20
หน้า 1 กตตกรรมประกาศ โครงการการถายทอดความรูอาคารตนแบบพลังงานสุทธเป็น ศูนย มหาวทยาลัยขอนแกนไดรับทุนอุดหนุนการทากจกรรมสงเสรม และสนับสนุนการวจัย โครงการถายทอดเทคโนโลยสูเปาหมายท่ม ศักยภาพในการนาไปใชประโยชน ภายใตโครงการจัดการความรูและ ถายทอดเทคโนโลยจากผลงานวจัยและนวัตกรรม ประจาป 2557 สานักงานคณะกรรมการวจัยแหงชาต (วช.) คณะผูดาเนนงาน ขอขอบพระคุณ วช. ท่ไดเล็งเห็นความสาคัญดานพลังงานทดแทนและ ใหการสนับสนุนในการทาวจัยครังน ขอขอบคุณ สานักงานนโยบาย และแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน (สนพ.) ท่ใหการสนับสนุน งบประมาณ (2555-2556) เพ่อใชในการดาเนนงานของโครงการการ พัฒนาเทคโนโลยอาคารท่ใชพลังงานสุทธเป็นศูนย (Net Zero Energy Building) ท่เหมาะสมกับบรบทของประเทศไทย ขอขอบคุณกลุม เครอขายบรษัทพันธมตร ไดแก บรษัทโกลดมารกเทค จากัด,บรษัท เพาเวอรเรด จากัด ,บรษัทวนกูลฟลม จากัด ,บรษัทเอ็นโซล จากัด ,บรษัทโซลารตรอน จากัด (มหาชน) ,บรษัทไลทตงแอนดอควป เมนท จากัด (มหาชน) และ บจก.แอดวานซ เอ็กซเชนจ เทคโนโลยท่ให ความอนุเคราะหการจัดนทรรศการในงานประชุมสัมมนาตลอดการ ดาเนนโครงการและใครขอขอบพระคุณวทยากรผูชานาญการท่ไดมา เป็นเกยรตในการบรรยายในงานสัมมนาในครังน รวมทังขอขอบคุณ ผูเขารวมสัมมนาโครงการและผูท่มสวนเก ่ยวของทุกสวนท่ไดสละเวลา อันมค า เพ ่อใหการเนนงานโครงการสัมมนาไดสาเร็จลุลวงเป็นอยางด คณะทางาน

กิตติกรรมประกาศ · หน้า 1 กิตติกรรมประกาศ โครงการการถ่ายทอดความรู้อาคารต้นแบบ

  • Upload
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: กิตติกรรมประกาศ · หน้า 1 กิตติกรรมประกาศ โครงการการถ่ายทอดความรู้อาคารต้นแบบ

หนา้ 1

กิตติกรรมประกาศ

โครงการการถ่ายทอดความรู้อาคารต้นแบบพลังงานสุทธิเป็น

ศูนย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้รับทุนอุดหนุนการท ากิจกรรมส่งเสริม

และสนับสนุนการวิจัย โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เป้าหมายที่มี

ศักยภาพในการน าไปใช้ประโยชน์ ภายใต้โครงการจัดการความรู้และ

ถ่ายทอดเทคโนโลยีจากผลงานวิจัยและนวัตกรรม ประจ าปี 2557

ส านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) คณะผู้ด าเนินงาน

ขอขอบพระคุณ วช. ที่ได้เล็งเห็นความส าคัญด้านพลังงานทดแทนและ

ให้การสนับสนุนในการท าวิจัยครั้งนี้ ขอขอบคุณ ส านักงานนโยบาย

และแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน (สนพ.) ที่ให้การสนับสนุน

งบประมาณ (2555-2556) เพื่อใช้ในการด าเนินงานของโครงการการ

พัฒนาเทคโนโลยีอาคารที่ใช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Energy

Building) ที่ เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย ขอขอบคุณกลุ่ม

