในเชิงพาณิชย

Page 42: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๒๗

รับฟงการบรรยายสรุปเกีย่วกับการบรหิารงานของกระทรวงพลงังาน โดย รัฐมนตรวีาการกระทรวงพลังงาน และผูบริหารของหนวยงานสงักัดกระทรวงพลังงาน

พลโทหญิง พูนภิรมย ลิปตพัลลภ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน กลาวตอนรับ

คณะกรรมาธิการการพลังงานไดเดินทางไปเยี่ยมกระทรวงพลังงานเปนครั้งแรกหลังจากมีการตั้ง

คณะกรรมาธิการการพลังงานชุดนี้ จากนั้นคณะกรรมาธิการการพลังงานและผูบริหารของกระทรวง

พลังงานไดกลาวแนะนําตัวตอที่ประชุม และรับฟงบรรยายสรุปการบริหารงานของกระทรวงพลังงาน ดังนี้

กระทรวงพลังงานไดดําเนินงานมาแลว ๕ ป มีขาราชการประมาณ ๑,๓๐๐ คน ลูกจางและ

พนักงานราชการประมาณ ๗๐๐ คน งบประมาณที่ไดรับในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ จํานวน ๒,๔๐๐

ลานบาท

มูลคาการใชพลังงานของประเทศไทยในป พ.ศ. ๒๕๕๐ ประมาณ ๑.๔๙ ลานลานบาท คิด

เปนหนวยงพลังงานเทากับ ๑.๖ ลานบารเรลตอวัน มูลคาการใชพลังงานเทากับรอยละ ๑๗ ของรายได

ประชาชาติ มีการนําเขาพลังงานประมาณ ๙ แสนลานบาท หรือประมาณรอยละ ๖๔ ของปริมาณการใช

พลังงานของประเทศ การบริหารจัดการดานพลังงานใหมีใชอยางมั่นคงมีราคาที่เปนธรรม จึงเปนภารกิจที่

สําคัญของกระทรวงพลังงาน ถือเปนกลไกสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ

ต้ังแตป พ.ศ. ๒๕๔๗ เปนตนมา เกิดวิกฤติดานพลังงาน ราคาน้ํามันในตลาดโลกพุงสูงขึ้น

อยางมากในป พ.ศ. ๒๕๕๑ นี้ ราคาน้ํามันพุงสูงขึ้นจากตนเดือนถึงปจจุบัน รอยละ ๘๐ – ๙๐ น้ํามันดีเซล

ในตลาดโลกเดือนมกราคม ๒๕๕๑ อยูที่ ๑๐๐ ดอลลาร/บารเรล เดือนกรกฎาคมสูงขึ้นเปน ๑๘๕ ดอลลาร/

บารเรล น้ํามันดิบเมื่อป พ.ศ. ๒๕๕๐ ประมาณ ๘๐ ดอลลาร/บารเรล ป พ.ศ. ๒๕๕๑ เพิ่มสูงขึ้นเปน ๑๒๐

– ๑๔๐ ดอลลารตอบารเรล

ดานกิจการไฟฟา ประเทศไทยมีความตองการใชพลังงานไฟฟาเพิ่มข้ึนอยางมาก การบรหิาร

จัดการเรื่องกิจการไฟฟาจึงเปนเรื่องสําคัญ การวางแผนกําลังการผลิตไฟฟาลวงหนาเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่ง

ขอมูลการใชพลังงานไฟฟา ในป พ.ศ. ๒๕๕๐ มูลคาการใชพลังงาน ๑.๔๙ ลานลานบาท ป พ.ศ. ๒๕๕๑

มูลคาการใชพลังงานจะอยูที่ประมาณ ๑.๕ – ๑.๗ ลานลานบาท แมป พ.ศ. ๒๕๕๑ จะมีการรณรงคในการ

ใชพลังงานอยางประหยัด แตดวยราคาพลังงานที่สูงขึ้น จึงทําใหมูลคาการใชพลังงานสูงขึ้นดวย

การใชกาซธรรมชาติภายในประเทศ ปจจุบันมีการใชกาซธรรมชาติในการผลิตไฟฟา

ภาคอุตสาหกรรมและภาคการขนสงมากขึ้น การเติบโตของการใชกาซธรรมชาติจึงเพิ่มข้ึนรอยละ ๙ – ๑๐

ตอป ป พ.ศ. ๒๕๕๐ มีการใชกาซธรรมชาติ ๓,๓๐๐ ลานลูกบาศกฟุต/วัน ป พ.ศ. ๒๕๕๑ มีการใชกาซ

ธรรมชาติ ๓,๗๐๐ ลานลูกบาศกฟุต/วัน ๓ – ๔ ปขางหนาจะเพิ่มสูงขึ้นเปน ๕,๐๐๐ ลานลูกบาศกฟุต/วัน

โรงไฟฟาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โรงไฟฟาถานหินหรือพลังน้ําจะมีการตอตานจากชุมชนไม

สามารถกอสรางได อีกทั้งโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรเกิดขึ้นไดยาก ตองใชกาซธรรมชาติในการผลิตไฟฟา

ตอไป ถึงตอนนั้นเมื่อความตองการใชไฟฟาสูงขึ้นและไมสามารถสรางโรงไฟฟาโดยใชพลังงานอยางอื่นได

Page 43: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๒๘

อาจตองใชกาซธรรมชาติ ๗,๐๐๐ – ๘,๐๐๐ ลานลูกบาศกฟุต/วัน ในแงการวางแผนการใชพลังงานแลว

หากมีการใชกาซธรรมชาติเพิ่มข้ึน กาซธรรมชาติที่มีการสํารองไวจะไมเพียงพอในอนาคต ซึ่งจะกระทบตอ

ความมั่นคงดานพลังงานของประเทศ

การกระจายแหลงเชื้อเพลิงของการผลิตไฟฟามีการใชกาซธรรมชาติผลิตไฟฟาอยูที่

ประมาณรอยละ ๖๕ และจะเพิ่มข้ึนเปนรอยละ ๗๐ รอยละ ๘๐ หรือรอยละ ๙๐ ตอไปในอนาคต เปนการ

ใชที่มากเกินไป เสี่ยงตอความมั่นคงดานพลังงานไมวาจะเปนดานราคาที่จะเพิ่มสูงขึ้นหรือการขาดแคลน

กาซธรรมชาติ ประเทศที่มีการวางแผนจัดการดานไฟฟาที่ดีจะตองมีการกระจายแหลงเชื้อเพลิงของการ

ผลิตไฟฟา เชน ประเทศญี่ปุน มีการกระจายแหลงเชื้อเพลิงคือ ผลิตไฟฟาจากพลังน้ํา ถานหิน นิวเคลียร

และกาซธรรมชาติ

ราคาพลังงาน รัฐบาลชุดปจจุบันไดมีการนํามาตรการหลาย ๆ ดานที่จะลดผลกระทบใหแก

ประชาชนในเรื่องของราคาพลังงาน ไดแก การบริหารกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง และกองทุนอนุรักษพลังงาน

เพื่อชะลอการขึ้นราคาน้ํามัน การตรึงราคากาซหุงตม การจัดหาน้ํามันราคาถูก ชวยเหลือประชาชนที่ไดรับ

ผลกระทบจากราคาน้ํามันอยางมาก มีการบริหารจัดการเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟา เพื่อมิใหคา Ft เพิ่ม

สูงขึ้น มีการสงเสริมพลังงานเชื้อเพลิงชีวภาพ สงเสริมการใชกาซธรรมชาติในภาคการขนสง มีการผลักดัน

กองทุนพัฒนาพื้นที่รอบโรงไฟฟา ซึ่งประสบความสําเร็จอยางมากที่โรงไฟฟาชัยนาท โรงไฟฟาราชบุรี

โรงไฟฟาแกงคอย ไดรับการยอมรับจากชุมชน โดยเก็บเงินจากโรงไฟฟาสงเขากองทุนเพื่อใหชุมชนบริหาร

จัดการเองในรัศมี ๕ กิโลเมตรรอบโรงไฟฟา ปจจุบันมีประมาณ ๑๐๐ กองทุนใน ๓๐ จังหวัดทั่วประเทศ

สถานการณราคา LPG รัฐบาลมีนโยบายกลไกเสรีลอยตัวราคาพลังงาน แตมีราคา LPG ที่

ยังตรึงราคาอยู ปจจุบันราคา LPG ตรึงไวที่หนาโรงกลั่น ๓๓๐ ดอลลาร/ตัน (๓๕ ดอลลาร/บารเรล) ขณะที่

ราคาน้ํามันดิบอยูที่ ๑๒๐ ดอลลาร/บารเรล โดย LPG ในตลาดโลกอยูที่ประมาณ ๗๕ – ๘๕ ดอลลาร/

บารเรล ความตองการใช LPG สูงขึ้นทั้งภาคครัวเรือน ภาคการขนสงและภาคอุตสาหกรรม โดย ๔ ปที่ผาน

มาภาคการขนสงมีความตองการใช LPG เพิ่มข้ึนรอยละ ๒๐๐ ภาคอุตสาหกรรมเมื่อราคาน้ํามันเตาเพิ่ม

สูงขึ้นก็หันมาใช LPG เพราะราคาถูก ภาคอุตสาหกรรมจึงมีปริมาณการใชเพิ่มข้ึนรอยละ ๗๐ จากเดิม เมื่อ

๒ ปกอน ประเทศไทยมี LPG เกินความตองการใชในประเทศ แตปจจุบันนี้ตองมีการนําเขาโดยนําเขาใน

ราคา ๘๕๐ – ๙๐๐ ดอลลาร/ตัน

สถานการณราคา NGV จากการที่ราคาน้ํามันเพิ่มสูงขึ้นมาก กระทรวงพลังงานไดเรงรัดให

กรมธุรกิจพลังงานและ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ขยายแผนการสงเสริมการใช NGV ในภาคการขนสง

ปจจุบันมีรถใช NGV ประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ คันแลว คาดวาภายในสิ้นป พ.ศ. ๒๕๕๑ จะมีรถใช NGV

ประมาณ ๑๒๐,๐๐๐ คัน มีสถานีบริการ NGV ๒๑๖ สถานี ส้ินป พ.ศ. ๒๕๕๑ จะมีสถานีบริการ ๓๕๕

สถานี ปริมาณความตองการใช NGV เพิ่มข้ึนจากปที่ผานมาประมาณ ๒ เทา กระทรวงพลังงาน

ต้ังเปาหมายวา NGV จะใชทดแทนน้ํามันดีเซล เบนซินใหไดประมาณรอยละ ๒๐ ภายใน ป พ.ศ. ๒๕๕๕

Page 44: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๒๙

พลังงานทดแทน พลังงานเชื้อเพลิงชีวภาพ แกสโซฮอล ประสบความสําเร็จอยางดียิ่งใน

ขณะนี้ การใชน้ํามันเชื้อเพลิงอยูที่ ๒๐ ลานลิตรตอวัน ประมาณรอยละ ๔๐ (๘ ลานลิตรตอวัน) เปนแกส

โซฮอลโดยเฉพาะแกสโซฮอล ๙๕ ขณะนี้ เบนซินออกเทน ๙๕ มีปริมาณการใชเพียง ๑.๒ ลานลิตร/วัน

ปจจุบันที่ปริมาณการใชแกสโซฮอลเพิ่มสูงเพราะมีการจูงใจดานราคาคาการตลาด

สถานีบริการน้ํามันทั่วประเทศประมาณรอยละ ๘๗ หรือ ๔,๕๐๐ ปม มีแกสโซฮอลขายแลว

แกสโซฮอล E๒๐ กระทรวงพลังงานไดสงเสริมใหมีการใชเมื่อตนปที่ผานมา ปจจุบันมีสถานีบริการแกส

โซฮอล E๒๐ ประมาณ ๑๐๐ สถานี

การผลิตเอทานอล ปจจุบันประเทศไทยมีโรงงานผลิตเอทานอล ๑๑ โรง กําลังการผลิต ๑.๕

ลานลิตรตอวัน มีปริมาณการใชเอทานอลประมาณ ๘ – ๙ แสนลิตรตอวัน จึงมีแนวคิดการขยับจาก E๑๐

เปน E๒๐ หรือ E๘๕ จะทําใหทดแทนน้ํามันไดมากขึ้น

การผลิตไบโอดีเซล ปจจุบันวัตถุดิบไมเพียงพอ เพราะสวนหนึ่งของปาลมน้ํามันตองกันไว

เปนน้ํามันบริโภค กระทรวงพลังงานจึงกําหนดแผนรวมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณหาแนวทางใหมีการ

เพิ่มพื้นที่เพาะปลูกปาลมน้ํามันใหมากขึ้น การผลิตไบโอดีเซลในเชิงพาณิชยตองมาจากปาลมน้ํามัน

เทานั้น พืชสบูดํายังไมเหมาะสมที่จะผลิตในเชิงพาณิชย กระทรวงพลังงานไดสนับสนุนไบโอดีเซลอยางเดมิ

ที่ไดกําหนดมาตรฐานบังคับจะตองผสมไบโอดีเซลรอยละ ๒ ซึ่งเริ่มดําเนินการเมื่อเดือนกุมภาพันธที่ผาน

ไดรับการตอบรับที่ดีจากประชาชน เพราะประชาชนไมมีความรูสึกวามีผลกระทบตอเครื่องยนตแตอยางใด

B๕ ก็เชนเดียวกันไมมีผลกระทบตอเครื่องจนขณะนี้ยอดความตองการใช B๕ อยูที่ ๑๐ ลานลิตรตอวัน

ไบโอดีเซลชุมชน ซึ่งมีมาตรฐานไมสูงมากนักเหมาะสมกับเครื่องยนตทางการเกษตร เครื่อง

สูบน้ํา เครื่องไถนา กระทรวงพลังงานไดสงเสริมมาประมาณ ๔ – ๕ ปมาแลว โดยใชน้ํามันพืชใชแลว สบู

ดํา ประสบความสําเร็จอยางมาก โดยเฉพาะการผลิตจากน้ํามันพืชใชแลว

นอกจากนั้นกระทรวงพลังงานสนับสนุนการวางแผนในชุมชน เพื่อลดคาใชจายในชุมชน มี

การสงเสริมใหมีการลงทุนผลิตไฟฟาแบบพลังงานทดแทน โดยกระทรวงพลังงานจะซื้อไฟฟาในราคาที่แพง

ข้ึนกวาราคาปกติที่รับซื้อ การใชพลังงานทดแทนภายในประเทศ จากเดิม ๔ – ๕ ปที่ผานมา มีการใชเพียง

รอยละ ๐.๕ ของพลังงานการใชพลังงานโดยรวมของประเทศ ปจจุบันเพิ่มข้ึนเปนรอยละ ๕ และกําหนด

แผนภายในป พ.ศ. ๒๕๕๔ จะเพิ่มสัดสวนการใชพลังงานทดแทนเปนรอยละ ๑๐

พลังงานนิวเคลียร ความตองการใชไฟฟาของประเทศเพิ่มสูงขึ้น หากไมมีการหาแหลง

เชื้อเพลิงอื่นมาใชในการผลิตไฟฟาก็จะตองพึ่งพากาซธรรมชาติมากเกินไป ซึ่งจะไมมีความมั่นคงดาน

พลังงานของประเทศ และประสบกับภาวะโลกรอนดวย จําเปนตองมีการสรางโรงไฟฟาที่ผลิตไฟฟาไดใน

ปริมาณมาก และสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมนอย ปลอยกาซเรือนกระจกนอย การกอสรางโรงไฟฟา

นิวเคลียรจึงเปนทางออกสําหรับเร่ืองนี้ โรงไฟฟานิวเคลียรเปนการใชเชื้อเพลิงยูเรเนียมเสริมสมรรถนะ

โรงไฟฟานิวเคลียรขณะนี้อยูในขั้นตอนการศึกษา ๓ ปกอนจะตัดสินใจ

Page 45: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๓๐

มาตรการประหยัดพลังงาน กระทรวงพลังงานไดมีมาตรการเรงรัดออกมา ๑๑ มาตรการ ต้ัง

เปาวาจะประหยัดพลังงานได ๑๐๐,๐๐๐ ลานบาทตอป

พลังงานสะอาด กาซเรือนกระจกที่เปนตัวสําคัญที่สุดคือ กาซคารบอนไดออกไซด มีเทน

และ CFC แตสวนใหญจะเปนคารบอนไดออกไซด เพราะมาจากรถยนต โรงงานอุตสาหกรรม ประชากร

ของโลกปจจุบัน ๖.๕ พันลานคน คาดวาจะเพิ่มเปน ๙ พันลานคนในป พ.ศ. ๒๕๗๓ การใชพลังงานตอง

เพิ่มข้ึนอยางแนนอน การปลอยกาซคารบอนไดออกไซคก็จะเพิ่มข้ึนอยางแนนอน การวางแผนที่จะลดการ

ปลอยกาซคารบอนไดออกไซดโดยเพิ่มประสิทธิภาพที่ปลายทางคือ การใชเครื่องใชไฟฟาประหยัดพลังงาน

โรงไฟฟาตองผลิตไฟฟาอยางมีประสิทธิภาพใชเชื้อเพลิงนอยลงใชพลังงานทดแทนใหมากขึ้น

นอกจากนั้น กระทรวงพลังงานไดออกมาตรฐานโรงไฟฟาซึ่งเทียบเทามาตรฐานประเทศ

ญ่ีปุน กําหนดมาตรฐานน้ํามันเชื้อเพลิงยูโร ๔ เพื่อลดปริมาณกํามะถัน กําหนดติดตั้งเครื่องมือเพื่อปองกัน

การรั่วไหลของน้ํามันตามปมน้ํามัน และสงเสริมโครงการพัฒนากลไกพลังงานสะอาด (CDM)

ความสัมพันธกับตางประเทศ ประเทศไทยรอยละ ๖๔ ของการใชพลังงานนําเขาจาก

ตางประเทศ จึงหลีกเลี่ยงไมไดที่ราคาพลังงานภายในประเทศตองยึดโยงกับราคาในตลาดโลก และตองมี

ความสัมพันธที่ดีกับตางประเทศดวย

คณะกรรมาธิการซักถาม สรุปไดดังนี้

๑. โครงสรางราคาพลังงานของประเทศ รัฐบาลมีนโยบายอยางไร โดยเฉพาะราคา LPG

รัฐบาลมีการแทรกแซงราคาตลาดไมไดยืนอยูบนความจริง ซึ่งจะไมสงผลดีในระยะยาว

๒. การสรางโรงไฟฟานิวเคลียรระยะเวลา ๓ ป ในการดําเนินการศึกษานาจะไมพอที่จะ

ไดคําตอบ เพราะปญหาสําคัญคือ การทําความเขาใจกับประชาชน กระทรวงพลังงานมีมาตรการรองรับ

อยางไร

๓. พลังงานทดแทนเอทานอล ไบโอดีเซล ปญหาขณะนี้คือปริมาณการผลิตเกินความ

ตองการ กระทรวงพลังงานควรมีมาตรการบังคับการใชเอทานอล ไบโอดีเซลกับน้ํามันเชื้อเพลิง เพื่อใหการ

สงเสริมพลังงานเชื้อเพลิงชีวภาพเกิดผลในทางปฏิบัติและวัตถุดิบที่นํามาผลิตเอทานอล เชน Molasses

น้ํามันใชแลว รัฐบาลควรกําหนดมาตรการหามสงออกดวย

ผูแทนกระทรวงพลังงานตอบขอซักถาม ดังนี้

๑. โครงสรางพลังงานของประเทศ กระทรวงพลังงานไดกําหนดไวชัดเจนที่จะนําพลังงาน

ทดแทนมาใชมากข้ึน การใชพลังน้ํา ถานหิน และสงเสริมใชกาซธรรมชาติในภาคการขนสง เพื่อลดการ

นําเขาน้ํามันปจจุบันมูลคาการนําเขาน้ํามันสูงมากขึ้นและตอเนื่อง อยางไรก็ตาม การประหยัดพลังงานยัง

เปนสิ่งสําคัญ ซึ่งเร็ว ๆ นี้ กระทรวงพลังงานจะจัดใหมีโครงการประหยัดพลังงานระดับชาติข้ึนอีกครั้ง

ราคา LPG เปนหนาที่ของกระทรวงพลังงานที่ตองดูแลราคา LPG ใหเหมาะสมเปนธรรมกับ

ประชาชนภาคครัวเรือน โดยไมสงเสริมใหมีการใชในภาคการขนสงและภาคอุตสาหกรรม โดยมีมาตรการ

Page 46: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๓๑

ชะลอการปรับข้ึนราคา LPG เปนเวลา ๖ เดือน จนถึงเดือนมกราคม ๒๕๕๒ ในสวนของราคา LPG

หลังจากนี้จะมีการพิจารณาปรับราคาที่เหมาะสมตอไป ซึ่งขณะนี้อยูระหวางการพิจารณาและประเมิน

ตัวเลขการปรับราคาในเรื่องนี้ จะตองผานการพิจารณาจากคณะทํางานแกไขปญหาการขาดแคลนกาซ

ปโตรเลียม ซึ่งมีปลัดกระทรวงพลังงานเปนประธานกอนจะเสนอใหคณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน

(กบง.) เปนผูพิจารณาอนุมัติตอไป ทั้งนี้ ในเบื้องตนยังไมมีขอสรุปแนชัดเกี่ยวกับตัวเลขการปรับราคา LPG

วาเปนเทาใด ซึ่งจะตองดูหลายปจจัย ไมใหเกิดผลกระทบกับผูบริโภคมากเกินไป

นโยบาย LPG ในภาคการขนสงกระทรวงพลังงานไมเคยมีนโยบายสงเสริมการใช LPG ใน

ภาคการขนสง แตดวยเหตุที่ LPG มีสถานีบริการและติดตั้งที่สะดวก มีการตรึงราคา ประชาชนจึงหันมาใช

LPG กับรถยนต ซึ่งเปนความตองการของประชาชนมิใชนโยบายของกระทรวงแตอยางไร อีกทั้งที่ผานมา

คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหหยุดขยายสถานีบริการ LPG แลว แตไมสามารถปฏิบัติได เนื่องจากติดปญหาขอ

กฎหมาย

๒. พลังงานนิวเคลียรในการผลิตไฟฟาเปนอีกทางออกหนึ่งของประเทศไทย เนื่องจาก

ปริมาณความตองการใชไฟฟาของประเทศเพิ่มสูงขึ้นและตอเนื่อง กระทรวงพลังงานจึงไดมีการศึกษาการ

สรางโรงไฟฟานิวเคลียร เพื่อเปนทางออกของประเทศ จากการศึกษาจําเปนตองประชาสัมพันธและให

ขอมูลกับประชาชนเกี่ยวกับการกอสรางโรงไฟฟา ปริมาณความตองการใชไฟฟา และชุมชนไดอะไรจาก

การสรางโรงไฟฟา เชน จัดใหมีกองทุนพัฒนาพื้นที่รอบโรงไฟฟา

ความปลอดภัยของโรงไฟฟานิวเคลียรมีความปลอดภัยสูง มีสํานักงานปรมาณูเพื่อสันติ

คอยดูแลเปนหนวยงานอิสระตามกฎหมายในการควบคุมกิจการโรงไฟฟานิวเคลียร พลังงานนิวเคลียรใน

การผลิตไฟฟาใชเชื้อเพลิงยูเรเนียมผานกระบวนการเสริมสมรรถนะ Enrichment ใหมีความเขมขน

ประมาณรอยละ ๓ – ๕ ตางกับการสรางระเบิดปรมาณูที่ตองผานกระบวนการสรางสมรรถนะเพิ่มความ

เขมขนรอยละ ๑๐๐ การสรางความเขาใจกับประชาชนจึงเปนสิ่งสําคัญ

โรงไฟฟานิวเคลียรปจจุบันไดมีการจัดตั้งสํานักโครงการผลิตไฟฟาจากพลังงานนวิเคลยีร ทาํ

หนาที่ศึกษาดานเทคโนโลยีที่ต้ังโรงไฟฟาระยะเวลา ๓ ป นาจะมีคําตอบวาจะสรางหรือไม ปจจุบันใน

ภูมิภาคอาเซียน ประเทศที่มีโรงไฟฟานิวเคลียรแลวคือ ประเทศญี่ปุน เกาหลีใต จีน ซึ่งกลุม ๓ ประเทศนี้ได

แสดงความยินดีที่จะอบรมบุคลากรและใหความรูดานนิวเคลียรแกประเทศไทยแลว

๓. การสงเสริมและพัฒนาพลังงานทดแทนทุกรูปแบบ เปนนโยบายหลักของกระทรวง

พลังงาน เพื่อเปนทางเลือกแกประชาชน ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืน สนับสนุนการ

ใชเอทานอลปจจุบันยอดการใชแกสโซฮอลออกเทน ๙๕ อยูที่ ๖ ลานลิตรตอวัน ปลายป ๒๕๕๑ ผลักดัน

การใชแกสโซฮอลขยายยอดการใชใหเปน ๑๒ ลานลิตรตอวัน กระทรวงพลังงานมีแผนสงเสริมแกสโซฮอล

E๑๐ E๒๐ และ E๘๕ ให E๒๐ เปนเชื้อเพลิงหลักสําหรับรถยนตใหมในอนาคต หรืออาจขยายผลสู E๘๕

Page 47: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๓๒

ในอนาคตตอไป วัตถุดิบในการผลิตเอทานอลไมมีปญหา และยังชวยยกระดับราคาสินคาเกษตร เชน มัน

สําปะหลัง

ไบโอดีเซลมีแผนการแกไขปญหาดานวัตถุดิบ (น้ํามันปาลมดิบ) โดยไดประชุมรวมกับ

กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงพาณิชย วางแผนการปลูกปาลมน้ํามัน การหาพื้นทีป่ลูกพชืน้าํมนัให

เหมาะสม ไมสงผลกระทบตอสินคาอุปโภคบริโภคอื่น

การใชกาซเอ็นจีวีในภาคขนสง เพื่อแกไขปญหาระยะยาวโดยจัดทําแผนแกไขปญหาการใช

น้ํามันโดยกําหนดใหใช NGV ทดแทนการใชน้ํามันในภาคขนสงใหไดรอยละ ๒๐ โดยมอบหมายใหกรม

ธุรกิจพลังงานเปนแกนหลักในการจัดทําแผนแมบทครบวงจรในการพัฒนาการใช NGV ในภาพรวมตอไป

ขอดีการใชกาซ NGV คือ ทดแทนน้ํามันไดรอยละ ๑๐๐ สะอาดเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม และ

ลดการใชกาซ LPG ในภาคการขนสงลงได

กระทรวงพลังงานไดจัดทําแผนแมบท ๑๕ ป ในการพัฒนาพลังงานทดแทน โดยมอบหมาย

ภารกิจสําคัญนี้ใหปลัดกระทรวงพลังงานเพื่อบูรณาการและระดมสมองกับผูที่เกี่ยวของตอไป

๔) มติที่ประชุม / ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ (ไมมี)

Page 48: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๓๓

ครั้งที่ ๙ วันพุธที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๕๑ ๑) เร่ืองพิจารณา แนวทางการพัฒนาจักรยานยนตสําหรับน้ํามัน E ๘๕

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

- วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี

- มูลนิธิสถาบันพลังงานทดแทนเอทานอล – ไบโอดีเซลแหงประเทศไทย

- สมาคมอุตสาหกรรมยานยนตไทย

๓) ประเด็นการพิจารณา

แนวทางการพัฒนาจักรยานยนตสําหรับน้ํามัน E๘๕ ปจจุบันประเทศไทยมีรถจักรยานยนต

ที่จดทะเบียน ๑๕.๙ ลานคัน และรถยนต ๓.๕ ลานคัน การใชน้ํามันเอทานอล E๘๕ กับรถจักรยานยนต

กลุมผูใชรถจักรยานยนตยังไมมีความรูเกี่ยวกับน้ํามันเอทานอล E๘๕ ซึ่งโดยปกติเครื่องยนตที่ใชน้ํามัน

เบนซินจะมีอัตราการอัดอยูที่ ๑๐ ตอ ๑ หากมีการนําน้ํามันเอทานอลมาใชกับเครื่องยนตเบนซินจะตองมี

การปรับอัตราสวนการอัดที่สูงขึ้นกวาปกติอยูที่ ๑๑ ตอ ๑ ซึ่งการใชน้ํามันเอทานอลกับเครื่องยนตระบบ

คารบูเรเตอรอาจเกิดคราบสนิมขาวและเกิดปญหากับคารบูเรเตอรได เพราะการใชน้ํามันเอทานอล E๘๕

เหมาะกับการนําไปใชกับเครื่องยนตระบบหัวฉีดมากกวาเครื่องยนตที่ใชระบบคารบูเรเตอร เพราะ

เครื่องยนตหัวฉีดจะมีระบบทอที่เปนอลูมิเนียมซึ่งทนตอการกัดกรอน

การใชน้ํามันเอทานอล E๘๕ กับรถจักรยานยนตที่ไมไดออกแบบมาใหใชกับน้ํามันเอทา

นอล E๘๕ โดยเฉพาะจะพบปญหาดังนี้

๑. เกิดคราบยางเหนียวกระจายเปนจุดเล็ก ๆ บริเวณหองเผาไหม ซึ่งคราบแหลานี้จะ

เกิดขึ้นตามปริมาณของน้ํามันเอทานอลวามีสวนผสมในอัตรามากหรือนอย ซึ่งอยูระหวางการศึกษาวาการ

เกิดคราบดังกลาวมีสาเหตุมาจากน้ํามันเอทานอลหรือน้ํามันเครื่องที่เหลือจากการเผาไหม

๒. หากมีการใชน้ํามันเอทานอลไปเปนระยะเวลานาน ๆ จะทําใหแหวนของเครื่องยนตขัดของ

๓. ตองมีการปรับเปลี่ยนวัสดุที่ใชใหมีความทนทานตอการกัดกรอนของเอทานอล

การสนับสนุนการใชน้ํ ามันเอทานอล E๘๕ ภาครัฐยังไมมีความชัดเจน ซึ่ งทําให

ภาคอุตสาหกรรมอยูระหวางรอความชัดเจนในการสงเสริมการใชน้ํามันเอทานอล E๘๕ ซึ่งการผลิต

รถจักรยานยนตใหใชน้ํามันเอทานอล E๘๕ ผูประกอบการผลิตรถจักรยานยนตมีเทคโนโลยีเพื่อรองรับการ

ใชน้ํามันเอทานอล E๘๕ แตหากมีการผลิตออกมาแลวใชไดเฉพาะน้ํามันเอทานอล E๘๕ โดยไมสามารถ

ใชน้ํามันประเภทอื่นได อาจทําใหไมสามารถขายรถจักรยานยนตที่ใชน้ํามันเอทานอล E๘๕ ได ซึ่งหากเปน

การผลิตรถจักรยานยนตแบบเครื่องยนตที่ใชเชื้อเพลิงที่ยืดหยุน (Flex Fuel) จะทําใหสามารถใชน้ํามัน

เอทานอล E๑๐ น้ํามันเอทานอล E๒๐ และน้ํามันเอทานอล E๘๕ ได

ดังนั้น ภาครัฐควรตองมีการสนับสนุนการใชน้ํามันเอทานอล E๘๕ อยางชัดเจนมากขึ้น

๔) มติที่ประชุม / ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ (ไมมี)

Page 49: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๓๔

ครั้งที่ ๑๐ วันพุธที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๕๑ ๑) เร่ืองพิจารณา

- การปรับแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟา เนื่องจากโครงการโรงไฟฟาใน สปป. ลาว ๕

โครงการ เลื่อนออกไป

- ประมาณการคา Ft งวดเดือนตุลาคม ๒๕๕๑ – พฤษภาคม ๒๕๕๒

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

- การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

- กระทรวงพลังงาน

๓) ประเด็นการพิจารณา การปรับแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟา เนื่องจากโครงการโรงไฟฟาใน สปป. ลาว

๕ โครงการ เลื่อนออกไป การปรับแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย (PDP ๒๐๐๗ ฉบับ

ปรับปรุง คร้ังที่ ๒) มีประเด็นหลักในการปรับปรุงแผน คือ ความตองการไฟฟาและโครงการของ สปป. ลาว

๕ โครงการเลื่อนออกไป เปนกลุมในโครงการที่ลงนาม Tariff MOU แลว แต Tariff MOU หมดอายุหรือผู

ลงทุนขอยกเลิก ประกอบดวย

๑. กลุมโครงการที่ Tariff MOU หมดอายุ

- โครงการน้ํางึม ๓

- โครงการน้ําเทิน ๑

มีสถานภาพคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบรางสัญญาซื้อขายไฟฟา (PPA : Power

Purchase Agreement) เมื่อวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๐

๒. กลุมโครงการที่ Tariff MOU ยังไมหมดอายุ แตขอยกเลิก Tariff MOU

- โครงการหงสาลิกไนต สถานภาพมีการเจรจาจัดทํา PDA มาเปนลําดับ

และเมื่อวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๑ กลุมผูพัฒนาโครงการมีหนังสือถึงการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

เพื่อขอยกเลิก Tariff MOU และขอเจรจาอัตราคาไฟฟาใหม โดยใหเหตุผลวาตนทุนเพิ่มสูงขึ้น

- โครงการน้ําเงี้ยบ สถานภาพคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบรางสัญญา

ซื้อขายไฟฟา (PPA) เมื่อวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๐ และเมื่อวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๑ กลุมผูพัฒนา

โครงการไดมีหนังสือถึงการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย เพื่อขอยกเลิก Tariff MOU และขอเจรจาอัตรา

คาไฟฟาใหมโดยใหเหตุผลวาตนทุนเพิ่มสูงขึ้น

- โครงการน้ําอู สถานภาพ หลังจากลงนาม Tariff MOU ไดมีการประชุม

จัดทํารางสัญญาซื้อขายไฟฟา (PPA) และเมื่อวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๕๑ กลุมผูพัฒนาโครงกากรไดมี

หนังสือถึงการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย เพื่อขอยกเลิก Tariff MOU และขอเจรจาอัตราคาไฟฟาใหม

โดยใหเหตุผลวาตนทุนเพิ่มสูงขึ้น

Page 50: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๓๕

ประเด็นที่ใชประกอบการพิจารณาปรับปรุงแผน PDP ๒๐๐๗ เชน

(๑) ใชคาพยากรณความตองการไฟฟาชุดใหม (ชุดเดือนสิงหาคม ๒๕๕๑)

(๒) พิจารณาการรับซื้อไฟฟาจากประเทศเพื่อนบานใหม ซึ่งเปนโครงการของ สปป. ลาว

จํานวน ๕ โครงการ

การเปรียบเทียบกําลังผลิตไฟฟาสํารองระหวางการปรับปรุง คร้ังที่ ๑ ใชคาพยากรณความ

ตองการไฟฟาชุดกันยายน ๒๕๕๐ กับการปรับปรุง คร้ังที่ ๑ (Load สิงหาคม ๒๕๕๑) ใชคาพยากรณความ

ตองการไฟฟาชุดสิงหาคม ๒๕๕๑ จะเห็นวากําลังผลิตไฟฟาสํารองของการปรับปรุง คร้ังที่ ๑ (Load

สิงหาคม ๒๕๕๑) สูงกวาการปรับปรุงครั้งที่ ๑ ใชคาพยากรณความตองการไฟฟาชุดกันยายน ๒๕๕๐ ในป

๒๕๕๒, ป ๒๕๕๓, ป ๒๕๕๔, ป ๒๕๕๕ และ ป ๒๕๕๖ จาก ๒๑.๑, ๒๒.๗, ๑๘.๕, ๒๐.๖, และ ๒๑.๙

เปน ๒๖.๔, ๒๘.๒, ๒๓.๘, ๒๖.๑ และ ๒๗.๔ ตามลําดับ ซึ่งใชเกณฑคาพยากรณเพียงอยางเดียว ตอมา

ในการปรับปรุงครั้งที่ ๒ ใชคาพยากรณความตองการไฟฟาชุดสิงหาคม ๒๕๕๑ เชนเดิม แตมีการปรับโดย

เลื่อนโครงการออกไป จึงทําใหมีกําลังผลิตไฟฟาสํารองลดลงในปเดียวกันเปน ๑๙.๗, ๑๙.๘, ๑๘.๗,

๑๘.๒ และ ๒๐.๓ กลาวคือปรับเลื่อนโครงการออกไป เนื่องจากมีการเจรจาปรับ Tariff MOU ใหม ประมาณการคา Ft งวดเดือนตุลาคม ๒๕๕๑ – พฤษภาคม ๒๕๕๒ คาไฟฟาผันแปร (คา Ft) หมายถึง คาไฟฟาที่มีผลจากการเปลี่ยนแปลงของคาใชจายที่อยู

นอกเหนือการควบคุมของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย คือ คาเชื้อเพลิง และคาซื้อไฟฟาเฉพาะสวน

ที่เปลี่ยนแปลงจากฐาน ณ วันที่กําหนดคาไฟฟาฐาน

การบริหารคาสวนตาง Ft (คาเดลตา Ft : ∆Ft)

โดยปกติแลวคาสวนตาง Ft มีคาเทากับ ๗๓.๒๔ สตางคตอหนวย แตเนื่องจากการ

ไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย นําเงิน TOP (Take or Pay) ป ๒๕๕๑ จํานวน ๓,๖๐๐ ลานบาท และคา

กาซธรรมชาติ แหลงอาทิตย ขาดสงจํานวน ๗๐๐ ลานบาท รวมทั้งสิ้น ๔,๓๐๐ ลานบาท มาปรับลดในงวด

เดือนตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๑ สามารถลดได ๑๒.๖๘ สตางค จึงเหลือคาสวนตาง Ft ๖๐.๕๖ สตางค ซึง่

ในทางเปนจริงแลว คาสวนตาง Ft ที่จะเรียกเก็บจากประชาชนจะอยูที่ ๖๐.๙๖ สตางค แตการไฟฟาฝาย

ผลิตแหงประเทศไทย เกรงวาประชาชนจะไดรับผลกระทบมากเกินควร ดังนั้น ในงวดเดือนตุลาคม –

ธันวาคม ๒๕๕๑ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยรับภาระเอง ๔๔.๕๔ สตางค และใหเก็บจาก

ประชาชน ๑๔.๘๕ สตางคตอหนวย สวนคาสวนตาง Ft ๔๔.๕๔ สตางค ที่ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศ

ไทยรับภาระนั้นจะยกไปเก็บโดยเฉลี่ยในงวดตอไป กลาวคือ งวด ๔ เดือนตั้งแตเดือนมกราคม – เมษายน

๒๕๕๒ พรอมกันนั้น การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยยังตองพิจารณาคาแกสที่จะเพิ่มข้ึนในอีก ๔ เดือนนี้ดวย

Page 51: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๓๖

สรุปผลกระทบตอผูใชไฟฟา คาไฟฟาฐาน เดิม ๒.๒๔๖๔ ใหม ๒.๒๔๖๔

คา Ft เดิม ๐.๖๒๘๕ ใหม ๐.๗๗๗๐

รวมคาไฟฟา เดิม ๒.๘๗๔๙ ใหม ๓.๐๒๓๔ เพิ่มข้ึน ๕.๑๗%

๔) มติที่ประชุม / ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ (ไมมี)

Page 52: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๓๗

ครั้งที่ ๑๑ วันพุธที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๑ ๑) เร่ืองพิจารณา

การบริหารงานของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ในหัวขอ ภาพรวมการดําเนินธุรกิจ

และแผนการลงทุนและหัวขอดานการวิจัยและพัฒนา

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

๓) ประเด็นการพิจารณา กิจการการบริหารงานของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ในหัวขอภาพรวมการ

ดําเนินธุรกิจและแผนการลงทุนและหัวขอดานการวิจัยและพัฒนา การปโตรเลียมแหงประเทศไทย (ปตท.) ไดกอต้ังขึ้นเมื่อป ๒๕๒๑ ที่ทั่วโลกกําลังเกิดภาวะ

น้ํามันขาดแคลน ปตท. จึงเริ่มตนการดําเนินงานดวยการจัดหาน้ํามันสนองความตองการใชในประเทศให

พอเพียงอยางเรงดวน เปนผลใหประเทศไทยสามารถพึ่งพาตนเองทางดานพลังงานไดในระดับหนึ่ง ลดการ

สูญเสียเงินตราตางประเทศไดเปนจํานวนมาก ในป ๒๕๔๔ การปโตรเลียมแหงประเทสไทยไดแปลงสภาพ

เปน บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) โดยรับโอนกิจการสิทธิ์ หนี้ ความรับผิด สินทรัพย และพนักงานทั้งหมด

ภายใตพระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๔๒ มีทุนจดทะเบียนเริ่มแรก ๒๐,๐๐๐ ลานบาท

กระทรวงการคลังเปนผูถือหุนรายใหญ และทําการซื้อขายในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ในป ๒๕๔๔

และในป ๒๕๕๐ ปตท. ไดมีนโยบายในการสรางความสามารถในการแขงขันของประเทศและกาวสู

เวทีโลก โดย ปตท. ไดออกไปลงทุนในตางประเทศ

ในป ๒๕๕๐ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) มีกําไรจากการดําเนินงานดานน้ํามันเชื้อเพลิง

เปนจํานวน ๙๗,๘๔๓ ลานบาท ซึ่งมาจากการดําเนินธุรกิจพลังงานที่หลากหลายและครบวงจร โดยผล

กําไรที่ไดมาจากการดําเนินงาน ๒ สวนคือ

สวนแรก เปนผลกําไรจากการประกอบการของ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) เอง จํานวน

๔๐,๓๗๖ ลานบาท

สวนที่สอง เปนผลกําไรจากบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ลงทุนในธุรกิจตาง ๆ เชน ธุรกิจ

สํารวจและผลิตปโตรเลียม ธุรกิจโรงกลั่น และธุรกิจปโตรเคมี จํานวน ๕๗,๔๒๗ ลานบาท

ทั้งนี้ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ไดนํากําไรไปใชลงทุนในธุรกิจตาง ๆ เพื่อเตรียมการสราง

ความมั่นคงและเสถียรภาพทางพลังงานใหประเทศสามารถพึ่งตนเองทางพลังงานไดอยางยั่งยืน

โดยเฉพาะการลงทุนในธุรกิจกาซธรรมชาติในระหวางป ๒๕๕๑ – ๒๕๕๕ ซึ่งสวนใหญเปนการลงทุน

เรงดวนเพื่อการวางทอกาซธรรมชาติและสถานีบริการ NGV ความมั่นคงทางดานพลังงาน Enhance

Energy Security บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) มีความมั่นคงทางดานพลังงาน เมื่อเทียบระหวางกอนการ

แปรรูปรัฐวิสาหกิจกับหลังจากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ในการจัดหากาซธรรมชาติเพิ่มข้ึนอยางตอเนื่อง โดย

Page 53: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๓๘

กอนการแปรรูปมีการจัดหากาซธรรมชาติอยูที่ ๒,๓๐๑ ภายหลังการแปรรูป (๒๐๐๗) แลว สามารถจัดหา

กาซธรรมชาติได ๓,๒๗๒ และหกเดือนแรกของป ๒๐๐๘ มีการจัดหากาซธรรมชาติได ๓,๔๕๐ ลาน

ลูกบาศกฟุตตอวัน ในการขายเชื้อเพลิงน้ํามัน บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) สามารถขายเชื้อเพลิงน้ํามัน

เพิ่มข้ึน โดยกอนการที่จะแปรรูปนั้นสามารถ ๓๑ ลานลิตรตอวัน ภายหลังการแปรรูปในป ๒๐๐๗ บริษัท

ปตท. จํากัด (มหาชน) สามารถขายเชื้อเพลิงน้ํามันได ๔๒ ลานลิตรตอวัน ในการสรางสถานีจายกาซ

ธรรมชาติ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) มีเพียงสถานีเดียวกอนการแปรรูป แตภายหลังจากที่มีการแปรรูป

ในป ๒๐๐๔ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ไดดําเนินการสรางสถานีจายกาซธรรมชาติเพิ่มข้ึนจํานวน ๑๖๖

สถานี และในป ๒๐๐๘ เพิ่มข้ึนเปน ๒๑๔ สถานี

บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ไดดําเนินธุรกิจปโตรเลียมและปโตรเคมีโดยดําเนินการเอง

และผานบริษัทในเครือ ดังนี้

บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) มีธุรกิจที่ดําเนินงานเอง มีดังนี้

๑. ธุรกิจกาซธรรมชาติ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) และบริษัทในกลุมธุรกิจสํารวจ

ผลิตและกาซธรรมชาติเปนผูประกอบธุรกิจกาซธรรมชาติอยางครบวงจรเพียงรายเดียวในประเทศ โดย

ครอบคลุมการสํารวจและผลิต การจัดหา การขนสงกาซธรรมชาติทางทอ การแยกกาซธรรมชาติและการ

จัดจําหนาย

๒. ธุรกิจน้ํามัน บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ดําเนินธุรกิจหลักในการจําหนาย

ผลิตภัณฑน้ํามันเชื้อเพลิง กาซหุงตม และผลิตภัณฑน้ํามันหลอล่ืน

๓. ธุรกิจคาสากล เปนการซื้อขายน้ํามันดิบและสําเร็จรูป

บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) มีธุรกิจที่ลงทุนผานบริษัทในเครือ มีดังนี้

๑. ธุรกิจสํารวจและผลิตปโตรเลียม โดยลงทุนผาน บริษัท ปตท. สํารวจและผลิต

ปโตรเลียมจํากัด (มหาชน) เปนการลงทุนธุรกิจสํารวจและผลิตปโตรเลียมทั้งในประเทศและตางประเทศ

๒. ธุรกิจโรงกลั่น โดยลงทุนธุรกิจกลั่นน้ํามัน จํานวน ๕ โรงกลั่น ซึ่งมีสัดสวนการถือหุน

เฉลี่ย รอยละ ๓๕ ของกําลังการกลั่นทั่วประเทศ

๓. ธุรกิจปโตรเคมี บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ไดลงทุนผานบริษัทในเครือ บริษัท

ปตท. จํากัด (มหาชน) ในการสรางมูลคาเพิ่มใหกับระบบเศรษฐกิจของประเทศ โดยใชกาซธรรมชาติเปน

วัตถุดิบในธุรกิจปโตรเคมี ซึ่งในการดําเนินธุรกิจปโตรเคมีเปนการเพิ่มศักยภาพในการแขงขันในตลาดโลก

ดวย

การดําเนินธุรกิจกาซธรรมชาติ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ไดดําเนินการลงทุนในการ

กอสรางทอสงกาซธรรมชาติในป พ.ศ. ๒๕๒๔ เสนแรกและจะไดมีการกอสรางอีกจนขณะนี้ยาวกวา

๓,๘๐๐ กิโลเมตร โดยสามารถขนสงกาซธรรมชาติได ๓,๕๕๐ ลานลูกบาศกฟุตตอวัน และในอีก ๕ ป

ขางหนา จะขยายการขนสงกาซธรรมชาติถึง ๕,๐๐๐ ลานลูกบาศกฟุตตอวัน ใหกับโรงไฟฟาและ

Page 54: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๓๙

ภาคอุตสาหกรรมตาง ๆ โดยบริษัท ยูไนเตส จํากัด ไดทําการสํารวจและขุดเจาะกาซธรรมชาติ บริษัท ปตท.

