64
เอกสารว ชาการ เอกสารว ชาการ 35 35/ 2549 2549 าน กประก นค ณภาพ มหาว ทยาล ยเกษตรศาสตร าน กประก นค ณภาพ มหาว ทยาล ยเกษตรศาสตร าน กประก นค ณภาพ มหาว ทยาล ยเกษตรศาสตร Office of Quality Assurance Kasetsart University 9 อาคารสารน เทศ 50 มหาว ทยาล ยเกษตรศาสตร โทรศ พท 0 2942 8299 ( สายตรง ), 0 2942 8200 ภายใน 4920 – 24 โทรสาร 0 2942 8299 Home Page : //www.qa.ku.ac.th e-mail : [email protected]

ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

เอกสารวิชาการ เอกสารวิชาการ 3535//25492549สํานักประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรสํานักประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

สํานักประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรOffice of Quality Assurance Kasetsart University

ชั้น 9 อาคารสารนิเทศ 50 ป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรโทรศัพท 0 2942 8299 (สายตรง), 0 2942 8200 ภายใน 4920 – 24 โทรสาร 0 2942 8299

Home Page : //www.qa.ku.ac.th e-mail : [email protected]

Page 2: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

คํานําคํานํา

คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับมหาวิทยาลัยประจําป 2549 ไดรับมอบหมายจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรใหดําเนินการประเมินคุณภาพภายในกลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพตามผลการดําเนินงานในรอบปการศึกษา 2548 (1 มิถุนายน 2548 – 31 พฤษภาคม 2549) ระหวางวันที่4 ตุลาคมถึง 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 เพื่อใหเกิดการพัฒนาและปรับปรุงใหมีประสิทธิภาพอยางตอเนื่อง

คณะกรรมการประเมินฯหวังเปนอยางยิ่งวาผลการประเมินคุณภาพครั้งนี้ จะเปนประโยชน โดยตรงตอกลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ และเกิดประโยชนโดยรวมตอมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับมหาวิทยาลัย กคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับมหาวิทยาลัย กลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ

ประธานคณะกรรมการ............................................................... ..................(อ.ดร.จีรศักดิ์ พงษพิษณุพิจิตร)คณบดีคณะเศรษฐศาสตร

รองประธานกรรมการ..........................................................................................(รศ.ดร.อภิสิฏฐ ศงสะเสน)คณะวิทยาศาสตร

กรรมการ...............................................................................................................(รศ.ศิริภัทรา เหมือนมาลัย)คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร

กรรมการ.......................................................................................................... .......(ผศ.ดร.สุนันทา จันทกูล)คณะเกษตร

กรรมการ...................................................................................................................(ผศ.ชาติชาย อมิตรพาย)คณะศึกษาศาสตร

เลขานุการ..................................................................................................................(นายธเนศ ดาวรุงโรจน)สํานักประกันคุณภาพ

ผูชวยเลขานุการ...................................................................................................(นางสาวเพชรรัตน โชครุง)สํานักประกันคุณภาพ

วันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549

Page 3: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

สารบัญสารบัญ

หนาบทสรุปสําหรับผูบริหาร (Executive Summary) ......................................................................................... 1สวนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานของกลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ............................................ 10คณะสัตวแพทยศาสตร.................................................................................................................... 10คณะเทคนิตการสัตวแพทย.............................................................................................................. 12คณะวิทยาศาสตรการกีฬา............................................................................................................... 16

สวนที่ 2 ขอมูลผลการประเมินของกลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ................................. 18วัตถุประสงค................................................................................................................................... 18วิธีการดําเนินงาน............................................................................................................................ 18กําหนดการประเมิน........................................................................................................................ 19ผลการประเมินคุณภาพภายใน........................................................................................................ 23ผลการดําเนินงานของกลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศสตรสุขภาพ

แยกตามองคประกอบคุณภาพ......................................................................................................... 27สวนที่ 3 การติดตามผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาปรับปรุง............................................................... 46ภาคผนวก.................................................................................................................................................... 47

ภาคผนวกที่ 1 ผลประเมินกลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ ประจําป 2549ระหวางวันที่ 4 ตุลาคม – 7 พฤศจิกายน 2549......................................................... 48

ภาคผนวกที่2 ภาพกิจกรรมการประเมินคุณภาพภายในของกลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ ประจําป 2549................................................................. 60

Page 4: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

1

บทสรุปสําหรับผูบริหาร (Executive Summary)

รายงานนี้เปนการสรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของกลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพประจําป 2549 ซึ่งประกอบดวย3 หนวยงาน คือคณะสัตวแพทยศาสตร คณะเทคนิคการสัตวแพทยและคณะวิทยาศาสตรการกีฬา โดยมีวัตถุประสงคดังนี้

1. เพื่อติดตามผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาปรับปรุงของคณะสัตวแพทยศาสตร และการพัฒนาปรับปรุงในระบบการประกันคุณภาพ

2. ตรวจสอบระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในของคณะเทคนิคการสัตวแพทย และวิทยาศาสตรการกีฬา ตามองคประกอบคุณภาพ ตามขอกําหนดและดัชนีของมหาวิทยาลัย

3. เพื่อดูพัฒนาการตามดัชนีมาตรฐาน รวมทั้งประเมินคุณภาพตามดัชนีและเกณฑประเมินที่มหาวิทยาลัยกําหนด

4. เพื่อวิเคราะหจุดแข็งจุดออน และใหขอเสนอแนะเพิ่มเติมในการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพของหนวยงานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

โดยมีแนวทางการประเมินคุณภาพภายใน เพื่อพิจารณาประเด็นเพิ่มเติมที่สอดคลองกับการดําเนินงานและตอบสนองกับการประกันคุณภาพภายใน และการประกันคุณภาพภายนอก ของ สมศ. และ ก.พ.ร. ในเรื่อง

1. การบริหารหลักสูตร และกระบวนการเรียนการสอน2. ประสิทธิผลตามพันธกิจ ทั้ง 4 ดานของมหาวิทยาลัย3. ศักยภาพในการดําเนินงานของหนวยงานที่นําไปสูวิสัยทัศนของหนวยงาน และตอบสนอง

นโยบายของมหาวิทยาลัยฯ การประเมินคุณภาพภายในของกลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ ไดดําเนินการ

ระหวางวันที่ 4 ตุลาคม– 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 รวมเวลาประเมินฯ 6 วันทําการโดยคณะกรรมการฯ ไดประเมินคุณภาพจากคูมือการประกันคุณภาพ รายงานการประเมินตนเอง (SAR) และรายงานประจําป ตามรอบปการศึกษา 2548 (1 มิถุนายน 2548 - 31 พฤษภาคม 2549)

สําหรับการประเมินคุณภาพภายในครั้งนี้ คณะกรรมการฯ ไดดําเนินงานตามวัตถุประสงคที่กําหนดเพื่อใหหนวยงานสามารถพัฒนาคุณภาพการดําเนินงานไดอยางตอเนื่อง สอดรับกับนโยบายและสถานการณที่เปลี่ยนแปลงทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย เพื่อกอใหเกิดประโยชนสูงสุดสําหรับการพัฒนามหาวิทยาลัย ซึ่งผลการดําเนินงานเปนไปตามวัตถุประสงค โดยคาเฉลี่ยผลการประเมินฯ ทั้ง 9องคประกอบของกลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพไดระดับคะแนน 3.54 อยูในเกณฑดี สําหรับรายละเอียดผลการประเมินฯ รายคณะวิชาในกลุมสาขาฯ ประกอบดวย คณะสัตวแพทยศาสตรไดระดับคะแนน 4.01 อยูในเกณฑดี คณะเทคนิคการสัตวแพทย ไดระดับคะแนน 2.80 อยูในเกณฑปานกลางและคณะวิทยาศาสตรการกีฬาไดระดับคะแนน 3.81 อยูในเกณฑดี

Page 5: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

2

นอกจากนี้คณะกรรมการฯ ไดมีการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน และขอเสนอแนะเพิ่มเติม เพื่อเปนแนวทางใหหนวยงานมีการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ดังนี้กลุมสัตวแพทยศาสตรจุดแข็ง

1. มีหนวยบริการทางวิชาการที่เขมแข็ง เชน ศูนยการเรียนรูและการจัดระเบียบสุนัข ฟารมสัตวเศรษฐกิจ หนวยงานชันสูตรโรคสัตว หนวยงานสัตวทดลอง สระสุวรรณชาด และโรงพยาบาลสัตวทั้ง 3 แหง ที่เปนที่รูจักและมีชื่อเสียง ทําใหเกิดภาพลักษณที่ดีของมหาวิทยาลัย

2. มีผลงานวิจัยที่นําไปใชเปนตนแบบในภาคเอกชนและภาครัฐ3. มีศักยภาพในการหาเงินสนับสนุนการวิจัยจากหนวยงานภายนอกมหาวิทยาลัย4. มีโครงการ/กิจกรรม เพื่อสงเสริมการพัฒนานิสิตอยางตอเนื่องและครบทุกดาน ทําใหบัณฑิตหา

งานทําไดงายและสามารถปรับตัวไดดี เมื่อไปประกอบอาชีพจุดออน

1. การกําหนดแผนงานไมไดระบุระยะเวลาดําเนินการ ผูรับผิดชอบ และการประเมินโครงการ2. การเก็บขอมูลหลักฐานของคณะยังไมถูกตองและสอดคลองกับดัชนีฯ ขอมูลที่ปรากฏในรายงาน

การประเมินตนเองสวนมากไมตรงกับขอมูลจริง3. มีขอจํากัดดานงบประมาณในการพัฒนา (คณะเทคนิคการสัตวแพทย)4. หนวยงานยอยสวนใหญยังไมมีการประเมินผูบริหาร

ขอเสนอแนะระดับคณะ1. ควรกําหนดแผนงานระยะสั้นและระยะยาว ผูรับผิดชอบ และมีการประเมินโครงการ2. ควรใหทุกหนวยงานยอยมีการรวบรวมขอมูลอยางเปนระบบและถูกตองสอดคลองกัน3. ขออัตราอาจารยและงบประมาณเพิ่มขึ้น (คณะเทคนิคการสัตวแพทย)4. ควรมีการประเมินผูบริหารใหครบทุกหนวยงานยอย

ขอเสนอแนะระดับมหาวิทยาลัย1. จัดสรรอัตรากําลังอาจารยประจําและงบประมาณเพิ่มขึ้น เพื่อใหเหมาะสมกับภาระงาน (คณะ

เทคนิคการสัตวแพทย)2. มหาวิทยาลัยควรมีระบบการใหบริการคําปรึกษาดานการประกันคุณภาพในระดับปฏิบัติการ

Page 6: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

3

องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนงานจุดแข็ง

-จุดออน

1. การกําหนดแผนงานไมไดระบุระยะเวลาดําเนินการ ผูรับผิดชอบ ขาดการติดตามและการประเมินแผน/โครงการ

ขอเสนอแนะ1. ควรวางระบบการจัดทําและติดตามแผนที่ชัดเจนและตรวจสอบได ทั้งแผนระยะสั้นและระยะยาว

องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอนจุดแข็ง

1. มีจํานวนรายวิชาที่เนนผูเรียนเปนสําคัญสูง เนื่องจากสวนใหญเปนวิชาที่มีปฏิบัติการ2. ภาวะการไดงานทําของนิสิตหลังจบการศึกษาสูง 3. มีความพรอมในปจจัยเกื้อหนุน

จุดออน1. การบริหารจัดการหลักสูตรยังไมสมบูรณ2. สัดสวนของอาจารยที่มีตําแหนงทางวิชาการมีนอย3. โครงการวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนมีนอย

ขอเสนอแนะ1. คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ควรกํากับดูแลการบริหารจัดการหลักสูตรใหครบถวนตาม

กระบวนการ2. ควรสงเสริมใหอาจารยขอตําแหนงทางวิชาการ3. ควรจัดทําโครงการวิจัยสถาบัน เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนใหครอบคลุมรายวิชาให

มากขึ้น

องคประกอบที่ 3 การพัฒนานิสิตจุดแข็ง

1. มีโครงการ/กิจกรรม เพื่อสงเสริมการพัฒนานิสิตอยางตอเนื่องและครบทุกดานจุดออน

1. ระบบอาจารยที่ปรึกษายังไมสมบูรณขอเสนอแนะ

1. ควรพัฒนาระบบอาจารยที่ปรึกษาใหสมบูรณ2. อาจารยควรเขารวมกิจกรรมกับนิสิตใหมากขึ้น

Page 7: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

4

องคประกอบที่ 4 การวิจัยจุดแข็ง

1. มีผลงานวิจัยที่นําไปใชเปนตนแบบในภาคเอกชนและภาครัฐ2. ไดรับการสนับสนุนเงินวิจัยจากภาคเอกชน

จุดออน1. การจัดสรรงบประมาณสนับสนุนงานวิจัยของคณะยังอยูในสัดสวนที่นอย เมื่อเทียบกับเงินรายได

ขอเสนอแนะ1. ควรพิจารณาจัดสรรเงินรายได เพื่อการทําวิจัยในสัดสวนที่เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับเงินรายได

องคประกอบที่ 5 การใหบริการทางวิชาการแกสังคมจุดแข็ง

1. มีหนวยบริการทางวิชาการที่เขมแข็ง เชน ศูนยการเรียนรูและการจัดระเบียบสุนัข ฟารมสัตวเศรษฐกิจ หนวยงานชันสูตรโรคสัตว หนวยงานสัตวทดลอง สระสุวรรณชาด และโรงพยาบาลสัตวทั้ง 3 แหง ที่เปนรูจักและมีชื่อเสียง ทําใหเกิดภาพลักษณ ที่ดีของมหาวิทยาลัย

จุดออน1. ขาดการประเมินโครงการบริการวิชาการอยางเปนระบบ

ขอเสนอแนะ1. ควรมีการประเมินโครงการบริการวิชาการอยางเปนระบบ

องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมจุดแข็ง

-จุดออน

1. ขาดการประเมินโครงการและกิจกรรมที่ดําเนินการ ขอเสนอแนะ

1. ควรมีการประเมินผลโครงการและกิจกรรมที่ดําเนินการองคประกอบที่ 7 การบริหารจัดการจุดแข็ง

-จุดออน

1. หนวยงานยอยสวนใหญยังไมมีการประเมินผูบริหาร2. ระบบฐานขอมูลขาดความเชื่อมโยงและเปนปจจุบัน

Page 8: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

5

ขอเสนอแนะ1. ควรใหมีการประเมินผูบริหารครบทุกหนวยงานยอย2. ควรพัฒนาระบบฐานขอมูลใหเชื่อมโยงและเปนปจจุบัน

องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณจุดแข็ง

1. มีหนวยสนับสนุนการหารายไดเพื่อการพึ่งพาตนเอง จุดออน

1. การรวบรวมขอมูลดานการเงินยังไมเปนระบบ บางสวนยังไมถูกตอง และไมเอื้อตอการบริหารจัดการ

ขอเสนอแนะ1. ควรรวบรวมขอมูลดานการเงินใหเปนระบบและถูกตอง

องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพจุดแข็ง

-จุดออน

1. ขาดการสังเคราะหจุดแข็ง และจุดออน ของดัชนีตรวจสอบและประเมินคุณภาพในภาพรวมของคณะอยางเปนระบบ (คณะสัตวแพทยศาสตร)

2. การเก็บขอมูลหลักฐานของคณะยังไมถูกตองและสอดคลองกับดัชนีฯ (ขอมูลที่ปรากฏในรายงานการประเมินตนเองสวนมากไมตรงกับขอมูลจริง)

ขอเสนอแนะ1. ควรมีการสังเคราะหจุดแข็ง และจุดออนของดัชนีตรวจสอบ และประเมินคุณภาพในภาพรวมของ

คณะ เพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (คณะสัตวแพทยศาสตร)2. ควรมีการเก็บขอมูลหลักฐานใหถูกตองและสอดคลองกับดัชนีฯ3. ควรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูเรื่องการจัดทํารายงานการประเมินตนเองกับหนวยงานอื่นๆ

แนวปฏิบัติที่ดี (Good practice)1. มีหนวยบริการทางวิชาการที่เขมแข็ง เชน ศูนยการเรียนรูและการจัดระเบียบสุนัข ฟารมสัตว

เศรษฐกิจ หนวยงานชันสูตรโรคสัตว หนวยงานสัตวทดลอง สระสุวรรณชาด และโรงพยาบาลสัตวทั้ง 3 แหง ที่เปนที่รูจักและมีชื่อเสียง ทําใหเกิดภาพลักษณที่ดีของมหาวิทยาลัย

2. คณะสัตวแพทยศาสตรมีผลงานวิจัยจํานวนมาก และไดรับรางวัลดีเดนในระดับชาติ อีกทั้งยังสามารถตอบสนองปญหาของประเทศไดทันเหตุการณ เชนโรคไขหวัดนก

Page 9: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

6

กลุมวิทยาศาสตรสุขภาพจุดแข็งจุดแข็ง

1. เปนหลักสูตรที่ขยายโอกาสทางการศึกษาดานวิทยาศาสตรการกีฬา โดยเปดกวางใหบัณฑิตจากหลากหลายสาขาสามารถสมัครเขาศึกษาตอได

2. มีศูนยวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตรการกีฬา ใหนิสิตฝกปฏิบัติและไดรับประสบการณโดยตรง3. มีความรวมมือสนับสนุนการเรียนการสอน จากหนวยงานภายนอก4. มีบุคลากรของคณะ ที่เปนผูบริหารดานการกีฬาในระดับชาติ5. มีกิจกรรมการบริการวิชาการที่หลากหลาย ทั้งในระดับชาติและนานาชาติตลอดทั้งป

จุดออนจุดออน1. การติดตามและประเมินผลไมครบทุกแผนงานและทุกโครงการ2. บุคลากรสายสนับสนุนมีไมเพียงพอ3. ปจจัยเกื้อหนุนยังไมเพียงพอตอการเรียนการสอน

ขอเสนอแนะระดับคณะขอเสนอแนะระดับคณะ1. ควรมีการติดตามและประเมินผลทุกแผนงานและทุกโครงการ2. ควรเพิ่มปจจัยเกื้อหนุนใหเพียงพอตอการเรียนการสอนเชน อุปกรณในหองปฏิบัติการที่ทันสมัย

ตํารา วารสาร คอมพิวเตอร หองสืบคนขอมูล ฯลฯขอเสนอแนะระดับมหาวิทยาลัยขอเสนอแนะระดับมหาวิทยาลัย

1. มหาวิทยาลัยควรพิจารณาใหมีการจัดทําวิจัยสถาบัน เพื่อใหทราบถึงผลกระทบในดานตางๆ ของการยายที่ตั้งของคณะจากวิทยาเขตบางเขนไปยังวิทยาเขตกําแพงแสน โดยเฉพาะในสวนของผูที่ประสงคศึกษาตอในคณะและความรวมมือทางดานวิชาการกับหนวยงานทางดานกีฬาตางๆ ซึ่งจะมีที่ตั้งอยูในกรุงเทพฯทั้งนี้เพื่อใชเปนขอมูลประกอบการพิจารณาทบทวนแผนการยายคณะไปอยูวิทยาเขตกําแพงแสน

2. มหาวิทยาลัยควรจัดสรรอัตราบุคลากรสายสนับสนุนเพิ่มเติมองคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนงานจุดแข็ง

1. มีโครงการและแผนงานที่ชัดเจนจุดออน

1. การติดตามและประเมินผลไมครบทุกแผนงานและทุกโครงการขอเสนอแนะ

1. ควรมีการติดตามและประเมินผลทุกแผนงานและทุกโครงการ

Page 10: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

7

องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอนจุดแข็ง

1. มีการสัมมนาระหวางอาจารยและนิสิตทุกปการศึกษา ทําใหทราบความตองการ เพื่อเปนแนวทางในการปรับปรุงหลักสูตร

