13
คณะวิชาช่างยนต์ เสนอโดย อาจารย์ จักรพงษ์ แจ้งเมือง

คณะวิชาช่างยนต์ · ปลายหัวบัดกรี บัดกรีด้วยตะไบ 3. ท าความสะอาดชิ้นงานด้วยแปรงลวด

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คณะวิชาช่างยนต์ · ปลายหัวบัดกรี บัดกรีด้วยตะไบ 3. ท าความสะอาดชิ้นงานด้วยแปรงลวด

คณะวิชาช่างยนต์

เสนอโดยอาจารย์ จักรพงษ์ แจ้งเมือง

Page 2: คณะวิชาช่างยนต์ · ปลายหัวบัดกรี บัดกรีด้วยตะไบ 3. ท าความสะอาดชิ้นงานด้วยแปรงลวด
Page 3: คณะวิชาช่างยนต์ · ปลายหัวบัดกรี บัดกรีด้วยตะไบ 3. ท าความสะอาดชิ้นงานด้วยแปรงลวด

1. การย ้าหมุด(Reveting)

เป็นการต่อยึดชิ้นงานอีกวิธีหนึ่งที่ไม่ท าให้วัสดุบิดตัวจากความร้อน การยึดด้วยหมุดจะท าการเจาะชิ้นงานก่อนจากนั้นน าหมุดมาสอดในรูที่เจาะช้ินงาน ก่อนจากนั้นน าหมุดมาสอดรูที่เจาะจากนั้น ตีด้วยค้อนหรือเครื่องมือย้ าหมุด วัสดุที่ใช้ท าหมุดได้แก่ทองเหลือง อะลูมิเนียม ทองแดง และเหล็ก หมุดย้ าประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนหัว(Head)และล าตัว(Shank)โดยความยาวของหมุดย้ าจะเป็นสัดส่วนคงตัวกับความโตของหมุดย้ า

ภาพที่ 10.1 แสดงลักษณะของหัวหมุดย้ าแบบต่าง ๆ

หลักส้าคัญในการย ้าหมุด คือ

1. ขนาดรูเจาะต้องโตกว่าล าตัวหมุด 0.08 - 04 มม.

2. รูเจาะต้องห่างจากขอบงานไม่น้อยกว่า 2 เท่า ของล าตัวหมุดย้ า

Page 4: คณะวิชาช่างยนต์ · ปลายหัวบัดกรี บัดกรีด้วยตะไบ 3. ท าความสะอาดชิ้นงานด้วยแปรงลวด

3. ระยะห่าง ของหมุดแต่ละตัวไม่น้อยกว่า 3 เท่าของล าตัวหมุดย้ า

4. ปลายหมุดย้ าที่โผล่จากชิ้นงานประมาณ 1-1/2 เท่าของล าตัวหมุดย้ า

รูปที่ 10.2 แสดงต าแหน่งการเจาะรูบนรอยต่อของโลหะแผ่น

ล้าดับขั นตอนการย ้าหมุด

รูปที่ 10.3 แสดงขั้นตอนการย้ าหมุด

Page 5: คณะวิชาช่างยนต์ · ปลายหัวบัดกรี บัดกรีด้วยตะไบ 3. ท าความสะอาดชิ้นงานด้วยแปรงลวด

2. หลักการบัดกรีอ่อน(Soldering)

เป็นการประสานโลหะโดยให้ความร้อนกับชิ้นงาน โดยใช้หัวแร้งแบบเผาแช่หรือหัวแร้งแบบไฟฟ้า โลหะประสานใช้ตะกั่วโดยใช้น้ ากรดเป็นน้ ายาประสานและท าความสะอาดชิ้นงาน

ภาพที่ 10.4 แสดงการบัดกรีอ่อนด้วยหัวแร้งเผาแร่

3. เครื่องมือและอุปกรณ์ส้าหรับการบัดกรีอ่อนด้วยหัวบัดกรีโลหะ

3.1 หัวแร้งบัดกรี(Soldering Iron)

Page 6: คณะวิชาช่างยนต์ · ปลายหัวบัดกรี บัดกรีด้วยตะไบ 3. ท าความสะอาดชิ้นงานด้วยแปรงลวด

3.1.1 หัวบัดกรีที่ไม่เกิดความร้อนด้วยตัวเอง

ภาพที่ 10.5 แสดงวิธีการให้ความร้อนหัวบัดกรีชนิดไม่เกิดความร้อนด้วยตัวเองและเตาเผา

3.1.2 หัวบัดกรีชนิดที่เกิดความร้อนด้วยตัวเอง

ภาพที่ 10.6 หัวบัดกรีชนิดที่เกิดความร้อนด้วยตัวเอง

Page 7: คณะวิชาช่างยนต์ · ปลายหัวบัดกรี บัดกรีด้วยตะไบ 3. ท าความสะอาดชิ้นงานด้วยแปรงลวด

