2
ไพรเมตชนิดใหม่ของโลก ที่เหมืองถ่านหินกระบีชื่อ : ไพรเมตกระบีสถานที่ : เหมืองถ่านหิน อ.เหนือคลอง จ.กระบีการค้นพบล่าสุดได้ค้นพบไพรเมตชนิดใหม่ซึ่งมีขนาดเล็กมาก ตั้งชื่อว่า Muangthanhinius siami (เหมืองถ่านหินเนียสสยามมิ) โดยชื่อสกุล Muangthanhinius คือ เหมืองถ่านหิน ส่วนชื่อชนิด siami ตั้งขึ้นเพื่อให้เกียรติ แก่ประเทศไทย ฟอสซิลที่พบใหม่มีลักษณะพิเศษ คือ เป็นกรามของไพรเมตจ�าพวก อะเดปิดขนาดเล็ก มีน�้าหนักตัวประมาณ 365 กรัม จัดอยู่ใน suborder Strepsirrhine ซึ่งเป็นกลุ่มของลีเมอร์ และลิงลมในปัจจุบัน สุสานหอย 45 ล้านปี หลักฐานทางธรณีวิทยาที่ส�าคัญอีกแห่งหนึ่งของโลกที่พบใน จ.กระบี่ คือ สุสานหอย 45 ล้านปี ท่มีซากดึกด�าบรรพ์ ของหอยน�้าจืดชนิดต่าง ๆ สันนิษฐานว่าเมื่อหลายล้านปีก่อน บริเวณนี้เป็นหนองน�้าขนาดใหญ่ที่มีหอยอาศัยอยู่เป็น จ�านวนมาก โดยเฉพาะหอยขม ต่อมาเกิดการเปลี่ยนแปลงบริเวณพื้นผิวโลก น�้าทะเลไหลเข้ามาท่วมบริเวณหนองน�้า จนหมด ท�าให้ธาตุหินปูนในน�้าทะเลหล่อเปลือกหอยใต้น�้าจนเป็นเนื้อเดียวกัน กลายเป็นแผ่นหินแข็ง หนาประมาณ 40 ซ.ม. เมื่อแผ่นดินบริเวณนี้ถูกยกตัวสูงขึ้น ซากฟอสซิลเหล่านี้จึงปรากฎให้เห็นเป็นลานหินกว้างใหญ่อยู่เหนือ ชั้นของถ่านหินลิกไนต์ และหินดินดาน ซึ่งสุสานหอยอายุหลายล้านปีน้ มีเพียง 3 แห่งในโลก คือ ที่ประเทศ สหรัฐอเมริกา ประเทศญี่ปุ่น และประเทศไทย ด้วยลักษณะธรณีวิทยาและ เปลี ่ยนแปลงของเปลือกโลก มีการทับถม ของชั้นหิน ก่อให้เกิดทรัพย์ในดินอันอุดม สมบูรณ์มากมาย โดยเฉพาะที่บริเวณคลอง บางปูด�า อ.เหนือคลอง จ.กระบี่ ซึ่งนับตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2447 ได้มีการขุดส�ารวจพบถ่านหิน “ลิกไนต์” ทรัพยากรส�าคัญ อันน�าไปสู่การ เป็นแหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้าส่องสว่างแก่ชาวกระบี่และพี่น้องภาคใต้ต่อเนื่อง มานานจนถึงปี พ.ศ.2538 ประเภทของถ่านหินตามอายุและคุณภาพ โรงไฟฟ้ากระบี112 หมู่ 2 ต.คลองขนาน อ.เหนือคลอง จ.กระบี่ 81130 โทรศัพท์ 075-635033 โทรสาร 075-635033 ภาพชีทีสแกนฟอสซิล สภาพแวดล้อมสมัยอีโอชีน ของแอ่งกระบีห้องแสดงซากดึกด�าบรรพ์ โรงไฟฟ้ากระบี

ไพรเมตชนิดใหม่ของโลก ที่เหมืองถ่านหินกระบี่krabi.egat.co.th/home/images/PDF/kbi-fossil.pdf · ก้าวเข้าสู่

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ไพรเมตชนิดใหม่ของโลก ที่เหมืองถ่านหินกระบี่krabi.egat.co.th/home/images/PDF/kbi-fossil.pdf · ก้าวเข้าสู่

ไพรเมตชนิดใหม่ของโลก ที่เหมืองถ่านหินกระบี่

ชื่อ : ไพรเมตกระบี่สถานที่ : เหมืองถ่านหิน อ.เหนือคลอง จ.กระบี่

การค้นพบล่าสุดได้ค้นพบไพรเมตชนิดใหม่ซึ่งมีขนาดเล็กมาก ตั้งชื่อว่าMuangthanhinius siami (เหมืองถ่านหินเนียสสยามมิ) โดยชื่อสกุล Muangthanhinius คอื เหมอืงถ่านหนิ ส่วนชือ่ชนดิ siami ตัง้ขึน้เพือ่ให้เกยีรติแก่ประเทศไทย