จํากัด (มหาชน) ดําเนินการวางทอกาซและ บริษัท การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย จํากัด เปนผูผลิต

ไฟฟาไวทําสัญญารวมกัน

ในการจัดหากาซธรรมชาติ (ขอมูลประมาณการ ป พ.ศ. ๒๕๕๑) ในประเทศไทย มีการ

จัดหากาซธรรมชาติทั้งหมด จํานวน ๓,๕๕๕ ลานลูกบาศกฟุตตอวัน แยกเปนแหลงกาซธรรมชาติ

ภายในประเทศ จํานวน ๒,๗๒๙ ลานลูกบาศกฟุตตอวัน และนําเขากาซธรรมชาติจากสหภาพพมา จํานวน

๘๒๖ ลานลูกบาศกฟุตตอวัน โดยกาซที่นํามาจากแหลงกาซธรรมชาติภายในประเทศ สวนหนึ่งจะนําเขา

โรงแยกกาซเพื่อแยกกาซธรรมชาติตามขั้นตอนในการแยกกาซ ซึ่งจะไดกาซอีเทน กาซโพรเทน กาซ NGV

กาซ LPG และกาซ NGL เพื่อจําหนายใหกับอุตสาหกรรมปโตรเคมีและใชเปนเชื้อเพลิง ในสวนของกาซ

ธรรมชาติที่นําเขาจากสหภาพพมาและบางสวนที่ไมไดนําไปแยกกาซธรรมชาติจะถูกสงใหกับโรงงาน

อุตสาหกรรม โรงผลิตไฟฟา และใชเปนเชื้อเพลิงในภาคการขนสง (NGV)

กาซ LPG (Liquefied Natural Gas) หรือกาซธรรมชาติเหลว ไดมาจากโรงแยกกาซและจาก

โรงกลั่น ซึ่งภาครัฐไดกําหนดราคาการจําหนายไว โดยในป พ.ศ. ๒๕๔๒ กําหนดราคาไวที่ ๓๑๐ เหรียญ

สหรัฐตอตัน (ราคาน้ํามัน ๑๐ ๒๐ เหรียญตอบาเรล) ณ ปจจุบัน ราคา LPG ในตลาดโลกประมาณ ๘๐๐

เหรียญตอตัน (ราคาน้ํามัน ๑๐๐ เหรียญสหรัฐตอตัน) ทําใหราคาขายปลีกภายในประเทศไทย ณ เดือน

กรกฎาคม ๒๕๕๑ ประมาณ๑๘.๑๓ บาท ตอกิโลกรัม ซึ่งเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบาน เชน ประเทศ

มาเลเซีย เวียดนาม กัมพูชา และลาว การขายกาซ LPG ในตลาดโลกจะอยูที่ประมาณ ๔๐ ถึง ๕๐ บาทตอ

กิโลกรัม ทําใหมีการนํากาซ LPG จากประเทศไทยแอบสงไปยังประเทศเพื่อนบาน รวมทั้งการนํากาซ LPG

มาใชภาคการขนสงใชในรถยนต ซึ่งทําใหปริมาณการใชกาซ LPG สูงขึ้น ดังนั้น ในการผลิตกาซ LPG จาก

ตางประเทศ โดยในป พ.ศ. ๒๕๕๑ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ไดนําเขากาซ LPG แลว ต้ังแตเดือน

เมษายน – เดือนกันยายน จํานวน๒๖๗ กิโลตัน และมีการคาดการณวาในเดือนตุลาคม จะนําเขากาซ

LPG อีก ประมาณ ๘๘ กิโลตัน

กาซ NGV (Natural Gas for Vehicles) หรือกาซธรรมชาติสําหรับรถยนต คือ รูปแบบของ

การใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิงสําหรับยานยนต สวนใหญเปนกาซมีเทน โดยจะนํากาซธรรมชาติมาอัด

ดวยความดันสูงประมาณ ๓,๐๐๐ ปอนดตอตารางนิ้ว แลวนําไปเก็บไวในถังที่มีความแข็งแรง ทนทานสูง

เปนพิเศษ สําหรับเปนเชื้อเพลิงสําหรับรถยนต ซึ่งในตางประเทศจะเรียกกาซ NGV นี้วา กาซธรรมชาติหรือ

CNG (Compressed Natural Gas)

การลงทุนธุรกิจสํารวจและผลิตปโตรเลียมนั้น บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) สํารวจและผลิต

ปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) เปนบริษัทสํารวจและผลิตปโตรเลียมของคนไทย โดยมีพันธกิจหลักในการสรร

หาปโตรเลียมเพื่อสนองความตองการใชพลังงานทั้งภายในประเทศและตางประเทศ รวมทัง้สามารถนาํเปน

รายไดกลับคืนสูประเทศไทยดวย ณ ปจจุบัน บริษัท ปตท. สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน)

Page 55: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๔๐

ประกอบธุรกิจสํารวจและผลิตปโตรเลียม ประมาณ ๔๐ โครงการ ในประเทศตาง ๆ ๑๔ ประเทศ ซึ่งบริษัท

ปตท. จํากัด (มหาชน) ถือหุนอยูรอยละ ๖๕.๗๑

กรรมาธิการมีขอซักถาม สรุปไดดังนี้

๑. การจัดลําดับ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ในหนังสือ Fortune ๕๐๐ ใชอะไรเปน

ตัวกําหนด

๒. บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) สามารถดําเนินการสํารวจและผลิตปโตรเลียมไดมาก

ข้ึนหรือไม

๓. การผลิตกาซ LPG มีตนทุนเทาไร และมีสัดสวนจากแหลงผลิตกาซธรรมชาติและ

แหลงโรงกลั่น

๔. สัญญาในการสัมปทานการสํารวจและผลิตปโตรเลียมสามารถเปดเผยไดหรือไม

๕. บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) มีการจัดสรางสถานีจําหนายกาซในระดับตําบล

หรือไม รวมทั้งมีมาตรการดานความปลอดภัยในการติดตั้งในรถยนตอยางไร

๖. บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) มีแผนการในการเตรียมจัดหาพลังงานทดแทนชนิด

อ่ืนอยางไร

ผูแทนจาก บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ตอบขอซักถาม สรุปไดดังนี้ ๑. ในการจัดลําดับในหนังสือ Forture ๕๐๐ เปนการนํารายไดของ บริษัท ปตท. จํากัด

(มหาชน) มาเปนตัวกําหนด ซึ่ง บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) อยูในลําดับที่ ๑๓๕

๒. ในระยะเริ่มแรกในการสํารวจและผลิตปโตรเลียม เปนการเปดเสรีโดยในระยะ

เร่ิมแรกจะมีบริษัทจากตางประเทศที่เขามารับสัมปทาน เนื่องจากเทคโนโลยีการสํารวจและผลิตปโตรเลียม

ประเทศไทยยังไมมี ทําใหบริษัทจากตางประเทศไดรับสัมปทานในการสํารวจและผลิตปโตรเลียม

๓. ตนทุนในการผลิตกาซ LPG นั้น จะมีสูตรในการคํานวณโดยมีปจจัยดานราคา

น้ํามันเตา ดัชนีตนทุนในการพัฒนาแหลงกาซและรองรับเปนตัวกําหนดดวย

๔. ในการรับสัมปทานการสํารวจและผลิตปโตรเลียม กระทรวงพลังงาน จะเปนผูทํา

สัญญากับบริษัทผูดําเนินการสํารวจและผลิตปโตรเลียม ซึ่งการเปดเผยสัญญาสัมปทานการสํารวจและ

ผลิตปโตรเลียม กระทรวงพลังงานจะเปนผูตัดสิน

๔) มติที่ประชุม / ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ (ไมมี)

Page 56: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๔๑

ครั้งที่ ๑๒ วันพุธที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๑ ๑) เร่ืองพิจารณา

กิจการการบริหารงานของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ในสวนของ ภาพรวมการ

ดําเนินธุรกิจและแผนการลงทุน และดานการวิจัยและพัฒนา

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

๓) ประเด็นการพิจารณา กิจการการบริหารงานของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ภาพรวมการดําเนินธุรกิจและแผนการลงทุนของ ปตท. จะเนนทางดานความสามารถใน

การเจริญเติบโต Growth ๕๒ เปอรเซ็นต (ในสวนของทอและ LNG) การสรางมูลคาเพิ่ม Value creation

๓๕ เปอรเซ็นต (โรงแยกแกส) และประโยชนของสังคม CSR ๑๓ เปอรเซ็นต (NGV) ซึ่งงบประมาณในการ

ลงทุนทั้งหมดเปนจํานวนเงิน ๒๔๑,๗๑๑ ลานบาท สามารถตรวจสอบในภาพรวมของบริษัทไดจากตลาด

หลักทรัพย

สถาบันวิจัยและเทคโนโลยี ปตท . ไดกอต้ังเมื่อ ๒๕๔๐ ณ อําเภอวังนอย จังหวัด

พระนครศรีอยุธยา ในอดีตทาง ปตท. จะตองไปขอจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันที่เกี่ยวของหรือไปขอความ

รวมมือจากหนวยงานตางๆ หรือตางประเทศ เพื่อใหมีความคลองตัวในการทําวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ และ

เมื่อมีการแขงขันที่สูงขึ้นกับบริษัทขามชาติ ดังนั้นจึงตั้งสถาบันวิจัยและเทคโนโลยี ปตท. ข้ึน โดยใช

งบประมาณ ๑,๖๐๐ กวาลานบาท ซึ่งปจจุบันทางสถาบันวิจัยและเทคโนโลยี ปตท. ทํางานวจิยัและพฒันา

ทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑปโตรเลียมและปโตรเคมี การสํารวจ กระบวนการผลิต

พลังงานทดแทน สิ่งแวดลอม การใชงาน ตลอดจนการวิจัยตลาด การบริการวิชาการ มุงเนนการสราง

Value Creation & Innovation ใน ๓ ธุรกิจหลัก ไดแก ธุรกิจกาซธรรมชาติ ธุรกิจน้ํามัน ธุรกิจปโตรเคมี

และการกลั่นในรูปแบบของ “Technical Services” ที่เนนการติดตาม วิเคราะหเทคโนโลยี วิเคราะห

ทดสอบ พัฒนาผลิตภัณฑ กระบวนการผลิต และกาวสูการเปน “Technical Center” ที่สามารถ

ดําเนินงานในลักษณะ Solution Provider & Consultancy เพื่อใหกลุมธุรกิจ ปตท. เปนผูนําดานคุณภาพ

ความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม โดยคํานึงถึงประสิทธิภาพการใชงานสูงสุด ลดตนทุนการผลิต เพื่อสราง

ความสามารถในการแขงขัน ตลอดจนสนองนโยบายดานพลังงานของรัฐ กอใหเกิดประโยชนสูงสุดแก

ประชาชนและประเทศชาติโดยรวม

สถาบันวิจัยและเทคโนโลยี ปตท. มีกลยุทธแบงได ๔ ประเภท ดังนี้

๑. ดาน E&P และกาซธรรมชาติ (Gas)

Page 57: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๔๒

การวิจัยทางดานขนสงทางทอนั้นไมคุมคา ดังนั้น ปตท. ไดทําใหเปนลิควิดโดยมี

การขนสงทางรถยนต ซึ่งสะดวกในการเคลื่อนยายไปที่ไหนก็ได สวนกาซธรรมชาติ มีระบบการตรวจดูชั้น

หินดินทราย ซึ่งจะตองใชบุคคลที่มีความรูเชี่ยวชาญเฉพาะดานเทานั้น และโรงแยกกาซจะเนนการลด

ตนทุนใหมากที่สุด

๒. ปโตรเคมี (Petrochemical)

การผลิตพลาสติกที่มีคุณสมบัติที่ใส เหนียว และสามารถทําเปนเกราะกันกระสุนได

สวนการพัฒนาผลิตภัณฑทางดานไบโอพลาสติก

๓. Refining และ น้ํามัน (Oil)

Refining ไดพัฒนาผลิตภัณฑตางๆของยูโรโฟรเพิ่มข้ึน สวนน้ํามันไดมีการพัฒนา

ผลิตภัณฑประเภทกาซโซฮอลและไบโอดีเซล

๔. Step-out

๔) ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ

๑. ไบโอดีเซลที่มีปญหาราคาปาลมตกต่ํามีปริมาณการผลิต ๑ – ๒ แสนลิตรตอวัน

ซึ่งมีปริมาณนอยมากและสวนแบงทางการตลาดก็นอยตามไปดวย ปจจุบันปาลมมีราคา ๒.๘๐ บาท

เทานั้น ถามีราคาอยูที่ ๓.๕๐ บาท ก็ยังต่ํากวาในอดีตที่ผานมา ไดมีการบริโภคเพียง ๑ แสนเทานั้น ดังนั้น

ทาง ปตท. ควรเรงรีบในการเขามาดําเนินการ เพื่อชวยแกปญหา

๒. ไบโอดีเซลที่ผลิตมาจากสบูดําจะใชในเครื่องยนตรอบความเร็วต่ํา (Low speed)

เทานั้น และไมไดมีการกําหนด Specification ของรถยนตที่ใชน้ํามันจากสบูดําไว ประกอบกับไมสามารถ

นําไปใชในระดับอุตสาหกรรมได ดังนั้น ปตท. ควรที่จะมีการกําหนดขอบเขตใหชัดเจนและดําเนินโครงการ

นํารอง เพื่อเปนการตอยอดหรือขยายผลตอไปใหกับประชาชนไดมีความรูความเขาใจมากขึ้น

Page 58: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๔๓

ครั้งที่ ๑๓ วันพุธที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๑ ๑) เร่ืองพิจารณา

- นโยบายพลังงานทดแทนโดยใชน้ํามันปาลมดิบ

- โครงการพลังงานเชื้อเพลิงทางชีวภาพ

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

- ปลัดกระทรวงพลังงาน

- ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ

- ประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

- การคาภายในจังหวัดชุมพร

- ผูจัดการใหญ บริษัท PTT Chemical จํากัด (มหาชน)

- นายกสมาคมโรงกลั่นน้ํามันปาลม

- นายกสมาคมผูคาผูผลิตเอทานอลไทย

๓) ประเด็นการพิจารณา นโยบายพลังงานทดแทนโดยใชน้ํามันปาลมดิบ สถานการณราคาปาลมน้ํามันตกต่ํา สาเหตุเนื่องจากปริมาณผลผลิตออกมาสูตลาด

มากกวาความจําเปนในการบริโภคและประกอบกับราคาน้ํามันในตลาดโลกปรับตัวลดลง เปนผลใหราคา

น้ํามันปาลมปรับตัวลดตามไปดวย ในขณะเดียวกันปริมาณการใชผลผลิตจากปาลมในการแปรสภาพเปน

วัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซลมีการปรับตัวลดลงและนําไปสูสาเหตุหลักในการที่ราคาปาลมดิบมีราคา

ตกต่ํา

จากสถานการณราคาปาลมตกต่ําเปนผลใหตองมีการกําหนดมาตรการโดยขอความ

รวมมือจากกระทรวงพลังงานใหมีการกําหนดสัดสวนไบโอดีเซลผสมน้ํามันดีเซลใหมากกวา ๒% คือจาก

B๒ ใหมีการสงเสริมใหเปน ๕% คือ B๕ และเสนอแนวทางใหกองทุนน้ํามัน เพื่อชวยในดานการรับซื้อ

น้ํามันปาลมดิบ เพื่อเก็บสะสมเปน Buffer Stock ทั้งนี้ เพื่อเปนการกระตุนกลไกตลาดใหราคาปาลม

น้ํามันดิบในตลาดปรับตัวสูงขึ้น และไดขอความรวมมือไปยังจังหวัดและกรมศุลกากรใหมีการเขมงวดดูแล

การขนยายน้ํามันปาลมดิบเพื่อปองกันการลักลอบการนําเขาจากตางประเทศที่มีแนวชายแดนติดกับ

ประเทศไทย ทั้งนี้ ไดมีการพิจารณาถึงพืชพลังงานทดแทนอื่นโดยเฉพาะมันสําปะหลัง คณะรัฐมนตรีไดมี

มติใหแทรกแซงราคาโดยประกันราคาไวที่ ๑.๘๐ บาท ใหเกษตรกรสามารถที่จะจํานํามันสําปะหลังได

ต้ังแตวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ – ๓๐ เมษายน ๒๕๕๒ รายละ ๒๕๐ ตัน ในวงเงินไมเกิน ๓๕๐,๐๐๐

บาท ทั้งนี้ใหองคการคลังสินคาเปนผูรับผิดชอบในการจํานําและออกใบประทวนใหเกษตรกรสําหรับ

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรเปนผูรับจํานําใบประทวนและจายเงินใหเกษตรกรผูเขารวม

โครงการ สถานการณราคาปาลมน้ํามันตกต่ํา สาเหตุเนื่องจากปริมาณผลผลิตออกมาสูตลาดแนวทางใน

Page 59: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๔๔

การแกไขปาลมน้ํามันดิบที่ไดมีการนําเสนอในเบื้องตนอีกแนวทางคือ ตองการอนุญาตใหมีการสงออก

ผลผลิตปาลมน้ํามันสวนเกิน เพื่อลดปญหาภายในประเทศและตองสงเสริมใหมีการผลิตไบโอดีเซลเพื่อเปน

พลังงานทดแทนทางเลือกใหมใหเพิ่มมากขึ้น ไมวาจะเปน B๕ และ B๑๐๐ และตองเขมงวดมิใหมีการ

นําเขาผลผลิตจากปาลมดิบจากตางประเทศ

โครงการพลังงานเชื้อเพลิงชีวภาพ แนวทางการสงเสริมในการสงเสริมพลังงานเชื้อเพลิงชีวภาพ โดยมีนโยบายใหปลูก

ปาลมเพื่อนําไปใชผลผลิตไบโอดีเซล เนื่องจากการสงเสริมดานการตลาดของน้ํามันไบโอดีเซลไมเปนไป

ตามที่คาดการณไว และขาดการประชาสัมพันธ ทําใหประชาชนยังไมมีความเชื่อมั่น และการผันผวนของ

ราคาน้ํามันในตลาดโลก จึงเปนผลใหราคาปาลมน้ํามันปรับตัวลดลง เกษตรกรจึงไดรับผลกระทบจาก

สถานการณดังกลาว แนวโนมในการบริโภคน้ํามันภายในประเทศในสวนของไบโอดีเซล ปริมาณความ

ตองการ B๒ มีการปรับตัวลดลง แต B๕ มีปริมาณการใชเพิ่มข้ึนประมาณ ๑๒ ลานลิตรตอวัน ทั้งนี้ มีการ

กําหนดใหมีการกําหนดราคาสวนตางระหวาง B๒ และ B๕ ใหเพิ่มมากขึ้น เพื่อชวยกระตุนใหมีการใช B๕

จากเดิมสวนตางของราคา B๒ และ B๕ จะอยูที่ ๗๐ สตางค โดยกําหนดใหเพิ่มเปน ๑ บาท และมีการขยาย

สถานีบริการใหเพิ่มมากขึ้น

สถานการณของราคาน้ํามันในตลาดโลกที่ไมมีความแนนอน จึงสงผลใหราคาของไบโอ

ดีเซลหรือเอทานอลไดรับผลกระทบตามไปดวย สมมุติในกรณีราคาน้ํามันขยับตัวสูงขึ้นราคาของไบโอดีเซลหรือ

เอทานอลก็จะขยับสูงตามไปดวย แนวทางการแกปญหาที่มีการเสนอใหมีการยกเลิกน้ํามันเบนซิน ๙๑ และ

เบนซิน ๙๕ เพื่อเปนการกระตุนใหประชาชนหันมาใชน้ํามันจากพลังงานทดแทน แตทั้งนี้ตองมีการ

พิจารณารายละเอียดกันอยางรอบคอบ เพราะในปจจุบันยังมีความตองการใชเชื้อเพลิงทั้ง ๒ ชนิด ดังนั้น

หากมีการยกเลิกโดยไมมีมาตรการมารองรับอาจจะมีผลกระทบกับประชาชนที่ยังมีความจําเปนตองใช

เชื้อเพลิงดังกลาวได ดังนั้น จึงตองดําเนินการแบบคอยเปนคอยไป โดยอาจจะเปนการที่กําหนดมาตรการ

ในสวนตางของราคาใหตางกันกับไบโอดีเซลหรือเอทานอล เพื่อเปนแรงกระตุนใหประชาชนหันมาใหความ

สนใจพลังงานทดแทนมากยิ่งขึ้น

๔) มติที่ประชุม / ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ (ไมมี)

Page 60: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๔๕

ครั้งที่ ๑๔ วันพุธที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ ๑) เร่ืองพิจารณา

- วิเคราะหแนวโนมราคาน้ํามันและผลกระทบจากราคาน้ํามันที่ปรับตัวลดลง

- ความคืบหนาปรับปรุงแผน PDP ของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

- กระทรวงพลังงาน

- กระทรวงพาณิชย

- กระทรวงคมนาคม

- บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

- การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

๓) ประเด็นการพิจารณา วิเคราะหแนวโนมราคาน้ํามันและผลกระทบจากราคาน้ํามันที่ปรับตัวลดลง แนวโนมราคาน้ํามันในป พ.ศ. ๒๕๕๑ สถานการณของราคาน้ํามันมีความผันผวนมกีาร

ปรับราคาขึ้นและลงอยางตอเนื่อง ซึ่งราคาน้ํามันที่มีความผันผวนมีความสําคัญตอผูผลิตน้ํามัน ดังนี้

๑. โรงกลั่นน้ํามันในป พ.ศ. ๒๕๕๑ คาดวาผูผลิตน้ํามันจะประสบปญหาขาดทุน

เกี่ยวกับปริมาณสํารองน้ํามันโดยเฉลี่ยประมาณ ๗,๐๐๐ – ๑๐,๐๐๐ ลานบาท

๒. การปรับราคาขายปลีกน้ํามันหนาโรงกลั่นจะมีการปรับราคาชาและสม่ําเสมอ

ในปจจุบันฐานราคาน้ํามันในโลกมีอยู ๓ ฐานราคา ดังนี้

๑. น้ํามันดิบ WTI เปนฐานราคาน้ํามันในการกําหนดราคาแถบตะวันตกหรือแถบ

สหรัฐอเมริกา น้ํามันดิบ WTI มีการซื้อขายน้ํามัน ๕๐๐,๐๐๐ บารเรลตอวัน โดยราคาขายน้ํามันดิบ WTI

จะมีผลตอราคาน้ํามันในตลาดโลกคอนขางมาก

๒. น้ํามันดิบ Brent เปนฐานราคาน้ํามันในการกําหนดราคาแถบทวีปยุโรป แอฟริกา

เหนือ และเอเชียกลาง ซึ่งราคาน้ํามันดิบ Brent จะสงผลตอราคาตลาดน้ํามันโลกในชวงหนารอน เพราะมี

ปริมาณการใชน้ํามันเพิ่มข้ึน

๓. น้ํามันดิบ Dubai ในการปรับราคาน้ํามันของน้ํามันดิบ Dubai จะมีการปรับราคา

คอนขางชากวาน้ํามัน WTI และน้ํามันดิบ Brent

การผลิตน้ํามันในโลกสามารถผลิตไดวันละ ๘๗ ลานบารเรลตอวัน การผลิตน้ํามันของ

Opec ผลิตไดวันละ ๒๗ – ๒๘ ลานบารเรลตอวัน โดยเปนการผลิตเพื่อสงออก การผลิตน้ํามันของ NON

Opec ผลิตไดวันละ ๑.๕ – ๒ ลานบารเรลตอวัน เปนการผลิตเพื่อใชภายในประเทศ เชน ประเทศจีน

โครงสรางของราคาน้ํามันเกิดจากราคาน้ํามันหนาโรงกลั่นที่มีการอางอิงกับตลาดน้ํามัน

ประเทศสิงคโปร การจัดเก็บภาษีและกองทุนน้ํามันโดยรัฐบาลเปนผูจัดเก็บ และกองทุนอนุรักษพลังงานที่มี

Page 61: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๔๖

การจัดเก็บเงินเขากองทุนเพื่อนําไปพัฒนาและอนุรักษพลังงาน ซึ่งปจจัยที่มีผลกระทบตอราคาขายปลีก

น้ํามัน คือ ราคาขายปลีกของประเทศไทยที่อิงกับราคาน้ํามันสําเร็จรูปในตลาดสิงคโปร อัตราแลกเปลี่ยน

ราคาเอทานอล โดยตนทุนจะมีการเปลี่ยนแปลงทุกไตรมาส อัตราภาษีและกองทุน

ในดานของสินคาเกษตรที่สามารถนํามาผลิตเปนพลังงานทดแทน โดยเฉพาะปาลมน้ํามัน

และมันสําปะหลัง ปจจุบันกระทรวงพลังงานไดรับซื้อผลปาลมดิบเพื่อเก็บสํารองไวซึ่งจะทําใหราคาปาลมมี

ราคาสูงขึ้น นอกจากนี้คณะรัฐมนตรีไดมีการตรึงราคามันสําปะหลังใหมีราคาสูงขึ้น ทั้งนี้ คาดวาการปรับ

ราคาของน้ํามันดิบนั้น จะสงผลกระทบตอราคาของสินคาไมมากนัก

ในดานของราคาอัตราคาโดยสารสาธารณะ กรมการขนสงทางจะเปนผูพิจารณาปรับอัตรา

คาโดยสารตอคณะกรรมการควบคุมการขนสงทางบกกลาง ซึ่งการปรับอัตราคาโดยสารจะอิงกับราคา

น้ํามันเชื้อเพลิง และในปจจุบันรถโดยสารประจําทางไดทําการติดตั้งกาซ NGV แลวประมาณ ๗,๐๐๐ คัน

ในสวนของการขนสงทางอากาศไดมีการปรับอัตราคาโดยสารและคาระวางในการขนสงใหมอยูที่ ๗๕๐

บาทตอคน ความคืบหนาปรับปรุงแผน PDP ของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย กระทรวงพลังงานไดมีการปรับปรุงแผน PDP คร้ังที่ ๒ เนื่องจากในป พ.ศ. ๒๕๕๑

ความตองการใชไฟฟาต่ํากวาที่เคยพยากรณไวโดยในป พ.ศ. ๒๕๕๒ แผน PDP อยูที่ ๔.๕% ซึ่งความ

ตองการใชไฟฟาจะอยูที่การขยายตัวทางเศรษฐกิจ ซึ่งการปรับปรุงแผน PDP จะเปนการปรับภายใน

กระทรวงพลังงาน โดยแผน PDP คือ แผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟาของประเทศ ซึ่งโดยปกติจะมีการ

จัดทําชวงระยะยาวประมาณ ๑๕ – ๒๐ ป โดยการทําแผน PDP จะตองอาศัยขอมูลของการประมาณการ

ในอนาคต และจะมีการปรับปรุงอยูเสมอ โดยขอมูลหลักที่ใชทําแผน PDP คือ ความตองการใชไฟฟา

(Loda Fovcast) ซึ่งความตองการใชไฟฟาแบงออกเปน ๒ สวน คือ

๑. สวนที่เปนคาปริมาณของการใชไฟฟาสูงสุด (Peak)

๒. คาพลังงาน (Energy)

โดยทั้ง ๒ สวน ตองมีความสัมพันธกับแผน PDP ป ๒๐๐๗ นอกจากนี้คณะทํางานพยากรณความตองการ

ใชไฟฟาไดขอสรุปเบื้องตนในการปรับปรุงคาพยากรณฉบับเดือน กันยายน ๒๕๕๐ โดยตั้งสมมุติฐาน ดังนี้

๑. อัตราเพิ่มพลังงานไฟฟา

ป พ.ศ. ๒๕๕๑ เทากับ ๒.๙% (สะสมถึง ๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๑)

ป พ.ศ. ๒๕๕๒ เทากับ ๔.๘%

๒. พลังงานไฟฟาสูงสุด

ป พ.ศ. ๒๕๕๑ ใชคาจริง ๒๒,๕๖๘.๒ เมกะวัตต

๓. ตัวประกอบกําลังไฟฟาใชคาพยากรณเดือนกันยายน ๒๕๕๐

Page 62: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๔๗

ดังนั้น โครงสรางโรงไฟฟา ตามแผน PDP ๒๐๐๗ ฉบับปรับปรุง คร้ังที่ ๑ จะทําใหคาใชจาย

ในการสํารองการผลิตไฟฟาลดลง โดยการเลือกโรงไฟฟาที่ยังไมไดรับซื้อไฟฟาจากตางประเทศ ซึ่งการซื้อ

ไฟฟาจากตางประเทศ ประเทศไทยไดมีการลงนาม MOU tariff ๕ โครงการแลว

๔) ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ

ควรมีมาตรการเกี่ยวกับความปลอดภัยของรถที่ใชกาซ NGV ใหมากขึ้น เพราะใน

ปจจุบันมีการใชกาซธรรมชาติเพิ่มมากขึ้น เชน รถแท็กซี่ และควรมีการแยกราคาขายกาซ LPG ออกจาก

ภาคอุตสาหกรรม ภาคขนสง และภาคครัวเรือนใหชัดเจน

Page 63: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๔๘

ครั้งที่ ๑๕ วันพุธที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ ๑) เร่ืองพิจารณา

- รายงานผลพิจารณาเรื่อง การสอบกรณีถังกาซ NGV ที่ติดตั้งในรถยนตโดยสาร

ระเบิดที่จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งคณะอนุกรรมาธิการศึกษาปญหาการใชกาซธรรมชาติกับรถยนตพจิารณา

เสร็จแลว

- วิเคราะหแนวโนมราคาน้ํามันและผลกระทบจากราคาน้ํามันที่ปรับตัวลดลง

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

- บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

- กระทรวงคมนาคม กรมการขนสงทางบก

- การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

- คณะอนุกรรมาธิการศึกษาปญหาการใชกาซธรรมชาติกับรถยนต

๓) ประเด็นการพิจารณา รายงานผลพิจารณาเรื่อง การสอบกรณีถังกาซ NGV ที่ติดต้ังในรถยนตโดยสาร

ระเบิดที่จังหวัดสมุทรปราการ ซ่ึงคณะอนุกรรมาธิการศึกษาปญหาการใชกาซธรรมชาติกับรถยนตพิจารณาเสร็จแลว

นายอลงกรณ พลบุตร ประธานคณะอนุกรรมาธิการศึกษาปญหาการใชกาซธรรมชาติ

กับรถยนต แถลงรายงานผลการพิจารณามีขอวินิจฉัย ขอสังเกตและขอเสนอแนะ ดังนี้

ขอวินิจฉัย

๑.๑ สาเหตุการระเบิดมีเหตุควรเชื่อไดวาเกิดจากวัสดุที่ใชในการผลิตถังและ

กระบวนการขึ้นรูปถัง

๑.๒ ผูนําเขาถังตรวจเฉพาะเอกสารที่แนบมากับถังไมทําการตรวจตัวถังดวย

๑.๓ ผูนําเขาเปนทั้งผูติดตั้งถัง NGV ผูตรวจและออกหนังสือรับรอง

๑.๔ ในแตละขั้นตอนของการนําเขาถังกาซ การติดตั้งถังและอุปกรณสวนควบ การ

ตรวจสอบและรับรอง ไมมีหนวยงานราชการหรือฝายอื่นที่เกี่ยวของเขามาตรวจสอบ

ขอสังเกตและขอเสนอแนะ

๑.๑ ควรใชมาตรการเรียกคืนถังกาซที่ผลิตจากเหล็กชุดเดียวกันกับถับที่ระเบิด

๑.๒ ปรับปรุงกระบวนการตรวจสอบการนําเขาถังกาซ

๑.๓ ควรจัดใหมี Third Party เขามาในระบบทั้งระบบ

๑.๔ ควรมีมาตรการในการทําลายถังกาซที่หมดอายุหรือมีปญหา

๑.๕ ควรพิจารณาปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของใหครอบคลุมทั้งระบบ

Page 64: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๔๙

ความเห็นของคณะกรรมาธิการ

๑. กรณีวิศวกรไดตรวจและออกหนังสือรับรองการติดตั้งเปนเท็จเปนเรื่องที่เกี่ยวกับ

ความสงบเรียบรอยของประชาชนจึงนาจะเรียกถังคืนไดทัน มาตรการของรัฐในสวนที่เกี่ยวของใชบังคับ

ไมไดเนื่องจากไมมีการตรวจจริง จึงไมมีผลในทางกฎหมาย ควรมีการสอบสวนหรือดําเนินการกับวิศวกร

ดังกลาว

๒. ภายหลังการติดตั้งถังกาซ NGV ไมวาในรถสาธารณะ รถขนสง หรือรถใด ๆ ไมมี

การกําหนดในเรื่องของการทดสอบสมรรถนะ ควรเพิ่มเติมเร่ืองนี้ไวในขอกําหนด

วิเคราะหแนวโนมราคาน้ํามันและผลกระทบจากราคาน้ํามันที่ปรับตัวลดลง (พิจารณาตอจากการประชุม คร้ังที่ ๑๔)

กรณีรถโดยสารประจําทางที่ปรับราคาขึ้นลงตามราคาน้ํามันที่ข้ึนลง แยกตามชนิด

เชื้อเพลิงสะสมถึงวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๑ มีการจดทะเบียนทั้งสิ้น ๘๓,๕๑๓ คัน แบงเปนสวนกลาง

๒๑,๔๖๖ คัน สวนภูมิภาค ๖๒,๐๔๗ คัน

มีปจจัยที่เปนตนทุนการเดินรถ ดังนี้

รถโดยสารประจําทางหมวด ๑ และหมวด ๔ มีสัดสวนของโครงสรางตนทุนอยูที่คาเสื่อม

ราคารถ ๕.๗๙% คาซอมบํารุง ๑๙.๗๐% คาแรงงาน ๒๒.๗๒% คาเชื้อเพลิง ๔๓.๒๙% คาบริหาร

๘.๕๐%

รถโดยสารประจําทางหมวด ๒ และหมวด ๓ มีสัดสวนเฉลี่ยของโครงสรางตนทุนอยูที่

คาเสื่อมราคารถ ๑๓.๓๔% คาซอมบํารุง ๑๕.๐๙% คาแรงงาน ๑๔.๔๗% คาเชื้อเพลิง ๔๗.๘๑%

คาบริหาร ๙.๒๘%

ตนทุนที่เปนคาใชจายของรถโดยสารประจําทางหมวด ๑ และหมวด ๔

- ปจจัยการคํานวณประกอบดวย ระยะทางเดินรถเฉลี่ยตอวัน (กิโลเมตร) ราคารถ (บาท)

ราคาน้ํามันดีเซล (บาท/ลิตร) อัตราการสิ้นเปลืองน้ํามัน (กิโลเมตร/ลิตร) จํานวนผูโดยสารเฉลี่ยตอวัน (คน)

- ตนทุนตอวันประกอบดวย คาเสื่อมราคา คาเขารวมเดินรถ คาซอมบํารุง คาแรงงาน คา

น้ํามันเชื้อเพลิง คาประกันภัย คาบริหาร

๔. มติที่ประชุม / ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ (ไมมี)

Page 65: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๕๐

ครั้งที่ ๑๖ วันพุธที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ ๑) เร่ืองพิจารณา

- แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย (PDP ๒๐๐๗) และตนทุนโครงสราง

ไฟฟาในอนาคต

- การศึกษาดูงานตางประเทศ

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

- ผูแทนบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

๓) ประเด็นการพิจารณา แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย (PDP ๒๐๐๗) และตนทุน

โครงสรางไฟฟาในอนาคต คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานมีอํานาจหนาที่ตามแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟา

ของประเทศไทย (PDP ๒๐๐๗) ในขอ (๕) เสนอความเห็นตอแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟา แผนการลงทนุใน

กิจการไฟฟา แผนการจัดหากาซธรรมชาติ และแผนการขยายระบบโครงขายพลังงานเพื่อนําเสนอรัฐมนตรี

ตามมาตรา ๙ (๓) การดูแลความมั่นคงของระบบไฟฟา ราคาคาไฟฟา และการจัดหาไฟฟาดวย

จากการวิจัยในปที่ผานมาการใชไฟฟาประมาณการอยูที่ ๒๘ เปอรเซ็นต และใน

ปจจุบันคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานมีความตองการใหลดลงเปน ๑๕ เปอรเซ็นต โดยมีการ

ตรวจสอบทุกๆ ๑ ป และไมเกิน ๑๕ ป ซึ่งจากการเพิ่มข้ึนเพียง ๒ เปอรเซ็นตเทานั้น ในอนาคตอาจจะทํา

ใหไฟฟาไมเพียงพอตอการใชกระแสไฟฟาก็เปนได จึงตองทําแผน PDP ใหมอีกครั้ง เพื่อใหปริมาณไฟฟา

สํารองเปนไปตามมาตรฐานสากลจะทําใหลดภาระการลงทุนของประเทศ และลดผลกระทบกับประชาชน

และให กฟผ. รักษาระดับสัดสวนกําลังการผลิตของตนเองใหอยูในสัดสวนที่เหมาะสม เพื่อเปนหลักประกัน

ความมีเสถียรภาพและความมั่นคงของระบบไฟฟาของชาติในระยะยาว การศึกษาดูงานตางประเทศ ตามที่คณะกรรมาธิการไดมอบหมายใหนายวิจิตร ศรียรรยงวัฒน ที่ปรึกษาประจํา

คณะกรรมาธิการ นาวาเอกสมัย ใจอินทร ผูชํานาญการประจําคณะกรรมาธิการ และ ดร.อภิสิทธิ์

ปจฉิมพัทธพงษ วิศวกร การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ติดตอประสานงานสถานที่ศึกษาดูงาน ได

รายงานสถานที่ศึกษาดูงาน ดังนี้

- วันอังคารที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๑ (Milan, ITALY) ศึกษาดูงานเกี่ยวกับไบโอดีเซล

ณ Merloni Progetti Spa

- วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๑ (Otelfingen, SWITZERLAND) ศึกษาดูงาน

เกี่ยวกับไบโอแกส ณ Kompogas Otelfingen AG

Page 66: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๕๑

- วันศุกรที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๑ (Fessenheim, FRANCE)ศึกษาดูงานเกี่ยวกับ

โรงไฟฟาพลงังานนวิเคลียร ณ Fessenheim - ๑

- วันเสารที ่๑๓ ธันวาคม ๒๕๕๑ (Stuttgart, GERMANY) ศึกษาดงูานเกี่ยวกับ

รถยนต ณ พพิธิภัณฑ เมอซิเดส - เบนซ

- วันจนัทรที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๑ (GERMANY) ศึกษาดงูานเกีย่วกับการจาย B๕

Logistics ณ Biomass Combined Heat and Power Plant Zolling และศึกษาดูงานเกี่ยวกับพลังงาน

โซลารเซล

๔) ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ

การสรางโรงไฟฟาในอนาคตอาจมีปญหาเรื่องพื้นที่ที่จะใชในการกอสราง ดังนั้น ควรมี

การศึกษาหรือหาแนวทางในการดําเนินการในเรื่องดังกลาว เพื่อรองรับเหตุผลในอนาคต และรัฐบาลควร

ทําความเขาใจกับประชาชนใหมาก โดยรับฟงความคิดเห็นถึงขอดีขอเสียที่จะเกิดขึ้นกอนมีการกอสราง

นั่นเอง

Page 67: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๕๒

ครั้งที่ ๑๗ วันพุธที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ ๑) เร่ืองพิจารณา

- การจัดหาพื้นที่พัฒนาโครงการโรงไฟฟา

- การรับฟงความคิดเห็นผูประกอบการดานพลังงานทดแทน

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

- การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

- สํานักปลัดกระทรวงกลาโหม

- บริษัท เอกรัฐโซลาร จํากัด

- บริษัท บางกอกโซลาร จํากัด

๓) ประเด็นการพิจารณา การจัดหาพื้นที่พัฒนาโครงการโรงไฟฟา ในการจัดหาพื้นที่ในการกอสรางโรงไฟฟาถานหิน หรือโรงไฟฟานิวเคลียรเพื่อ

รองรับสถานการณดานพลังงานในอนาคต ซึ่งจะพบปญหาคือมีการตอตานจากประชาชนในพื้นที่หรือ

องคการภาคเอกชนตาง ๆ จากขอมูลที่มีการศึกษาในเบื้องตนในการจัดตั้งโรงไฟฟามีทั้งเสียงตอบรับและ

ตอตาน สําหรับการจัดหาพื้นที่จะตองคํานึงถึงสภาพพื้นที่ที่เหมาะสมในการกอสรางโรงไฟฟา มีความ

พรอมดานการขนสง สาธารณูปโภค สภาพดินฟาอากาศ โดยมีการพิจารณาประกอบกับแผนพัฒนากําลัง

ผลิตไฟฟาของประเทศ (PDP) ในสวนของแผน (PDP ๒๐๐๗) ไดกําหนดระยะเวลาดําเนินการเปน ๓ ชวง

คือ ชวงแรก พ.ศ. ๒๕๕๐ – พ.ศ. ๒๕๕๑ คือ โรงไฟฟาที่กําลังดําเนินการกอสรางและเตรียมเขาสูระบบ

ชวงที่สอง พ.ศ. ๒๕๕๔ – พ.ศ. ๒๕๕๘ คือโรงไฟฟา IPP ๔ โครง การ จะเขาระบบในป พ.ศ. ๒๕๕๘ ชวงที่

สาม คือ ป พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๖๕๔ จะดําเนินการเพื่อเตรียมความพรอมสําหรับโรงไฟฟาถานหินและ

นิวเคลียร

การศึกษาพื้นที่สําหรับเปนสถานที่ต้ังโรงไฟฟาจะมีหลักเกณฑพิจารณาในเบื้องตน

๓ ข้ันตอน คือ

(๑) การเลือกสถานที่ต้ังเบื้องตน (Desk Study Sites) คือ การศึกษาจากแผนที่วา

เหมาะสมกับโรงไฟฟาประเภทใด

(๒) การเลือกที่ต้ังที่มีศักยภาพ (potential Study Sites) คือ การสํารวจพื้นที่จาก

สถานที่จริง

(๓) การเลือกที่ต้ังที่เหมาะสม (Candidate Sites) คือ การประเมินขอมูลดานเทคนิควา

เหมาะสมกับโรงไฟฟาชนิดใด

Page 68: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๕๓

การศึกษาผลกระทบดานสิ่งแวดลอม เพื่อประกอบการเลือกสถานที่ต้ังโรงไฟฟา แบงกลุม

ออกเปน ๓ กลุม

๑. กลุมผลกระทบที่มีความสําคัญอันดับหนึ่ง คือ จะตองหลีกเลี่ยงพื้นที่ปาอนุรักษ ที่ชุมชน

มีประชาชนอาศัยอยูมาก

๒. กลุมผลกระทบสําคัญอันดับสอง หลีกเลี่ยงพื้นที่ใกลเคียงกับแหลงประวัติศาสตร

วัฒนธรรมและแหลงทองเที่ยว

๓. กลุมผลกระทบสําคัญอันดับสาม คือ ผลกระทบทางเสียง คุณภาพน้ํา แหลง

สาธารณูปโภค และสิ่งอํานวยความสะดวกของชุมชน

ดังนั้น การจัดหาพื้นที่จะตองคํานึงถึงความเหมาะสมของพื้นที่และชนิดของวัตถุประสงค

ของการกอต้ังโรงไฟฟาแตละประเภท ในเบื้องตนใหมีการจัดตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาพื้นที่ที่