2. เปนหลักสูตรที่ขยายโอกาสทางการศึกษาดานวิทยาศาสตรการกีฬา โดยเปดกวางใหบัณฑิตจากหลากหลายสาขาสามารถสมัครเขาศึกษาตอได

3. มีอุปกรณการสอนที่เหมาะสมกับหลักสูตร4. มีศูนยวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตรการกีฬา ใหนิสิตฝกปฏิบัติและไดรับประสบการณโดยตรง5. มีความรวมมือสนับสนุนการเรียนการสอน จากหนวยงานภายนอก

จุดออน1. ยังขาดการประเมินคุณภาพมหาบัณฑิตจากผูใชบัณฑิต2. ไมมีหองสารสนเทศ เพื่อการสืบคนขอมูลทางอินเทอรเน็ต และจํานวนคอมพิวเตอรยังมีนอย3. บุคลากรสายสนับสนุนมีไมเพียงพอ4. วารสาร ตํารา ที่เกี่ยวของกับสาขาวิทยาศาสตรการกีฬายังมีนอย5. หองบรรยายไมเพียงพอ ตองใชรวมกับหองปฏิบัติการ

ขอเสนอแนะ 1. ควรจัดใหมีการประเมินคุณภาพมหาบัณฑิตจากผูใชบัณฑิต2. ควรมีหองสารสนเทศ เพื่อใหนิสิตไดหาความรูเพิ่มเติมจากอินเทอรเน็ตและจัดใหมีหองสมุดของ

คณะ3. ควรเพิ่มบุคลากรสายสนับสนุน4. ควรจัดหาตํารา วารสาร ที่เกี่ยวของกับสาขาวิทยาศาสตรการกีฬาใหมากขึ้น5. ควรเพิ่มหองบรรยาย

องคประกอบที่ 3 การพัฒนานิสิตจุดแข็ง

-จุดออน

1. มีกิจกรรมโครงการพัฒนานิสิตไมครบทั้ง 5 ดาน (ดานพัฒนาวิชาการ พัฒนาคุณธรรมจริยธรรม พัฒนาทักษะทางวิชาชีพ พัฒนาบุคลิกภาพ และพัฒนาสุขภาพ)

ขอเสนอแนะ 1. ควรมีกิจกรรมโครงการพัฒนานิสิตใหครบทั้ง 5 ดาน

Page 11: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

8

องคประกอบที่ 4 การวิจัยจุดแข็ง

1. มีศักยภาพในการหาแหลงทุนวิจัยจากภายนอก2. มีศูนยวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตรการกีฬา เพื่อทําหนาที่ดูแลและวางแนวทางของนโยบายการวิจัย

ของคณะ3. คณะมีเครื่องมือและอุปกรณสนับสนุนการทําวิจัยของคณาจารย

จุดออน1. ไมมีการจัดสรรเงินรายไดของคณะเพื่อสนับสนุนงานวิจัย2. อาจารยสวนมากในคณะ ยังไมไดขอทุนสนับสนุนเพื่อทํางานวิจัย

ขอเสนอแนะ 1. ควรพิจารณาจัดสรรเงินรายไดของคณะเพื่อใชในการทําวิจัย2. ควรมีการกระตุนใหอาจารยขอทุนวิจัย และเผยแพรงานวิจัยใหมากขึ้น3. ควรจัดจําแผนงานดานการวิจัยทั้งระยะสั้นและระยะยาว พรอมทั้งจัดหาแหลงงบประมาณและเงิน

สนับสนุน

องคประกอบที่ 5 การใหบริการทางวิชาการแกสังคมจุดแข็ง

1. มีแผนงานบริการวิชาการที่ชัดเจน2. มีกิจกรรมการบริการวิชาการที่หลากหลาย ทั้งในระดับชาติและนานาชาติตลอดทั้งป

จุดออน1. ไมมีการประเมินผลหลังสิ้นสุดกิจกรรมเพื่อวิเคราะหผลการดําเนินงาน อยางสม่ําเสมอ

ขอเสนอแนะ 1. ควรมีการประเมินผลการดําเนินงานตามแผนเปนระยะๆ

องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมจุดแข็ง

-จุดออน

1. ขาดการประเมินผลการดําเนินการของกิจกรรมขอเสนอแนะ

1. ควรมีการประเมินผลการดําเนินการทุกกิจกรรม

Page 12: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

9

องคประกอบที่ 7 การบริหารจัดการจุดแข็ง

1. บุคลากรทุกคนมีสวนรวมในการบริหารและกําหนดนโยบายคณะจุดออน

1. บุคลากรสายสนับสนุนไมเพียงพอที่จะบรรลุเปาหมายไดตามแผน2. ขาดการประเมินผูบริหาร3. ขาดการเก็บขอมูลอยางเปนระบบ

ขอเสนอแนะ 1. มหาวิทยาลัยควรจัดสรรอัตราบุคลากรสายสนับสนุนเพิ่มเติม2. ควรมีการประเมินผูบริหาร3. ควรรวบรวมขอมูลตางๆ ใหเปนระบบฐานขอมูล

องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณจุดแข็ง

1. มีโครงการที่สามารถหารายไดจุดออน

1. ไมมีเจาหนาที่การเงิน/บัญชีขอเสนอแนะ

1. มหาวิทยาลัยควรจัดสรรอัตราพนักงานสาย ค. ทางการเงิน/บัญชี

องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพจุดแข็ง

1. มีคูมือการประกันคุณภาพที่เปนเอกลักษณของคณะจุดออน

1. การแสดงเอกสารหลักฐาน เพื่อการตรวจประเมิน ยังไมสอดคลองกับดัชนีตรวจประเมินขอเสนอแนะ

1. ควรมีจัดเอกสารหลักฐานใหครบถวนสอดคลองกับดัชนีประเมินคุณภาพภายในของมหาวิทยาลัย2. ควรมีการจัดแหลงตรวจสอบตามดัชนีประเมินไวบทที่ 6 ของรายงานการประเมินตนเอง3. ควรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูดานระบบประกันคุณภาพกับหนวยงานอื่นของมหาวิทยาลัย เพื่อใหเกิด

การพัฒนาระบบประกันคุณภาพใหดียิ่งขึ้น

Page 13: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

10

สวนที่ 1ขอมูลพื้นฐานของกลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

คณะสัตวแพทยศาสตรคณะสัตวแพทยศาสตร ไดจัดตั้งขึ้นในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2497

นับเปนคณะลําดับที่ 5 ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยใชหลักสูตร 5 ป โดยโอนมาจากมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร ใน พ.ศ. 2497 และใน พ.ศ. 2500 มีการปรับปรุงหลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิตจาก 5 ป เปน 6 ป จนกระทั่ง พ.ศ. 2510 ไดโอนกิจการ ทรัพยสิน ขาราชการ ลูกจาง และเงินงบประมาณของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ที่เกี่ยวของกับราชการ คณะสัตวแพทยศาสตร เฉพาะสวนที่ตั้งอยู ณ ตําบลวังใหม อําเภอปทุมวัน ไปเปนของคณะสัตวแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สวนคณะสัตวแพทยศาสตร ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ยายมาดําเนินการ ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน โดยมีหนวยงานประกอบดวย สํานักงานเลขานุการ และ 6 ภาควิชา ดังนี้ ภาควิชากายวิภาคศาสตร ภาควิชาพยาธิวิทยา ภาควิชาเภสัชวิทยา ภาควิชาสรีรวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร และภาควิชาศัลยศาสตร

ใน พ.ศ. 2520 ไดมีการปรับปรุงหลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต ครั้งที่ 1 นับตั้งแต พ.ศ. 2523เริ่มเปดดําเนินการโรงพยาบาลสัตวหนองโพ ณ ต.บานเลือก อ.โพธาราม จ.ราชบุรี รวมกับสหกรณโคนมหนองโพในพระบรมราชูปถัมภ ไดบริจาคใหคณะสัตวแพทยศาสตร เพื่อจัดตั้งโรงพยาบาลสัตว สําหรับบริการใหกับสมาชิกของสหกรณโคนม และใน พ.ศ. 2524 ไดยายภาควิชาทางคลีนิก คณาจารย และบุคลากรที่เกี่ยวของกับการสอนนิสิตชั้นปที่ 5 และ 6 บางสวนไปดําเนินการที่วิทยาเขตกําแพงแสน จ.นครปฐม เพื่อเพิ่มความรอบรูของบัณฑิตทางดานปศุสัตว และเมื่อวันที่ 17 กันยายน 2536 มีการลงนามขอตกลงการจัดตั้งโรงเรียนสัตวแพทยเขาเปนสถาบันสมทบของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และตอมาเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2538 ไดเปลี่ยนชื่อเปนวิทยาลัยเทคนิคการสัตวแพทย โดยใหคณะสัตวแพทยศาสตร ดูแลในเรื่องวิชาการ และใน พ.ศ. 2542 กรมปศุสัตวไดลงนามโอนการบริหารงานในสวนของวิทยาลัยเทคนิคการสัตวแพทยใหกับคณะสัตวแพทยศาสตร

คณะสัตวแพทยศาสตรไดปรับปรุงหลักสูตร ครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2532 และเปดสอนปริญญาโท สาขาพยาธิวิทยาทางสัตวแพทย ใน พ.ศ. 2536 และใน พ.ศ. 2537-2538 เปดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขากายวิภาคศาสตร และสาขาสรีรวิทยาทางสัตว มีการปรับปรุงหลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต โดยเนนการปฏิบัติทางดานเทคนิคมากขึ้น โครงสรางหลักสูตร 6 ป เปนวิชาพื้นฐาน : พรีคลินิก :คลินิก เทากับ 1 : 2 : 3 และใน พ.ศ. 2539 ไดมีการแบงสวนราชการเพิ่มขึ้น โดยมีภาควิชาใหม 3 ภาควิชา ไดแก ภาควิชาจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุมกัน ภาควิชาปรสิตวิทยา และภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุขศาสตร ใน พ.ศ. 2541 ไดจัดการเรียนการสอนนิสิตชั้นปที่ 4 ไปดําเนินการ ณ วิทยาเขตกําแพงแสน เพื่อใหสอดคลองกับการปรับปรุงหลักสูตร เมื่อพ.ศ. 2538 ใน พ.ศ. 2543 เปดใชอาคารเฉลิมพระเกียรติ 6

Page 14: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

11

รอบ พระชนมพรรษา โดยเปดใหบริหารรักษาสัตวปวย เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ 2543 (อาคารโรงพยาบาลสัตวและพัฒนาวิชาการ) บางสวน เพื่อใหสามารถรองรับกับจํานวนสัตวปวยที่เพิ่มมากขึ้น

ใน พ.ศ. 2544 ไดดําเนินงานดานตางๆ ใน 2 วิทยาเขต กับโรงพยาบาลสัตว 3 แหง คือ โรงพยาบาลสัตว มก. บางเขน โรงพยาบาลสัตว มก. กําแพงแสน และโรงพยาบาลสัตว มก. หนองโพ โดยรับนิสิตเขาศึกษาหลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต ปละ 150 คน หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากายวิภาคศาสตรทางสัตวแพทย สรีรวิทยาทางสัตว และพยาธิวิทยาทางสัตวแพทย รวมทั้งสิ้น 18 คน นอกจากนี้กรมปศุสัตวขอใหขาราชการจํานวน 4 ราย กลับไปปฏิบัติราชการ พรอมโอนพัสดุใหมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรและแจงการสงคืนที่ราชพัสดุตอกรมธนารักษ สวนใน พ.ศ. 2545 ไดมีการปรับปรุงหลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต ครั้งที่ 4 และไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย ในการเปลี่ยนชื่อภาควิชาทางดานคลีนิก 4 ภาควิชา ดังนี้

1. ภาควิชาศัลยศาสตรเปน ภาควิชาเวชศาสตรคลินิกสัตวเลี้ยง2. ภาควิชาสูติศาสตร เธนุเวชวิทยาและวิทยาการสืบพันธุเปน ภาควิชาเวชศาสตรและทรัพยากร

การผลิตสัตว3. ภาควิชาอายุรศาสตรเปน ภาควิชาเวชศาสตรคลินิกสัตวใหญและสัตวปา4. ภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุขศาสตร เปน ภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุขศาสตรและการ

บริการวินิจฉัยคณะสัตวแพทยศาสตรไดดําเนินการระบบประกันคุณภาพในรูปแบบคณะวิชา 9 องคประกอบ

โดยไดรับการตรวจสอบจากคณะกรรมการตรวจสอบระบบประกันคุณภาพภายในระดับมหาวิทยาลัยแลว 5 ครั้ง คือ

ครั้งที่ 1 ในรอบปการศึกษา 2543 (1 มิถุนายน 2543 – 31 พฤษภาคม 2544) ระหวางวันที่ 20-23พฤศจิกายน 2544 พบวามีผลการดําเนินงานครบทั้ง 66 ดัชนี ตามที่กําหนดไว

ครั้งที่ 2 ในรอบปการศึกษา 2544 (1 มิถุนายน 2544 – 31 พฤษภาคม 2545) ระหวางวันที่ 15-17มกราคม 2546 พบวามีผลการดําเนินงานครบทั้ง 65 ดัชนี ตามที่กําหนดไว

ครั้งที่ 3 ในรอบปการศึกษา 2545 (1 มิถุนายน 2545 – 31 พฤษภาคม 2546) ระหวางวันที่ 6 - 9มกราคม 2547 พบวา มีผลการดําเนินงาน 62 ดัชนี จาก 66 ดัชนี ที่กําหนดไว

ครั้งที่ 4 ในรอบปการศึกษา 2546 (1 มิถุนายน 2546 – 31 พฤษภาคม 2547) ระหวางวันที่ 3และ 7 – 9 ธันวาคม 2547 พบวา มีผลการดําเนินงานตามดัชนีตรวจสอบที่คณะกําหนด จํานวน 49 ดัชนี จาก 56 ดัชนี โดยไมพบการดําเนินงานตามดัชนีตรวจสอบของมหาวิทยาลัย จํานวน 7 ดัชนี ไดแก ดัชนีที่ 3 มีการติดตามและประเมินผลแผนงานและโครงการ ดัชนีที่ 6 มีการประเมินหลักสูตร ดัชนีที่ 9 มีแผนการพัฒนาอาจารย ดัชนีที่ 18 มีระบบการวัดและประเมินผลนิสิต ดัชนีที่ 26 มีการจัดเวลาเพื่อใหคําปรึกษาแกนิสิต ดัชนีที่ 40 มีการพัฒนาผูบริหาร และผลการประเมินตนเอง 35 ดัชนี จาก 38 ดัชนี ตามที่กําหนดไวในรายงานการประเมินตนเอง และไมพบการดําเนินงานตามดัชนีประเมินของมหาวิทา

Page 15: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

12

ลัย จํานวน 2 ดัชนี ไดแก ดัชนีที่ 19 จํานวนรางวัลตางๆ ที่เกี่ยวของกับผลงานวิจัยหรือผลงานสรางสรรคของอาจารยและนิสิตในระดับชาติและนานาชาติ และดัชนีที่ 28 จํานวนวันเฉลี่ยในการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนตอคนตอป

ครั้งที่ 5 ในรอบปการศึกษา 2547 (1 มิถุนายน 2547 – 31 พฤษภาคม 2548) ระหวางวันที่ 1-4พฤศจิกายน 2548 พบวา มีผลการดําเนินงานตามดัชนีตรวจสอบที่คณะกําหนด จํานวน 54 ดัชนี จาก 55ดัชนี โดยไมพบการดําเนินงานตามดัชนีตรวจสอบของมหาวิทยาลัย 1 ดัชนี คือ ดัชนีที่ 17 การใชขอมูลจากการประเมินคุณภาพบัณฑิตมาเพื่อปรับปรุงกระบวนการในการผลิตบัณฑิต และผลการประเมินตนเองมีการประเมินครบทั้ง 41 ดัชนี คณะประเมินตนเองมีคะแนนเฉลี่ย 3.39 อยูในเกณฑปานกลาง สําหรับผลการประเมินฯ ของคณะกรรมการฯ มีคะแนนเฉลี่ย 3.50 อยูในเกณฑดี

คณะเทคนิตการสัตวแพทยป พ.ศ. 2449

กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตราธิการ ไดเริ่มมีการเรียนการสอนขึ้นในลักษณะของ การอบรมวิชาการ สัตวแพทย โดยใชระยะเวลา 3-6 เดือน ป พ.ศ. 2511 กรมปศุสัตวไดปรับปรุงหลักสูตรใหม ไดดําเนินการสอนวิชาสัตวแพทยโดยจัดตั้งขึ้นเปนโรงเรียนสัตวแพทย กรมปศุสัตว สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยตั้งอยูที่บริเวณกรมปศุสัตวและสัตวพาหนะ ถนนราชวิถี เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ใชระยะเวลาตลอดการศึกษาในหลักสูตร 1 ป 6 เดือน ป พ.ศ. 2519 ไดมีการพัฒนาหลักสูตรขึ้นอีกครั้งโดยขยายเวลาในการศึกษาเปน 2 ป โรงเรียนสัตวแพทยเปนสถาบันการศึกษาในสังกัดกรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ โดยรับผูที่สําเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 เขาศึกษาในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพสัตวแพทยใชเวลาในการศึกษา 2 ปโดยมีวัตถุประสงคเพื่อผลิตบุคลากรในดานสัตวแพทยและปฏิบัติงานในกรมปศุสัตวป พ.ศ. 2527 เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2527 คณะรัฐมนตรีมีมติ ใหกระทรวงศึกษาธิการและทบวงมหาวิทยาลัยรวมกันพิจารณาเสนอความเห็นตอคณะรัฐมนตรีในสวนที่เกี่ยวกับการจะนําหลักสูตรและบุคลากรผูเชี่ยวชาญของโรงเรียนในสังกัดกระทรวง ทบวง กรมตางๆ มาเรียนและสอนเพิ่มเติมในโรงเรียนและมหาวิทยาลัยในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและทบวงมหาวิทยาลัยป พ.ศ. 2528 โรงเรียนสัตวแพทยไดยายจากที่เคยตั้งอยูในกรมปศุสัตว ถนนราชวิถี มาอยูที่ในบริเวณ เกษตรกลางบางเขน บนเนื้อที่ 5ไร 1 งานติดกับคณะสัตวแพทยศาสตร และสภาวิจัยแหงชาติ และในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2528 ฯพณฯ รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (นายชวนหลีกภัย) ไดทําหนังสือถึง เลขาธิการคณะรัฐมนตรี (นายอนันต อนันตกูล) เรื่องการพิจารณายุบเลิกโรงเรียนที่สอนนักเรียนเพื่อ

Page 16: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

13

ออกมาปฏิบัติงานของ กระทรวงทบวง กรมใด ๆ โดยเฉพาะ ซึ่งในหนังสือดังกลาวไดระบุถึงมติที่ประชุมกระทรวงศึกษาธิการ และหนวยงานที่สังกัดกระทรวงศึกษาธิการวาที่ประชุมมีมติรับหลักการใหกระทรวงศึกษาธิการพิจารณาสถานศึกษาจํานวน 4 แหงที่สามารถจัดการเรียนการสอนขึ้นทดแทนไดดังนี้

1. โรงเรียนสัตวแพทย(กรมปศุสัตว)2. สถาบันศึกษาทางสหกรณ(กรมสงเสริมสหกรณ)3. โรงเรียนชางการไฟฟาสวนภูมิภาค (การไฟฟาสวนภูมิภาค)4. สถาบันอบรมวิชาการโรงแรมและการทองเที่ยว (การทองเที่ยวแหงประเทศไทย)