เครือข่ายบริษัทพันธมิตร ได้แก่ บริษัทโกลด์มาร์กเทค จ ากัด,บริษัท

เพาเวอร์เรด จ ากัด,บริษัทวินกูลฟิลม์ จ ากัด,บริษัทเอ็นโซล จ ากัด

,บริษัทโซลาร์ตรอน จ ากัด (มหาชน),บริษัทไลท์ติ้งแอนด์อีควิป

เมนท์ จ ากัด (มหาชน) และ บจก.แอดวานซ ์เอ็กซเชนจ์ เทคโนโลยีที่ให้

ความอนุเคราะห์การจัดนิทรรศการในงานประชุมสัมมนาตลอดการ

ด าเนินโครงการและใคร่ขอขอบพระคุณวิทยากรผู้ช านาญการที่ได้มา

เป็นเกียรติในการบรรยายในงานสัมมนาในครั้งนี้ รวมทั้งขอขอบคุณ

ผู้เข้าร่วมสัมมนาโครงการและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกส่วนที่ได้สละเวลา

อันมีคา่ เพื่อให้การเนินงานโครงการสัมมนาได้ส าเร็จลุล่วงเป็นอย่างดี

คณะท างาน

Page 2: กิตติกรรมประกาศ · หน้า 1 กิตติกรรมประกาศ โครงการการถ่ายทอดความรู้อาคารต้นแบบ

หนา้ 2

ค าน า

พลังงานถือเป็นปัจจัยส าคัญในการตอบสนองความต้องการขั้น

พืน้ฐานของประชาชน และเป็นปัจจัยการผลิตที่ส าคัญในการขับเคลื่อน

เศรษฐกิจ แต่ประ เทศไทยมิ ได้มี แหล่ งพลั ง งาน เ ชิงพาณิชย์

ภายในประเทศมากพอที่จะตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคได้

ท าให้ต้องพึ่งพาพลังงานจากต่างประเทศ และเมื่อพิจารณาถึงแหล่ง

พลังงานหลักที่มนุษย์สามารถน ามาใช้ประโยชน์ในปัจจุบันจะเห็นว่า

เป็นแหล่งพลังงานที่ เมื่อมีการใช้แล้วจะหมดสิ้นไปในที่สุดส่วน

ระยะเวลา จะช้าหรือเร็วก็ขึ้นอยู่กับปริมาณส ารองที่มีอยู่จาก

สถานการณ์การใช้พลังงานที่กล่าวมาแล้วนั้นและเพื่อเป็นการอนุรักษ์

พลังงานของประเทศชาติ ปัจจุบันแนวคิดเกี่ยวกับการใช้พลังงานสุทธิ

เท่ากับศูนย์ (Net Zero Energy Building, NZEB) จึงถูกน ามาใช้ในภาค

อาคารและที่อยู่อาศัยกันบ้างแล้ว โดยมีหลักการว่าการน าพลังงาน

จากภายนอกเข้าอาคารลบกับพลังงานที่ผลิตได้เองในอาคารมีค่า

เท่ากับศูนย์จะเห็นได้ว่าสิ่งที่จะช่วยให้แนวคิดดังกล่าวส าเร็จได้นั้น

ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่ส าคัญสองส่วน ส่วนแรกคือ เทคโนโลยีการ

ประหยัดพลังงานที่น ามาใช้ในอาคาร เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้าประสิทธิภาพ

สูงต่างๆ การออกแบบอาคาร และการจัดการพลังงาน เป็นต้น ส าหรับ

ส่วนที่สอง คอื เทคโนโลยีการผลิตพลังงานที่ใชใ้นอาคาร เชน่ การผลิต

ไฟฟ้าหรอืความรอ้นด้วยพลังงานแสงอาทิตย์เป็นต้น ดังนั้นเพื่อให้การ

อนุรักษ์พลังงานของอาคารโดยใช้หลักการ NZEB ประสบความส าเร็จ

งานวิจัยนี้จึงเลือกที่จะท าการศึกษาการพัฒนาเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับ

พลังงานที่เหมาะสมเพื่อน ามาใช้กับอาคารในประเทศไทย ซึ่งจะมีส่วน

ช่วยให้เกดิประโยชน์มหาศาลในการลดการใช้พลังงานในอาคาร

Page 3: กิตติกรรมประกาศ · หน้า 1 กิตติกรรมประกาศ โครงการการถ่ายทอดความรู้อาคารต้นแบบ

หนา้ 3

และทราบถึงความเหมาะสมในการน าเทคโนโลยีมาใช้กับอาคาร

รวมถงึปัญหาและวิธีการแก้ไขในการน าเทคโนโลยีต่างๆ มาใช้อีกด้วย

Page 4: กิตติกรรมประกาศ · หน้า 1 กิตติกรรมประกาศ โครงการการถ่ายทอดความรู้อาคารต้นแบบ

หนา้ 4

สารบัญ

หัวข้อ หน้า

ค านิยาม Net Zero Energy Building 6

ถา้อยากจะท า Net Zero Energy Building ควรท าอยา่งไร 8

1 เลือกอาคารที่เหมาะสม 8

2 ส ารวจตรวจวัดการใชพ้ลังงานของอาคารเดิม 9

3 เงื่อนไขของการปรับปรุงการใช้พลังงานในระบบตา่งๆ 9

4 การออกแบบและปรับปรุงอาคารเพื่อให้เป็นอาคาร

ที่ใชพ้ลังงานสุทธิเป็นศูนย์

10

4.1 การออกแบบและปรับปรุงหลังคาอาคาร 10

4.2 การออกแบบและปรับปรุงกรอบอาคาร 11

4.3 การออกแบบและปรับปรุงระบบแสงสว่าง 12

4.4 การออกแบบและปรับปรุงระบบท าความเย็น 14

4.5 การออกแบบและปรับปรุงอุปกรณส์ านักงาน 16

4.6 ระบบผลิตไฟฟ้า 17

5 ส ารวจตรวจวัดการใชพ้ลังงานของอาคารหลัง

จากการปรับปรุง

18

Page 5: กิตติกรรมประกาศ · หน้า 1 กิตติกรรมประกาศ โครงการการถ่ายทอดความรู้อาคารต้นแบบ

หนา้ 5

สารบัญรูป

หัวข้อ หน้า

รูปที่ 1 ตัวอยา่งอาคาร Net Zero Energy building 7

รูปที่ 2 บรเิวณด้านนอกอาคารและหลังคาอาคาร

ส านักงานกองสื่อสารองคก์ร

8

รูปที่ 3 แสดงหลังคาอาคารก่อนและหลังการปรับปรุง 11

รูปที่ 4 แสดงผนังอาคารก่อนและหลงัการปรับปรุง 12

รูปที่ 5 ระบบแสงสวา่งกอ่นและหลงัการปรับปรุง 13

รูปที่ 6 ส่วนประกอบของอุปกรณช่์องน าแสงธรรมชาติ 14

รูปที่ 7 เครื่องปรับอากาศ แบบ Solar Air Conditioning

และวงจรการท างาน

15

รูปที่ 8 แสดงภาพกอ่นและหลังการปรับปรุงระบบปรับ

อากาศ

16

รูปที่ 9 แสดงภาพตัวอย่างคอมพิวเตอร์ Ultra book 17

รูปที่ 10 ลักษณะและคุณสมบัติแผงโซล่าเซลล์แบบ

Polycrystalline

18

รูปที่ 11 แสดงภาพตัวอย่างข้อมูลการตรวจวัดหลักการ

ปรับปรุง

19

Page 6: กิตติกรรมประกาศ · หน้า 1 กิตติกรรมประกาศ โครงการการถ่ายทอดความรู้อาคารต้นแบบ

หนา้ 6

ค านิยาม อาคารที่มีการใช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Energy