ภาพที่ 10.7 หัวบัดกรีชนิดที่เกิดความร้อนด้วยตัวเอง(หัวบัดกรีไฟฟ้า)

3.4 วัสดุช่วยประสาน

ตารางที่ 10.4 ชนิดของฟลั๊กซ์ในการบัดกรีอ่อนและการใช้งาน

ชนิดของฟลั๊กซ์ การใช้งาน

สังกะสีคลอไรด์

แอมโมเนียคลอไรด์

ฟลั๊กซ์ที่ใช้อยู่ทั่วไปเหมาะส าหรับบัดกรีเหล็กกล้า ทองแดง ทองเหลือง ดีบุกใช้ส าหรับบัดกรีเหล็กหล่อ ทองแดง ทองเหลือง

Page 8: คณะวิชาช่างยนต์ · ปลายหัวบัดกรี บัดกรีด้วยตะไบ 3. ท าความสะอาดชิ้นงานด้วยแปรงลวด

ชนิดของฟลั๊กซ์ การใช้งาน

กรดไฮโดรคลอริก

กรดฟอสฟอริก

สังกะสีคลอไรด์ 10%และแอมโมเนียมคลอไรด์ 90%

ใช้ส าหรับบัดกรีสังกะสี แผ่นเหล็กอาบสังกะสีใช้ส าหรับบัดกรีเหล็กกล้า ทองแดง ทองเหลืองใช้ส าหรับบัดกรีงานบัดกรีที่อุณหภูมิต่ า

ภาพที่ 10.9 แสดงปฏิกิริยาของฟลั๊กซ์ขณะท าการบัดกรี

Page 9: คณะวิชาช่างยนต์ · ปลายหัวบัดกรี บัดกรีด้วยตะไบ 3. ท าความสะอาดชิ้นงานด้วยแปรงลวด

4.รอยต่อส้าหรับงานบัดกรีอ่อน

ภาพที่ 10.10 แสดงแบบรอยต่องานบัดกรีอ่อน

5. ขั นตอนการบัดกรีชิ นงาน

1. เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ให้พร้อม

2. แต่งหัวบัดกรีด้วยค้อนหรือตะไบให้เรียบ

Page 10: คณะวิชาช่างยนต์ · ปลายหัวบัดกรี บัดกรีด้วยตะไบ 3. ท าความสะอาดชิ้นงานด้วยแปรงลวด

ภาพที่ 10.11 การใช้ค้อนแท่ง ภาพที่ 10.12 ตกแต่งหัวบัดกรี ปลายหัวบัดกรี บัดกรีด้วยตะไบ

3. ท าความสะอาดชิ้นงานด้วยแปรงลวด

4. ทาน้ ายาประสานบนขอบตะเข็บและท าความสะอาดหัวบัดกรี

ภาพที่ 10.13 การท าน้ ายาประสานบนขอบตะเข็บ ภาพที่ 10.14 การท าความสะอาดหัวบัดกรี

Page 11: คณะวิชาช่างยนต์ · ปลายหัวบัดกรี บัดกรีด้วยตะไบ 3. ท าความสะอาดชิ้นงานด้วยแปรงลวด

5. น าหัวบัดกรีไปเผาให้ความร้อนในเตาหรือเสียบปลั๊กไฟ แต่ไม่ควรให้ร้อนจัดเกินไปเพราะจะท าให้ตะกั่วหยดตัว

ภาพที่ 10.15 การเผาให้ความร้อนหัวบัดกรี

6. น าชิ้นงานวางบนแท่งรอง

ภาพที่ 10.16 การวางชิ้นงานบนแท่นรอง

Page 12: คณะวิชาช่างยนต์ · ปลายหัวบัดกรี บัดกรีด้วยตะไบ 3. ท าความสะอาดชิ้นงานด้วยแปรงลวด

7. การหลอมละลายโลหะบัดกรี

ภาพที่ 10.17 การใช้ปลายหัวแรงแตะกับแท่งโลหะบัดกรี

8. ท้าการบัดกรีด้านปลายของชิ นงานก่อน

ภาพที่ 10.18 การบัดกรีปลายของชิ้นงาน 2 ด้าน

Page 13: คณะวิชาช่างยนต์ · ปลายหัวบัดกรี บัดกรีด้วยตะไบ 3. ท าความสะอาดชิ้นงานด้วยแปรงลวด

9. บัดกรีชิ นงานจากปลายด้านหนึ่งไปอีกด้านหนึ่ง

ภาพที่ 10.19 การบัดกรีขอบตะเข็บ