ฟอสซิลที่พบใหม่มีลักษณะพิเศษ คือ เป็นกรามของไพรเมตจ�าพวกอะเดปิดขนาดเล็ก มีน�้าหนักตัวประมาณ 365 กรัม จัดอยู่ใน suborder Strepsirrhine ซึ่งเป็นกลุ่มของลีเมอร์และลิงลมในปัจจุบัน

สุสานหอย 45 ล้านปี

หลักฐานทางธรณีวิทยาที่ส�าคัญอีกแห่งหนึ่งของโลกที่พบใน จ.กระบี่ คือ สุสานหอย 45 ล้านปี ที่มีซากดึกด�าบรรพ์ของหอยน�้าจืดชนิดต่าง ๆ สันนิษฐานว่าเมื่อหลายล้านปีก่อน บริเวณนี้เป็นหนองน�้าขนาดใหญ่ที่มีหอยอาศัยอยู่เป็นจ�านวนมาก โดยเฉพาะหอยขม ต่อมาเกิดการเปลี่ยนแปลงบริเวณพื้นผิวโลก น�้าทะเลไหลเข้ามาท่วมบริเวณหนองน�้าจนหมด ท�าให้ธาตหุนิปนูในน�า้ทะเลหล่อเปลอืกหอยใต้น�า้จนเป็นเนือ้เดยีวกนั กลายเป็นแผ่นหนิแขง็ หนาประมาณ 40 ซ.ม.

เมื่อแผ่นดินบริเวณนี้ถูกยกตัวสูงขึ้น ซากฟอสซิลเหล่านี้จึงปรากฎให้เห็นเป็นลานหินกว้างใหญ่อยู่เหนือชั้นของถ่านหินลิกไนต์ และหินดินดาน ซึ่งสุสานหอยอายุหลายล้านปีนี้ มีเพียง 3 แห่งในโลก คือ ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศญี่ปุ่น และประเทศไทย

ด ้ ว ย ลั ก ษ ณ ะ ธ ร ณี วิ ท ย า แ ล ะเปล่ียนแปลงของเปลือกโลก มีการทับถมของชั้นหิน ก่อให้เกิดทรัพย์ในดินอันอุดมสมบูรณ์มากมาย โดยเฉพาะท่ีบริเวณคลองบางปูด�า อ.เหนือคลอง จ.กระบี่ ซึ่งนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2447 ได้มีการขุดส�ารวจพบถ่านหิน “ลิกไนต์” ทรัพยากรส�าคัญ อันน�าไปสู่การเป็นแหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้าส่องสว่างแก่ชาวกระบีแ่ละพีน้่องภาคใต้ต่อเนือ่งมานานจนถึงปี พ.ศ.2538

ประเภทของถ่านหินตามอายุและคุณภาพ

โรงไฟฟ้ากระบี่ 112 หมู่ 2 ต.คลองขนาน อ.เหนือคลอง จ.กระบี่ 81130โทรศัพท์ 075-635033 โทรสาร 075-635033

ภาพชีทีสแกนฟอสซิล

สภาพแวดล้อมสมัยอีโอชีนของแอ่งกระบี่

ห้องแสดงซากดึกด�าบรรพ์โรงไฟฟ้ากระบี่

Page 2: ไพรเมตชนิดใหม่ของโลก ที่เหมืองถ่านหินกระบี่krabi.egat.co.th/home/images/PDF/kbi-fossil.pdf · ก้าวเข้าสู่

โลกยุคดึกด�าบรรพ์

ในโลกสมัยบรรพกาล 65 ล้านปีที่แล้ว หลังการสูญพันธุ์ของไดโนเสาร์ใน “มหายุคมีโซโซอิก” โลกได้ก้าวเข้าสู ่“มหายคุซีโนโซอกิ” ซ่ึงมคีวามหมายว่าชีวติใหม่ เป็นยคุทีเ่กดิสตัว์เลีย้งลกูด้วยนมอย่างแพร่หลายไม่ว่าจะเป็น บ่าง ไพรเมต สัตว์กินเนื้อ สัตว์กีบ หนู เต่า ปลา จระเข้ และงู

เมื่อสัตว์เหล่านี้ล้มตายลง เนื้อเยื่อต่างๆ ย่อยสลายหายไป เหลือเพียงซากส่วนที่แข็งที่สุดอย่างฟันและกระดูก เมื่อกระแสน�้า กระแสลมได้พัดพาเอาตะกอนหินดินทรายมาทับถม ปิดทับ จนอากาศไม่สามารถเข้าถึงได้ เวลาที่ผันผ่านไปนับล้านปี กระดูกและฟัน เหล่านี้จึงแปรสภาพกลายเป็นฟอสซิลหรือ “ซากดึกด�าบรรพ์”