เหมาะสมในการกอสรางโรงไฟฟาและเปนการรับทราบปญหาและกระแสตอตานจากประชาชนหรือองคกร

ภาคเอกชน

ไดมีการเสนอใหพิจารณาพื้นที่ที่อยู ในความรับผิดชอบของทหารถือเปนพื้นที่ที่มี

ความสําคัญซึ่งเห็นสมควรใหมีการพิจารณาเพื่อใชเปนพื้นที่ในการกอสรางโรงไฟฟา โดยแบงพื้นที่ในความ

รับผิดชอบของสํานักปลัดกระทรวงกลาโหม ประมาณ ๑๐,๐๐๐ ไร กองบัญชาการกองทัพไทย ๒ แสนไร

กองทัพอากาศ ๒ แสนไร กองทัพเรือ ๒ แสนไร และกองทัพบกประมาณ ๕ ลานไร โดยพื้นที่สวนใหญเปน

ที่ดินราชพัสดุและพื้นที่มีการกระจายอยูทั่วประเทศ

ภารกิจหลักในการสนับสนุนนโยบายของรัฐบาล กองทัพตาง ๆ ไดใหความรวมมือในการ

จัดสรรพื้นที่บางสวนที่อยูในการดูแลของกองทัพ เพื่อใหหนวยงานภาครัฐไดนําไปสงเสริมใหมีการปลูกพืช

พลังงานทดแทน และในเบื้องตนหากมีการพิจารณาพื้นที่เพื่อรองรับการกอสรางโรงไฟฟาก็ขอใหมีการ

ประสานไปยังกองทัพเพื่อจะไดพิจารณาถึงความเหมาะสมในการดําเนินการตอไป

ปจจุบันการตั้งโรงไฟฟามีการกระจุกตัวอยูในพื้นที่ภาคกลางของประเทศ ซึ่งอาจจะมี

ผลกระทบตอความมั่นคงดานพลังงานของประเทศ หากมีการขยายตัวทางดานเศรษฐกิจและจํานวน

ประชากร ดังนั้น ส่ิงที่เสนอคือตองการใหรัฐบาลเปนผูรับผิดชอบในการจัดหาพื้นที่ในการกอสรางโรงไฟฟา

โดยตองมีการกระจายพื้นที่ใหครอบคลุมทั่วทั้งประเทศ ในอนาคตพลังงานทางเลือกจําเปนตองให

ความสําคัญสําหรับถานหินและนิวเคลียร ซึ่งเปนพลังงานที่ทั่วโลกใหความสําคัญ ดังนั้น เพื่อเปนการ

เตรียมความพรอมในการจัดหาสถานที่ในการกอสรางโรงไฟฟาดังกลาว จึงตองมีการสํารวจพื้นที่ที่

เหมาะสมเพื่อรองรับไวในอนาคต รัฐบาลจะตองมีการประสานงานของความรวมมือกับกองทัพเพื่อขอใช

พื้นที่ในการสํารวจกอต้ังโรงไฟฟาและมีการแตงตั้งผูแทนจากกองทัพเขาไปมีสวนรวมในการพิจารณาพื้นที่

ในการกอสรางโรงไฟฟา เพื่อจะไดรับทราบขอมูลที่ชัดเจน และสรางความมั่นคงดานพลังงานของประเทศ

ตอไป

Page 69: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๕๔

พิจารณาเรื่อง รับฟงความคิดเห็นจากผูประกอบการดานพลังงานทดแทน ในปจจุบันพลังงานทดแทนดานพลังงานแสงอาทิตยไดมีบทบาทสําคัญในการเปนพลังงาน

ทางเลือกที่สําคัญของประเทศ เนื่องจากในปจจุบันการสงกระแสไฟฟาจากเขื่อนหรือโรงงานนิวเคลียรจะมี

ปญหาเรื่องระยะทางในการขนสงที่ไกล มีการสูญเสียงบประมาณในการขนสงปละเกือบ ๑๐% ถือเปนการ

สูญเสียดานเศรษฐกิจปละเกือบ ๓๐,๐๐๐ ลานบาท ทําใหรัฐบาลและประชาชนตองมีภาระเพิ่มข้ึนคือ มี

การนํามาคํานวณกับคา Ft

ในสถานการณดานพลังงานแสงอาทิตย ประเทศไทยถือวาเปนแหลงวัตถุดิบที่ใชในการผลิต

แผงโซลารเซลลที่เรียกวา แรควอตซ ที่เปนวัตถุดิบที่สําคัญและสามารถนํามาแปลงเปนแผงโซลารเซลล

ชนิดผลึกหรือซิลิคอนฟลมได แตในปจจุบันยังไมมีการถลุงแรควอตซ จึงควรสนับสนุนและสงเสริมในการ

ดําเนินการตอไป ประเทศไทยมีเฉพาะอุตสาหกรรมการประกอบแผงโซลารเซลล แตยังไมมีการผลิตชิ้นสวน

ยังตองมีการนําเขาจากตางประเทศ สําหรับผูประกอบการในประเทศไทยมีทั้งหมด ๕ ราย แบงเปน

ผูประกอบการในตระกูลชนิดผลึก ๔ ราย และฟลมบางอะมอริฟสซิลิคอน ๑ ราย โดยมีกําลังการผลิต

รวมกันประมาณ ๑๓๐ เมกะวัตต/ป

ปญหาและอุปสรรคในการพัฒนา คือ ขาดมาตรการจูงใจในการลงทุน มาตรการที่กระทรวง

พลังงานกําหนดแผนและเปาหมายไมสอดคลองกับปริมาณการผลิตในภาคอุตสาหกรรม และปญหาที่

สําคัญที่เกิดจากมาตรการของทางราชการอันสงผลตอการพัฒนาดานพลังงานทดแทน คือ การผลิตไฟฟา

จากพลังงานหมุนเวียนจะตองนําไปใชในบานเรือนหรือตามอาคาร หนวยงานกอน ทั้งนี้ หากมีเหลือจึงจะ

นําไปจําหนายได ซึ่งแนวทางการแกปญหาในเรื่องนี้คือ ตองมีการแยกมิเตอรสําหรับซื้อและมิเตอรสําหรับ

จําหนาย ดังนั้น หากตองการใหมีการพัฒนาทางเลือกดานพลังงานทดแทนรัฐบาบจะตองใหความสําคัญ

ตอการพัฒนาและวางแผนเพื่อสงเสริมอุตสาหกรรมโซลารเซลลและดําเนินการใหตอเนื่อง

มาตรการแกไขปญหาดานอุตสาหกรรมพลังงานเซลลแสงอาทิตย

๑. รัฐบาลควรใหการสงเสริมการผลิตเซลลแสงอาทิตยข้ึนในประเทศไทย เพื่อทดแทน

การนําเขา

๒. สงเสริมโรงงานผลิตแผงเซลลแสงอาทิตยข้ึนในประเทศและตลาดรองรับ

๓. มาตรการ Adder ไมสามารถกระตุนใหเกิดการลงทุนติดตั้งระบบเซลลแสงอาทิตย

เพราะราคา Adder ๘ บาท/Kwh นอยเกินไป ควรใหมีการปรับแกเปน ๑๒ บาท/Kwh

๔. ระยะเวลา Adder ๑๐ ป ควรแกไขเปน ๑๕ ป

Page 70: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๕๕

ประโยชนของการสงเสริมการใชเซลลแสงอาทิตย

๑. เปนพลังงานที่มีอยูทั่วไปไมมีตนทุน ชวยลดการนําเขาเชื้อเพลิงฟอสซิล

นิวเคลียร (Energy Security)

๒. ชวยลดการสูญเสียพลังงานไฟฟาในระบบสายสง

๓. ลดปญหาสภาวะโลกรอน เพราะไมมี Co2, Ch4 ขณะผลิตไฟฟา

๔. ลดการผลิตไฟฟาดวยฟอสซิลในเวลาเที่ยงวัน (Cat Peak)

๕. ทําใหเกิดการจางงานในประเทศในภาคอุตสาหกรรมการผลิต

๖. ชวยใหการกระจายการผลิตกระแสไฟฟาใหครอบคลุมทั่วประเทศ

๔) มติที่ประชุม / ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ (ไมมี)

Page 71: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๕๖

ครั้งที่ ๑๘ วันพุธที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๕๑ ๑) เร่ืองพิจารณา

- การสงเสริมการใชน้ํามันไบโอดีเซล B๑๐๐ สําหรับยานยนต

- การเดินทางไปศึกษาดูงาน ณ ตางประเทศ

- รายงานผลการศึกษาของคณะอนุกรรมาธิการศึกษาปญหาการใชกาซธรรมชาติกับ

รถยนต

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

- กรมควบคุมมลพิษ

- สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

- สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

- บริษัท สามมิตรมอเตอร แมนูแฟคเจอริง จํากัด (มหาชน)

๓) ประเด็นการพิจารณา การสงเสริมการใชน้ํามันไบโอดีเซล B๑๐๐ สําหรับยานยนต โครงการสงเสริมการใชไบโอดีเซล B๑๐๐ เพื่อเปนเชื้อเพลิงในเครื่องยนตสําหรับรถยนต

ภาคการเกษตรในรูปแบบของรถบรรทุกเอนกประสงคเพื่อการเกษตร โดยใชน้ํามันไบโอดีเซล B๑๐๐

ซึ่งเปนการสงเสริมการผลิตน้ํามันไบโอดีเซลในระดับชุมชน และเปนการสงเสริมการปลูกพืชน้ํามันและ

การผลิตน้ํามันไบโอดีเซลในเชิงพาณิชย โดยมีเปาหมายในการผลิต ๘.๕ ลานลิตรตอวัน ภายในป

พ.ศ. ๒๕๕๕

ในภาคการเกษตรของประเทศไทยยังขาดแคลนเครื่องจักรกลการเกษตรและ

ยานพาหนะที่ใชในกระบวนการผลิต การจัดการไรนา ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และกําลังการซื้อหา

เกษตรกร แตเนื่องจากในปจจุบันรถบรรทุกขนาดเล็กที่ใชในภาคเกษตรกรรมไดมีการกําหนดคามาตรฐาน

มลพิษเชนเดียวกับรถยนตที่ใชในชุมชน ทําใหตองมีการพัฒนาเครื่องยนตและอุปกรณเสริมเพื่อเพิ่ม

ประสิทธิภาพการเผาไหม และการควบคุมมลพิษใหอยูในระดับตามที่กฎหมายกําหนด ซึ่งในความเปนจริง

ลักษณะการใชงานในพื้นที่ของเกษตรกรมีความแตกตางจากชุมชนหรือทองถนน โดยเครื่องยนตที่ใชใน

การเกษตรจะเปนเครื่องยนตรอบตํ่า เชน เครื่องยนตคูโบตา เครื่องยนตยันมา บริษัท สามมิตรมอเตอร

แมนูแฟคเจอริง จํากัด (มหาชน) จึงไดริเร่ิมโครงการรถบรรทุกเอนกประสงคเพื่อการเกษตรที่เครื่องยนตใช

น้ํามันไบโอดีเซล B๑๐๐ เปนเชื้อเพลิง

แนวคิดในการวิจัยและพัฒนารถบรรทุกเอนกประสงคเพื่อการเกษตร ไดมีการพัฒนา

เพื่อใหมีความเหมาะสมกับภาคเกษตรกรรม เชน ใชเปนรถบรรทุกเพื่อขนสงสินคาเกษตร ใชเพื่อติดตั้ง

กระเชาเพื่อตัดแตงกิ่งไม หรืองานปมน้ําเขาไรนา เปนตน ซึ่งมีความปลอดภัยในการใชงานและภาคการ

ขนสง (Logistics) เพราะจากมีเทคโนโลยีที่ออกแบบถูกตองตามหลักวิศวกรรม ไมมีผลกระทบตอ

Page 72: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๕๗

ส่ิงแวดลอม ซึ่งบริษัท สามมิตรมอเตอร แมนูแฟคเจอริง จํากัด (มหาชน) ไดเสนอขอพิจารณาเพื่อพิจารณา

สนับสนุน โดยใหมีการกําหนดคามาตรฐานมลพิษเฉพาะเครื่องยนตที่ใชเชื้อเพลิงไบโอดีเซล B๑๐๐

คลายกับมาตรฐาน NGV เพราะเครื่องยนตที่ใชน้ํามันไบโอดีเซลควรมีการกําหนดคามาตรฐานมลพิษใหมี

ความสอดคลองกับการใชงานในภาคเกษตรกรรม เพื่อเปนการสงเสริมการใชพลังงานทดแทนในภาค

เกษตรกรรม

ในดานของการควบคุมมาตรฐานมลพิษในระดับ Euro ๓ ตามนโยบายของ

คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติไดมีการกําหนดใหมีการใชคามาตรฐานมลพิษในระดับ Euro ๓ ในป

พ.ศ. ๒๕๕๒ ทั้งนี้ เพื่อเปนการกําหนดคามาตรฐานมลพิษจากรถยนต เพื่อแกปญหามลพิษทางอากาศของ

ประเทศ โดยมีการปรับปรุงวางแผนคุณภาพน้ํามัน และการปรับปรุงมาตรฐานไอเสียของยานพาหนะ ซึ่งที่

ใชเครื่องยนตดีเซลและรถขนาดเล็กที่มีน้ําหนักรวมเกินกวา ๓.๕ ตัน ในป พ.ศ. ๒๕๕๒ จะตองมีการ

กําหนดคามาตรฐานมลพิษในระดับ Euro ๓ ซึ่งจะชวยลดปริมาณมลพิษทางอากาศไดถึง ๓๐ – ๔๐%

การเดินทางไปศึกษาดูงาน ณ ตางประเทศ ที่ประชุมคณะกรรมาธิการการพลังงาน ไดมีมติเลื่อนกําหนดการเดินทางไปศึกษาดูงาน

ณ ตางประเทศ จากวันศุกรที่ ๒ ถึงวันอาทิตยที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๕๒ ไปเปนวันอาทิตยที่ ๑๑ ถึงวันอังคาร

ที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๕๒ ซึ่งในการเดินทางไปศึกษาดูงานเกี่ยวกับ

- การพัฒนาไบโอดีเซล

- การผลิตไบโอแมสหรือไบโอแกส

- การขนสงไบโอดีเซล B ๕

- การผลิตไฟฟาจากพลังงานนิวเคลียร

- การผลิตกระแสไฟฟาจากแสงอาทิตย

รายงานผลการศึกษาของคณะอนุกรรมาธิการศึกษาปญหาการใชกาซธรรมชาติกับรถยนต

ที่ประชุมคณะกรรมาธิการการพลังงาน ไดพิจารณารายงานผลการศึกษาของคณะอนุ

กรรมาธิการศึกษาปญหาการใชกาซธรรมชาติกับรถยนต ซึ่งคณะอนุกรรมาธิการไดพิจารณาศึกษาปญหา

และสาเหตุของถัง NGV ระเบิดในรถยนตโดยสารที่จังหวัดสมุทรปราการเสร็จแลว และไดมีขอเสนอแนะ

เพื่อแจงไปยังหนวยงานที่เกี่ยวของดังนี้

ในการศึกษาพิจารณากรณีถังกาซ NGV ที่ติดตั้งในรถยนตโดยสารระเบิดที่จังหวัด

สมุทรปราการ คณะอนุกรรมาธิการไดพบเห็นวาปญหาที่สําคัญเกิดจากการขาดการกํากับดูแลและขาดกฎ

ระเบียบที่รัดกุมในการควบคุมมาตรฐานความปลอดภัย ในขณะที่รัฐพยายามรณรงคสงเสริมใหประชาชน

หันมาใช NGV เปนพลังงานทางเลือกมากขึ้น ดังนั้น รัฐจึงควรตระหนักและใหความสําคัญในเรื่องความ

Page 73: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๕๘

ปลอดภัยที่จะเกิดตอสวนรวมใหมากยิ่งขึ้นดวย คณะอนุกรรมการจึงขอเสนอขอสังเกตจากการศึกษา

เพื่อใหรัฐบาลไดนําไปพิจารณาดําเนินการ ดังนี้

๑. ดําเนินการเรียกเก็บถังกาซที่ใชวัสดุในการผลิตชุดเดียวกันกับถังที่ระเบิดที่มีการ

นําเขาจํานวนทั้งหมดโดยเรงดวน เพื่อปองกันอันตรายอันอาจจะเกิดระเบิดขึ้นไดอีก ซึ่งจะเกิดผลกระทบ

ตอสาธารณชน

๒. เรงแกปญหาเกี่ยวกับการอนุญาตวิศวกรใหไดรับใบอนุญาตในการติดตั้ง NGV ให

สามารถรองรับการติดตั้งไดอยางเพียงพอและกํากับดูแลใหวิศวกรที่ไดรับใบอนุญาตตรวจสอบการติดตั้ง

ใหเปนมาตรฐานอยางเขมงวด เนื่องจากการติดตั้งถัง NGV ในปจจุบันมีวิศวกรเพียง ๔๒ คน เทานั้น

๓. ควรมีหนวยงานของรัฐหรือเอกชนกํากับดูแลและตรวจสอบกระบวนการตั้งแตการ

นําเขา การติดตั้ง และการตรวจรับรองใหเปนไปตามมาตรฐานความปลอดภัย ทั้งที่เกี่ยวกับคุณภาพของถัง

และระบบการติดตั้งถัง NGV สําหรับรถยนต โดยที่หนวยงานของรัฐหรือเอกชนดังกลาวตองไมเนนผูมีสวน

ไดสวนเสียในเรื่องที่ดําเนินการ

๔. ควรมีการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของใหบทบัญญัติการลงโทษผูดําเนินการกรณี

การนําเขาถัง NGV การติดตั้งและการตรวจรับรองที่ไมถูกตองและไมไดมาตรฐาน รวมถึงใหหนวยงานมี

อํานาจในการยึดและทําลายถัง NGV ไมไดมาตรฐาน

๕. ควรมีการสงเสริมและสนับสนุนใหมีการผลิตถัง NGV ภายในประเทศ ทั้งนี้ จะทํา

ใหรัฐสามารถที่จะกําหนดและควบคุมมาตรฐานไดตามเกณฑมาตรฐานสากล

๔) มติที่ประชุม / ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ

ที่ประชุมมีมติรับรองรายงานผลการศึกษาของคณะอนุกรรมาธิการศึกษาปญหาการใช

กาซธรรมชาติกับรถยนต และมีมติใหทําหนังสือแจงขอสังเกตไปยังหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อพิจารณาตอไป

Page 74: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๕๙

ครั้งที่ ๑๙ วันพุธที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๕๑ ๑) เร่ืองพิจารณา

การสงเสริมการใชน้ํามันไบโอดีเซล B๑๐๐ สําหรับยานยนต

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

- กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน

- กรมการขนสงทางบก กระทรวงคมนาคม

- กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

- ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ สวทช.

- บริษัท สามมิตรมอเตอรสแมนูแฟคเจอริง จํากัด (มหาชน)

๓) ประเด็นการพิจารณา การสงเสริมการใชน้ํามันไบโอดีเซล B๑๐๐ สําหรับยานยนต กรณีการจดทะเบียนรถบรรทุกเอนกประสงคเพื่อการเกษตรของบริษัท สามมิตรมอเตอรส

แมนูแฟคเจอริง จํากัด (มหาชน) นั้น กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๒๕) ออกตามความใน

พระราชบัญญัติรถยนต พ.ศ. ๒๕๒๒ กําหนดใหรถใชงานเกษตรกรรมเปนรถตามกฎหมายวาดวยรถยนต

รถใชงานเกษตรกรรมนั้น หมายถึง รถที่ผลิตหรือประกอบขึ้นเพื่อใชงานเกษตรกรรม โดยใชเครื่องยนตซึ่ง

มิไดใชสําหรับรถยนตโดยเฉพาะมาติดตั้ง ลักษณะหลักของรถใชงานเกษตรกรรมตองเปนรถที่มีสามลอ

หรือส่ีลอน้ําหนักไมเกิน ๑,๖๐๐ กิโลกรัม มีขนาดกวางไมเกิน ๒ เมตร ยาวไมเกิน ๖ เมตร เครื่องยนตตองมี

ความจุในกระบอกสูบรวมไมเกิน ๑,๒๐๐ ลูกบาศกเซนติเมตร ซึ่งเปนเครื่องยนตที่เกษตรกรใชงานอยางอื่น

ดวย กลาวคือ เปนเครื่องยนตที่ใชมือหมุน มีหมอน้ําระบายความรอนอยูในตัว สามารถโยกยายไปใชงาน

อ่ืนได เปนเครื่องยนตที่ไมไดติดอยูกับรถโดยเฉพาะ ดังนั้น หากเปนตัวรถที่ใชเครื่องยนตโดยเฉพาะแลวก็

จะไมจัดเปนรถใชงานเกษตรกรรม นํามาจดทะเบียนเปนรถใชงานเกษตรกรรมไมได

สวนกรณีการใชน้ํามันเชื้อเพลิงทั้งกฎหมายวาดวยรถยนตและกฎหมายวาดวยการขนสง

ทางบก ไมไดกําหนดวาตองใชเชื้อเพลิงชนิดใด เพื่อความหลากหลายในการเลือกใชเชื้อเพลิงของเจาของ

รถ ซึ่งในปจจุบันนี้มีเชื้อเพลิงหลายประเภทนอกจากเบนซินและดีเซล การจดทะเบียนนั้นทางกรมจะดูเร่ือง

ของตัวรถเปนหลัก แตก็จะมีระบุในสมุดจดทะเบียนวาเปนเครื่องยนตใชน้ํามันชนิดใด

กรณีน้ํามันเชื้อเพลิงเปนหนาที่ของกรมธุรกิจพลังงาน คือ การดูแลคุณภาพน้ํามันเชื้อเพลิง

เพื่อคุมครองผูบริโภค การวางมาตรฐานน้ํามันมีหลักวาจะตองพัฒนาไปตามเทคโนโลยีของเครื่องยนต

กลาวคือ สมรรถนะของการใชงานและปญหาเรื่องสิ่งแวดลอม จากทั้งสองหลักนี้ทําใหมาตรฐานคุณภาพ

น้ํามันยิ่งเขมงวดขึ้นไปเรื่อยๆ น้ํามันที่ใชในปจจุบันนี้เทียบเทามาตรฐาน EURO III และกําลังพัฒนาใหเปน

EURO IV ในป พ.ศ. ๒๕๕๕ ซึ่งทางกรมธุรกิจพลังงานไดประกาศไปแลว เพื่อใหโรงกลั่นเตรียมแผนการ

ปรับปรุงกระบวนการผลิต

Page 75: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๖๐

กรมธุรกิจพลังงานไดวางมาตรฐานคุณภาพน้ํามันใชบังคับกับทุกกรณีทั่วไปเนื่องจากมีการ

จําหนายทั่วประเทศเพื่อปองกันการสับสนของการใชจึงกําหนดใหอยูบนพื้นฐานเดียวกัน ถาหากมีเกณฑ

มาตรฐานมากจะมีผลกระทบตอระบบอ่ืนดวยเชนในเรื่องของคลังน้ํามัน รถขนสงน้ํามัน หรือสถานีบริการ

น้ํามัน

ตามสถานีบริการน้ํามันทั่วไปยังคงมีดีเซลธรรมดา B๒ B๕ จําหนายอยู สวนการใช B๑๐๐

นั้นเปนนโยบายของกระทรวงพลังงานที่สงเสริมใหชุมชนพึ่งพาตนเองได จึงใหมีการใช B๑๐๐ จํากัดอยูใน

เฉพาะชุมชนนั้น ๆ ไมไดมีนโยบายใหขายโดยทั่วไปเหมือนกับ B๒ หรือ B๕ เนื่องจากวาหากเปดขายทั่วไป

แลวมีการใหขอมูลกับผูบริโภคไมชัดเจนอาจกอใหเกิดปญหาการใชงานและมีการฟองรองเกิดขึ้นได

กรณีมาตรฐานคามลพิษ EURO III กอนที่ภาครัฐจะกําหนดเปนมติของคณะกรรมการ

ส่ิงแวดลอมแหงชาติ ไดทําการประชุมหารือกับหนวยงานที่เกี่ยวของทุกฝายทั้งภาครัฐและภาคเอกชน

ผูผลิตทั้งผลิตรถและผลิตน้ํามันมาตรฐาน EURO III ของรถขนาดใหญ แมจะมีมติมาตั้งแตป ๒๕๔๘ แตได

บังคับใชเมื่อ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ ซึ่งในขณะนี้ก็ไดลวงเลยมาเปนเวลา ๒ ป ถึงจะมีการบังคับใชอยางจรงิจงั

ซึ่งตามปกติแลวภาครัฐก็จะใหเวลาแกผูผลิตอยูเสมออยางนอย ๒ ป เพื่อการปรับตัว ปรับการผลิตทั้ง

ผูผลิตรถและผูผลิตน้ํามัน

มีมติของคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ใหรถขนาดใหญที่ใชกาซธรรมชาติ NGV ใช

มาตรฐาน EURO III โดยจะเริ่มต้ังแต ๑ มกราคม ๒๕๕๓ เปนตนไป (ปจจุบันใช EURO II) ซึ่งก็เปน

เชนเดียวกับรถขนาดใหญที่ใชดีเซลก็ใชมาตรฐาน EURO III เชนกัน ดังนั้น รถบรรทุกของบริษัท สามมิตร

มอเตอรสแมนูแฟคเจอริง จํากัด (มหาชน) ที่ใช B๑๐๐ จะขอใชมาตรฐานเชนเดียวกับรถที่ใชกาซธรรมชาติ

ซึ่งในอีก ๑ ปตอจากนี้รถที่ใชกาซธรรมชาติก็จะเปลี่ยนจากมาตรฐาน EURO II เปน EURO III หรือในกรณี

รถขนาดเล็กในอนาคตที่ใชกาซธรรมชาติก็จะใชมาตรฐาน EURO IV เหมือนกันกับรถขนาดเล็กที่ใชเบนซิน

หรือดีเซล ซึ่งในรถขนาดเล็กนี้ไดประกาศเวลาไวชัดเจนวาจะมุง EURO IV ในป พ.ศ. ๒๕๕๕ ซึ่ง

ขณะเดียวกันที่ประกาศนี้ดานคุณภาพน้ํามันก็ไดมีการกําหนดมาตรฐานไวรองรับแลว

๔) มติที่ประชุม / ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ (ไมมี)

Page 76: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๖๑

ครั้งที่ ๒๐ วันพุธที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๒ ๑) เร่ืองพิจารณา

การกําหนดแนวทางการศึกษาดูงานภายในประเทศ และการจัดสัมมนาของ

คณะกรรมาธิการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง (ไมมี)

๓) ประเด็นการพิจารณา

ในการจัดการสัมมนาภายในประเทศ เห็นสมควรใหจัดสรรงบประมาณ จํานวน ๑๕ คร้ัง

โดยใหฝายเลขานุการของคณะกรรมาธิการการพลังงาน จัดทําหัวขอเร่ืองโครงการ กําหนดวัน เวลา และ

สถานที่ในการจัดสัมมนาสงใหเจาหนาที่คณะกรรมาธิการการพลังงาน เพื่อจะไดดําเนินการขออนุมัติ

ดําเนินการตอไป ทั้งนี้ การจัดสัมมนาใหคณะกรรมาธิการเนนการจัดแบบกลุมยอย เพื่อใหครอบคลุมและ

ตรงตามเปาหมาย งบประมาณในการจัดสัมมนาประกอบดวยงบการจัดการสัมมนา ๗๐๐,๐๐๐ บาท และ

งบประมาณในสวนของคาใชจายในการสงเสริมการสนับสนุนการทํางานของคณะกรรมาธิการ จํานวน

๘๐๐,๐๐๐ บาท

สําหรับการเดินทางไปศึกษาดูงานในตางประเทศ ข้ันตอนในการดําเนินงานจะตองมีการ

ประสานงานกับกระทรวงการตางประเทศ โดยจะตองแจงลวงหนาประมาณ ๑ เดือน เพื่อใหมีระยะเวลาใน

การติดตอประสานงานในการติดตอสถานที่เพื่อขอเขาดูงาน และเพื่อเปนการอํานวยความสะดวกในดาน

ตาง ๆ ใหแกคณะกรรมาธิการในการเดินทางไปศึกษาดูงาน ในสวนการสํารองที่นั่งเที่ยวบินที่จะเดินทาง

จะตองกําหนดเวลาที่จะดําเนินงานพอสมควร เพื่อจะไดมี เวลาในการตรวจสอบเที่ยวบินเพื่อ

คณะกรรมาธิการจะไดเดินทางพรอมกันเปนหมูคณะ ทั้งนี้ กําหนดวัน เวลาในการเดินทางใหพิจารณา

หลังจากเปดสมัยประชุมสามัญทั่วไปแลวจะอยูในชวงเวลาประมาณเดือนมีนาคม – เมษายน ๒๕๕๒

นอกจากนั้นที่ประชุมไดกําหนดการเดินทางไปศึกษาดูงาน ณ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

ซึ่งมีเขื่อนน้ํางึมและเขื่อนน้ําเทิน ซึ่งเปนแหลงผลิตกระแสไฟฟาที่ขายใหไทย โดยการเดินทางจะเดินทางไป

เปนประมาณเดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๒

๔) มติที่ประชุม / ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ (ไมมี)

Page 77: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๖๒

ครั้งที่ ๒๑ วันพุธที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๕๒ ๑) เร่ืองพิจารณา

สถานภาพ และปญหาการจัดตั้งโครงการโรงไฟฟาจากขยะของเทศบาล

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

๓) ประเด็นการพิจารณา

การสงเสริมผูผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนไดมีการสงเสริมใหมีการผลิตไฟฟาจากพลังงาน

ทดแทน ภาพรวมในปจจุบันกระทรวงพลังงานไดมีการสงเสริมใหมีการผลิตไฟฟาจากผูผลิตไฟฟารายเล็ก

(SPP) จากชีวมวล และมีการสงเสริมใหมีการผลิตไฟฟาจากผูผลิตไฟฟารายเล็กมาก (VSPP) ตามนโยบาย

ดานพลังงานของกระทรวงพลังงาน ซึ่งคาดวาปริมาณการผลิตไฟฟาจะเกินกวาที่กําหนดไวในแผนแมบท

พัฒนาพลังงานทดแทน ซึ่งปจจุบันคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานเปนหนวยงานที่ทําหนาที่ในการ

กํากับดูแลผูผลิตไฟฟารายใหญ (IPP) ผูผลิตไฟฟารายเล็ก และผูผลิตไฟฟารายเล็กมาก โดยสํานักงาน

นโยบายและแผนพลังงานจะทําหนาที่ในการวางนโยบาย ซึ่งนโยบายในสวนเพิ่ม (Adder) ของราคารับซื้อ

ไฟฟาจากพลังงานทดแทนปจจุบันกระแสไฟฟาจากขยะจะรับซื้อในราคา ๒.๕๐ บาท กระแสไฟฟาจาก

พลังงานลมรับซื้อในราคา ๓.๕๐ บาท และพลังงานจากแสงอาทิตยรับซื้อในราคา ๘.๐๐ บาท โดยราคารับ

ซื้อไฟฟาคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ จะมีการพิจารณาปรับราคารับซื้อไฟฟาในทุก ๒ ป ซึ่งจะ

พิจารณาจากเทคโนโลยีในการผลิตกระแสไฟฟา และวิเคราะหความเปนไปไดในการผลิตกระแสไฟฟาเพื่อ

เปนการจูงใจผูผลิตกระแสไฟฟามีการขายไฟฟามากขึ้น

จากขอมูลของกรมควบคุมมลพิษไดมีการแยกประเภทขององคประกอบของขยะประกอบดวย

ขยะอินทรีย คิดเปน ๖๐ – ๗๐ % ขยะพลาสติก คิดเปน ๒๐ % ขยะจากเศษโลหะ เศษแกว

และอื่นๆ ๑๐ % โดยทั่วไปแลวเทคโนโลยีการผลิตพลังงานจากขยะในปจจุบันมี ดังนี้

๑. การเผาในเตาเผา (Incineration) เปนการเผาไหมขยะมูลฝอยที่มีองคประกอบ

หลากหลาย โดยไมตองมีการจัดการเบื้องตนกอนปกติจะเปนการเผาไหมในเตาแบบตะกรับเคลื่อนที่ได

(Moving Grate) ซึ่งเปนเทคโนโลยีที่ใชกันแพรหลายสามารถรองรับการเผาทําลายขยะมูลฝอยที่มี

องคประกอบและคาความรอนที่หลากหลาย

๒. การยอยสลายแบบไมใชออกซิเจน (Anerobic Digestion, AD) เปนเทคโนโลยียอย

สลายแบบไมใชออกซเิจนเปนกระบวนการหมักของเสียในสภาวะที่ไรออกซิเจน เพื่อจุลินทรียยอยสลายสาร

อินทรีใหกลายเปนกาซชีวภาพ

๓. กาซชวีภาพจากระบบฝงกลบ (Landfill Gas to Energy) เปนการนาํเอาขยะมาเทกอง

ในพืน้ทีท่ี่จัดเตรียมไวแลวใชเครื่องจักรกลเกลี่ยและบดอัดใหยุบตัวลง แลวใชดินกลบทับและบดอัดใหแนน

หลังจากนั้นนาํขยะมูลฝอยมาเกลีย่และบดอัดอีกเปนชัน้ ๆ สลับดวยชั้นดินกลบเพือ่ปองกันปญหาในดาน

Page 78: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๖๓

กลิ่น อินทรียสารที่มีอยูในขยะจะถูกยอยสลายตามธรรมชาติโดยจุลินทรีย เปนกระบวนการยอยสลายชนิด

ไรอากาศ (anaerobic decomposition) และเกิดกาซมเีทน (CH๔)

๔. กาซเชื้อเพลิงจากขยะ (Gasification) เปนกระบวนการทําใหขยะชุมชนกลายเปนกาซ

โดยการทําปฏิกิริยาสันดาปแบบไมสมบูรณ สารอินทรียในขยะจะทําปฏิกิริยากับอากาศหรือออกซิเจนใน

ปริมาณจํากัด และทําใหเกิดกาซคารบอนมอนออกไซด ไฮโดรเจน และมีเทน

๕. เชื้อเพลิงอัดแทง (Refuse Derived Fuel) เทคโนโลยีผลิตเชื้อเพลิงขยะเปนการนําขยะ

มาผานกระบวนการจัดการตาง ๆ เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีใหกลายเปนเชื้อเพลิงขยะ

(Refuse Derived Fuel : RDF) ที่มีคาความรอนสูง

๔) ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ

ในการผลิตไฟฟาจากขยะพบวามีปญหาในทางกฎหมายที่ใชบังคับ กลาวคือ ผูผลิต

ไฟฟาภาคเอกชนไมสามารถที่จะซื้อขยะได เนื่องจากขยะถือเปนทรัพยสินของทางราชการและยังไมมีขอ

กฎหมายในการจําหนายหรือขายขยะใหกับผูผลิตไฟฟาและนอกจากนี้ยังพบวาไดมีการลักลอบนําเอาขยะ

ที่มีพิษจํานวนมากมาทิ้งบริเวณชานเมือง โดยไมมีกระบวนการจัดการกับขยะที่มีพิษ ซึ่งอาจสงผลกระทบ

ตอส่ิงแวดลอมและประชาชนที่อาศัยในบริเวณดังกลาวได

Page 79: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๖๔

ครั้งที่ ๒๒ วันพุธที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๕๒ ๑) เร่ืองพิจารณา

สถานภาพ และปญหาการจัดตั้งโครงการโรงไฟฟาจากขยะของเทศบาล

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

- กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน

- กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม

- บริษัท เจนโก จํากัด

- เทศบาลนครระยอง

๓) ประเด็นการพิจารณา

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน ไดจัดทําแผนการสงเสริมการผลิตพลังงาน

จากขยะชุมชนป พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔ ดวยการสนับสนุนใหนําขยะมาผลิตพลังงานโดยแบงตามปริมาณ

ขยะของแตละเทศบาลและ อบต. ไดแก เทศบาลที่มีขยะมากกวา ๑๐๐ ตันตอวัน จะสนับสนุนใหเอกชน

เปนผูลงทุนในการผลิตพลังงาน เทศบาลที่มีขยะ ๕๐ – ๑๐๐ ตันตอวัน หรือ ๑๐ – ๕๐ ตันตอวัน หรือ ๕ –

๑๐ ตันตอวัน จะสงเสริมใหติดตั้งระบบบอหมักผลิตกาซชีวภาพรวมกับการผลิตเชื้อเพลิงขยะ โดยปรับ

ขนาดระบบใหเหมาะสมกับปริมาณขยะ สําหรับเทศบาลที่มีขยะนอยกวา ๕ ตันตอวัน และในสวนของ

อบต. กรมจะสงเสริมใหใชถังหมักกาซชีวภาพจากขยะอินทรียขนาดเล็ก ในปจจุบันมีโรงไฟฟาจากขยะที่

ดําเนินการแลวและกําลังกอสราง จํานวน ๔ แหง และ ๓ แหง ตามลําดับ ซึ่งในแตละโครงการมีปญหาใน

การดําเนินการ เชน ขาดระบบการจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพ การพัฒนาโครงการพลังงานจากขยะที่มี

การลงทุนสูง มีผลตอบแทนต่ํา ระยะเวลาในการคืนทุนนาน

กรมโรงงานอุตสาหกรรม มีการบริหารจัดการขยะ โดยการจําแนกขยะเปน ๓ ประเภท คือ

๑. ขยะที่นํากลับมาใชใหม ๒. ขยะติดไฟ เปนขยะอินทรียที่มีคุณสมบัติในการติดไฟสูง ๓. ขยะไมติดไฟ

เชน กระดูก เศษเซรามิก สําหรับขยะในสวนของโรงงานอุตสาหกรรมจะมีทั้งขยะที่เปนอันตราย ขยะที่ไม

อันตรายและของเสียจากชุมชน การกําจัดขยะในภาคอุตสาหกรรมเพื่อใชในการผลิตไฟฟาสวนใหญจะได

จากน้ําเสียของโรงงานแปงมันสําปะหลัง โรงงานน้ําตาล โรงงานเอทานอล นํามาใชในการหมักเพื่อผลิต

เปนกาซชีวภาพ

บริษัท เจนโก จํากัด เปนบริษัทที่ ดําเนินการดานใหบริการและกําจัดของเสียจาก

อุตสาหกรรมทั้งที่เปนอันตรายและไมเปนอันตราย รวมทั้งการจัดเก็บ รวบรวม และการขนสงของเสียเพื่อ

นําไปบําบัดหรือกําจัด โดยมีระบบในการกําจัดขยะอุตสาหกรรม ๓ ระบบ คือ ๑. ระบบการปรับเสถียร

๒. ระบบฝงกลบ ๓. ระบบผสมกากเชื้อเพลิง มีกากของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมเขาสูระบบการกําจัด

ขยะของบริษัทประมาณ ๑๒ ลานตันตอป และขยะจากชุมชน ๕๐ – ๖๐ ตันตอป และจากกรณีศึกษา

เกี่ยวกับนําขยะชุมชนมาผลิตเปนพลังงาน พบปญหา เชน ขยะอินทรียที่มีอยูตามบานเรือนทั่วไป หากเอา

Page 80: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๖๕

มาผลิตเปนพลังงานจะตองมีการนําเขามาในกระบวนการผลิตอยางตอเนื่อง หากขยะอินทรียมีนอยจะทํา

ใหเกิดความไมตอเนื่องและไมคุมคาในการผลิตไฟฟา

เทศบาลนครระยอง เปนเทศบาลที่ผลิตไฟฟาจากกาซชีวภาพ โดยใชระบบการจัดการขยะ

ของเทศบาลมาผลิตไฟฟา มีกําลังการผลิตของเครื่องผลิตไฟฟาอยูที่ ๖๒๕ กิโลวัตตตอชั่วโมง ใชขยะใน

การผลิต ๑๕๐ ตันตอวัน การกําจัดขยะของเทศบาลนครระยอง ประกอบดวย โรงแยกขยะและเตรียม

สภาพและเครื่องยนตกาซสําหรับการผลิตไฟฟาจากชีวภาพ จากการดําเนินการผลิตไฟฟาของเทศบาลนคร

ระยอง พบปญหาในการผลิตไฟฟาจากขยะ ๓ ประการ คือ

๕. ระบบการออกแบบเครื่องผลิตไฟฟาสวนใหญมีการคัดลอกมาจากตางประเทศซึ่งใน

ตางประเทศมีการคัดแยกขยะกอนที่จะนําเขามาผลิตไฟฟา แตสําหรับประเทศไทยขยะที่ใชในการผลิต

ไฟฟาไมไดมีการแยกขยะกอน จึงทําใหระบบตางๆที่เชื่อมตอกัน คือ ระบบคัดแยก ระบบหมัก ระบบผลิต

ไฟฟา ซึ่งหากระบบใดระบบหนึ่งชํารุดจะสงผลกระทบไปยังระบบอื่นๆดวย

๒. ในการออกแบบระบบกอนการติดตั้ง เทศบาลนครระยองไดคาดการณวาจะมีกาซมีเทน

ที่ใชในการผลิตไฟฟา ๖๐ % แตเมื่อมีการผลิตไฟฟาไปแลว พบวามีกาซประเภทอื่นๆปนอยูกับกาซมีเทนที่

ใชผลิตไฟฟาทําใหเครื่องผลิตไฟฟาเกิดการแปรรวนของระบบผลิตไฟฟา ซึ่งในปจจุบันเทศบาลนครระยอง

ยังไมมีเครื่องมือที่ใชในการแยกกาซดังกลาวได

๓. องคกรขาดความคลองตัวในการดําเนินงานซึ่งในปจจุบันเทศบาลนครระยองได

มอบหมายใหเอกชนเปนผูดําเนินการผลิตไฟฟา เพื่อใหเกิดความรวดเร็วในการบริหารจัดการและหาก

เครื่องผลิตไฟฟาเกิดการชํารุดสามารถที่จะซอมซอมไดรวดเร็วกวาระบบราชการ

๔) มติที่ประชุม / ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ (ไมมี)

Page 81: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๖๖

ครั้งที่ ๒๓ วันพุธที่ ๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๒ ๑) เร่ืองพิจารณา

มาตรการปองกันความผันผวนของราคาน้ํามันและผลประกอบการของบริษัท ปตท.