Building) หมายความว่า อาคารที่มีระบบผลิตพลังงานของตนเองจาก

แหล่งพลังงานทดแทนในรูปแบบต่าง โดยคดิจากพลังงานที่ผลิตได้และ

พลังงานที่ใช้ ในระยะเวลา1 รอบปี โดยอาคารดังกล่าวอาจผลิต

พลังงานทดแทนเกินกว่าที่ใช้ก็ได้ ซึ่งจะต้องส่งไปทดแทนการใช้

พลังงานสิ้นเปลืองของอาคารอื่น ในขณะเดียวกันอาคารดังกล่าว

อาจจะใช้พลังงานสิ้นเปลืองในบางช่วงเวลาที่ไม่สามารถผลิตพลังงาน

เองจากแหล่งพลังงานทดแทนได้ ทั้งนี้ เมื่อรวมกันแล้วพลังงานสุทธิใน

1 รอบปีต้องเป็นศูนย์

Page 7: กิตติกรรมประกาศ · หน้า 1 กิตติกรรมประกาศ โครงการการถ่ายทอดความรู้อาคารต้นแบบ

หนา้ 7

รูปที่ 1 ตัวอย่างอาคาร Net Zero Energy building

Page 8: กิตติกรรมประกาศ · หน้า 1 กิตติกรรมประกาศ โครงการการถ่ายทอดความรู้อาคารต้นแบบ

หนา้ 8

ถ้าอ ยากจะท า Net Zero Energy Building

ควรท าอยา่งไร 1. เลือกอาคาร ควรเป็นอาคารที่มีขนาดไม่ใหญ่หรือเล็กจนเกินไป

อาจจะเป็นอาคารส านักงาน ที่เป็นอาคาร 2 ช้ัน มีหลักการพิจารณา

คือ

1) การใช้พลังงานไฟฟ้าในอาคารจะต้องประกอบไปด้วยอุปกรณ์

ระบบปรับอากาศ ไฟฟ้าแสงสว่างและอุปกรณส์ านักงานเป็นอย่างน้อย

2) ลักษณะตัวอาคารจะต้องมีพื้นที่ของตัวอาคารเองเพื่อใช้เป็น

พื้นที่ติดตั้งระบบพลังงานทดแทนเช่น เซลล์แสงอาทิตย์ กังหันลมหรือ

พลังงานทดแทนอย่างอื่นที่จะเลือกมาเพื่อผลิตพลังงานใช้เอง

ซึ่งในโครงการนี้ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้เลือกอาคารส านักงานกอง

สื่อสารองค์กร ซึ่งเป็นอาคารส านักงานของฝ่ายประชาสัมพันธ์ของ

มหาวิทยาลัย มีการใช้งานใน วันจันทร ์– วันศุกร์ เวลา 8:00–17:00 น.

ซึ่งอาคารมีพืน้ที่ใช้งาน 315 ตารางเมตร

รูปที่ 2 บริเวณด้านนอกอาคารและหลังคาอาคารส านักงาน

Page 9: กิตติกรรมประกาศ · หน้า 1 กิตติกรรมประกาศ โครงการการถ่ายทอดความรู้อาคารต้นแบบ

หนา้ 9

2. ส ารวจตรวจวัดการใช้พลังงานของอาคารเดิม

การตรวจวัดการใช้พลังงานของอาคารก่อนการปรับปรุงเพื่อ

วิเคราะห์สถานะภาพการใช้พลังงาน โดยต้องด าเนินการตรวจวัดการ

ใช้พลังงานแบบต่อเนื่องตลอด 24 ช่ัวโมง เพื่อจะได้เห็นพฤติกรรมการ

ใช้พลังงานของอาคารอย่างชัดเจนและครอบคลุมปริมาณการใช้ไฟฟ้า

เฉลี่ยต่อวันของวันท างาน (จันทร์–ศุกร์) และ ในวันหยุด (เสาร์ –

อาทิตย์) ส าหรับอาคารกองสื่อสารองคก์ร มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อ