ฟอสซลิจงึเป็นซากหรอืร่องรอยของส่ิงมชีีวติในอดตีทีป่ระทบัอยูใ่นหนิ บางแห่งเป็นรอยพมิพ์ บางแห่งกม็ซีากเดมิปรากฏอยู่ รอยตีนสัตว์ มูลสัตว์ ถ่านหิน ไม้กลายเป็นถ่านหิน ซากสิ่งมีชีวิตหากถูกฝังกลบในตัวกลางที่สามารถป้องกัน

การเน่าเปื่อย ผุพัง หรือถูกท�าลายจากสิ่งมีชีวิตอื่น ท�าให้ถูกเก็บรักษาในหินมาจนถึงปัจจุบัน

ซากบรรพชีวิน หรือฟอสซิล ที่พบในเหมืองถ่านหิน กฟผ.

ในปี พ.ศ.2504 กรมทรัพยากรธรณี ประเทศไทยและมหาวิทยาลัยมงต์เปลลิเย่ร์ ประเทศฝรั่งเศส ได้ส�ารวจซากสิ่งมีชีวิตมีกระดูกสันหลังโบราณหลายชนิดจากเหมืองถ่านหินลิกไนต์ อ.เหนือคลอง จ.กระบี่ มีการขุดค้นพบซากดึกด�าบรรพ์ครั้งส�าคัญเป็นซากดึกด�าบรรพ์ของลิงชนิดใหม่ของโลกที่มีสายพันธุ์เดียวกับมนุษย์ในปัจจุบัน มีชื่อว่า “สยามโมพิเทคัสอีโอซีนัส” ซากส่วนที่พบเป็นกรามและฟัน มีอายุเก่าแก่นานกว่า 35-37 ล้านปี การค้นพบนี้ได้สร้างข้อสันนิษฐานใหม่เกี่ยวกับต้นก�าเนิดของมนุษย์ ว่าน่าจะมีศูนย์กลางของวิวัฒนาการในทวีปเอเชียและขยายไปทั่วโลก

ต่อมาในปี พ.ศ. 2533 ได้ขุดพบซากดึกด�าบรรพ์ของเสือเขี้ยวดาบครั้งแรกในประเทศไทย มีอายุเก่าแก่กว่า 40 ล้านปี รับรองโดยมหาวิทยาลัยมงต์เปลลิเย่ร์ แห่งประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเสือเขี้ยวดาบนั้นถือเป็นสัตว์ดึกด�าบรรพ์เลี้ยงลูกด้วยนมที่สูญพันธุ์ไปแล้วกว่า 10,000 ปี ที่เรียกว่าเสือเขีย้วดาบเพราะเขีย้วข้างบนของเสอืชนิดนีม้ลีกัษณะแบนและโค้งเหมอืนมดีดาบ สามารถจูโ่จมเหยื่อได้ดเุดอืดและฉกีกระชากด้วยฟนัทีแ่หลมคมและฉับไว

นอกจากนี้ ก็ยังมีการขุดค้นพบซากดึกด�าบรรพ์อื่นๆ อีกมากมาย ส่วนใหญ่เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประมาณ 27 ชนิด สัตว์เลื้อยคลานจ�าพวกงู เต่า จระเข้ 6 ชนิด ซากดึกด�าบรรพ์ของหอย ปลาชนิดต่างๆ ซากดึกด�าบรรพ์ของสมเสร็จ กระจง หนู รวมถึงสัตว์ต้นตระกูลเก่าแก่ที่สุดของฮิปโปโปเตมัส รวมถึงยังพบซากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ใบเลี้ยงคู่ ตลอดจนถึงซากของต้นไม้กลายเป็นถ่านหินอายุ 35 ล้านปีที่ยาวและสมบูรณ์ที่สุดเท่าที่เคยพบมา

โรงไฟฟ้ากระบี่จึงได้รับการยอมรับว่าเป็นแหล่งเรียนรู้และศึกษาซากดึกด�าบรรพ์ของสิ่งมีชีวิตที่ส�าคัญแห่งหนึ่งของประเทศ

ประโยชน์ของซากดึกด�าบรรพ์ที่นอกจากเป็นหลักฐานส�าคัญของสิ่งมีชีวิตในอดีตแล้ว ยังช่วยให้นักธรณีวิทยาสามารถก�าหนดอายุของชั้นหินในบริเวณที่พบได้อีกด้วย ๏

ซากปลา ซากใบปาล์ม

ซากหอย ซากกระดองเต่า

ซากพืชใบเลี้ยงคู่