ในตอนทายของหนังสือนั้นไดอางถึงมติที่ประชุมทบวงมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 20, 21 และ 24 มิถุนายน 2528 เกี่ยวกับการพิจารณาการยุบโอนสถานศึกษา โดยวางแนวทางไว 3 ประการ คือ ความพรอมของสถาบันผูรับ ความประหยัดในการจัดการเรียนการสอนและหนวยงานที่รับตองมีแผนการเรียนการสอนอยูแลว และหากหนวยงานใดตองการจะเปนสถาบันสมทบของสถาบันในสังกัดทบวงมหาวิทยาลัยก็อาจพิจารณาดําเนินการตอไปได วันที่ 24 ธันวาคม 2528 ฯพณฯรัฐมนตรีวาการทบวงมหาวิทยาลัย (นายปรีดา พัฒนถาบุตร)ไดทําหนังสือถึงเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (นายอนันต อนันตกูล) เรื่อง“การพิจารณายุบเลิกสถานศึกษานอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและทบวงมหาวิทยาลัย” โดยเนื้อหาของหนังสือสรุปไดวาทบวงมหาวิทยาลัยไดเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาคือ

1. ใหมหาวิทยาลัยและสถาบันในสังกัดมหาวิทยาลัยรับเปนสถาบันสมทบหรือมีการสมทบในหลักสูตรใดหลักสูตรหนึ่งหากสถานศึกษานั้น ๆมีความประสงค

2. ใหสถานศึกษานอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการและทบวงมหาวิทยาลัยระงับการเปดหลักสูตรใหมยกเวนหลักสูตรเฉพาะทางตามความตองการของกระทรวง ทบวง กรมตาง ๆ ที่กระทรวงศึกษาธิการและทบวงมหาวิทยาลัยไมสามารถผลิตใหไดป พ.ศ. 2529 เมื่อวันที่ 3 มกราคม 2529 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการตามที่กระทรวงศึกษาธิการและทบวงมหาวิทยาลัยเสนอวาใหพิจารณายุบโอนสถาบันการศึกษาที่สังกัดหนวยงานนอกกระทรวงศึกษาธิการและทบวงมหาวิทยาลัยสวนรายละเอียดและขั้นตอนการดําเนินงานใหกระทรวง ทบวง กรมที่เกี่ยวของทําความตกลงกับกระทรวงศึกษาธิการหรือทบวงมหาวิทยาลัยตอไปโดยใหถือเอาความตองการของกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งเปนผูรับผิดชอบในโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษานั้น ๆ เปนหลักสวนหลักสูตรขั้นพื้นฐานที่จําเปนสําหรับแขนงวิชาตางๆใหขอรับความเห็นชอบจากกระทรวงศึกษาธิการ หรือทบวงมหาวิทยาลัย แลวแตกรณีและหากหนวยงานใดตองการจะเปนสถาบันสมทบในสังกัดทบวงมหาวิทยาลัยก็อาจพิจารณาตอไปได

Page 17: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

14

ป พ.ศ. 2534 เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม2534 ฯพณฯรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ (ดร.อาชว เตาลานนท) ไดใหนโยบายกับกรมปศุสัตวในการพัฒนาหลักสูตรของโรงเรียนสัตวแพทยโดยใหยกระดับการศึกษาจากประกาศนียบัตรวิชาสัตวแพทย (2 ป) เปนระดับปริญญาตรี (4 ป) โดยเขาเปนสถาบันสมทบกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรจากนโยบายดังกลาว อธิบดีกรมปศุสัตว (นายทวีศักดิ์ เสสะเวช) จึงไดดําเนินการประสานงานกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยใหดําเนินการปรับปรุงหลักสูตรใหเปนระดับปริญญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคนิคการสัตวแพทย) โดยเปนการจัดทําหลักสูตรรวมกันระหวางกรมปศุสัตวและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

สภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรมีมติใหรับโรงเรียนสัตวแพทย กรมปศุสัตวเขาเปนสถาบันสมทบของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (ในการประชุมสภาฯ ครั้งที่ 12/2534) ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2534โดยใหดําเนินการปรับปรุงหลักสูตรใหเปนระดับปริญญาตรีสาขาเทคนิคการสัตวแพทยหรือวิทยาศาสตรการสัตวแพทย ตามความเหมาะสมโดยจัดหาหลักสูตรรวมกันระหวางกรมปศุสัตวและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรป พ.ศ. 2536

เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2536 สภามหาวิทยาลัยมีมติใหรับรองหลักสูตรเทคนิคการสัตวแพทย คือเพื่อผลิตบุคลากรในระดับนักวิทยาศาสตรการแพทยซึ่งสามารถปฏิบัติงานไดทั้งในภาคสนามและในหองปฏิบัติการในหนวยงานของรัฐและเอกชนซึ่งเกี่ยวของกับทางดานปศุสัตวและใหเปดสอนนิสิตรุนแรกไดในปการศึกษา2536 ซึ่งในปการศึกษานี้และเมื่อวันที่ 17 กันยายน 2536 กรมปศุสัตวไดจัดพิธีลงนามขอตกลงการจัดตั้งโรงเรียนสัตวแพทยเขาเปนสถาบันสมทบของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร{ระหวางอธิบดีกรมปศุสัตว(นายทวีศักดิ์ เสสะเวช) กับอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร(นายกําพล อดุลยวิทย)} ที่โรงแรมเมอริเดียน เพรสซิเดนทกทม.ป พ.ศ. 2537

ทบวงมหาวิทยาลัยไดเห็นชอบหลักสูตรนี้เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ 2537 สําหรับการรับโรงเรียน สัตวแพทย กรมปศุสัตว เขาเปนสถาบันสมทบในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรโดยเปนไปตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับทั่วไป เลมที่ 11 ตอนพิเศษ 160 ลงเมื่อวันที่23 มีนาคม 2537 มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 24 มีนาคม 2537 และในวันที่ 19 ธันวาคม 2537 ทบวงมหาวิทยาลัย มีหนังสือถึงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรแจงวากระทรวงเกษตรฯ ประสงคจะโอนกิจการ ครุภัณฑ ที่ดินสิ่งกอสรางของโรงเรียนสัตวแพทย กรมปศุสัตว ใหมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรป พ.ศ. 2538

เมื่อวันที่15 กุมภาพันธ 2538 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรมีหนังสือแจงทบวงมหาวิทยาลัยยินดีรับโอนกิจการของโรงเรียนสัตวแพทยกรมปศุสัตวมาดําเนินการและทางทบวงมหาวิทยาลัย มีหนังสือแจงกระทรวงเกษตรฯ วามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ยินดีรับโอน เมื่อวันที่3 มีนาคม 2538

Page 18: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

15

ป พ.ศ. 2539 - 2540 กรมปศุสัตวไดขอแกไขชื่อ โรงเรียนสัตวแพทยเปลี่ยนเปนวิทยาลัยเทคนิคการสัตวแพทย ตามหนังสือ กรมปศุสัตว ที่ กษ 0601/270 ลงวันที่ 21 มีนาคม 2539 และทบวงมหาวิทยาลัยไดประกาศรับวิทยาลัยเทคนิคการ สัตวแพทย กรมปศุสัตวเขาเปนสถาบันสมทบในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา หนาที่ 20 เลม 114 ตอนที่ 22 ง ลงวันที่ 12 มีนาคม 2540ป พ.ศ. 2542 กรมปศุสัตวไดลงนามขอตกลงการโอนการบริหารงานของวิทยาลัยเทคนิคการสัตวแพทย กรมปศุสัตว มาใหมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2542 โดยมีสาระสําคัญคือ

1. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรและกรมปศุสัตว ตกลงใหหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคนิคการสัตวแพทยเปนหลักสูตรหนึ่งของคณะสัตวแพทยศาสตร

2. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรและกรมปศุสัตว ไดตกลงใหคณะสัตวแพทยศาสตร รับผิดชอบบริหารหลักสูตร บุคลากรงบประมาณและพัสดุ ที่เกี่ยวกับวิทยาลัยเทคนิคการสัตวแพทยไดกอนที่การโอนอํานาจหนาที่ และกิจการบริหารบางสวนของกรมปศุสัตวกระทรวงเกษตรและสหกรณ ไปเปนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ทบวงมหาวิทยาลัย และมีผลบังคับใชตามกฎหมาย

ป พ.ศ. 2543 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรมีคําสั่งมอบอํานาจใหคณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร ปฏิบัติราชการ

แทนอธิการบดี ในการบริการหลักสูตรบุคลากร งบประมาณ และพัสดุ ที่เกี่ยวกับวิทยาลัยเทคนิคการสัตวแพทยป พ.ศ. 2544 กรมปศุสัตวไดทําบันทึกขอความถึงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เรื่อง ขอใหขาราชการกลับไป

ปฏิบัติหนาที่ราชการที่กรมปศุสัตว ตามหนังสือ ที่ กษ 0603/28829 ลงวันที่ 13 กรกฎาคม 2544 เนื่องจากกรมปศุสัตวไดดําเนินการปรับบทบาทภารกิจใหสอดคลองกับบทบาทภารกิจของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ทําใหกรมปศุสัตวขาดแคลนอัตรากําลังเจาหนาที่ในการปฏิบัติงาน จึงขออนุมัติใหขาราชการกลับไปปฏิบัติงาน ณ กรมปศุสัตว และเมื่อวันที่ 26 กรฎาคม2544 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มีหนังสือถึงกรมปศุสัตว เรื่อง ใหขาราชการไปปฏิบัติหนาที่ราชการที่กรมปศุสัตว/สงตัวขาราชการ 4อัตรา ของวิทยาลัยเทคนิคการสัตวแพทยกลับไปปฏิบัติหนาที่ราชการที่กรมปศุสัตว ตามความประสงคของกรมปศุสัตวโดยขอใหอยูปฏิบัติหนาที่ราชการที่วิทยาลัยเทคนิคการสัตวแพทยจนสิ้นสุดการเรียนการสอนภาคการศึกษาที่ 1/2544 (เดือนตุลาคม2544)ป พ.ศ. 2545 กรมปศุสัตวไดทําเรื่องถึงกรมธนารักษวาหมดความจําเปนที่จะใชอาคารที่ดินสิ่งกอสรางซึ่งเปนที่ตั้งวิทยาลัยเทคนิคการสัตวแพทยแลว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรจึงทําเรื่องถึงกรมธนารักษเพื่อขอ

Page 19: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

16

ใชอาคารสถานที่ของวิทยาลัยเทคนิคการสัตวแพทยตอจากกรมปศุสัตว เพื่อใชดําเนินการเรียน การสอนของวิทยาลัยเทคนิคการสัตวแพทยตอไป ซึ่งทางกรมธนารักษไดอนุญาตตามที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรไดขอใช เพื่อจัดตั้งวิทยาลัยเทคนิคการสัตวแพทย

วันที่ 20 สิงหาคม 2545 ทบวงมหาวิทยาลัยเห็นชอบหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาเทคนิคการสัตวแพทย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2545)ป พ.ศ. 2546 วันที่ 14 กุมภาพันธ 2546 คณะสัตวแพทยศาสตร กับวิทยาลัยเทคนิคการสัตวแพทยทําขอตกลงความรวมมือรวมกันทางดานวิชาการ และการบริการ

วันที่ 12 มิถุนายน 2546 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กับกรมปศุสัตว ไดทําขอตกลงรวมมือในการพัฒนาบัณฑิตเทคนิคการสัตวแพทย สนับสนุนวิชาการ และการสนับสนุนรับบัณฑิตเขาไปปฏิบัติงานในตําแหนงและสายงานที่เกี่ยวของ และยกเลิกการจัดตั้งโรงเรียนสัตวแพทยที่เปนสถาบันสมทบของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เพื่อใหมหาวิทยาลัยฯ พัฒนาจัดตั้งวิทยาลัยเทคนิคการสัตวแพทย เปนคณะเทคนิคการสัตวแพทยตอไปป พ.ศ. 2549

วันที่ 20 กุมภาพันธ 2549 สภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรอนุมัติใหยกระดับวิทยาลัยเทคนิคการสัตวแพทยเปลี่ยนเปนคณะเทคนิคการสัตวแพทยประกอบดวยสํานักงานเลขานุการคณะและภาควิชาเทคนิคการสัตวแพทย โดยไดแบงกลุมสาขาวิชาออกเปน 4 กลุมดังนี้ 1. กลุมสาขาวิชาปรสิตวิทยาและพยาธิคลินิกทางสัตวแพทย 2. กลุมสาขาวิชาสัตวแพทยสาธารณสุขและจุลชีวคลินิกทางสัตวแพทย 3.กลุมสาขาวิชาสุขศาสตรสัตวและงานโรงพยาบาล 4. กลุมสาขาวิชาชีววิทยาประยุกตและมาตรฐานผลิตภัณฑสัตว

คณะวิทยาศาสตรการกีฬาทบวงมหาวิทยาลัยไดอนุมัติใหจัดตั้งภาควิชาวิทยาศาสตรการกีฬา สังกัดคณะศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และไดประกาศการแบงสวนราชการในราชกิจจานุเบกษาเลมที่ 109 ตอนที่ 120 วันที่ 18 ธันวาคม 2535 นับตั้งแตไดรับการอนุมัติใหจัดตั้งเปน “ภาควิชาวิทยาศาสตรการกีฬา”ภาควิชาฯไดจัดทําหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรการกีฬา โดย หลักสูตรไดรับอนุมัติจากทบวงมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2537 และเปดรับนิสิตเขาศึกษาเปนรุนแรกเมื่อภาคตนปการศึกษา 2537

ภาควิชาวิทยาศาสตรการกีฬา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดลงนามความรวมมือทาง วิชาการกับกรมพลศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ในวันที่ 25 มกราคม 2542 ในการรวมมือกันผลิตบัณฑิต และเปดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรการกีฬา ภาคพิเศษ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาบุคลากรของกรมพลศึกษา และบุคลกรในสวนภูมิภาคจังหวัดใกลเคียงใหมีความรูในสาขาวิทยาศาสตรการกีฬาเพิ่ม โดยจัดการเรียนการสอนในวันเสารและวันอาทิตย ณวิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี

Page 20: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

17

เปดรับนิสิตรุนแรก เมื่อป พ.ศ. 2542 นับถึงปจจุบันเปนรุนที่ 8 ในปจจุบันไดยายมาจัดการเรียนการสอนณ คณะศึกษาศาสตร วิทยาเขต-บางเขน เนื่องจากบุคลากรในสวนภูมิภาคเขามาศึกษาตอมีจํานวนลดลง ประกอบกับจํานวนผูที่เขามาศึกษาตอสวนใหญเปน ครู อาจารย ขาราชการ และบุคคลทั่วไปที่มาจากกรุงเทพมหานครและเขตปริมณฑลมีจํานวนมากขึ้น

ในป พ.ศ. 2544 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดขยายงานไปยังสวนภูมิภาคเพิ่มขึ้น โครงการจัดตั้งวิทยาเขตกระบี่ ไดหารือรวมกับภาควิชาฯ เพื่อเปดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรการกีฬา โดยมีเจตนารมยที่จะเปดโอกาสใหนักเรียนในภูมิภาคมีโอกาสไดศึกษาตอในสาขาวิทยาศาสตรการกีฬา ภาควิชาฯจึงไดจัดทําโครงการหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรการกีฬาภาคพิเศษ2 ปตอเนื่องขึ้นโดยความรวมมือกับวิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดกระบี่ ไดเปดรับนิสิตรุนแรกในภาคตน ปการศึกษา 2544

ในป พ.ศ. 2545 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตสุพรรณบุรี รวมกับภาควิชาวิทยาศาสตรการกีฬาเปดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ณ วิทยาเขตสุพรรณบุรี ในระยะแรก ไดขอใชสถานที่ของวิทยาลัยพลศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรีเปนสถานที่เรียน โดยเปดรับนิสิตรุนแรกจํานวน 2 หลักสูตร คือ หลักสูตร 4 ป และหลักสูตร2 ปตอเนื่อง ในภาคตนปการศึกษา 2545 เพื่อใหการเรียนการสอนไดดําเนินการอยางมีประสิทธิภาพ ปจจุบันนี้ ไดเคลื่อนยายนิสิตทั้งหมดมาเรียน ณ วิทยาเขตกําแพงแสน ตั้งแตภาคตน ปการศึกษา 2546 เปนตนมา และอยูภายใตความดูแลของคณะศึกษาศาสตร กําแพงแสน

ในป พ.ศ. 2547 ภาควิชาฯไดดําเนินการโครงการจัดตั้ง "คณะวิทยาศาสตรการกีฬา" เพื่อขออนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เพราะในหวงเวลาดังกลาวความสําคัญของการนําความรูทางวิทยาศาสตรการกีฬาไปเพื่อในการพัฒนากีฬาระดับชาติมีความจําเปนและเปนความตองการอยางรีบดวนอยางมาก ซึ่งสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรไดมีมติใหจัดตั้งคณะวิทยาศาสตการกีฬา เมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ.2548 ตอมาในปการศึกษา 2549 สภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เมื่อการประชุม ครั้งที่ 12/2548 วันที่ 27 ธันวาคม 2548 ไดรับอนุมัติหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรการกีฬา และเปดรับนิสิตรุนแรก ในภาคตนปการศึกษา 2549

Page 21: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

18

สวนที่ 2ขอมูลผลการประเมินของกลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ตามที่มหาวิทยาลัยกําหนดการประเมินคุณภาพภายในระดับมหาวิทยาลัย ของกลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพประจําป 2549 ระหวางวันที่ 4 ตุลาคม – 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549รวมเวลาประเมินฯ 6 วันทําการ โดยคณะกรรมการประเมินฯ พิจารณาผลการดําเนินงานในรอบปการศึกษา 2548 (1 มิถุนายน 2548 – 31 พฤษภาคม 2549) โดยมีรายละเอียดและผลการประเมินของกลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพดังนี้

วัตถุประสงคการประเมินคุณภาพภายในครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อประเมิน และวิเคราะหประเด็นตางๆ ดังนี้

1. เพื่อติดตามผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาปรับปรุงของคณะสัตวแพทยศาสตร และการพัฒนาปรับปรุงในระบบการประกันคุณภาพ

2. ตรวจสอบระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในของคณะเทคนิคการสัตวแพทย และวิทยาศาสตรการกีฬา ตามองคประกอบคุณภาพ ตามขอกําหนดและดัชนีของมหาวิทยาลัย

3. เพื่อดูพัฒนาการตามดัชนีมาตรฐาน รวมทั้งประเมินคุณภาพตามดัชนีและเกณฑประเมินที่มหาวิทยาลัยกําหนด

4. เพื่อวิเคราะหจุดแข็งจุดออน และใหขอเสนอแนะเพิ่มเติมในการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพของหนวยงานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

โดยมีแนวทางการประเมินคุณภาพภายใน เพื่อพิจารณาประเด็นเพิ่มเติมที่สอดคลองกับการดําเนินงานและตอบสนองกับการประกันคุณภาพภายใน และการประกันคุณภาพภายนอก ของ สมศ. และ ก.พ.ร. ในเรื่อง

1. การบริหารหลักสูตร และกระบวนการเรียนการสอน2. ประสิทธิผลตามพันธกิจ ทั้ง 4 ดานของมหาวิทยาลัย3. ศักยภาพในการดําเนินงานของหนวยงานที่นําไปสูวิสัยทัศนของหนวยงาน และตอบสนอง

นโยบายของมหาวิทยาลัยฯ

วิธีการดําเนินงาน

คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับมหาวิทยาลัย ไดศึกษารายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report - SAR) ของกลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพในรอบปการศึกษา

Page 22: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

19

2548 (ตั้งแต 1 มิถุนายน 2548 ถึง 31 พฤษภาคม 2549) และหลักฐานเพื่อตรวจสอบระบบและกลไก รวมทั้งการประเมินคุณภาพภายในตามที่กําหนดไวในรายงานการประเมินตนเอง

กําหนดการประเมินวันพุธที่ 4 ตุลาคม 2549 (พบผูบริหารกลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ)เวลา 08.30 - 12.00 น. คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในพบผูบริหารทั้ง 3 คณะ ในกลุมสัตว

แพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ ไดแก คณะเทคนิคการสัตวแพทย คณะวิทยาศาสตรการกีฬา และคณะสัตวแพทยศาสตร ณ หองประชุม 8 ชั้น 2อาคารสารนิเทศ 50 ปมก.