จํากัด (มหาชน)

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

๓) ประเด็นการพิจารณา

การปองกันความผันผวนของราคาน้ํามัน ซึ่งไมสามารถควบคุมได ดังนั้น จึงมีกองทุนน้ํามัน

เชื้อเพลิงและกองทุนสงเสริมอนุรักษพลังงานเขามาเปนกลไกไมใหราคาน้ํามันปรับตัวสูงขึ้นมากอยาง

รวดเร็ว และหาซื้อไดยาก ทําใหเกิดภาวะขาดแคลนน้ํามันขึ้นในประเทศไทยรัฐบาลจึงใชกลไกดงักลาว เพือ่

แทรกแซงหรือควบคุมกลไกตลาดน้ํามัน เพื่อรักษาความมั่นคงในประเทศและชวยบรรเทาความเดือดรอน

ของประชาชน

มาตรการปองกันความผันผวนของราคาน้ํามัน มีดังนี้

๑. ผลกระทบจากราคาน้ํามันแพง โดยมีการจัดตั้งกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงแลวลดเงินเขา

กองทุนถึง ๔๐ สตางค สวนกองทุนสงเสริมการอนุรักษพลังงาน ไดเก็บเงินเขากองทุนถึง ๕๐ สตางค ดังนั้น

ทั้งสองกองทุนจึงเก็บไดถึง ๙๐ สตางค จากการที่ราคาน้ํามันแกสโซฮอล เบนซิน และดีเซล มีการปรับข้ึน

ราคาสูงและรวดเร็วนั้น ทางกองทุนที่ไดเก็บเงินเขากองทุนประมาณ ๑๐๐ ลานบาทเศษ แตเพื่อไมให

ประชาชนเดือดรอน จึงไมมีการเก็บเงินกองทุนหรือเก็บเงินเขากองทุนไดนอยลง ตามสภาวะราคาน้ํามัน

ในชวงนั้น ๆ สวนกรณีที่ขาดแคลนน้ํามันตามสถานี ทางบริษัทน้ํามันตาง ๆ จะใชวิธีแกปญหาโดยระบบ

โลจิสติคส

การที่กลุมประชาชนหรือกลุมอาชีพตาง ๆ อาทิ รถโดยสารประจําทาง ชาวประมง

เรือโดยสาร เปนตน ที่ไดรับความเดือดรอนเจรจากับโรงกลั่นในเครือ ปตท. ทุกโรง ไมวาจะเปนโรงกลั่น

ไทยออยล โรงกลั่นบางจาก และอื่น ๆ เขามาจัดสรรน้ํามันราคาถูก เพื่อชวยเหลือประชาชนที่เดือดรอน

ซึ่งการเจรจาดังกลาวไดรับการบริจาคทั้งสิ้นเปนจํานวน ๖๓๒ ลานลิตร เปนระยะเวลานาน ๖ เดือน ในชวง

เดือนมิถุนายน – เดือนพฤศจิกายน ป พ.ศ. ๒๕๕๑ ที่ผานมา

๒. มาตรการที่ใหประชาชนชวยกันประหยัดพลังงาน โดยมีการรณรงคการตรวจสภาพ

เครื่องยนตตามสถานีบริการของ ปตท. และบางจาก พรอมทั้งจุดพักรถยนต เพื่อใหการประหยัดพลังงาน

ของประชาชนไดถึงรอยละ ๖ เปอรเซ็นต

Page 82: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๖๗

๓. ความมั่นคงในการจัดหาพลังงาน เพื่อใหมีใชอยางเพียงพอนั้น มีกฎหมายเขามารองรับ

โดยการเก็บสํารองน้ํามันตามกฎหมาย น้ํามันดิบรอยละ ๕ เปอรเซ็นต ของปริมาณการกลั่นทั้งหมด และ

น้ํามันสําเร็จรูปเก็บสํารองรอยละ ๕ ของยอดขาย ประมาณ ๑๘ วัน แตของตางประเทศจะมีการสํารอง

น้ํามันทางยุทธศาสตรและการสํารองน้ํามันเชิงพาณิชยของเอกชน ซึ่งเปนการเก็บสํารองน้ํามันตาม

ปริมาณการใชของประชาชนในประเทศนั้น ๆ และระยะเวลาสํารองขั้นต่ําอยูที่ ๓๕ วัน

ผลประกอบการของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) นั้น จะเปนของ บริษัท ปตท. จํากัด

(มหาชน) และบริษัทลูกของ ปตท. ซึ่งบริษัทลูกของ ปตท. สามารถทํายอดขายไดถึง ๑๐๐,๐๐๐ กวาลาน

บาท แตของ ปตท. อยูที่ ๓๓,๐๐๐ กวาลานบาท เทานั้น ในป ค.ศ. ๒๐๐๗ และในป ค.ศ. ๒๐๐๘ ชวง

ไตรมาสที่ ๑ – ๓ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ยังมีกําไรอยูแตในชวงไตรมาสที่ ๔ มีกําไรนอยลง เพราะ

ราคาน้ํามันลดลงอยางรวดเร็ว และยังมีการเก็บสํารองน้ํามันไว ๑๘ วัน อาจทําใหขาดทุนได

๔) มติที่ประชุม / ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ (ไมมี)

Page 83: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๖๘

ครั้งที่ ๒๔ วันพุธที่ ๑๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๒ ๑) เร่ืองพิจารณา แนวทางและอนาคตของพลังงานทดแทน

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

- นายพรชัย รุจิประภา ปลัดกระทรวงพลังงาน

- นายพานิช พงศพิโรดม อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน

- นายศาณินทร ตริยานนท ผูจัดการใหญ บริษัท น้ํามันพืชปทุม จํากัด

๓) ประเด็นการพิจารณา แนวทางและอนาคตของพลังงานทดแทน แผนพัฒนาพลังงานทดแทน ๑๕ ป

๑. ความเปนมา จากวิกฤติราคาพลังงานปรับตัวขึ้นลง ประเทศไทยตองนําเขาพลังงานเปนมูลคาเกือบ

หนึ่งลานลานบาทในระยะเวลาปกวาที่ผานมา ทําใหการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไดรับผลกระทบ

ตลอดจนประชาชนไดรับผลกระทบโดยตรงจากราคาน้ํามันเชื้อเพลิงที่สูงขึ้น กระทรวงพลังงานเล็งเห็น

ความจําเปนในการจัดหาแหลงพลังงานที่หลากหลายโดยเฉพาะอยางยิ่งพลังงานหมุนเวียนในประเทศ

จึงมีนโยบายจะพัฒนาพลังงานทดแทนเปนแหลงพลังงานหลักของประเทศ ดวยการจัดทําแผนพัฒนา

พลังงานทดแทน ๑๕ ป (พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๖๕) ข้ึน และไดจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อรับฟงความ

คิดเห็นทุกภาคสวนใน ๔ ภูมิภาค

๒. วัตถุประสงคของแผน - เพื่อใหประเทศไทยใชพลังงานทดแทนเปนพลังงานหลักของประเทศแทนการนําเขา

น้ํามัน

- เพื่อเพิ่มความมั่นคงในการจัดหาพลังงานใหประเทศ

- เพื่อสงเสริมการใชพลังงานรูปแบบชุมชนสีเขียวแบบครบวงจร

- เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมการผลิตเทคโนโลยีพลังงานทดแทนในประเทศ

- เพื่อวิจัย พัฒนา สงเสริมเทคโนโลยีพลังงานทดแทนประสิทธิภาพสูง

๓. เปาหมาย เพิ่มสัดสวนการใชพลังงานทดแทนใหเปนรอยละ ๒๐ ของการใชพลังงานขั้นสุดทาย

ของประเทศ ภายในป พ.ศ. ๒๕๖๕

๔. กรอบการดําเนินงาน แผนพัฒนาพลังงานทดแทน ๑๕ ป มีกรอบการพัฒนาพลังงานทดแทนของประเทศใน

ระหวางป พ.ศ. ๒๕๕๑ – ป พ.ศ. ๒๕๖๕ ไดแบงเปน ๓ ระยะ คือ ระยะสั้น (พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔)

ระยะกลาง (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) และระยะยาว (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๕) จะทดแทนการใชน้ํามันได

Page 84: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๖๙

รวม ๑๙,๗๙๙ พันตัน เทียบเทาน้ํามันดิบในป พ.ศ. ๒๕๖๕ คิดเปนรอยละ ๒๐ ของการใชพลังงาน

ของประเทศ

- ระยะสั้น (พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔) มุงเนนสงเสริมเทคโนโลยีพลังงานทดแทนที่ไดรับ

การยอมรับแลว (proven technologies) และมีศักยภาพแหลงพลังงานทดแทนสูง ไดแก เชื้อเพลิง

ชีวภาพ การผลิตไฟฟา และความรอนจากชีวมวล และกาซชีวภาพ และ NGV โดยมีเปาหมายในป

พ.ศ. ๒๕๕๔ คือ

- ไฟฟา ๓,๒๗๓ MW (๑,๕๘๗ ktoe)

- ความรอน ๔,๑๕๐ ktoe

- เชื้อเพลิงชีวภาพ ๖ ลานลิตร/วัน (๑,๗๕๕ ktoe)

- NGV ได ๓๙๓ ลานลูกบาศกฟุตตอวัน (๓,๔๖๙ ktoe)

- ระยะกลาง (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) สงเสริมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีพลังงาน

ทดแทน และสนับสนุนพัฒนาตนแบบเทคโนโลยีพลังงานทดแทนใหม ๆ เชน การผลิตเอทานอลและไบ

โอดีเซลจากสาหราย การผลิตน้ํามันจากชีวมวล และเชื้อเพลิงไฮโดรเจน ใหมีความคุมคาทาง

เศรษฐศาสตรเพิ่มสูงขึ้น รวมถึงสงเสริมการใชเทคโนโลยีใหมในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ และพัฒนา

ตนแบบ Green City และนําไปสูการสรางความเขมแข็งใหกับการผลิตพลังงานทดแทนระดับชุมชน

โดยมีเปาหมายในป พ.ศ. ๒๕๕๙ คือ

- ไฟฟา ๔,๑๙๑ MW (๑,๙๐๗ ktoe)

- ความรอน ๕๕๘๒ ktoe

- เชื้อเพลิงชีวภาพ ๙.๘๔ ลานลิตร/วัน (๒,๘๓๑ ktoe)

- NGV ได ๕๙๖ ลานลูกบาศกฟุตตอวัน (๕,๒๖๐ ktoe)

- ระยะยาว (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๕) สงเสริมเทคโนโลยีดานพลังงานทดแทนใหม ๆ ที่

มีความคุมคาทางเศรษฐศาสตร เชน พลังงานไฮโดรเจน เปนตน รวมถึงการขยายผล Green City และ

พลังงานชุมชน และสนับสนุนใหประเทศไทยเปนศูนยสงออกเชื้อเพลิงชีวภาพและการสงออก

เทคโนโลยีพลังงานทดแทนในภูมิภาคอาเซียน โดยมีเปาหมายในป พ.ศ. ๒๕๖๕ คือ

- ไฟฟา ๕,๖๐๘ MW (๑,๙๐๗ ktoe)

- ความรอน ๗,๔๓๓ ktoe

- เชื้อเพลิงชีวภาพ ๑๓.๕๐ ลานลิตร/วัน (๓,๙๘๖ ktoe)

- NGV ได ๖๙๐ ลานลูกบาศกฟุตตอวัน (๖,๐๙๐ ktoe)

๕. มาตรการ/แนวทางการสงเสริมพลังงานทดแทน ๕.๑ กําหนดใหพลังงานทดแทนเปนวาระแหงชาติ

Page 85: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๗๐

๕.๒ ภาครัฐมีนโยบายสนับสนุนพลังงานทดแทนที่ตอเนื่อง ไดแก

- มีมาตรการสวนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนถึงป พ.ศ.

๒๕๕๔

- มีมาตรการ ESCO Fund เพื่อสงเสริมการลงทุนและประกันความเสี่ยง

- มีมาตรการสนับสนุนเงินลงทุนเพื่อชวยลดภาระการลงทุนเริ่มแรกใน

เทคโนโลยีพลังงานทดแทนรูปแบบใหม ๆ รวมถึงเงินกูดอกเบี้ยต่ําสําหรับการลงทุนผลิตพลังงาน

ทดแทนใหม ๆ

- มีมาตรการสงเสริมการลงทุนตามสิทธิประโยชน BOI สําหรับการลงทุน

ดานพลังงานทดแทน และการลงทุนอุตสาหกรรมผลิตเทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับพลังงานทดแทน

- มีการชดเชยราคาขายปลีกน้ํามันดีเซลและเบนซินที่มีสวนผสมของ

เชื้อเพลิงชีวภาพต่ํากวาราคาขายปลีกน้ํามันดีเซลและเบนซินธรรมดา

๕.๓ ภาครัฐดําเนินการจัดหาโครงสรางพื้นฐานเพื่อรองรับการขยายตัวของ

พลังงานทดแทน เชน การขยายระบบสายสง คลังสําหรับสํารองเชื้อเพลิงชีวภาพ เปนตน

๕.๔ มีการปรับปรุงกฎหมายหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวของกับพลังงานทดแทน เชน

พระราชบัญญัติรวมทุน พระราชบัญญัติการผังเมือง กฎระเบียบที่เกี่ยวของกับการบริหารการนําเขา –

สงออกน้ํามันปาลมดิบ เปนตน

๕.๕ จัดสรรงบประมาณเพื่อใชในการวิจัย พัฒนา สาธิต สงเสริม รณรงค เผยแพร

และประชาสัมพันธดานพลังงานทดแทน ภายใตกรอบการดําเนินงานของแผน

๕.๖ สามารถเขาถึงแหลงขอมูลพลังงานทดแทน เชน ศักยภาพพลังงานลม

แสงอาทิตย เปนตน

๕.๗ กําหนดใหมีมาตรฐานเทคโนโลยีและการผลิตพลังงานทดแทน

๖. ผลที่คาดวาจะไดรับจากการดําเนินการแผนพัฒนาพลังงานทดแทน ๑๕ ป แผนพัฒนาพลังงานทดแทน ๑๕ ป จะสงผลตอประเทศชาติทั้งทางดานเศรษฐกิจ

สังคม และสิ่งแวดลอม ดังนี้ ดานเศรษฐกิจ - ลดการนําเขาพลังงานไดมากกวา ๔๖๐,๐๐๐ ลานบาทตอป ในป พ.ศ. ๒๕๖๕

- สงเสริมใหเกิดการลงทุนในภาคเอกชนไดมากกวา ๓๘๒,๒๔๐ ลานบาท

- เกิดการจางงานในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของมากกวา ๔๐,๐๐๐ คน

- ลดกาซคารบอนไดออกไซดไดมากกวา ๔๒ ลานตันตอป

Page 86: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๗๑

- ชะลอการลงทุนของภาครัฐในการกอสรางโรงไฟฟาจากเชื้อเพลิงฟอสซิลมากก

วา ๓,๘๐๐ เมกะวัตต คิดเปนมูลคามากกวา ๑๐๐,๐๐๐ ลานบาท

- สรางรายไดกลับเขาสูประเทศ โดยการพัฒนาประเทศสูศูนยกลางการสงออก

- เอทานอลและเทคโนโลยีพลังงานทดแทน เชน เทคโนโลยีแกสซิฟเคชั่น และ

ระบบผลิตกาซชีวภาพในภูมิภาคอาเซียน เปนตน

ดานสังคม - ลดผลกระทบอันเนื่องมาจากการอพยพแรงงานสูเมือง โดยการสรางงานใน

พื้นที่ชนบท เชน โครงการสงเสริมการปลูกไมโตเร็วเพื่อเปนเชื้อเพลิงในโรงไฟฟาชุมชนสีเขียวแบบครบ

วงจร

- เกษตรกรมีรายไดจากการขายพืชผลการเกษตรและเศษวัสดุเหลือทิ้งทาง

การเกษตรที่มากขึ้นอยางตอเนื่องและมั่นคง

- ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศใหเขาถึงพลังงานอยางเทา

เทียมและทั่วถึง

ดานสิ่งแวดลอม - พัฒนาสูสังคมการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดตํ่า (Low Carbon Society)

และชวยลดผลกระทบตอภาวะโลกรอน

บริษัท น้ํามันพืชปทมุ จาํกดั เปนบริษทัทีท่ําเกี่ยวกับการผลิตน้ํามนัพชืปาลมและไบโอ

ดีเซล โดยจะผลิตน้ํามนัอยูในระดับที ่๔ ของประเทศ และตอเนื่องมาหลายปแลว ซึ่งจากการผลิตตั้งแต

เร่ิมตนจนถึงการบริโภคของประชาชนนัน้ มีดังนี ้

๑. น้ํามันพืชปาลมหรือสวนปาลม ผลผลิต (ยิวส) ของภาครัฐอยูที่ ๑๗ เปอรเซ็นต

แตทางบริษัทแจงวาความจริงอยูที่ ๑๔ เปอรเซ็นต สวนประเทศมาเลเซียและประเทศอินโดนีเซียผลิต

ไดถึง ๒๐ เปอรเซ็นต ซึ่งถาประเทศไทยสามารถผลิตไดจะมีกําลังการผลิตถึง ๑๐,๐๐๐ กวาลานตันตอ

ป กําลังการผลิตของประเทศไทยปจจุบันอยูที่ ๑.๕ - ๑.๖ ลานตัน แตมาเลเซียและอินโดนีเซีย มี

กําลังการผลิตอยูที่ ๒๐ กวาลานตัน สําหรับการบริหารจัดการนั้น เกษตรกรของประเทศไทยมีการตัด

ปาลมตามราคาปาลม ซึ่งผลผลิตยังไมสุก ดิบ และการเจริญเติบโตยังไมเต็มที่ จึงทําใหผลผลิต (ยิวส)

ตํ่า ผลิตไดนอย และตนทุนก็สูงดวย แตตางประเทศนั้นจะคํานึงถึงผลผลิต (ยิวส) สูง เพราะเปน

ทรัพยากรธรรมชาติที่ตองทํากําไรสูงสุด สวนราคาน้ํามันปาลมดิบของมาเลเซียอยูที่ ๑๘.๑๒ บาท

และประเทศไทยราคาน้ํามันปาลมดิบอยูที่ ๒๗.๒๕ บาท ซึ่งกระทรวงพาณิชยเขามาแทรกแซงตั้งแต

เดือนพฤศจิกายนปที่แลว โดยมีราคาเริ่มตนที่ ๒๒.๕๐ บาท ซึ่งจะทําใหผลผลิตนั้นไมเพียงพอ และทํา

ใหเกิดปญหาขึ้นเกี่ยวกับการควบคุมการบริหารจัดการการใชและการผลิตใหสอดคลองกันได ซึ่งการ

Page 87: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๗๒

ใชมี ๓ ทาง คือ น้ํามันบริโภค ไบโอดีเซล และ การสงออกนั้น จะตองบริหารจัดการใหดี เพื่อจะไมให

เกิดปญหาขึ้นอีก ดังนั้นทางภาครัฐควรจะมีปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงตามความตองการของผูบริโภค

ในสถานการณปจจุบันนั้นๆ

๒. ไบโอดีเซล สามารถผลิตได ๔ ลานกวาลิตร ใชจริงอยูที่ ๑.๕ ลานลิตรตอวัน ซึ่ง

กระทรวงพาณิชยเขามาแทรกแซงราคาขายจริงอยูที่ ๒๗ บาทกวา แตกระทรวงพลังงานกําหนดราคา

เพดานไวตามราคาประเทศมาเลเซีย บวก อีก ๓ บาท จึงทําให B๑๐๐ ขายไดอยูที่ ๑.๕ ลานลิตร วันนี้

ทําใหขาดทุนอยูที่ ๕ บาทตอลิตรหรือทั้งวันจะขาดทุนอยูที่ ๗.๕ ลานบาท และจะทําใหตลาด B๕ เล็ก

ลงเรื่อยๆ ซึ่งทําให B๒ ดีกวาเพราะทําแลวไมขาดทุน สวนของยานยนตนั้น ถาจะใหใช B๕ จะตองทํา

ใหน้ํามันเสถียรหรือควบคุมใหดีกวานี้ มิฉะนั้นจะไมมีการใชหรือบริโภค และเมื่อปาลมลนตลาด ก็ควร

มีการผลิต B๓ จนถึง B๕ เพราะจะทําใหเกษตรกรไมตองออกมาประทวงอีก

สําหรับไบโอดีเซลชุมชนนั้น มีอุปสรรคมาก คือ โดนหลอกขายเปนน้ํามันพืชปาลม ไบโอ

ดีเซลทําใหประชาชนไมกลาที่จะใชน้ํามันไบโอดีเซล และสวนที่สองไบโอดีเซลชุมชนเกี่ยวกับกลีเซอรีน

ประชาชนไมมีความรูอาจจะนําไปทิ้งลงน้ําซึ่งทําใหน้ําเสีย หรือการเผาทําใหเกิดสารกอมะเร็งได ดังนั้น

ภาครัฐควรจะมีสงเสริมการใหความรูกับประชาชนใหมากกวานี้

๔) มีขอสังเกตคณะกรรมาธิการ

๑. ควรมีการผลักดันเกี่ยวกับโครงการ ECO Car ซึ่งไมมีในแผนพัฒนาพลังงาน

ทดแทนของกระทรวงพลังงานในชวง ๑๕ ป เลย

๒. ภาครัฐควรเขามาดูแลเกี่ยวกับเร่ืองไบโอดีเซลใหมากกวานี้ อาทิ ปจจัย

ทางดานเทคโนโลยี ปจจัยเงินทุน ชองทางการตลาดทั้งภายในประเทศและตางประเทศ และการ

สงเสริมหรือสนันสนุนการใหความรูกับประชาชน เปนตน

Page 88: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๗๓

ครั้งที่ ๒๕ วันพุธที่ ๒๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๒ ๑) เร่ืองพิจารณา

- สถานภาพอุตสาหกรรมยานยนต และโครงการ Eco Car

- การสงเสริมการสงออกดานพลังงาน

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

- สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

- กรมสงเสริมการสงออก

๓) ประเด็นการพิจารณา

สถานภาพอุตสาหกรรมยานยนต และโครงการ Eco Car ภาพรวมสถานภาพ

อุตสาหกรรมยานยนตของประเทศไทย เมื่อเทียบกับการผลิตของตางประเทศพบวาประเทศไทยมีการผลิต

ยานยนตอยูที่ ๑,๒๘๗,๓๔๖ ลานตัน เปนผูผลิตยานยนตในลําดับที่ ๑๔ ของโลก ในป พ.ศ. ๒๕๕๑ มี

มูลคาการสงออกรถยนตอยู ๑๕,๕๘๗,๗๐๐ ลานเหรียญสหรัฐ มีมูลคาการสงออกสูงสุดเปนอันดับที่ ๒ คิด

เปนสัดสวนรอยละ ๙ ของมูลคาการสงออกโดยรวม

โครงการ Eco Car เปนโครงการผลิตรถยนตประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล

โดยรถยนต Eco Car มีลักษณะดังนี้

๑. ประหยัดเชื้อเพลิงโดยมีอัตราการบริโภคน้ํามันไมเกิน ๕ ลิตรตอ ๑๐๐

กิโลเมตร

๒. อัตราการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดนอยกวา ๑๒๐ กรัมตอกิโลเมตร ตาม

มาตรฐานของสหภาพยุโรปที่ระดับยูโร ๔

๓. ไดมาตรฐานความปลอดภัยตามเกณฑของคณะกรรมาธิการการเศรษฐกิจแหง

องคการสหประชาชาติสําหรับภาคพื้นยุโรป UNECE

ตามแผนการดําเนินโครงการรถยนต Eco Car คาดวาจะออกสูทองตลาดไดในปลายป

พ.ศ. ๒๕๕๒ แตเนื่องจากสภาพเศรษฐกิจที่มีความผันผวนทําใหตองมีการชะลอการผลิตรถยนต Eco Car

ออกสูตลาดออกไป โดยขั้นตอนในการดําเนินโครงการผลิตรถยนต Eco Car จะใชเวลารวม ๒ ป ซึ่ง

ประกอบดวย การเตรียมการศึกษา การกอสรางโรงงานผลิตรถยนต และการผลิตตัวรถยนตและอุปกรณ

ตาง ๆ ในดานของภาครัฐมีการสงเสริมการลงทุนใหกับภาคเอกชน ซึ่งขณะนี้มีภาคเอกชนไดดําเนินการ

ลงทุนแลว

การสงเสริมการสงออกดานพลังงาน กระทรวงพาณิชยเปนหนวยงานในการ

สงเสริมการสงออกของสินคาตาง ๆ ไปยังตางประเทศ ซึ่งการสงออกสินคาดานพลังงานทดแทนไดมีการ

สงออกคือ เอทานอล โดยในป พ.ศ. ๒๕๕๐ มีปริมาณการสงออกเอทานอลทั้งสิ้น ๑๔ ลานลิตร และในป

พ .ศ . ๒๕๕๑ ต้ั งแต เดือนมกราคม ถึง เดือนสิงหาคม มีป ริมาณการสงออกเอทานอลทั้ งสิ้ น

Page 89: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๗๔

๓๐ ลานลิตร โดยตลาดที่ทําการสงออกเอทานอล ไดแก ประเทศแถบยุโรป ๓๓% ประเทศสิงคโปร ๔๔%

ประเทศฟลิปนส ๑๐% และออสเตรเลีย ๗% ในการสงออกสินคาดานพลังงานทดแทนปจจุบันมีเพียง

เอทานอลเทานั้นที่ทําการสงออกไปยังตางประเทศ ซึ่งสินคาดานพลังงานทดแทนอื่น ๆ ยังไมไดมีการ

สงออก เชน ไบโอดีเซล

๔) ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ เกี่ยวกับการสงออกดานพลังงานทดแทนไปยังตางประเทศวาควรมีนโยบายในการ

ผลักดันใหมีการสงออกสินคาดานพลังงานทดแทนเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเอทานอลที่เหลือจากการผลิตจาก

โรงงานมีปริมาณมาก หากมีการสงออกไปยังตางประเทศจะทําใหมีรายไดเขาประเทศเพิ่มมากขึ้น

Page 90: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๗๕

ครั้งที่ ๒๖ วันพุธที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๒ ๑) เร่ืองพิจารณา การสงเสริมการสงออกสินคาดานพลังงาน พลังงานทดแทน และการ

บริหารจัดการผลผลิตทางการเกษตร

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

- กรมสงเสริมการสงออก กระทรวงพาณิชย

- กรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย

- กรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง

๓) ประเด็นการพิจารณา

กรมสงเสริมการสงออกไดสงออกสินคาดานพลังงานจําพวกพืชพลังงาน กรณีมันสําปะหลัง

พืชน้ํามันและน้ํามันปาลม มีมูลคาการสงออกสิ้นสุดเดือน มกราคม ๒๕๕๒ อยูที่ ๖๒.๖๔, ๑.๑๒, และ

๕.๖๗ ลานเหรียญสหรัฐ ตามลําดับ โดยมีตลาดสงออกหลักอยูที่ประเทศจีน ญ่ีปุน ไตหวัน อินเดีย พมา

การสงออกสินคาพลังงานทดแทน กรณีกาซปโตรเลียมเหลวมีมูลคาการสงออกสิ้นสุดเดือนมกราคม

๒๕๕๒ อยูที่ ๐.๔๘ ลานเหรียญสหรัฐ โดยมีตลาดสงออกหลักอยูที่ประเทศมาเลเซีย ลาว การสงออก

น้ํามันดิบป พ.ศ. ๒๕๕๒ เฉพาะเดือนมกราคม มีมูลคา ๙๗.๙๙ ลานเหรียญสหรัฐ การสงออกน้ํามัน

สําเร็จรูปป พ.ศ. ๒๕๕๒ เฉพาะเดือนมกราคม มีมูลคาการสงออก ๓๓๔.๕๒ ลานเหรียญสหรัฐ ภาพรวม

การสงออกสินคาเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรในเดือนมกราคม ๒๕๕๒ มีปริมาณการสงออกลดลง

๒๕.๖% โดยมีอิทธิพลมาจากปญหาสภาวะเศรษฐกิจโลกที่มีความผันผวน ทําใหกระทบตอตลาดสงออก

หลักของไทย ไดแก อเมริกา ยุโรป จีน และปญหาสภาวะการสิ้นสุดฤดูกาลซื้อขายทั่วไป

กรมการคาภายในไดรับจํานําหัวมันสําปะหลังสด ๑๐ ลานตัน เพื่อนําไปแปรรูปเปนมัน

สําปะหลังและแปงมันสําปะหลัง และสวนหนึ่งนํามาเพื่อผลิตเอทานอล แตพบวากําลังการผลิตของ

โรงงานผลิตเอทานอลนอยประมาณ ๔ แสนลิตรตอวัน การรับซื้อผลปาลมน้ํามันจากเกษตรกรในราคา

กิโลกรัมละ ๓.๕๐ บาท เมื่อรับซื้อแลวแตละโรงงานในโครงการจะนํามาผลิตเปนน้ํามันปาลมดิบจัดเก็บ

ในสตอก จากนั้น จะนําไปผลิตเปนไบโอดีเซล โดยมีองคการคลังสินคาเปนผูรับซื้อน้ํามันปาลมดิบในราคา

กิโลกรัมละ ๒๒.๕๐ บาท

กรมสรรพสามิต ไดสงเสริมใหมีการสงออกเอทานอลในสวนที่เหลือใช โดยใหมีการคืนภาษี

และยกเวนภาษีใหกับผูสงออกเอทานอลไปนอกราชอาณาจักร แตทั้งนี้ผูสงออกจะตองยื่นขออนุญาตตอ

อธิบดีกรมสรรพสามิต และจะตองปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ที่กรมกําหนด

๔) มติที่ประชุม / ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ (ไมมี)

Page 91: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๗๖

ครั้งที่ ๒๗ วันพุธที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๒ ๑) เร่ืองพิจารณา

การสงเสริมการสงออกสินคาดานพลังงาน พลังงานทดแทน และการบริหารจัดการ

ผลผลิตทางการเกษตร

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

สมาคมแปงมันสําปะหลังไทย และบริษัท น้ําตาลมิตรผล จํากัด

๓) ประเด็นการพิจารณา การสงเสริมการสงออกสินคาดานพลังงาน พลังงานทดแทน และการบริหารจัดการผลผลิตทางการเกษตร อุตสาหกรรมมันสําปะหลัง ๑. ผลผลิตมันสําปะหลัง

ประเทศไทยผลิตมันสําปะหลังมากเปนอันดับ ๓ ของโลกรองจากประเทศไนจีเรีย และ

ประเทศบราซิล ผลผลิตของประเทศไทยคิดเปนประมาณ ๑๒ เปอรเซ็นต ของผลผลิตรวมทั่วโลก โดยในป

๒๕๕๑/๒๕๕๒ คาดการณวาจะมีผลผลิตรวมประมาณ ๒๙ ลานตัน พื้นที่ตะวันออกเฉียงเหนือมีการปลูก

มันสําปะหลังประมาณครึ่งหนึ่งของการเพาะปลูกทั้งประเทศ ซึ่งมีเนื้อที่เก็บเกี่ยว ๘.๐๐๙ ลานไร

ผลผลิตเฉลี่ย/ไร ๓.๖๔๐ ตัน ผลผลิตรวม ๒๙.๑๕ ลานตัน

๒. ผลิตภัณฑมันสําปะหลัง

ประเทศไทยสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังมากเปนอันดับ ๑ ของโลก โดยสงออกไป

ประเทศตาง ๆ มากกวา ๑๐๐ ประเทศทั่วโลก ครองสวนแบงตลาดมากกวา ๘๐ เปอรเซ็นต ของปริมาณ

การคาผลิตภัณฑมันสําปะหลังโลก สําหรับการนําไปใชในอุตสาหกรรมตอเนื่องตางๆ หลากหลาย เชน

อุตสาหกรรมอาหาร กระดาษ ส่ิงทอ สารความหวาน ยารักษาโรค อาหารสัตว และพลังงาน เปนตน

๒.๑ อุตสาหกรรมแปงมันสําปะหลัง

อุตสาหกรรมแปงมันสําปะหลังมีแนวโนมเติบโตตอเนื่อง เนื่องจากคุณลักษณะที่ดี

ของแปงมันสําปะหลังเองที่มีขอไดเปรียบในการใชงานหลายประเภทเมื่อเทียบกับแปงชนิดอื่นๆ ประกอบ

กับตลาดแปงทุกชนิดรวมกันทั่วโลกมีขนาดใหญมาก นอกจากนั้นแปงมันสําปะหลังไทยมีคุณภาพดี เปนที่

ยอมรับของผูซื้อทั่วโลก ตลาดสําคัญของแปงมันสําปะหลังไทย ไดแก ประเทศญี่ปุน จีน ไตหวัน มาเลเซีย

และอินโดนีเซีย โดยประเทศอินโดนีเซียจะเปนทั้งประเทศคูคา และคูแขงกับประเทศไทย รวมทั้ง

ประเทศเวียดนาม

ในชวงป ๒๕๕๑ Native Starch มีปริมาณ ๑.๒๗๒ ลานตัน มูลคาการสงออก ๑๕,๐๐๐

ลานบาท Modified Starch มีปริมาณ ๐.๗๑๕ ลานตัน มูลคาการสงออก ๑๔,๗๙๕ ลานบาท Sago มี

ปริมาณ ๐.๐๒๑ ลานตัน มูลคาการสงออก ๓๖๙ ลานบาท ดังนั้นยอดรวมทั้งสิ้นปริมาณ ๒.๐๐๘ ลานตัน

มูลคาการสงออก ๓๐,๑๖๔ ลานบาท

Page 92: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๗๗

๒.๒ อุตสาหกรรมมันเสนและมันอัดเม็ด

มันเสนและมันอัดเม็ดเปนผลิตภัณฑแปรรูปพื้นฐานที่ไมตองอาศัยเทคโนโลยีระดับสูง ไทยได

พัฒนาเครื่องจักร และระบบขนถายผลิตภัณฑมันเสนและมันอัดเม็ดในระดับอุตสาหกรรม อยางไรก็ตาม

ผลิตภัณฑดังกลาวพึ่งพาตลาดที่จํากัด คือ ประเทศจีน และสหภาพยุโรป ซึ่งตลาดดังกลาวมีความผันแปร

ของตลาดคอนขางสูง

ป ๒๕๕๐ Tapioca Chips มีปริมาณ ๒.๕๘๓ ลานตัน มูลคาการสงออกมันเสนและ

มันอัดเม็ด ๑๐,๖๔๘ ลานบาท Tapioca pellets มีปริมาณ ๑.๗๔๕ ลานตัน มูลคาการสงออกมันเสนและ

มันอัดเม็ด ๗,๖๘๔ ลานบาท เมื่อเปรียบเทียบกับป ๒๕๕๑ Tapioca chips มีปริมาณ ๑.๒๐๒ ลานตัน

มูลคาการสงออกมันเสนและมันอัดเม็ด ๖,๕๔๐ ลานบาท Tapioca pellets ปริมาณ ๑.๕๖๔ ลานตัน

มูลคาการสงออกมันเสนและมันอัดเม็ด ๘,๖๕๗ ลานบาท ซึ่งไดเกิดวิกฤตทางอาหาร (Food crisis) มีผล

ที่แตกตางมากของ Tapioca chips มูลคาการสงออกมันเสน และมันอัดเม็ดถึง ๔,๑๐๘ ลานบาท

๓. ความผันผวนของราคา

ราคาหัวมันสําปะหลังมีความผันผวนสูง ราคาถูกกําหนดโดยอุปสงค อุปทานและกลไก

ตลาดของมันสําปะหลังและผลิตภัณฑ เนื่องจากตลาดมีความหลากหลาย ซับซอนและเชื่อมโยงกับอุปสงค

และอุปทานของพืชทดแทนอื่น ๆ ในหลายภูมิภาคทั่วโลก ซึ่งมักผันแปรไปในแตละป จึงยากแกการ

คาดการณแนวโนมราคาไดอยางแมนยํา อยางไรก็ตามการสรางเสถียรภาพราคาดวยมาตรการหรือ

เครื่องมือทางการตลาดในรูปแบบตางๆ เปนสิ่งจําเปนอยางมาก เพื่อใหการพัฒนาอุตสาหกรรมเติบโต

ตอเนื่องอยางมีเสถียรภาพ

๔. ปญหา อุปสรรค และแนวทางพัฒนาอุตสาหกรรมมันสําปะหลังไทย

แนวทางพัฒนาอุตสาหกรรมมันสําปะหลังไทยมีปญหา อุปสรรค และขอจํากัดทางดานการ

วิจัยและพัฒนามีงบประมาณที่จํากัด นักวิชาการและผูเชี่ยวชาญเฉพาะมีจํากัดและขาดความตอเนื่อง

ยุทธศาสตรการพัฒนาไมจัดลําดับความสําคัญอยางชัดเจน ซึ่งจะตองใชเวลาในการแกไขมากกําหนด

แผนงานอยางชัดเจนแตขาดความยืดหยุน ใชเวลาและงบประมาณในการแกปญหามากกวาการพัฒนา

การพัฒนาขาดความตอเนื่อง นโยบายมีการเปลี่ยนแปลง เชน ในกรณีของอุตสาหกรรมเอทานอล เปนตน

๕. แนวทางพัฒนาอุตสาหกรรมมันสําปะหลังไทยอยางยั่งยืน

การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันอยางจริงจังและตอเนื่อง จะทําใหประเทศไทย

ยังคงความเปนผูนํา และสรางภูมิคุมกันที่ดีในสภาพการแขงขันที่รุนแรง สมาคมแปงมันสําปะหลังไทย

เสนอกรอบ และแนวทางหลักของการพัฒนาอุตสาหกรรมมันสําปะหลัง โดยเนนการเสริมสราง

ความสามารถในการแขงขันเปนหลัก

Page 93: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๗๘

อนาคตของเอทานอลในประเทศไทย ๑. กลุมมิตรผล (Mitrphol Group)

๒. เชื้อเพลิงเอทานอล E ๘๕ (Biofuel Ethanol)

๓. ยานยนตพลังงานทางเลือก (Flexible Fuel Vehicies (FFVs))

๔. โอกาสของประเทศไทย (Thailand Opportunity)

๕. ความนาจะเปนในอนาคตของประเทศไทย (Thailand Future Model)

๑. กลุมมิตรผล

มีธุรกิจน้ําตาล ธุรกิจพลังงาน ธุรกิจ Particle Warehouse และโรงน้ําตาลในประเทศจีน

และประเทศลาว สวนลูกคาของมิตรผล ไดแก ปตท, บางจาก, เชลล, เอสโซ, IRPC และ Cherron

๒. เชื้อเพลิงเอทานอล E ๘๕

เชื้อเพลิงเอทานอล คือ สวนผสมน้ํามันเชื้อเพลิงของเอทานอลมี ๘๕ เปอรเซ็นต และน้ํามัน

เชื้อเพลิงจากปโตเลียมประเภท แกสโซลีนมี ๑๕ เปอรเซ็นต โดยมีการออกแบบเครื่องยนตใหสามารถใช

ยานยนตพลังงานทางเลือก สวนการใชงานเมื่อเทียบกับน้ํามันเชื้อเพลิงประเภทอื่นๆ ไมมีความแตกตางใน

สวนของคาพลังงาน

๓. ยานยนตพลังงานทางเลือก

ตองมีการออกแบบเครื่องยนตใหสามารถใช E๘๕ โดยผสมเอทานอลถึง ๘๕ เปอรเซ็นต ซึ่ง

จะมีเครื่องตรวจสอบอากาศในน้ํามันและการทนการละลายของแทงคที่บรรจุเอทานอลอยางมีมาตรฐาน ที่

ไดมีการผลิตของบริษัทรถยนตในหลายยี่หอ อาทิ ฟอรด, วอลโว, ฮอนดา และอื่นๆ

๔. โอกาสของประเทศไทย

๔.๑ โอกาสที่ราคาน้ํามันจะเพิ่มข้ึน

๔.๒ โอกาสการลดลงของการนําเขาน้ํามัน

๔.๓ เศรษฐกิจของน้ํามันเชื้อเพลิง ซึ่งตนทุนจะต่ําและลดการนําเขาถึง ๘๕ เปอรเซ็นต

๔.๔ โอกาสของเศรษฐกิจของชุมชน อาทิ การเกษตร การสรางงาน และอื่นๆ

๔.๕ เปนมิตรกับส่ิงแวดลอม ซึ่งเอทานอล ๘๕ (E ๘๕) เปนพลังงานที่สะอาดและลดภาวะ

เรือนกระจกหรือภาวะโลกรอนได

๕. ความนาจะเปนในอนาคตของประเทศไทย

ประเทศไทยในการใชพลังงานทางเลือกของรถยนตนั้นจะเปนศูนยกลางการผลิต และ

ศูนยกลางการขายเอทานอล

๔) มติที่ประชุม / ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ (ไมมี)

Page 94: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๗๙

ครั้งที่ ๒๘ วันพุธที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๒ ๑) เร่ืองพิจารณา สถานการณน้ํามันปาลม การแทรกแซงราคาและการผลิตไบโอดีเซล

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

- นายกสมาคมโรงงานกลั่นน้ํามันปาลม

- เลขาธิการสมาคมปาลมน้ํามันและน้ํามันปาลมแหงประเทศไทย

๓) ประเด็นการพิจารณา

สถานการณปจจุบันของปาลมน้ํามันในประเทศไทย โดยมีพื้นที่ปลูก ๓.๖ ลานไร ใน

ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต ซึ่งมีปริมาณการปลูกมากที่สุด จากผลผลิตทั่วทั้ง

ประเทศมี ๓ ลานไรตอป มีผลปาลมสด ๙,๕๐๐,๐๐๐ ตัน น้ํามันปาลมดิบ ๑.๗ ลานตัน เกษตรกรที่ทํา

สวนปาลม ๑๐๘,๐๐๐ ครัวเรือน ซึ่งเกษตรกรรายยอยมี ๙๐ เปอรเซ็นต และเกษตรกรรายใหญมี ๑๐

เปอรเซ็นตเทานั้น จากการนําน้ํามันปาลมดิบมาบริโภคมี ๙ ลานตันตอป แตถาเปนเดือนจะมี

๘๐,๐๐๐ ตัน โดยแบงเปนการบริโภค ๖๐,๐๐๐ ตัน และสงออกไปประเทศเพื่อนบาน ๒๐,๐๐๐ ตัน

ปาลมน้ํามันมีปญหาตาง ๆ สรุปไดดังนี้

๑. ปริมาณการใชไบโอดีเซลที่ ตํ่ากวาที่กําหนดไว นั่นคือ กําหนดการใชอยูที่

๓๖๐,๐๐๐ ตันตอป แตการใชจริงอยูที่ ๒๗๐,๐๐๐ ตันเทานั้น

๒. มาตรการแทรกแซงราคาของรัฐบาลนั้น ไมมีประโยชนเทาที่ควรกับเกษตรกร

เพราะวาในชวงที่มีการแทรกแซงผลผลิตปาลมน้ํามันมีนอยมาก และการแทรกแซงดังกลาวจึงทําให

น้ํามันเถื่อนไหลทะลักเขามาในประเทศไทยเปนจํานวนมาก

๓. กระทรวงพาณิชยมีการควบคุมในเรื่องของน้ํามันเถื่อน โดยใหกรมศุลกากรชวย

ดูแล ซึ่งมีมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการนําเขาเพื่อสงออก จะทําใหไดรับการยกเวนการเสียภาษี

และมีการการันตีที่ ๑๔๒ เปอรเซ็นต เมื่อเอกสารสมบูรณแลวจะสามารถเคลมสินคาไดโดยไมตองเสีย

ภาษีใด ๆ เลย และอีกมาตรการที่เกี่ยวกับสินคาถายลํา ไดออกไวต้ังแตวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๓๗ นั้น

ทําใหสินคาหลายประเภทสามารถนําเขาประเทศไทยได โดยการถายลําแบบถูกตองตามกฎหมายทุก

ประการ ดังนั้น ในกรณีดังกลาวจะทําใหการตรวจสอบยากมากและเจาหนาที่ก็ไมเพียงพอที่จะไป

ตรวจสอบไดทุกครั้ง

๔. กรณีของผูผลิตไบโอดีเซลที่ปดตัวไปมีหลายบริษัท เพราะสาเหตุการปดตัวไป

นั้น เนื่องจากราคาวัตถุดิบสูงกวาตนทุนถึง ๖ บาท จึงทําใหไมสามารถผลิตได ซึ่งรัฐบาลไดแกไขโดย

ใหสวนตางของราคาไบโอดีเซล (B๕) อยูที่ ๗๕ สตางค แลวเพิ่มเปน ๑.๕ บาท และเพิ่มเปน ๒ บาท

ในเวลาตอมา เพื่อสงเสริมใหผูบริโภคไดเติมน้ํามันไบโอดีเซลเพิ่มข้ึน

Page 95: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๘๐

๔) ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ

๑. กรณีการใชไบโอดีเซลมีโอกาสนอยลง เมื่อเทียบการใชของประเทศมาเลเซีย เพราะ

การผลิตของประเทศมาเลเซียขนาดใหญกวาประเทศไทยมาก จึงทําใหน้ํามันปาลมไหลทะลักเขามายัง

ประเทศไทย

๒. รัฐบาลควรมีนโยบายใหชัดเจนเกี่ยวกับปาลมน้ํามัน ในเรื่องกฎหมาย กฎ ระเบียบ

ขอบังคับ หรือแมกระทั่งกฎหมายการถายลําที่ทําใหเกิดผลเสียมากกวาผลดีแกประเทศชาติ ดังนั้น รัฐบาล

ควรคํานึงถึงผูที่ไดรับผลกระทบดังกลาวดวย อาทิ เกษตรกร ผูประกอบการ และผูบริโภคดวย

คณะกรรมาธิการการพลังงานในเรื่องดังกลาวมอบใหคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาการ

สงเสริมดานพลังงานทดแทนไปศึกษาและพิจารณาเพิ่มเติมในเรื่องดังกลาวตอไป

Page 96: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๘๑

ครั้งที่ ๒๙ วันพุธที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๒ ๑) เร่ืองพิจารณา

ปญหาการพัฒนาการผลิตไบโอดีเซลและปาลมน้ํามันราคาตกต่ํา

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

- กรมสงเสริมการเกษตร

- กรมวิชาการ

- กรมศุลกากร

๓) ประเด็นการพิจารณา ปญหาการพัฒนาการผลิตไบโอดีเซลและปาลมน้ํามันราคาตกต่ํา บทบาทของกรมสงเสริมการเกษตรเกี่ยวกับการสงเสริมการปลูกปาลมน้ํามันมี ดังนี้

๑. การถายทอดความรูเกี่ยวกับการเพาะปลูกปาลมน้ํามันเพื่อใหเกษตรกรไดผลผลิตที่

สูงขึ้น

๒. แนะนําการบริหารจัดการใหกับเกษตรกรในการบริหารจัดการการปลูกปาลมน้ํามันที่

ถูกตองตามหลักวิชาการ

กรมสงเสริมการเกษตรไดมีการรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของในเชิงบูรณาการตั้งแตป

พ.ศ. ๒๕๓๕ เชน กรมวิชาการเกษตรในดานการสนับสนุนเมล็ดพันธุปาลม กรมพัฒนาที่ดินในดานการ

ตรวจวิเคราะหดินและพื้นที่ที่เหมาะสมตอการปลูกปาลม และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณในดาน

การสนับสนุนการเงินในลักษณะของการปลอยเงินกู

ปจจุบันพื้นที่การปลูกปาลมน้ํามันของประเทศไทยในป พ.ศ. ๒๕๕๒ มีพื้นที่การปลูกปาลม

น้ํามันทั้งหมด ๓,๙๐๐,๐๐๐ ไร สามารถใหผลปา,มน้ํามันได ๙.๕ ลานตันตอป ในดานการกําหนดพื้นที่