ตรวจวัดการใช้พลังงาน พบว่า มีการใช้พลังงานโดยเฉลี่ยเท่ากับ

98.60 หน่วยต่อวัน หรือ 35,987.70 หน่วยต่อปี

3. เงื่อนไขของการปรับปรุงการใช้พลังงานในระบบต่างๆ

ในการปรับปรุงการใช้พลังงานระบบต่างๆ ควรมีเป้าหมายหรือ

มาตรฐาน ซึ่งทางโครงการได้ใชแ้นวทางต่อไปนีใ้นการด าเนินงาน

1) กรอบอาคาร จะต้องปรับปรุงกรอบอาคารให้ได้ค่าการถา่ยเทความ

รอ้นรวมของผนังด้านนอกอาคาร (OTTV) ต้องไม่สูงกวา่ 20 W/m2

2) ระบบแสงสว่าง จะต้องปรับปรุงอุปกรณ์ให้แสงสว่างด้วยไฟฟ้ามี

ก าลังไฟฟ้าติดตั้งต้องไม่สูงกว่า 6 W/m2และมีความส่องสว่างไม่น้อย

กวา่คา่มาตรฐาน

3) การใช้แสงธรรมชาติ ต้องออกแบบให้มีการน าแสงจากธรรมชาติมา

ใช้แทนแสงสว่างจากไฟฟ้า ในปรมิาณที่เหมาะสม

4) ระบบท าความเย็น ต้องศึกษาความเป็นไปได้ในการน าระบบ

ท าความเย็นที่ใชร้ังสีอาทิตย์ (Solar Cooling) หรือ ใชร้ะบบท าความเย็น

ที่มีประสิทธิภาพใช้พลังงานไม่สูงกวา่ 0.6 kW/Ton และ เป็นไปตาม

Page 10: กิตติกรรมประกาศ · หน้า 1 กิตติกรรมประกาศ โครงการการถ่ายทอดความรู้อาคารต้นแบบ

หนา้ 10

5) เกณฑ์ของการมีคุณภาพอากาศและความสบายเชิงอุณหภาพให้

เหมาะสมกับประเทศไทย

6) คุณภาพเชิงแสง อัตราส่วนหน้าต่างกระจกต่อพื้นที่ผนังรวม และ

คุณภาพเชิงเสียง ต้องออกแบบให้อาคารมีคุณภาพเชิงแสง (Visual

Quality) มีค่าWWR ไม่ต่ ากว่า 0.15 และมีคุณภาพเชิงเสียง (Acoustic

Quality) ที่ได้มาตรฐาน

7) ออกแบบให้มีการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากรังสีอาทิตย์ (Solar cell)

4. การออกแบบและปรับปรุงอาคารเพื่อให้เป็นอาคารที่ใช้

พลังงานสุทธิเป็นศูนย์

4.1 การออกแบบและปรับปรุงหลังคาอาคาร

การปรับปรุงอาคาร ควรท าภายใต้หลักการ ที่ให้อาคารมี

ความเหมาะสมกับพลังงานเลือกที่เลือกใช้ และต้องป้องกัน

ความร้อนเข้าสู่อาคารให้มากที่สุดโดยอาจใช้วัสดุผนังชนิด

พิเศษหรอืการหุ้มฉนวน

โดยโครงการวิจัยเลือกใช้พลังงานแสงอาทิตย์ จึงออกแบบหลังคายก

สูง ท ามุมยกขึ้นจากแนวราบประมาณ 12-15 องศา และเปลี่ยนวัสดุมุง

หลังคาเป็นเมทัลชีท รองรบัการติดตั้งระบบเซลล์แสงอาทิตย์และติดตั้ง

ฉนวนใยแกว้ หนา 4 นิว้ ใต้หลังคาเพื่อลดค่าการถ่ายเทความร้อนผ่าน

หลังคาสูงเช่นเดียวกันกับผนังอาคาร ทั้งนี้เพื่อให้รองรับกับการติดตั้ง

ระบบ Solar PV ที่จะติดตั้งบนหลังคา

Page 11: กิตติกรรมประกาศ · หน้า 1 กิตติกรรมประกาศ โครงการการถ่ายทอดความรู้อาคารต้นแบบ

หนา้ 11

รูปที่ 3 แสดงหลังคาอาคารก่อนและหลังการปรับปรุง

4.2 การออกแบบและปรับปรุงกรอบอาคาร

ต้องพิจารณาให้มีการถ่ายเทความร้อนรวมของผนัง

ด้านนอกอาคารเข้าสู่อาคารน้อยที่สุด ควรลดพื้นที่กระจก

และใช้วัสดุที่เป็นฉนวน ติดฟิล์มกระจก เพื่อป้องกันความ

ร้อนเข้าสู่อาคาร

ซึ่งทางโครงการวิจัยได้ปรับเปลี่ยนผนังอาคารด้วยการลดพื้นที่กระจก

ให้เป็นผนังทึบไฟเบอร์ซเีมนต์โดยแกนกลางบุด้วยฉนวนใยแก้ว หุ้มด้วย

แผ่นอลูมิเนียมฟอยล์ และการติดฟิล์มลดความร้อนโดยเลือกใช้ฟิล์มที่

มีคุณสมบัติปอ้งกันความรอ้นสูงสุด

Page 12: กิตติกรรมประกาศ · หน้า 1 กิตติกรรมประกาศ โครงการการถ่ายทอดความรู้อาคารต้นแบบ

หนา้ 12

รูปที่ 4 แสดงผนังอาคารก่อนและหลังการปรับปรุง

4.3 การออกแบบและปรับปรุงระบบแสงสวา่ง

พยายามใช้แสงสว่างจากธรรมชาติและเลือกใช้หลอด

ไฟฟ้าที่ประหยัดพลังงาน แต่ยังคงให้ความสว่างเพียงพอโดย

ท าให้ก าลังไฟฟ้าต่อพื้นที่ใช้งาน (W/m2) ลดลง

1) เทคโนโลยีหลอดไฟฟ้าแบบ LED โครงการวิจัยเลือกใช้ระบบ

แสงสว่างมี เทคโนโลยีหลอดไฟฟ้าประสิทธิภาพสูงและมีความ

เหมาะสมกับสภาพต่อการใช้งาน คือหลอดไฟฟ้าแบบ LED น ามาใช้

แทนหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ T8 และหลอด Downlight ที่มีใช้งานอยู่

เดิมในอาคาร ท าให้ก าลังไฟฟ้าติดตั้งพื้นที่ใช้งาน เท่ากับ 3.36 W/m2

ซึ่งลดลงจากเดิม

Page 13: กิตติกรรมประกาศ · หน้า 1 กิตติกรรมประกาศ โครงการการถ่ายทอดความรู้อาคารต้นแบบ

หนา้ 13

รูปที่ 5 ระบบแสงสว่างก่อนและหลังการปรับปรุง

2) ระบบแสงสว่างโดยใช้แสงธรรมชาติ โครงการวิจัยได้เลือก

ออกแบบให้มีการน าแสงธรรมชาติมาใช้งานทดแทนหลอดไฟฟ้าแสง

สว่าง จึงได้ออกแบบให้ติดตั้งอุปกรณ์น าแสงธรรมชาติบริเวณทางเดิน

ในส านักงาน ซึ่งอุปกรณน์ าแสงธรรมชาติดังกล่าวมีคุณสมบัติสามารถ

ป้องกันรังสีอัลตราไวโอเลตและลดความร้อนที่เข้าในอาคาร

ก่อน

ปรับปรุ

หลัง

ปรับ

ปรุง

Page 14: กิตติกรรมประกาศ · หน้า 1 กิตติกรรมประกาศ โครงการการถ่ายทอดความรู้อาคารต้นแบบ