เวลา 08.30 - 09.00 น. ประธานคณะกรรมการฯ กลาวแนะนําคณะกรรมการ ชี้แจงวัตถุประสงคและแนวทางในการประเมินแบบกลุม

เวลา 09.00 - 09.45 น. ผูบริหารคณะเทคนิคการสัตวแพทย รายงานผลการดําเนินงานในรอบปการศึกษา 2548

เวลา 09.45 - 10.30 น. ผูบริหารคณะสัตวแพทยศาสตร รายงานผลการดําเนินงานในรอบปการศึกษา 2548

เวลา 10.30 - 11.15 น. ผูบริหารคณะวิทยาศาสตรการกีฬา รายงานผลการดําเนินงานในรอบปการศึกษา 2548

ทั้งนี้ ขอใหหนวยงานนําเสนอเฉพาะประเด็นหลักที่สําคัญ โดยใหอยูในกรอบเวลาที่กําหนด ประกอบดวยหัวขอ ดังนี้

1. สรุปผลการดําเนินงานในภาพรวมของหนวยงาน โดยเฉพาะผลงานตามภารกิจ และแผนพัฒนาของหนวยงานในอนาคต

2. สรุปผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาปรับปรุงในภาพรวมที่สอดคลองกับขอเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินฯในรอบปที่ผานมา

3. ศักยภาพในการดําเนินงานตามภารกิจหลัก รวมถึงการวิจัยสถาบันที่ทําเพื่อปรับปรุงกระบวนการดําเนินงาน

4. สรุปผลการประเมินตนเองตามดัชนีประเมินคุณภาพภายในในภาพรวมของหนวยงาน

5. การบริหารจัดการฐานขอมูล (MIS) ตางๆ ของหนวยงาน ไดแก ฐานขอมูลบุคลากร ฐานขอมูลการเงินเปนตน

เวลา 11.15 - 12.00 น. คณะกรรมการซักถามผูบริหาร ทั้ง 3 คณะ

Page 23: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

20

วันพฤหัสบดีที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2549 (คณะเทคนิคการสัตวแพทย)เวลา 08.30 – 10.30 น. คณะกรรมการประเมินฯ ตรวจสอบเอกสารหลักฐาน ณ หองบรรยาย 1 ชั้น 1

คณะเทคนิคการสัตวแพทยเวลา 10.30 – 12.00 น. คณะกรรมการประเมินฯ เยี่ยมชมหนวยงานตางๆ พรอมซักถาม ดังนี้

เวลา 10.30 – 11.15 น. ภาควิชาเทคนิคการสัตวแพทยศาสตรเวลา 11.15 – 12.00 น. สํานักงานเลขานุการ

เวลา 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน ณ หองบรรยาย 1 ชั้น 1 คณะเทคนิคการสัตวแพทย

เวลา 13.00 – 14.30 น. คณะกรรมการประเมินฯ สัมภาษณ ดังนี้ กรรมการทีมที่ 1 ณ หองบรรยาย 1 ชั้น 1 คณะเทคนิคการสัตวแพทยกลุมที่ 1 กลุมอาจารย เวลา 13.00 – 13.45 น. จํานวน5 คน

- อาจารย/พนักงาน สาย ก ที่ไมใชผูบริหารจํานวน5 คนกลุมที่ 2 กลุมบุคลากร เวลา 13.45– 14.30 น. จํานวน 5 คน

- ขาราชการ/พนักงาน สาย ข จํานวน2 คน- ขาราชการ/พนักงาน สาย ค จํานวน2 คน- ลูกจางชั่วคราว จํานวน1 คน

กรรมการทีมที่ 2 หองสมุดคณะเทคนิคการสัตวแพทย ชั้น 1กลุมที่ 1 กลุมผูใชบัณฑิต เวลา 13.00 – 13.45 น. จํานวน 4 คนกลุมที่ 2 กลุมนิสิต เวลา 13.45 – 14.30 น. จํานวน 6 คน

- นิสิตปริญญาตรี (คละภาควิชา) จํานวน 3 คน- ศิษยเกา จํานวน 3 คน

เวลา 14.30 – 16.15 น. คณะกรรมการประเมินฯ สรุปผลการประเมินฯ ของคณะเทคนิคการสัตวแพทย เวลา 14.30 – 16.15 น. คณะกรรมการประเมินฯ สรุปผลการประเมินฯ ของคณะเทคนิคการสัตวแพทย เวลา 16.15 – 17.00 น. คณะกรรมการประเมินฯ รายงานผลเบื้องตนตอผูบริหารและบุคลากร คณะ

เทคนิคการสัตวแพทยวันศุกรที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2549 (คณะวิทยาศาสตรการกีฬา)เวลา 08.30 – 10.00 น. คณะกรรมการประเมินฯ ตรวจสอบเอกสารหลักฐาน ณหองประชุม 3 – 113

ชั้น1 ศูนยปฏิบัติการเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา(คณะศึกษาศาสตร)เวลา 10.00 – 11.00 น. คณะกรรมการประเมินฯ สัมภาษณ ดังนี้

กรรมการทีมที่ 1 ณ หองประชุม (3 – 113) ชั้น1กลุมที่ 1 กลุมอาจารย เวลา 10.00 – 10.30 น. จํานวน 1 คน

- อาจารย/พนักงาน สาย ก ที่ไมใชผูบริหาร จํานวน 1 คน

Page 24: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

21

กลุมที่ 2 กลุมบุคลากร เวลา 10.30 – 11.00 น. จํานวน 1 คน- ขาราชการ/พนักงาน สาย ค จํานวน1 คน

กรรมการทีมที่ 2 ณ หองปฏิบัตการ 1 (3-106) ชั้น 1กลุมที่ 1 กลุมศิษยเกา เวลา 10.00 – 10.30 น. จํานวน 1 คนกลุมที่ 2 กลุมนิสิต เวลา 10.30 – 11.00 น. จํานวน 3 คน

- นิสิตปริญญาโท จํานวน2 คน- นิสิตปริญญาเอก จํานวน 1 คน

เวลา 11.00 – 12.00 น. คณะกรรมการประเมินฯ เยี่ยมชมหนวยงานตางๆ พรอมซักถาม ดังนี้เวลา 11.00 – 11.30 น. สาขาวิชา 4 สาขาเวลา 11.30 – 12.00 น. สํานักงานเลขานุการและศูนยวิจัยและพัฒนา

วิทยาศาสตรการกีฬาเวลา 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน เวลา 13.00 – 15.30 น. คณะกรรมการประเมินฯ สรุปผลการประเมินฯ ของคณะวิทยาศาสตรการกีฬา เวลา 15.30– 16.30 น. คณะกรรมการประเมินฯ รายงานผลเบื้องตนตอผูบริหารและบุคลากร

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา ณ หองปฏิบัตการ1 (3-106) ชั้น1(คณะศึกษาศาสตร)วันอังคารที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2549 (คณะสัตวแพทยศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน)เวลา 07.00 น. คณะกรรมการประเมินฯ พรอมกันที่บริเวณหนาลิฟท อาคารสารนิเทศ 50 ป มก.

เพื่อเดินทางไปคณะสัตวแพทยศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสนเวลา 08.30 น. เดินทางถึงคณะสัตวแพทยศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสนเวลา 08.30– 10.00 น. รองคณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน กลาวตอนรับ และ

แนะนําคณะผูบริหารของคณะสัตวแพทยศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน รวมทั้งสรุปรายงานผลการดําเนินงานในรอบปที่ผานมาของ คณะฯ วิทยาเขตกําแพงแสน ในภาพรวม ณ หองประชุมชั้น 2 (2-210) อาคารโรงพยาบาลสัตว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน

เวลา 10.00– 11.30 น. คณะกรรมการประเมินฯ สัมภาษณ ดังนี้ กรรมการทีมที่ 1ณ หองประชุมชั้น 2 (2-210) อาคารโรงพยาบาลสัตว ฯกลุมที่ 1 กลุมอาจารย เวลา 10.00 – 10.45 น. จํานวน 3 คน

- อาจารย/พนักงาน สาย ก ที่ไมใชผูบริหาร จํานวน 3 คนกลุมที่ 2 กลุมบุคลากร เวลา 10.45 – 11.30 น. จํานวน 4 คน

- ขาราชการ/พนักงาน สาย ข จํานวน1 คน- ขาราชการ/พนักงาน สาย ค จํานวน1 คน

Page 25: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

22

- ลูกจางประจํา จํานวน1 คน- ลูกจางชั่วคราว จํานวน1 คน

กรรมการทีมที่ 2ณ หองประชุมชั้น 1 (2-130) อาคารโรงพยาบาลสัตวฯกลุมที่ 1 กลุมผูใชบัณฑิต เวลา 10.00 – 10.45 น. จํานวน 2 คนกลุมที่ 2 กลุมนิสิต เวลา 10.45 – 11.30 น. จํานวน 4 คน

- นิสิตปริญญาตรี (ชั้นปที่ 4-6) จํานวน 3 คน- นิสิตปริญญาโท จํานวน1 คน

เวลา 11.30 – 12.30 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน ณหองประชุมชั้น 1(2-130)อาคารโรงพยาบาลสัตวฯ

เวลา 12.30 น. เดินทางกลับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขนเวลา 14.00 น. เดินทางถึงคณะสัตวแพทยศาสตร วิทยาเขตบางเขนเวลา 14.00-16.30 น. ตรวจเอกสารหลักฐาน และวิเคราะหการติดตามแผนพัฒนาปรับปรุงตาม

ขอเสนอแนะในรอบปที่ผานมา ณ หองสัมมนาวิทยานิพนธ 1 ชั้น 6 อาคารเรียนและปฏิบัติการ คณะสัตวแพทยศาสตร วิทยาเขตบางเขน

วันพฤหัสบดีที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2549 (คณะสัตวแพทยศาสตร)เวลา 08.30 – 10.30 น. ตรวจเอกสารหลักฐาน และวิเคราะหการติดตามแผนพัฒนาปรับปรุงตาม

ขอเสนอแนะในรอบปที่ผานมา ณ หองสัมมนาวิทยานิพนธ 1 ชั้น 6 อาคารเรียนและปฏิบัติการ คณะสัตวแพทยศาสตร วิทยาเขตบางเขน(ตอ)

เวลา 10.30 – 12.00 น. คณะกรรมการประเมินฯ สัมภาษณ ดังนี้ กรรมการทีมที่ 1ณ หองสัมมนาวิทยานิพนธ 1-2 ชั้น 6 อาคารเรียนและปฏิบัติการ กลุมที่ 1 กลุมอาจารย เวลา 10.30 – 11.15 น. จํานวน 3 คน

- อาจารย/พนักงาน สาย ก ที่ไมใชผูบริหาร จํานวน 3 คนกลุมที่ 2 กลุมบุคลากร เวลา 11.15– 12.00 น. จํานวน 4 คน

- ขาราชการ/พนักงาน สาย ข จํานวน1 คน- ขาราชการ/พนักงาน สาย ค จํานวน1 คน- ลูกจางประจํา จํานวน1 คน- ลูกจางชั่วคราว จํานวน1 คน

กรรมการทีมที่ 2ณ หองสัมมนาวิทยานิพนธ 1- 2 ชั้น 6 อาคารเรียนและปฏิบัติการ กลุมที่1 กลุมศิษยเกา เวลา 10.30 – 11.15 น. จํานวน 2 คน

Page 26: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

23

กลุมที่ 2 กลุมนิสิต เวลา 11.15– 12.00 น. จํานวน 5 คน- นิสิตปริญญาตรี (คละภาควิชา) จํานวน 3 คน- นิสิตปริญญาโท (คละภาควิชา) จํานวน2 คน

เวลา 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน ณ หนาหองสัมมนาวิทยานิพนธ 1 ชั้น 6 อาคารเรียนและปฏิบัติการ คณะสัตวแพทยศาสตร

เวลา 13.00 – 15.30 น. คณะกรรมการประเมินฯ สรุปผลการประเมินฯ ของคณะสัตวแพทยศาสตรเวลา 15.30 – 16.30 น. คณะกรรมการประเมินฯ รายงานผลเบื้องตนตอผูบริหารและบุคลากร คณะสัตว

แพทยศาสตรวันอังคารที่ 31 ตุลาคมพ.ศ. 2549 (สรุปวิเคราะหผลการประเมินฯ )เวลา 13.00 – 16.30 น. คณะกรรมการประเมินฯ รวมกันวิเคราะหและสรุปผลการประเมินภาพรวมของ

กลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพณ หองประชุม6 ชั้น 2อาคารสารนิเทศ 50 ป มก.

วันอังคารที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ 2549 (รายงานผลประเมินฯ)เวลา 13.00 - 13.30 น. คณะกรรมการและผูบริหารกลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ

พรอมกัน ณ หองสัมมนาวิทยานิพนธ 1 ชั้น 6 อาคารเรียนและปฏิบัติการคณะสัตวแพทยศาสตร วิทยาบางเขน

เวลา 13.30 - 14.00 น. ประธานกรรมการฯ สรุปผลการประเมินสําหรับผูบริหารเวลา 14.00 - 16.30 น. คณะกรรมการฯ รายงานสรุปผลภาพรวมตามดัชนีประเมินคุณภาพคณะ

กรรมการฯ รายงานการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออนและขอเสนอแนะของกลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ

ผลการประเมินคุณภาพภายในคณะกรรมการประเมินฯ ไดพิจารณาผลการดําเนินงานตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

สําหรับกลุมแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพที่ตองดําเนินการตามรูปแบบ 9 องคประกอบ ซึ่งกําหนดดัชนีตรวจสอบไวจํานวน 55 ดัชนี และดัชนีประเมินฯ จํานวน 41 ดัชนี และกําหนดเกณฑการประเมินคุณภาพใชเกณฑระดับคะแนน 5 ระดับ ซึ่งผลการประเมินในภาพรวมของแตละหนวยงานตองไมต่ํากวา 3.50 จึงถือวาผานการประเมินในระดับดีที่มหาวิทยาลัยตองการ ดังนี้

ระดับคะแนนที่ 1 คะแนนเฉลี่ยนอยกวา 1.50 หมายถึง วิกฤตระดับคะแนนที่ 2 คะแนนเฉลี่ย 1.50 แตนอยกวา 2.50 หมายถึง ควรปรับปรุงระดับคะแนนที่ 3 คะแนนเฉลี่ย 2.50 แตนอยกวา 3.50 หมายถึง ปานกลางระดับคะแนนที่ 4 คะแนนเฉลี่ย 3.50 แตนอยกวา 4.50 หมายถึง ดีระดับคะแนนที่ 5 คะแนนเฉลี่ย 4.50 หรือมากกวา หมายถึง ดีเยี่ยม

Page 27: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

24

ในการดําเนินงานการประเมินคุณภาพภายในระดับมหาวิทยาลัย ประจําป 2549 ไดพิจารณาผลการดําเนินงานในรอบปการศึกษา 2548 (1 มิถุนายน 2548 – 31 พฤษภาคม 2549) ของกลุมสาขาแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ พบวา จากการประเมินผลการดําเนินงานตามดัชนีตรวจสอบฯ และดัชนีประเมินคุณภาพภายในของกลุมแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ ทั้ง3 หนวยงานสามารถสรุปผลการประเมินไดดังตารางที่ 1 และ2

ตารางที่ 1 ผลการประเมินตามดัชนีตรวจสอบฯ และดัชนีประเมินในแตละองคประกอบดัชนีตรวจสอบฯ ดัชนีประเมินฯ

องคประกอบ มก. เทคนิคการสัตว

แพทย

วิทยาศาสตรการกีฬา

สัตวแพทยศาสตร

มก. เทคนิคการสัตวแพทย

วิทยาศาสตรการกีฬา

สัตวแพทยศาสตร

1 3 1* 2** 3 1 1 1 12 20 17* 20 20 12 10* 11** 123 4 4 4 4 2 2 2 24 4 4 4 4 7 5* 6** 75 4 4 4 4 3 3 3 36 2 2 2 2 1 1 1 17 10 6* 9** 10 7 6* 7 78 5 3* 5 5 6 6 6 69 3 2* 3 3 2 1* 1** 2

รวม 55 43 53 55 41 35 39 41

หมายเหตุ * คณะเทคนิคการสัตวแพทย ไมพบผลการดําเนินงานตามดัชนีตรวจสอบจํานวน 12 ดัชนี คือ ดัชนีที่2, 3,5, 9, 23, 39, 40, 41, 46, 50, 52, 53 และไมพบผลการดําเนินงานตามดัชนีประเมินจํานวน 6 ดัชนี คือ ดัชนีที่ 6, 10, 16, 17,27, 41

** คณะวิทยาศาสตรการกีฬา ไมพบผลการดําเนินงานตามดัชนีตรวจสอบจํานวน 2 ดัชนี คือ ดัชนีที่3, 41และไมพบผลการดําเนินงานตามดัชนีประเมินจํานวน 3 ดัชนี คือ ดัชนีที่ 8, 16, 41

Page 28: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

25

ตารางที่ 2 ผลการประเมินแตละดัชนีผลการประเมินของแตละดัชนีกลุมสัตวแพทยศาสตรและ

วิทยาศาสตรสุขภาพ ไมขอประเมิน ไมพบผลการดําเนินงาน

วิกฤต ควรปรับปรุง ปานกลาง ดี ดีเยี่ยม

คณะเทคนิคการสัตวแพทย 16, 17 6, 10, 27, 41 3, 4, 5, 12,15, 24, 25,28, 29, 30,32, 39,

7, 18, 21, 26,37

8, 34, 36 1, 2, 14 9, 11, 13, 19,20, 22, 23,31, 33, 35,38, 40

รวมจํานวนดัชนี 2 4 12 5 3 3 12คณะวิทยาศาสตรการกีฬา 16, 8, 41 4, 5, 7, 12,

17, 21, 34,35

39 13, 24, 32, 1, 3, 6, 15,28, 30

2, 9, 10, 11,14, 18, 19,20, 22, 23,25, 26, 27,29, 31, 33,36, 37, 38,40

รวมจํานวนดัชนี 1 2 8 1 3 6 20คณะสัตวแพทยศาสตร - - 5, 16, 30, 36,

384, 18, 39 7, 19, 27, 31,

32, 35, 413, 6, 11, 13,15, 22

1, 2, 8, 9, 10,12, 14, 17,20, 21, 23,24, 25, 26,28, 29, 33,34, 37, 40

รวมจํานวนดัชนี 0 0 5 3 7 6 20

สรุปผลการประเมินภาพรวมของกลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพการประเมินผลการดําเนินงานของกลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ ทั้ง 3