เปาหมายในการปลูกปาลมน้ํามันในแตละปกระทรวงการเกษตรและสหกรณไดประสานกับกระทรวง

พลังงานในการกําหนดพื้นที่การปลูกปาลมน้ํามัน ซึ่งพิจารณาจากตลาดสินคาเปนหลักไดแกตลาดที่นําไป

ผลิตเปนไบดีเซล และตลาดของผูบริโภค โดยกําหนดพื้นที่ในการปลูกปาลมน้ํามันในป พ.ศ. ๒๕๕๕ ใหได

ประมาณ ๕ ลานไร ปจจุบันมีพื้นที่ในการปลูกปาลมน้ํามันทั้งหมด ๓.๙ ลานไร ซึ่งกระทรวงเกษตรและ

สหกรณไดมีการสงเสริมการปลูกปาลมตามแผนการปลูกปาลมน้ํามันใหไดปละ ๕ ลานไร

แนวทางในการสงเสริมการปลูกปาลมน้ํามันจะใชพื้นที่ที่มีการสํารวจแลวเหน็วาเปนพืน้ทีท่ีม่ี

ความเหมาะสมตอการปลูกปาลมน้ํามัน โดยพิจารณาจากสภาพของดินตองมีลักษณะเปนดินเหนียวและ

ตองเปนพื้นที่ที่มีน้ําอุดมสมบูรณหรือเปนพื้นที่ชุมน้ํา และมีการกระจายตัวของฝนสม่ําเสมอ ซึ่งพื้นที่ที่

กระทรวงเกษตรและสหกรณพิจารณาแลวเห็นวาเปนพื้นที่ที่มีความเหมาะสมตอการปลูกปาลมน้ํามันมี

ทั้งหมด ๒๓ จังหวัด ในดานการสงเสริมการปลูกปาลมน้ํามันจะเนนเกษตรกรที่มีความสมัครใจโดยรวม

เปนกลุมเกษตรกรเพื่อกระทรวงเกษตรและสหกรณจะไดมีการสนับสนุนเมล็ดพันธปาลมน้ํามัน และหาก

Page 97: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๘๒

เกษตรกรที่ตองการกูยืมเงินเพื่อปลูกปาลมน้ํามันกระทรวงเกษตรและสหกรณจะประสานไปยังธนาคารเพือ่

การเกษตรและสหกรณในการปลอยกูซึ่งคิดอัตราดอกเบี้ยผอนปรนในอัตรารอยละ ๗ ตอป

๔) มติที่ประชุม / ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ (ไมมี)

Page 98: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๘๓

ครั้งที่ ๓๐ วันพุธที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๒ ๑) เร่ืองพิจารณา กรณีการนําเสนอผลงานวิจัยแกสโซฮอลมีสารกอมะเร็ง

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

- กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน

- กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

- กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

- กรมการขนสงทางบก กระทรวงคมนาคม

๓) ประเด็นการพิจารณา

การควบคุมของกรมควบคุมมลพิษ สารกลุมคารบอนิล (Volalite Organic Compounds :

VOCs) เปนกลุมสารกอมะเร็งในน้ํามันเบนซิน กรมควบคุมมลพิษทําการตรวจวัดสารพิษในกลุมนี้โดย

เฉพาะที่สําคัญ ๕ ตัว ไดแก ฟอรมัลดีไฮด อะเซทัลดีไฮด อะซิโทน อะโครไลน และ โพรไพนอลดีไฮด อยาง

ตอเนื่อง ต้ังแตป ๒๕๔๗ – ๒๕๕๑ ในพื้นที่เปรียบเทียบกัน ๕ แหง คือ ดินแดง โชคชัย ๔ โรงพยาบาล

จุฬาลงกรณ บานสมเด็จเจาพระยา และ ERTC คาเฉลี่ยของแตละพื้นที่มีความแตกตางกันตามวิธีการ

ตรวจวัดตําแหนงและชวงระยะเวลาที่ทําการตรวจวัด ปจจุบันมีมาตรการในการควบคุม ดังนี้

๑. การตรวจจับคาของฝุนละออง ไฮโดรคารบอน เพื่อใหไดมาตรฐานตามที่กําหนด

๒. การออกแบบรถตองมีตัวควบคุมการระบายอากาศใหเหมาะสมกับการใชน้ํามัน

แกสโซฮอล

๓. การกําหนดคามาตรฐานที่เหมาะสมจะตองพิจารณาจากคุณภาพของน้ํามัน

เชื้อเพลิงและภาคเศรษฐกิจ

งานวิจัยของนางเดซี่ หมอกนอย เร่ิมตนทําการวิจัยตั้งแตป ๒๕๔๙ เปนตนมาใชวิธีการวิจัย

แบบ Passive Samples และ Active Samples ไดขอสรุปเบื้องตนวาคาฟอรมัลดีไฮด และอะเซทัลดีไฮด

เพิ่มสูงขึ้น แตก็ไมอาจสรุปไดวาสารดังกลาวจะมาจากรถยนตเพียงอยางเดียว

กรมธุรกิจพลังงาน มีขอกําหนดลักษณะและคุณภาพของน้ํามันในกรณีน้ํามันเบนซินได

ควบคุมสารกลุมอะโรมาติก ซึ่งเปนสารกอมะเร็งโดยเฉพาะสารเบนซีนไมใหสูงกวา ๓.๕% โดยปริมาตรจึง

กําหนดมาตรการควบคุม ๒ มาตรการ คือ

๑. มาตรฐานคุณภาพน้ํามันเบนซินและแกสโซฮอล โดยควบคุมสารกลุมอะโรมาติกไมให

สูงกวา ๓๕% โดยปริมาตร ซึ่งในการขนสงหรือถายเทจะมีการระเหยของสารดังกลาว

๒. มาตรฐานการควบคุมอุปกรณและเครื่องมือในการขนสงหรือถายเทของรถบรรทุกน้ํามัน

สถานีบริการน้ํามัน คลังน้ํามัน โรงกลั่นน้ํามัน ในพื้นที่สวนกลางและคลังใหญ ๆ ของประเทศในพื้นที่ ๗

จังหวัด ตองมีระบบการควบคุมไมใหไอระเหยขึ้นสูอากาศ

Page 99: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๘๔

กรณีรถยนตที่ใชน้ํามันเบนซินหรือแกสโซฮอลมีควันที่เกิดจากการเผาไหมออกมาทางทอไอ

เสียในควันมีสารพิษเกิดขึ้นสวนหนึ่ง ซึ่งเปนสารที่เกิดจากการเผาไหมไมสมบูรณก็คือ สารกลุมคารบอนิล

ซึ่งสารกลุมนี้ไมไดควบคุมดวยมาตรฐานคุณภาพน้ํามันของกรมธุรกิจพลังงาน แตจะควบคุมที่มาตรฐาน

ของไอเสีย มาตรฐานคุณภาพอากาศ และมาตรฐานที่เกี่ยวของอื่น ๆ มีหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน กรม

ควบคุมมลพิษ กรมการขนสงทางบก สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กรมสงเสริมคุณภาพ

ส่ิงแวดลอม ซึ่งหนวยงานดังกลาวเหลานี้จะไดมีการประชุมเพื่อหาขอเท็จจริงและการแกไขปญหาตอไป

จากนั้นจึงประกาศใหประชาชนทราบ

๔) มติที่ประชุม / ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ (ไมมี)

Page 100: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๘๕

ครั้งที่ ๓๑ วันพุธที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๒ ๑) เร่ืองพิจารณา แนวทางการพัฒนาวิจัยเพื่อแกไขปญหามลพิษจากยานยนตที่ใช

พลังงานทดแทน

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

- สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ

- สถาบันยานยนต

- สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ

๓) ประเด็นการพิจารณา

แหลงกําเนิดมลพิษจากรถยนตมี ๓ รูปแบบ คือ มลพิษจากการระเหยในระบบเครื่องยนต

(evaporative emissions) มลพิษจากการเติมเชื้อเพลิง (refueling losses) และมลพิษจากทอไอเสีย

รถยนต (exhaust emissions) หากพิจารณามลพิษจากทอไอเสียรถยนตไมวาจะเปนเครื่องเบนซินหรือ

ดีเซล ก็จะมีทั้งประเภทที่ควบคุม (regulated emission) ดังเชน CO, HC, NOx และ PM ในมาตรฐาน

มลพิษยูโร และประเภทที่ไมไดควบคุม (unregulated emission) ที่เปนสารพิษ เชน เบนซีน

สารประกอบอะโรมาติก และสารประกอบอัลดีไฮด ทั้งนี้มลพิษดังกลาวสามารถใชเทคโนโลยีเขาชวยลด

ปริมาณที่ปลอยสูบรรยากาศได โดยเฉพาะการใชพลังงานทางเลือกใหม เชน แกสโซฮอล และกาซ

ธรรมชาติ ที่ประสงคใหลดสารมลพิษควบคุม เชน CO และ NOx แกสโซฮอลนั้นเปนการผสมระหวางเอทา

นอลกับน้ํามันเบนซิน สวนกาซธรรมชาตินั้นเปนกาซมีเทน ทั้งเอทานอลและมีเทนจึงเปนเชื้อเพลิงใหมที่มี

บทบาททั้งลดสารมลพิษเกาและปลอยมลสารใหม สําหรับการตรวจวัดปริมาณสารประกอบอินทรียระเหย

งาย กลุมคารบอนิลโดยเฉพาะอยางยิ่ง ฟอรมาลดีไฮด และอะเซทัลดีไฮดนั้น ทางหองปฏิบัติการมี

เครื่องมือในการตรวจวัดปริมาณสารดังกลาวฯ โดยเฉพาะการวัดปริมาณไอระเหยในรถยนต ซึ่งมีเทคนิคที่

สําคัญในการวัด ไมวาจะเปนการจัดเก็บตัวอยางอากาศในที่เย็นเพื่อปองกันการแตกตัว หรือกอตัวใหม

การเฝาระวังมิใหสารประกอบอัลดีไฮดจากสิ่งแวดลอม เชน น้ําหอม กลิ่นบุหร่ี กลิ่นกาว เขามารบกวนใน

หองปฏิบัติการฯ การวัดปริมาณสารที่ความเขมขนนอย ๆ ระดับไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร ที่มีการดึง

ตัวอยางในระดับลิตร การวัดคา blank เพื่อเปรียบเทียบ ทั้งนี้เพื่อใหไดผลการวิเคราะหที่แมนยํา และ

สามารถใชเปนคาบงชี้ถึงสภาพอากาศในแหลงที่เก็บอากาศมาได

ขอมูลเกี่ยวกับสารประกอบที่เปนอันตรายตอสุขภาพ ในไอเสียรถยนต ทั้งที่เปนสารที่รูวา

กอมะเร็งแนนอนในมนุษย (known human carcinogens) เชน Benzene ๑,๓ –butadiene และสารที่

อาจจะกอมะเร็ง (probable carcinogens) เชน ฟอรมาลดีไฮด และอะเซทัลดีไฮด โดยเฉพาะอยางยิ่ง

ระดับความอันตรายของสารดังกลาวฯ มีความเขมขนของฟอรมาลดีไฮด และอะเซทัลดีไฮด จากเกณฑตาง

ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งเกณฑควบคุมของ OSHA (Occupational Safety and Health Administration) ที่ให

คา PEL (permissible exposure limit เมื่อคิดจากการทํางานโดยเฉลี่ย ๘ ชม. /วัน หรือ ๔๐ ชม. /สัปดาห)

Page 101: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๘๖

หรือที่เรียกสั้นวา OSHA PEL ซึ่งเปนระดับที่ทางกระทรวงแรงงาน สหรัฐอเมริกาออกไวเพือ่ความปลอดภยั

ของคนงานที่อาจจะไดรับสารดังกลาวฯ ระหวางปฏิบัติงานซึ่งคา OSHA PEL จะสูงกวาระดับความเขมขน

ที่เสนอโดย EPA วาอาจกอใหเกิดความเสี่ยงที่ ๑ ในลานคนอยูมาก อีกทั้งไดนําเสนอระดับความเขมขน

ของฟอรมาลดีไฮด ที่ทาง OEHHA ไดวัดในสถานที่ตางในมลรัฐแคลิฟอเนียร ซึ่งชี้ใหเห็นวาบรรยากาศ

ภายนอก (outdoor) มีระดับความเขมขนต่ํากวาสถานที่ภายใน (indoor) นอกจากนี้ระดับที่ทางสมาคม

ผูผลิตรถยนตของญี่ปุน (JAMA : Japanese Automotive Manufacturing Association) ไดต้ังเปาหมาย

ระดับความเขมขนของฟอรมาลดีไฮด และอะเซทัลดีไฮดในรถยนตไวสูงกวาระดับที่มีการตรวจวัดไดใน

กรุงเทพฯ

ซึ่งตามทฤษฎีแลวการหายใจในอากาศที่มี Acetaldehyde ที่ความเขมขนเฉลี่ย ๐.๕ หนวย

นั้น ตอเนื่องเปนระยะเวลาตลอดชีวิต จะมีโอกาสเพิ่มข้ึนนอยกวาหนึ่งในลานที่จะเกิดการพัฒนาเปนมะเร็ง

สวนตามทฤษฎีแลวการหายใจในอากาศที่มี Formaldehyde ที่ความเขมขนเฉลี่ย ๐.๐๘ หนวยนั้น

ตอเนื่องเปนระยะเวลาตลอดชีวิต จะมีโอกาสเพิ่มข้ึนนอยกวาหนึ่งในลานที่จะเกิดการพัฒนาเปนมะเร็ง

ผูแทนจากสถาบันยานยนตชี้แจงและใหรายละเอียด ดังนี้

สถาบนัยานยนตอยูในสายของการควบคมุมลพิษจากรถยนต โดยปฏิบัติตามมาตรฐานที่มี

อยูในปจจุบัน กรณีรถยนตที่ใชน้าํมนัเบนซินเปนเชื้อเพลิงจะใชมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ระดับที่

๗ หมายเลข ๒๑๖๐ – ๒๕๔๖ เทียบเทาคามลพิษ EURO III ของยุโรป สําหรับรถยนตนั่งมีการควบคุม

สารพิษ ๓ ตัว คือ คารบอนมอนนอกไซด ไมเกนิ ๒.๓๐ กรัมตอกิโลเมตร, ไฮโดรคารบอน ไมเกนิ

๒.๒๐ กรัมตอกิโลเมตร และออกไซดของไนโตรเจน ไมเกิน ๒.๑๕ กรัมตอกิโลเมตร ซึง่ใชกับรถยนตทัง้

ผลิต จําหนาย และนาํเขาตองเปนไปตามมาตรฐานนี ้

กรณีที่ รัฐบาลมีนโยบายดานการใชพลังงานทดแทน สถาบันยานยนตไมไดกําหนด

มาตรฐานเฉพาะยังคงใชมาตรฐานขางตน ซึ่งโดยปกติจะใชน้ํามันเบนซิน ๙๕ เปนตัวฐานในการทดสอบ

รถยนต แตในขณะเดียวกันก็ไดทําการทดสอบเปนระยะ เพื่อเรียนรูมาตรฐานและผลกระทบของมลพิษ

โดยทําการทดสอบแกสโซฮอล E๒๐ กับน้ํามันเบนซิน ๙๕ ใชรถยนตทดสอบ จํานวน ๓ คัน ๓ รุน ซึ่งผล

การทดสอบสารพิษทั้ง ๓ ตัว มีความแตกตางกันนอยมาก คือมี ๒ รุน ที่คารบอนมอนนอกไซดตํ่ากวา

เบนซิน ๙๕ และ ๑ รุนที่คารบอนมอนนอกไซดสูงกวา, ไฮโดรคารบอนทั้ง ๓ คัน E๒๐ ตํ่ากวาเบนซิน ๙๕

และออกไซดของไนโตรเจน ทั้ง ๓ คัน สูงกวาเบนซิน ๙๕ ทั้งนี้ แมคาจะแตกตางกัน ทั้ง E๒๐ และเบนซิน

๙๕ ก็ผานมาตรฐาน

สําหรับการทดสอบแกสโซฮอลสถาบันยานยนตไดทดสอบในหองปฏิบัติการรวมกับ

นักวิชาการ ผูมีความรู ความเชี่ยวชาญโดยไดทดสอบแกสโซฮอล ๙๕ (E๒๐) พบวาสารเบนซีนลดลง ๑๓

Page 102: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๘๗

เปอรเซนต ๑,๓ butadiene ลดลง ๕๕.๗ เปอรเซนต ฟอรมาลดีไฮด เพิ่มข้ึน ๒๐ เปอรเซนต อะเซทัลดี

ไฮด เพิ่มข้ึน ๑๒๗ เปอรเซนต ซึ่งขอมูลที่ไดก็สอดคลองกับขอมูลที่มาจากประเทศอื่น ๆ

ผูแทนจากสาํนักงานคณะกรรมการวจิัยแหงชาติ (วช.) ชี้แจงและใหรายละเอยีด ดังนี ้

การวิจยัเบื้องตนเรื่อง ผลกระทบดานคุณภาพอากาศจากไบโอดีเซลชุมชน ซึ่งเปน

กรณีศึกษาในภาคเหนือตอนบนของประเทศ มีมหาวทิยาลัยเชยีงใหมเปนผูทําวิจัย สํานักงาน

คณะกรรมการวิจัยแหงชาต ิเปนผูใหทนุสนับสนนุ มีขอบเขตการศึกษาอยูที่ผลกระทบจากการปลอย

อนุภาคฝุนทั้งจากเครื่องยนตรอบตํ่าและเครื่องยนตรอบสูง โดยมีการทดสอบการใชจริงและตรวจวัดใน

หองปฏิบัติการทั้งจากเครื่องมือวัดฝุน เครื่องยนตดีเซลเกษตรสูบเดียว เครื่องดักจับฝุน เครื่องตรวจกาซ

เครื่องตรวจวัดกาซพิษ เชน คารบอนมอนออกไซด (CO) คารบอนไดออกไซด (CO2) ไนโตรเจนไดออกไซด

(NO2) ซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) สารพษิอินทรีย เมื่อมกีารทดสอบการใชจริงและตรวจวัดใน

หองปฏิบัติการแลวจะนําไปตรวจวัดอยางละเอียดอีกครั้งหนึ่ง โดยใชเทคนิคโครมาโทกราฟของเหลว

สมรรถนะสงู (High Performance Liquid Chromatography : HPLC) ซึ่งเปนการสกัดสาร PAHs จาก

อนุภาคฝุน (PAHs เปนสารประกอบสารกลุมไฮโดรคารบอน เกิดจากการเผาไหมไมสมบูรณของ

สารอินทรียทีม่ีไฮโดรคารบอนเปนองคประกอบ เชน ไขมันที่อยูในเนื้อสัตว น้าํมนั จะพบสารนี้ไดในสวนที่

ไหมเกรียมของอาหารประเภท ปง ยาง ทอด รมควัน อีกทัง้ในน้ํามนัทอดซ้ํา การเผาขยะที่ไมถูกตอง)

ผลการวิจยั

ปริมาณอนุภาคฝุนรวมและปริมาณกาซคารบอนมอนออกไซด และไนโตรเจนไดออกไซด

จาก ไบโอดีเซลที่ไดจากน้ํามันปโตรเลียม น้ํามันทอดไก และน้ํามันใชแลวแบบลูกผสม และปริมาณสาร

PAHs ในอนุภาคฝุนจากการเดินระบบเครื่องยนตดีเซลเกษตรที่ใชไบโอดีเซลชุมชนมีผลกระทบดาน

ปริมาณกาซพิษและสารพิษอินทรียในเบี้องตน พบวาการใชไบโอดีเซลชุมชนกับเครื่องยนตดีเซลเกษตรมี

แนวโนมที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอมและการสัมผัสสารพิษกับมนุษยดีกวาแบบที่ใชปโตรเลียมดีเซล ทั้งยังมี

แนวโนมสอดคลองกับงานทดลองทั้งในประเทศและตางประเทศซึ่งทําการทดสอบกับไบโอดีเซลมิใชไบโอ

ดีเซลชุมชนอีกดวย

๔) มติที่ประชุม / ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ (ไมมี)

Page 103: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๘๘

ครั้งที่ ๓๒ วันพุธที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๕๒ ๑) เร่ืองพิจารณา

- ระบบการขนสงกาซ LPG

- ปญหาในการดําเนินนโยบายพลังงานทดแทนในประเทศไทย

๒) หนวยงานผูมาชี้แจง

- บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

- การรถไฟแหงประเทศไทย

- นายธิบดี หาญประเสริฐ เลขานุการประจําคณะกรรมาธิการพิจารณาการสงเสริม

ดานพลังงานทดแทน

๓) ประเด็นการพิจารณา ระบบการขนสงกาซ LPG

ระบบการจัดสง LPG ของบรษิัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

คลังหรือสถานี LPG ในภาคตาง ๆ คือ ภาคเหนือ ที่จงัหวัดลําปาง และจงัหวัด

นครสวรรค ภาคอีสาน ที่จังหวัดขอนแกน ภาคกลาง ทีบ่างจาก เขาใบยา และบานโรงโปะ จังหวดัชลบุรี

ภาคใต ที่จังหวัดสุราษฎรธานี และจงัหวัดสงขลา

จากคลังหรือสถานี LPG จังหวัดลําปางจะขนสงทางรถยนต จังหวัดนครสวรรค ขนสง

ทางรถยนตและทางรถไฟ จังหวัดขอนแกนขนสงทางรถยนตและทางรถไฟ ภาคกลาง ผูคา LPG จะมารับ

เองโดยนําจากคลังที่เขาใบยา และคลังบานโรงโปะ และภาคใตขนสงทางเรือเทานั้น

LPG มาจากแหลงใดบาง

๑. ลานกระบือ จังหวัดกําแพงเพชร มีกําลังการผลิตอยูที่ ๖๐,๐๐๐ ตัน/ป

๒. โรงแยกกาซ จังหวัดระยอง มีทั้งหมด ๔ โรง โดยมีกําลังการผลิตทั้งหมดเทากับ

๒.๖ ลานตัน/ป

๓. โรงแยกกาซขนอม จังหวัดสุราษฎรธานี มีกําลังการผลิตอยูที่ ๒๒๐,๐๐๐ ตัน/ป

ดังนั้น ในภาครวมในการผลิต LPG มีกําลังการผลิตทั้งหมดอยูที่ ๒.๙ ลานตัน/ป ทั้งนี้ ยังไม

รวม LPG ที่โรงกลั่นน้ํามัน ๑๒๐,๐๐๐ ตัน/ป

ความตองการและปริมาณการจัดสง LPG บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

จากโรงแยกกาซจะนําไปผลิตปโตรเคมี ๗๐,๐๐๐ ตัน/เดือน และสงเขามาสูภาคกลาง

๑๐,๐๐๐ ตัน/เดือน แลวจัดสงไปยังคลังหลัก คือ คลังบานโรงโปะ และคลังเขาใบยา เพื่อกระจายออกไปสู

ภาคเหนือ ภาคอีสาน และภาคกลาง

Page 104: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๘๙

- คลังบานโรงโปะ ขนสงทางรถยนตมีปริมาณ ๒๖,๐๐๐ ตัน/เดือน และขนสงทางรถไฟมี

ปริมาณ ๒๑,๐๐๐ ตัน/เดือน ซึ่งคลังจังหวัดลําปาง มีการขนสงทางรถยนตจากคลังบานโรงโปะมีปริมาณ

๑๖,๐๐๐ ตัน/เดือน และจากคลังลานกระบืออีก ๔,๐๐๐ ตัน/เดือน รวมเปน ๒๐,๐๐๐ ตัน/เดือน คลัง

จังหวัดนครสวรรค มีการขนสงทางรถยนตมีปริมาณ ๓,๐๐๐ ตัน/เดือน และขนสงทางรถไฟ มีปริมาณ

๑๓,๐๐๐ ตัน/เดือน รวมเปน ๑๖,๐๐๐ ตัน/เดือน คลังจังหวัดขอนแกน มีการขนสงทางรถยนตมีปริมาณ

๗,๐๐๐ ตัน/เดือน และขนสงทางรถไฟ มีปริมาณ ๑๘,๐๐๐ ตัน/เดือน รวมเปน ๒๕,๐๐๐ ตัน/เดือน

- คลังเขาใบยา จะขนสงไปภาคใตโดยทางเรือเทานั้น ซึ่งจะขนสงไปยังคลังจังหวัดสุ

ราษฎรธานี มีปริมาณ ๑๖,๐๐๐ ตัน/เดือน คลังจังหวัดสงขลา มีปริมาณ ๑๔,๐๐๐ ตัน/เดือน คลังบางจาก

มีปริมาณ ๕๕,๐๐๐ ตัน/เดือน และยังมีโรงแยกกาซจากอําเภอขนอม อีกประมาณ ๑๘,๐๐๐ ตัน/เดือน

เพื่อรองรับความตองการทางภาคใต

โดยภาพรวมการขนสงทางเรือ ๑๒๙,๐๐๐ ตัน/เดือน ทางรถไฟ ๓๑,๐๐๐ ตัน/เดือน ทาง

รถยนต ๓๐,๐๐๐ ตัน/เดือน ทางทอระยะส้ันจากโรงแยกกาซมายังคลังโรงโปะและคลังเขาใบยา

๒๒๖,๐๐๐ ตัน/เดือน รวมทั้งสิ้นเปน ๔๑๖,๐๐๐ ตัน/เดือน

จํานวนเที่ยวในระบบการขนสงกาซ LPG ของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

- การขนสงจากลานกระบือ จังหวัดกําแพงเพชร ทางรถยนต ๑๕๐ เที่ยว/เดือน สงไปยัง

คลังจังหวัดลําปาง

- การขนสงจากบานโรงโปะ ทางรถยนต ๑,๘๐๐ เที่ยว/เดือน ทางรถไฟ ๗๕ ขบวน/เดือน

- การขนสงจากคลังเขาใบยาจะขนสงไปยัง ๓ คลังทางภาคใต โดยทางเรือ ๑๑๖ เที่ยว/เดือน

คาเฉลี่ยของการขนสงทางเรือ ๕๕๐ ตัน/ลํา การขนสงทางรถยนต ๑๕ ตัน/คัน และทาง

รถไฟเที่ยวละ ๑๖ ตู ๆ ละ ๒๕.๕ ตัน/เที่ยว

ผูแทนการรถไฟแหงประเทศไทย ชี้แจงและใหรายละเอียด ดังนี้

การรถไฟแหงประเทศไทยไดรับทําการขนสงกาซ LPG ใหกับบริษัท ปตท. จํากัด

(มหาชน) โดยการจัดเดินเปนขบวนรถเฉพาะสําหรับการขนสง LPG โดยมีเสนทางการขนสงกาซ LPG

ซึ่งเริ่มจากคลังแยกกาซบานโรงโปะ จังหวัดชลบุรี (สถานีรถไฟบางละมุง) โดยมีปลายทางที่ภาคเหนือและ

ภาคอีสาน ซึ่งปจจุบันการรถไฟแหงประเทศไทยไดจัดเดินขบวนรถกาซ โดยมีการเดินรถทุกวัน ๆ ละ ๒

ขบวน และเดินแบบวันเวนวันอีก ๑ ขบวน สําหรับการพวงรถบรรทุกกาซขบวนละ ๑๖ – ๑๘ รถบรรทุกกาซ

ซึ่งรถจักรและรถพวงนั้นใชในการขนสงกาซ ประกอบดวยรถจักร ๕ คัน รถพวง ๑๒๖ คัน โดยประกาศให

เดินไวเดือนละ ๗๕ ขบวน

Page 105: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๙๐

ปญหาและอุปสรรค ที่ทําใหการขนสงทางรถไฟไมสามารถเดินไดตามเปาหมาย คือ รถ

จักรของการรถไฟขาดแคลน และรถจักรที่มีอยูในปจจุบันมีสภาพไมสมบูรณเต็มที่ ดังนั้น การรถไฟแหง

ประเทศไทยจึงไดมีการตกลงกับบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) เพื่อใหการแกไขปญหาดังกลาวเปนไปดวยดี ปญหาในการดําเนินนโยบายพลังงานทดแทนในประเทศไทย จากการที่รัฐบาลในอดีตที่ผานมาไดมีการสงเสริมใหเกิดการนําพลังงานทดแทนในรูปแบบ

ตางๆมาใชเพื่อลดการนําเขาพลังงานเชื้อเพลิงจากตางประเทศมาโดยตลอดแลวนั้น พลังงานชีวภาพ อาทิ

เชน เอทานอล ไบโอดีเซล นับไดวาเปนพลังงานที่มีศักยภาพสูงมากสําหรับประเทศไทย แตตลอด

ระยะเวลาที่ไดดําเนินการมาจะเห็นไดวาตองประสบปญหาอุปสรรคมากมาย และที่สําคัญคือ การที่มี

ผูเกี่ยวของอยูหลายภาคสวนทั้งฝายภาครัฐฯ และภาคเอกชนที่มีขอจํากัดที่แตกตางกัน อีกทั้งยังมีปจจัย

ภายนอกที่ไมสามารถควบคุมได เขามาจนทําใหโครงการสงเสริมการใชพลังงานทดแทนชีวภาพซึ่งอยูใน

ระยะขั้นตนของชาติไมสามารถดําเนินไปไดอยางราบรื่น อยางไรก็ตาม หากปญหานี้ไมรีบดําเนินการแกไข

อยางเปนระบบ อาจจะทําใหนโยบายพลังงานทดแทนชีวภาพไมสามารถคงอยู ไดอยางยั่งยืน

ทั้งๆ ที่ประเทศไทยมีศักยภาพในการเปนผูผลิตและสงออกที่สําคัญในเอเชีย

ดังนั้นจึงขอเสนอแนวคิดในการวางรากฐานของการสงเสริมพลังงานทดแทนอยางยั่งยืน แต

กอนอื่นตองขอกลาวกอนวา แนวคิดนี้จําเปนตองมีการตอยอดจากผูที่มีความรูประสบการณอีกมากมาย

เพื่อใหสําเร็จและตองมีการปรับตัวอยูตลอดเวลาในการบริหารจัดการ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

Bio Energy Management (BEM)

จัดตั้งองคการบริหารจัดการพลังงานทดแทนชีวภาพขึ้น “Bio Energy Management”โดย

ใหทําหนาที่ในการบริหารจัดการแบบครบวงจร (อาจจะเปนองคกรอิสระภายใต พรบ.ที่จะรางขึ้นใหม หรือ

เปนรัฐวิสาหกิจ หรือแปลงหนวยงานที่มีอยูแลว โดยการยกระดับความสําคัญและเพิ่มอํานาจหนาที่) โดย

องคกรนี้มีหนาที่ดังตอไปนี้

จัดการซื้อวัตถุดิบจากชาวไร เกษตรกร และนํามาวาจางใหโรงงานผูผลิตเอทานอลทําการ

ผลิตให จากนั้นจึงนําไปขายใหแกโรงกลั่นน้ํามันตางๆ ที่ตองการ ในขณะเดียวกันยังสามารถสงออก

เอทานอลไปยังประเทศตางๆ โดยเปนศูนยกลางการจําหนายในเอเซีย

โดยขออธิบายในรายละเอียดเพิ่มเติม เร่ิมตั้งแตการจัดซื้อวัตถุดิบพืชผลการเกษตร ใหใช

เงินจากกองทุนที่รัฐฯใชในการรับจํานําพืชผลโดยการประกันราคาเปนประจําอยูแลวทุกฤดูกาล ซึ่งเปน

งบประมาณจํานวนมหาศาลในแตละชนิด อาทิเชน มันสําปะหลัง ออย โดยในแตละปรัฐฯ ตองใชเงิน

Page 106: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๙๑

ประมาณ ๑.๓ แสนลานบาทในการรับจํานําพืชผลการเกษตรโดยรวม หรืออยางเชนในทุกปประมาณเดือน

ตุลาคม รัฐฯจะตองออกมากําหนดราคาออยขั้นต่ําไวใหกับชาวไรออยเพื่อเปนการประกันราคาในอีก

รูปแบบหนึ่ง ทั้งๆที่ยังไมรูวาราคาและปริมาณออยจะออกมาอยางไร และที่ผานมางบตางๆเหลานี้เกิด

ชองทางหากินกันมากมาย ระหวางผูประกอบการโกดังสินคา และขาราชการที่ประพฤติมิชอบ มีสต็อคลม

เกิดขึ้นมากมาย หรือสินคาที่มีอยู มีคุณภาพไมตรงกับที่แจงไวในการรับจํานํา นอกจากนั้นรัฐฯ ยังตองมี

ความเสี่ยงกับระยะเวลาที่ตองดูแลสินคาที่มีคุณภาพเสื่อมลงไปตามกาลเวลา หรือยังตองเสี่ยงกับราคา

ขายในอนาคตที่อาจจะตกต่ํากวาราคาที่ไดทําการรับจํานําไว แนนอนในที่สุด รัฐฯ ตองเสียหายกับเหตุ

ตางๆที่เกิดขึ้นเพียงเพื่อประวิงปญหาเฉพาะหนาของชาวเกษตรกรในชวงที่มีราคาขายตกต่ําหรือมีผลผลิต

ลนตลาด แตหากใหงบประมาณเดียวกันนี้มาทําการซื้อออกจากมือของเกษตรกรและนํามาวาจางให

โรงงานเอทานอลผลิต จากนั้นทําการสงขายตอไปยังโรงกลั่นน้ํามันในทันที กระบวนการผลิตและสงใหโรง

กลั่นสามารถกระทําไดภายในไมเกิน ๑๕ วัน ซึ่งทําใหไดรับเงินจากโรงกลั่นในทันทีที่ขาย และสามารถทํา

การชําระใหกับโรงงานผูผลิตเอทานอลได อีกทั้งใชเงินหมุนเวียนไมมากนักที่จะตองชําระในการซื้อผลผลิต

จากเกษตรกรใหตอเนื่อง โดยไมตองทิ้งเงินงบประมาณกอนโตไวกับการจํานําพืชผลการเกษตรโดยไมรูวา

อนาคตจะเปนอยางไรและตองใชเวลานานเทาไร

ปญหาของ BEM อยางไรก็ตามองคกรอยาง BEM ที่บริหารจัดการในลักษณะเบ็ดเสร็จนี้ยอมมีความเสี่ยงตอ

หลักการธรรมาภิบาลหากผูบริหารองคกรมีความไมโปรงใส ดังนั้นการมีระบบตรวจสอบที่ดี ปราศจากการ

เขามาหาผลประโยชนจากทั้งขาราชการประจําและนักการเมืองที่ไมบริสุทธิ ที่สําคัญตองไมมีแนวคิดใน

การบริหารภายใตระบบราชการโดยกระทรวงใดกระทรวงหนึ่ง และการบริหารงานจะตองเปนอิสระโดย

คํานึงถึงผลประโยชนชาติ องคกรนี้จําเปนตองมี พรบ.มากําหนดอํานาจหนาที่ และอาจจะตองมีการ

กําหนดอายุขององคกร ใหมีการเปลี่ยนสถานภาพไวลวงหนาในอนาคต เพื่อเปดโอกาสใหอุตสาหกรรมนี้

สามารถยืนอยูไดดวยตนเอง

อยางที่กลาวไวในตอนตนวาแนวคิดนี้ยังตองการใหมีการตอยอดจากผูรูทั้งหลายเพื่อให

สามารถนํามาใชปฏิบัติไดจริง เพราะเรื่องพลังงานเปนเรื่องความมั่นคงของชาติ ไมสามารถปลอยไปตาม

เวรกรรม ใหคิดยอนอดีคไปเมื่อ ๓๐ ปที่ผานมาในการกอต้ัง บริษัท ปตท จํากัดขึ้นดวยเหตุผลทางความ

มั่นคง และมาวันนี้บริษัท ปตท. จํากัดก็ไดถูกพัฒนาขึ้นและพิสูจนความเปนมืออาชีพในระดับโลก พลังงาน

ชีวภาพก็อาจจะไมตางอะไรมากนักในแงของหลักการ เพราะจัดไดวาเปนพลังงานที่มีผลตอความมั่นคง

ของชาติ และกําลังมีความตองการที่เพิ่มข้ึนอยางตอเนื่องในโลก ดังนั้นวิธีการดําเนินงานใหประสบ

ความสําเร็จและยั่งยืนตางหากที่ทาทายคนไทยและผูบริหารประเทศยุคนี้

Page 107: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพจิารณาเรื่องตางๆ

๙๒

๔) ขอสังเกตคณะกรรมาธิการ ๑. ควรมีมาตรการในการควบคุม ดูแล การขนสงกาซ LPG

๒. ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมในขอดี – ขอเสีย เกี่ยวกับแนวทางแกปญหาพลังงาน

ทดแทนในประเทศไทย เพื่อใหไดแนวทางที่เหมาะสมกับพลังงานทดแทนอยางยั่งยืน

Page 108: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพิจารณาเรื่องตางๆ

๙๓

รูปภาพการประชุมของคณะกรรมาธิการการพลังงาน สภาผูแทนราษฎร (คร้ังแรก)

นายแพทยวรรณรัตน ชาญนกุูล

ปฏิบัติหนาที่ประธานในที่ประชุม

Page 109: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การประชุมพิจารณาเรื่องตางๆ

๙๔

Page 110: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

การพิจารณาศึกษาของคณะอนุกรรมาธิการ ในคณะกรรมาธิการการพลังงาน

Page 111: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๙๖

คณะอนุกรรมาธิการศึกษาปญหาการใชกาซธรรมชาติกับรถยนต พิจารณา ศึกษากรณีถังกาซ NGV ติดต้ังในรถยนตโดยสารระเบิดที่

จังหวัดสมุทรปราการ

ที่ประชุมคณะกรรมาธิการการพลังงาน ไดมีมติต้ังคณะอนุกรรมาธิการ เพื่อศึกษาปญหา

การใชกาซธรรมชาติกับรถยนต โดยใหมีอํานาจหนาที่กระทําการพิจารณาสอบสวนและศึกษาปญหาการ

ใชกาซธรรมชาติกับรถยนต ในกรณีการสอบสวนสาเหตุถังกาซ NGV ที่ติดตั้งในรถยนตโดยสารระเบิดที่

จังหวัดสมุทรปราการ แลวรายงานตอคณะกรรมาธิการการพลังงาน สภาผูแทนราษฎร โดยคณะอนุ

กรรมาธิการประกอบดวย

นายอลงกรณ พลบุตร

ประธานคณะอนุกรรมาธิการ

นายแพทยสุกิจ อัถโถปกรณ นายเฉลิมชาติ การญุ

อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ

นายรัฐกิตติ์ ผาลีพฒัน นายพิกิฏ ศรีชนะ อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ

Page 112: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๙๗

รองศาสตราจารยคณิต วัฒนวิเชียร

นายเอกเพชร ชันซื่อ

อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ

นายภิรมย วิชัยศร นายวิรัช พิมพะนิตย อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ

นาวาเอกสมัย ใจอินทร เลขานุการคณะอนุกรรมาธิการ

คณะอนุกรรมาธิการไดพิจารณาศึกษาปญหาและสาเหตุของถัง NGV ระเบิดในรถยนตโดยสารที่จังหวัด

สมุทรปราการ โดยไดดําเนินการ ดังนี้

๑. ประชุมและเชิญหนวยงานที่เกี่ยวของมารวมประชุมเพื่อใหขอมูล ขอเท็จจริงเพื่อหา

สาเหตุถังกาซ NGV ที่ติดตั้งในรถยนตโดยสารระเบิดที่จังหวัดสมุทรปราการ โดยผูแทนจากภาครัฐ

และเอกชนที่เขารวมประชุมเพื่อชี้แจงแสดงความคิดเห็น และใหขอสังเกตตาง ๆ ประกอบไปดวยหนวยงาน

ตาง ๆ ดังนี้

Page 113: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๙๘

- กระทรวงคมนาคม

- กระทรวงพลังงาน

- กระทรวงมหาดไทย

- กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

- สํานักงานตํารวจแหงชาติ

- สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

- บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

- สถาบันเหล็กและเหล็กกลาแหงประเทศไทย

- บริษัท สยามราชธานี คอรปอเรชั่น จํากัด

๒. ศึกษาขอมูลจากเอกสารประกอบการพิจารณาของหนวยงานตาง ๆ

- กระทรวงมหาดไทย

รายงานกรณีเกิดเหตุถังกาซ NGV ที่ติดตั้งในรถโดยสารประจําทางเกิดระเบิด

ขณะเติมกาซในจังหวัดสมุทรปราการ

- สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย

- กระทรวงพลังงาน

- บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน)

- บริษัท สยามราชธานี คอรปอเรชั่น จํากัด

- สํานักงานตํารวจแหงชาติ (สถานีตํารวจภูธรเมืองสมุทรปราการและสํานักงาน

วิทยาการจังหวัดสมุทรปราการ)

-- สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

การวิเคราะหสาเหตุการระเบิดของรถกาซ CNG โดย ผศ. ดร. จินดา เจริญพร

พาณิชย (Power Point)

๓. ศึกษารายละเอียดและขอเท็จจริง

โดยเมื่อวันศุกรที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๑ ไดเกิดเหตุถังกาซ NGV ที่ติดตั้งในรถโดยสารประจํา

ทาง สายที่ ๓๖๕ ปากน้ํา – โรงไฟฟาบางปะกง หมายเลขทะเบียน ๑๐ – ๐๘๓๐ ฉะเชิงเทรา ระเบิด

ในขณะที่จอดเติมกาซอยูในสถานีบริการกาซธรรมชาติของ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) อําเภอเมือง

สมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งรถโดยสารคันดังกลาวไดติดตั้งถังกาซ NGV บริเวณใตทองรถ

จํานวน ๔ ใบ บรรจุกาซถังละ ๑๔๕ ลิตร โดยเกิดอุบัติเหตุถังระเบิด จํานวน ๑ ใบ หมายเลขถัง ๕๔๕๕๓๐

(Serial Number ๕๔๕๕๓๐) รถโดยสารคันที่เกิดการระเบิดเปนของบริษัท สันติมิตรขนสง จํากัด

Page 114: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๙๙

ความเสียหายที่เกิดจากการระเบิดของถังกาซ NGV มีดังนี้

(๑) พนักงานเติมกาซไดรับบาดเจ็บ ๑ คน ซึ่งถูกแรงดันและแรงระเบิดของถังกาซไดรับ

บาดเจ็บขาขวาหัก

(๒) รถโดยสารคันที่เกิดเหตุระเบิดไดรับความเสียหาย ในเบื้องตนตรวจสอบพบวารถคัน

ดังกลาวไดส้ินอายุภาษีประจําป เมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๑ และยังไมไดเสียภาษีประจําป ซึ่งรถ

โดยสารคันดังกลาวไดมีการเปลี่ยนชนิดเชื้อเพลิงจากน้ํามันดีเซลเปนกาซ NGV โดยไดรับการติดตั้งถัง

กาซ NGV จากบริษัท สยามราชธานี คอรปอเรชั่น จํากัด ชนิดของถังที่นํามาติดตั้งเปนถังที่ผลิตโดย บริษัท

ไฟนเทค (Finetec) ประเทศเกาหลี ถังผลิตจากเหล็กลวนผานการตรวจสอบและรับรองจากวิศวกรโดยมี

ใบทดสอบมาตรฐาน ISO เมื่อเดือนมิถุนายน ๒๕๕๑ ขนาดความจุถังกาซ ๑๔๕ ลิตร มีการนําเขามา

จําหนายโดยบริษัท สยามราชธานี คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)

(๓) รถที่จอดรอเติมกาซ NGV ไดรับความเสียหายจากแรงระเบิดและชิ้นสวนของถัง

จํานวน ๔ – ๕ ชิ้นแตกกระเด็น ทําใหไดรับความเสียหาย จํานวน ๗ คัน

(๔) อาคารพาณิชยไดรับความเสียหายบางสวน ซึ่งเกิดจากแรงอัดของกาซที่ระเบิดและ

ชิ้นสวนของถังกาซกระเด็น ทําใหผนังอาคารซึ่งสูงจากพื้น ๓๐ เมตร ทะลุและกระจกแตก

๔. ผลการพิจารณาของคณะอนุกรรมาธิการ

จากการศึกษาพิจารณากรณีถังกาซ NGV ที่ติดตั้งในรถยนตโดยการระเบิดที่จังหวัด

สมุทรปราการพบวา สาเหตุการระเบิดของถังกาซ NGV มีเหตุอันควรเชื่อไดวาวัสดุที่ใชในการผลิตถังกาซ

ไมไดมาตรฐาน ทําใหความสามารถในการรับแรงดันของถังกาซต่ํากวาที่ออกแบบไวสําหรับการใชงาน

ข้ันตอนการนําเขาถังกาซ NGV และอุปกรณสวนควบ การติดตั้ง การตรวจสอบและรับรองไมปรากฏวาได

ผานการตรวจสอบโดยหนวยงานราชการหรือฝายอื่นที่เกี่ยวของ (Third Party) ซึ่งเปนขอบกพรองที่สําคัญ

นอกจากนี้ในการนําเขาถังกาซ NGV บริษัท สยามราชธานี คอรปอเรชั่น จํากัด ผูนําเขาไดทําการตรวจสอบ