หนา้ 14

รูปที่ 6 ส่วนประกอบของอุปกรณ์ช่องน าแสงธรรมชาติ

4.4. การออกแบบและปรับปรุงระบบท าความเย็น

เมื่อปรับปรุงกรอบอาคารจะท าให้สามารถลดขนาด

ของระบบปรับอากาศเน่ืองจากลดภาระความร้อนที่เข้าสู่

อาคาร และเลือกใช้ระบบปรับอากาศใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูง

พิจารณาจากค่า kW/Ton

ซึ่งในโครงการวิจัย เลือกออกแบบติดตั้งระบบปรับอากาศแบบ VRF

และแบบ Solar Air

1) ออกแบบติดตั้งระบบปรับอากาศแบบ VRF และ แบบ

Solar Air เทคโนโลยีระบบปรับอากาศแบบ VRF ที่ใช้คอมเพรสเซอร ์

DC มอเตอร์และมี Inverter ควบคุมความเร็วรอบให้สัมพันธ์กับโหลด

Page 15: กิตติกรรมประกาศ · หน้า 1 กิตติกรรมประกาศ โครงการการถ่ายทอดความรู้อาคารต้นแบบ

หนา้ 15

ท าความเย็น และระบบปรับอากาศแบบ Solar Air ที่น าพลังงาน

ทดแทน คอื แสงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานมาติดตั้งเป็นอุปกรณ์ร่วมอยู่

ในระบบการท างาน ช่วยสร้างแรงดันน้ ายาระบบต่อเนื่องจาก

คอมเพรสเซอร ์ช่วยให้คอมเพรสเซอรท์ างานน้อยลง

รูปที่ 7 เครื่องปรับอากาศ แบบ Solar Air Conditioning

และวงจรการท างาน

Page 16: กิตติกรรมประกาศ · หน้า 1 กิตติกรรมประกาศ โครงการการถ่ายทอดความรู้อาคารต้นแบบ

หนา้ 16

2) การติดตั้งแผงรังผึ้งระบายความร้อน (Cooling Pad) เพื่อ

เพิ่มประสิทธิภาพการระบายความร้อนคอนเดนเซอรเ์ครื่องปรับอากาศ

VRF ด้วยแผงรังผึง้ระบายความร้อนที่ใชน้้ าชว่ยลดอุณหภูมิอากาศ

รูปที ่8 แสดงภาพก่อนและหลังการปรับปรุงระบบปรับอากาศ

4.5 การออกแบบและปรับปรุงอุปกรณ์ส านักงาน

เนื่องจากในอาคารมีการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นจ านวน

มากและเป็นคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ ซึ่งใช้ก าลังไฟฟ้ามากจึงได้มีการ

เปลี่ยนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานในส านักงานมาเป็นคอมพิวเตอร ์

Ultra book แทนคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ ซึ่งจะช่วยให้ประหยัดพลังงาน

มากขึ้นหลายเทา่ตัวแล้ว ยังมีความคล่องตัวและเหมาะสมในการใช้งาน

Page 17: กิตติกรรมประกาศ · หน้า 1 กิตติกรรมประกาศ โครงการการถ่ายทอดความรู้อาคารต้นแบบ

หนา้ 17

เป็นอย่างมาก นอกจากนี้อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดอื่นๆ ก็ควรเลือกใช้

อุปกรณท์ี่ประหยัดพลังงานด้วย

รูปที ่9 แสดงภาพตัวอย่างคอมพิวเตอร์ Ultrabook

4.6 ระบบผลติไฟฟ้า

การผลิตไฟฟ้าเพื่อใช้ในอาคารควรเน้นผลิตไฟฟ้าจาก

แหล่งพลังงานสะอาด หรือพลังงานหมุนเวียน ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับ

พื้นที่ว่าความเหมาะสมกับพลังงานชนิดใด

ซึ่งโครงการวิจัยได้เลือกระบบผลิตไฟฟ้าจากรังสีอาทิตย์ (Solar Cell)

เนื่องจากในช่วงเวลากลางวันเซลล์แสงอาทิตย์ได้รับแสงแดดสามารถ

ผลิตไฟฟ้าจ่ายให้แก่โหลดได้โดยตรง ผ่านอุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้า

กระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ (Inverter) และหากมีพลังงานไฟฟ้า

ส่วนที่เกินจะถูกจ่ายเข้าระบบจ าหน่ายไฟฟ้า ส่วนในช่วงกลางคืนเซลล์

แสงอาทิตย์ไม่สามารถผลิตไฟฟ้าได้ กระแสไฟฟ้าจากระบบจ าหน่าย

ไฟฟ้าจะจ่ายให้แก่โหลดโดยตรง

Page 18: กิตติกรรมประกาศ · หน้า 1 กิตติกรรมประกาศ โครงการการถ่ายทอดความรู้อาคารต้นแบบ

หนา้ 18

รูปที่ 10 แสดงภาพแผง PV module-Polycrystalline

ที่ตดิตั้งใช้งานในอาคาร

5. ส ารวจตรวจวัดการใช้พลังงานของอาคารหลังจากการ

ปรับปรุง

เมื่อด าเนินการต่างๆทั้งหมดแล้ว ต้องมีการเก็บข้อมูล

การใช้พลังงานของอาคารและการผลิตไฟฟ้าของระบบผลิต

เพื่อเปรียบเทียบว่า การใช้กับการผลิตเป็นไปตามที่ต้องการ

หรือไม่ ด้วยการตรวจสอบสถานะภาพการใช้พลังงาน

แบบต่อเน่ือง (24 ชั่วโมง) ตามระยะเวลา 6 เดือนหรือ 1 รอบ

ปี ในกรณน้ีี ใช้ค านิยามที่ 1 ปี

ซึ่งโครงการวิจัยได้ติดตั้งเครื่องตรวจวัดการใช้พลังงานของอาคาร

ซึ่งสามารถแสดงผลการตรวจวัดได้ที ่ http://nzeb.kku.ac.th

ตามที่แสดงตัวอย่างดังนี ้

Page 19: กิตติกรรมประกาศ · หน้า 1 กิตติกรรมประกาศ โครงการการถ่ายทอดความรู้อาคารต้นแบบ

หนา้ 19

รูปที่ 11 แสดงภาพตัวอย่างข้อมูลการตรวจวัดหลังการปรับปรุง

Page 20: กิตติกรรมประกาศ · หน้า 1 กิตติกรรมประกาศ โครงการการถ่ายทอดความรู้อาคารต้นแบบ

หนา้ 20

ขอขอบคุณ

1. ส านักงานคณะกรรมการวจิัยแห่งชาต ิ(วช.)

2. ส านักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลงังาน (สนพ.)

3. มหาวิทยาลัยขอนแกน่

4. ศูนย์บริการวชิาการ มหาวิทยาลัยขอนแกน่

5.ศูนย์วจิัยและพัฒนาพลังงานทดแทน มหาวิทยาลยัขอนแกน่

กลุ่มบรษิัทพันธมิตร

1. บรษิัท โกลด์มารก์เทค จ ากัด

2. บรษิัท เพาเวอรเ์รด จ ากัด

3. บรษิัท วินกูลฟิลม์ จ ากัด

4. บรษิัท เอ็นโซล จ ากัด

5. บรษิัท โซลารต์รอน จ ากัด (มหาชน)

6. บรษิัท ไลท์ติ้ง แอนด์ อีควิปเมนท์ จ ากัด (มหาชน)

7. บจก. แอดวานซ ์เอ็กซเชนจ์ เทคโนโลยี

คณะผู้จัดท า

รองศาสตราจารย์ธนากร วงศ์วัฒนาเสถียร

ผู้ช่วยศาสตราจารย์เด่นพงษ์ สุดภักดี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ช านาญ บุญญาพุทธิพงศ์

นางสาวนันนิภา ประสันลักษณ์

นางสาวดุษฎีรัตน์ ชุมชาตรี