หนวยงาน ซึ่งผลการประเมินในภาพรวมตองไมต่ํากวา 3.50 จึงจะถือวาผานการประเมินในระดับดีที่มหาวิทยาลัยตองการนั้น พบวา กลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ ทั้ง 3 คณะผานเกณฑประเมิน2 คณะ คือคณะสัตวแพทยศาสตร มีระดับคะแนน4.01 อยูในเกณฑดี และคณะวิทยาศาสตรการกีฬา มีระดับคะแนน 3.81 อยูในเกณฑดีสวนคณะเทคนิคการสัตวแพทย มีระดับคะแนน 2.80 อยูในเกณฑปานกลางแสดงผลดังตารางที่3 และแผนภูมิที่ 1 ดังนี้

Page 29: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

26

ตารางที่ 3 แสดงผลการประเมินตามเกณฑของมหาวิทยาลัยสําหรับกลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ

กลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพการประเมินตนเอง คณะกรรมการประเมินองค

ประกอบ เทคนิคสัตวแพทย

วิทยาศาสตรการกีฬา

สัตวแพทยศาสตร

เฉลี่ย เทคนิคสัตวแพทย

วิทยาศาสตรการกีฬา

สัตวแพทยศาสตร

เฉลี่ย

1 4.00 4.00 5.00 4.33 4.00 4.00 5.00 4.332 2.50 3.10 3.87 3.16 2.77 3.10 3.73 3.203 2.50 4.50 5.00 4.00 2.50 4.50 4.50 3.834 3.10 3.90 3.50 3.50 3.40 3.70 3.80 3.635 1.75 5.00 5.00 3.92 2.00 4.25 5.00 3.756 1.00 5.00 5.00 3.67 2.00 5.00 5.00 4.007 2.21 4.29 3.14 3.21 1.71 4.29 3.57 3.198 2.70 2.80 3.00 2.83 2.70 2.80 3.60 3.039 1.00 5.00 3.80 3.27 5.00 5.00 3.80 4.60

รวม 2.46(ควรปรับปรุง)

3.91(ดี)

3.94(ดี)

3.44(ปานกลาง)

2.80(ปานกลาง)

3.81(ดี)

4.01(ดี)

3.54(ดี)

4.00

2.77

2.50

3.40

2.00 2.00

1.71

2.70

5.00

2.80

4.00

3.10

4.50

3.70

4.25

5.00

4.29

2.80

5.00

3.81

5.00

3.73

4.50

3.80

5.00 5.00

3.57 3.60

3.80

4.01

4.33

3.20

3.83

3.633.75

4.00

3.193.03

4.60

3.54

0.00

1.00

2.00

3.00

4.00

5.00

อ.1 อ.2 อ.3 อ.4 อ.5 อ.6 อ.7 อ.8 อ.9 เฉลี่ย

องคประกอบ

ระดับคะแนน

คณะเทคนิคการสัตวแพทย คณะวิทยาศาสตรการกีฬา คณะสัตวแพทยศาสตร เฉลี่ย

แผนภูมิที่ 1 ระดับคะแนนภาพรวม 9 องคประกอบ ของกลุมสาขาสัตวแพทยศาสตร และวิทยาศาสตรสุขภาพที่ไดรับการประเมินจากคณะกรรมการฯ

Page 30: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

27

ผลการดําเนินงานของกลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศสตรสุขภาพ แยกตามองคประกอบคุณภาพ

ผลการดําเนินงานภาพรวมของกลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพตามดัชนีประเมินคุณภาพแยกตามองคประกอบคุณภาพ สามารถสรุปผลการดําเนินงานไดดังนี้

องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงคและแผนงานการประเมินผลการดําเนินงานในภาพรวมองคประกอบที่ 1 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและ

วิทยาศาสตรสุขภาพ พบวา ปการศึกษา 2548 มีระดับคะแนนเฉลี่ย 4.33 ผลการประเมินภาพรวมอยูในเกณฑดี คณะที่มีผลการประเมินมากที่สุด คือ คณะสัตวแพทยศาสตร ระดับคะแนนเฉลี่ย 5.00 อยูในเกณฑดีเยี่ยม รองลงมา คือ คณะวิทยาศาสตรการกีฬา และคณะเทคนิคการสัตวแพทย โดยมีระดับคะแนนเฉลี่ย 4.00 อยูในเกณฑดี เชนกัน รายละเอียดดังตารางที่ 4 และแผนภูมิที่ 2ตารางที่ 4 แสดงการประเมินผลการดําเนินงานภาพรวมองคประกอบที่ 1 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ

คณเทคนิคการสัตวแพทย

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา

คณะสัตวแพทยศาสตร เฉลี่ย

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

ดัชนี

องคประกอบ/ดัชนีประเมิน

คาถวงน้ํ

าหนัก

ผลกา

รดําเนิ

นงาน

/ผลปร

ะเมิน

2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548องคประกอบที่1ปรัชญาปณิธานวัตถุประสงค และแผนงาน

5.00 N/A 4.00 N/A 4.00 5.00 5.00 N/A 4.33

5.00 ผล - 3.71 - 3.16 4.76 4.54 - 3.80

1

แผนงาน/โครงการที่มีการประเมินผลการดําเนินงาน

ผลประเมิน

- 4.00 - 4.00 5.00 5.00 - 4.33

Page 31: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

28

องคประกอบที่ 1

4.00 4.00

5.00

4.33

0

1

2

3

4

5

คณะเทคนิคการสัตวแพทย

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา

คณะสัตวแพทยศาสตร เฉลี่ย คณะวิชา

ระดับค

ะแนน

แผนภูมิที่ 2 แสดงผลการประเมินภาพรวมกลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพในองคประกอบที่ 1

สําหรับการวิเคราะหผลการประเมินในภาพรวมองคประกอบที่ 1 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ พบวา ปการศึกษา 2548 มีคาเฉลี่ย 4.33 หมายความวา ทั้ง 3 คณะมีการวางแผนและการประเมินผลการดําเนินงานตามแผนงานที่ตอบสนองพันธกิจของมหาวิทยาลัยไดอยางชัดเจน แตยังไมพบการติดตามและประเมินโครงการที่ยังไมครบทุกโครงการในบางคณะ ซึ่งควรมีการติดตามและประเมินผลทุกแผนงานและทุกโครงการ

องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอนการประเมินผลการดําเนินงานในภาพรวมองคประกอบที่ 2 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและ

วิทยาศาสตรสุขภาพ พบวา ปการศึกษา 2548 มีระดับคะแนนเฉลี่ย 3.20 ผลการประเมินภาพรวมอยูในเกณฑปานกลางคณะที่มีผลการประเมินมากที่สุด คือ คณะสัตวแพทยศาสตร ระดับคะแนนเฉลี่ย 3.73 อยูในเกณฑดีรองลงมา คือ คณะวิทยาศาสตรการกีฬา ระดับคะแนนเฉลี่ย 3.10 อยูในเกณฑปานกลาง สวนคณะเทคนิคการสัตวแพทยมีผลการประเมินนอยที่สุด โดยมีระดับคะแนนเฉลี่ย2.77 อยูในเกณฑปานกลาง รายละเอียดดังตารางที่ 5 และแผนภูมิที่ 3

Page 32: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

29

ตารางที่ 5 แสดงการประเมินผลการดําเนินงานภาพรวมองคประกอบที่ 2 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ

คณเทคนิคการสัตวแพทย

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา

คณะสัตวแพทยศาสตร

เฉลี่ย

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

ดัชนีองคประกอบ/ดัชนีประเมิน

คาถวงน้ํ

าหนัก

ผลการ

ดําเนิน

งาน/ผล

ประเมิ

2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548องคประกอบที่2 การ

เรียนการสอน 30.00 N/A 2.77 N/A 3.10 2.97 3.73 N/A 3.20

3.00 ผล - 77.78 - 100.00 38.89 80.11 - 85.962

รอยละของรายวิชาที่มีการทบทวนเพื่อปรับปรุงใหเนนผูเรียนเปนสําคัญ

ผลประเมิน

- 4.00 - 5.00 1.00 5.00 - 4.67

3.00 ผล - 20.00 - 50.00 40.63 41.22 - 37.07

3

รอยละของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทาตออาจารยประจําทั้งหมด

ผลประเมิน

- 1.00 - 4.00 4.00 4.00 - 3.00

5.00 ผล - 1.00 - 1.95 1.97 2.06 - 1.674

สัดสวนของอาจารยที่มีตําแหนงทางวิชาการ

ผลประเมิน

- 1.00 - 1.00 1.00 2.00 - 1.33

2.00 ผล - 0.00 - 0.00 1.11 1.66 - 0.55

5

รอยละของจํานวนโครงการวิจัยที่ทําเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรูตอจํานวนรายวิชาที่เปดสอนทั้งหมด

ผลประเมิน

- 1.00 - 1.00 1.00 1.00 - 1.00

2.00 ผล - 0.00 - 80.00 70.00 72.00 - 50.676

กระบวนการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา

ผลประเมิน - 0.00 - 4.00 4.00 4.00 - 2.67

7

ระบบประเมินผลการสอนของอาจารยโดย

3.00 ผล - 0.85 - 0.00 1.11 1.67 - 0.84

Page 33: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

30

คณเทคนิคการสัตวแพทย

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา

คณะสัตวแพทยศาสตร เฉลี่ย

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

ดัชนีองคประกอบ/ดัชนีประเมิน

คาถวงน้ํ

าหนัก

ผลกา

รดําเนิ

นงาน

/ผลปร

ะเมิน

2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548นิสิตทั้งระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา

ผลประเมิน - 2.00 - 1.00 2.00 3.00 - 2.00

1.00 ผล - 78.84 - 0.00 88.32 90.53 - 56.468

รอยละของการคงไวซึ่งนิสิตปริญญาตรีชั้นปที่ 2

ผลประเมิน - 3.00 - 0.00 4.00 5.00 - 2.67

3.00 ผล - 85.00 - 71.43 96.47 88.99 - 81.81

9

ภาวะการทํางานของบัณฑิต-รอยละของการไดงานทําของบัณฑิตภายใน 3 เดือน

ผลประเมิน - 5.00 - 5.00 5.00 5.00 - 5.00

2.00 ผล - 0.00 - 32.14 50.00 100.00 - 44.05

10

รอยละของจํานวนบทความจากวิทยานิพนธของนิสิตบัณฑิตศึกษาที่ตีพิมพในวารสารตอจํานวนวิทยานิพนธทั้งหมด

ผลประเมิน - 0.00 - 5.00 5.00 5.00 - 3.33

2.00 ผล - 4.96 - 5.00 3.83 4.00 - 4.65

11

ระบบการวัดและการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนิสิต

ผลประเมิน

- 5.00 - 5.00 4.00 4.00 - 4.67

2.00 ผล - 622.05 - 0.00 3,319.90 5,756.16 - 2,126.0712

คาใชจายทั้งหมดเกี่ยวกับปจจัยเกื้อหนุนตอนิสิตเต็มเวลาเทียบเทา

ผลประเมิน - 1.00 - 1.00 3.00 5.00 - 2.33

13

จํานวนคอมพิวเตอรที่ใชในการสรางกระบวนการ

2.00 ผล - 2.95 - 20.33 6.33 13.87 - 12.38

Page 34: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

31

คณเทคนิคการสัตวแพทย

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา

คณะสัตวแพทยศาสตร เฉลี่ย

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

ดัชนีองคประกอบ/ดัชนีประเมิน

คาถวงน้ํ

าหนัก

ผลกา

รดําเนิ

นงาน

/ผลปร

ะเมิน

2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548เรียนรูของนิสิตตอจํานวนนิสิตเต็มเวลาเทียบเทา

ผลประเมิน - 5.00 - 3.00 5.00 4.00 - 4.00

องคประกอบที่ 2

2.773.10

3.73

3.20

0

1

2

3

4

5

คณะเทคนิคการสัตวแพทย

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา

คณะสัตวแพทยศาสตรเฉลี่ย

คณะวิชา

ระดับค

ะแนน

แผนภูมิที่ 3 แสดงผลการประเมินภาพรวมกลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพในองคประกอบที่ 2

การวิเคราะหผลการประเมินภาพรวมองคประกอบที่ 2 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ พบวา ดัชนีประเมินที่มีผลการดําเนินงานของคณะวิชาแตกตางกันมากภายในกลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ คือ ดัชนีที่ 3 รอยละของอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทาตออาจารยประจําทั้งหมด อยูในเกณฑวิกฤต และดัชนีที่ 10 รอยละของจํานวนบทความจากวิทยานิพนธหรือเทียบเทาของนิสิตบัณฑิตศึกษาที่ตีพิมพในวารสารตอจํานวนวิทยานิพนธหรือเทียบเทาทั้งหมด อยูในเกณฑที่วิกฤตเชนกัน ซึ่งทั้ง 2 ดัชนีนี้เปนผลการดําเนินงานของคณะเทคนิคการสัตวแพทย ซึ่งเปนหนวยงานใหมที่มีอาจารยที่มีคุณระดับปริญญาเอกนอยและยังไมมีการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา สวนดัชนีที่คณะสวนใหญมีผลการดําเนินงานต่ําสงผลใหมีคาเฉลี่ยของระดับคะแนนของกลุมคอนขางต่ําอยูในเกณฑควรปรับปรุงและวิกฤต ไดแก ดัชนีที่ 4 อาจารยประจําที่มีตําแหนงทางวิชาการและดัชนีที่ 5 รอยละของจํานวนโครงการวิจัยที่ทําเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรูตอจํานวน

Page 35: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

32

รายวิชาที่เปดสอนทั้งหมดซึ่งทุกคณะควรมีการสรางความเขาใจรวมกันในหลักการและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการเนนผูเรียนเปนสําคัญ และการดําเนินโครงการวิจัยที่ทําเพื่อพัฒนากระบวนการ

องคประกอบที่ 3 การพัฒนานิสิตการประเมินผลการดําเนินงานในภาพรวมองคประกอบที่ 3 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและ

วิทยาศาสตรสุขภาพ พบวา ปการศึกษา 2548 มีระดับคะแนนเฉลี่ย 3.83 ผลการประเมินภาพรวมอยูในเกณฑดี คณะที่มีผลการประเมินมากที่สุด คือ คณะสัตวแพทยศาสตร และคณะวิทยาศาสตรการกีฬา ระดับคะแนนเฉลี่ย 4.50 อยูในเกณฑดีเยี่ยมเชนกัน สวนคณะเทคนิคการสัตวแพทย มีผลการประเมินนอยที่สุด โดยมีระดับคะแนนเฉลี่ย2.50 อยูในเกณฑปานกลาง รายละเอียดดังตารางที่ 6 และแผนภูมิที่ 4ตารางที่ 6 แสดงการประเมินผลการดําเนินงานภาพรวมองคประกอบที่ 3 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ

คณเทคนิคการสัตวแพทย

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา

คณะสัตวแพทยศาสตร เฉลี่ย

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

ดัชนี องคประกอบ/ดัชนีประเมิน

คาถวงน้ํ

าหนัก

ผลกา

รดําเนิ

นงาน

/ผลปร

ะเมิน

2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548

องคประกอบที่3 การพัฒนานิสิต 8.00 N/A 2.50 N/A 4.50 3.00 4.50 N/A 3.83

4.00 ผล - 71.03 - 270.00 3,422.33 100.00 - 147.01

14

คาใชจายในกิจกรรมสงเสริมและพัฒนาการของนิสิตที่จัดภายในคณะตอจํานวนนิสิตทั้งหมด

ผลประเมิน

- 4.00 - 5.00 5.00 5.00 - 4.67

4.00 ผล - 1.00 - 4.00 0.52 3.80 - 2.9315

ระบบอาจารยที่ปรึกษา ผล

ประเมิน - 1.00 - 4.00 1.00 4.00 - 3.00

Page 36: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

33

องคประกอบที่ 3

2.50

4.50 4.50

3.83

0

1

2

3

4

5

คณะเทคนิคการสัตวแพทย

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา

คณะสัตวแพทยศาสตร เฉลี่ย คณะวิชา

ระดับค

ะแนน

แผนภูมิที่ 4 แสดงผลการประเมินภาพรวมกลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพในองคประกอบที่3

การวิเคราะหผลการประเมินภาพรวมองคประกอบที่ 3 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ พบวา มีผลการประเมินในระดับดี-ดีเยี่ยมในดัชนีที่ 14 ซึ่งมีความโดดเดนในการจัดกิจกรรมพัฒนานิสิตที่หลากหลายเพื่อเปดโอกาสใหนิสิตแสดงความสามารถอยางเต็มศักยภาพ และสรางประสบการณการเรียนรูตามสภาพจริงที่เปนประโยชนตอการพัฒนาทักษะการเรียนรูของนิสิตโดยนิสิตใหความรวมมือในการเขารวมกิจกรรมเปนอยางดี สําหรับดัชนีที่ 15 ในแตละหนวยงานยังมีการดําเนินงานที่แตกตางกัน ซึ่งจากการวิเคราะหผลการดําเนินงาน พบวา ยังขาดการดําเนินงานในบางกิจกรรมในระบบอาจารยที่ปรึกษา เชน ขาดการรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวกับการใหคําปรึกษาปญหาของนิสิต และขาดการประมวลผล/การวิเคราะหปญหานิสิต และติดตามการแกปญหานอกจากนี้ควรจัดประชุมทําความเขาใจระหวางคณาจารยเกี่ยวกับกิจกรรมระบบอาจารยที่ปรึกษาใหเขาใจตรงกันเพื่อการพัฒนานิสิต

องคประกอบที่ 4 การวิจัยการประเมินผลการดําเนินงานในภาพรวมองคประกอบที่ 4 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและ

วิทยาศาสตรสุขภาพ พบวา ปการศึกษา 2548 มีระดับคะแนนเฉลี่ย 3.63 ผลการประเมินภาพรวมอยูในเกณฑดี คณะที่มีผลการประเมินมากที่สุด คือ คณะสัตวแพทยศาสตร ระดับคะแนนเฉลี่ย 3.80 อยูในเกณฑดี รองลงมา คือ คณะวิทยาศาสตรการกีฬา ระดับคะแนนเฉลี่ย 3.70 อยูในเกณฑดี สวนคณะเทคนิคการสัตวแพทย มีผลการประเมินนอยที่สุด โดยมีระดับคะแนนเฉลี่ย3.40 อยูในเกณฑปานกลาง รายละเอียดดังตารางที่ 7 และแผนภูมิที่5

Page 37: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

34

ตารางที่ 7 แสดงการประเมินผลการดําเนินงานภาพรวมองคประกอบที่ 4 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ

คณเทคนิคการสัตวแพทย

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา

คณะสัตวแพทยศาสตร

เฉลี่ย

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

ดัชนีองคประกอบ/ดัชนีประเมิน

คาถว

งน้ําห

นัก

ผลการ

ดําเนิน

งาน/ผล

ประเมิ

2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548องคประกอบที่4 การวิจัย 20.00 N/A 3.40 N/A 3.70 3.90 3.80 N/A 3.63

2.00 ผล - 0.00 - 0.00 0.36 0.42 - 0.14

16

รอยละของเงินรายไดที่สนับสนุนงานวิจัยภายในคณะวิชาตองบประมาณเงินรายไดทั้งหมด

ผลประเมิน

- 0.00 - 0.00 1.00 1.00 - 0.33

2.00 ผล - 0.00 - 10,000.00 59,781.25 88,033.13 - 32,677.71

17

สัดสวนของเงินสนับสนุนงานวิจัยภายในมหาวิทยาลัยตออาจารยประจํา

ผลประเมิน - 0.00 - 1.00 4.00 5.00 - 2.00

2.00 ผล - 94,428.00 - 418,830.00 129,752.34 63,506.63 - 192,254.88

18

จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยของคณะวิชาที่ไดรับจากแหลงเงินภายนอกมหาวิทยาลัยตออาจารยประจํา