เอกสารการนําเขาถัง NGV ตามใบรับรองมาตรฐานความปลอดภัยดานการติดตั้ง NGV ISO ๑๑๔๓๙

โดยพิจารณาเฉพาะเอกสารกํากับเทานั้น ไมมีการวิเคราะหเหล็กที่ใชเปนวัตถุดิบในการผลิตถังกาซ ซึ่งเปน

ส่ิงสําคัญของการนําเขาถังกาซและบริษัท สยามราชธานี คอรปอเรชั่น จํากัด เปนทั้งผูนําเขาถัง NGV เปน

ผูติดตั้ง เปนผูตรวจ และออกหนังสือรับรองรถโดยสารคันที่เกิดเหตุ โดยไมมีกฎหมายหรือกฎระเบียบหาม

ซึ่งถือเปนชองโหวของกฎหมายเพราะผูติดตั้ง ผูตรวจสอบรับรองไมควรเปนบริษัทเดียวกัน

ดังนั้น เพื่อเปนการสงเสริมใหประชาชนหันมาใชกาซ NGV เปนพลังงานทางเลือกมากขึ้น ประกอบกับการ

ใหความสําคัญในเรื่องความปลอดภัยที่จะเกิดตอสวนรวม คณะอนุกรรมาธิการจึงไดมีขอสังเกตจาก

การศึกษา ดังนี้

Page 115: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๑๐๐

๑. ดําเนินการเรียกเก็บถังกาซที่ใชวัสดุในการผลิตชุดเดียวกันกับถังที่ระเบิดที่มีการนําเขา

จํานวนทั้งหมด โดยเรงดวน เพื่อปองกันอันตรายอันอาจจะเกิดระเบิดขึ้นไดอีก ซึ่งจะเกิดผลกระทบตอ

สาธารณชน

๒. เรงแกปญหาเกี่ยวกับการอนุญาตวิศวกรใหไดรับใบอนุญาตในการติดตั้งถัง NGV ให

สามารถรองรับการติดตั้งไดอยางเพียงพอและกํากับดูแลใหวิศวกรที่ไดรับใบอนุญาตรวจสอบการติดตั้งให

เปนมาตรฐานอยางเขมงวด เนื่องจากการติดตั้งถัง NGV ในปจจุบันมีวิศวกรเพียง ๔๒ คน เทานั้น

ซึ่งไมเพียงพอตอการดําเนินการ และวิศวกรดังกลาวไดใชวิธีการลงลายมือชื่อไวในใบรับรอง

โดยไมมีการตรวจการติดตั้งจริง

๓. ควรมีหนวยงานของรัฐหรือเอกชนที่ไดรับมอบหมายจากทางราชการทําหนาที่กํากับ

ดูแลและตรวจสอบกระบวนการตั้งแตการนําเขา การติดตั้ง และการตรวจรับรองใหเปนไปตามมาตรฐาน

ความปลอดภัย

๔. ควรมีการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของโดยใหมีบทลงโทษและกําหนดอัตราโทษใหสูงขึน้

สําหรับผูดําเนินการกรณีการนําเขาถัง NGV การติดตั้งและการตรวจรับรองที่ไมถูกตองและไมไดมาตรฐาน

รวมถึงใหหนวยงานมีอํานาจในการยึดและทําลายถัง NGV ที่ไมไดมาตรฐาน

๕. ควรมีการสงเสริมและสนับสนุนใหมีการผลิตถัง NGV ภายในประเทศไทย ทัง้นี ้จะทาํให

รัฐสามารถที่จะกําหนดและควบคุมมาตรฐานไดตามเกณฑมาตรฐานสากล

รูปภาพ กรณถีังกาซ NGV ติดตั้งในรถยนตโดยสารระเบดิ ณ จังหวัดสมุทรปราการ

Page 116: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๑๐๑

Page 117: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๑๐๒

คณะอนุกรรมาธิการการบริหารกองทุนและการลงทุนดานพลังงานของรัฐ

ที่ประชุมคณะกรรมาธิการการพลังงาน ไดมีมติต้ังคณะอนุกรรมาธิการการบริหารกองทุนและ

การลงทุนดานพลังงานของรัฐ ประกอบดวย ๔ กองทุน คือ กองทุนโครงสรางการบริหารกองทุนเพื่อการ

อนุรักษพลังงาน กองทุนโครงสรางบริหารกองทุนน้ํามันและกองทุนพัฒนาปโตรเลียม กองทุนของบริษัท

ในกํากับของรัฐดานพลังงาน และกองทุนพัฒนาชุมชนและพื้นที่รอบโรงไฟฟาและรายงานผลการศึกษาตอ

คณะกรรมาธิการการพลังงาน สภาผูแทนราษฎร โดยคณะอนุกรรมาธิการประกอบดวย

นายไพโรจน ตันบรรจง

ประธานคณะอนุกรรมาธิการ

นาวาตรี สธุรรม ระหงษ นายสุทธิชัย ธรรมประมวล

รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการ

นายสุรจิตร ยนตตระกูล นายปริญญา ฤกษหราย อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ

Page 118: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๑๐๓

นายสมภพ ศักดิ์พันธพนม นายเอกเพชร ชันซื่อ

อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ

นายอนุตร จาติกวณิช นายวิจิตร ศรียรรยงวัฒน

อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ

นาวาเอกสมัย ใจอินทร เลขานุการคณะอนุกรรมาธิการ

คณะอนุกรรมาธิการไดพิจารณาศึกษาโดยไดดําเนนิการ ดังนี ้

๑. ประชุมและเชญิหนวยงานทีเ่กี่ยวของมารวมประชุม เพือ่ใหขอมูลและแสดงความคดิเห็น

ประกอบดวยหนวยงานตาง ๆ ดังนี ้

๑.๑ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน

๑.๒ สถาบนับริหารกองทนุพลงังาน

๑.๓ สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

๑.๔ กระทรวงพลงังาน

๑.๕ กองทนุพัฒนาชุมชนในพืน้ทีร่อบโรงไฟฟาจังหวัดลําปาง

Page 119: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๑๐๔

ผลการพิจารณากองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ

การสงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ โดยมาตรา ๒๔ กําหนดใหจัดตั้งกองทุนขึ้นเพื่อใชเปนทุน

หมุนเวียนและใชจายชวยเหลือหรืออุดหนุนการดําเนินงานเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงาน ประกอบดวยเงิน

และทรัพยสินดังตอไปนี้

๑. เงินที่โอนจากกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง

๒. เงินที่สงจากผูผลิตน้ํามันเชื้อเพลิง ผูนําเขาน้ํามันเชื้อเพลิง และผูซื้อหรือไดมาซึ่งกาซ

จากผูรับสัมปทาน

๓. เงินคาธรรมเนียมพิเศษการใชไฟฟา

๔. เงินอุดหนุนจากรัฐบาลเปนคราว ๆ

๕. เงินหรือทรัพยสินอื่นที่ไดรับจากภาคเอกชนทั้งภายในและภายนอกประเทศ รัฐบาล

ตางประเทศหรือองคการระหวางประเทศ

๖. เงินจากดอกผลและประโยชนใด ๆ ที่เกิดจากกองทุนนี้

มีคณะกรรมการกองทุนเพื่อบริหารจัดการ ประกอบดวย

๑. รองนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เปนประธานกรรมการ

๒. รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน

๓. ปลัดกระทรวงการคลัง

๔. ปลัดกระทรวงพลังงาน

๕. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

๖. เลขาธิการสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

๗. อธิบดีกรมบัญชีกลาง

๘. อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน

๙. อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง

๑๐. อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม

๑๑. ประธานสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

๑๒. นายกสภาวิศวกร

๑๓. นายกสภาสถาปนิก

๑๔. ผูทรงคุณวุฒิไมเกิน ๗ คน

๑๕. ผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน เปนกรรมการและเลขานุการ

Page 120: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๑๐๕

กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง จัดตั้งขึ้นตามคําสั่งนายกรัฐมนตรีที่ ๔/๒๕๔๗ เร่ือง กําหนด

มาตรการเพื่อแกไขและปองกันภาวะการขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิง ซึ่งเปนคําสั่งที่ออกโดยอาศัยอํานาจ

ตามพระราชกําหนดแกไขและปองกันภาวะการขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิง พ.ศ. ๒๕๑๖ มีวัตถุประสงคหลัก

คือ การรักษาเสถียรภาพของระดับราคาขายปลีกน้ํามันเชื้อเพลิงภายในประเทศ

รายรับและรายจายของกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง

กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงมีสถานะเปนกองทุนที่มีรายรับจากเงินสงเขากองทุนจากผูผลิตน้ํามัน

เชื้อเพลิงและผูนําเขาน้ํามันเชื้อเพลิง ซึ่งมีหนาที่ตองสงเงินเขากองทุน และใชเงินที่ไดรับเปนแหลงเงินทุน

เพื่อจายใหกับผูผลิตน้ํามันเชื้อเพลิงและผูนําเขาน้ํามันเชื้อเพลิงที่มีสิทธิไดรับเงินชดเชย

หนวยงานที่เกี่ยวของกับกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง มี ๘ หนวยงาน

๑. คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ

๒. คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน

๓. คณะอนุกรรมการบริหารกองทุนน้ํามัน

๔. สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

๕. กรมสรรพสามิต

๖. กรมศุลกากร

๗. กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ

๘. สถาบันบริหารกองทุนพลังงาน (องคการมหาชน)

ประมาณการฐานะกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง (ณ วันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๒)

เงินสดในบัญชี ๒๐,๘๔๗ ลานบาท

หนี้สินกองทุน - ๓,๓๓๒ ลานบาท

ฐานะกองทุนสุทธิ ๑๗,๕๑๕ ลานบาท การรับฟงคําชี้แจงรายละเอียดการบริหารและจัดการกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษ

พลังงาน โดยมีผูแทนจากสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน ในฐานะเลขานุการกองทุนเพื่อสงเสริมการ

อนุรักษพลังงาน เขารวมประชุมชี้แจง สรุปไดดังนี้

กองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน ดําเนินงานภายใตพระราชบัญญัติการสงเสริมการ

อนุรักษพลังงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ มีอํานาจในการตราพระราชกฤษฎีกาหรือออกกฎกระทรวงกําหนดวิธีการ

อนุรักษพลังงาน เพื่อชวยผลักดันการสงเสริมการอนุรักษพลังงาน โดยมีกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษ

Page 121: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๑๐๖

พลังงาน ทําหนาที่ดําเนินการตามวัตถุประสงคของพระราชบัญญัติดังกลาว นอกจากนั้น หลักเกณฑ

เ งื่ อน ไข และ ลําดับความสํ าคัญของการใช จ าย เ งิ นกองทุ นต อ ง ได รั บความ เห็นชอบจาก

คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) ในสวนระเบียบเกี่ยวกับหลักเกณฑและวิธีการขอจัดสรร

ขอเงินชวยเหลือหรือขอเงินอุดหนุนจากกองทุน คณะกรรมการกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน

(กทอ.) เปนผูกําหนด

โครงสรางการบริหารกองทุนอนุรักษ

โครงสรางการบริหารอยูภายใตพระราชบัญญัติ ๒ ฉบับ คือ พระราชบัญญัติกรรมการนโยบาย

พลังงานแหงชาติ (กพช.) และพระราชบัญญัติการสงเสริมการอนุรักษพลังงาน โดยตามพระราชบัญญัติ

กรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ มีคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติซึ่งมีรองนายกรัฐมนตรี

ที่มอบหมายเปนประธาน และผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน เปนเลขานุการ มีอํานาจ

หนาที่ ดังนี้

๑. เสนอนโยบาย เปาหมาย หรือมาตรการตอคณะรัฐมนตรี

๒. กําหนดแนวทาง หลักเกณฑ เงื่อนไข และลําดับความสําคัญของการใชจายเงินกองทุน

๓. กําหนดอัตราการสงเงินเขากองทุน

วัตถุประสงคของการใชเงินอุดหนุน ตามที่กฎหมายกําหนดมีดังนี้

๑. เปนเงินหมุนเวียน เงินชวยเหลือ หรือเงินอุดหนุนสําหรับการลงทุนและดําเนินงานใน

การอนุรักษพลังงานหรือการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมจากการอนุรักษพลังงานของสวนราชการหรือ

รัฐวิสาหกิจ

๒. เปนเงินอุดหนุน เงินชวยเหลือ หรือเงินอุดหนุนแกเอกชนสําหรับการลงทุนและ

ดําเนินงานในการอนุรักษพลังงาน หรือเพื่อแกไขปญหาสิ่งแวดลอมจากการอนุรักษพลังงาน

๓. เปนเงินชวยเหลือหรือเงินอุดหนุนใหแกสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ สถาบันการศึกษา หรือ

องคกรเอกชนในเรื่องดังตอไปนี้

ก) โครงการทางดานการอนุรักษพลังงาน

ข) การคนควา ศึกษา วิจัย

ค) โครงการสาธิต หรือโครงการริเร่ิม

ง) การศึกษา การฝกอบรม และการประชุม

จ) การโฆษณา การเผยแพรขอมูล และการประชาสัมพันธ

๔. เปนคาใชจายในการบริหารงาน

อัตราการสงเงินเขากองทุนฯ สําหรับน้ํามันเชื้อเพลิงที่ผลิตในราชอาณาจักรและนําเขามาเพื่อ

ใชในราชอาณาจักร การกําหนดอัตราคณะกรรมการกองทุนตองเสนอใหกรรมการนโยบายพลังงาน

แหงชาติ เพื่อขอความเห็นชอบจึงจะจัดเก็บได โดยเมื่อป พ.ศ. ๒๕๓๕ มีการจัดเก็บจากน้ํามันทุกประเภท

Page 122: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๑๐๗

ในอัตราลิตรละ ๔ สตางค ตอมาเพิ่มเปน ๗ สตางค ปจจุบันจัดเก็บตามอัตราการจัดเก็บของประกาศ ฉบับ

ที่ ๓ วันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ ดังนี้

ชนิด จํานวน

(ลานลิตร/วัน) อัตรา

(บาท/หนวย) เปนเงิน

(ลานบาท/วนั)

ดีเซล ๕๓ ๐.๗๕ ๓๙.๗๕

เบนซนิ ๑๐ ๐.๗๕ ๗.๕

แกสโซฮอล ๗ ๐.๒๕ ๑.๗๕

รวมรายไดของกองทนุฯ (ลานบาท/วัน) ๔๙

หรือ รวมรายไดของกองทนุฯ (ลานบาท/เดือน) ๑,๔๗๐

ฐานะการเงินของกองทุนฯ (ไมรวมเงินสงเขากองทุนฯ สําหรับโครงการพัฒนาระบบขนสง)

เงินคงเหลือปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑ จํานวน ๕,๒๗๗ ลานบาท สวนปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ มี

รายรับ ๗,๖๗๑ ลานบาท หักรายจาย ๙,๐๕๒ ลานบาท ประมาณการเงินคงเหลือปลายป พ.ศ. ๒๕๕๒ ยก

ไปจํานวน ๓,๘๙๗ ลานบาท

เงินเก็บเขากองทุนเพื่อสนับสนุนการดําเนินการพัฒนาในระบบขนสง เชน การสรางรถไฟ

ใตดิน มีฐานะดังนี้

หนวย : ลานบาท

ปงบประมาณ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ รวม

๑. เงินคงเหลือ ณ ตนเดือน ต.ค. ๕๑ ๓,๒๑๐ ๑๐,๑๔๐ ๑๙,๗๖๕ ๒๙,๔๔๒ ๔๐,๖๒๙ ๒,๗๓๓

๒ . รายรับโครงการพัฒนาระบบ

ขนสง

๖,๙๓๐ ๙,๖๒๕ ๙,๖๗๗ ๑๑,๑๘๗ ๑๑,๖๘๕ ๔๙,๕๘๑

๓. เงินคงเหลือปลายป ยกไป

(เก็บจากน้ํามนัทกุประเภท ๒๕

สตางค/ลิตร)

๑๐,๑๔๐ ๑๙,๗๖๕ ๒๙,๔๔๒ ๔๐,๖๒๙ ๕๒,๓๑๔ ๕๒,๓๑๔

ภายใตคณะกรรมการกองทุนฯ ไดมีการแตงตั้งคณะอนุกรรมการกองทุน ซึ่งประธานกรรมการ

กองทุนฯ เปนผูแตงตั้งโดยไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกองทุนฯ มีอํานาจหนาที่ ดังนี้

๑) เสนอเปาหมายและแผนอนุรักษพลังงานแตละป

๒) กําหนดระเบียบเกี่ยวกับหลักเกณฑและวิธีการขอจัดสรร ขอเงินชวยเหลือเสนอ

คณะกรรมการกองทุนฯ พิจารณา

Page 123: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๑๐๘

๓) พิจารณากลั่นกรอง เสนอความเห็นเกี่ยวกับแผน /งาน/ โครงการตอคณะกรรมการ

กองทุนฯ

๔) พิจารณากลั่นกรองแผน / งาน / โครงการ ที่ผูไดรับการจัดสรรหรือผูขอรับทุนเสนอขอ

เปลี่ยนแปลงรายละเอียดไปจากที่คณะกรรมการกองทุนฯ ไดเห็นชอบหรืออนุมัติไว

๕) กํ ากับ ดูแลการใช จ าย เ งิ นกองทุนฯ ให เป น ไปตามแผนอนุ รักษพลั ง งานที่

คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ เห็นชอบไว

๖) รายงานผลการดําเนินงานตามแผนอนุรักษพลังงานในแตละปใหคณะกรรมการกองทุน

ฯ ทราบ

๗) ดําเนินการอื่นใดตามที่คณะกรรมการกองทุนฯ หรือประธานกรรมการกองทุน

มอบหมาย

รับฟงคําชี้แจงรายละเอียดการบริหารและจัดการกองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบ

โรงไฟฟาจังหวัดลําปาง ๑. ความเปนมาของกองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่ รอบโรงไฟฟาจั งหวัดลํ าปาง

คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ เห็นชอบใหมีการจัดตั้งกองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟา

เมื่อวันที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๕๐ จังหวัดลําปาง ไดจัดประชุมรวมกับผูแทนกระทรวงพลังงาน ผูแทนโรงไฟฟา

และนายอําเภอแมเมาะ เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ เร่ือง แนวทางการจัดตั้งกองทุนพัฒนาชุมชนใน

พื้นที่รอบโรงไฟฟา มีสาระสําคัญ ดังนี้

๑.๑) จัดตั้งกองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟาจังหวัดลําปาง

๑.๒) กําหนดพื้นที่รอบโรงไฟฟาเปน ๓ ชั้น และแนวทางการจัดสรรงบประมาณ ดังนี้

๑.๒.๑) พื้นที่ชั้นในกําหนดใหครอบคลุมพื้นที่อําเภอแมเมาะเพียงอําเภอเดียว

เนื่องจากเปนพื้นที่ต้ังของโรงไฟฟาแมเมาะ ไดรับการจัดสรรงบประมาณกองทุนฯ รอยละ ๗๐ ของจํานวน

เงินที่ไดรับจัดสรรทั้งหมด

๑.๒.๒) พื้นที่ชั้นกลาง กําหนดใหมีพื้นที่ครอบคลุม ๒ อําเภอ ไดแก อําเภอ

เมืองลําปาง และอําเภอแมทะ ไดรับการจัดสรรงบประมาณกองทุนฯ รอยละ ๒๐ ของจํานวนเงินที่ไดรับ

จัดสรรทั้งหมด

๑.๒.๓) พื้นที่ชั้นนอก กําหนดใหมีพื้นที่ครอบคลุม ๑๙ อําเภอ ไดแก อําเภอวัง

เหนือ แจหม เมืองปาน งาว หางฉัตร เกาะคา เสริมงาม สบปราบ เถิน และอําเภอแมพริก ไดรับการจัดสรร

งบประมาณกองทุนฯ รอยละ ๑๐ ของจํานวนเงินที่ไดรับจัดสรรทั้งหมด

๑.๓) กําหนดใหมีคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ จํานวน ๑๙ คน ประกอบดวย

๑.๓.๑) ผูแทนโรงไฟฟาแมเมาะ จํานวน ๑ คน

Page 124: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๑๐๙

๑.๓.๒) ผูแทนกระทรวงพลังงาน จํานวน ๑ คน

๑.๓.๑) ผูแทนภาคประชาชน จํานวน ๑๐ คน ประกอบดวย

๑) ผูแทนภาคประชาชนอําเภอแมเมาะ จํานวน ๕ คน

(ตําบลละ ๑ คน ๕ ตําบล)

๒) ผูแทนภาคประชาชนอําเภอเมืองลําปาง จํานวน ๔ คน

และอําเภอแมทะ

๓) ผูแทนภาคประชาชนอําเภอที่เหลือ ๑๐ อําเภอ คัดมา จํานวน ๑ คน

๑.๓.๔) ผูแทนภาครัฐ จํานวน ๔ คน ประกอบดวย

๑) ผูวาราชการจังหวัดลําปาง

๒) นายอําเภอแมเมาะ

๓) ที่เหลืออีก ๒ ทาน จะพิจารณาจากหัวหนาสวนราชการ

๑.๓.๕) ผูทรงคุณวุฒิ จํานวน ๓ คน

๒. แนวทางการบริหารกองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟาจังหวัดลําปาง มีการ

ดําเนินการในรูปคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ จํานวน ๑๙ คน ซึ่งมาจาก ๔ ภาคสวน คือ ภาครัฐ ภาค

ประชาชน ผูทรงคุณวุฒิ และผูแทนโรงไฟฟา

การบริหารแผนงานหรือโครงการ

๑) หนวยงานหรือองคกร เสนอโครงการผานคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการในแตละ

พื้นที่ ตามลําดับ เมื่อผานความเห็นชอบก็จะเสนอโครงการใหคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ เปนผูใหความ

เห็นชอบและอนุมัติโครงการกอนที่จะใหหนวยงาน / องคกร ไปดําเนินการตามโครงการ

๒) แผนงานหรือโครงการ ที่คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ เห็นชอบและอนุมัติโครงการ

จะเห็นชอบเฉพาะโครงการที่มีวัตถุประสงคสอดคลองกับวัตถุประสงคของกองทุนฯ เทานั้น

๓) แผนหรือโครงการ คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ จะเห็นชอบและอนุมัติโครงการ

สอดคลองกับวงเงินงบประมาณที่ไดรับ

โครงการตัวอยางที่ไดดําเนินการแลว มี ๕ โครงการ ดังนี้

๑) โครงการขุดลอกหวยแมสันพรอมอาคารระบายน้ําในศูนยอนุ รักษชางไทย มี

วัตถุประสงคเพื่อการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมและการสงเสริมการทองเที่ยว

๒) โครงการสร างฝายชุมชนตามแนวพระราชดํา ริ มีวัตถุประสงค เพื่ ออนุ รักษ

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

Page 125: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๑๑๐

๓) โครงการเฮาฮักนครลําปาง มีวัตถุประสงคเพื่อการมีสวนรวมกําหนดยุทธศาสตรการ

พัฒนาจังหวัดลําปาง

๔) โครงการสนับสนุนนักเรียนพยาบาล มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมสนับสนุนการศึกษาแก

เยาวชนในพื้นที่

๕) โครงการสงเคราะหและชวยเหลือผูปวย มีวัตถุประสงคเพื่อชวยเหลือผูปวยในพื้นที่

อําเภอแมเมาะ

การบริหารงบประมาณ คํานึงถึงหลักการสําคัญดังตอไปนี้

๑) การจัดระเบียบกองทุนฯ

๒) ยึดประโยชนสุขของประชาชนเปนเปาหมายสุดทาย

๓) สัดสวนของงบประมาณจะใหความสําคัญกับการแกไขปญหาและตอบสนองความ

ตองการของประชาชนในพื้นที่ที่ใกลชิดปญหาตามลําดับพื้นที่รอบโรงไฟฟา ๓ ชั้น

โดยมีกรอบการใชเงินกองทุน ดังนี้

๑) ตองทําในลักษณะแผนงานหรือโครงการสงเสริมพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตของ

ประชาชนพื้นที่

๒) สนับสนุนการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม กีฬา และดนตรี

๓) สนับสนุนการสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม

๔) สนับสนุนพัฒนาพลังงานหมุนเวียน

๕) เปนหลักประกันชดเชยความเสียหายทันที จากผลกระทบที่สาเหตุมาจากโรงไฟฟา

๖) เงินคาตอบแทน คาใชจายในการปฏิบัติของคณะกรรมการกองทุนฯ

๗) การใชเงินอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการกําหนด

การบริหารบุคลากร ปฏิบัติงานสํานักงานกองทุนฯ ประกอบดวย

๑) เจาหนาที่ประจํามีฐานะเปนลูกจางกองทุนฯ จํานวน ๑๒ คน

๒) เจาหนาที่ชวยเหลือการปฏิบัติงานจากหนวยงานของรัฐ

๓. ปญหาและอุปสรรคของกองทุนฯ

๑) งบประมาณมีจํานวนจํากัดแตความตองการของประชาชนในพื้นที่มีจํานวนมาก

๒) งบประมาณที่ไดรับในแตละปไมมีความแนนอนจึงเปนอุปสรรคตอการวางแผนการ

ดําเนินการลวงหนา

Page 126: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๑๑๑

กองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน จัดตั้งขึ้นเพื่อใชเปนทุนหมุนเวียนและเปนเงิน

ชวยเหลือหรืออุดหนุนการดําเนินการเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานใหกับสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ

สถาบันการศึกษา หรือองคกรเอกชน อีกทั้งใชจายในการบริหารงานของกองทุน

การจดัเก็บเงินสงเขากองทุน ประมาณการรายรับ ๑,๑๗๕ ลานบาทตอเดือน แบงเงินที่จัดเก็บ

เปน ๒ สวน

๑) สําหรับแผนอนุรักษพลังงาน ๕๖๐ ลานบาทตอเดือน

๒) สําหรับโครงการพัฒนาระบบการขนสง ๖๑๕ ลานบาทตอเดือน

ฐานะการเงินของกองทุน ส้ินสุด ณ วันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๒ มีเงินคงเหลือ จํานวน

๑๐, ๓๔๗, ๗๘๕, ๕๕๑.๗๓ บาท โดยแบงเปน ๒ สวน ดังนี้

๑) เงินกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน ๕, ๒๘๑, ๑๓๘, ๘๓๘.๖๗ บาท

๒) เงินโครงการพัฒนาระบบการขนสง ๕, ๐๖๖, ๖๔๖, ๗๑๓.๐๖ บาท

รวมเปนเงิน ๑๐, ๓๔๗, ๗๘๕, ๕๕๑.๗๓ บาท

โดยฝากไวที่ธนาคารกรุงไทย และธนาคารกสิกรไทย

งบประมาณกองทุนป พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔ สําหรับดําเนินงานตามแผนงาน ทัง้

๓ แผนงาน คือ แผนพลังงานทดแทน แผนเพิ่มประสิทธิภาพ และแผนงานบริหารทางกลยุทธ รวมทั้งสิ้น

๑๘,๘๘๑ ลานบาท เพื่อเปนรายจายงานบริหาร งานพัฒนาบุคลากร งานประชาสัมพันธ และโครงการ

อ่ืน ๆ ที่มีลักษณะตองจัดทําใหเหมาะสมกับสถานการณแตละป และเปนเงินที่จะไดรับคืนเนื่องจาก

เปนเงินทุนหมุนเวียนรวม ๖,๔๐๐ ลานบาท จากโครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษพลังงาน

๒,๐๐๐ ลานบาท โครงการสงเสริมการลงทุน (ESCO) ๕๐๐ ลานบาท โครงการสงเสริมการใชหลอดผอม

ใหม (T๕) ๑,๙๐๐ ลานบาท และโครงการเงินหมุนเวียนสงเสริมการใช NGV ๒,๐๐๐ ลานบาท

เปาหมายแผนอนุรักษพลังงาน ในแผนเพิ่มประสิทธิภาพกลาวคือ การประหยัดพลังงาน มี

แผนอนุรักษพลังงานจากความตองการใชพลังงาน ป พ.ศ. ๒๕๕๔ ในภาคอุตสาหกรรม การจัดการดาน

การใช และภาคขนสง จะสามารถประหยัดพลังงานไดรอยละ ๑๐.๘ และในแผนพลังงานทดแทน สงเสริม

ใหมีการใชพลังงานทดแทนจากพลังงานหมุนเวียน และ NGV เพิ่มข้ึนในป พ.ศ. ๒๕๕๔ รอยละ ๑๕.๖

ตัวอยางโครงการของกองทุน

๑) โครงการสงเสริมการใชหลอดผอมใหม เบอร ๕ ของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

มีระยะเวลา ๖๐ เดือน ต้ังแตเดือนมกราคม ๒๕๕๑ ถึงเดือนธันวาคม ๒๕๕๕ งบประมาณ ๓,๓๐๐ ลาน

Page 127: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๑๑๒

บาท เพื่อสงเสริมการใชอุปกรณแสงสวางประสิทธิภาพสูงดวยการรณรงคใหมีการเปลี่ยนใชหลอด T๕

แทน หลอด T๘ เพื่อการประหยัดพลังงาน

๒) โครงการเพื่อชาติเลิกหลอดไสใชหลอดตะเกียบ เบอร ๕ ของการไฟฟาฝายผลิตแหง

ประเทศไทย โดยจัดรณรงคแจกหลอดฟรีทั่วประเทศ ๘๐๐,๐๐๐ หลอด พรอมทั้งดําเนินกิจกรรมการ

เปลี่ยนหลอดในแหลงชุมชนตาง ๆ ประสานงานกับรานคาปลีกขนาดใหญ ๗ แหง คือ ๗ – Eleven, Big –

C, PowerMall, Makro, Home Mark, Home Pro และ Carrefour เพื่อวางจําหนวยหลอดในโครงการใน

ราคา ๕๕ บาท และมียอดการจําหนายหลอดตะเกียบ เบอร ๕ ป พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๒ รวม ๑๖.๓ ลาน

หลอด ประหยัดพลังงานไฟฟาได ๕๕๓ ลานหนวยตอป

๓) โครงการสงเสริมเทคโนโลยีกาซชีวภาพ มีแผนงานสงเสริมกาซชีวภาพป พ.ศ. ๒๕๕๑ –

๒๕๕๕ จากแหลงน้ําเสียของฟารมสุกรเล็ก ฟารมสุกรกลาง – ใหญ โรงแปงมัน โรงปาลม โรงเอทานอล

โรงน้ํายางขน โรงงานอาหารกระปอง โรงฆาสัตวสุกรและโค โรงชําแหละแปรรูปไก และขยะเศษอาหาร

โรงแรม จะไดกาซชีวภาพ ๗๖๑.๘ ลานลูกบาศกเมตรตอป

Page 128: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๑๑๓

คณะอนุกรรมาธิการพิจารณาการสงเสริมดานพลังงานทดแทน

ที่ประชุมคณะกรรมาธิการการพลังงาน ไดมีมติต้ังคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาการสงเสริม

ดานพลังงานทดแทน โดยใหมีอํานาจหนาที่ในการพิจารณาศึกษา ดังนี้

๑. พิจารณาแนวทางในการสงเสริมการพัฒนาพลังงานทดแทน

๒. พิจารณาแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับพลังงานทดแทน

๓. พิจารณาแกไขกฎหมาย ระเบียบขอบังคับตางๆ ตลอดจนการจัดตั้งกองทุน เพื่อ

สนับสนุนการพัฒนาพลังงานทดแทน

๔. พิจารณาแนวทางการบริหาร การสงเสริมผลผลิตทางเกษตรกรรมและผลิตภัณฑพลังงานทดแทน

และใหรายงานผลการศึกษาตอคณะกรรมาธิการการพลังงาน สภาผูแทนราษฎร โดยคณะอนุ

กรรมาธิการประกอบดวย

นาวาอากาศเอก อนุดิษฐ นาครทรรพ

ประธานคณะอนุกรรมาธิการ

นายมานะ โลหะวณิชย นายนิรมิต สุจารี

รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ

นายสาคร เกี่ยวของ นาวาตรี สุธรรม ระหงษ รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการ

Page 129: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๑๑๔

นายสุกิจ อัถโถปกรณ นายวิจิตร ศรียรรยงวัฒน

ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการ โฆษกคณะอนุกรรมาธิการ

ศาสตราจารยพรชัย เหลืองอาภาพงษ

นายธิบดี หาญประเสริฐ

โฆษกคณะอนุกรรมาธิการ เลขานุการคณะอนุกรรมาธิการ

นาวาเอกสมัย ใจอินทร ผูชวยเลขานุการคณะอนุกรรมาธิการ

คณะอนุกรรมาธิการไดพิจารณาศึกษาโดยไดดําเนินการ ดังนี้

๑. ประชุมและเชิญหนวยงานที่เกี่ยวของมารวมประชุม เพื่อใหขอมูลและแสดงความคิดเห็น

ประกอบดวยหนวยงานตาง ๆ ดังนี้

๑.๑ สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

๑.๒ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

๑.๓ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

๑.๔ บริษัท สยาม เอทานอล เอ็กซปอรท จํากัด

๑.๕ บริษัท ด๊ับเบิ้ลเอ เอทานอล จํากัด

Page 130: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๑๑๕

๑.๖ บริษัท วังขนาย จํากัด

๑.๗ หางหุนสวน เคลิน เอเนอรจี้ จํากัด

๑.๘ สมาคมผูคาและผูผลิตเอทานอลไทย

๒. ผลการพิจารณา สรุปไดดังนี้

๒.๑ สภาพปญหา

พิจารณาเรื่อง การสงเสริมและการพัฒนาอุตสาหกรรมเอทานอลไทย ปญหาและอุปสรรคของอุตสาหกรรมเอทานอลไทย อุตสาหกรรมเอทานอลไทย ยังมีปญหาอุปสรรคอีกมากมายหลายประการ ซึ่งตองพึ่งพา

ภาครัฐในการแกไข เพื่อจะไดสงเสริมพัฒนาใหเปนไปตามเปาหมายที่วางไว และกาวไกลออกไปเปนผูนํา

ในภูมิภาคปญหาอุปสรรคดังกลาว ไดแก

๑. ราคาวัตถุดิบที่ใชในการผลิตเอทานอล ๒ ชนิด ไดแก ออยและมันสําปะหลัง สงผล

กระทบตอตนทุนการผลิตเอทานอล

๒. เอทานอลที่ผลิตขึ้นและจําหนายในประเทศ ตองเปนเอทานอลเพื่อใชเปนเชื้อเพลิง

เทานั้น(จําหนายใหแกผูคามาตรา ๗) เอทานอลจึงอยูในสภาพลนตลาดภายในประเทศ ผูผลิตเอทานอล

ตองสงออกเอทานอลไปตางประเทศ ในขณะที่ส่ิงอํานวยความสะดวกไมพรอมเทาที่ควร

๓. โครงสรางราคาเอทานอลที่ผานมา ถูกกําหนดโดยการนําเอาราคาบราซิลเปนราคา

อางอิง ซึ่งไมสะทอนถึงราคาวัตถุดิบ และคาใชจายในการผลิตเอทานอล อยางเหมาะสม

๔. ปญหาเรื่องการขนสง และคาใชจายในการขนสง วัตถุดิบที่ใชในการผลิต เอทานอล

และน้ํามันแกสโซฮอล ไปยังสถานีผสมน้ํามัน และสถานีจําหนายน้ํามัน

๕. เอทานอล ถูกจัดใหเปนสุราประเภทหนึ่ง ตองอยูภายใตพระราชบัญญัติการสุรา ซึ่ง

ตองปฏิบัติตามกฎระเบียบโดยเครงครัด ไมมีพระราชบัญญัติเอทานอลเพื่อใชเปนเชื้อเพลิงเปนการเฉพาะ

ดังนั้น การสงเสริมและการพัฒนาอุตสาหกรรมเอทานอล จะตองมีการกําหนดเปาหมายที่

ชัดเจน รัฐบาลจะตองมีนโยบายที่จะชวยเปนการสรางแรงจูงใจใหผูประกอบการมีความมั่นใจที่จะลงทุน

ตลอดทั้งใหมีการประสานงานเพื่อขอความรวมมือกับผูประกอบการดานอุตสาหกรรมยานยนต เพื่อใหมี

การผลิตยานยนตที่สามารถรองรับอุตสาหกรรมเอทานอล โดยมีการรณรงคประชาสัมพันธใหประชาชนใช

น้ํามัน E๘๕ ซึ่งจะเปนการสงเสริมเกษตรกรที่ปลูกพืชพลังงานไมวาจะเปนออยหรือมนัสาํปะหลงั ซึง่ถอืเปน

วัตถุดิบที่สําคัญในการผลิตเอทานอล ทั้งนี้ จะตองมีการสงเสริมการใชเอทานอลภายในประเทศดวย

ประเด็นที่มีความสําคัญตอการสงเสริมอุตสาหกรรมเอทานอล หนวยงานภาครัฐจะตองมีการ

ออกกฎหมายเพื่อมาใชบังคับกับเอทานอลโดยเฉพาะ ตลอดทั้งใหมีการปรับปรุงกฎหมายที่มีอยูให

ครอบคลุมและมีความชัดเจนสอดคลองกับสถานการณในปจจุบัน

Page 131: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๑๑๖

ปญหาที่ผูประกอบการดานอุตสาหกรรมเอทานอลตองการใหภาครัฐเขามาชวยเหลือใน

เบื้องตน คือ วัตถุดิบที่จะนํามาใชผลิตเอทานอลมีราคาคอนขางสูง จึงมีผลกระทบตอตนทุนการผลิตเอทา

นอล และตองเสียคาใชจายในการขนสงซึ่งมีการปรับตัวสูงขึ้น ดังนั้น จึงตองการกําหนดเปนโซนนิ่ง

(Zoning) ใหมีความชัดเจนวาพื้นที่ใดควรจะเปนพื้นที่สําหรับใหปลูกพืชที่เปนวัตถุดิบในการผลิตเอทานอล

นอกจากนี้ หากมีการรวมมือกันในระหวางผูประกอบการใหมีการสรางเปนโรงงานหรือพื้นที่ในการจัดเก็บ

เอทานอลรวมกันและขายไปพรอมกัน ซึ่งจะเปนการสรางอํานาจในการตอรองการซื้อขายเอทานอลใหกับ

ผูประกอบการไดรับประโยชนเปนอยางมาก

๒.๒ การศึกษาขอมูลและแนวทางแกไข

๒.๒.๑ ศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของกับกฎหมายดานการสงเสริมพัฒนาพลังงานทดแทน

ศึกษากฎหมายเพื่อยกรางกฎหมายเอทานอลและไบโอดีเซลเพื่อกําหนด

แนวทางการพัฒนาเสนอตอคณะกรรมาธิการการพลังงานพิจารณาตอไป มาตรการเรงดวนในการแกไขปญหา เพื่อแกไขปญหาและพัฒนาอุตสาหกรรมเอทานอล รัฐบาลควรจะตองดําเนินการแกไข

ปญหาอยางเรงดวน ๔ ประการ คือ

๑. กําหนดมาตรฐานน้ํามันเบนซินในประเทศ โดยใหน้ํามันเบนซิน “ทุกหยด” มีเอทา

นอลเปนสวนผสมในอัตราขั้นต่ํา ๑๐ เปอรเซ็นต

๒. กําหนดสูตรราคาซื้อ/ขาย เอทานอล อางอิงในประเทศ ใหสะทอนความเปนจริงของ

ราคาพืชผลทางการเกษตรที่นํามาเปนวัตถุดิบในการผลิตเอทานอล

๓. กําหนดนโยบายเชิงรุก ทั้งระยะสั้น และระยะยาว โดยใชมาตรการทางภาษี เพื่อ

กระตุนใหเกิดการใชเอทานอล เพิ่มข้ึน เชน

- ลดภาษีการนําเขารถยนต Flex Fuel Vechicle หรือชิ้นสวน อุปกรณ ที่นํามา

พัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพรถ เพื่อรองรับการใช เอทานอล

- สงเสริมการผลิตรถ FFV ข้ึนในประเทศ

๔. เพิ่มมาตรการเปดกวางใหผูผลิตเอทานอล สามารถขายเอทานอลภายในประเทศ

ใหกับลูกคาในอุตสาหกรรมอื่นได ยุทธศาสตรพลังงานทดแทน (เอทานอล) ที่ตองดําเนินการอยางตอเนื่อง การสงเสริมพัฒนาอุตสาหกรรมเอทานอล โดยใหเกิดประโยชนตอประเทศชาติโดยแทจริง

นอกจากมาตรการเรงดวน ๔ ประการในการแกไขปญหาแลว สมาคมการคาผูผลิตเอทานอลไทยมีความ

คิดเห็นวา ภาครัฐตองมียุทธศาสตรในการดําเนินการอยางตอเนื่องดังนี้

๑. รัฐบาล ควรเรงรัด แผนการผลิต แผนการใชน้ํามัน E ๘๕ และการนํารถ FFV

(Flexible Fuel Vehicle) มาภายในประเทศ ทั้งนี้เพื่อสรางความเชื่อมั่นแกผูเกี่ยวของ (เกษตรกรชาวไร

Page 132: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๑๑๗

ผูผลิตเอทานอล คลังน้ํามัน บริษัทน้ํามัน บริษัทผูผลิตรถยนต ปมน้ํามัน ผูบริโภคประชาชนทั่วไป)

๒. รัฐบาลควรสงเสริมการคาเอทานอลภายในประเทศอยางจริงจัง โดยการสงเสริม การ

พัฒนา รถยนต รถจักรยานนต ใหสามารถใช นํามันแกสโซฮอล พรอม ๆ กับการเรงรัดใหมีการดําเนินการ

ปรับปรุงขยาย/เพิ่มหัวจาย น้ํามันแกสโซฮอลในสถานีบริการน้ํามัน ใหทั่วถึงประเทศ

๓. รัฐบาลควร การกําหนดโครงสรางราคาขายเอทานอลและน้ํามันแกสโซฮอลให

สอดคลองกับโครงสรางของราคาน้ํามันและสะทอนถึงตนทุนการผลิตเอทานอล เพื่อใหเกิดความเปนธรรม

แกทุกฝายที่เกี่ยวของ

๔. รัฐบาลควรกําหนดแผนปฏิบัติงานที่ชัดเจนในการสงเสริมสนับสนุนพัฒนาเกษตรกร

เพาะปลูกพืชไร ที่ใชเปนวัตถุดิบในการผลิต เอทานอล ทั้งดานปริมาณและคุณภาพ ใหเพิ่มข้ึน การกําหนด

พื้นที่สําหรับเพาะปลูกพืชพลังงาน ในแตละประเภท (Agricultural Zoning) สงเสริมใหเกิดการพัฒนาใน

กระบวนการผลิต การลดตนทุนการผลิต

๕. รัฐบาลควรพิจารณาออกกฎหมายขึ้นมาดูแลเอทานอลโดยเฉพาะ ปรับปรุงระเบียบ

กฎเกณฑ ที่มีอยู ใหเกิดความชัดเจนในดานการปฏิบัติ เนื่องจากปจจุบัน ไมมีระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับเอทา

นอลที่ใชเปนเชื้อเพลิงเปนการเฉพาะ จึงตองอางอิงใชระเบียบสุราสามทับของกรมสรรพสามิตมาปรับใช

โดยอนุโลม สงผลใหเกิดความไมคลองตัวในการดําเนินการของภาคธุรกิจ และควรเปดโอกาสใหมีการคาเอ

ทานอลโดยเสรี โดยใหโรงงานผูผลิตเอทานอลสามารถจําหนายเปนสารตั้งตนใหกับอุตสาหกรรมปลายน้ํา

ภายในประเทศได โดยไมจํากัดวาตองจําหนายใหกับผูคาน้ํามันตามมาตรา ๗

๖. รัฐบาลควรสงเสริมกรคาเอทานอลเพื่อสงออกไปจําหนายยังตางประเทศ เพื่อนํา

เงินตราเขาประเทศ โดย

- กําหนดเปาหมายใหไทยเปนผูนําในการผลิตจําหนายและการคาเอทานอลในระดับ

ภูมิภาค

- อํานวยความสะดวกดานการขอใบอนุญาตสงออกใหเปนไปอยางรวดเร็วคลองตัว

- สงเสริมใหมีการสรางถังเก็บเอทานอลเพื่อรอการสงมอบ (Tank Farm) ณ ทาเรือ

และกําหนดมาตรการใหโรงงานผลิตเอทานอลสามารถเก็บ เอทานอลรวมกันและขายรวมกันได

๗. รัฐบาลควรกําหนด นโยบายที่ชัดเจนเกี่ยวกับการขนสง (Logistic) ผลิตผลทาง

การเกษตร การขนสงเอทานอล และน้ํามันแกสโซฮอล เพื่อใหเกิดความ สะดวก ความประหยัด ในการ

ดําเนินการ เพื่อลดตนทุนการผลิต โดยรวมของทั้งระบบ

๒.๒.๒ โครงสรางราคาเอทานอล

โครงสรางราคาในปจจุบันเพื่อกําหนดราคาเอทานอลโดยใชเปนสูตร

สําเร็จนั้น ดังนั้น จึงเปนปญหาที่จะตองแกไขโครงสรางราคาทั้งระบบ เพื่อไมใหเกิดการไดเปรียบระหวาง

ผูประกอบการดวยกัน ในขณะเดียวกันก็ตองไมใหราคาน้ํามันที่จะขายใหกับประชาชนมีราคาสูงจนเกินไป

Page 133: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๑๑๘

ดังนั้น จึงตองมีการทบทวนมาตรการดังกลาว เพื่อแกไขปญหา คือ รัฐบาลตองเอาเงิน

งบประมาณที่จะนําไปใชในการแทรกแซงราคาพืชผลทางการเกษตรมาบริหารจัดการจัดตั้งเปนกองทุน

โดยใหมีองคกรเขาไปดูแลบริหารจัดการในการรับซื้อพืชผลจากเกษตรกรโดยตรงแลวจึงนําไปขายใหกับ

โรงงานหรือผูประกอบการอุตสาหกรรมดานเอทานอล ทั้งนี้กระบวนการทั้งหมดตองดูขอมูลตนทุนการผลิต

ของเกษตรกรและผูประกอบการดานเอทานอล ซึ่งจะเปนการบริหารจัดการทั้งระบบ ดังนั้น เมื่อหนวยงาน

ภาครัฐมีขอมูลตนทุนของการผลิตทั้งหมดก็จะสามารถที่จะบริหารจัดการได สามารถที่จะควบคุมหรือ

กําหนดกลไกในตลาดตั้งแตเร่ิมตนคือ การรับซื้อพืชผลการเกษตรจากเกษตรกรจนกระทั่งขายเอทานอล

ใหกับโรงกลั่นน้ํามันซึ่งเมื่อเปนดังนี้แลว กลไกตลาดดานโครงสรางราคาก็ไมตองอางอิงราคาจาก

ตางประเทศและสามารถที่จะกําหนดไดแนนอน ในสวนของการดําเนินการโครงสรางราคาที่นําเสนอจะ

นําไปสูการปฏิบัติไดอยางแทจริงจะตองมีการออกเปนขอบังคับหรือเปนพระราชบัญญัติซึ่งจะมีผลบังคับได

มาก ดังนั้น จึงใหมีการนําไปพิจารณาเพื่อนําไปบรรจุไวในรางพระราชบัญญัติ ดังนั้น คณะอนุกรรมาธิการ

ไดต้ังคณะทํางาน เพื่อรางกฎหมาย ศึกษา รวบรวมขอมูล แลวนําขอมูลที่ไดใหคณะอนุกรรมาธิการ

พิจารณาตอไป

๒.๒.๓ ปญหาภาษีการสงเสริมรถยนตใช E ๘๕

มีปญหาในหลาย ๆ ดาน อาทิ การที่กรมศุลกากรยังไมมีการยกราง

กฎหมายหรือขอบังคับในเรื่องดังกลาว จึงไมสามารถนําไปปฏิบัติใหเปนไปตามมาตรการได และการ

นําเขารถยนต CKD จะตองผลิตใหทันป ๕๓ ซึ่งไมสามารถทําได จึงทําใหออกมาไมทันอยางแนนอน ดังนัน้

การสงเสริมรถยนตที่ใช E๘๕ ในรถจกัรยานยนต จึงยังเปนไปไมได

ปญหาที่พบในเบื้องตนคือ มีการกระจุกตัวของพื้นที่เพาะปลูกพืชพลังงาน และโรงงานที่รับซื้อ

พืชผลทางการเกษตร เพื่อนําไปหีบเปนน้ํามันยังไมมีการกระจายตัวครอบคลุมทั่วทั้งประเทศ ทําใหตนทุน

ในการขนสงพืชพลังงานไปยังโรงงานอุตสาหกรรมมีเพิ่มมากขึ้น

ประเด็นที่จะตองมีการแกไขโดยเรงดวนและตองชี้แจงใหกับเกษตรที่ปลูกพืชพลังงาน คือ ตอง

เนนใหมีการควบคุมผลผลิตใหมีคุณภาพ ซึ่งจะเปนประโยชนตอเกษตรที่จะขายไดราคามากขึ้น ทั้งนี้

เนื่องจากมีการตรวจพบวา ปาลมดิบที่เกษตรกรนําออกมาขายบางครั้งยังไมถึงเกณฑที่จะเก็บผลผลิตมา

ขายได เพราะยังไมสุกเต็มที่ ทําใหปริมาณน้ํามันปาลมดิบที่ไดมีปริมาณนอยและคุณภาพต่ํา จึงมีการกด

ราคาจากโรงงานที่รับซื้อเกษตรกรจึงไดรับผลตอบแทนที่ไมคุมทุน ดังนั้น จึงตองมีการทําความเขาใจกับ

เกษตรกรใหรับทราบในประเด็นดังกลาวตอไป และจะตองมีมาตรการที่จะใชบังคับในการรับซื้อผลผลิต

จากปาลมน้ํามัน เพื่อเปนการสรางหลักประกันใหกับเกษตรกรโดยอาจจะกําหนดเปนการรับซื้อแบบ

แบงเปนไปตามเปอรเซ็นตของน้ํามันปาลมดิบที่จะได

การกํากับดูแลหรือการบริหารจัดการจะมีคณะกรรมการปาลมน้ํามันแหงชาติ ซึ่งจะมี

นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีผูไดรับมอบหมายเปนประธาน ผูแทนจากหนวยงานราชการ

Page 134: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๑๑๙

ผูประกอบการ และเกษตรกรเพื่อแตงตั้งใหเปนคณะกรรมการ ซึ่งในคณะนี้ยังอยูระหวางการดําเนินการ

แตงตั้ง

ปจจุบันมีโรงงานผลิตเอทานอลทั้งหมด ๑๒ โรง มีกําลังการผลิต ๑.๗ ลานลิตร/วัน โดย

แบงเปนใชกากน้ําตาลเปนวัตถุดิบ ๓ โรง และใชมันสําปะหลัง ๑ โรง โรงงานผลิตเอทานอลที่ใช

กากน้ําตาลผลิตจะประสบปญหาเนื่องจากราคาออยจะอิงกับราคาน้ําตาล ดังนั้น การผลิตเอทานอลจึงมี

ตนทุนในการผลิตที่สูงขึ้น และผูประกอบการเมื่อดําเนินการแลวจึงไมคุมทุน ซึ่งจะตองมีหนวยงานภาครัฐ

มากํากับดูแลดานราคาพลังงานทดแทนที่ชัดเจน และการที่มีการนําราคาของพลังงานทดแทน ไปอิงกับ

ราคาของพลังงานหลัก เชน ราคาน้ํามันในตลาดโลก ซึ่งมีความผันแปรตลอดเวลาจึงเปนผลใหราคาของ

พลังงานทดแทนปรับตัวขึ้นลงตามไปดวย ดังนั้น จึงมีขอเสนอใหมีการใชคารบอนเครดิตเปนเกณฑในการ

ต้ังราคาของพลังงานทดแทน เพื่อราคาจะไดคงที่และเปนประโยชนตอทุกภาคสวนที่เกี่ยวของตั้งแต

เกษตรกรและผูประกอบการดานพลังงานทดแทน

การประชุมรวมของคณะอนกุรรมาธิการ กบั ผูประกอบการคาและผลิตเอทานอล

ณ บริษัท สยาม เอทานอล เอ็กซปอรท จาํกัด จังหวัดระยอง

การประชุมของคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาการสงเสริมดานพลังงานทดแทน

Page 135: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | คณะอนุกรรมาธิการ

๑๒๐

การประชุมของคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาการสงเสริมดานพลังงานทดแทน

Page 136: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

การศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ

Page 137: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๒๒

๑. ศึกษาดูงานการผลิตกระแสไฟฟาดวยพลังน้ําแบบสูบกลับ ณ โรงไฟฟาพลังน้ําลําตะคองแบบสูบกลับ อําเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา วันศุกรท่ี ๕ กันยายน ๒๕๕๑ โรงไฟฟาพลังน้ําลําตะคอง เปนการผลิตกระแสไฟฟาดวยพลังน้ําวีธีหนึ่งซึ่งสามารถนําเอาทรัพยากรน้ําที่มีอยูมาหมุนเวียนใชใหเกิดประโยชนสูงสุด และเปนการชวยใหระบบการผลิตไฟฟาดวยพลังงานความรอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น โรงไฟฟาพลังน้ําลําตะคอง ผลิตไฟฟาโดยการสูบน้ําจากอางเก็บน้ําลําตะคองของกรมชลประทานไปเก็บไวที่อางเก็บน้ําบนเขายายเที่ยง ในชวงที่มีความตองการไฟฟาต่ํา และเมื่อมีความตองการใชไฟฟาสูงก็จะปลอยน้ําลงอางเก็บน้ํา ลําตะคองเหมือนเดิม โดยทั่วไปความตองการไฟฟาตลอดทั้งวันไมคงที่ความตองการใชไฟฟาสูงสุดจะอยูชวงเวลา ๑๘.๐๐ – ๒๑.๐๐ นาฬิกา และความตองการใชไฟฟาต่ําสุดคือระหวาง ๒๔.๐๐ – ๐๖.๐๐ นาฬิกา ซ่ึงชวงนี้จะมีพลังงานไฟฟาเหลือใชจากการผลิตของโรงไฟฟาพลังงานความรอนจึงนํามาใชประโยชนดวยการสูบน้ําเก็บไวในอางเก็บน้ําบนภูเขาเพื่อเอาไวปลอยลงมาผลิตกระแสไฟฟาในชวงที่มีความตองการใชไฟฟาสูง โครงการไฟฟาพลังน้ําลําตะคองแบบสูบกลับ ตั้งอยูระหวางอําเภอสีคิ้ว และอําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา ลักษณะสําคัญของโครงการประกอบดวยโรงไฟฟาใตดิน อางพักน้ําบนเขา อางเก็บน้ําตอนลาง(อางเก็บน้ําลําตะคอง ที่มีอยูเดิม) อุโมงคสงน้ําจากที่พักน้ําเขาโรงไฟฟาอุโมงคทายน้ําจากโรงไฟฟาสูอางเก็บน้ําตอนลางและสายสงไฟฟาแรงสูง

โรงไฟฟาพลังน้ําลําตะคองแบบสูบกลับ อําเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา

Page 138: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๒๓

โรงไฟฟาพลังน้ําลําตะคอง ประกอบดวย อางเก็บน้ําตอนบน อางเก็บน้ําเปนแบบหินถม ลาดดวยยางมะตอย(แอสฟลท) เพื่อปองกันน้ําซึมออกจากอางเก็บน้ําได ๑๐.๓ ลานลูกบาศกเมตร พื้นที่ผิวน้ํา๐.๓๔ ตารางกิโลเมตร ความสูง ๕๐ เมตร ความยาว ๒,๑๗๐ เมตรปริมาณ ๕.๓๖ ลานลูกบาศกเมตรระดับเก็บกักสูงสุด ๖๖๐ เมตร (รทก.)ระดับเก็บกักต่ําสุด ๖๒๐ เมตร (รทก.)ความจุอางทั้งหมด ๑๐.๓ ลานลูกบาศกเมตรความจุอางใชงาน ๙.๙ ลานลูกบาศกเมตรพื้นที่ผิวที่ระดับกักเก็บสูงสุด ๐.๓๔ ตารางกิโลเมตร

อางเก็บน้ําตอนบนของโรงไฟฟาพลังน้ําลําตะคองแบบสบูกลับ โรงไฟฟาใตดิน ตั้งอยูลึกจากผิวดินประมาณ ๓๕๐ เมตร มีขนาดกวาง ๒๓ เมตรยาว ๑๗๕ เมตร สูง ๔๗ เมตร ภายในโรงไฟฟาจะติดตั้งเครื่องกําเนิดไฟฟาขนาด ๒๕๐,๐๐๐ กิโลวัตต รวม ๔ เครื่องขนาดกวาง ๒๓ เมตร ยาว ๑๗๕ เมตร สูง ๔๗ เมตร กังหันน้ํา/สูบกลับ Vertical Shaft Francis Type Reversible Pump – Turbine เครื่องกําเนิดไฟฟา ๓ Phase AC Synchronous Generator Motor กําลังผลิตติดตั้ง ระยะแรก ๒ x ๒๕๐ เมกะวัตต ระยะที่สอง ๒ x ๒๕๐ เมกะวัตต พลังงานไฟฟาเฉลี่ย ๔๐๐ ลานกิโลวัตต / ช่ัวโมง

Page 139: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๒๔

ทอสงน้ําเพื่อนาํไปผลิตกระแสไฟฟา อุโมงคสงน้ําเขาโรงไฟฟา เชื่อมระหวางอางเก็บน้ําบนภูเขาและโรงไฟฟาใตดิน เปนอุโมงคคอนกรีตดาดผิวเหล็ก จํานวน ๒ ทอ ความยาวทอละ ๖๕๑ เมตรชนิด คอนกรีตดาดผิวเหล็ก เสนผาศูนยกลางภายใน ๑๗.๐ - ๖.๐ เมตร ความยาว ๕๒ เมตร จํานวน ๒ ชุด

ทอสงน้ําเพื่อนาํไปผลิตกระแสไฟฟา

Page 140: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๒๕

อุโมงคทายน้ํา เชื่อมระหวางโรงไฟฟาใตดิน และอางเก็บน้ําลําตะคอง จํานวน ๒ ทอชนิด คอนกรีตเสริมเหล็ก เสนผาศูนยกลางภายใน ๔.๔ – ๖.๘ เมตร ความยาว ๑,๔๓๐ เมตร จํานวน ๒ ทอ โครงการโรงไฟฟาพลังน้ําลําตะคองแบบสูบกลับเปนโครงการที่จะอํานวยประโยชนใหแกจังหวัด นครราชสีมา และจังหวัดอื่นๆ ในภูมิภาคนี้ เพราะนอกจากเปนการเพิ่มความมั่นคงในระบบการผลิตและจายพลังงานไฟฟาแลวยังเปนการพัฒนาแหลงน้ําที่มีอยูในทองถ่ินใหเกิดประโยชนสูงสุดไดอยางมีประสิทธิภาพซึ่งจะสงผลใหการพัฒนาเศรษฐกิจในภูมิภาคนี้ เจริญเติบโตและมีความมั่นคงสูงขึ้นในอนาคต

ฟงบรรยายสรุปการผลิตกระแสไฟฟาจากพลังน้ําแบบสบูกลับ ๒. ศึกษาดูงานดานการใชไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยและกระบวนการผลิตแผงเซลลแสงอาทิตย ณ บริษัท โซลารตรอน จํากัด (มหาชน) อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา วันศุกรท่ี ๕ กันยายน ๒๕๕๑ การนําพลังงานแสงอาทิตยมาใชผลิตกระแสไฟฟาเพื่อเปนทางออกในการลดภาระจากการใชน้ํามันเชื้อเพลิงฟอสซิลที่กําลังจะหมดลงในไมชาซึ่ง บริษัท โซลารตรอน จํากัด (มหาชน) เปนผูบุกเบิกเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตยในประเทศไทยสามารถใหบริการไดแบบเทิรนคีย ทั้งผลิตและติดตั้งแผงเซลลแสงอาทิตย บริษัทไดดําเนินการไปแลวกวา ๓,๕๐๐ โครงการ อาทิ โครงการโซลารโฮม การเกษตร โทรศัพท ไฟฟาสองถนน และเครื่องสูบน้ําพลังงานแสงอาทิตย เปนตน บริษัท โซลารตรอน จํากัด (มหาชน) กอตั้งเมื่อป พ.ศ. ๒๕๒๙ ดวยความมุงมั่นที่ตองการนําเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตยที่เปนพลังงานสะอาดมาผลิตไฟฟา โดยบริษัทได

Page 141: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๒๖

ดําเนินการออกแบบและติดตั้งระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยมากกวา ๑๐๐,๐๐๐ ระบบ รวมทั้งกําลังการผลิตมากกวา ๕ เมกะวัตต คิดเปนมูลคากวา ๒,๐๐๐ ลานบาท ปจจุบันบริษัท โซลารตรอน จํากัด (มหาชน) มีศูนยการผลิตแผงเซลลแสงอาทิตยที่ใหญที่สุดในประเทศไทยและในเอเชียอยูที่ตําบลหนองน้ําแดง อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา มีกําลังการผลิต ๓๐ เมกะวัตตตอปหรือคิดเปนแผงเซลลแสงอาทิตยขนาด ๑๐๐ วัตต จํานวน ๓๐๐,๐๐๐ แผงตอป

บริษัท โซลารตรอน จํากัด (มหาชน) อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา

คณะกรรมาธกิาร ฟงบรรยายสรุปเกี่ยวกับการพัฒนาและผลิตเซลลแสงอาทิตย

คณะกรรมาธกิาร ฟงบรรยายสรุปเกี่ยวกับการพัฒนาและผลิตเซลลแสงอาทิตย

Page 142: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๒๗

คณะกรรมาธกิาร ดูงานกระบวนการผลิตแผงเซลลแสงอาทิตย

๓. ศึกษาดูงานโครงการศึกษาความเปนไปไดของการปลูกพืชน้ํามันและพัฒนารูปแบบการผลิตพลังงานจากพืชแบบครบวงจรในพื้นท่ีตัวอยางเขตภาคเหนือ ณ แปลงสถานีวิจัยเกษตร ตําบลแมเหียะ จังหวัดเชียงใหม และสถานีวิจัยศรีบัวบาน จังหวัดลําพูน วันพฤหัสบดีท่ี ๑๘ กันยายน ๒๕๕๑ คณะกรรมาธิการพลังงานไดศึกษาดูงานโครงการศึกษาความเปนไปไดของการปลูกพืชน้ํามันและพัฒนารูปแบบการผลิตพลังงานจากพืชครบวงจรในพื้นที่ตัวอยางเขตภาคเหนือโดย รศ.ดร. พรชัย เหลืองอาภาพงศ นักวิจัยจากคณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม และเปนผูชํานาญการประจําคณะกรรมาธิการการพลังงาน ไดเปนหัวหนาโครงการดําเนินการวิจัยภายใตการสนับสนุนจากกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน สํานักนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ความเปนมาของโครงการในป พ.ศ. ๒๕๔๘ สํานักงานนโยบายและแผนพลังงานไดมีการวิเคราะห ถึงปญหาที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับพลังงาน โดยเฉพาะปญหาราคาน้ํามันที่แพงขึ้น การหาพลังงานทดแทนในรูปของพลังงานที่มาจากพืช ซ่ึงสามารถผลิตขึ้นไดเองในประเทศไทย ก็คงจะเปนทางออกที่ดีและเห็นวาภาคเหนือของประเทศไทยเปนสถานที่ที่นาทดสอบและเกษตรกรจํานวนมากใหความสนใจ และไดเร่ิมดําเนินการตั้งแตวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๔๘ เปนตนมา เปาหมายของโครงการคือ การศึกษาพืชน้ํามัน ๒ ชนิด คือปาลมน้ํามันและสบูดําในเรื่องของการเปรียบเทียบสายพันธุ หรือแหลงที่มาของพืชมาทําการทดสอบในสภาพพื้นที่จริงการศึกษาเรื่องการจัดการไมวาจะเปนเรื่อง ปุย น้ํา ศัตรูพืช หรือการตัดแตงกิ่งกาน การศึกษาเรื่องกระบวนการผลิตน้ํามัน และการศึกษาเรื่องสิ่งแวดลอมที่มีผลตอการผลิตพืชน้ํามันในภาคเหนือ สถานที่ทําการทดสอบในที่ราบลุม อยูที่จังหวัดเชียงใหม และการทดสอบในที่สูงลาดชันอยูที่ จังหวัดลําพูน

Page 143: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๒๘

การทดสอบของโครงการวิจัยในการปลูกปาลมน้ํามันในพื้นที่ภาคเหนือในปที่ ๓ มีความกาวหนาอยูระดับหนึ่งที่สามารถใหคําตอบเกษตรบางแลว การวิจัยพบวาการปลูกปาลมน้ํามันในภาคเหนือ ตองมีการคัดเลือกเปรียบเทียบสายพันธุ เปนเรื่องสําคัญ เพราะการเจริญเติบโตสภาพแวดลอมในภาคเหนือ ของแตละสายพันธุจะแตกตางกัน การใหน้ําปาลมน้ํามันที่ปลูกในภาคเหนือ มีความจําเปนเพราะมีชวงแลงยาวนานกวาปกติ ซ่ึงโครงการ งานวิจัยนี้ เปนงานที่ไดทําการศึกษาอยางจริงจังและตอเนื่อง มีการจัดทําแปลงทดลอง และสาธิตเพื่อตอบสนองแนวทางการแกปญหาดานพลังงานในอนาคต

ดูงานแปลงทดลองปลูกปาลมน้ํามันพื้นทีภ่าคเหนือ ณ จงัหวัดลําพนู

ดูงานแปลงทดลองปลูกสบูดํา ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม

Page 144: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๒๙

โรงผลิตไบโอดีเซล ณ มหาวทิยาลัยเชยีงใหม ๔. ศึกษาดูการผลิตไฟฟาพลังน้ําใชภายในชุมชน ณ หมูบานแมกําปอง ตําบลหวยแกวก่ิง อําเภอแมออน จังหวัดเชียงใหม วันศุกรท่ี ๑๙ กันยายน ๒๕๕๑ คณะกรรมาธิการไดเดินทางไปศึกษาดูงานโครงการโรงไฟฟาพลังน้ําชุมชนที่หมูบานแมกําปอง ตําบลหวยแกว กิ่งอําเภอแมออน จังหวัดเชียงใหม หมูบานแมกําปองมีโรงไฟฟาพลังน้ําในชุมชน ๓ แหงคือ โรงไฟฟาพลังน้ําแมกําปอง ๑ สรางเสร็จเมื่อป ๒๕๒๖ กําลังการผลิต ๒๐ กิโลวัตต โรงไฟฟาแมกําปอง ๒ สรางเสร็จป พ.ศ. ๒๕๓๐ กําลังการผลิต ๒๐ กิโลวัตต และ โรงไฟฟาแมกําปอง ๓ กําลังการผลิต ๔๐ กิโลวัตต ซ่ึงปจจุบันแมวาการไฟฟาสวนภูมิภาคจะเดินสายไฟฟาและจายไฟฟาใหกับชาวบานในหมูบานแมกําปองแลว แตชาวบานก็ยังรักษาโรงไฟฟาพลังน้ําไวเปนอยางดี โดยงบประมาณคาใชจายในการกอสรางชาวบานจะออก ๔๐ เปอรเซ็นต ของการกอสรางและชวยกันลงแรงกอสรางโรงไฟฟากันเอง นายพรหมมินทร พวงมาลา อดีตผูใหญบานแมกําปอง เลาถึงจุดเริ่มตนของโรงไฟฟาวามีมาตั้งแตป ๒๕๒๔ จากแนวคิดที่วา “ที่นี่มีน้ําพอที่จะผลิตไฟฟาได” ทําใหแกนนําชาวบาน และผูนําทางศาสนาใหความสนใจไปดูตัวอยางโรงไฟฟาพลังน้ําที่อยูอําเภอฝางและอําเภอดอยสะเก็ด เมื่อนําขอมูลมาหารือกันภายในชุมชนจึงไดลงมติวาจะผลิตพลังงานไฟฟาจากน้ํา จากนั้นจึงแจงขอทําโครงการตอกรมพัฒนาพลังงานทดแทน เมื่อสามารถใชธารน้ําสรางไฟฟาใชภายในชุมชนไดแลว ในป ๒๕๒๙ “สหกรณไฟฟาโครงการหลวงแมกําปอง” จึงถูกจัดตั้งขึ้น เพื่อทําหนาที่ดูแลจัดการโรงไฟฟา บริหารจัดการรายไดจากการขายไฟฟาในชุมชนการปนผลสูสมาชิก การจัดการเงินกองทุนสหกรณเพื่อใชในสาธารณประโยชนของชุมชน และการรับสมาชิกผูใชไฟรายใหม รวมถึงงบสําหรับจัดจางเจาหนาที่

Page 145: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๓๐

ดูแลไฟฟาของโรงไฟฟาแตละโรงทั้งหมดนี้เปนความรับผิดชอบของสหกรณในฐานะเจาของโรงไฟฟา ป พ.ศ. ๒๕๔๕ การไฟฟาสวนภูมิภาค(กฟภ.) ขยายสายไฟเขามาในพื้นที่ตําบลหวยแกวชาวบานในหมูบานใกลเคียงบางสวนไดเปลี่ยนไปใชไฟของ กฟภ. สวนในหมูบาน แมกําปองแทบทุกหลังคาเรือนมีการติดตั้งไฟฟา ๒ ระบบ โดยยังคงใชไฟฟาจากโรงไฟฟาพลังน้ํารวมกับการใชไฟจาก กฟภ. ไวเปนไฟสํารอง ทั้งนี้จาก ๑๕๐ หลังคาเรือน มีเพียง ๒๐ หลังคาเรือนเทานั้นที่ใชไฟฟาพลังงานจากน้ําเพียงระบบเดียวผลกระทบจากการขยายสายไฟของ กฟภ. ทําใหสหกรณมีรายไดจากการคิดคาไฟลดลงแมจะเก็บคาไฟถูกกวา กฟภ. แตการที่จะดูแลรวมกันโดยชุมชน ในสวนของการทําความสะอาดฝายและสายสง เปนเรื่องยุงยากสําหรับชาวบานบางสวนที่อยูไกลออกไป อีกทั้งความสม่ําเสมอของกระแสไฟฟาจาก กฟภ. ก็มีมากกวาจากโรงไฟฟาพลังน้ําชุมชน จํานวนผูใชไฟฟาพลังน้ําที่ลดลงทําใหเกิดคําถามในการจัดการกับ “พลังงานไฟฟาที่เหลือใช”ทั้งนี้อาจมีผลกระทบกับโครงการที่ไดทํามาแลว ซ่ึงชาวบานตางก็ไมอยากรื้อถอน ในการขายไฟฟาใหกับ กฟภ. มีปญหาในเรื่องระเบียบของราชพัสดุเครื่องผลิตกระแสไฟฟาและสายสงตางๆ ที่ไมสามารถโอนใหองคกรชาวบาน(สหกรณ) ดําเนินการไดทั้งที่ประสบผลสําเร็จในการทดลองเชื่อมตอกับสายสง กฟภ.เรียบรอย พรอมที่จะขายใหกับกฟภ. ดังนั้นในสวนการซื้อขาย “พลังงานไฟฟาที่เหลือใช” ที่ผานมาในป ๒๕๔๘-๒๕๕๐ ใหกับ กฟภ.จึงมี พพ. เปนผูดําเนินการและไดผลประโยชนสวนนี้ไปตามระเบียบการสนับสนุนใหผูผลิตไฟฟาขนาดเล็กมาก (Very Small Electricity Produce : VSPP)จากแหลงพลังงานหมุนเวียนสามารถขายไฟฟาเขาสูระบบสายสงของ กฟภ.และการไฟฟานครหลวง(กฟน.) ไดโดยตรงของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน(สนพ.)กระทรวงพลังงาน ชาวบานแมกําปองใชเวลากวา ๕ ป เพื่อเขาไปมีสวนรวมในการขายกระแสไฟฟาจากพลังงานน้ําใหกับ กฟภ.ซ่ึงก็สําเร็จในเดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๐ โดยที่การขายกระแสไฟฟาตองดําเนินการผานหนวยงานของรัฐ จึงตองขอความรวมมือ อบต. หวยแกวมาสนับสนุนโดยรับเปนเจาของ และถายโอนอํานาจใหทางชุมชนบริหารจัดการ ทั้งนี้สหกรณแมกําปองเริ่มขายกระแสไฟฟาใหกับ กฟภ. ตั้งแตเดือน มกราคม ๒๕๕๑ เปนตนมา ซ่ึงในเดือนแรกนี้รายไดจะเขาสูสหกรณกวา๕๐,๐๐๐ บาท โดยผลิตไฟฟาในโครงการที่ ๓ กําลังการผลิต ๔๐ กิโลวัตต สงเขาสู กฟภ. หมดโดยคิดราคารับซื้อตามชวงเวลา ตั้งแต ๑๐.๐๐-๐๕.๐๐ นาฬิกา อยูที่หนวยละ ๒.๕๐ บาทและตั้งแต ๐๕.๐๐-๑๐.๐๐ นาฬิกา อยูที่หนวยละ ๓.๘๐ บาท สวนโรงไฟฟาที่ ๑ และ ๒ ปจจุบัน ทําหนาที่ผลิตกระแสไฟฟาใหแกชุมชนโดยสลับชวงเวลาในการเดินเครื่องคิดราคาขายในอัตราหนวยละ ๒ บาท ซ่ึงเปนราคาเดิมตั้งแตเร่ิมตนการผลิต

Page 146: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๓๑

คณะกรรมาธกิาร ดูงานโรงไฟฟาแมกําปอง (โครงการที่ ๑ และ ๒)

คณะกรรมาธกิาร ดูงานโรงไฟฟาแมกําปอง (โครงการที่ ๓)

คณะกรรมาธกิาร ดูงานโรงไฟฟาแมกําปอง (โครงการที่ ๑, ๒ และ ๓)

Page 147: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๓๒

๕. ศึกษาดูงานไบโอดีเซลชุมชน ณ กลุมวิสาหกิจชุมชนผูผลิตน้ํามันไบโอดีเซล ตําบลทับมา อําเภอเมือง จังหวัดระยอง วันพฤหัสบดีท่ี ๒๘ กันยายน ๒๕๕๑ กลุมวิสาหกิจชุมชนผูผลิตน้ํามันไบโอดีเซลจากสบูดํา และน้ํามันใชแลว ตําบล ทับมา จังหวัดระยอง เกิดขึ้นเมื่อป ๒๕๔๘ ที่มีกระแสสนับสนุนใหเกษตรกรปลูกสบูดําเพื่อใชเปนพืชพลังงานทดแทน กลุมเกษตรกรระยองจึงหาพันธุมาทดลองปลูกในพื้นที่เพียง ๒-๓ ไร ซ่ึง ในขณะนั้นชาวบานยังนึกไมออกวาจะทําน้ํามันจากสบูดําและใชทดแทนน้ํามันดีเซลไดอยางไรแตหลังจากไดรับคําแนะนําจากกรมสงเสริมการเกษตร รวมไปถึงการสนับสนุนตนกลาสบูดํา บรรดาเกษตรกร จึงรวมกลุมกันตั้งวิสาหกิจชุมชนฯ ตําบลทับมา อําเภอเมือง จังหวัดระยองขึ้น จากจุดเล็ก ๆ ที่วาใครมีที่วางก็นําตนสบูดําไปปลูก แลวนําเมล็ดมารวมกันหีบเพื่อใหไดน้ํามันสบูดําในชวงแรกไดผลผลิตเมล็ดสบูดําเพียง ๔ กิโลกรัม นํามาหีบดวยเครื่องไฮดรอลิกที่ใชกําลังจากคน จากนั้นนําน้ํามันที่ได มากรองและเติมในเครื่องยนตรอบต่ํา ซ่ึงสามารถติดเครื่องยนตใชงานไดจริง ทําใหชาวบานเห็นชองทางวาน้ํามันสบูดําทดแทนดีเซลไดจริง ชาวบานจึงสมัครเขารวมโครงการเปนจํานวนมาก ตอมากลุมเกษตรกรจดทะเบียนเปนวิสาหกิจชุมชนพลังงานทดแทนจากสบูดํา จังหวัดระยอง อยางถูกตอง โดยการสนับสนุนจากหนวยงานภาครัฐ กระทรวงพลังงานและคณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม โดยมีการบริหารจัดการอยางเปนระบบ ทั้งการวิจัยและการพัฒนา ซ่ึงสมาชิกที่รวมโครงการหลายกลุม เชน กลุมผูปลูก กลุมผูใช ตลอดจนผูผลิตน้ํามันใชแลวสงใหชุมชน โดยมีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน และมหาวิทยาลัยเชียงใหม เปนพี่เล้ียง รวมไปถึงการสนับสนุน เครื่องหีบเมล็ดสบูดํา และเครื่องผลิตไบโอดีเซลสาธิต กําลังการผลิต ๑๐๐ ลิตรตอคร้ัง สงผลใหการทํางานของกลุมเปนไปอยางถูกตอง และเปนชุมชนที่จุดประกายใหเกิดแนวคิดพลังงานทดแทนสําหรับชุมชนอ่ืน ๆ ที่มาศึกษาดูงาน การจัดหาวัตถุดิบสําหรับการผลิตก็เปนเรื่องสําคัญซึ่งนอกเหนือจากเมล็ดสบูดํา ชุมชนยังไดจัดหาน้ํามันใชแลวจากในทองตลาด เชน กลุมแมบานผูผลิตทุเรียนทอด มาเปนวัตถุดิบดวย และเมื่อผลิตเปนไบโอดีเซลแลวก็จัดสรรน้ํามันใหกับกลุมแมบานดวยทําใหเกิดวงจรทั้งเรื่องของพลังงานและธุรกิจในชุมชนและเพื่อใหไดคุณภาพมาตรฐานทางกลุมไดสงตัวอยางน้ํามันไบโอดีเซล B๑๐๐ ที่ไดไปวิเคราะหในหองปฏิบัติการ แตเมื่อชุมชนมีปริมาณความตองการของสมาชิกที่จะใชไบโอดีเซลมากขึ้น จึงไดทําผสมกับน้ํามันไบโอดีเซลกับน้ํามันดีเซลในอัตราสวน ๕๐:๕๐ กลายเปนน้ํามัน B๕๐ขึ้น ซ่ึงปจจุบันนอกจากจะมีหัวจายที่เรียกวาปมหลอดในวิสาหกิจชุมชนพลังงานทดแทนจากสบูดํา จังหวัดระยอง เพื่อใหบริการแกสมาชิกเองแลว ยังเปดโอกาสใหประชาชนทั่วไป สามารถใชบริการไดในราคาประหยัดกวาดีเซลตามทองตลาด

Page 148: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๓๓

กลุมวิสาหกิจชุมชนพลังงานทดแทนจากสบูดํา ตําบลทับมา จังหวัดระยอง เปน ๑ ใน ๘ แหงที่มีการดําเนินการแบบครบวงจร รวมไปถึงคุณภาพไบโอดีเซลที่ผลิตไดเปนไปตามมาตรฐาน และปจจุบันไดสงเสริมใหชุมชน อบต. และเทศบาลเขารวมโครงการอีก ๔๐๐ แหง

คณะกรรมาธิการ ฟงบรรยายสรุปการดําเนินงานการผลิตไบโอดีเซลชุมชน

คณะกรรมาธกิาร ถายรูปรวมกับกลุมเกษตรกรชุมชนทับมา

๖. ศึกษาดูงานการผลิตกระแสไฟฟาจากถานหิน ณ โรงไฟฟา บีแอลซีพี จํากัด (BLCP Power) นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง วันศุกรท่ี ๒๖ กันยายน ๒๕๕๑ โรงไฟฟาบีแอลซีพีเปนบริษัทรวมทุนของไทย (๕๐ : ๕๐) ระหวางบริษัทในเครือของ บริษัท บานปู จํากัด (มหาชน) BANPU และบริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) EGCO ดําเนินธุรกิจผลิตกระแสไฟฟาโดยใชอุปกรณและเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัยควบคูกับการบริหารจัดการส่ิงแวดลอมที่เขมงวด เพื่อใหสอดคลองกับมาตรฐานของภาครัฐ และเพื่อคํานึงถึงความรูสึกและความตองการของชุมชนเปนสําคัญ โรงไฟฟาบีแอลซีพีใชถานหินคุณภาพดีประเภทบิทูบินัส เปนเชื้อเพลิงโดยสวนใหญนําเขาจากประเทศออสเตรเลีย มีกําลังการผลิตรวม ๑,๔๓๔ เมกะวัตต

Page 149: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๓๔

โรงไฟฟาบีแอลซีพีไดเร่ิมผลิตกระแสไฟฟา สําหรับหนวยผลิตแรก (๗๑๗ เมกะวัตต) เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๙ และหนวยผลิตที่ ๒ (๗๑๗ เมกะวัตต) เมื่อเดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๐ ซ่ึงสอดคลองกับกําหนดเวลาตามแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟา (Power Development Plan : PDP) ของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) และจัดจําหนายกระแสไฟฟาใหกับ กฟผ. ตามโครงการรับซื้อไฟฟาจากผูผลิตไฟฟาอิสระ (Independent Power Producer : IPP) ตามมติคณะรัฐมนตรี ป พ.ศ. ๒๕๓๗ เพื่อสนองนโยบายของรัฐ ในการสงเสริมและสนับสนุนบทบาทของภาคเอกชนใหเขามามีสวนรวมในกิจการไฟฟาโดยบริษัทฯ ไดลงนามในสัญญาชื้อขายไฟฟากับ กฟผ.เมื่อวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๐ รวมระยะเวลา ๒๕ ป โรงไฟฟาบีแอลซีพีตั้งอยูในพื้นที่ทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด ระยะที่ ๒ ซ่ึงเปนทาเรือน้ําลึก โดยบริษัทฯ ไดลงนามในสัญญาเชาพื้นที่จากการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (กนอ.) ประมาณ ๖๐๐ ไร เมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๓ รวมระยะเวลาเชา ๓๐ ป ทั้งนี้โรงไฟฟาแหงนี้ไดรับใบอนุญาตตางๆ ในการกอสรางและดําเนินการรวมทั้งไดปฏิบัติตามมาตรฐานกฎเกณฑและขอบังคับเชนเดียวกับโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ ที่ตั้งอยูในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ตําบลมาบตาพุด จังหวัดระยอง

คณะกรรมาธกิาร ฟงบรรยายสรุปผลิตไฟฟาจากถานหนิ

การบริหารจัดการสิ่งแวดลอม มาตรการลดผลกระทบทางอากาศ โรงไฟฟาบีแอลซีพีใหความสําคัญ ในการดูแลรักษาสิ่งแวดลอมและผานเกณฑมาตรฐานดานสิ่งแวดลอม (EIA) ซ่ึงสามารถลดผลกระทบสิ่งแวดลอมไดอยางมีประสิทธิภาพ ดวยการติดตั้งอุปกรณลดมลภาวะตาง ๆ ไดแก

Page 150: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๓๕

๑. ติดตั้งเตาเผาไหมเพื่อลดการเกิดกาซออกไซดของไนโตรเจน (Low NOx Burner)

๒. ติดตั้งเครื่องดักจับฝุนระบบไฟฟาสถิตย (Electrostatic Precipitator : ESP) ๓. ติดตั้งเครื่องดักจับกาซซัลเฟอรไดออกไซด (Flue Gas Desulphurization : FGD) ๔. ปลองระบาย (Chimney) สูง ๒๐๐ เมตร

การตรวจสอบคุณภาพอากาศนั้น บริษัทฯ ไดติดตั้งอุปกรณตรวจวัดคุณภาพอากาศอัตโนมัติแบบตอเนื่อง (Continuous Emission Monitoring System: CEMS) ไวที่กลางปลอง และติดตั้งสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ (Air Quality Monitoring Station: AQMS) จํานวน ๔ แหงโดยรอบชุมชนเทศบาลเมืองมาบตาพุด เพื่อสรางความมั่นใจใหแกชุมชนโดยรอบ น้ําท่ีใชในโรงไฟฟาฯแบงออกเปน ๒ ชนิด คือ น้ําจืด น้ําที่ใชในกระบวนการผลิต ทาเรือ ลานกองถานหิน และสํานักงานฯ โดยการจัดใหมีโรงบําบัดน้ําเสีย (Waste Water Treatment Plant) น้ําจากทาเรือและลานกองถานหินจะถูกนํากลับมาใชใหม (Re-use) น้ําทะเล สูบเขามาเพื่อใชในการหลอเย็นและระบบบําบัดกาซซัลเฟอรไดออกไซดโดยติดตั้งตะแกรง ๒ ช้ัน (Traveling Screen and Bar Screen) เพื่อปองกันสิ่งมีชีวิตเล็ดลอดเขามาในระบบหลอเย็น ทั้งนี้ไดมีการควบคุมความเร็วของน้ําทะเลที่สูบเขาใชในการหลอเย็นเพื่อชวยใหส่ิงมีชีวิตที่อาจเล็ดลอดเขามา สามารถออกจากจุดรับน้ําหลอเย็นไดโดยงาย นอกจากนี้บริเวณจุดระบายน้ําหลอเย็นไดทําการติดตั้งบอเติมอากาศ เพื่อปรับอุณหภูมิและคาความเปนกรด-ดางของน้ํากอนระบายออกสูทะเล พรอมทั้งมีการตรวจสอบระบบและบํารุงรักษาอุปกรณรายป รวมถึงการตรวจวัดและตรวจสอบคุณภาพน้ํา และตรวจวัดอุณหภูมิน้ําบริเวณรอบๆ โรงไฟฟาบีแอลซีพีอยางตอเนื่องและสม่ําเสมอ เถาถานหิน เถาถานหินที่ไดจากการเผาไหมทั้งหมดบริษัทฯ ไดจําหนายใหกับอุตสาหกรรมปูนซีเมนตเพื่อเปนสวนผสมในการผลิตและลดตนทุนของวัตถุดิบ ซ่ึงเถาถานหินจากบิทูมินัส ถือเปนเถาถานหินคุณภาพที่ไดรับความนิยมทั้งตางประเทศและในประเทศ อาทิ ใชเปนสวนผสมในอุตสาหกรรมคอนกรีตผสมเสร็จที่ใชในการสรางเขื่อนคลองทาดาน จังหวัดนครนายก ซึ่งเปนเขื่อนตามโครงการพระราชดําริ

Page 151: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๓๖

มลสาร โรงไฟฟาบีแอลซีพีมีการควบคุม ตอปริมาณซัลเฟอรในถานหินเพื่อใหอยูในระดับต่ําที่ ๐.๒๗-๐.๗ เปอรเซ็นต และโดยเฉลี่ยตองไมเกิน ๐.๔๕ เปอรเซ็นต ตอปรวมทั้งมีการบําบัดและควบคุมมลสารที่ปลอยสูบรรยากาศใหดีกวาคามาตรฐานที่กําหนดโดยภาครัฐดังนี้

- ฝุนละออง (TSP) ๔๓ mg/m3จากมาตรฐานของกรมควบคุมมลพิษ ๑๒๐ mg/m3

ซ่ึงดีกวามาตรฐาน ๖๔ เปอรเซ็นต - กาซซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) ตามที่กําหนดไวใน EIA คือ ๒๖๒ ppm จาก

มาตรฐานกรมควบคุมมลพิษ ๓๒๐ ppm บริษัทฯ ทําไดดีกวามาตรฐาน ๑๘ เปอรเซ็นต

- กาซออกไซดของไนโตรเจน (NOx) ตามที่กําหนดไวใน EIA คือ ๒๔๑ ppm จากมาตรฐานกรมควบคุมมลพิษ ๓๕๐ ppm บริษัททําไดดีกวามาตรฐาน ๓๑ เปอรเซ็นต

ทาเรือขนถายถานหิน (Coal Unloading Facility) ถานหินบิทูมินัสโดยสวนใหญนําเขาจากประเทศออสเตรเลีย ทําการขนสงทางเรือมายังทาเรือน้ําลึกของโรงฟาบีแอลซีพีโดยบริษัทฯ ใหความสําคัญตอมาตรการในการดูแลรักษาส่ิงแวดลอมดวยการตรวจสอบคุณภาพของถานหินบิทูมินัสที่นําเขาทุกๆ เที่ยวเรือ การขนถายถานหินเขาสูโรงไฟฟาฯ และลานกองถานหิน ทําโดยใชสายพานลําเลียงทีม่ีแผนกําบังลมปดโดยรอบ เพื่อปองกันฝุนฟุงกระจายและการตกหลนของถานหินหรือฝุน อีกทั้งไดติดตั้งอุปกรณสเปรยน้ําในขณะขนถายที่ Unloader Hopper เพื่อปองกันการฟุงกระจายของฝุนอีกขั้นหนึ่งดวย น้ําจากการสเปรยจะถูกรวบรวมลงบอพัก และสูบกลับเพื่อนํามาบําบัด โดยไมมีการปลอยน้ําลงทะเล นอกจากนี้บริษัทฯ ยังทําการตรวจสอบคุณภาพน้ําทะเลโดยรอบบริเวณทาเรือขอถายถานหินของโรงไฟฟาบีแอลซีพีอยางตอเนื่องและสม่ําเสมอ ลานกองถานหิน หลังจากที่มีการขนถายถานหินขึ้นสูฝงแลว ถานหินจะถูกลําเลียงตอไปยังลานกองถานหิน ซ่ึงมีทั้งหมด ๓ กอง โดย ๒ กองแรกจะใชหมุนเวียน (Active Stock) สําหรับการผลิตกระแสไฟฟาสวนกองใตสุดเปนกองถานหิน สํารอง (Dead Stock) ที่มีการบดอัดแนนและจะทําการปลูกหญาคลุมในอนาคต เพื่อไวใชในกรณีขาดแคลนเชื่อเพลิงฉุกเฉินนอกจากนี้รอบๆ ลานกองถานหินทั้ง ๓ กอง บริษัทฯ มีมาตรการควบคุมดูแลอยางเขมงวดเพื่อลดผลกระทบสิ่งแวดลอมดังนี้ - ติดตั้งระบบสเปรยน้ําที่สามารถปรับความแรงของน้ําไดตามความแรงของกระแสลมจํานวน ๓๒ จุด โดยน้ําจากการสเปรยกองถานหิน จะถูกรวบรวมไปยังบอตกตะกอนกอนจะถกูนํากลับมาใชใหมในการสเปรยตอไป