ผลประเมิน - 2.00 - 5.00 3.00 2.00 - 3.00

4.00 ผล - 100.00 - 97.67 68.46 41.91 - 79.86

19

รอยละของเงินสนับสนุนงานวิจัยจากภายนอกมหาวิทยาลัยตองบประมาณวิจัยทั้งหมด

ผลประเมิน

- 5.00 - 5.00 5.00 3.00 - 4.33

6.00 ผล - 0.60 - 0.80 0.91 1.12 - 0.84

20

จํานวนบทความวิจัยที่พิมพเผยแพรและงานสรางสรรค/สิทธิบัตรตอจํานวนอาจารยประจํา

ผลประเมิน

- 5.00 - 5.00 5.00 5.00 - 5.00

Page 38: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

35

คณเทคนิคการสัตวแพทย

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา

คณะสัตวแพทยศาสตร เฉลี่ย

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

ดัชนีองคประกอบ/ดัชนีประเมิน

คาถวงน้ํ

าหนัก

ผลการ

ดําเนิน

งาน/ผล

ประเมิ

2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548

2.00 ผล - 0.00 - 0.00 1.00 4.50 - 1.50

21

จํานวนรางวัลตางๆที่เกี่ยวของกับผลงานวิจัยหรือผลงานสรางสรรคระดับชาติและนานาชาติของอาจารยและนิสิต

ผลประเมิน

- 2.00 - 1.00 1.00 5.00 - 2.67

2.00 ผล - 40.00 - 40.00 92.97 3.81 - 27.94

22

รอยละของผลงานวิจัยหรือผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพร/นําไปอางอิงและสามารถนําไปใชประโยชนตอสังคมไดตอจํานวนอาจารยประจํา

ผลประเมิน - 5.00 - 5.00 5.00 4.00 - 4.67

องคประกอบที่ 4

3.403.70 3.80 3.63

0

1

2

3

4

5

คณะเทคนิคการสัตวแพทย

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา

คณะสัตวแพทยศาสตรเฉลี่ย คณะวิชา

ระดับ

คะแน

แผนภูมิที่5 แสดงผลการประเมินภาพรวมกลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ ในองคประกอบที่ 4

Page 39: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

36

การวิเคราะหผลการประเมินภาพรวมองคประกอบที่ 4 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ พบวา มีจํานวน 2 ดัชนี มีคาเฉลี่ยของระดับคะแนนของแตละดัชนีอยูในเกณฑดีถึงดีเยี่ยม คือดัชนีที่ 20 และ 22 สวนผลการดําเนินงานของดัชนีที่16 เงินรายไดที่สนับสนุนงานวิจัยภายในคณะวิชาตอเงินรายไดทั้งหมด สวนใหญจะมีผลการประเมินในระดับต่ําอยูในเกณฑวิกฤต เนื่องจากผูวิจัยมีความสามารถหาเงินสนับสนุนงานวิจัยสวนใหญจากมหาวิทยาลัยและแหลงเงินภายนอกมากกวา

องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคมการประเมินผลการดําเนินงานในภาพรวมองคประกอบที่ 5 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและ

วิทยาศาสตรสุขภาพ พบวา ปการศึกษา 2548 มีระดับคะแนนเฉลี่ย 3.75 ผลการประเมินภาพรวมอยูในเกณฑดี คณะที่มีผลการประเมินมากที่สุด คือ คณะสัตวแพทยศาสตร ระดับคะแนนเฉลี่ย 5.00 อยูในเกณฑดีเยี่ยม รองลงมา คือ คณะวิทยาศาสตรการกีฬา ระดับคะแนนเฉลี่ย 4.25 อยูในเกณฑดี สวนคณะเทคนิคการสัตวแพทย มีผลการประเมินนอยที่สุด โดยมีระดับคะแนนเฉลี่ย2.00 อยูในเกณฑควรปรับปรุง รายละเอียดดังตารางที่ 8 และแผนภูมิที่6ตารางที่ 8 แสดงการประเมินผลการดําเนินงานภาพรวมองคประกอบที่ 5 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ

คณเทคนิคการสัตวแพทย

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา

คณะสัตวแพทยศาสตร

เฉลี่ย

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

ดัชนีองคประกอบ/ดัชนีประเมิน

คาถว

งน้ําห

นัก

ผลการ

ดําเนิน

งาน/ผล

ประเมิ

2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548องคประกอบที่5 การใหบริการทางวิชาการแกสังคม

8.00 N/A 2.00 N/A 4.25 3.25 5.00 N/A 3.75

2.00 ผล - 33.19 - 46.00 27.78 21.02 - 33.40

23

รอยละของจํานวนชั่วโมงที่ใหบริการวิชาการของอาจารยประจําตอจํานวนชั่วโมงการทํางานทั้งหมด

ผลประเมิน - 5.00 - 5.00 4.00 5.00 - 5.00

3.00 ผล - 2.05 - 13.01 89.00 83.19 - 32.7524

รอยละของเงินรายไดจากการบริการวิชาการตองบประมาณเงินรายไดทั้งหมดของคณะ

ผลประเมิน

- 1.00 - 3.00 1.00 5.00 - 3.00

Page 40: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

37

คณเทคนิคการสัตวแพทย

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา

คณะสัตวแพทยศาสตร เฉลี่ย

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

ดัชนีองคประกอบ/ดัชนีประเมิน

คาถวงน้ํ

าหนัก

ผลการ

ดําเนิน

งาน/ผล

ประเมิ

2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548

3.00 ผล - 0.00 - 90.00 46.09 215.26 - 101.75

25

รอยละของการไดรับเชิญไปวิทยากร/กรรมการวิชาการ/วิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ/กรรมการผูทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัยตออาจารยประจําทั้งหมด

ผลประเมิน

- 1.00 - 5.00 5.00 5.00 - 3.67

องคประกอบที่ 5

2.00

4.25

5.00

3.75

0

1

2

3

4

5

คณะเทคนิคการสัตวแพทย

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา

คณะสัตวแพทยศาสตรเฉลี่ย คณะวิชา

ระดับค

ะแนน

แผนภูมิที่ 6 แสดงผลการประเมินภาพรวมกลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ ในองคประกอบที่ 5

การวิเคราะหผลการประเมินภาพรวมองคประกอบที่ 5 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ พบวาผลการดําเนินงานที่มีความแตกตางกันอยางชัดเจนจํานวน 2 ดัชนี คือ ดัชนีที่ 24 มีการรายงานขอมูลจํานวนชั่วโมงการใหบริการวิชาการของบางคณะไมครบถวนสอดคลองกับผลการดําเนินงาน และดัชนีที่ 25 รอยละของเงินรายไดสุทธิจากการบริการวิชาการตอเงินรายไดทั้งหมดของบางคณะมีจํานวนนอย เนื่องจากเปนการใหบริการโดยไมคิดคาใชจาย ซึ่งทางกลุมสาขาฯ ควรหาแนวทางใหมี

Page 41: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

38

รายงานขอมูลที่ครบถวนทั้งจํานวนกิจกรรมและจํานวนชั่วโมงการใหบริการวิชาการเพื่อใหสามารถสะทอนผลการดําเนินงานที่แทจริง รวมทั้งควรแนวทางการสรางรายไดจากการบริการวิชาการใหมากขึ้น

องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมการประเมินผลการดําเนินงานในภาพรวมองคประกอบที่ 6 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและ

วิทยาศาสตรสุขภาพ พบวา ปการศึกษา 2548 มีระดับคะแนนเฉลี่ย 4.00 ผลการประเมินภาพรวมอยูในเกณฑดี คณะที่มีผลการประเมินมากที่สุด คือ คณะสัตวแพทยศาสตร และคณะวิทยาศาสตรการกีฬา ระดับคะแนนเฉลี่ย 5.00 อยูในเกณฑดีเยี่ยมเชนกัน สวนคณะเทคนิคการสัตวแพทย มีผลการประเมินนอยที่สุด โดยมีระดับคะแนนเฉลี่ย2.00 อยูในเกณฑควรปรับปรุง รายละเอียดดังตารางที่ 9 และแผนภูมิที่7ตารางที่ 9 แสดงการประเมินผลการดําเนินงานภาพรวมองคประกอบที่ 6 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ

คณเทคนิคการสัตวแพทย

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา

คณะสัตวแพทยศาสตร

เฉลี่ย

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

ดัชนี องคประกอบ/ดัชนีประเมิน

คาถว

งน้ําห

นัก

ผลการ

ดําเนิน

งาน/ผล

ประเมิ

2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548องคประกอบที่6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 5.00 N/A 2.00 N/A 5.00 5.00 5.00 N/A 4.00

5.00 ผล - 6.00 - 18.00 14.00 27.00 - 17.0026

จํานวนกิจกรรม /โครงการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

ผลประเมิน - 2.00 - 5.00 5.00 5.00 - 4.00

องคประกอบที่ 6

2.00

5.00 5.00

4.00

0

1

2

3

4

5

คณะเทคนิคการสัตวแพทย

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา

คณะสัตวแพทยศาสตรเฉลี่ย คณะวิชา

ระดับค

ะแนน

แผนภูมิที่ 7 แสดงผลการประเมินภาพรวมกลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ ในองคประกอบที่ 6

Page 42: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

39

การวิเคราะหผลการประเมินภาพรวมองคประกอบที่6 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพพบวา มีการจัดกิจกรรมการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดแทรกกับการจัดกิจกรรมพัฒนานิสิตที่หลากหลายเพื่อปลูกจิตสํานึกทางดานคุณธรรม จริยธรรม การพัฒนาทางปญญาตามแนวพุทธศาสนา และพัฒนาวุฒิภาวะทางดานพฤติกรรม จิตใจและปญญาบนฐานแหงภูมิปญญาไทย ทั้งนี้ ทุกคณะควรมีการประเมินผลโครงการและกิจกรรมที่ดําเนินการใหครบถวน

องคประกอบที่ 7 การบริหารและจัดการการประเมินผลการดําเนินงานในภาพรวมองคประกอบที่ 7 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและ

วิทยาศาสตรสุขภาพ พบวา ปการศึกษา 2548 มีระดับคะแนนเฉลี่ย 3.19 ผลการประเมินภาพรวมอยูในเกณฑปานกลาง คณะที่มีผลการประเมินมากที่สุด คือ คณะวิทยาศาสตรการกีฬา ระดับคะแนนเฉลี่ย 4.29อยูในเกณฑดี รองลงมา คือ คณะสัตวแพทยศาสตร ระดับคะแนนเฉลี่ย 3.57 อยูในเกณฑดี สวนคณะเทคนิคการสัตวแพทย มีผลการประเมินนอยที่สุด โดยมีระดับคะแนนเฉลี่ย1.71 อยูในเกณฑควรปรับปรุง รายละเอียดดังตารางที่ 10 และแผนภูมิที่8ตารางที่ 10 แสดงการประเมินผลการดําเนินงานภาพรวมองคประกอบที่ 7 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ

คณเทคนิคการสัตวแพทย

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา

คณะสัตวแพทยศาสตร

เฉลี่ย

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

ดัชนีองคประกอบ/ดัชนีประเมิน

คาถว

งน้ําห

นัก

ผลการ

ดําเนิน

งาน/ผล

ประเมิ

2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548องคประกอบที่7 การบริหารจัดการ

14.00 N/A 1.71 N/A 4.29 2.71 3.57 N/A 3.19

2.00 ผล - 0.00 - 5.00 2.33 3.77 - 2.9227

มีระบบการบริหารจัดการที่ดีแบบธรรมาภิบาล และภาวะผูนํา ผลประเมิน - 0.00 - 5.00 2.00 3.00 - 2.67

2.00 ผล - 11.22 - 6.10 5.41 5.04 - 7.4528

จํานวนอาจารยประจําตอจํานวนนิสิตเต็มเวลาเทียบเทาของคณะ ผลประเมิน - 1.00 - 4.00 5.00 5.00 - 3.33

2.00 ผล - 2.80 - 0.20 0.27 0.41 - 1.14

29

สัดสวนของจํานวนบุคลากรสาย ก ตอบุคลากรสายสนับสนุนในคณะทั้งหมด

ผลประเมิน - 1.00 - 5.00 2.00 5.00 - 3.67

Page 43: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

40

คณเทคนิคการสัตวแพทย

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา

คณะสัตวแพทยศาสตร เฉลี่ย

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

ดัชนีองคประกอบ/ดัชนีประเมิน

คาถวงน้ํ

าหนัก

ผลการ

ดําเนิน

งาน/ผล

ประเมิ

2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548

2.00 ผล - 0.16 - 2.45 0.42 0.42 - 1.0130

รอยละของคาใชจายในการพัฒนาอาจารยประจําตอคาใชจายหมวดเงินเดือน

ผลประเมิน - 1.00 - 4.00 1.00 1.00 - 2.00

1.00 ผล - 100.00 - 100.00 0.36 68.52 - 89.5131

จํานวนวันเฉลี่ยในการพัฒนาบุคลากรประจําสายสนับสนุน ผลประเมิน - 5.00 - 5.00 1.00 3.00 - 4.33

3.00 ผล - 0.00 - 3.00 3.00 3.00 - 2.00

32

ระบบฐานขอมูลในการบริหารการเงิน บริหารการศึกษา บริหารบุคคลและบริหารระบบคุณภาพครบทั้ง 4ระบบ ครบถวนเชื่อมโยงเปนปจจุบันและทันเวลา

ผลประเมิน - 1.00 - 3.00 3.00 3.00 - 2.33

2.00 ผล - 52.63 - 100.00 22.34 84.92 - 79.1833

รอยละของจํานวนบุคลากรที่เปนกรรมการในคณะกรรมการชุดตางๆระดับคณะตอบุคลากรทั้งหมดในคณะ

ผลประเมิน - 5.00 - 5.00 4.00 5.00 - 5.00

Page 44: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

41

องคประกอบที่ 7

1.71

4.29

3.573.19

0

1

2

3

4

5

คณะเทคนิคการสัตวแพทย

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา

คณะสัตวแพทยศาสตรเฉลี่ย คณะวิชา

ระดับค

ะแนน

แผนภูมิที่ 8 แสดงผลการประเมินภาพรวมกลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ ในองคประกอบที่ 7

การวิเคราะหผลการประเมินภาพรวมองคประกอบที่ 7 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพพบวา มีผลการดําเนินงานโดดเดนในดัชนีที่ 33 โดยทุกหนวยงานมีผลการประเมินระดับดีเยี่ยมเทากัน ซึ่งในภาพรวมผูบริหารใหความสําคัญกับการเปนกรรมการในชุดตงาๆ นอกจากนี้จากการวิเคราะหผลการดําเนินงานในภาพรวม พบวา ระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหารจัดการยังไมสมบูรณ และไมสามารถใชงานไดอยางเปนรูปธรรม ดังนั้น มหาวิทยาลัยควรจัดทําฐานขอมูลเพื่อการบริหารจัดการใหเปนมาตรฐานเดียวกันทั้งมหาวิทยาลัย เพื่อใหการจัดเก็บขอมูลเปนระบบเดียวกัน สามารถสืบคนไดงาย และลดความผิดพลาดของขอมูล นอกจากนี้ พบวา จํานวนนิสิตเต็มเวลาเทียบเทาตอจํานวนอาจารยประจําของบางคณะมีสัดสวนไมเหมาะสม

องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณการประเมินผลการดําเนินงานในภาพรวมองคประกอบที่ 8 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและ

วิทยาศาสตรสุขภาพ พบวา ปการศึกษา 2548 มีระดับคะแนนเฉลี่ย 3.03 ผลการประเมินภาพรวมอยูในเกณฑปานกลาง คณะที่มีผลการประเมินมากที่สุด คือ คณะสัตวแพทยศาสตร ระดับคะแนนเฉลี่ย 3.60 อยูในเกณฑดี รองลงมา คือ คณะวิทยาศาสตรการกีฬา ระดับคะแนนเฉลี่ย 2.80 อยูในเกณฑปานกลาง สวนคณะเทคนิคการสัตวแพทย มีผลการประเมินนอยที่สุด โดยมีระดับคะแนนเฉลี่ย2.70 อยูในเกณฑปานกลาง รายละเอียดดังตารางที่ 11 และแผนภูมิที่9

Page 45: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

42

ตารางที่ 11 แสดงการประเมินผลการดําเนินงานภาพรวมองคประกอบที่ 8 สาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ

คณเทคนิคการสัตวแพทย

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา

คณะสัตวแพทยศาสตร

เฉลี่ย

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

ดัชนี องคประกอบ/ดัชนีประเมิน

คาถว

งน้ําห

นัก

ผลการ

ดําเนิน

งาน/ผล

ประเมิ

2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548องคประกอบที่8การเงินและงบประมาณ

5.00 N/A 2.70 N/A 2.80 4.00 3.60 N/A 3.03

1.00 ผล - 36.14 - 0.00 45.99 54.56 - 30.23

34

รอยละของเงินรายไดจากภายนอกรวมทั้งหมดตอรายรับจริงทั้งหมด

ผลประเมิน

- 3.00 - 1.00 5.00 5.00 - 3.00

1.00 ผล - 26.58 - 68.90 31.64 46.29 - 47.26

35

รอยละของคาใชจายดานเงินเดือนบุคลากรทุกประเภทตอคาใชจายทั้งหมดภายในคณะ

ผลประเมิน - 5.00 - 1.00 4.00 3.00 - 3.00

0.50 ผล - 17.33 - 0.59 9.66 26.62 - 14.85

36

รอยละของเงินเดือนบุคลากรประจําในสายสนับสนุนตอคาใชจายทั้งหมดภายในคณะ

ผลประเมิน - 3.00 - 5.00 5.00 1.00 - 3.00

1.50 ผล - 52.12 - 1.66 2.17 29.60 - 27.79

37

รอยละของคาใชจายในการบริหารจัดการของสวนกลางของคณะตอคาใชจายทั้งหมด

ผลประเมิน

- 2.00 - 5.00 5.00 5.00 - 4.00

0.00 ผล - 2,874.20 - 0.00 69,916.62 38,258.23 - 13,710.8138 คาเสื่อมราคา

ของครุภัณฑและสิ่งปลูกสรางทั้งหมดภายในคณะ

ผลประเมิน - 5.00 - 5.00 1.00 1.00 - 3.67

Page 46: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

43

คณเทคนิคการสัตวแพทย

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา

คณะสัตวแพทยศาสตร เฉลี่ย

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

ดัชนี องคประกอบ/ดัชนีประเมิน

คาถว

งน้ําห

นัก

ผลการ

ดําเนิน

งาน/ผล

ประเมิ

2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548ตอจํานวนนิสิตเต็มเวลาเทียบเทา

1.00 ผล - -47.53 - 17.65 4.15 16.19 - -4.5639

รอยละของเงินเหลือจายสุทธิตอรายรับจริงทั้งหมด

ผลประเมิน - 1.00 - 2.00 1.00 2.00 - 1.67

องคประกอบที่ 8

2.70 2.80

3.60

3.03

0

1

2

3

4

5

คณะเทคนิคการสัตวแพทย

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา

คณะสัตวแพทยศาสตร เฉลี่ย คณะวิชา

ระดับค

ะแนน

แผนภูมิที่ 9 แสดงผลการประเมินภาพรวมกลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ ในองคประกอบที่ 8

การวิเคราะหผลการประเมินภาพรวมองคประกอบที่ 8 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพพบวา การรวบรวมขอมูลดานการเงินยังไมเปนระบบ บางสวนยังไมถูกตอง และไมเอื้อตอการบริหารจัดการสําหรับดัชนีที่ 39 หนวยงานสวนใหญมีผลการประเมินอยูในเกณฑวิกฤตและควรปรับปรุง ซึ่งคณะตางๆ ในกลุมสาขาฯ ควรมีการควบคุมรายจายเพื่อเพิ่มจํานวนเงินเหลือจายสุทธิใหสูงขึ้น

Page 47: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

44

องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการประเมินผลการดําเนินงานในภาพรวมองคประกอบที่ 9 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและ

วิทยาศาสตรสุขภาพ พบวา ปการศึกษา 2548 มีระดับคะแนนเฉลี่ย 4.60 ผลการประเมินภาพรวมอยูในเกณฑดีเยี่ยม คณะที่มีผลการประเมินมากที่สุด คือ คณะวิทยาศาสตรการกีฬา และคณะเทคนิคการสัตวแพทย ระดับคะแนนเฉลี่ย 5.00 อยูในเกณฑดีเยี่ยมเชนกัน สวนคณะที่มีผลการประเมินนอยที่สุด คือ คณะสัตวแพทยศาสตร โดยมีระดับคะแนนเฉลี่ย3.80 อยูในเกณฑดี รายละเอียดดังตารางที่ 12 และแผนภูมิที่10ตารางที่ 12 แสดงการประเมินผลการดําเนินงานภาพรวมองคประกอบที่ 9 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ

คณเทคนิคการสัตวแพทย

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา

คณะสัตวแพทยศาสตร เฉลี่ย

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

คณะกรรมการประเมิน

ดัชนีองคประกอบ/ดัชนีประเมิน

คาถวงน้ํ

าหนัก

ผลการ

ดําเนิน

งาน/

ผลปร

ะเมิน

2547 2548 2547 2548 2547 2548 2547 2548องคประกอบที่9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

5.00 N/A 5.00 N/A 5.00 5.00 3.80 N/A 4.60

2.00 ผล - 5.00 - 5.00 5.00 5.00 - 5.0040

ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน

ผลประเมิน - 5.00 - 5.00 5.00 5.00 - 5.00

3.00 ผล - 0.00 - 0.00 89.09 66.67 - 22.22

41

รอยละของแนวทาง/กิจกรรม/โครงการที่ไดรับการดําเนินงานตามที่ระบุไวตอจํานวนแผนพัฒนาทั้งหมดที่กําหนดไวจากผลการตรวจสอบคุณภาพภายใน(ในรอบปที่ผานมา)

ผลประเมิน - 0.00 - 0.00 5.00 3.00 - 1.00

Page 48: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

45

องคประกอบที่ 95.00 5.00

3.80

4.60

0

1

2

3

4

5

คณะเทคนิคการสัตวแพทย

คณะวิทยาศาสตรการกีฬา

คณะสัตวแพทยศาสตร เฉลี่ย คณะวิชา

ระดับค

ะแนน

แผนภูมิที่ 10 แสดงผลการประเมินภาพรวมกลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ ในนองคประกอบที่ 9

การวิเคราะหผลการประเมินภาพรวมองคประกอบที่ 9 กลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ พบวา มีการดําเนินงานตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพอยูในระดับดีเยี่ยม แสดงใหเห็นวา คณะมีการพัฒนาคุณภาพอยางตอเนื่อง โดยมีกระบวนการดําเนินงานและการนําผลการประเมินมาใชในการพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงานใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอยางชัดเจนและเปนรูปธรรม โดยผูบริหารและบุคลากรไดใหความสําคัญและรวมมือเปนอยางดี

Page 49: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

46

สวนที่ 3การติดตามผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาปรับปรุง

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------การติดตามผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาปรับปรุงของคณะวิชาในกลุมสัตวแพทยศาสตรและ

วิทยาศาสตรสุขภาพ พบวา มีกระบวนการในการวางแผนเพื่อหาแนวทางในการแกไขปรับปรุงตามขอเสนอแนะ มีการพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงานที่เปนผลมาจากระบบประกันคุณภาพอยางตอเนื่องอยางไรก็ตาม ควรมีการประสานงานกับคณะกรรมการชุดตางๆใหสามารถสรุปวิเคราะหและสังเคราะหเพื่อการจัดทําแผนพัฒนาปรับปรุงของคณะวิชาที่เปนรูปธรรม และมีผูบริหารตามภารกิจตางๆรับผิดชอบดําเนินการ เพื่อใหการดําเนินงานบรรลุตามแผนพัฒนาปรับปรุงที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

จากการติดตามผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาปรับปรุงจากขอเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินฯ ในรอบปที่ผานมาของแตละคณะวิชา สามารถสรุปไดดังนี้

คณะสัตวแพทยศาสตรคณะกรรมการประเมินฯ ไดติดตามการดําเนินงานตามขอเสนอแนะจากการประเมินฯ ครั้งที่ผาน

มา พบวา มีการดําเนินงานแลว 16 กิจกรรม อยูระหวางดําเนินการ 6 กิจกรรมจากแผนพัฒนาปรับปรุงของคณะฯ 24 กิจกรรม และยังไมไดดําเนินการ 2 กิจกรรม คือ 1) การพัฒนายุทธศาสตรคณะในภาพรวมและแผนงานทั้ง 2 วิทยาเขตใหชัดเจน เพื่อความเปนเอกภาพ 2) การจัดทําแผนงานในภาพรวมของคณะที่มีการกําหนดเปาหมายและระยะเวลาดําเนินการที่ชัดเจน เพื่อสามารถติดตามผลการดําเนินงานใหบรรลุเปาหมายที่กําหนดไว

คณะเทคนิคการสัตวแพทยคณะกรรมการประเมินฯ ไดติดตามการดําเนินงานตามขอเสนอแนะจากการประเมินฯ ครั้งที่ผาน

มา พบวา คณะเทคนิคการสัตวแพทย รับเปนการประเมินฯ ครั้งนี้เปนปแรกจึงไมมีแผนพัฒนาปรับปรุงของคณะจากการประเมินฯ ในรอบที่ผานมา

คณะวิทยาศาสตรการกีฬาคณะกรรมการประเมินฯ ไดติดตามการดําเนินงานตามขอเสนอแนะจากการประเมินฯ ครั้งที่ผาน

มา พบวา คณะวิทยาศาสตรการกีฬา รับเปนการประเมินฯ ครั้งนี้เปนปแรกจึงไมมีแผนพัฒนาปรับปรุงของคณะจากการประเมินฯ ในรอบที่ผานมา

Page 50: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

47

ภาคผนวก

Page 51: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

48

ภาคผนวกที่ 1ผลประเมินกลุมสาขาสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ ประจําป 2549 ระหวางวันที่ 4 ตุลาคม – 7 พฤศจิกายน 2549

องคประกอบ คณะเทคนิคการสัตวแพทย คณะสัตวแพทยศาสตร คณะวิทยาศาสตรการกีฬาบทสรุปสําหรับผูบริหาร

จุดแข็ง1. ผูบริหารใหความสําคัญกับระบบประกันคุณภาพ

และนําไปใชปรับปรุงแผนการดําเนินงานของคณะ

2. วัฒนธรรมองคกรคลองตัวพรอมปรับเปลี่ยน3. มีผลงานวิจัยที่นําไปใชเปนตนแบบใน

ภาคเอกชนและภาครัฐ4. มีบริการวิชาการแกสังคมที่โดดเดน เชน

โครงการหาบานใหมใหสุนัข โครงการสัตวเลี้ยงสุขภาพดี(คลินิกสัตว) และการบริการตรวจวิเคราะหสารตกคางในสัตว

จุดแข็ง1. มีหนวยบริการทางวิชาการ สนับสนุนการเรียน

การสอน เชน ฟารมสัตวเศรษฐกิจ หนวยงานชันสูตรโรคสัตว หนวยงานสัตวทดลอง สระสุวรรณชาด และโรงพยาบาลสัตวทั้ง 3 แหง ที่เปนที่รูจักและมีชื่อเสียง ทําใหเกิดภาพลักษณที่ดี รวมทั้งเปนแหลงสรางรายไดของคณะ

2. มีผลงานวิจัยมากและไดรับรางวัลในระดับชาติ เชน ผลงานวิจัยดีเดนของ สกว.

3. คณะมีศักยภาพในการหาเงินสนับสนุนการวิจัยจากหนวยงานภายนอกมหาวิทยาลัย

4. มีโครงการ/กิจกรรม เพื่อสงเสริมการพัฒนานิสิตอยางตอเนื่องและครบทุกดานทําใหบัณฑิตหางานทําไดงายและสามารถปรับตัวไดดีเมื่อไปประกอบอาชีพ

55.. คณะมีภาพลักษณที่ดีในความรูสึกของบุคคลภายนอก ทําใหสามารถดึงดูดนักเรียนที่มีคุณภาพดีใหเขามาศึกษา

จุดแข็ง1. เปนหลักสูตรที่ขยายโอกาสทางการศึกษาดาน

วิทยาศาสตรการกีฬา โดยเปดกวางใหบัณฑิตจากหลากหลายสาขาสามารถสมัครเขาศึกษาตอได

2. มีศูนยวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตรการกีฬา ใหนิสิตฝกปฏิบัติและไดรับประสบการณโดยตรง

3. มีความรวมมือสนับสนุนการเรียนการสอน จากหนวยงานภายนอก

4. มีบุคลากรของคณะ ที่เปนผูบริหารดานการกีฬาในระดับชาติ

5. มีกิจกรรมการบริการวิชาการที่หลากหลาย ทั้งในระดับชาติและนานาชาติตลอดทั้งป

Page 52: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

49

องคประกอบ คณะเทคนิคการสัตวแพทย คณะสัตวแพทยศาสตร คณะวิทยาศาสตรการกีฬาบทสรุปสําหรับผูบริหาร

จุดออน1. การรวบรวมขอมูลยังไมเปนระบบ2. การกําหนดแผนงานไมไดระบุระยะเวลา

ดําเนินการ ผูรับผิดชอบและการประเมินโครงการ

3. จํานวนอาจารยประจําที่มีประสบการณในการสอนและการวิจัยยังมีจํานวนนอย

4. มีขอจํากัดดานงบประมาณในการพัฒนา5. ยังไมมีงบประมาณสนับสนุนงานวิจัยจาก

หนวยงาน6. หองปฏิบัติการยังมีจํากัดดานพื้นที่ อุปกรณ และ

มาตรฐานความปลอดภัย

จุดออน1. การเก็บขอมูลหลักฐานของคณะยังไมถูกตองและ

สอดคลองกับดัชนีฯ ขอมูลที่ปรากฏในรายงานการประเมินตนเองสวนมากไมตรงกับขอมูลจริง

2. บางภาควิชา/หนวยงานยังไมมีการประเมินผูบริหาร

3. ขาดการวิเคราะหภาระงาน เพื่อมอบหมายงานใหบุคลากรแตละคนในสัดสวนที่เหมาะสม

4. การจัดสรรงบประมาณแผนดินใชวิธีแบงในสัดสวนเทากันโดยไมไดจัดสรรตามภาระงานของแตละหนวยงาน

5. ขาดการสังเคราะหจุดแข็ง และจุดออน ของดัชนีตรวจสอบและประเมินคุณภาพในภาพรวมของคณะอยางเปนระบบ

จุดออน1. การติดตามและประเมินผลไมครบทุกแผนงาน

และทุกโครงการ2. บุคลากรสายสนับสนุนมีไมเพียงพอ3. ปจจัยเกื้อหนุนยังไมเพียงพอตอการเรียนการสอน

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

ขอเสนอแนะระดับคณะ1. จัดทําระบบฐานขอมูลใหครบทุกดาน2. ควรกําหนดแผนงานระยะสั้นและระยะยาว

ผูรับผิดชอบและมีการประเมินโครงการ3. ขออัตราอาจารยและงบประมาณเพิ่มขึ้น4. เพิ่มหองปฏิบัติการ อุปกรณใหเพียงพอและ

ปรับปรุงมาตรฐานความปลอดภัย

ขอเสนอแนะระดับคณะ1. ควรใหทุกหนวยงานยอยมีการรวบรวมขอมูลอยาง

เปนระบบและถูกตองสอดคลองกัน2. ควรใหมีการประเมินผูบริหารครบทุกภาควิชา/

หนวยงาน3. ควรมีการวิเคราะหและประเมินผลการปฏิบัติงาน

อยางเปนระบบ4. ควรมีระบบการจัดสรรงบประมาณแผนดินตาม

ขอเสนอแนะระดับคณะ1. ควรมีการติดตามและประเมินผลทุกแผนงานและ

ทุกโครงการ2. ควรเพิ่มปจจัยเกื้อหนุนใหเพียงพอตอการเรียน

การสอนเชน อุปกรณในหองปฏิบัติการที่ทันสมัย ตํารา วารสาร คอมพิวเตอร หองสืบคนขอมูล ฯลฯ

Page 53: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

50

องคประกอบ คณะเทคนิคการสัตวแพทย คณะสัตวแพทยศาสตร คณะวิทยาศาสตรการกีฬาภาระงาน

5. ควรมีการสังเคราะหจุดแข็งและจุดออนของดัชนีตรวจสอบและประเมินคุณภาพ เพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของคณะควรมีการประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพรวมกันทั้ง 2 วิทยาเขตเพื่อกําหนดแผนงานการประกันคุณภาพในภาพรวมของคณะ

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

ขอเสนอแนะระดับมหาวิทยาลัย1. จัดสรรอัตรากําลังอาจารยประจําและ

งบประมาณใหคณะเพิ่มขึ้น เพื่อใหเหมาะสมกับภาระงาน

ขอเสนอแนะระดับมหาวิทยาลัย1. มหาวิทยาลัยควรมีระบบการใหบริการคําปรึกษา

ดานการประกันคุณภาพในระดับปฏิบัติการ

ขอเสนอแนะระดับมหาวิทยาลัย1. มหาวิทยาลัยควรพิจารณาใหมีการจัดทําวิจัย

สถาบัน เพื่อใหทราบถึงผลกระทบในดานตางๆ ของการยายที่ตั้งของคณะจากวิทยาเขตบางเขนไปยังวิทยาเขตกําแพงแสน โดยเฉพาะในสวนของผูที่ประสงคศึกษาตอในคณะและความรวมมือทางดานวิชาการกับหนวยงานทางดานกีฬาตางๆ ซึ่งจะมีที่ตั้งอยูในกรุงเทพฯทั้งนี้เพื่อใชเปนขอมูลประกอบการพิจารณาทบทวนแผนการยายคณะไปอยูวิทยาเขตกําแพงแสน

2. มหาวิทยาลัยควรจัดสรรอัตราบุคลากรสายสนับสนุนเพิ่มเติม

องคประกอบที่ 1 จุดแข็ง-

จุดแข็ง-

จุดแข็ง1. มีโครงการและแผนงานที่ชัดเจน

Page 54: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

51

องคประกอบ คณะเทคนิคการสัตวแพทย คณะสัตวแพทยศาสตร คณะวิทยาศาสตรการกีฬาองคประกอบที่ 1 จุดออน

1. การกําหนดแผนงานไมไดระบุระยะเวลาดําเนินการ ผูรับผิดชอบและการประเมินโครงการ

จุดออน1. ขาดระบบการติดตามและประเมินแผนที่ชัดเจน

และตรวจสอบได

จุดออน1. การติดตามและประเมินผลไมครบทุกแผนงาน

และทุกโครงการ

องคประกอบที่ 1 ขอเสนอแนะ1. ควรกําหนดแผนงานระยะสั้นและระยะยาว

ผูรับผิดชอบและมีการประเมินโครงการ

ขอเสนอแนะ1. ควรวางระบบการจัดทําและติดตามแผนที่ชัดเจน

และตรวจสอบไดทั้งแผนระยะสั้นและระยะยาว

ขอเสนอแนะ1. ควรมีการติดตามและประเมินผลทุกแผนงานและ

ทุกโครงการองคประกอบที่ 2 จุดแข็ง

1. มีการจัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญมาก 21 รายวิชา จาก 23 รายวิชา

2. ภาวะการไดงานทําของนิสิตหลังจบการศึกษาภายใน 3 เดือนสูงถึง 85 %

3. มีจํานวนคอมพิวเตอรมากเพียงพอในการสรางกระบวนการเรียนรูของนิสิต

จุดแข็ง1. มีจํานวนรายวิชาที่เนนผูเรียนเปนสําคัญสูง

เนื่องจากสวนใหญเปนวิชาที่มีปฎิบัติการ2. มีการจัดอาจารยพี่เลี้ยงใหกับอาจารยใหม3. มีการทํางานเปนทีม4. มีการจัดทําแผนพัฒนาอาจารย อยางนอยทุก 5 ป5. มีสื่อการสอนและโสตทัศนูปกรณที่ทันสมัย6. มีเอกสารประกอบการสอนทุกรายวิชา7. มีความพรอมในปจจัยเกื้อหนุน

จุดแข็ง1. มีการสัมมนาระหวางอาจารยและนิสิตทุกป

การศึกษา ทําใหทราบความตองการ เพื่อเปนแนวทางในการปรับปรุงหลักสูตร

2. เปนหลักสูตรที่ขยายโอกาสทางการศึกษาดานวิทยาศาสตรการกีฬา โดยเปดกวางใหบัณฑิตจากหลากหลายสาขาสามารถสมัครเขาศึกษาตอได

3. มีอุปกรณการสอนที่เหมาะสมกับหลักสูตร4. มีศูนยวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตรการกีฬาให

นิสิตฝกปฏิบัติและไดรับประสบการณโดยตรง5. มีความรวมมือสนับสนุนการเรียนการสอนจาก

หนวยงานภายนอกองคประกอบที่ 2 จุดออน

1. ไมมีกระบวนการบริหารหลักสูตร2. จํานวนอาจารยประจําที่มีประสบการณในการสอน

จุดออน1. การบริหารจัดการหลักสูตรยังไมดีพอ เชน การจัด

แผนการเรียนและตารางเรียนที่ซ้ําซอนมีผลตอ

จุดออน1. ยังขาดการประเมินคุณภาพมหาบัณฑิตจากผูใช

บัณฑิต

Page 55: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

52

องคประกอบ คณะเทคนิคการสัตวแพทย คณะสัตวแพทยศาสตร คณะวิทยาศาสตรการกีฬาและการวิจัยยังมีจํานวนนอย

3. อาจารยที่มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกมีนอย4. อาจารยมีตําแหนงทางวิชาการมีนอย5. ไมมีการทําวิจัยสถาบัน เพื่อปรับปรุงกระบวนการ

เรียนการสอน

ผูสอนและนิสิต2. ไมพบวามีการนําผลการประเมินการสอนไป

วิเคราะหปรับปรุงการเรียนการสอน3. สัดสวนของอาจารยที่มีตําแหนงศาสตราจารยนอย4. โครงการวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรูมีนอย

2. ไมมีหองสารสนเทศเพื่อการสืบคนขอมูลทางอินเทอรเน็ต และจํานวนคอมพิวเตอรยังมีนอย

3. บุคลากรสายสนับสนุนมีไมเพียงพอ4. วารสาร ตํารา ที่เกี่ยวของกับสาขาวิทยาศาสตรการ

กีฬายังมีนอย5. หองบรรยายไมเพียงพอตองใชรวมกับ

หองปฏิบัติการองคประกอบที่ 2 ขอเสนอแนะ

1. ควรมีกรรมการบริหารหลักสูตรหรือกรรมการที่เทียบเทามาดูแลหลักสูตรระหวางที่รอใหมีกฤษฎีกาจัดตั้งคณะ

2. ควรสงเสริมใหอาจารยมีคุณวุฒิเพิ่มขึ้น3. ควรสงเสริมใหอาจารยขอตําแหนงทางวิชาการ4. ควรมีการทําวิจัยสถาบันเพื่อการเรียนการสอน5. เพิ่มหองปฏิบัติการ อุปกรณใหเพียงพอและ

ปรับปรุงมาตรฐานความปลอดภัย6. ควรมีขอมูลจากผูใชบัณฑิต เพื่อนํามาพัฒนา

หลักสูตร

ขอเสนอแนะ1. ประมวลการเรียนการสอน (Course Syllabus) ควร

แสดงตารางกิจกรรมการเนนผูเรียนเปนสําคัญใหชัดเจน โดยใชแบบฟอรมของมหาวิทยาลัย

2. ควรมีการนําผลการประเมินการสอนมาวิเคราะหในระดับภาควิชาและคณะ

3. ควรกระตุนและสนับสนุนอาจารยใหเขาสูตําแหนงศาสตราจารยใหเพิ่มขึ้น

4. ควรจัดทําโครงการวิจัยสถาบัน เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนใหครอบคลุมรายวิชาใหมากขึ้น

5. ควรเพิ่มอาจารยหรือผูชวยสอนดูแลในชั่วโมงปฏิบัติการใหเพียงพอกับจํานวนนิสิต

ขอเสนอแนะ1. ควรจัดใหมีการประเมินคุณภาพมหาบัณฑิตจาก

ผูใชบัณฑิต2. ควรมีหองสารสนเทศ เพื่อใหนิสิตไดหาความรู

เพิ่มเติมจากอินเทอรเน็ตและจัดใหมีหองสมุดของคณะ

3. ควรเพิ่มบุคลากรสายสนับสนุน4. ควรจัดหาตํารา วารสาร ที่เกี่ยวของกับสาขา

วิทยาศาสตรการกีฬาใหมากขึ้น5. ควรเพิ่มหองบรรยาย

องคประกอบที่ 3 จุดแข็ง1. มีโครงการที่กําหนดชัดเจนใหนิสิตตองฝกงาน 3

จุดแข็ง1. มีโครงการ/กิจกรรม เพื่อสงเสริมการพัฒนานิสิต

จุดแข็ง-

Page 56: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

53

องคประกอบ คณะเทคนิคการสัตวแพทย คณะสัตวแพทยศาสตร คณะวิทยาศาสตรการกีฬาใน 4 ดาน อยางตอเนื่องและครบทุกดาน

องคประกอบที่ 3 จุดออน1. ระบบอาจารยที่ปรึกษายังไมสมบูรณ2. มีโครงการพัฒนาคุณภาพนิสิตยังไมครบทุกดาน

จุดออน1. กิจกรรมในระบบอาจารยที่ปรึกษายังไมครบถวน

จุดออน1. มีกิจกรรมโครงการพัฒนานิสิตไมครบทั้ง 5 ดาน

(ดานพัฒนาวิชาการ พัฒนาคุณธรรมจริยธรรม พัฒนาทักษะทางวิชาชีพ พัฒนาบุคลิกภาพ และพัฒนาสุขภาพ)

องคประกอบที่ 3 ขอเสนอแนะ1. ควรพัฒนาระบบอาจารยที่ปรึกษาใหสมบูรณ2. ควรมีโครงการพัฒนาคุณภาพนิสิตในดาน

บุคลิกภาพ สุขภาพและดานอื่นๆ เชน ภาษาอังกฤษ การใชโปรแกรมสําเร็จรูป

ขอเสนอแนะ1. ควรจัดกิจกรรมในระบบอาจารยที่ปรึกษาให

ครบถวน2. อาจารยควรเขารวมกิจกรรมกับนิสิตใหมากขึ้น

ขอเสนอแนะ1. ควรมีกิจกรรมโครงการพัฒนานิสิตใหครบทั้ง 5

ดาน

องคประกอบที่ 4 จุดแข็ง1. มีผลงานวิจัยที่นําไปใชเปนตนแบบในภาคเอกชน

และภาครัฐ2. ไดรับการสนับสนุนเงินวิจัยจากภาคเอกชน

จุดแข็ง1. มีคณะกรรมการวิจัยพิจารณากําหนดแผนและมี

โครงการสัมมนาระดมความคิด เพื่อสนับสนุนการวิจัยของคณะ

2. มีงบประมาณสนับสนุนนักวิจัยหนาใหมในการเริ่มทํางานวิจัย

3. คณะ มีการสนับสนุนรางวัลแกผูที่มีผลงานเสนอที่ประชุมตางๆ

4. คณะมีศักยภาพในการหาเงินสนับสนุนการวิจัยจากหนวยงานภายนอกมหาวิทยาลัย

จุดแข็ง1. มีศักยภาพในการหาแหลงทุนวิจัยจากภายนอก2. มีศูนยวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตรการกีฬา เพื่อทํา

หนาที่ดูแลและวางแนวทางของนโยบายการวิจัยของคณะ

3. คณะมีเครื่องมือและอุปกรณสนับสนุนการทําวิจัยของคณาจารย

Page 57: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

54

องคประกอบ คณะเทคนิคการสัตวแพทย คณะสัตวแพทยศาสตร คณะวิทยาศาสตรการกีฬา5. มีผลงานวิจัยมากและไดรับรางวัลในระดับชาติ

เชน ผลงานวิจัยดีเดนของ สกว.องคประกอบที่ 4 จุดออน

1. ยังไมมีงบประมาณสนับสนุนงานวิจัยจากหนวยงาน

2. ยังไมมีการดําเนินการขอทุนสนับสนุนงานวิจัยจาก สวพ.

จุดออน1. การจัดสรรงบประมาณสนับสนุนงานวิจัยของคณะ

ยังอยูในอัตราสวนที่นอย เมื่อเทียบกับเงินรายไดของคณะ

จุดออน1. ไมมีการจัดสรรเงินรายไดของคณะเพื่อสนับสนุน

งานวิจัย2. อาจารยสวนมากในคณะ ยังไมไดขอทุน

สนับสนุนเพื่อทํางานวิจัยองคประกอบที่ 4 ขอเสนอแนะ

1. ควรพิจารณาจัดสรรเงินรายไดของคณะ เพื่อการทําวิจัย

2. บุคลากรภายในคณะ ควรดําเนินการเขียนโครงการวิจัย เพื่อของบประมาณสนับสนุนจาก สวพ. หรือหนวยงานอื่นๆ ใหมากขึ้น

ขอเสนอแนะ1. ควรพิจารณาจัดสรรเงินรายได เพื่อการทําวิจัยใน

คณะในอัตราสวนที่เพิ่มขึ้น

ขอเสนอแนะ1. ควรพิจารณาจัดสรรเงินรายไดของคณะเพื่อใชใน

การทําวิจัย2. ควรมีการกระตุนใหอาจารยขอทุนวิจัย และ

เผยแพรงานวิจัยใหมากขึ้น3. ควรจัดจําแผนงานดานการวิจัยทั้งระยะสั้นและ

ระยะยาว พรอมทั้งจัดหาแหลงงบประมาณและเงินสนับสนุน

องคประกอบที่ 5 จุดแข็ง1. มีบริการวิชาการแกสังคมที่โดดเดน เชน โครงการ

หาบานใหมใหสุนัข โครงการสัตวเลี้ยง สุขภาพดี(คลินิกสัตวเล็ก) และการบริการตรวจวิเคราะหสารตกคางในสัตว

จุดแข็ง1. มีหนวยบริการทางวิชาการ เชน ฟารมสัตว

เศรษฐกิจ หนวยงานชันสูตรโรคสัตว หนวยงานสัตวทดลอง สระสุวรรณชาด และโรงพยาบาลสัตวทั้ง 3 แหง ที่เปนรูจักและมีชื่อเสียง ทําใหเกิดภาพลักษณที่ดี รวมทั้งเปนแหลงสรางรายไดของคณะ

จุดแข็ง1. มีแผนงานบริการวิชาการที่ชัดเจน2. มีกิจกรรมการบริการวิชาการที่หลากหลาย ทั้งใน

ระดับชาติและนานาชาติตลอดทั้งป

Page 58: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

55

องคประกอบ คณะเทคนิคการสัตวแพทย คณะสัตวแพทยศาสตร คณะวิทยาศาสตรการกีฬาองคประกอบที่ 5 จุดออน

1. โครงการตางๆ เปนการบริการแบบไมกอใหเกิดรายไดหรือมีรายไดนอย

2. บุคลากรของคณะมีอายุราชการนอย จึงยังไมมีตําแหนงทางวิชาการ และยังไมมีผลงานทางวิชาการเปนที่รูจักในวงกวาง

3. การประเมินโครงการตางๆ ไมครบถวน

จุดออน1. ขาดการประเมินโครงการบริการวิชาการอยางเปน

ระบบ2. ขาดการวิเคราะหตนทุนการใหบริการ3. การประเมินความพึงพอใจของผูใชบริการของ

หนวยงานบริการฯไมครบทุกหนวยงานบริการ

จุดออน1. ไมมีการประเมินผลหลังสิ้นสุดกิจกรรมเพื่อ

วิเคราะหผลการดําเนินงาน อยางสม่ําเสมอ

องคประกอบที่ 5 ขอเสนอแนะ1. ศึกษาความเปนไปไดในการหารายไดจากโครงการ

ที่มีอยูใหมีมูลคามากขึ้น2. กระตุนและสนับสนุนบุคลากรในการทําผลงาน

วิชาการและการบริการแกสังคมที่เปนจุดเดนของคณะฯ

3. ควรประเมินโครงการใหครบถวนทุกโครงการเพื่อนําผลมาปรับปรุงการดําเนินการใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

4. ควรใชงานบริการวิชาการ (โครงการตางๆ ที่มีอยู)ในการสรางความเปนสถาบันที่มีเอกลักษณหรือความชํานาญเฉพาะทางที่แตกตางจากคณะสัตวแพทยศาสตรอยางชัดเจน

ขอเสนอแนะ1. ควรมีการประเมินโครงการบริการวิชาการอยาง

เปนระบบ2. ควรมีการวิเคราะหตนทุนการใหบริการ3. ควรการประเมินความพึงพอใจของผูใชบริการของ

หนวยงานบริการฯใหครบทุกหนวยงาน

ขอเสนอแนะ1. ควรมีการประเมินผลการดําเนินงานตามแผนเปน

ระยะๆ

Page 59: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

56

องคประกอบ คณะเทคนิคการสัตวแพทย คณะสัตวแพทยศาสตร คณะวิทยาศาสตรการกีฬาองคประกอบที่ 6 จุดแข็ง

-จุดแข็ง1. มีคณะกรรมการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมดูแล

แผนและการดําเนินการของคณะ

จุดแข็ง

องคประกอบที่ 6 จุดออน-

จุดออน1. ขาดการประเมินโครงการและกิจกรรมที่

ดําเนินการ

จุดออน1. ขาดการประเมินผลการดําเนินการของกิจกรรม

องคประกอบที่ 6 ขอเสนอแนะ1. ควรมีการดําเนินการจัดกิจกรรมทํานุบํารุง

ศิลปวัฒนธรรมใหมากขึ้น2. ควรมีการใหคําแนะนํากับนิสิตเกี่ยวกับ

พฤติกรรมตาง ๆเพื่อใหสอดคลองกับขนบธรรมเนียมประเพณี

ขอเสนอแนะ1. ควรมีการประเมินผลโครงการและกิจกรรมที่

ดําเนินการ

ขอเสนอแนะ1. ควรมีการประเมินผลการดําเนินการทุกกิจกรรม

องคประกอบที่ 7 จุดแข็ง1. วัฒนธรรมองคกรคลองตัวพรอมปรับเปลี่ยน

จุดแข็ง1. มีการประเมินผูบริหาร2. มีโครงการผูบริหารพบบุคลากร

จุดแข็ง1. บุคลากรทุกคนมีสวนรวมในการบริหารและ

กําหนดนโยบายคณะ

องคประกอบที่ 7 จุดออน1. การเก็บรวบรวมขอมูลยังไมเปนระบบ

จุดออน1. บางภาควิชา/หนวยงานยังไมมีการประเมิน

ผูบริหาร2. ระบบฐานขอมูลขาดความเชื่อมโยงและเปน

ปจจุบัน

จุดออน1. บุคลากรสายสนับสนุนไมเพียงพอที่จะบรรลุ

เปาหมายไดตามแผน2. ขาดการประเมินผูบริหาร3. ขาดการเก็บขอมูลอยางเปนระบบ

Page 60: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

57

องคประกอบ คณะเทคนิคการสัตวแพทย คณะสัตวแพทยศาสตร คณะวิทยาศาสตรการกีฬา3. ขาดการประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อนําผลมา

พัฒนาแกไขจุดออน4. ขาดการวิเคราะหภาระงาน เพื่อมอบหมายงานให

บุคลากรแตละคนในสัดสวนที่เหมาะสม5. คณะ มี 2 วิทยาเขตที่ตองปฏิบัติงานภายใตนโยบาย

ทั้งของคณะและวิทยาเขต ทําใหงานบางสวนซ้ําซอนเปนการเพิ่มภาระงานแกบุคลากร

องคประกอบที่ 7 ขอเสนอแนะ1. จัดทําระบบฐานขอมูลใหครบทุกดาน2. ควรประชาสัมพันธกิจกรรมของคณะใหมากขึ้น

ขอเสนอแนะ1. ควรใหมีการประเมินผูบริหารครบทุกภาควิชา/

หนวยงาน2. ควรพัฒนาระบบฐานขอมูลใหเชื่อมโยงและเปน

ปจจุบัน3. ควรมีการวิเคราะหและประเมินผลการปฏิบัติงาน

อยางเปนระบบ4. ควรมีการประสานงานกันมากขึ้นระหวาง

หนวยงานของคณะใน 2 วิทยาเขต เพื่อลดความซ้ําซอน

ขอเสนอแนะ1. มหาวิทยาลัยควรจัดสรรอัตราบุคลากรสาย สนับสนุนเพิ่มเติม2. ควรมีการประเมินผูบริหาร3. ควรรวบรวมขอมูลตางๆ ใหเปนระบบ ฐานขอมูล

องคประกอบที่ 8 จุดแข็ง-

จุดแข็ง1. มีหนวยสนับสนุนการหารายไดเพื่อการพึ่งพา

ตนเอง

จุดแข็ง1. มีโครงการที่สามารถหารายได

องคประกอบที่ 8 จุดออน1. มีขอจํากัดดานงบประมาณการพัฒนา

จุดออน1. การรวบรวมเก็บขอมูลของคณะ ยังไมเปน

จุดออน1. ไมมีเจาหนาที่การเงิน/บัญชี

Page 61: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

58

องคประกอบ คณะเทคนิคการสัตวแพทย คณะสัตวแพทยศาสตร คณะวิทยาศาสตรการกีฬาระบบ ไมครบทุกภาควิชา/หนวยงานและบางสวนไมถูกตอง

2. การจัดสรรงบประมาณแผนดินใชวิธีแบงในสัดสวนเทากันโดยไมไดจัดสรรตามภาระงานของแตละหนวยงาน

3. ขาดการคํานวณตนทุนการใหบริการในภาพรวมของคณะ

องคประกอบที่ 8 ขอเสนอแนะ1. ขออัตราอาจารยและงบประมาณเพิ่มขึ้น

ขอเสนอแนะ1. ควรใหทุกหนวยงานยอยมีการรวบรวมขอมูลอยาง

เปนระบบและถูกตองสอดคลองกัน2. ควรมีระบบการจัดสรรงบประมาณแผนดินตาม

ภาระงาน3. ควรคํานวนตนทุนการใหบริการในภาพรวมของ

คณะ

ขอเสนอแนะ1. มหาวิทยาลัยควรจัดสรรอัตราพนักงานสาย ค.

ทางการเงิน/บัญชี

องคประกอบที่ 9 จุดแข็ง1. ผูบริหารใหความสําคัญกับระบบประกันคุณภาพ

และนําไปใชปรับปรุงแผนการดําเนินงานของคณะ

จุดแข็ง-

จุดแข็ง1. มีคูมือการประกันคุณภาพที่เปนเอกลักษณของ

คณะ

องคประกอบที่ 9 จุดออน1. ไมมีการกําหนดแผนงาน/รายละเอียดการ

ตรวจสอบ/การประเมินคุณภาพโดยผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก

จุดออน1. ขาดการสังเคราะหจุดแข็ง และจุดออน ของดัชนี

ตรวจสอบและประเมินคุณภาพในภาพรวมของคณะอยางเปนระบบ

จุดออน1. การแสดงเอกสารหลักฐาน เพื่อการตรวจประเมิน

ยังไมสอดคลองกับดัชนีตรวจประเมิน

Page 62: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

59

องคประกอบ คณะเทคนิคการสัตวแพทย คณะสัตวแพทยศาสตร คณะวิทยาศาสตรการกีฬา2. การจัดเอกสารหลักฐานสําหรับการตรวจสอบและ

ประเมินคุณภาพ ยังไมครบถวนและไมเปนระบบ2. การเก็บขอมูลหลักฐานของคณะยังไมถูกตองและ

สอดคลองกับดัชนีฯ ขอมูลที่ปรากฏในรายงานการประเมินตนเองสวนมากไมตรงกับขอมูลจริง

องคประกอบที่ 9 ขอเสนอแนะ1. ควรมีการกําหนดแผนงาน/รายละเอียดการ

ตรวจสอบ/การประเมินคุณภาพโดยผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก

2. ควรจัดเอกสารหลักฐานสําหรับการตรวจสอบและประเมินคุณภาพ ใหครบถวนและเปนระบบ

3. ควรจัดอบรมความรูดานการประกันคุณภาพใหแกบุคลากรของคณะเพิ่มขึ้น

ขอเสนอแนะ1. ควรสรางความเขาใจใหกับบุคลากรที่ทํางานดาน

การประกันคุณภาพ เพื่อใหเขาใจถึงการจัดเก็บขอมูลใหถูกตอง

2. ควรมีการสังเคราะหจุดแข็งและจุดออนของดัชนีตรวจสอบและประเมินคุณภาพ เพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของคณะ

3. ควรดําเนินการตามแผนพัฒนาและปรับปรุงใหครบตามแผนที่คณะนําเสนอมหาวิทยาลัย

4. ควรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูเรื่องการจัดทํารายงานการประเมินตนเองกับหนวยงานอื่นๆ

5. ควรมีการประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพรวมกันทั้ง 2 วิทยาเขตเพื่อกําหนดแผนงานการประกันคุณภาพในภาพรวมของคณะ

ขอเสนอแนะ1. ควรมีจัดเอกสารหลักฐานใหครบถวนสอดคลอง

กับดัชนีประเมินคุณภาพภายในของมหาวิทยาลัย2. ควรมีการจัดแหลงตรวจสอบตามดัชนีประเมินไว

บทที่ 6 ของรายงานการประเมินตนเอง3. ควรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูดานระบบประกัน

คุณภาพกับหนวยงานอื่นของมหาวิทยาลัย เพื่อใหเกิดการพัฒนาระบบประกันคุณภาพใหดียิ่งขึ้น

Page 63: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

60

ภาคผนวกที่2ภาพกิจกรรมการประเมินคุณภาพภายใน

ของกลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ ประจําป 2549

พบผูบริหารกลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ วันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2549

ตรวจเยี่ยมและประเมินฯ คณะเทคนิคการสัตวแพทย วันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2549

ตรวจเยี่ยมและประเมินฯ คณะวิทยาศาสตรการกีฬาวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2549

Page 64: ภาพรวมกลุ่มสัตวแพทย์ ปี 49 22-1-50 of 12 book year 2548...ส ขภาพตามผลการด าเน นงานในรอบป

61

ตรวจเยี่ยมและประเมินฯ คณะสัตวแพทยศาสตร วันที่17 และ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2549

รายงานผลการประเมินฯกลุมสัตวแพทยศาสตรและวิทยาศาสตรสุขภาพ วันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549