Page 152: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๓๗

- ติดตั้งกําแพงเปลี่ยนทิศทางลม (Wind Fence) ที่มีความสูงถึง ๖ เมตร เพื่อลดการเกิดฝุนฟุงกระจายหรือการสันดาปจากความรอน - ติดตั้งเครื่องตรวจวดัปริมาณฝุนละอองถึง ๓ บริเวณ คือ ดานเหนือ ดานใตของลานกองถานหินและที่ชุมชนตากวนอาวประดู นอกจากนี้ใตลานกองถานหินไดทําการปูดวยวัสดุกันซึมคุณภาพดร (HDPE) เพื่อปองกันการซึมลงสูใตดิน บทบาทที่สําคัญของโรงไฟฟา บแีอลซีพี โรงไฟฟาบีแอลซีพี ถือไดวามีกําลังการผลิตกระแสไฟฟาใหญเปนอันดับ ๕ ของประเทศ ซ่ึงทั้งกําลังการผลิตและการเปดดําเนินการทั้งสองหนวยผลิตนี้ไดดําเนินการสอดคลองกับแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟา (Power Development Plan : PDP) ของประเทศไทยทั้งนี้เพื่อชวยเสริมสรางเสถียรภาพของระบบไฟฟา (System Stability) และเพื่อรักษาความสมดุล ของปริมาณการผลิตและปริมาณการใชไฟฟาของประเทศ (Reserve Margin) นอกจากนี้ โรงไฟฟาบีแอลซีพียังมีตนทุนการผลิตตอหนวยในระดับที่มีสวนชวยลดตนทุนการผลิตโดยรวมของประเทศ (Cost Stability) ทามกลางสถานการณน้ํามันราคาแพงที่ผันผวนตามตลาดในโลกปจจุบัน ที่สําคัญโรงไฟฟาบีแอซีพียังมีสวนชวยสงเสริมนโยบายการกระจายการใชเชื้อเพลิงเพื่อใหหลากหลายใหแกประเทศทั้งนี้เพื่อชวยลดความเสี่ยงและปองกันการกระจุกตัวของประเภทเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาของประเทศในอนาคต (Fuel Diversification Policy) ๗. ศึกษาดูงานโรงแยกกาซธรรมชาติ ณ นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด อําเภอเมือง จังหวัดระยอง วันศุกรท่ี ๒๖ กันยายน ๒๕๕๑ โรงแยกกาซธรรมชาติระยองเกิดขึ้นหลังจากการนํากาซธรรมชาติซ่ึงคนพบในบริเวณอาวไทยมาใชประโยชน โดย ปตท. ไดกอสรางทอสงกาซธรรมชาติจากแหลงผลิตในทะเลมาขึ้นที่ฝงมาบตาพุด อําเภอเมือง จังหวัดระยอง และวางทอสงกาซ ไปยังโรงไฟฟาบางปะกง และโรงไฟฟาพระนครใตของ กฟผ. เพื่อนํากาซไปใชเปนเชื้อเพลิงผลิตไฟฟา ปตท. ไดอนุมัติคณะรัฐมนตรี เพื่อดําเนินการกอสรางโรงแยกกาซธรรมชาติขึ้น ๒ หนวย ที่ตําบลมาบตาพุด แตในระยะแรก พ.ศ.๒๕๒๕ ไดกอสรางเพียงหนวยเดียวกอนแลวเสร็จ ป พ.ศ. ๒๕๒๗ ใชงบประมาณ ๗,๓๖๐ ลานบาท และเริ่มดําเนินการ พ.ศ. ๒๕๒๘ โรงแยกกาซธรรมชาติหนวยที่ ๑ มีความสามารถในการแยกกาซธรรมชาติวันละ ๓๕๐ ลานลูกบาศกฟุต ตอมาความตองการใชกาซเพิ่มมากขึ้น ปตท. จึงกอสรางโรงแยกกาซธรรมชาติหนวยที่ ๒,๓ ที่จังหวัดระยอง และหนวยที่๔ ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช สําหรับโรงแยกกาซธรรมชาติหนวยที่ ๕ กอสราง

Page 153: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๓๘

ขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๒ บริเวณนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด อําเภอเมือง จังหวัดระยอง และเปดดําเนินการขึ้นป พ.ศ. ๒๕๔๘ มีขนาดกําลังการผลิต ๕๓๐ ลานลูกบาศกฟุตตอวัน และนับเปนโรงแยกกาซธรรมชาติขนาดใหญที่สุดของประเทศ กระบวนการแยกกาซธรรมชาติ กระบวนการแยกกาซธรรมชาติประกอบดวยกระบวนการตาง ๆ แบงตามหนาที่ดังนี้ กระบวนการสําหรับแยกสารที่มิใชกาซไฮโดรคารบอน กาซธรรมชาติมักมีสารปนเปอนซึ่งไมใชสารไฮโดรคารบอนปะปนมาดวยไดแก กาซคารบอนไดออกไซด (CO2) น้ํา (H2O) และปรอท (HG) โดยเฉพาะCO2 ในกาซธรรมชาติจาก อาวไทยมีปริมาณสูงถึงรอยละ ๑๔-๒๐ โดยปริมาตร โดยในกระบวนแยกกาซฯตองใชอุณหภูมิที่ต่ํา (~- 100C) ซ่ึงจะทําใหน้ําและ CO2 แข็งตัว มีผลทําใหระบบทออุดตัน ดังนั้นจึงตองกําจัดออก โดยผานกระบวนการดังนี้ หนวยกําจัดสารปรอท (Mercury Removal Unit) เนื่องจากกาซธรรมชาติในอาวไทยมีสารปรอทปนเปอนอยู ดังนั้นโรงแยกกาซธรรมชาติจึงตองกําจัดสารปรอทออกเพื่อปองกัน ปญหาที่จะเกิดกับอุปกรณของโรงแยกฯ โดยกาซธรรมชาติที่ผานหนวยรับกาซธรรมชาติแลวจะผานเขาหนวยกําจัดปรอทดวยกระบวนการ Fixed Bed โดยใชตัวดูดซับ (Absorber) ที่เปนแบบ Sulfur Impregnated Activated Carbon ซ่ึงมีซัลเฟอรกระจายอยูทั่วพื้นที่ผิวของตัวดูดซับทําใหปรอทที่ปะปนอยูในกาซธรรมชาติทําปฏิกิริยากับซัลไฟด และจะไดผลึกในรูปของ Mercuric sulphide (HgS) และถูกดูดซับอยูที่ผิวหนาของสารดูดซับ หนวยกําจัดความชื้น (Dehydration) ใชหลักการดูดซับ (Absorption) โดยใชตัวดูดซับซึ่งเปนสารที่มีรูพรุนสูง (Molecular Sieve) ดูดซับน้ําออกจากกาซธรรมชาติ หนวยกําจัดกาซคารบอนไดออกไซด (Benfield Unit) ใชสารละลายโปตัสเซียมคารบอเนต (K2CO3) ดูดซับ CO2 ออกจากกาซธรรมชาติ จากนั้นนําสารละลายโปตัสเซียมคารบอเนตที่อ่ิมตัวดวย CO2 มาลดความดัน และเพิ่มอุณหภูมิเพื่อแยก CO2 สงจําหนายตอไปทําใหสามารถนําสารละลายโปตัสเซียมคารบอเนตกลับมาใชไดอีก กระบวนการสําหรับแยกสารประกอบไฮโดรคารบอน การแยกกาซธรรมชาติใชหลักการเดียวกับการกลั่นโดยจะเปลี่ยนกาซธรรมชาติใหเปนของเหลวนั้นใหมีอุณหภูมิเดียวกันกับจุดเดือดของกาซไฮโดรคารบอนแตละชนิดที่ตองการแยก แบงเปน 2 กระบวนการคือ

Page 154: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๓๙

๑) หนวยแยกกาซเหลวรวม (Ethane Recovery Unit) กาซธรรมชาติที่ปราศจากสารปรอท กาซคารบอนไดออกไซดและน้ําจะถูกสงเขาอุปกรณลดความดัน(Turbo Expander) เพื่อลดความดันและอุณหภูมิ จนทําใหกาซธรรมชาติกลายเปนของเหลว และสงตอไปยังหอแยกกาซมีเทน (Demethanizer) ซ่ึงทําหนาที่แยกกาซมีเทน (C1) ออกจากกาซธรรมชาติ เรียกผลิตภัณฑสวนนี้วา Sales Gas ๒) หนวยแยกผลิตภัณฑ (Fractionation Unit) อาศัยหลักการกลั่นลําดับสวนเพื่อแยกกาซธรรมชาติใหอยูในรูปสารบริสุทธิ์ ประกอบดวยหอแยกกาซอีเทน (Deethanizer) เพื่อแยกกาซอีเทน (C2) หอกล่ัน Depropanizer เพื่อแยกกาซธรรมชาติ เปนผลิตภัณฑโพรเทน (C3) กาซปโตรเลียมเหลว (C3+C4) และกาซโซลีนธรรมชาติ (C5+) อุปกรณเสริมใชประกอบการแยกกาซธรรมชาติ (Utility Equipment) อุปกรณตาง ๆ ในสวนนี้จะทําหนาที่ผลิตพลังงานและผลิตความเย็นเพื่อใชในการแยกกาซธรรมชาติ เชน อุปกรณผลิตไอน้ํา อุปกรณทําความเย็น Waste Heat Recovery Unit เปนตน โรงแยกกาซฯ จะดําเนินการปรับปรุงหนวยที่ ๑,๒ และ ๓ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการแยกกาซอีเทนไดมากขึ้นพรอมทั้งจะดําเนินการสรางโรงแยกกาซฯ หนวยที่ ๖ ที่จังหวัดระยองความสามารถรับกาซไดวันละ ๘๐๐ ลาน ลูกบาศกฟุต ใหแลวเสร็จภายใน พ.ศ. ๒๕๕๓ เพื่อเพิ่มกําลังการผลิตของกาซอีเทน และโพรเพน ซ่ึงเปนวัตถุดิบที่สําคัญตอการเจริญเติบโตของธุรกิจ ปโตรเคมีในประเทศ และเพิ่มกําลังการผลิต ผลิตภัณฑกาซปโตรเลียมเหลว และกาซโซลีนธรรมชาติ ซ่ึงมีผลตอความมั่นคงดานพลังงานของประเทศดวย ผลิตภัณฑท่ีไดจากการแยกกาซธรรมชาติ มีเทน (C1H4) ประโยชน

- ใช เปนเชื้อ เพลิงในการผลิตกระแสไฟฟาและใหความรอนในโรงงานอุตสาหกรรม

- ใชเปนเชื้อเพลิงในยานพาหนะ (NGV) - ใชเปนวัตถุดิบในการผลิตปุยเคมี

อีเทน (C2H6) ประโยชน

- ใชผลิตเอทีเลนซึ่งเปนสารตั้งตนสําหรับเม็ดพลาสติกโพลีเอทีลีน (PE) เพื่อใชผลิตถุงพลาสติก หลอดยาสีฟน ขวดพลาสติก ที่ใสแชมพู และเสนใยพลาสติกชนิดตาง ๆ

Page 155: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๔๐

โพรเทน (C3H8) ประโยชน

- ใชผลิตโพลินีนซึ่งเปนสารตั้งตนในอุตสาหกรรมปโตรเคมี เพื่อใชในการผลิตเม็ดพลาสติกโพลีโพรพิลีน (PP) เชน ยางในหองเครื่องรถยนต หมอแบตเตอรี่ สารเพิ่มคุณภาพน้ํามันเครื่อง

- ใชเปนเชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรม บิวเทน (C4H10) ประโยชน

- ใชเปนวัตถุดิบสําหรับอุตสาหกรรมปโตรเคมี - นํามาผสมกับโพรเทนเปนกาซปโตรเลียมเหลว (กาซหุงตม)

กาซปโตรเลียมเหลว (LPG) ประโยชน

- เปนเชื้อเพลิงหรือกาซหุงตมในครัวเรือน และเชื้อเพลิงในรถยนต - เปนเชื้อเพลิงใหความรอนในโรงงานอุตสาหกรรมตาง ๆ - ใชเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปโตรเคมี เชนเดียวกับกาซอีเทนและกาซ

โพรเทน กาซโซลีนธรรมชาติ (NGL)

- ใชเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมตัวทําลาย - ใชผสมเปนน้ํามันเบนซินสําเร็จรูป - ใชเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปโตรเคมี

กาซคารบอนไดออกไซด เปนผลิตภัณฑที่ไดจากกระบวนการแยกกาซคารบอนไดออกไซดจากกาซธรรมชาติ ประโยชน

- ใชผลิตเปนน้ําแข็งแหง - ใชในอุตสาหกรรมหลอเหล็ก อุตสาหกรรมถนอมอาหาร อุตสาหกรรม

เครื่องดื่ม - ใชทําน้ํายาดับเพลิง ฝนเทียม ฯลฯ

การดําเนินโครงการกาซธรรมชาติเหลว (LNG) ของ บริษัทปตท.จํากัด (มหาชน) ณ นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด อําเภอเมือง จังหวัดระยอง วันศุกรท่ี ๒๖ กันยายน ๒๕๕๑ เพื่อเสริมสรางความมั่นคงทางดานพลังงานรวมถึงรองรับการขยายตัวของความตองการใชทั้งภาคการผลิตกระแสไฟฟา ภาคอุตสาหกรรม และภาคคมนาคมขนสง ปตท. ไดจัดตั้ง

Page 156: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๔๑

บริษัท พีทีที แอลเอ็นจี จํากัด ขึ้น เมื่อเดือนสิงหาคม ๒๕๔๗ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อกอสราง ทาเทียบเรือและถังเก็บสํารองกาซธรรมชาติเหลว (LNG Receiving Terminal) ในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุด จังหวัดระยอง ซ่ึงจะมีขีดความสามารถในการรับกาซธรรมชาติเหลวประมาณ ๕ ลานตันตอป (เทียบเทากาซธรรมชาติ ๗๐๐ ลานลูกบาศกฟุตตอวัน) ในระยะแรกและมีแผนที่จะขยายขีดความสามารถเปน ๑๐ ลานตันตอปในระยะตอไปซึ่ง ปตท. มีแผนที่จะนําเขา LNG จากแหลงตาง ๆ ในประเทศออสเตรเลีย อินโดนีเซีย มาเลเซีย รัสเซีย กาตาร และสาธารณรัฐอิสลามอิหราน เปนตน และเมื่อเดือนมิถุนายน ๒๕๕๐ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) และคณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบแผนการนําเขา LNG ดังกลาวเรียบรอยแลว ปจจุบัน บริษัทฯ ไดรับอนุมัติสงเสริมการลงทุน (BOI) เมื่อวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๐ และไดลงนามในสัญญาจางบริษัท Van Oord Thai Limited เพื่อขุดลอกรองน้ํา และคัดเลือกบริษัทผูรับเหมางานกอสราง LNG Receiving Terminal แลวเสร็จในไตรมาสที่ ๑ ของป ๒๕๕๑ นอกจากนี้ ปตท. ไดลงนามในขอตกลงเบื้องตนกับบริษัท Pars LNG จากโครงการในสาธารณรัฐอิสลามอิหราน เพื่อนําเขา LNG จํานวน ๓ ลานตันตอปเปนระยะเวลา ๒๐ป รวมทั้งอยูระหวางเจรจาลงนามขอตกลงเบื้องตนกับผูผลิตและผูขายจากประเทศตาง ๆ ซ่ึงคาดวาจะสามารถลงนามสัญญาซื้อขายไดภายในป ๒๕๕๑ บริษัท พีทีที แอลเอ็นจี จํากัดคือบริษัทที่กอตั้งขึ้นเพื่อประกอบกิจการใหบริการคลังสํารอง LNG และหนวยเปลี่ยนสถานะ LNG เปนกาซธรรมชาติ (LNG Re-gasification & Receiving Terminal) โดยมี ปตท. เปนผูถือหุนรอยละ ๑๐๐ ในระยะเริ่มตนและจะหาพันธมิตรรวมทุนในภายหลังโดย ปตท.จะเปนผูถือหุนใหญ ทั้งนี้ ณ วันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๐ บริษัทมีทุนจดทะเบียน ๕๐ ลานบาท และทุนที่ออกและชําระแลว ๕๐ ลานบาท และจะทยอยเพิ่มทุนตามความจําเปน ซ่ึงการกอสราง LNG Receiving Terminal ประกอบดวย ทาเทียบเรือขนถาย LNG ถังเก็บสํารอง LNG (LNG Storage Tank) และหนวยเปลี่ยนสถานะ LNG เปนกาซฯ (LNG Re-Gasification Unit) ขนาดประมาณ ๕ ลานตันตอป ในระยะที่ ๑ และจะเพิ่มขนาดเปนประมาณ ๑๐ ลานตันตอป ในระยะที่ ๒ ซ่ึงขึ้นอยูกับผลการศึกษาความเหมาะสมของโครงการ เ มื่ อ เ ดื อ น มิ ถุ น า ย น ๒๕๕๐ คณ ะ รั ฐ ม น ต รี ไ ด มี ม ติ เ ห็ น ช อ บ ต า ม ม ติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) ในหลักการใหคาบริการสถานี LNG อันประกอบดวยการใหบริการรับเรือนําเขา LNG ขนถายเก็บรักษาและแปลงสภาพจากของเหลวเปนกาซ และขนสงเขาระบบทอสงกาซธรรมชาติของ ปตท. เปนสวนหนึ่งของราคา LNG โดยมอบหมายให สนพ. จัดทําหลักเกณฑการกําหนดราคา LNG รวมทั้งหลักเกณฑการกํากับดูแลคาบริการสถานี LNG เพื่อเสนอ กพช. และคณะรัฐมนตรีเพื่อใหความเห็นชอบตอไป LNG (กาซธรรมชาติเหลว/Liquefied Natural Gas) คือกาซธรรมชาติที่ถูกลดอุณหภูมิลงที่ -๑๖๐ C ซ่ึงทําใหกาซมีเทนซ่ึงเปนองคประกอบสวนใหญ (มากกวา ๙๐ เปอรเซ็นต Mole)

Page 157: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๔๒

แปลงสภาพเปนของเหลว สามารถจัดเก็บและขนสงทางเรือได ทั้งนี้ตองผานกระบวนการทําใหกลับไปสูสถานะกาซอีกครั้งหนึ่งกอนนํามาใชงาน (LNG Regasification Terminal) จากการพัฒนาเทคโนโลยีในเรื่องของขนาดของหนวยผลิต (Train) ประสิทธิภาพกระบวนการผลิต การขนสง และอ่ืนๆ รวมทั้งการใชที่แพรหลายมากขึ้น ทําใหแนวโนมตนทุนการผลิต LNG ลดลงและสามารถแขงขันกับกาซธรรมชาติที่ขนสงทางทอได ปตท. มีวิสัยทัศนที่จะกาวเขาสูธุรกิจ LNG โดยการนําเขา LNG เพื่อมาเสริมอุปทานของกาซธรรมชาติทางทอ ตั้งแตป ๒๕๕๔ เปนตนไป โดยหาโอกาสมีสวนรวมในการลงทุนโครงการที่ตนทางรวมทั้งระบบการขนสงรวมดวย

คณะกรรมาธกิาร ถายรูปรวมกับผูบริหาร บริษัท ปตท. จาํกัด (มหาชน) ๘. ศึกษาดูงานบริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และการผลิตไบโอดีเซลของ TOL บริษัทในเครือ ณ นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด อําเภอเมือง จังหวัดระยอง วันศุกรท่ี ๒๖ กันยายน ๒๕๕๑ บริษัท ปตท. เคมิคอล จํากัด (มหาชน) จดทะเบียนและดําเนินการเมื่อวันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๔๘ โดยควบรวมบริษัทปโตรเคมีแหงชาติ จํากัด (มหาชน) และบริษัท ไทยโอเลฟนส จํากัด (มหาชน) ตามนโยบายของผูถือหุนใหญ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ดําเนินธุรกิจสายโอเลฟนส และผลิตภัณฑตอเนื่องอื่น ๆ กําลังการผลิตรวม ๑,๗๑๓,๐๐๐ ตันตอป บมจ. ปตท. เคมิคอล ดําเนินธุรกิจครบวงจร มีผลิตภัณฑหลักคือ โอเลฟนส และผลิตภัณฑตอเนื่องอื่นๆ บริษัทไทยโอลีโอเคมี จํากัด (TOL) เปน บริษัทลูกของ บมจ. ปตท. เคมีคอล ตั้งอยูในนิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุด จังหวัดระยอง เปนผูผลิตผลิตภัณฑไบโอดีเซล แฟตตี้แอลกอฮอล และกลีเซอรีนที่ใชวัตถุดิบจากไขมันพืชและสัตว ซ่ึงบริษัทมีโรงงาน เมทิลเอสเตอรและแฟตตี้

Page 158: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๔๓

แอลกอฮอลมูลคา ๗,๐๐๐ ลานบาท เปาหมายโครงการของ TOL จะผลิตไบโอดีเซล ๒ แสนตันตอป เพื่อปอนใหกับบริษัท ปตท. ธุรกิจโอลีเคมีของ TOL เปนธุรกิจที่ใชวัตถุดิบจากไขมันพืช และสัตว สามารถตอยอดและสรางมูลคาเพิ่มใหกับบริษัทไดมากโดยเฉพาะผลปาลมสามารถสรางสารโอลีโอเคมีพื้นฐาน ได ๓ ชนิดคือ เมทิลเอสเตอร (Methy Ester) หรือเรียกอีกอยางวาไบโอดีเซล แฟตตี้แอลกอฮอล (Fatty Alcohofs) และกลีเซอรีน (Glycerine) ผลปาลมใชประโยชนจาก ๒ สวน สวนที่เปนผลปาลมจะนําไปทําน้ํามันปาลมดิบ (CPO) ที่นําไปผลิตเปนไบโอดีเซล สวนที่สองเมล็ดปาลม (Crude Palm Kernel Oil : PPKO) นําไปผลิตเปนแฟตตี้แอลกอฮอล กลีเซอรีนเปน by product ของทั้งแฟตตี้แอลกอฮอลและเมทิลเอสเตอร ซ่ึง TOL เปนรายเดียวในประเทศไทยที่ทํากลีเซอรีนที่เรียกวา Phamar Fruitical grade เปนระดับที่นําไปทําเปนยารักษาโรคได แฟตตี้แอลกอฮอลเปนผลิตผลที่สรางมูลคาเพิ่มไดสูงสุดจากผลิตผลทั้งหมดที่สามารถนําไปผลิตเปนสินคา เชน แชมพู โลช่ัน น้ํายาทําความสะอาดภายในบานหรือเคมีภัณฑ สวนเมทิล เอสเตอรเปนผลิตภัณฑที่ไมไดพัฒนาไปเปนไบโอดีเซลไดเพียงอยางเดียวเทานั้น แตเมทิลเอสเตอรสามารถพัฒนาผลิตภัณฑเปนผงซักฟอกหรือสินคาอื่นๆ ไดอีก สวนกลีเซอรีนพัฒนาเปนผลิตภัณฑที่อยูในอุตสาหกรรมยาและผลิตภัณฑดูแลสุขภาพ โรงงานที่สรางขึ้นใชเทคโนโลยีจากประเทศเยอรมันนีผลิตไบโอดีเซลของบริษัท AT GRAR TECHNIK สวนเทคโนโลยีที่ผลิตแฟตตี้แอลกอฮอลจากบริษัท Cognis Deutschland Gmbth and Co.KG กําลังการผลิตของโรงงานมีเปาหมายผลิตเมทิลเอสเตอร ๒๐๐,๐๐๐ ตันตอป ผลิตแฟตตี้แอลกอฮอล ๑๐๐,๐๐๐ ตันตอป และผลิตกลีเซอรีน ๓๑,๐๐๐ ตันตอป สําหรับวัตถุดิบของปาลมสวนที่เปน CPO ที่นํามาผลิตไบโอดีเซลปจจุบันใชในประเทศทั้งหมด เพราะปริมาณการใชไบโอดีเซลทั้งประเทศจะอยูที่ ๓๐๐,๐๐๐ ตันตอป และที่เหลือเปนน้ํามันที่นําไปใชบริโภคจํานวน ๑.๑ ลานตัน จากน้ํามันปาลมโดยรวม ๑.๕ ลานตัน ในสวนของ CPKO ที่นําไปผลิตเปนแฟตตี้แอลกอฮอลภายในประเทศที่ไมเพียงพอ TOL จึงแกปญหาดวยการขออนุญาตนําเขา ดวยบริษัทแมที่มีรากฐานจากธุรกิจเคมีภัณฑและปโตรเคมีที่ผลิตภัณฑสามารถพัฒนาตอยอดธุรกิจไดอีก TOL จึงกลายเปนแขนขาในการพัฒนาในสวนของอุตสาหกรรมโอลีโอเคมี เพื่อพัฒนาธุรกิจเคมิคอลใหกาวไกลไปทั้งในและตางประเทศ และ ไบโอดีเซลก็ยังคงเปนพันธกิจหลักที่ตองดําเนินการเพื่อปอนใหบริษัทแมอยางปตท.

Page 159: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การศึกษาดูงานภายในประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๔๔

คณะกรรมาธกิาร ฟงบรรยายสรุปการผลิตไบโอดีเซลของ TOL

TOL สาธิตการผลิตและนําเสนอตัวอยางไบโอดีเซล

Page 160: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

การศึกษาดูงานตางประเทศของคณะกรรมาธิการ

Page 161: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | ศึกษาดูงานตางประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๔๖

๑. ศึกษาดูงานดานการพัฒนาการผลิตยานยนตไฮบริด (Hybrid Vehicle)

คณะกรรมาธิการไดดูงานดานการพัฒนายานยนตประหยัดพลังงานและยานยนตที่ใช

พลังงานทดแทน ณ บริษัท Toyota Kaikan Motor จํากัด และโรงงานประกอบรถยนต Tsutsumi Plant

เมืองนาโกยา (Nagoya) ประเทศญี่ปุน ในวันจันทรที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๑ โดยผูบริหารของบริษัทได

ใหการตอนรับและบรรยายสรุปเกี่ยวกับความเปนมาในการกอต้ังบริษัท ต้ังแตป ค.ศ. ๑๙๗๐ เปน ๑ ใน

๑๒ โรงงานภายในประเทศญี่ปุน ที่ผลิตรถยนตนั่งทั่วไป และรถไฮบริดโดยมีกระบวนการ ๘ ขั้นตอนใน

การผลิตรถยนต

บริษัท โตโยตา มีระบบควบคุมคุณภาพการผลิต (TPS: Toyota Production System) มี

การใชระบบปายเตือน ระบบประกอบแบบสายพาน ระบบติดตามประเมินผล และระบบตรจสอบ

คุณภาพทุกขั้นตอน นับวาเปนระบบการผลิตยานยนตที่กาวหนาที่สุดในอุตสาหกรรมยานยนตญ่ีปุน

Mr. Yutaka Matsumoto ผูบริหาร Toyota ไดบรรยายใหคณะกรรมาธิการทราบถึง

ทิศทางการพัฒนายานยนตในอนาคต เพื่อรองรับสถานการณวิกฤตพลังงานและวิกฤตสิ่งแวดลอม –

ภาวะโลกรอนดวยการบรรยายในหัวขอ “การคมนาคมอยางยั่งยืน (Sustainable Mobility) และการ

ตอบขอซักถามของคณะกรรมาธิการตอทิศทางและนโยบายของบริษัท Toyota ตอการพัฒนารองรับ E

๘๕ ในประเทศไทยตามนโยบายของรัฐบาล ซึ่ง Toyota กําลังติดตามสถานการณ กอนการตัดสินใจ

ภายใน ๑ – ๒ ป วาจะมีการเปดสายการผลิตหรือไม สําหรับทิศทางการพัฒนารถยนตใชกาซธรรมชาติ

ขณะนี้ Toyota มีรถยนตที่สามารถใชกาซธรรมชาติไดอยูแลว อยูระหวางการตัดสินใจทางธุรกิจวาจะ

เปดสายการผลิตในประเทศไทยหรือไม สําหรับทิศทางการผลิตรถยนตไฮบริด โตโยตา จะดําเนินการ

ผลิตรถยนตไฮบริด ประหยัดพลังงาน (ประมาณ ๔๐%) และเปดจําหนายในประเทศไทยในป ค.ศ.

๒๐๑๐ ๒. ศึกษาดูงานดานการผลิตไฟฟาจากพลังนิวเคลียร คณะกรรมาธ ิก า ร ได ศ ึกษาด ูง านด านการผล ิต ไฟฟ าจากพล ัง ง านน ิว เคล ีย ร

ณ Ohi Nuclear Power Plant เมืองฟูคุย (Fukui) ประเทศญี่ปุน ในวันอังคารที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๑

โดยผูบริหารของบริษัท Kansai Electric Power ไดใหการตอนรับ

Ohi Nuclear Power Plant (Ohi NPP) ของบริษัท Kansai Electric Power ต้ังอยูที่ปลาย

Ohshima Peninsula ซึ่งอยูทางตะวันตกของเมือง Obama เมืองหลักในแถบ Wakasa บนพื้นที่ประมาณ

1.88 mill.m2 กอนการสรางโรงไฟฟาบริเวณนี้ถูกมองวาหางไกลเหมือนเปนเกาะแยกออกจากแผนดิน การ

กอสรางโรงไฟฟาทําใหเกิดการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเพื่อรองรับโครงการ ซึ่งรวมถึงถนน สะพาน ส่ิง

อํานวยความสะดวกตางๆ ตลอดจนการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจ และดานสังคม ของคนในพื้นที่

Page 162: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | ศึกษาดูงานตางประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๔๗

ในปจจุบัน Ohi NPP เปนโรงไฟฟานิวเคลียรที่มีปฏิกรณที่มีกําลังผลิตสูงสุดในประเทศญี่ปุน

ประกอบดวยปฏิกรณนิวเคลียรแบบน้ําภายใตความดัน (Pressurized Water Reactor, PWR) จํานวน 4

Units ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้

Electric Output (MW) Start of Construction Commercial Operation

Unit 1 1,175 Oct. 1972 Mar. 1979

Unit 2 1,175 Nov. 1972 Dec. 1979

Unit 3 1,180 May 1987 Dec. 1991

Unit 4 1,180 May 1987 Feb. 1993

หนึ่งในตัวชี้วัดความพึ่งพาไดของโรงไฟฟา คือ Capacity Factor หรือ สัดสวนของพลังงานไฟฟาที่ผลิตได

จริง ตอพลังงานไฟฟาที่ผลิตไดถาเดินเครื่อง 100 % ตลอดเวลา ใน 1 ป โรงไฟฟานิวเคลียร Ohi มี

Capacity Factor เฉลี่ย ป 2005-2007 ดังนี้

2005 2006 2007

Unit 1 76.0 72.2 90.9

Unit 2 74.9 70.7 77.6

Unit 3 88.6 80.8 85.2

Unit 4 80.2 101.9 80.4

Average 79.9 81.4 83.5

จะเห็นไดวา โรงไฟฟานิวเคลียร Ohi เปนโรงไฟฟาที่พึ่งพาไดสูง คือ กวา 80% ในแตละป ที่โรงไฟฟา

เดินเครื่องผลิตไฟฟา และในป 2006 ปฏิกรณ Unit 4 เดินเครื่องตอเนื่องตลอดทั้งป และมากกวากําลังผลิต

ติดตั้ง 1.9%

เนื่องจากแหลงน้ําจืดอยูหางไกลโรงไฟฟา Ohi NPP ไดมีการติดตั้งอุปกรณสําหรับเปลี่ยนน้ําทะเลเปนน้ํา

จืด (Seawater Desalination System) โดย Unit 1 & 2 เปนแบบ Flush Evaporating และ Unit 3 & 4

เปนแบบ Reverse Osmosis

Page 163: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | ศึกษาดูงานตางประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๔๘

๓. ศึกษาดูงานดานการผลิตไฟฟาจากถานหิน คณะกรรมาธิการไดศึกษาดูงานการผลิตไฟฟาจากถานหิน ณ Isogo Coal Fired

Power Station (J – Power) เมืองโยโกฮามา (Yogohama) ประเทศญี่ปุน ในวันพฤหัสบดีที่ ๓๑

กรกฎาคม ๒๕๕๑ โดยผูบริหารของบริษัทไดใหการตอนรับ

สถานีผลิตกระแสไฟฟาจากพลังงานความรอนอิโซโกะ ดําเนินการโดย J – Power

Group ตั้งอยูในเขตตัวเมือง ไดผลิตไฟฟาอยางตอเนื่องมาเปนเวลา ๓๐ ป โดยไดมีการตกลง

รวมมือกับเมืองโยโกฮามา ในการริเร่ิมโครงการปองกันและรักษาสิ่งแวดลอมข้ึนเปนครั้งแรกในประเทศ

ญี่ปุน โดยการจัดตั้งเครื่องดูดและจัดการควันพิษเปนแหงแรก อีกทั้งยังมีการจัดตั้งนโยบายปองกัน

และรักษาสิ่งแวดลอม

โรงงานผลิตกระแสไฟฟาจากพลังงานความรอนอิโซโกะ ผลิตกระแสไฟฟาโดย

อาศัยพลังงานจากไอน้ําที่ไดจากการเผาถานหินไปขับดันใหเกิดกระบวนการผลิต โดยเริ ่มจากการ

ลําเลียงถานหินไปตามสายพานไปยังเครื่องบดและจะถูกเผาไหมในบอยเลอร ซึ่งความรอนจากการเผา

ไหมทําใหน้ําที่ไหลอยูในทอเล็ก ๆ หลายพันทอในบอยเลอรรอน ซึ่งเปนผลใหเกิดไอน้ําที่มีอุณหภูมิและ

ความดันสูงขึ้น ไอน้ําจะถูกสงไปยังเครื่องผลิตกระแสไฟฟาแบบกังหันเทอไบนแลวจะถูกสงไปยังหมอ

สําหรับทําใหไอน้ํากลายเปนน้ําอีกครั้งหนึ่งโดยน้ําทะเลจะทําใหไอน้ําเย็นแปรสภาพกลับเปนน้ํา แลวน้ํา

จะถูกสงไปบอยเลอรอีกที

สถานีผลิตกระแสไฟฟาอิโซโกะ ไดผลิตและจัดสงไฟฟาใหเมืองใหญ ๆ ในญี่ปุน

มาแลวเปนเวลาหลายป พรอมกันนี้สถานีผลิตกระแสไฟฟาอิโซโกะนี้ก็ยังเปนสถานีไฟฟาที่ถูกออกแบบ

ใหใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อตอบสนองตอนโยบายรักษาสิ่งแวดลอม นโยบายปองกันมลภาวะเปน

พิษ กําจัดปริมาณสารไนโตรเจนออกไซดซึ่งเกิดจากการเผาไหมในสถานีผลิตกระแสไฟฟา ดวยการใช

ระบบเตาเผา ๒ ระดับ และมีการติดตั ้งอ ุปกรณแยกสารไนโตรเจนออกไซด แบบแหง เพื ่อเพิ ่ม

ความสามารถในการควบคุมและลดมลพิษ สวนสารซัลเฟอรไดออกไซดและเถาถานหินก็จะถูกควบคุม

โดยใชระบบกําจัดสารซัลเฟอรออกไซด และระบบใชไฟฟาสถิตในการทําใหสารพิษตกตะกอน ความ

เขมขนของเขมาและฝุนละอองที่เกิดจากเครื่องผลิตกระแสไฟฟารุนใหม ปริมาณกาซไอเสียที่ถูกขับ

ออกมา ๑,๙๙๒,๐๐๐ m3N/h ไนโตรเจนออกไซด ๑๓ ppm เขมาและฝุน ๕ mg/ m3N ซัลเฟอรออกไซด

๑๐ ppm ๔. ศึกษาดูงานดานการพัฒนากระบวนการขนสง การจัดเก็บ และการใชงาน

กาซธรรมชาติเหลว (LNG : Liquefied Natural Gas) คณะกรรมาธิการไดศึกษาดูงานดานการพัฒนากระบวนการขนสง การจัดเก็บและ

การใชงานกาซธรรมชาติเหลว ณ บริษัท โตเกียว อิเลคทริก พาวเวอร จํากัด (Tokyo Electric Power

Company, Inc. : TEPCO) เมืองโตเกียว ประเทศญี่ปุน ในวันศุกรที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ โดยผูบริหาร

Page 164: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | ศึกษาดูงานตางประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๔๙

ของบริษัทไดใหการตอนรับและบรรยายสรุปเกี่ยวกับความเปนมาของบริษัทและการดําเนินธุรกิจดาน

การนํา LNG มาใชเปนเชื้อเพลิงสําหรับโรงไฟฟาและใชเปนวัตถุดิบสําหรับกระบวนการอุตสาหกรรม

ตอเนื่องอื่น ๆ

TEPCO เปนบริษัทแรกในญี่ปุนและแหงแรกของโลกที่มีการนําเขา LNG มีการ

กระจายความเสี่ยงดวยการนําเขาจากหลายแหง เชน Alaska, Quatar, Australia (รวมลงทุนและ

ผลิต), Malaysia และ Indonesia เปนตน

สําหรับดานระบบความปลอดภัย TEPCO ปองกันภัยจากแผนดินไหวโดยการสราง

ถังเก็บชนิดฝงอยูใตดิน (Underground Storage Tank) ที่มีโครงสรางแข็งแรงมาก นอกจากนี้ยังมี

ระบบรักษาอุณหภูมิเพื่อปองกันการระเหยของ LNG ที่เรียกวา BOG (Boil Over Gas) ดวยระบบการ

หมุนเวียนเปลี่ยนถายของเหลว และการใชน้ําหลอเย็นกรณีฉุกเฉิน

เหตุผลที่ TEPCO พัฒนา LNG ก็เพื่อความมั่นคงของแหลงพลังงานที่จําเปนตองมี

การกระจายความเสี่ยงจากหลายแหง ปจจุบัน TEPCO ใช LNG ผลิตไฟฟาคิดเปน ๔๐% นิวเคลียร

๒๗% พลังงานน้ํา ๑๔% น้ํามันเตา ๑๗.๘% และถานหิน ๒%

โดยเหตุผลที ่ใชถานหินเพียง ๒% เนื ่องจากในอดีตพื ้นที ่เมืองโตเกียว ประสบ

ปญหามลภาวะมากประกอบกับเทคโนโลยีในการกําจัดฝุนละออง ฝุนกํามะถันและไนโตรเจนออกไซด

ยังไมพัฒนา จึงไดหยุดการใชถานหิน ตั ้งแตป ค.ศ. ๑๙๘๐ และหันมาใช LNG แทน ในพื ้นที ่อาว

โตเกียวมี LNG Terminal ทั้งหมด ๕ แหง สวนใหญใชสําหรับผลิตไฟฟา ตนทุนการผลิตไฟฟาจาก

LNG จะมีราคาสูงกวาการผลิตไฟฟาจากถานหินประมาณ ๓ เยนตอหนวย (ประมาณ ๑ บาท

ตอหนวย) โดยราคาไฟฟาฐานของญี่ปุ นจะตกประมาณ ๒๐ เยนตอหนวย (ประมาณ ๖.๕๐ บาท

ตอหนวย) ๕. ศึกษาดูงานดานความกาวหนาในการพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงาน

ทางเลือกของญี่ปุน คณะกรรมาธิการไดศึกษาดูงานนิทรรศการ PV Japan ๒๐๐๘ ณ TOKYO BIG

SIGHT ในวันเสารที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๕๑ ซึ่งเปนการจัดนิทรรศการดานพลังงานทดแทนของญี่ปุน โดยมี

บริษัทตาง ๆ ทางดานพลังงานแสงอาทิตยและพลังงานทดแทนอื่น ๆ เขารวมจัดนิทรรศการโชวผลงาน

และใหความรูแกผูเขารวมชมงานนิทรรศการ เชน พลังงานน้ํา พลังงานลม พลังงานเชื้อเพลิงชีวภาพ

รวมทั้งการแสดงรถยนต พลังงานทางเลือกตาง ๆ อาทิ รถยนตประหยัดพลังงาน รถยนตไฮบริดเซลล

เชื้อเพลิง รถไฟฟา และการพัฒนาแบตเตอรี่ข้ันสูง เปนตน

Page 165: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | ศึกษาดูงานตางประเทศของคณะกรรมาธิการ

๑๕๐

ในการจัดงานครั้งนี้ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีชั ้นสูงแหงชาติของ

ญี่ปุน (Advanced Institute of Science and Technology) ไดนําเสนอผลงานเกี่วกับการพัฒนาไบโอ

ดีเซลและรถยนตพลังงานทางเลือก (ใช DME : Di Methyl Ether เปนเชื้อเพลิง) ซึ่งเปนโครงการที่

กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของไทยไดมีสวนรวมในการพัฒนาดวย นับเปนการเผยแพร

ผลงานของประเทศไทยไดเปนอยางดีอีกทางหนึ่ง

Page 166: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

การจัดการสัมมนา

Page 167: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การจัดสัมมนา

๑๕๒

การจัดสัมมนา ๑. เผยแพรความรูรณรงคการใชพลงังานทดแทนในภูมิภาคตาง ๆ คณะกรรมาธิการไดจัดทําโครงการเผยแพรความรูรณรงคการใชพลังงานทดแทน

ในภูมิภาคตางๆ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเผยแพรความรูดานพลังงานและการใชพลังงานอยางมี

ประสิทธิภาพ และประหยัด รวมถึงการเลือกใชพลังงานทางเลือกใหเหมาะสมกับวิถีชีวิตของ

เกษตรกรในพื้นที่ตามภูมิภาคตางๆ โดยไดดําเนินการจัดสัมมนาในพื้นที่เปาหมาย ดังนี้

พื้นที่ภาคกลาง - จัดการสัมมนา ณ กรุงเทพมหานคร และนําคณะผูเขารวมสัมมนา

เดินทางไปศึกษาดูงาน ณ วสิาหกจิชุมชน จังหวัดระยอง

- จัดการสัมมนา ณ จงัหวัดสมุทรสาคร และนําคณะผูเขารวมสัมมนา

เดินทางไปศึกษาดูงานการผลิตกระแสไฟฟาจากพลังน้าํ ณ เขื่อน

วชิราลงกรณ จังหวัดกาญจนบุรี

- จัดการสัมมนา ณ จงัหวัดเพชรบุรี

พื้นที่ภาคเหนอื - จัดการสัมมนา ณ จังหวัดพะเยา และจังหวัดกําแพงเพชร

พื้นที่ภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ

- จัดการสัมมนา ณ จงัหวัดนครราชสีมา จงัหวัดชัยภูม ิจังหวัด

Page 168: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การจัดสัมมนา

๑๕๓

อุบลราชธานี จังหวัดมหาสารคาม จงัหวดัรอยเอ็ด จังหวัดยโสธร และ

จังหวัดสกลนคร

พื้นที่ภาคใต - จัดการสัมมนา ณ จงัหวัดตรัง และจังหวัดกระบี่

Page 169: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

| | การจัดสัมมนา

๑๕๔

๒. เชิงวิชาการระดมความคิด คณะกรรมาธิการไดจัดการสัมมนาเชิงวิชาการ “เร่ือง ทางเลือก : ทางรอดวิกฤต

พลังงานประเทศไทย” โดยมีวัตถุประสงคเพื่อระดมความคิดจากนักวิชาการ และผูแทนหนวยงาน

ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน และองคกรดานพลังงาน เพื่อเสนอขอคิดเห็นที่ไดจากการสัมมนาเสนอ

ตอฝายบริหารเพื่อรับไปพิจารณาและดําเนินการตอไป โดยไดดําเนินการจัดการสัมมนาในวันเสาร

ที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๑ ณ หองประชุมคณะกรรมาธิการ หมายเลข ๒๑๓ – ๒๑๖ ชั้น ๒ อาคาร

รัฐสภา ๒ โดยมีผูเขารวมสัมมนา จํานวน ๒๕๐ คน และนายแพทยวรรณรัตน ชาญนุกูล

รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน ไดใหเกียรติเปนประธานเปดการสัมมนาและรวมบรรยายใน

หัวขอ “ทางเลือก : ทางรอดวิกฤตพลังงานประเทศไทย”

Page 170: สภาผู แทนราษฎร ๑ ถึงวันที่๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ fileคํานํา บทบัญญัติรัฐธรรมน

ผูรับผิดชอบ :

คณะกรรมาธิการการพลังงาน สภาผูแทนราษฎร

จัดทําโดย : กลุมงานคณะกรรมาธิการการพลังงาน

สํานักกรรมาธิการ ๑ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร ๓๒๗ อาคารดีพรอม ถนนสุโขทัย เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๒๔๔ ๒๖๖๓ โทรสาร ๐ ๒๒๔๔ ๒๖๖๔

E-mail : [email protected] Website : www.parliament.go.th

ออกแบบ : กลุมงานคณะกรรมาธิการการพลังงาน

สํานักกรรมาธิการ ๑ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร