133
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาระบบการผลิตเยื่อและกระดาษจากปอสาที่ไมกอปญหา สิ่งแวดลอมเพื่ออุตสาหกรรมขนาดเล็ก Development of Cleaner Technology for Pulping and Paper Making of Paper Mulberry โครงการวิจัยยอยที4 การปรับปรุงเครื่องมือการผลิตเยื่อและกระดาษสาที่ใชอยู ในอุตสาหกรรมขนาดเล็ก ผูวิจัย นายวิชา หมั่นทําการ และคณะ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ พฤศจิกายน 2545

รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

  • Upload
    others

  • View
    11

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

รายงานการวิจัย

เรื่องการพัฒนาระบบการผลิตเยื่อและกระดาษจากปอสาที่ไมกอปญหา

สิ่งแวดลอมเพื่ออุตสาหกรรมขนาดเล็กDevelopment of Cleaner Technology for Pulping and Paper

Making of Paper Mulberry

โครงการวิจัยยอยที่ 4การปรับปรุงเครื่องมือการผลิตเยื่อและกระดาษสาที่ใชอยู

ในอุตสาหกรรมขนาดเล็ก

ผูวิจัย

นายวิชา หมั่นทําการ และคณะคณะวิศวกรรมศาสตร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติพฤศจิกายน 2545

Page 2: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

กิตติกรรมประกาศ

โครงการวิจัยนี้ ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติประเภทแผนงานวิจัยหรือชุดโครงการวิจัย ประจําป 2541 (ตั้งแตมิถุนายน 2542 ถึง พฤษภาคม 2544) คณะผูวิจัยใครขอขอบคุณภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ท่ีใหการอนุเคราะหสถานที่ปฏิบัติการวิจัย และขอบคุณสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ท่ีใหการสนับสนุนงบประมาณดําเนินการวิจัยจนโครงการประสบความสําเร็จไปดวยดี

ผูวิจัยพฤศจิกายน 2545

Page 3: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

สารบัญเรื่องเร่ือง หนาบทที่ 1 บทนํา 1บทที่ 2 การตรวจเอกสาร 2บทที่ 3 การวิจัยและพัฒนาการออกแบบสรางเครื่องลอกเปลือกสา 15 3.1 อุปกรณท่ีใชในการสรางและการทดสอบเครื่องลอกเปลือกสา 15 3.2 วิธีการออกแบบสรางเครื่องลอกเปลือกสา 15 3.3 วิธีการทดสอบเครื่องลอกเปลือกสา 16

3.4 วิธีการคํานวณคาใชจายในการทํางานลอกเปลือกสาและระยะเวลาการ 18 คืนทุนของเครื่องลอกเปลือกสา 3.5 ผลการทดสอบและวิจารณ 20 3.6 สรุปผลการทดสอบและวิจารณ 22บทที่ 4 การวิจัยและพัฒนาการออกแบบสรางเครื่องมือทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือ 37 ชนิดกึ่งอัตโนมัติ

4.1 อุปกรณท่ีใชในการสรางและการทดสอบเครื่องมือทําแผนกระดาษสา 37 ท่ีทําดวยมือชนิดกึ่งอัตโนมัติ

4.2 วิธีการออกแบบสรางเครื่องมือทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือ 37 ชนิดกึ่งอัตโนมัติ

4.3 วิธีการทําแผนกระดาษสาจากเครื่องมือทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือ 39 ชนิดกึ่งอัตโนมัติ

4.4 วิธีการทดสอบเครื่องมือทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือ 41 ชนิดกึ่งอัตโนมัติ

4.5 วิธีการคํานวณคาใชจายหรือตนทุนในการผลิตกระดาษสา และระยะ 43 เวลาในการคืนทุนของเครื่องมือทําแผนกระดาษสาที่ทําดวย มือชนิดกึ่งอัตโนมัติ 4.6 ผลการทดสอบและวิจารณ 45 4.7 สรุปผลการทดสอบและวิจารณ 48 การหาคาใชจายในการทํากระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 35.27 กรัมตอแผน 56 การหาคาใชจายในการทํากระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 41.48 กรัมตอแผน 59 การหาคาใชจายในการทํากระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 64.78 กรัมตอแผน 61

Page 4: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

สารบัญเรื่อง (ตอ)เร่ือง หนาบทที่ 5 การวิจัยและพัฒนาการออกแบบสรางเครื่องอบแหงกระดาษสาที่ทําดวยมือ 72 5.1 อุปกรณท่ีใชในการสรางและการทดสอบเครื่องอบแหงกระดาษสา 72 ท่ีทําดวยมือ 5.2 วิธีการออกแบบสรางเครื่องอบแหงกระดาษสาที่ทําดวยมือ 72 5.3 วิธีการทดสอบเครื่องอบแหงกระดาษสาที่ทําดวยมือ 73 5.4 วิธีการคํานวณคาใชจายหรือตนทุนในการอบแหงกระดาษสา (บาทตอแผน) 74 และระยะเวลาการคืนทุนของเครื่องอบแหงกระดาษสาที่ทําดวยมือ 5.5 ผลการทดสอบและวิจารณ 76 5.6 สรุปผลการทดสอบ 78 การคํานวณคาใชจายในการอบแหงกระดาษสาที่ทําดวยมือดวยเครื่อง 102 อบแหงกระดาษสาตนแบบบทที่ 6 การวิจัยและพัฒนาเครื่องเก็บเกี่ยวตนปอสา 108 6.1 อุปกรณท่ีใชในการสรางและการทดสอบเครื่องเก็บเกี่ยวตนปอสา 108 6.2 วิธีการออกแบบสรางเครื่องเก็บเกี่ยวตนปอสา 108 6.3 วิธีการทดสอบเครื่องเก็บเกี่ยวตนปอสา 109 6.4 วิธีการคํานวณคาใชจายหรือตนทุนในการตัดกิ่งปอสาโดยเครื่องตัดกิ่งไม 110 6.5 ผลการทดสอบและวิจารณ 111 6.6 สรุปผลการทดสอบ 112 การคํานวณคาใชจายในการใชงานเครื่องตัดตนปอสา 117เอกสารอางอิง 122ประวัตินักวิจัยและคณะ 123

Page 5: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

สารบัญตารางตารางที่ หนาตารางที่ 3.1 ขอกําหนดรายละเอียดของเครื่องลอกเปลือกสา 23ตารางที่ 3.2 ความชื้นของแผนเปลือกสากอนนําเขาเครื่องลอกเปลือกสา 24ตารางที่ 3.3 ความชื้นของแผนเปลือกสากอนทําการลอกเปลือกโดยแรงงานคน 25ตารางที่ 3.4 การทดสอบหาอัตราการลอกเปลือกสาโดยแรงงานคน 26ตารางที่ 3.5 การทดสอบหาการสูญเสียเปลือกในสาของเครื่องลอกเปลือกสา (ครั้งท่ี 1 ) 27ตารางที่ 3.6 การทดสอบหาการสูญเสียเปลือกในสาของเครื่องลอกเปลือกสา (ครั้งท่ี 2 ) 28ตารางที่ 3.7 การทดสอบหาการสูญเสียเปลือกในสาของคนลอกเปลือกสา 29ตารางที่ 3.8 การทดสอบหาอัตราการทํางานการลอกเปลือกสาของเครื่องลอกเปลือกสาตนแบบ 30ตารางที่ 3.9 การคํานวณหาตนทุนในการทํางานและระยะเวลาการคืนทุนของเครื่อง 30 ลอกเปลือกสาตารางที่ 4.1 การทดสอบการทําแผนกระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 15.46 กรัมตอแผน 49ตารางที่ 4.2 แสดงน้ําหนักกระดาษสาแหงขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 15.46 กรัมตอแผน 50ตารางที่ 4.3 การทดสอบการทําแผนกระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 35.27 กรัมตอแผน 51ตารางที่ 4.4 แสดงน้ําหนักกระดาษสาแหงขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 35.27 กรัมตอแผน 52ตารางที่ 4.5 การทดสอบการทําแผนกระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 41.48 กรัมตอแผน 53ตารางที่ 4.6 แสดงน้ําหนักกระดาษสาแหงขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 41.48 กรัมตอแผน 54ตารางที่ 4.7 แสดงน้ําหนักกระดาษสาแหงขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 64.78 กรัมตอแผน 55 (เติมลายดอกไม)ตารางที่ 4.8 ผลการทดสอบเครื่องมือทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือชนิดกึ่งอัตโนมัติ 56ตารางที่ 4.9 การหาระยะเวลาการคืนทุนของเครื่องมือทําแผนกระดาษสาถาหาก 58 นําไปทําแผนกระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 35.27 กรัมตอแผนตารางที่ 4.10 การหาระยะเวลาการคืนทุนของเครื่องมือทําแผนกระดาษสาถาหาก 61 นําไปทําแผนกระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 41.48 กรัมตอแผนตารางที่ 4.11 การหาระยะเวลาการคืนทุนของเครื่องมือทําแผนกระดาษสาถาหาก 63 นําไปทําแผนกระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 64.78 กรัมตอแผน(เติมลายดอกไม)ตารางที่ 5.1 แสดงขอมูลอุณหภูมิบริเวณภายในกลางตูอบแหงของตูท่ี 1 และตูท่ี 2 89 เปนการวัดอุณหภูมิตูเปลายังไมไดใสตะแกรงทําแผนกระดาษตารางที่ 5.2 แสดงขอมูลอุณหภูมิภายในตูอบแหงตูท่ี 1 ในขณะทําการอบแหงกระดาษ 91ตารางที่ 5.3 แสดงขอมูลอุณหภูมิภายในตูอบแหงตูท่ี 2 ในขณะทําการอบแหงกระดาษ 91ตารางที่ 5.4 แสดงขอมูลอัตราการลดความชื้นของกระดาษสาในขณะทําการ 94 อบแหงกระดาษสาของตูอบแหงตูท่ี 1

Page 6: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

สารบัญตาราง (ตอ)ตารางที่ หนาตารางที่ 5.5 แสดงขอมูลอัตราการลดความชื้นของกระดาษสาในขณะทําการ 95 อบแหงกระดาษสาของตูอบแหงตูท่ี 2ตารางที่ 5.6 แสดงขอมูลอัตราการลดความชื้นของกระดาษสาในขณะทําการ 98 อบแหงกระดาษสาดวยการตากแดดสําหรับกระดาษสาน้ําหนักแหง เฉลี่ย 31.33 กรัมตอแผนตารางที่ 5.7 แสดงขอมูลอัตราการลดความชื้นของกระดาษสาในขณะทําการ 99 อบแหงกระดาษสาดวยการตากแดดสําหรับกระดาษสาน้ําหนักแหง เฉลี่ย 44.33 กรัมตอแผนตารางที่ 5.8 แสดงจํานวนการผลิตกระดาษที่อบแหงโดยเครื่องอบแหงท่ีมี 104 ผลตอตนทุนการผลิตตารางที่ 6.1 แสดงขอมูลการทดสอบหากําลังท่ีใชในการขับเคลื่อนเลื่อยโซท่ีใช 113 ตัดกิ่งปอสา ณ.ท่ีความเร็วเชิงเสนของเลื่อยโซ 14.21 เมตรตอวินาทีตารางที่ 6.2 แสดงขอมูลการทดสอบหากําลังท่ีใชในการขับเคลื่อนเลื่อยโซท่ีใช 113 ตัดกิ่งปอสา ณ.ท่ีความเร็วเชิงเสนของเลื่อยโซ 18.30 เมตรตอวินาทีตารางที่ 6.3 แสดงขอมูลการทดสอบหากําลังท่ีใชในการขับเคลื่อนเลื่อยโซท่ีใช 114 ตัดกิ่งปอสา ณ.ท่ีความเร็วเชิงเสนของเลื่อยโซ 23.93 เมตรตอวินาทีตารางที่ 6.4 ความชื้นของกิ่งสาขณะทดสอบการตัดกิ่งสา 114ตารางที่ 6.5 แสดงการทดสอบโดยการใชเลื่อยโซดามจับยาว 2 เมตร 115ตารางที่ 6.6 แสดงการทดสอบโดยการใชคนตัด (ใชมีด) 116

Page 7: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

สารบัญรูปภาพรูปที่ หนารูปที่ 3.1 แสดงฟงคช่ันหลักการทํางานการลอกเปลือกสาของ 33 เครื่องลอกเปลือกสาตนแบบรูปที่ 3.2 แสดงหลักการถายทอดกําลังไปยังกลไกตาง ๆ ของเครื่องลอกเปลือก 34 สาตนแบบรูปที่ 3.3 เครื่องลอกเปลือกสา 35รูปที่ 3.4 แสดงการปอนเปลือกสาที่สามารถทําไดครั้งละหลาย ๆ แผนพรอมกัน 35รูปที่ 3.5 เปลือกสาที่ถูกลอกเปลือกแลวขณะออกจากเครื่องลอกเปลือกสา 35รูปที่ 3.6 ลักษณะเปลือกสาที่ถูกลอกเปลือกโดยเครื่องลอกเปลือกสา 35รูปที่ 3.7 แปรงปดทําความสะอาดหนาใบมีดลอกเปลือกสา 36รูปที่ 3.8 ใบมีดลอกเปลือกสา 36รูปที่ 3.9 เครื่องลอกเปลือกสาขณะทํางานที่บริษัท Royal Craft จังหวัดเชียงราย 36รูปที่ 3.10 เครื่องลอกเปลือกสาขณะทํางานที่บริษัท Royal Craft จังหวัดเชียงราย 36 เปลือกที่นํามาลอกเปนเปลือกของปอหูท่ีมีความเหนียวและแข็งมาก ยากที่จะลอกออกดวยคนรูปที่ 4.1 ภาพ Layout เครื่องมือทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือชนิดกึ่งอัตโนมัติ 64รูปที่ 4.2 ภาพ Layout เครื่องมือทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือชนิดกึ่งอัตโนมัติ 65รูปที่ 4.3 แบบ Top view เครื่องมือทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือชนิดกึ่งอัตโนมัติ 66รูปที่ 4.4 แบบ Side view เครื่องมือทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือชนิดกึ่งอัตโนมัติ 67รูปที่ 4.5 แบบ Front view เครื่องมือทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือชนิดกึ่งอัตโนมัติ 68รูปที่ 4.6 เครื่องมือทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือชนิดกึ่งอัตโนมัติ 69รูปที่ 4.7 เครื่องมือทําแผนกระดาษ และระบบการเติมเยื่อ 69รูปที่ 4.8 การทํางานของเครื่องตีเยื่อ และชุดกระพอตักน้ําเยื่อ 69รูปที่ 4.9 การทํางานของหัวจายน้ําเยื่อและชุดกระพอตักน้ําเยื่อ 69รูปที่ 4.10 การไหลของน้ําเยื่อออกจากหัวจายน้ําเยื่อ 70รูปที่ 4.11 การลําเลียงตะแกรงเขามารับน้ําเยื่อจากหัวจายน้ําเยื่อ 70รูปที่ 4.12 การจับตัวของเยื่อสา (Forming) ในตะแกรงสําหรับทําแผนกระดาษ 70 หลังจากผานหัวจายน้ําเยื่อแลวรูปที่ 4.13 เยื่อสาจับตัวเปนแผนกระดาษสาแลวหลังจากยกตะแกรง 70 ออกจากสายพานลําเลียงตะแกรง รูปที่ 4.14 การทําแผนกระดาษสาชนิดเติมลายดอกไม 71รูปที่ 4.15 เยื่อสาจับตัวเปนกระดาษสาชนิดเติมลายดอกไมหลังจาก 71 ยกตะแกรงออกจากสายพานลําเลียงตะแกรง

Page 8: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

สารบัญรูปภาพ (ตอ)รูปที่ หนารูปที่ 5.1 เครื่องอบแหงกระดาษสาที่ทําดวยมือ ( แบบ Isometric) 80รูปที่ 5.2 ภาพดานหลังของ เครื่องอบแหงกระดาษสาที่ทําดวยมือ ( แบบ Isometric) 81รูปที่ 5.3 ภาพดานหลังของ เครื่องอบแหงกระดาษสาที่ทําดวยมือ 82รูปที่ 5.4 ภาพดานขางของ เครื่องอบแหงกระดาษสาที่ทําดวยมือ 83รูปที่ 5.5 ภาพดานขางแสดงการติดตั้งตูอบช้ันในวางซอนอยูในตูช้ันนอก 84รูปที่ 5.6 ภาพดานหนาแสดงการติดตั้งตูอบชั้นในวางซอนอยูในตูช้ันนอก 85รูปที่ 5.7 เครื่องปอนแกลบ (แบบ Isometric) 86รูปที่ 5.8 ภาพดานขางของเครื่องปอนแกลบ 87รูปที่ 5.9 ภาพดานหลังของเครื่องปอนแกลบ 88รูปที่ 5.10 กราฟอุณหภูมิบริเวณกลางตูอบแหงของตูอบแหงตูท่ี 1 และตูท่ี 2 90 ในขณะที่ยังไมไดใสตะแกรงอบแหงกระดาษรูปที่ 5.11 กราฟแสดงอุณหภูมิบริเวณ บน , กลาง ,และลาง ภายในของตู 92 อบแหงตูท่ี 1 ในขณะทําการอบแหงกระดาษสารูปที่ 5.12 กราฟแสดงอุณหภูมิบริเวณ บน , กลาง ,และลาง ภายในของตู 93 อบแหงตูท่ี 2 ในขณะทําการอบแหงกระดาษสารูปที่ 5.13 กราฟแสดงอัตราการลดความชื้นของกระดาษสาตามตําแหนงตาง ๆ 96 ภายในตูอบแหงตูท่ี 1รูปที่ 5.14 กราฟแสดงอัตราการลดความชื้นของกระดาษสาตามตําแหนงตาง ๆ 97 ภายในตูอบแหงตูท่ี 2รูปที่ 5.15 กราฟแสดงอัตราการลดความชื้นของกระดาษสาดวยการตากแดด 100 สําหรับกระดาษน้ําหนักแหงเฉลี่ย 31.33 กรัมตอแผนรูปที่ 5.16 กราฟแสดงอัตราการลดความชื้นของกระดาษสาดวยการตากแดด 101 สําหรับกระดาษน้ําหนักแหงเฉลี่ย 44.33 กรัมตอแผนรูปที่ 5.17 กราฟแสดงอัตราการผลิตกระดาษสาที่อบแหงโดยเครื่องอบแหง 105 กระดาษสากับตนทุนการผลิตกระดาษสารูปที่ 5.18 แสดงตูอบแหงช้ันในซอนอยูในโครงของตูอบแหงช้ันนอก 106รูปที่ 5.19 แสดงโครงของตูอบแหงช้ันนอก 106รูปที่ 5.20 ขณะกําลังกอผนังอิฐมอญของตูอบแหงช้ันนอก 106รูปที่ 5.21 การประกอบตูอบชั้นในซอนอยูในตูอบชั้นนอก 106รูปที่ 5.22 แสดงภายในของตูอบชั้นใน 107รูปที่ 5.23 แสดงเครื่องปอนแกลบอยูทางดานหลังของตูอบแหง 107รูปที่ 5.24 การใสตะแกรงอบแหงกระดาษสาขางในตูอบแหงช้ันใน 107

Page 9: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

สารบัญรูปภาพ (ตอ)รูปที่ หนารูปที่ 5.25 ขณะทําการทดสอบอบแหงกระดาษสา 107รูปที่ 6.1 เลื่อยโซท่ีพัฒนาขึ้นมาสําหรับใชตัดตนสา 121รูปที่ 6.2 แสดงเสนใยสาและยางเกาะจับติดหนาคมใบมีดของเลื่อยโซ 121รูปที่ 6.3 แสดงมีดท่ีใชทดสอบตัดกิ่งตนสา 121รูปที่ 6.4 การทดสอบตัดกิ่งสาโดยเครื่องตัดกิ่งสา 121รูปที่ 6.5 ทําการทดสอบตัดกิ่งสาโดยเครื่องตัดกิ่งสาเมื่อกิ่งอยูลึกและหางตัว 121

Page 10: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

1

บทที่ 1บทนํา

ปอสา มีช่ือสามัญวา Paper Mulberry จัดอยูในวงศ Moraceae สกุล Broussonetia ประเทศไทยพบ 4 ชนิด แตสวนใหญเปน Papyrifera เปนไมยืนตนขนาดกลาง ชนิดผลัดใบ ปลูกเปนสวนปารวมกับปาไม หรือปลูกในสภาพไร ข้ึนไดท้ังท่ีชุมช้ืนและแหงแลง ปอสาเปนพืชเสนใย ท่ีสําคัญทางเศรษฐกิจพืชหนึ่ง มีเสนใยยาวมาก 2.4 – 7 มม. และเสนใยมีคุณภาพดีมาก มีความเหนียวคงทนฉีกขาดยาก เก็บรักษาไดนาน เปลือกปอสาใชทํากระดาษนับพันปมาแลว ปจจุบันการใชประโยชนสวนใหญ ใชทํากระดาษที่มีคุณภาพ กระดาษที่ใชในวงการแพทย และแปรรูปกระดาษเปนผลิตภัณฑตาง ๆ เชน ดอกไมประดิษฐ รม โคมไฟ กลองกระดาษ สมุดบันทึก แฟมเอกสาร กระดาษหอของขวัญ ของชํารวย เปนตน รวมมูลคาวัตถุดิบ เยื่อปอสา และผลิตภัณฑแปรรูปจากปอสา มีมูลคาการสงออกประมาณปละ 500 ลานบาท (รังสรรค,2541) ตลาดตางประเทศที่สําคัญไดแก ญ่ีปุน เกาหลี ไตหวัน สหรัฐอเมริกา แคนาดา เยอรมัน และออสเตรเลีย ปญหาการผลิตกระดาษที่ทําดวยมือของชาวบานแถบภาคเหนือในขณะนี้ก็คือ การขาดแคลนเครื่องมือในการเก็บเกี่ยวตนสา การขาดแคลนวัตถุดิบเปลือกสา เพราะชาวบานสวนใหญไมสนใจในการลอกเปลือกสาขาย เนื่องจากทําไดตอวันนอย และมีความยากลําบากในการลอกเปลือกสาอีกดวย การผลิตแผนกระดาษที่ทําดวยมือแบบชาวบานไมมีความสม่ําของเยื่อกระดาษ มีความหนาบางไมเทากัน แผนกระดาษสาที่ผลิตไดไมสะอาดมีเศษขี้ผงติดเนื่องจากใชวิธีการนําตะแกรงตากแดดบนลานดินเพื่อทําใหกระดาษสาแหง และถาหากวันไหนฝนตกก็ทําแผนกระดาษไมไดเนื่องจากไมมีท่ีสําหรับตากกระดาษสา ปญหาตาง ๆ เหลานี้สามารถแกไขไดถาหากมีเครื่องมือชวยในการผลิต ซึ่งจะทําใหการผลิตกระดาษสาที่ทําดวยมือ มีวัตถุดิบคือเปลือกสามีใชเพียงพอ ไดกระดาษสาที่ทําดวยมือท่ีมีคุณภาพดี ผลิตไดรวดเร็ว ใชพื้นที่ในการผลิตนอย ผลิตไดตลอดเวลาแมในวันที่ฝนตก และชวยลดตนทุนการผลิตกระดาษที่ทําดวยมือไปในตัวดวย ดังนั้นจึงจําเปน ตองมีการพัฒนาเครื่องมือในการผลิตกระดาษดวยมือของประเทศไทยโดยเริ่มตั้งแต เครื่องเก็บเกี่ยวตนสา เครื่องลอกเปลือกสา เครื่องตีเยื่อพรอมระบบการทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือกึ่งอัตโนมัติ และเครื่องทําแหงแผนกระดาษสา

วัตถุประสงคของโครงการเพื่อพัฒนาระบบ และเครื่องมือการผลิตกระดาษสาที่ทําดวยมือ ไดแก เครื่องลอกเปลือกสา เครื่องตีเยื่อพรอมระบบการทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือกึ่งอัตโนมัติ เครื่องทําแหงแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือ และเครื่องเก็บเกี่ยวตนสา

Page 11: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

2

บทที่ 2การตรวจเอกสาร

2.1 การเขตกรรม

1. สถานที่ปลูก สําหรับเนื้อท่ีท่ีปลูกไมสามารถกําหนดไดแนนอน เพราะขึ้นอยูกับความชื้นซึ่งเปนปจจัยในการปลูก การสงเสริมใหเกษตรกรปลูกนั้นดูจะเปนวิธีท่ีดีท่ีสุด อาจจะมีการให incentive พวกที่ปลูกปอสาแบบเดียวกับยางพารา ก็จะทําใหการขยายเนื้อท่ีปลูกปอสาเปนไปไดรวดเร็วข้ึน ปอสาเปนไมท่ีโตไดทุกสภาพที่มีความชื้นต่ํา ความอุดมสมบูรณของดินต่ําไปจนถึงท่ีมีความชื้นสูง และความอุดมสมบูรณของดินสูง ปอสาจึงสามารถปลูกไดในทุกภาคของประเทศไทย ผลจากการทดลองการทําเยื่อกระดาษจากไมและเปลือกปอสาของกองวิจัยผลิตผลปาไม กรมปาไมโดยการทําจากเนื้อไมและเปลือกปอสาที่อายุ 3-4 ป จากไมตนเดียว ปรากฏวาสามารถใหเนื้อไมและเปลือกแหงรวมกันไมต่ํากวา 18 กก. ซึ่งถาคิดพื้นที่ 1 ไร ปลูก 400 ตนจะไดเนื้อไมรวมกันไมต่ํากวา 7 ตัน ซึ่งจะผลิตเยื่อซับเฟตไดประมาณ 3 ตัน ถาคิดราคาเนื้อไมและเปลือกแหงรวมกันเฉลี่ยตันละ 600-700 บาท จะไดเงินประมาณ 4,200-5,000 บาท นับเปนรายไดท่ีไมเลวโดยไมตองดูแลรักษามากนัก (เนาวรัตน, 2523)

2. พันธุที่ใชปลูก พันธุท่ีเหมาะสม ไดแกพันธุพื้นเมือง คือปอสาไทยตนมวง เพราะสามารถเจริญเติบโตและทนตอสภาพแวดลอมไดดีและอีกชนิดคือปอสาญี่ปุน แตยังมีการปรับตัวกับสภาพแวดลอมไมดีนัก ควรปลูกในที่ท่ีมีความอุดมสมบูรณของดินและความชื้นสูง

3. วิธีปลูก ปอสาอาจจะปลูกไดท้ังจากเมล็ดและจากกิ่งชํา หรือจากไหลเหงาโดยปลูกริมฝงน้ํากอนแลวมันจะขยายตัวข้ึนไปสูฝงน้ําตอนบนเอง จากการปลูกเมล็ดนี้ทราบจากสถิติของเมล็ดปอสาวา 1 กก. จะมีเมล็ดปอสา 300,000-4,000,000 เมล็ด การเพาะเมล็ดแลวยายใสถุงแบบการเพาะยูคาลิปตัสก็ทําไดงายเหมือนยูคาลิปตัส แตการปลูกตองการความชื้นในดินมากพอสมควรสําหรับการปลูกดวยกลาจากเมล็ดแตไมถึงกับแฉะถาแฉะทําใหกลาเนาตายได การยายกลาปลูกควรยายเมื่อตนออนมีใบออนอยางนอย 3-4 ใบ ตัดใบทิ้งครึ่งหนึ่งเพื่อลดการคายน้ําและควรยายปลูกในชวงท่ีมีความชื้นสูงหรือฝนตกจะทําใหโตเร็ว ชวงเวลาที่ควรเตรียมกลาประมาณเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ และยายลงแปลงชวงเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม ซึ่งเปนเวลาที่มีฝนตกพอสมควรแลว การปลูกสามารถปลูกปนกับไมอยางอื่นแบบ multiple crops เพราะปอสาชอบที่ช้ืนและจะมีหนอตอเนื่องกันแนน เวนเสียแตปลูกปอสาบนฝงหวยท่ีช้ืนจึงจะปลูกพืชรวมไมได สวนขางบนที่แหงอาจจะปลูกพืชเศรษฐกิจ หรือไมยูคาลิปตัสหรือปลูกแบบไรนา-ปาผสมไดดี หากไมเครงครัดการปลูกปอสาแบบปาไมจนเกินไป ปอสายังเหมาะแกการนําไปปลูกปาอีกดวย

4. ระยะปลูก ปจจุบันยังไมทราบระยะแนนอน แตจากการทดลองระยะปลูก 1.75 x 1.2 x 1 และ 2 x 2 เมตร ปอสามีอัตราการเจริญเติบโตไมแตกตางกัน แตการเลือกระยะปลูกขึ้นอยูกับวัตถุประสงค ในการประสงคกรณีปลูกเอาผลผลิตท้ังตนควรใชระยะปลูกไมเกิน 2 x 1 เมตร ข้ึนอยูกับความอุดมสมบูรณของดิน เพื่อปองกันการแตกกิ่งซึ่งเปนปญหาในการขนสงเพื่อใหกิ่งท่ีแตกมีขนาดเล็กและคุณภาพเปลือกดี เมื่อไดระยะปลูกและเตรียมพันธุไวเรียบรอยแลวรอใหฝนตกแลวปลูกไดทันที ถาตายก็รีบซอม โดยธรรมชาติแลวหากปอสาขึ้น

Page 12: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

3

ตอกันเปนพืดเนื่องจากไหล หรือรากแตกตนออนขึ้นตอเนื่องและยิ่งตัดก็มีการแตกหนอมากขึ้น ถาปลูกเปนแบบไรนา-ปาผสม เชน ปลูกปอสาแกวสลับปอสา อาจจะปลูก 2 x 4 เมตรได ในกรณีพื้นที่ขนาดใหญควรปลูกดวยเมล็ดเพื่อลดจํานวนการตายลงในแปลงปลูก (ฟนิคซ, 2527)

5. การดูแลรักษา ขณะกลาเล็กควรรดน้ําใหดินมีความชุมช้ืนคอนขางสูง ตอไปแทบไมตองปฏิบัติดูแลรักษามากนัก เพราะทนตอสภาพแวดลอมไดดีมีระบบเรือนรากที่แผขยายหาอาหารไดไกลยังไมพบวามีแมลง และโรคมาทําความเสียหายใหกับปอสาแตอยางใด ซึ่งปกติปอสาเจริญไดดีในดินรวน ซุย และอินทรียวัตถุสูงหรือมีความชื้นสูง แตถาปลูกในที่ท่ีมีความอุดมสมบูรณต่ําควรมีการใหปุยคอกหรือปุยเคมีสูตร 15-15-15 ปละ 2-4 ครั้ง ครั้งละ 40-80 กรัม/ตน การกําจัดวัชพืช ควรทํา 2 ครั้ง คือ 30 และ 60 วันหลังปลูก เมื่อปลูกปอสาได 120 วัน จะเจริญเติบโตคลุมพื้นที่ทําใหปญหาวัชพืชหมดไป

6. ผลผลิต กรมวิชาการ (2524) ไดทําการทดลองปลูกปอสาไทยตนมวง เพื่อทดลองศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตท่ีสถานีทดลองพืชไรอูทอง เมื่อปอสาอายุได 1 ป ภายหลังยายจากเรือนเพาะชําไปปลูกในเรือนทดลองวัดการเจริญเติบโตไดดังนี้ (ฟนิคซ, 2527)

การเจริญเติบโตของตนปอสาอายุ 1 ป ระยะปลูก 3 x 3 เมตร หลังจากยายปลูกที่สถานีทดลองพืชไรอูทอง พ.ศ.2524 วัดการเจริญเติบโตไดดังนี้คือ ความสูง 267 ซม. เสนผาศูนยกลางทรงพุม 417 ซม. เสนผาศูนยกลางลําตน 5.6 ซม. เสนผาศูนยกลางกิ่ง 3.74 ซม. (ไชยยศ, 2526)

7. วิธีการเก็บเกี่ยว การเก็บเกี่ยวจะเก็บไดปละ 2 ครั้ง หลังจากปอสาอายุได 1 ป ครั้งแรกตนฤดูฝนประมาณเดือนพฤษภาคม และครั้งท่ี 2 ปลายฤดูฝน ประมาณเดือนกันยายน-ตุลาคม การเก็บเกี่ยวในฤดูฝนชวยใหลอกเปลือกออกจากกิ่งไดงายกวาในฤดูแลง เพราะฤดูแลงเปลือกจะติดกับแกนลอกยากและการเก็บเกี่ยวอาจทําใหตนปอสาตายได การเก็บเกี่ยวควรตัดตนปอสาสูงจากพื้นดินประมาณ 40-50 ซม. เพื่อใหปอสามีตอเหลือแตกกิ่งใหม ในฤดูตอไปซึ่งหลังจากตัดครั้งแรกปอสาจะแตกกิ่งประมาณ 5-30 กิ่ง แตควรตัดแตงใหเหลือ 5-10 กิ่ง ตอตนเพื่อใหไดเปลือกที่มีคุณภาพและมีอายุการใหผลผลิตไดนานหลายป การเก็บเกี่ยวปอสาแบงไดเปน 3 ลักษณะ ดังนี้

1. เก็บเกี่ยวท้ังตน จะตัดตนปอสาสูงจากพื้นดิน 10-30 ซม. จากนั้นตัดกิ่งและใบเล็กๆ ออกแลวตัดเปนทอนๆ ละไมเกิน 1.50 ม. จากนั้นสามารถสงไปจําหนายยัง บริษัทฟนิคซ-พัคพ-แอนด เพเพอร จํากัด ไดในกิโลกรัมละ 0.50 บาท หลังจากเก็บเกี่ยวแลวใหเหลือกิ่งใหมไว 2 กิ่ง ระยะใหเหลือเพียง 1 กิ่ง ถามีการดูแลรักษาดีจะเก็บเกี่ยวไดหลายป

2. การเก็บเกี่ยวปอสาเพื่อผลิตกระดาษสาในประเทศ โดยการตัดปอสาใหสูงจากพื้นดิน 10-30 ซม. ตัดใบและกิ่งเล็กๆ ออก แลวนํามาตัดเปนทอนๆ ละ 1-2 เมตร จากนั้นนํามาลอกเปลือกแลวนํามามัดรวมกันเปนมัดๆ ละ 1 กก. เพื่อจําหนายใหแกผูผลิตในราคากิโลกรัมละ 6-12 บาท ถามีความชํานาญจะลอกไดวันละ 8-12 กก./วัน/คน โดยทั่วไปลอกได 2-3 กก./วัน/คนเทานั้น หลังจากลอกเสร็จควรขูดผิวใหเสร็จภายใน 12 ช่ัวโมง ถาปลอยไวนานจะทําใหเปลือกเปนสีดํา และหลังจากลอกแลวอยาใหถูกกับแสงแดด จะทําใหเปนสีดําไดเชนกัน

3. การเก็บเกี่ยวปอสาเพื่อสงขายตางประเทศ (ญ่ีปุน) เปลือกปอสาที่ตางประเทศจะนําไปผลิตกระดาษนั้นเกษตรกรจะตัดลําตนอายุ 1-3 ป ขนาดเสนผานศูนยกลางของกิ่งหรือลําตน

Page 13: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

4

ประมาณ 1-2 นิ้ว ตัดสูงจากพื้นดินประมาณ 10-13 ซม. โดยตัดกิ่งขนาดเล็กและใบออกแลวตัดเปนทอนๆ ละ 1-1.80 ซม. จากนั้นลอกเปลือกและขูดผิวออก นํามาตากใหแหงจึงมัดรวมกันเพื่อเตรียมขายใหพอคาผูรวบรวมในทองถิ่นในราคา กก.ละ 12-16 บาท สวนราคา F.O.B. ท่ีกรุงเทพฯ กก.ละ 20-28 บาท ขอดีของปอสา เปลือกสุก คือลอกเปลือกไดงาย เปลือกที่ลอกไดจะมีสีขาวสะอาด และแหงเร็วเก็บรักษางายไมข้ึนรา และราคาสูงกวาปอสาเปลือกดิบ

8. วิธีการลอกเปลือกสา ทําได 2 วิธีคือ ถาเปนตนออนใชมีดกรีดแลวลอกเปลือกสดไดทันที จากนั้นใชมีดขูดผิวออกและถาเปนตนแกตองยางไฟออนๆ กอนหรือตมจนเปลือกหดตัว พอเปลือกแยกออกจากเนื้อไมจึงใชมีดลอกเปลือกออก จากนั้นใชมีดขูดผิวช้ันนอกออกไมควรท้ิงไวนาน ควรตากทันทีท่ีลอกและขูดเปลือกออก ควรตากใหแหงสนิทเพราะเปลือกปอสาจะเปนราสีดําไดงายทําใหคุณภาพของเปลือกเสีย ในรูปของเยื่อจะลอกไดวันละ 8-12 กก. ตอวันตอคน โดยทั่วไปจะลอกได 2-3 กก.ตอวันตอคนเทานั้น หลังจากลอกเสร็จควรขูดผิวภายใน 12 ชม. ถาปลอยไวนานจะทําใหเปลือกเปนสีดําและหลังจากลอกแลวอยาใหถูกแสงจะทําใหเปนสีดําไดเชนกัน

การลอกเปลือกปอสาควรทําในฤดูฝน เปลือกลอกไดงาย กอนนําไปตากแดดควรขูดผิวเปลือกออกใหสะอาดกอน ถาเก็บในฤดูแลง เปลือกติดแกนลอกยาก ใหนึ่งประมาณ 10-20 นาที จะทําใหเปลือกลอกงายข้ึนแตเสนใยที่ไดจะมีคุณภาพต่ําลง (ไชยยศ และอัจฉรา, 2526)

2.2 ขอควรคํานึงเพื่อใหไดเปลือกปอสาที่จะจําหนายมีคุณภาพดีและไดและราคาสูง1. อายุของปอสา ปอสาที่มีเปลือกที่ดีหรือถูกตองตามมาตรฐาน อายุการเก็บเกี่ยวเปนปจจัยสําคัญ

ปจจัยหนึ่งท่ีกําหนด เปลือกปอที่ดีนั้นควรเปนปอมีอายุประมาณ 6-12 เดือน โดยเริ่มนับอายุจากหลังปลูกหรือจากการตัดเอาเปลือกครั้งท่ีผานมาไมควรเกิน 1 ป มาก

2. การลอกเปลือก เปลือกปอสา แยกเปนช้ันใหญๆ ได 2 ช้ัน คือ เปลือกนอกและเปลือกในสวนที่ใชประโยชนมากคือ เปลือกในซึ่งมีวิธีการดังนี้

2.1 ลอกเปลือกสด∗ หลังจากตัดตนมาแลว ตัดกิ่งท่ีตองการมาลอกเปลือกโดยใชมีดกรีดเปนแนวดิ่ง 1 ทอน

อาจกรีด 1-4 แนวแลวใชมือดึงออก∗ ลอกผิวช้ันนอก โดยใชมีดกรีดบนผิวช้ันนอก เปนแนวเปดปอ แลวใชมือแกะแนวเปด

ปอนั้น ดึงเปลือกชั้นนอกออกไป การลอกดวยวิธีนี้ไดเปลือกที่มีคุณภาพดีท่ีสุด2.2 การลอกเปลือกสุก

∗ กอนลอกนํากิ่งหรือตนที่ตัดมานึ่งในน้ําเดือน ประมาณ 15 นาทีคอยลอกจากนั้นทําการลอกเปลือก เหมือนวิธีลอกสดจะลอกไดงาย วิธีการนี้ไดเปลือกที่ ขาวสะอาด แตตนทุนการลอกที่สูงกวาวิธีการลอกเปลือกสดใชวิธีลอกวิธีนี้ในฤดูกาลที่ลอกสดยากเชน ฤดูแลง หรือสายพันธุท่ีลอกยาก

2.3 การลอกโดยวิธีเผาหรือยาง

Page 14: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

5

∗ เปนวิธีนําทอนปอสาไปยางกอน จากนั้นใชมีดขูดเปลือกนอกออก แลวลอกเปลือกในออกจากแกน วิธีการนี้ไดเสนใยคุณภาพต่ํา ราคาต่ํา

2.4 การลอกโดยวิธีทุบเปลือก∗ หลังจากตัดตนและกิ่งมาแลวใชมีดขูดเปลือกนอกออก จากนั้นใชคอนไมทุบเปลือกใน

ลอกออกมา3. ความยาวของเปลือกปอ เปลือกปอที่ยาวเปนเปลือกปอที่ถือวามีคุณภาพดี4. สีของเปลือกใน (inner bark)

4.1 เปลือกในดานหนาเปลือกที่ดีไมมีเปลือกดําติดอยู ไมมีแผลและตา เมื่อตากแหงหรืออบแลวจะมีสีขาวจัดเปนเกรด SA, A ถาหากเปนสีเขียวหรือน้ําตาลแมไมมีแผลก็จัดเปนเกรด B และ C หากทีเสนแดงมากจัดเปนเกรด D

4.2 เปลือกในดานหลัง เมื่อตากแหงจะมีสีขาว ซึ่งจัดเปนเปลือกปอที่ดี การทําใหสีขาวนั้น ตอนลอกจะเห็นวามียางดานหลังใหใชมีดปาดออก จัดการกับตาดานหนาดวยการใชกรรไกรตัดออก

5. เปลือกดํา เสนและแผลเปลือกในปอที่มีเปลือกดํา ควรกําจัดโดยใชมีดขูดสีดําออก หรือแตงแผลดวยกรรไกร ขณะที่ลอกสดหากนําไปตากแหงแลวจะทําลําบาก

6. คราบ ฝุน และเชื้อรา ไมควรติดอยูกับเปลือกปอสา7. การตากหรืออบแหง ควรตากหรืออบแหงใหดี ปองกันเชื้อรา8. หากเปลือกปอที่มีคุณภาพดีตามกําหนดขอ 1-7 สามารถกําหนดเกรดของเปลือกปอได คือ

เกรด SA ถามี A ผสมมากกวา 20% จัดเปนเกรด Aเกรด A ถามี B ผสมมากกวา 20% จัดเปนเกรด B

9. น้ําหนักของเปลือกปอที่เปนมัดใหญ (บัลเดิล) ในกรณีท่ีบริษัทรับซื้อเพื่อสงขายตางประเทศ เชน ญ่ีปุน ควรจะมัด ๆ ละ 50 กก. ควรเพิ่มไปครึ่ง กก. เปน 50.5 กก. เพราะอากาศในญี่ปุนแหงกวาไทย

10. การมัดเปลือกปอเพ่ือสงขายตางประเทศ ควรมัดดวยแผนเหล็กที่มีคุณภาพและไมแนนเกินไป11. ตูสงสินคา (ตูคอนเทนเนอร) กอนนําสินคา คือ เปลือกปอสงไปจําหนายตางประเทศควรทําความ

สะอาดตูสงสินคา ระวังเปยกจากน้ําหรือน้ํามัน ทําใหเปลือกปอเนื้อเปอนและเกิดเชื้อราได

2.3 การผลิตกระดาษสาดวยมือ1. ชนิดของวัตถุดิบ วัตถุดิบที่ใชทํากระดาษสา ซึ่งนํามาจากตนปอสาหรือปอกะสา ซึ่งสามารถทํากระดาษ

สาไดมี 4 ช้ินสวน คือ1.1 เปลือกใน (inner bark หรือ white bark + green bark )

เปลือกใน คือ เปลือกที่อยูช้ันในสุดซึ่งติดกับเนื้อไม มีสีขาวหรือครีมอมขาวบนผิวของเปลือกในสีขาวนี้จะมีช้ันของเปลือกในสีเขียวอยูถัดมา เปลือกในสีเขียวกับสีขาวแยกออกจากกันไดเมื่อลอกมักติดไปกับเปลือกนอก เปลือกในนี้เปนเสนใยประเภทเยื่อใยยาว เปนที่นิยมของการทํากระดาษสาแบบทําดวยมือมาก

1.2 เปลือกนอก (outer bark หรือ black bark )

Page 15: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

6

เปลือกนอก คือ เปลือกที่อยูช้ันนอกสุด ในการลอกเปลือกนอกกับเปลือกในออกจากกันจากกระบวนการลอกเปลือกนอกหนาจะมีสวนของเปลือกชนิดเปลือกเขียว ( green bark ) ติดมาดวย เปลือกนอกนี้สามารถทํากระดาษสาประเภททําดวยมือไดเชนกัน แตจะมีความเหนียวหรือทนทานสูเปลือกในไมไดนอกจากจะทํากระดาษไดแลวมีการนําไปตากแหงและนํามาปนใหเปนผงเล็ก ๆ นําไปทําเปนลายกระดาษสา ซึ่งเรียกลายกระดาษสาที่ใชเปลือกนอกทําเปนลายวา ลายไขนกกระทา

1.3 เปลือกนอก + เปลือกใน ( outer bark + inner bark ) เปลือกนอก + เปลือกใน คือ เปลือกที่ลอกจากตนปอสาเพียงครั้งเดียวแลวไมแยกเอาเปลือกนอกและเปลือกในออกจากกัน เปนเปลือกซึ่งประกอบดวยเปลือก 3 อยาง คือ เปลือกในสีขาว (white bark), เปลือกในสีเขียว (green bark) และเปลือกนอก (black bark) เปลือกประเภทนี้สามารถทํากระดาษสาไดดี มีความเหนียวทนทานเชนกัน แตทนทานนอยกวากระดาษสาที่ใชเฉพาะเปลือกในไมได แตก็ทนทานกวากระดาษที่ใชเปลือกนอกอยางเดียว การใชเปลือกลักษณะนี้ทํากระดาษสาประเภททําดวยมือ แมจะไมไดกระดาษสาที่มีคุณภาพเยี่ยมทนทานสูง แตก็จัดเปนกระดาษที่มีคุณภาพดี ผิวของกระดาษจะมีความเรียบละเอียดกวาใชเปลือกในอยางเดียว นอกจากนี้สามารถลดปญหาหรือตนทุนการลอกปอสาได และนําสวนของเปลือกนอกที่มักทิ้งกันซึ่งมีผลผลิตประมาณ 50 เปอรเซ็นตของน้ําหนักเปลือกทั้งหมดมาใชประโยชน 1.4 แกน ( Hart wood , Duramen หรือ Pith ) แกน คือ สวนที่เปนเนื้อไม เปนเสนใยประเภทเยื่อใยสั้น ซึ่งยังไมมีกรรมวิธีนํามาทํากระดาษแบบทําดวยมือได แตมีรายงานสามารถนํามาทํากระดาษได คุณภาพของเนื้อไมหรือกระดาษไดเชนเดียวกับยูคาลิปตัสซึ่งการทํากระดาษจากแกนตองใชวิธีการผลิตแบบโรงงานอุตสาหกรรม

วัตถุดิบที่นํามาทํากระดาษสาที่กลาวมาขางตน การจะใชวัตถุดิบประเภทใดนั้นขึ้นอยูกับวัตถุปะสงคท่ีจะนํามาใชประโยชน ถาจะใชในวงการของงานศิลปะ การใชเปลือกนอกอยางเดียวหรือในรูปเปลือกใน + เปลือกนอก สามารถใชไดดี แตในดานความตองการความทนทานของกระดาษสูง ตองใชสวนของเปลือกใน (inner bark) ในอัตราสวนที่มากขึ้น

2. การเตรียมวัตถุดิบ วัตถุดิบที่ใชทํากระดาษสาในสภาพปจจุบันโดยสวนใหญจะไดเปลือกปอสาจากสภาพปาท้ังในปะเทศ

ไทยเอง และตางประเทศ คือ พมา และลาว จากที่ไดเปลือกปอจากสภาพปานั้นจะมีปอที่มีคุณภาพแตกตางกัน เชน พันธุ อายุ ความหนา ความยาว ความเปนโรค และสีสรรของเปลือก การทํากระดาษใหมีคุณภาพจึงมีข้ันตอนเตรียมวัตถุดิบที่สําคัญ คือ

2.1 การคัดเลือกวัตถุดิบ2.1.1 แยกประเภทเปลือกตามเกรด ปอที่มีการซื้อขายในปจจุบันมีหลายเกรด เชน เกรดซุปเปอรเอ

เกรดเอ เกรดบี เกรดซี และเกรดดี จึงตองแยกปอออกเปนชุด ๆ ตามเกรด การแยกเปลือกตามประเภทนี้ไดปอที่มีคุณภาพ เมื่อผานขบวนการตมและฟอกสี จะทําการตมสม่ําเสมอ เปลือกปอจะเปอยพรอม ๆ กัน เมื่อนําไปตีเยื่อจะไดเยื่อท่ีละเอียดสม่ําเสมอ การสูญเสียของปอที่เปอยเกินไปจะลดนอยมาก การฟอกสีก็เชนกันจะไดเยื่อท่ีขาวสะอาดเหมือน ๆ กัน การคัดเลือกเปนประเภทจะทําใหการใชสารเคมีเขมขน และระยะเวลาที่ตมไดถูกตอง

Page 16: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

7

2.1.2 แยกประเภทตามอายุ หรือความหนา ปอที่มีอายุใกลเคียงกันจะมีความหนาของเปลือกเทา ๆ กันเชนกัน ซึ่งอันที่จริงแลวอายุหรือความหนานั้นจะรวมอยูในเรื่องการจําแนกเกรดแลว แตในกรณีท่ีบุคคลไมเขาใจเรื่องของเกรดปอ อาจพิจารณาจากความหนาก็ไดเชน เปลือกปอที่มีขนาดความหนาเทา ๆ กัน เมื่อนํามาตมทําใหไดปอที่เปอยเหมือน ๆ กัน

2.1.3 แยกการมีตาและความเปนโรคบนผิวเปลือก แยกปอที่มีตานอยหรือไมมีไวประเภทหนึ่ง และมีตา มีโรค ไวประเภทหนึ่ง หรือปอท่ีเปนโรคมาก โดยเฉพาะเกิดจากเชื้อราในโรงเก็บตองคัดเลือกออก เพราะจะทําใหไดกระดาษที่ไมสะอาด ไมมีคุณภาพ

การคัดเลือกวัตถุดิบในปจจุบัน ปอเกรดซุปเปอรเอ หรือเกรดเอ มีความตองการสูง โดยเฉพาะในโรงงานอุตสาหกรรมทั้งในและตางประเทศ เกรดบี มีความตองการรองลงไป สวนเกรดซีหรือเกรดดี จะใชในประเทศในรูปกระดาษสาทําดวยมือเสียเปนสวนใหญ

2.2 การตัดแตงหลังจากคัดเลือกวัตถุดิบไวเปนประเภทแลว ในกรณีของเกรดซุปเปอรเอ หรือเกรดเอ จะแทบไมมีตา

เลย เกรดเออาจมีตาปนมาบาง หรือเกรดอื่น ๆ มีตามากจึงตองตัดแตง การตัดแตงใหใชกรรไกรเหล็กและมีดคม ๆ ชวยในการตัดแตงใหตัดแตงสิ่งตอไปนี้ออก คือ

- หัวปอ คือ สวนที่อยูบริเวณบนสุดของเปลือกปอ ซึ่งเปนสวนที่เรียกวาเปดหัวปอ ในกระบวนการลอกเปลือกปอออก ซึ่งสวนนี้จะเปนสวนที่แข็ง จะทําใหการตมเปอยชากวาปกติ จึงตองตัดออก

- ตา ปอที่มีกิ่งหรือตาที่โตมาก เมื่อผานขบวนการลอกจะปรากฏรอยโหวบนเปลือกปอเปนวงกลมหรือกึ่งกลม บริเวณรอบวงจะแข็ง ซึ่งสวนรอบวงนี้มีคํากลาววามีไขมันมาก ซึ่งทําใหเปลืองสารเคมีในการชะออก ซึ่งจะเปนผลใหไดกระดาษอีกแนวทางหนึ่ง แตลักษณะการมีไขมันดังกลาวนี้ยังเปนขอมูลตองศึกษาตอไป

- แผลโรค แผลโรคที่ปรากฏบนเปลือกปอมักจะพบสีดํา หรือดําอมน้ําตาล ซึ่งจะปรากฏบนเปลือกปอที่ติดมาจากแปลงแลว เมื่อผานขบวนการตมฟอกสี หากไมตัดท้ิงจะปรากฏเปนสีดํา ไดกระดาษที่ไมมี จะเปอยงาย ณ.จุดแผลโรคนั้น

- เปลือกนอก ในกรณีท่ีทํากระดาษจากเปลือกในลวนไมตองการใหเปลือกนอกปน ก็ควรตัดเปลือกนอกทิ้งดวย เพราะหากปนไปหลังฟอกสีแลว สวนที่มีเปลือกนอกปนจะปรากฏสีเหลืองอมน้ําตาล จะทําใหไดกระดาษที่ไมขาวบริสุทธิ์

หลังจากตัดแตงปอแลว เก็บปอไวเพื่อรอข้ันตอนการทํากระดาษ เมื่อผานขบวนการตัดแตงแลวควรจะตัดปอเปนทอนสั้น ๆ ประมาณ 1 ฟุต หรือสั้นกวา เพราะเมื่อผานขบวนการตมจะทําใหเปลือกปอหรือเสนใยผานขบวนการตมท่ีสม่ําเสมอกัน

2.3 การแชน้ํา เปนขบวนการขั้นตอนแรกที่เริ่มปฏิบัติจะทํากระดาษ คือ หลังจากแชน้ําแลว จะตองดําเนินการตามขั้นตอนที่กําหนดเพื่อทํากระดาษ การแชน้ําเปนขบวนการที่สําคัญ เพราะจะชวยใหเปลือกปอที่จะทํากระดาษมีลักษณณะพองตัวเมื่อทําการตมจะทําใหใชเวลาลดนอยลง การตมเปอยไดงายข้ึน การแชน้ําใชวัสดุแชตามวัตถุดิบที่ตองการ อาจใชถังพลาสติก กาละมัง โองน้ํา ในกรณีท่ีปฏิบัติเปนงานถาวรจะมีการทําอางคอนกรีตสําหรับแช โดยเฉพาะขนาดของอางแชน้ําข้ึนอยูกับวัตถุดิบที่จะแช โดยทั่วไปการแชเปลือกปอนั้นใช

Page 17: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

8

วัสดุแชเมื่อทําการใสน้ํา และกดเปลือกปอสําหรับแชแลวใหน้ําอยูเหนือเปลือกปอประมาณ 5-6 นิ้ว การแชควรใชวัตถุหนัก ๆ กดทับเปลือกปอไมใหลอยข้ึนเหนือน้ําระยะเวลาในการแชข้ึนอยูกับโอกาส ควรจะแชไวประมาณ 3-15 ช่ัวโมงหรือ 1 คืน ในการแชนั้นสิ่งท่ีจะตองคํานึง คือ น้ําท่ีนํามาแชควรเปนน้ําท่ีสะอาด ไมควรจะมีสารเคมีหรือวัตถุอื่นเจือปน โดยเฉพาะพวกธาตุเหล็ก หากมีปนในน้ําจะทําใหไดกระดาษที่คุณภาพไมดี มีลักษณะสีเปนสีน้ําตาล

2.4 การตม นําเปลือกปอสาที่ผานการแชมาแลวมาผานขบวนการตมสําหรับการตมนี้โดยทั่วไปในประเทศไทยจะใชโซดาไฟ ( NaOH, โซเดียมไฮดรอกไซด ) ชวยใหปอเปอยได โดยใชความเขมขน 10 เปอรเซ็นต ของน้ําหนักปอแหง เชน เปลือกในปอสาหนัก 1 กิโลกรัม ใชโซดาไฟ 100 กรัม ตมในน้ํา 15 ลิตร ตมนาน 3-5 ช่ัวโมง ระยะเวลาและความเขมขนของสารขึ้นอยูกับเกรดปอ หรืออายุของปอ หากปอเกรดซุปเปอรเอ การใชโซดาไฟลดต่ําลงไดอาจเหลือเพียง 8 เปอรเซ็นต แตหากเปนปอแกเกรดบี หรือเกรดซี อาจตองใชความเขมขนของโซดาไฟเพิ่มข้ึนเปน 12-15 เปอรเซ็นตของน้ําหนักปอ แตระยะเวลาในการตมข้ึนอยูกับความออนแกของปอเชนกัน การทดสอบวาปอตมไดพอเหมาะหรือยังโดยการดึงปอท่ีตม ถาขาดออกจากกันแสดงวาตมพอเพียงแลว หรืออีกวิธีโดยการใชแยกปอออกตามดานกวาง ถาสามารถแยกออกเปนตาขายวาตมพอเหมาะแลวนําไปลางใหสะอาดได

การตมเปลือกปอหรือเสนใยนั้น หากใชสารเคมีนอยจะทําใหการตมไมมีประสิทธิภาพ จะใชเวลาในการตมนาน เมื่อนําไปตีแยกเยื่อจะแยกไดยาก ทํากระดาษไดไมดี และมีเศษของสารตาง ๆ ในโครงสรางของเสนใยที่ไมตองการถูกชะออกมาไมหมด หากใชสารเคมีในการตมมากเกินไปทําใหเสนใยถูกทําลายมากทําใหไดเยื่อท่ีจะทํากระดาษลดต่ําลง จึงตองใชอัตราของสารเคมีใหถูกตอง

การตมท่ีใชพวกสารละลายดาง (alkali solution ) จะชวยชะเอาสวนของลิกนิน ( lignin ) เพคติน ( pectin ) ไข (waces) และยางตาง ๆ (gumes) ออกไปไดมากท่ีสุด โดยจะเหลือพวกเยื่อใยสําหรับทํากระดาษ (cellulose fiber และ hemicellulose fiber) โดยทั่วไปแลวสิ่งท่ีไมตองการซึ่งถูกชะออก (non fibrous) ดังกลาวแลวจะมีประมาณ 50 เปอรเซ็นต ของน้ําหนักเปลือกแหง หากไมชะพวก nonfibrous ออกไปจะทําใหเมื่อผานขบวนการตีทําเยื่อจะทําใหเยื่อใมสามารถแยกออกจากกันเปนอิสระได การทําเยื่อกระดาษใหเปนแผนก็ไมสามารถเกิดข้ึนได

2.4.1 ชนิดสารเคมีหรือสารธรรมชาติซึ่งใชในการตมเปอยสารธรรมชาติ- ข้ีเถาหรือน้ําดางจากขี้เถา มีการใชในประเทศไทยตั้งแตโบราณ โดยใชข้ีเถาจากไมมะขาม

ซึ่งถือวาเปนดางที่มีคุณภาพดี มีคาความเปนดางสูง หลังจากแชเปลือกปอสาไว 1 คืน นํามาตมโดยเติมน้ําใหทวมปอ 1 กิโลกรัม ใชน้ําประมาณ 15 ลิตร แลวเติมข้ีเถา ใชอัตราสวนตามความชํานาญ ความเขมขนที่ใชข้ีเถา 1 กิโลกรัม ละลายในน้ํา 3-5 ลิตร ตมปอนาน 12 ช่ัวโมง หรือจนกระทั่งเปอย กระดาษที่ได สีของกระดาษมักมีสีขาวหมน

กระดาษที่ไดจากการใชสารธรรมชาติเหลานี้จะไดกระดาษที่มีคุณภาพที่ดีกวากระดาษที่ผานขบวนการตมดวยสารเคมีท่ีใชอยูท่ัวไป กระดาษที่ไดจะมีความสวยงามและทนทานถาวร แตตองใชเวลาในการตมนาน

Page 18: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

9

ไมคุมคาตอเวลาในแงของเศรษฐกิจหรืออุตสาหกรรม แตในแงของการรักษาสภาพแวดลอมการใชสารธรรมชาติเหลานี้เปนแนวทางหนึ่งในการลดปญหามลภาวะที่เกิดในสภาพแวดลอม

สารเคมี- โซดาไฟ (Caustic soda, Sodium hydroxide, NaOH) ในญี่ปุน โดยทั่วไปใช 15

เปอรเซ็นตของน้ําหนักเปลือกในปอแหง และใชน้ําประมาณ 15 ลิตรตอน้ําหนักเปลือกปอแหง (dry fiber) จํานวน 1 กิโลกรัม ในประเทศไทยใชโซดาไฟ 10 เปอรเซ็นตของน้ําหนักเปลือกปอแหง

- โซดาแอซ (soda ash, sodium carbonate, Na2 Co3) ใชอัตราเชนเดียวกับโซดาไฟ- ปูนขาว (Slake lime, CaCOH2) การใชปูนขาวแทนพวกขี้เถาจะดีกวาการใชโซดาแอซ ทํา

ใหไดกระดาษที่ออนนุมและสีกระดาษสดใสกวา แตไมเหมาะตอการใช เพราะใชเวลาในการตมท่ีนานกวา อัตราที่ใชนั้นใชปูนขาว 25-35 เปอรเซ็นตของน้ําหนักแหง ในวงการทํากระดาษสาปจจุบันจึงนิยมใชโซดาไฟและโซดาแอซ เพราะมีความรวดเร็วและราคาต่ํากวา

ปจจัยท่ีเกี่ยวของในการตมท่ีสําคัญ เชน- เครื่องมือท่ีใชในการตม ควรจะเลือกวัสดุท่ีตมมีขนาดเหมาะสมกับจํานวนที่ใช สะอาด

ทนทาน ไมทําปฏิกิริยากับสารเคมีท่ีใช เปนตน- วัตถุดิบ ในที่นี้คือเปลือกปอ ควรมีความสม่ําเสมอ และเปนปอที่มีคุณภาพดี จะทําให

ไดกระดาษที่ดี สูญเสียนอย- สารเคมี สารเคมีท่ีใชควรเหมาะสมนอกจากไดกระดาษที่มีคุณภาพที่ดีแลว ไมควร

ทําลายสภาพแวดลอมดวย ใชชนิดสารเคมีท่ีเหมาะสม อัตราที่ถูกตองใหสัมพันธกับวัตถุดิบท่ีใช- เชื้อเพลิงและระยะเวลาการตม การตมใหไดกระดาษที่มีคุณภาพที่ดี การใชไมฟนตมทํา

ใหไดกระดาษที่สวยงามกวาการใชเช้ือเพลิงอยางอื่น การตมปอสาที่ดีไมควรใชไฟที่อุณหภูมิสูงเกินไป การใชไมฟนไดความรอนที่ไมสูงนัก การลดของอุณหภูมิจะตอเนื่องกวาการใชแกสหรือน้ํามัน เวลาของการตมเชนกันไมฟกซตายตัว ข้ึนอยูกับคุณภาพของปอ เมื่อถึงระยะที่เหมาะสมตรวจสอบไดจากวิธีการทดสอบโดยการดึงดังกลาวมาแลว โดยทั่วไปใชเวลา 3-5 ช่ัวโมง

2.5 การทําความสะอาดเปลือกปอหลังตม การทําความสะอาดเปลือกซึ่งผานขบวนการตมโดยใชน้ําเย็นเปนสิ่งทําความสะอาด ตักเปลือกปอที่ผานการตมจากหมอตมเก็บไวในภาชนะปลอยท้ิงไวใหคายความรอนจนกระทั่งหายรอน แลวจึงนําไปลางน้ําโดยเปลี่ยนน้ําลางประมาณ 3 ครั้ง ก็จะสะอาด ตองลางใหมจนกระทั่งหมดกลิ่นสารเคมี หากมีเครื่องมือวัดความเปนกรดดาง (pH meter) ใหวัด pH ของน้ํา ลางเปลือกครั้งหลังสุดหากมีคาความเปนกรดดางเทากับน้ําท่ีใชลาง หรือคาใกลเคียงแสดงวาสะอาดดีแลว

2.6 การฟอกเยื่อหรือเปลือกปอ จุดประสงคในการฟอกเพื่อใหไดกระดาษที่มีความขาว หรือใชในการยอมสีไดสีท่ีสวยงาม สําหรับขั้นตอนในการฟอกนี้จะกระทําหลังจากผานขบวนการตมและทําความสะอาดเปลือกปอแลว หรืออาจะทําหลังจากตีเยื่อปอสาแลวก็ได แตการฟอกหลังจากตมนั้นจะไดเยื่อท่ีมีความสะอาดกวา เพราะสามารถเก็บหรือกําจัดสวนสกปรก เชน จากแผลโรคบนเปลือก หรือสวนที่ฟอกออกมาไมหมดไดงาย หากฟอกหลังการตีเยื่อแลว การเก็บสวนที่สกปรกจะยากกวา และโอกาสของเยื่อท่ีจะมีความสะอาดมีสาร

Page 19: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

10

เคมีติดคางอยูมากกวา เพราะการลางทําไมสะดวก โอกาสในการสูญหายของเยื่อจะมีมาก เพราะฉะนั้นการฟอกเยื่อท่ีดีควรทําการฟอกหลังจากผานขบวนการตม และทําความสะอาดแลวเปนวิธีท่ีดีกวา

วิธีการฟอกเยื่อนั้น หลังจากผานการตมเปลือกปอและทําความสะอาดแลว นําเปลือกที่ไดไปแชในสารเคมีสําหรับฟอกสีหรือผงคลอรีน (Calcium hypochloride, 60% CaOCl2) อัตราสวนของผงคลอรีนตอเปลือกปอสาแหง = 1 ตอ 10 โดยน้ําหนัก หรือใชสารเคมีคลอรีน 10 เปอรเซ็นตของน้ําหนักเปลือกปอ การปฏิบัตินั้นชั่งสารเคมีตามกําหนด ละลายกับน้ําพอประมาณในภาชนะที่จะทําการฟอก ใชไมคนใหละลายจากนั้นนําเปลือกปอมาแชลงในสารละลายดังกลาว จากนั้นเติมน้ําใหพอทวมเปลือกปอ และทําการคนหรือคลุกเคลาใหเปลือกปอมีโอกาสสัมผัสกับสารเคมี การละลายสารเคมีในครั้งแรกอาจมีการทดลองกอน โดยลองแชปอในน้ํากอนพอทวมก็จะรูปริมาณน้ําท่ีจะใชการแชดังกลาวเปนวิธีการท่ีทํากันทั่วไปในประเทศไทย ในดานเชิงวิชาการใชในอัตราที่กําหนด โดยใชผงฟอกสี 100 กรัม ตอน้ํา 5 ลิตรตอเปลือกปอ 1 กิโลกรัม ของเปลือกปอแหง จะแชในน้ําประมาณ 5 ลิตร สําหรับระยะเวลาในการแชนั้นตั้งแต 6-12 ช่ัวโมง

นอกจากการใชคลอรีนในการฟอกแลว ยังมีสารเคมีอื่นที่ใชได และมีปญหานอยกับสภาพแวดลอม ไมเหมือนกับสารเคมีคลอรีนซึ่งมีปญหากับสภาพแวดลอม สารนั้นคือ เปอรออกไซด เปอรออกไซดท่ีมีการใชกันในการฟอกสีมี 2 ชนิด คือ H2O2 และ Na2O2 แตท่ีเริ่มนํามาใชในการฟอกเยื่อปอสาในประเทศไทย คือ การใชไฮโดรเจนเปอรออกไซด ลักษณะที่ดีของการใชไฮโดรเจนเปอรออกไซดนั้นจะไดสีของกระดาษที่ขาวกวาการใชคลอรีน และไมเปนปญหากับสภาพแวดลอม แตมีราคาแพงกวาคลอรีน

2.7 การทําความสะอาดเปลือกปอหรือเยื่อหลังการฟอก ทําการลางเปลือกปอที่ผานการฟอกดวยน้ําท่ีสะอาด ไมต่ํากวา 3 ครั้ง ตรวจสอบความสะอาดเชนเดียวกันกับทําความสะอาดเปลือกปอหลังตม

การเก็บหรือตัดแตงสิ่งสกปรกหลังฟอก เปลือกปอที่ผานขบวนการฟอกและทําความสะอาดมาแลว จะสามารถตรวจสอบความสะอาดไดงาย สวนที่สกปรก เชน เกิดจากบาดแผลสีดํา หรือสวนที่ฟอกสีไมหมดเปนสีน้ําตาล ในขั้นตอนนี้ทําการเลือกโดยการดึงสิ่งท่ีสกปรกหรือไมตองการออก

2.8 การแยกเยื่อข้ันตน ข้ันตอนนี้เปนขั้นตอนซึ่งอาจทําพรอมไปกับขั้นตอนการเก็บหรือตัดแตงสิ่งสกปรกหลังฟอก ขณะที่ทําการแยกสิ่งสกปรกออกก็ดําเนินการแยกเยื่อท่ีสะอาด ใหแยกตามแนวยาวเปลือกปอ 1 เสน อาจแยกออก 2-3 เสน การแยกเยื่อข้ันตอนนี้ไมจําเปนตองทําละเอียดมากนัก เพราะเมื่อผานขบวนการตีเยื่อดวยเครื่อง เครื่องจะทําการตีไดโดยงาย เวนแตในกรณีเปลือกปอเสนใหญ ๆ ตองชวยแยกบาง เพื่อใหการทํางานของเครื่องตีเยื่อไดงายข้ึน

2.10 การยอมสี โดยปกติลักษณะของกระดาษที่ไดจากเปลือกในปอสาหากไมฟอกดวยผงคลอรีนจะใหสีน้ําตาลออน ถาฟอกดวยคลอรีนจะไดกระดาษสีขาว ในกรณีตองการใหเปนสีตาง ๆ ตองผานขบวนการยอม การยอมสีจะทําการยอมหลักจากฟอกสีมาแลว หรือหลังการตีเยื่อก็ได แตวิธีท่ีดีเพื่อความสะดวกตอการปฏิบัติในการลางสีและการสูญเสียของเยื่อปอสา ควรยอมเปลือกที่ผานการฟอกและกอนตี

ชนิดของสีท่ีนํามาใชยอมนั้นเปนสียอมผาหรือสีสําหรับยอมกระดาษก็ได ข้ันตอนการยอมสีสวนมากจะมีรายละเอียด วิธีการใชตามแตละบริษัทกําหนด ความเขมของสีกระดาษขึ้นอยูกับความตองการ โดยทั่วไปจะยอมโดยใชสีอัตรา 0.1-5 เปอรเซ็นตของน้ําหนักปอสาแหง

Page 20: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

11

3. การเตรียมเยื่อหรือการตีเยื่อ การเตรียมเยื่อมีวิธีเตรียม 2 อยาง คือ3.1 การทุบโดยใชแรงคน เปนวิธีการซึ่งปฏิบัติกันมาตั้งแตโบราณ วิธีการนี้ในปจจุบันมีการปฏิบัติ

กันนอยมาก เนื่องจากมีการนําเครื่องจักรเขามาแทนที่เปนวิธีท่ีชามาก จากการทุบปอจํานวน 2 กิโลกรัม ตองใชเวลาถึง 5 ช่ัวโมง

การทุบวิธีนี้ ปฏิบัติโดยนําเปลือกปอที่ผานการตมและลางสะอาดแลวนํามาทุบบนแทนไม โดยทั่วไปจะใชทอนไมซุงขนาดเสนผานศูนยกลางประมาณ 10 เซนติเมตร จากการทุบเปลือกแตละครั้งโดยประมาณ อาจทุบครั้งละ 100 กรัมหรือ 1 ขีด ทุบไปเรื่อย ๆ โดยไมใชแรงมากนัก จนกระทั่งละเอียด การทดสอบวาละเอียดหรือไม โดยการนําไปละลายในน้ําดู ถาหากเยื่อกระจายเปนเสนเล็ก ๆ เหมือนปุยสําลี ไมมีเสนใหญใหเห็น และเยื่อไมเกาะกัน แสดงวาใชได การเตรียมเยื่อโดยวิธีนี้จะไดเยื่อไมคอยสะอาด จึงมีการทุบกอนการฟอก ถาฟอกกอนจะทุบไดเยื่อไมสะอาดจึงควรทุบกอนฟอกดังกลาวแลว หลังจากไดเยื่อตามตองการก็นําไปเก็บไวเตรียมทําแผนตอไป 3.2 การตีดวยเคร่ืองตีเยื่อ

3.2.1 เครื่องตีเยื่อปอสา- หนาท่ี เปนเครื่องทุนแรงหรือเครื่องมือใชในการตีเยื่อเสนใยหรือเปลือกปอสาใหละเอียด

เพื่อใชเยื่อในการทํากระดาษสา- สวนประกอบของเครื่อง เครื่องท่ีมีการใชในอุตสาหกรรมระดับครอบครัวท่ัว ๆ ไป ในเขต

ภาคเหนือออกแบบและพัฒนาโดยกองอุตสาหกรรมในครอบครัว กรมสงเสริมอุตสาหกรรม รวมกับสถาบันวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทยและมีเอกชนไดนําไปเปนตนแบบผลิตจําหนายอยูในปจจุบัน สวนประกอบของตัวเครื่องทําดวยเหล็กหนา 3 มิลลิเมตร โดยมีโครงเครื่องทําดวยเหล็กฉาก ถังรองรับลักษณะกลมยาว มีขนาดความกวางยาวแตกตางกันไป มีมอเตอรขนาด 0.5-2 แรงมาใชไฟฟาระบบ 2 สาย 220 โวลท มีลูกตีเยื่อปอสาสามารถปรับไดและแบบปรับไมได มีท่ีครอบมอเตอร สายพาน และลูกตี

- ความสามารถในการทํางาน ตีเยื่อได 2.5-7 กิโลกรัมตอครั้ง ข้ึนอยูกับขนาดแรงมาของมอเตอร และความโตของถังรองรับเยื่อหรือเปลือกปอสําหรับตี

3.2.2 วิธีการตีเยื่อ ทําการเติมน้ําในถังรองรับเปลือกปอสาใหอยูในระดับเดียวกับลูกตีเยื่อ หรือวัดจากขอบถึงบนประมาณ 3 นิ้ว ทําการเปดเครื่องใหทํางาน คอย ๆ เติมเยื่อลงไปพอประมาณ ในระหวางการเติมเยื่อชวยฉีกเยื่อออกเปนชิ้น ๆ ทําใหเครื่องตีไดงายข้ึน อยาใสเยื่อหรือเปลือกลงไปทันทีทีเดียวจํานวนมากเชน 2 กิโลกรัม หรือ 5 กิโลกรัม เปนตน เครื่องจะตีเยื่อไมทัน เครื่องตีเยื่อจะทํางานโดยใชระบบหมุนเวียนไปกับน้ํา น้ําจะไหลวนมา เมื่อผานลูกตีเยื่อหรือลูกลดหมุนวนไปเรื่อยจนกระทั่งเยื่อละเอียด โดยปกติเยื่อ 2-3 กิโลกรัม ใชเวลาประมาณ 30-40 นาที เยื่อจะละเอียดทํากระดาษได

4. การทําแผนกระดาษ มีวิธีการทํา 3 แบบ คือ4.1 แบบชอนหรือแบบตักอุปกรณท่ีสําคัญในการทํากระดาษแบบชอน

4.1.1 ถังสําหรับชอนกระดาษ เปนถังไมหรือบอคอนกรีต แตปจจุบันจะเปนบอคอนกรีต ถังไมจึงไมนิยมกันแลว ขนาดกวางของบอประมาณ 0.80-1.20 เมตร ยาวประมาณ 1-2 เมตร

Page 21: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

12

4.1.2 ตะแกรงชอนแผนกระดาษ เปนตะแกรง ขอบทําดวยไมรูปสี่เหลี่ยมกรุดวยลวดมุงตาถี่หรือขายไนลอน ขนาดของตะแกรงขึ้นอยูกับความตองการของตลาด เชน ขนาด 60x80 เซนติเมตร และขนาด 46x56 เซนติเมตร

วิธีการชอน นําน้ําใสในถังชอนจนเกือบเต็มถัง หรือบอคอนกรีตใหระดับน้ําอยูต่ํากวาขอบบอประมาณ 4-5 นิ้ว จากนั้นนําเยื่อปอสาที่ตีใหละเอียดเรียบรอยแลวใสในถังพอประมาณ ถาตองการแผนบางก็ใสแตนอย หากตองการหนาก็ใสมากตามมาตรฐานการใสเยื่อมักจะใสตามความเขมขนประมาณ 0.3 เปอรเซ็นตของน้ําท่ีใสแลวคนดวยไมพายใหกระจายทั่วไป บางคนจะตีเยื่อดวยไม ลักษณะแบบไมปนนุน หรือใชมือตีในถังน้ําเล็ก ๆ กอน แลวจึงเทลงในบอคอนกรีตสําหรับชอน นอกจากนี้แลวการชวยเยื่อกระจายและลอยอยูไดดี มีการใสสารเมือกธรรมชาติท่ีไดจากพืช ในประเทศไทย สถาบันวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทยแนะนําใหใชยางจากฝกกระเจี๊ยบซึ่งหาไดงายในประเทศไทย โดยทั่วไปจะใสยางกระเจี๊ยบลงไปประมาณ 1:30ของเยื่อโดยประมาณ การใสยางกระเจี๊ยบควรใสพรอมกับเยื่อปอสา เมื่อคนกระจายทั่วแลว ทําการตักชอน โดยใชมือท้ังสองขางจับของตะแกรงตักลงไปในถังชอน โดยใหตักเขาหาตัวแลวยกตะแกรงขึ้นตรง ๆ แลวเทออกไปขางหนาโดยเร็ว การจับตะแกรงเมื่อชอนนั้นตองใหตะแกรงขนานกับถัง จะทําใหไดกระดาษสม่ําเสมอกันดี เมื่อยกขึ้นมาเหนือผิวน้ําแลว ใหนําไปตากแดด คอยจนกระทั่งแหงเพื่อทําการลอกมาใชตอไป สําหรับการใชสารเมือกธรรมชาติแมจะมีประโยชนมาก และเปนวิธีการท่ีดี การปฏิบัติของผูทํากระดาษทั่วไปยังปฏิบัติกันนอย การพัฒนากระดาษสาใหมีคุณภาพควรจะพิจารณานําสารเมือกธรรมชาติมาใชทํากระดาษสาดวย การทํากระดาษแบบชอนคนหนึ่ง ๆ ทําไดหลายรอยแผนตอวัน มากนอยข้ึนอยูกับความชํานาญ

4.2 แบบแตะ4.2.1 อุปกรณท่ีจําเปน ไดแก- เครื่องช่ังเยื่อปอสา- ตะแกรงสําหรับแตะ ซึ่งบุดวยผาขาวบางหรือผาสาลูมีหลายขนาด เชน ขนาด 55x60 ซม.,

65x75 ซม. , 80x100 ซม. , 63x132 ซม.- กะบะสังกะสีสําหรับแตะกระดาษสา ขนาด กวางxยาวxสูง = 100x150x10 ซม.4.2.2 วิธีการทํา ทําการชั่งเยื่อปอสาเปยกเปนกอน น้ําหนักขึ้นอยูกับความตองการ เชน

150, 200, 250, และ 300 กรัม (เมื่อเปนกระดาษสาจะเรียกเบอร 1.5, 2, 2.5 และ 3 ตามลําดับ) การช่ังน้ําหนักเยื่อปอสามีความจําเปนมาก เพราะจะไดกระดาษที่มีมาตรฐานสําหรับเบอรหรือน้ําหนักดังกลาว มักจะไดเปนมาตรฐานกับกระดาษขนาด 55x80 ซม. หากขนาดโตขึ้นตองเพิ่มน้ําหนักตามสวน เมื่อช่ังปอสาตามตองการแลวนํากอนเยื่อปอสาไปวางบนตะแกรงสําหรับแตะ ซึ่งวางไวบนกะบะสําหรับแตะและบรรจุน้ําไวเกินครึ่งของตะแกรง การกระจายเยื่อมี 4 ข้ันตอน คือ

- ดึงเยื่อออกจากกอนเยื่อปอสา ดึงกระจายใหมากจากตะแกรงกอนหรือใหกระจายไปทั่วตะแกรงก็ได

- ทําการกระจายเยื่อใหละเอียดแยกจากกอนเล็ก ๆ โดยใชนิ้วมือ 10 นิ้ว ท้ังสองมือ โดยโคงนิ้วมือตีเยื่อใหกระจายไปทั่วตะแกรงใหแตกสม่ําเสมอ

Page 22: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

13

- หากกระจายไมสม่ําเสมอ จะเห็นวาบางจุดจะมองเห็นมีชองโหวก็ใหใชนิ้วมือโคงเหมือนขั้นตอนที่ผานมา จุมดึงเยื่อท่ีแนน ๆ ใกล ๆ ชองโหวใหมาอยูท่ีชองโหว

- ใชหลังมือตีเยื่อท่ีกระจายอยูใหสม่ําเสมอ ในจุดท่ียังมีชองโหวเล็ก ๆ ใหเยื่อกลมกลืนกันไป หรือท่ีเปนกระจุกเล็ก ๆ ลอยเหนือน้ําใหเยื่อกระจายกลมกลืนกันไมมีชองโหว และเรียบ แลวยกตะแกรงไปตากแดดใหแหงเพื่อลอกออกมาใชตอไป การทํากระดาษแบบแตะ ผูปฏิบัติจะทําไดตั้งแต 50-120 แผน แลวแตความชํานาญ

4.3 แบบชอนแตะ การทํากระดาษแบบนี้ประยุกตใชวิธีการแบบชอนและแบบแตะเขาดวยกัน โดยนําเยื่อปอสาไปกระจายในบอสําหรับชอน การคํานวณเยื่อท่ีใสลงไป เชน เบอร 1.5 ถาหากชอนเยื่อหมดใน 10 ครั้ง ก็ใสลงไปกิโลกรัมครึ่ง หรือ 1,500 กรัม กรรมวิธีการกระจายเหมือนแบบชอนและการชอนทําเชนเดียวกัน แตเมื่อชอนขึ้นมาใหลอยอยูเหนือน้ํา แลวใชฝามือท้ังดานหนาหรือดานหลังแลวแตสะดวก เพื่อใหลายเยื่อสม่ําเสมอทั่ว ๆ ตะแกรงเหมือนวิธีแตะ เมื่อเยื่อสม่ําเสมอดีตามตองการแลว วิธีการนี้จะรวดเร็วกวาวิธีแตะมาก กระดาษที่ไดจะหนาและสม่ําเสมอกวาวิธีชอน วิธีชอนกระดาษจะมีมาตรฐานต่ํากวาวิธีแตะ โดยเฉพาะเรื่องน้ําหนักของกระดาษแตละแผนมักไมเทากัน

การทําลวดลายของกระดาษสา ข้ึนอยูกับความตองการ เชน ตองการสีหลายสีในแผนเดียวกัน เราก็ช่ังเยื่อสาสีตาง ๆ ท่ีตองการตามอัตรา แลวนํามารวมกัน การรวมกันอาจรวมบนตะแกรงสําหรับแตะและกระจายดวยมือใหเขากันเหมือนวิธีแตะทั่วไป อีกวิธีการหนึ่งอาจใชเยื่อผสมกันในถังกอน ใสน้ําพอควร แลวตีเยื่อใหเขากันดวยไมตีเยื่อ แลวนําไปใสในตะแกรง อาจเปนการแตะหรือชอนแตะก็ได

นอกจากนี้มีการทําลวดลายดอกไมบนกระดาษสา เชน ใชดอกเฟองฟา ใบสน ใบไผ ดอกกุหลาบดาวกระจาย ฯลฯ การทําลวดลายดอกไมใหนํากลีบดอกไมสดใสในกระดาษแบบแตะ หรือชอนแตะ ข้ันตอนสุดทายหลังจากใชมือแตะเยื่อสาใหสม่ําเสมอแลว การวางดอกไม ใบไม ใหวางไปตามรูปแบบที่ตองการ แลวกดใหจมและเขี่ยเยื่อสาใหคลุมสวนดอกไมบาง ๆ ใชหลังมือแตะใหสม่ําเสมอเบา ๆ นําไปตากเพื่อใหแหง ใชประโยชนได การใชลวดลายดอกไม ใบไม ในปจจุบันใชชนิดสดกัน เมื่อเก็บไวนาน ๆ สีของพืชจะเปลี่ยนไป อันที่จริงแลวเราควรดําเนินการฟกซสีของพืชไมใหเปลี่ยน อาจโดยวิธีการใชสารเคมีบางอยาง หรือการอัดแหง ซึ่งวิชาการเหลานี้ยังไมมีคําแนะนําจากหนวยราชการของรัฐ หรือจากผูรูใหทราบกัน

5. การทําใหกระดาษแหง 5.1 การตากกระดาษโดยการตากแดด หลังจากที่ทํากระดาษผานขั้นตอนชอนหรือแตะแลว การทํา

กระดาษโดยวิธีท่ีปฏิบัติท่ัวไปไมเพิ่มตนทุน คือ การตากแดดในกลางแจง โดยวางใหตะแกรงพิงกันไมใหลม ชุดการพิงกันอาจจะเปน 2 ตะแกรง หรือ 4 ตะแกรง ในการตากแหงเร็วนั้น นอกจากความเขมของแสงแดดที่เราควบคุมไมไดแลว ยังมีปจจัยท่ีควบคุมได ซึ่งชวยใหแหงเร็วข้ึน คือการวางมุมตะแกรงในการตาก ความสําคัญของการทํามุมตะแกรง วางตะแกรงทํามุม 70 องศา ทําใหกระดาษแหงเร็วท่ีสุด เหตุท่ีแหงเร็วเพราะน้ําท่ีอยูในกระดาษไหลเร็วกวาตะแกรงที่วางนอน ๆ เพราะฉะนั้นการตากกระดาษควรวางแนวตั้ง ๆ จะแหงเร็วกวาแนวนอน กระดาษแบบแตะก็เชนเดียวกันจะแหงชากวาแบบชอน เพราะความหนามากกวากระดาษแบบแตะ แตละแผนจะแหงตั้งแต 2-4 ช่ัวโมง แลวแตความหนาของกระดาษ

Page 23: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

14

5.2 ใชเครื่องอบหรือเครื่องตากกระดาษ เครื่องอบกระดาษเปนเครื่องมือท่ีใชหลักการใชความรอนสงไปยังวัสดุท่ีมีพื้นที่ผิวเรียบใหมีความรอน 40-60 องศาเซลเซียส แลวจะไดแผนผิวเรียบที่ใหความรอนนั้น ความรอนที่ใชอาจไดจากไฟฟา กาซ ถาน หรือไอน้ํา

6. การลอกแผนกระดาษ ในการทํากระดาษสาแบบของไทย โดยวิธีทําใหแหงโดยการตากแดด จะทําการลอกเมื่อกระดาษแหงดีแลว ซึ่งโดยทั่วไปแตละแผนจะใชเวลาในการตาก 2-4 ช่ัวโมง (ในสภาพแดดจัด) วิธีการลอกใหตะแกรงที่มีกระดาษหันออกนอกตัว และใชแกะขอบที่มุมออก ใหขอบดานบนหลุดออกเปนแนวประมาณ 2 นิ้ว ใชมือซายจับตะแกรงไว ใชฝามือขวาแซะไป (ในกรณีถนัดขวา) ตามแนวของกระดาษสากับผาแบบของตะแกรงไปเรื่อย ๆ ก็จะไดกระดาษที่เรียบรอยไมขาด นําไปเก็บไวเปนชุด ๆ โดยเก็บไวในถุงพลาสติก หรือวางไวเปนมัด ๆ ตามแตทุนทรัพยในญี่ปุนนอกจากจะใชวิธีการลอกแบบที่ไทยทําแลว ยังใชกรรมวิธีลอกแผนเปยกออกจากตะแกรง วางซอนกันแลวบีบน้ําใหหมาด แลวลอกทีละแผนตากแหงดวยเครื่องอบแผน

7.การคัดเลือกและบรรจุกระดาษ หลังจากลอกกระดาษแลว จะไดกระดาษที่มีคุณภาพตางกัน นอกจากไดกระดาษที่ดีแลว บางแผนจะฉีกขาดบางหรือบางแผนจะมีลักษณะไมสม่ําเสมอ บางจุดจะบางไป หรือมีสิ่งสกปรกติดอยูไมสะอาด กระดาษที่ไมดีเหลานี้ตองคัดออก นําไปใชประโยชนในงานอื่น ๆ ท่ีรองลงไป ในกรณีท่ีตองจําหนายตองคัดเฉพาะที่มีคุณภาพดี และเก็บไวเปนมัด ๆ โดยมัดละ 50 หรือ 100 แผน เปนตน และเก็บไวในถุงพลาสติกขนาดใหญ ในการบรรจุกระดาษถุงใหญ ๆ ถุงหนึ่งบรรจุไดประมาณ 500-600 แผน ในการขายสงภายในประเทศ ถาพาหนะในการขนสงสะอาดอาจใชถุงพลาสติกแบบหนาหอได กระดาษสามีความทนทานมาก ไมคอยมีปญหา แตหากการขนสงไปตางประเทศตองบรรจุลังกระดาษใหมีมาตรฐาน

Page 24: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

15

บทที่ 3การวิจัยและพัฒนาการออกแบบสรางเครื่องลอกเปลือกสา

3.1 อุปกรณที่ใชในการสรางและการทดสอบเครื่องลอกเปลือกสา1. เครื่องมือท่ีใชในการสรางเครื่องลอกเปลือกสา ไดแก Drafting Table , Milling Machine,

Shaping Machine, Boring Machine, Grinding Machine, Engine Lathe, Drilling Machine,Sawing Machine, Welding Machine, Gas cutting Machine, Shearing Machine,Bending Machine

2. เปลือกสาที่ลอกออกมาจากตนแลวไมเกิน 10 ช่ัวโมง3. เครื่องวัดความเร็วรอบ4. ตูอบหาความชื้น5. เครื่องช่ังน้ําหนัก6. เวอรเนียร

3.2 วิธีการออกแบบสรางเครื่องลอกเปลือกสา เครื่องลอกเปลือกสาตนแบบนี้จะเปนเครื่องลอกเปลือกผิวนอกสีน้ําตาลออก เพื่อใหไดเปลือกในสา ซึ่งจะมีกลไกและสวนประกอบตาง ๆ ดังนี้

1. ใบมีดลอกเปลือกสาเปนชนิดใบมีดกบแทนไสไมขนาดความยาว 40 ซม. มี จํานวน 4 ใบ ฝงติดอยูในแกนลูกกลิ้งทรงกระบอกขนาดเสนผาศูนยกลาง 7.6 ซม. โดยมีปลายใบมีดโผลเหนือผิวลูกกลิ้งประมาณ 0.3 – 0.5 มม. หมุนดวยความเร็วรอบประมาณ 1,300 – 1,700 รอบตอนาที โดยทิศทางการหมุนของใบมีดจะใหทิศทางของความเร็วเชิงเสนที่ปลายใบมีดมีทิศทางเดียวกันกับการเคลื่อนที่ของเปลือกสา

2. แปรงทําความสะอาดหนามีด มีจํานวน 2 ตัว สําหรับปดเปลือกสาใหหลุดออกจากหนามีด แปรงนี้มีลักษณะเปนลูกกลิ้งทรงกระบอกขนาดเสนผาศูนยกลาง 15 ซม. ยาว 40 ซม. จากรูปที่ 3.1 แสดงฟงคช่ันหลักการทํางานการลอกเปลือกสา แปรงทําความสะอาดหนามีดตัวท่ีอยูหนาเครื่องดานทางออกเปลือกสาจะหมุนในทิศทางที่ใหความเร็วเชิงเสนที่ปลายแปรงมีทิศทางสวนทางกับความเร็วเชิงเสนที่ปลายใบมีดซึ่งจะทําใหเกิดแรงปดท่ีรุนแรงแปรงตัวนี้จะหมุนดวยความเร็วรอบประมาณ 500 – 600 รอบตอนาที แปรงตัวนี้ยังจะทําหนาท่ีปดทําความสะอาดผิวเปลือกสาท่ีถูกขูดลอกเปลือกแลวอีกทีหนึ่ง สวนแปรงที่อยูดานหลังเปนแปรงที่หมุนอยางอิสระซึ่งจะถูกขับใหหมุนโดยใบมีดมีทิศทางของความเร็วเชิงเสน ท่ีปลายแปรง มีทิศทางเดียวกับ ความเร็วเชิงเสนที่ปลายใบมีดแปรงนี้ก็จะทําความสะอาดหนามีดอีกเชนกัน และก็จะทําหนาท่ีพัดเศษเปลือกสาที่เกิดข้ึนจากการขูดผิวใหปลิวออกจากตัวเครื่องได

7. ลูกกลิ้งยางปอนเปลือกสา มีลักษณะเปนลูกกลิ้งทรงกระบอก ขนาดเสนผาศูนยกลาง 7.6 ซม.ยาว 40 ซม. ลูกกลิ้งยางนี้จะติดตั้งในตําแหนงดานลางในแนวดิ่งใตชุดใบมีดลอกเปลือก จะติดตั้งตายตัวไมสามารถปรับเลื่อนได ปลายใบมีดลอกเปลือกจะสัมผัสกับผิวของลูกกลิ้งยางพอดีลูกกลิ้งยางนี้จะหยุนตัวสามารถยุบตัวได ในกรณีท่ีเปลือกสาหนา ยางของลูกกลิ้งจะยุบตัวลง

Page 25: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

16

ใบมีดลอกเปลือกสาก็จะสามารถขูดลอกชั้นของเปลือกผิวนอกออกไดเทากับความสูงของปลายใบมีดเทานั้นเอง ในกรณีท่ีเปลือกสาบางก็จะไมมีปญหาเรื่องการขูดผิวไมไดเพราะ ปลายใบมีดอยูชิดผิวของลูกกลิ้งยางอยูแลว ลูกกลิ้งยางนี้จะหมุนในทิศทางที่ใหทิศทางของความเร็วเชิงเสนที่ลูกกลิ้งยางมีทิศทางเดียวกับความเร็วเชิงเสนที่ปลายใบมีดลอกเปลือก โดยความเร็วรอบการหมุนของลูกกลิ้งยางนี้เทากับ 6 รอบตอนาที

8. ลูกกลิ้งเหล็กปอนเปลือกสา จะติดตั้งชิดกับลูกกลิ้งยางปอนเปลือกสา ซึ่งท้ังลูกกลิ้งยางและลูกกลิ้งเหล็กนี้ จะเปนชุดลูกกลิ้งท่ีจับดึงเปลือกสา ใหเขาไปในเครื่องเองโดยอัตโนมัติ ลูกกลิ้งเหล็กปอนเปลือกสาจะมีลักษณะเปนลูกกลิ้งทรงกระบอกขนาดเสนผาศูนยกลาง 25 มม. ยาว40 ซม. ท่ีผิวของลูกกลิ้ง จะกลึงเปนลายไวเพื่อใหมีแรงในการจับยึดดึงเปลือกสาไดดี ท้ังลูกกลิ้งเหล็กและลูกกลิ้งยางปอนเปลือกสานี้จะตองมีทิศทางของความเร็วเชิงเสนของลูกกลิ้งท้ังสอง มีทิศทางเดียวกัน และตองมีความเร็วเชิงเสนที่ผิวของลูกกลิ้งท้ังสองเทากันดวย จึงจะสามารถจับดึงเปลือกสาเขาไปได ลูกกลิ้งเหล็กนี้จะหมุนดวยความเร็วรอบเทากับ 19.13รอบตอนาที

9. ลูกกลิ้งยางพาเปลือกสาออก มีลักษณะเปนลูกกลิ้งทรงกระบอก ขนาดเสนผาศูนยกลาง 7.6 ซม.ยาว 40 ซม. จะติดตั้งตรงตําแหนงทางออกของเปลือกสา เพื่อทําหนาท่ีพาเปลือกสาออกจากเครื่องลอกเปลือก และยังทําหนาท่ี นําเปลือกสาที่ถูกลอกเปลือกแลว ไปใหแปรงทําความสะอาดหนามีดปดทําความสะอาดผิวหนาอีกที เพื่อใหเปลือกสาสะอาดปราศจาก ฝุนละอองหรือ เศษเปลือกสาติดผิว ลูกกลิ้งยางนี้จะหมุนดวยความเร็วท่ีเร็วกวาลูกกลิ้งยางปอนเปลือกเพื่อชวยทําให เปลือกสาตรึงปองกันการหักพับงอของแผนเปลือกสาขณะเคลื่อนที่ผานใบมีดลอกเปลือกออกมา ลูกกลิ้งยางพาเปลือกสาออกนี้จะหมุนดวยความเร็วรอบเทากับ 10 - 11รอบตอนาที มีทิศทางของความเร็วเชิงเสนที่ผิวลูกกลิ้งยางมีทิศทางเดียวกับ ทิศทางของความเร็วเชิงเสนของลูกกลิ้งยางปอนเปลือกสา

10. ชุดเกียรทดความเร็วชนิด Bevel gear ขนาด P9 จํานวน 2 ตัว มีอัตราทด 10 : 1 และ 20 : 1สําหรับทดความเร็วชุดปอนเปลือกสา

11. ระบบสงกําลังใชโซเบอร 35 และชุด เฟองโซ12. เครื่องยนตเบนซินขนาด 5 – 6 แรงมา

3.3 วิธีการทดสอบเครื่องลอกเปลือกสา การทดสอบเครื่องลอกเปลือกสามีวิธีการทดสอบตาง ๆ ดังตอไปนี้

1. การทดสอบเพื่อหาการสูญเสียเปลือกในสาเนื่องจากใบมีดลอกเปลือกขูดโดนเปลือกในสา2. การทดสอบเพื่อหาอัตราการทํางานการลอกเปลือกสา (กิโลกรัมตอช่ัวโมง) และ อัตราการสิ้น

เปลืองน้ํามันเชื้อเพลิงท่ีใช เพื่อนําขอมูลไปคํานวณคาใชจายท้ังหมด (บาทตอกิโลกรัม) ในการใชงานเครื่องลอกเปลือกสา

3. การทดสอบเปรียบเทียบกับการลอกเปลือกสาโดยใชแรงงานคน เพื่อเปรียบเทียบการสูญเสียเปลือกในสา และ อัตราการทํางานการลอกเปลือกสา

Page 26: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

17

3.3.1 วิธีการทดสอบเพื่อหาการสูญเสียเปลือกในสาเนื่องจากใบมีดลอกเปลือกขูดโดน เปลือกในสา

1. เตรียมเปลือกสาที่ลอกออกมาจากตนสาแลวท้ิงไวไมเกิน 10 ชม.2. นําเปลือกสาแตละแผนมาเขียนนัมเบอร และตัดแผนเปลือกสาออกใหยาวประมาณ 2 นิ้ว แผน

เปลือกสาที่ตัดออกนี้จะเปนแผนเปลือกสาตัวอยางของเปลือกสาแผนนั้น จากแผนเปลือกสาตัวอยางจะนําไปคํานวณหาอัตราสวน น.น. เปลือกในสา ตอน้ําหนักเปลือกทั้งหมด ซึ่งอัตราสวนน.น. นี้ก็จะเปนอัตราสวน น.น.ของแผนเปลือกสานั้น เปลือกสาแตละแผนหลังจากตัดเอาชิ้นเปลือกสาตัวอยางออกไปแลว จะตองนําไปหาความชื้น โดยการตัดสวนของแผนเปลือกสายาวประมาณ 2 นิ้ว แลวนําไปอบหาความชื้น กอนทําการลอกเปลือกโดยเครื่องลอกเปลือกสา ซึ่งสูตรสําหรับการคํานวณหาความชื้นมาตรฐานเปยกมีดังนี้

คาความชื้นมาตรฐานเปยก = กอนอบ.น.น

หลังอบ.น.นกอนอบ.น.น − X 100%

3. ช้ินเปลือกสาตัวอยาง ท่ีตัดออกมาจากแผนเปลือกสาแตละแผน จะตองนํามาชั่งน้ําหนักทั้งหมดเขียนนัมเบอร หลังจากนั้นจะตองคอย ๆ ใชมีดขูดลอกเอาเปลือกผิวนอกออก แลวช่ังน้ําหนักเปลือกในสาที่ขูดได คํานวณหาอัตราสวนของน้ําหนักเปลือกในสาตอน้ําหนักเปลือกทั้งหมดซึ่งอัตราสวนนี้ก็จะเปนอัตราสวนของน้ําหนักเปลือกในสาตอน้ําหนักเปลือกทั้งหมดของแผนเปลือกสาที่ตัดเอาชิ้นเปลือกสาตัวอยางออกมา

อัตราสวนน้ําหนักเปลือกในสาตอน้ําหนักเปลือกทั้งหมด =หมดเปลือกทั้ง.น.น

เปลือกในสา.น.น

น้ําหนักเปลือกทั้งหมด = น้ําหนักเปลือกนอกรวมกับน้ําหนักเปลือกในกอนการขูดลอกเปลือก4. คํานวณหาน้ําหนักเปลือกในสาวาควรจะเปนเทาใด ซึ่งคํานวณไดจาก อัตราสวนน้ําหนักเปลือก

ในตอน้ําหนักเปลือกทั้งหมด จากชิ้นสวนเปลือกสาตัวอยางของแตละแผน คูณกับน้ําหนักเปลือกสาทั้งหมดของแผนนั้น

5. นําเปลือกสาแตละแผนมาเขาเครื่องลอกเปลือกสา ช่ังน้ําหนักแตละแผนหลังจากลอกเปลือกเสร็จ

6. คํานวณหาเปอรเซ็นตการสูญเสียเปลือกในสา

การสูญเสียเปลือกในสา (%) =ณจากการคํานวเปลือกในสา.น.น

บจากการทดสอเปลือกในสา.น.นณจากการคํานวเปลือกในสา.น.น − X 100 %

หมายเหตุ ถาคํานวณเปอรเซ็นตการสูญเสียติดลบ แสดงวาลอกเปลือกผิวนอกออกไมหมด

Page 27: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

18

3.3.2 วิธีการทดสอบเพื่อหาอัตราการทํางานการลอกเปลือกสา (กิโลกรัมตอช่ัวโมง) และ อัตราการสิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิงท่ีใช

1. เตรียมเปลือกสาที่ลอกออกมาจากตนสาแลวท้ิงไวไมเกิน 10 ชม. จํานวนครั้งละ 10 ถึง 20กิโลกรัม

2. เติมน้ํามันใหเต็มถังน้ํามันของเครื่องยนต3. ติดเครื่องยนตเดินเครื่องลอกเปลือกสา นําเปลือกสาที่เตรียมไวมาเขาเครื่องลอกเปลือก เริ่มตน

จับเวลาในการลอก4. ดําเนินการลอกเปลือกสาไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งเปลือกสาหมด บันทึกเวลาการใชในการลอก

เปลือก วัดการกินน้ํามันเชื้อเพลิงของเครื่องยนต โดยการเติมน้ํามันลงไปในถังน้ํามันของเครื่องยนตอีกครั้งจนกระทั่งถึงระดับเดิม จํานวนน้ํามันที่ใชเติมจนถึงระดับเดิม คือจํานวนน้ํามันที่เครื่องยนตใชไป

5. คํานวณหาอัตราการลอกเปลือกสาเปนกิโลกรัมตอช่ัวโมง และคํานวณหาอัตราการกินน้ํามันเปน ลิตรตอช่ัวโมง

3.3.3 วิธีการทดสอบเปรียบเทียบการลอกเปลือกสาโดยใชแรงงานคน เพื่อเปรียบเทียบ การสูญเสียเปลือกในสา และอัตราการทํางานการลอกเปลือกสากับเครื่องลอก เปลือกสา ซึ่งวิธีการทดสอบหาการสูญเสียเปลือกในสาจะเหมือนกับหัวขอ 3.3.1 แตในการทดสอบหาอัตราการทํางานการลอกเปลือกสา จะใชวิธีการจับเวลาที่คน ลอกเปลือกไดแตละแผน แลวนํามาคํานวณเปนอัตราการทํางานการลอกเปน กิโลกรัมตอช่ัวโมง

3.4 วิธีการคํานวณคาใชจาย

การคิดคาใชจายในการทํางานของเครื่องลอกเปลือกสาและระยะเวลาการคืนทุนของเครื่องลอกเปลือกสา

1. การคํานวณคาเสื่อมราคาของเครื่องลอกเปลือกสาสามารถคํานวณไดดังนี้

LSPDP )( −

=

เมื่อ DP = คาเสื่อมราคา (บาท/ป)P = ราคาซื้อของเครื่อง (บาท)S = ราคาขายหรือคาคงเหลือเมื่อเครื่องลอกเปลือกสาหมดอายุ (บาท)L = อายุการปฏิบัติงานของเครื่องลอกเปลือกสา (ป)

Page 28: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

19

2. การคํานวณดอกเบี้ยของการลงทุนซื้อเครื่องลอกเปลือกสาสามารถคํานวณไดดังนี้

( )[ ]2/)sPiI +=

เมื่อ I = คาดอกเบี้ยคงที่ตอป (บาท)i = อัตราดอกเบี้ย (ทศนิยม)P = ราคาซื้อของเครื่อง (บาท)s = ราคาขายหรือคาคงเหลือเมื่อเครื่องลอกเปลือกสาหมดอายุ (บาท)

3. การคํานวณหาตนทุนคงที่ตอป (Total annual fixed cost) สามารถคํานวณไดดังนี้

IDPAFC +=

เมื่อ AFC = ตนทุนคงที่ตอป (บาท)DP = คาเสื่อมราคา (บาท/ป)I = คาดอกเบี้ยคงที่ตอป (บาท)

4. การคํานวณคาใชจายในการทํางานของเครื่องลอกเปลือกสาตอป (Total annual operating cost) สามารถคํานวณไดดังนี้

FRMAOC +=

เมื่อ AOC = คาใชจายในการทํางานของเครื่องลอกเปลือกสาตอป (บาท)RM = คาซอมบํารุงรักษาเครื่องลอกเปลือกสาF = คาไฟฟา (บาท/ป)

5. การคํานวณตนทุนรวมในการทํางานของเครื่องลอกเปลือกสาตอป สามารถคํานวณไดดังนี้

AOCAFCTAC +=

เมื่อ TAC = ตนทุนรวมในการทํางานของเครื่องลอกเปลือกสาตอป (บาท)AFC = คาใชจายคงที่ตอป (บาท)AOC = คาใชจายในการทํางานของเครื่องลอกเปลือกสาตอป (บาท)

Page 29: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

20

6. การคํานวณการใชงานคุมทุนของเครื่องลอกเปลือกสา สามารถคํานวณไดดังนี้

)/( OPCCRAFCBEU −=

เมื่อ BEU = การใชงานคุมทุน (กก./ป)AFC = ตนทุนคงที่ตอป (บาท)CR = อัตราคาจางลอกเปลือกสา (บาท/กก.)OPC = คาใชจายในการทํางานของเครื่องลอกเปลือกสา (บาท/กก.)

7. การคิดตนทุนและระยะเวลาการคืนทุนของเครื่องลอกเปลือกสา• ตนทุนคงที่ คือคาผลรวมของคาเสื่อมราคาเครื่องและคาดอกเบี้ยของการลงทุนซื้อเครื่องลอกเปลือกสา• ตนทุนผันแปร คือคาผลรวมของคาซอมแซม คาบํารุงรักษา คาไฟฟา• ตนทุนรวม คือผลรวมของตนทุนคงที่กับตนทุนผันแปร• ผลประโยชนท่ีไดรับ คิดจากอัตราคาจางลอกเปลือกสาคูณกับจํานวนกิโลกรัมของเปลือกสาที่ลอกได

(ในที่นี้คิดอัตราคาจางลอกเปลือกสา 2 บาท/กก.)• ผลประโยชนสุทธิ คือผลตางระหวางผลประโยชนท่ีไดรับกับตนทุนรวม• ระยะเวลาคืนทุน คือผลหารระหวางราคาซื้อของเครื่องลอกเปลือกสากับผลประโยชนสุทธิ

3.5 ผลการทดสอบและวิจารณใบมีดลอกเปลือกสาที่เลือกใชเปนชนิดใบมีดกบแทนไสไมขนาดความยาว 40 ซ.ม. สามารถลอก

เปลือกสาไดเปนอยางดีและมีความทนทานในการใชงานคาดวาอายุการใชงานของใบมีดลอกเปลือกประมาณ 10,000 ช่ัวโมง แตตองถอดใบมีดลอกเปลือกออกมาลับความคมของปลายใบมีดทุกๆ 500 ช่ัวโมง ความเร็วรอบการหมุนของใบมีดประมาณ 1,300-1,700 รอบตอนาที ซึ่งจะใหความเร็วเชิงเสนที่ปลายใบมีดประมาณ 5.18-6.77 เมตรตอวินาทีท่ีความเร็วรอบขนาดนี้จะเปนความเร็วท่ีเหมาะสมตอการทํางาน หากความเร็วของใบมีดต่ํากวานี้จะใหการลอกเปลือกสาลอกเปลือกออกไมหมด หรือถาหากใชความเร็วสูงกวานี้ก็จะสิ้นเปลืองกําลังโดยเปลาประโยชนเพราะใบมีดลอกเปลือกยังคงลอกเปลือกสาออกหมดไดเชนกัน แตจําเปนตองใชเครื่องยนตท่ีมีขนาดมากกวา 5 แรงมา การท่ีปลายใบมีดโผลเหนือผิวลูกกลิ้งประมาณ 0.3-0.5 ม.ม. จะใหการลอกเปลือกสาออกไดหมดจะไมลอกเอาเปลือกในสาออกมากเกินไปเครื่องลอกเปลือกสานี้จะใหการสูญเสียเปลือกในสา 5.15-6.41% ของเปลือกในสาที่ไดท้ังหมด ถาหากปลายใบมีดสูงข้ึนมากกวานี้จะทําใหการสูญเสียเปลือกในสามากหรือถาหากปลายใบมีดต่ํากวานี้จะทําใหการลอกเปลือกสาไมหมดเปลือกสาที่จะนํามาลอกเปลือกจะตองเปนเปลือกสาสดที่ลอกออกมาจากตนสาแลวไมควรเกิน 10 ช่ัวโมง ซึ่งเปลือกสาที่นํามาทดสอบการลอกเปลือกจะมีความชื้นประมาณ 66.54% มาตรฐานเปยก

ถาหากเปลือกสาที่ลอกออกมาจากตนสาทิ้งไวนานเกิน 10 ช่ัวโมง จะทําใหเปลือกสาสูญเสียความชื้นทําใหเปลือกสาแหงและเปลือกสาจะหอตัวจะทําใหการปอนเปลือกสาเขาเครื่องลอกเปลือกยากอาจจะ

Page 30: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

21

แกปญหานี้ไดโดยนําเปลือกสาไปแชในน้ํากอนเพื่อใหเปลือกสาออนตัวก็จะสามารถลอกเปลือกสาโดยเครื่องลอกเปลือกสานี้ไดเชนเดียวกัน

เนื่องจากเปลือกสาที่ขูดลอกออกมาจะมีลักษณะเปนขุยๆ มียางปะปนมาดวย เปลือกสาที่ขูดออกมานี้จะจับติดหนาใบมีดลอกเปลือกถาหากไมมีแปรงปดทําความสะอาดหนามีดตลอดเวลา การทํางานของแปรงปดทําความสะอาดหนามีดจะทํางานปดทําความสะอาดหนามีดดีไมมีเปลือกสาเกาะติดหนามีดและแปรงตัวหลังก็สามารถพัดไลเศษเปลือกสาใหปลิวออกมาจากภายในตัวเครื่องไดดีไมมีการสะสมเศษเปลือกสาภายในเครื่อง

ลูกกลิ้งปอนเปลือกสาประกอบดวยลูกกลิ้งยางขนาดเสนผาศูนยกลาง 7.6 ซ.ม. และลูกกลิ้งเหล็กขนาดเสนผาศูนยกลาง 25 ม.ม. ซึ่งลูกกลิ้งท้ังสองจะวางสัมผัสกันพอดี ลูกกลิ้งท้ังสองจะตองมีความเร็วเชิงเสนเทากัน ถึงจะหนีบจับเปลือกสาใหเขาไปในเครื่องได โดยความเร็วเชิงเสนของลูกกลิ้งท้ังสองจะมีคาเทากับ 2.39 ซ.ม./วินาที ท่ีความเร็วรอบเครื่องยนต 1,500 รอบตอนาที ซึ่งเปลือกสาก็จะถูกดึงเขาเครื่องลอกเปลือกดวยความเร็วประมาณ 2.39 ซ.ม./วินาที เชนเดียวกัน ณ ท่ีความเร็วเชิงเสน 2.39 ซ.ม./วินาที ลูกกลิ้งยางปอนเปลือกจะหมุนดวยความเร็ว 6 รอบตอนาที และลูกกลิ้งเหล็กปอนเปลือกจะหมุนดวยความเร็ว 19.13 รอบตอนาที ในขณะที่ทําการลอกเปลือกจะมีขุยเปลือกสาเกาะติดผิวของลูกกลิ้งเหล็ก ซึ่งจําเปนตองขูดออกเปนครั้งคราวในระหวางการทํางานลอกเปลือก เพราะถาหากไมขูดออกก็จะทําใหการปอนเปลือกสายาก คือเปลือกสาจะไมถูกหนีบโดยลูกกลิ้ง

ผลการทดสอบหาการสูญเสียเปลือกในสาไดแสดงไวในตารางที่ 3.5 และตารางที่ 3.6 มีเปอรเซ็นตการสูญเสียโดยเฉลี่ย 5.15% และ 6.41% ของน้ําหนักเปลือกในสาที่ไดท้ังหมด จากการทดสอบไมมีเปอรเซ็นตการลอกเปลือกนอกไมหมด ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับการลอกเปลือกสาโดยคนแลวคนลอกเปลือกสาจะมีท้ังเปอรเซ็นตการลอกเปลือกนอกไมหมด และเปอรเซ็นตการสูญเสียเปลือกในสา จากการทดสอบการลอกเปลือกสาโดยคนแสดงไวในตารางที่3.7 มีจํานวนเปลือกสาที่ขูดผิวนอกออกไมหมดมี 33.33% ซึ่งมีผิวนอกติดเปลือกในสาโดยเฉลี่ย 3.84% และมีจํานวนเปลือกสาที่ขูดแลวมีการสูญเสียเปลือกในสา 66.67% ซึ่งมีการสูญเสียเปลือกในสาโดยเฉลี่ย 6.64% ของน้ําหนักเปลือกในสาทั้งหมด

ผลการทดสอบหาอัตราการทํางานการลอกเปลือกสาไดแสดงไวในตารางที่ 3.8 เครื่องลอกเปลือกสามีอัตราการทํางานการลอกเปลือกสาโดยเฉลี่ย 35.30 กิโลกรัมตอช่ัวโมง และมีอัตราการสิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิงโดยเฉลี่ย 1.51 ลิตรตอช่ัวโมง อัตราการทํางานการลอกเปลือกสามีความแตกตางกันตั้งแต 30.15 กิโลกรัมตอช่ัวโมงถึง 40.20 กิโลกรัมตอช่ัวโมง ซึ่งความแตกตางกันของอัตราการทํางานการลอกเปลือกมีสาเหตุจากขณะทํางานการลอกเปลือกสาขณะที่เปลือกสาออกจากเครื่องลอกเปลือกไดพันมวนแปรงทําความสะอาดหนามีดบางเปนครั้งคราวจึงตองหยุดเครื่องเพื่อเอาเปลือกสาออกจากแปรง การปอนเปลือกบางครั้งไมสม่ําเสมอมีการปอนมากและนอยสลับกันไป และลักษณะของเปลือกสาเองที่มีความแกออนไมเทากัน เปลือกสาที่แกจะมีความหนามากทําใหเครื่องกินกําลังมากทําใหไมสามารถปอนเปลือกไดหลายแผนในขณะเดียวกัน ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับการลอกเปลือกสาโดยคนแลว เครื่องลอกเปลือกสาจะมีอัตราการทํางานการลอกเปลือกสาเร็วมากกวาคนถึง 30-40 เทา จากการทดสอบการลอกเปลือกสาโดยคนแสดงไวในตารางที่3.4 คนสามารถลอกเปลือกสาโดยเฉลี่ย 1.03 กิโลกรัมตอช่ัวโมงตอคน เทานั้น จากการทดสอบการทํางานการลอกเปลือกสาโดยคนจะเปนการทดสอบแบบจับเวลาการลอกเปลือกสาแผนตอแผนแลวนํามาคํานวณเปนอัตราการลอกเปลือกสาเปน

Page 31: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

22

กิโลกรัมตอช่ัวโมง ถาหากเปนการทํางานติดตอกันทั้งวันคาดวาอัตราการทํางานการลอกเปลือกโดยคนจะต่ํากวานี้อีกมากเพราะคนมีความเหน็ดเหนื่อยเมื่อยลา

ผลการคํานวณหาคาใชจายในการลอกเปลือกสาและระยะเวลาการคืนทุนของเครื่องลอกเปลือกสาไดแสดงไวในตารางที่ 3.9 ราคาโดยประมาณของเครื่อง 40,000 บาท การวิเคราะหผลเชิงเศรษฐศาสตรไดคาใชจายหรือตนทุนในการทํางานลอกเปลือกสาของเครื่องลอกเปลือกสาเทากับ 1.26 บาทตอกิโลกรัม มีการใชงานคุมทุน 4,707.21 กิโลกรัมตอป และมีระยะเวลาการคืนทุน 0.64 ป ณ ท่ีจํานวนกิโลกรัมของเปลือกสาที่ลอกได 84,720 กิโลกรัมตอป และอัตราคาจางลอกเปลือก 2 บาทตอกิโลกรัม

3.6 สรุปผลการทดสอบและวิจารณ1. เครื่องลอกเปลือกสามีอัตราการทํางานการลอกเปลือกสาโดยเฉลี่ย 35.30 กิโลกรัมตอช่ัวโมง โดยมี

การสูญเสียเปลือกในสาโดยเฉลี่ย 5.15% - 6.41% ของน้ําหนักเปลือกในสาทั้งหมด2. ราคาโดยประมาณของเครื่องลอกเปลือกสา 40,000 บาท คาใชจายหรือตนทุนในการลอกเปลือกสา

โดยเครื่องลอกเปลือกสาเทากับ 1.26 บาทตอกิโลกรัม มีระยะเวลาการคืนทุน 0.64 ป ณ ท่ีจํานวนกิโลกรัมของเปลือกสาที่ลอกได 84,720 กิโลกรัมตอป และอัตราคาจางลอกเปลือก 2 บาทตอกิโลกรัม

3. เปลือกสาที่ลอกไดจากเครื่องลอกเปลือกสาผูใชหรือผูรับซื้อเปลือกสายอมรับวามีคุณภาพดีกวาหรือเทียบเทากับการลอกเปลือกดวยแรงงานคน

4. เครื่องลอกเปลือกสามีอัตราการทํางานการลอกเปลือกสาเร็วกวาการลอกเปลือกสาดวยแรงงานคน 30-40 เทา

5. เปลือกสาที่จะนํามาลอกเปลือกดวยเครื่องลอกเปลือกสาควรเปนเปลือกสาที่ลอกออกมาจากตนแลวไมเกิน 10 ช่ัวโมง

6. เปลือกสาทุกแผนที่นํามาลอกเปลือกดวยเครื่องลอกเปลือกสาจะมีเปลือกนอกที่ไมไดลอกเปลือกติดอยูท่ีปลายแผนเปลือกสายาวประมาณ 1-2 ซ.ม. ซึ่งจําเปนตองใชมีดขูดลอกเอาเปลือกนี้ออก

7. เปลือกสาทุกแผนหลังลอกเปลือกดวยเครื่องลอกเปลือกควรลางดวยน้ําผสมผงซักฟอกอีกทีเพื่อกําจัดสีเขียวของเปลือกและเศษฝุนเปลือกที่ติดอยูท่ีผิวเพื่อใหเปลือกสาดูสะอาดสวยงาม

8. เปลือกสาเมื่อถูกนําเขาเครื่องลอกเปลือกสาเพื่อขูดลอกเอาเปลือกนอกออก น้ําหนักของเปลือกสาจะหายไปประมาณ 27 % ของน้ําหนักเปลือกสาทั้งหมด และจากเปลือกในสาที่ลอกออกได เมื่อนําไปตากแดดใหแหง น้ําหนักจะหายไปอีกประมาณ 71 % ของน้ําหนักเปลือกในสาทั้งหมด ซึ่งถาหากคิดรวมแลวจากเปลือกสาสดที่ลอกออกจากไมแลวนําเขาเครื่องลอกเปลือกสา เพื่อขูดลอกเอาเปลือกผิวนอกออก แลวนําไปตากใหแหง น้ําหนักจะหายไปทั้งหมดประมาณ 78.87 % ของน้ําหนักเปลือกสาท้ังหมด

Page 32: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

23

ตารางที่ 3.1 ขอกําหนดรายละเอียดของเครื่องลอกเปลือกสา

รายการ ขนาด1. มิติ (มม.)

- ความยาว- ความกวาง- ความสูง

9004201150

2. น้ําหนักเครื่องตัวเปลา (กิโลกรัม) 903. ใบมีดลอกเปลือก (ความยาว x เสนผาศูนยกลาง), ซ.ม. 40 x 7.64. จํานวนใบมีดลอกเปลือก 4 ใบ5. ความเร็วรอบของใบมีดลอกเปลือก 1300 - 1700 rpm6. แปรงทําความสะอาดหนาใบมีดลอกเปลือก

(ความยาว x เสนผาศูนยกลาง), ซ.ม.40 x 15

7. จํานวนแปรงทําความสะอาดหนาใบมีดลอกเปลือก 2 ตัว8. ลูกกลิ้งยางปอนและพาเปลือกสา

(ความยาว x เสนผาศูนยกลาง), ซ.ม.40 x 7.6

9. ความเร็วในการเคลื่อนที่ของเปลือกสา 2 - 3 ซ.ม./วินาที10. อัตราการลอกเปลือกสา 30 - 40 กิโลกรัม/ช.ม.11. การสูญเสียเปลือกในสา 5 - 6 %12. คาใชจายในการลอกเปลือกสา 1.26 บาท/กิโลกรัม13. ราคาเครื่อง 40,000 บาท

Page 33: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

24

ตารางที่ 3.2 ความชื้นของแผนเปลือกสากอนทําเขาเครื่องลอกเปลือกสา

ช้ินเปลือกสาตัวอยางครั้งท่ีทดสอบ

น้ําหนักกอนอบ(กรัม)

น้ําหนักหลังอบ(กรัม)

น้ําหนักที่หายไป(กรัม)

% ความชื้น%

1 3.38 1.14 2.24 66.272 2.68 0.90 1.78 66.423 4.17 1.36 2.81 67.394 2.06 0.77 1.29 62.625 2.16 0.73 1.43 66.206 2.77 0.82 1.95 70.407 2.87 1.12 1.75 60.988 2.20 0.85 1.35 61.369 3.05 0.86 2.19 71.8010 2.41 0.76 1.65 68.4611 3.32 1.10 2.22 66.8712 1.88 0.64 1.24 65.9613 3.19 1.08 2.11 66.1414 2.06 0.70 1.36 66.0215 0.99 0.34 0.65 65.6616 1.90 0.52 1.38 72.6317 2.74 1.11 1.66 60.5818 2.60 0.97 1.63 62.6919 2.08 0.62 1.46 70.1920 2.15 0.60 1.55 72.09

เฉลี่ย 66.54

Page 34: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

25

ตารางที่ 3.3 ความชื้นของแผนเปลือกสากอนทําการลอกเปลือกโดยแรงงานคน

ช้ินเปลือกสาตัวอยางครั้งท่ีทดสอบ

น้ําหนักกอนอบ(กรัม)

น้ําหนักหลังอบ(กรัม)

น้ําหนักที่หายไป(กรัม)

% ความชื้น%

1 3.25 1.19 2.06 63.382 8.89 3.10 5.79 65.133 10.43 3.68 6.75 64.724 2.66 0.92 1.74 65.415 7.60 2.63 4.97 65.396 4.20 1.41 2.79 66.437 2.63 0.95 1.68 63.888 7.40 2.57 4.83 65.279 4.96 1.85 3.11 62.7010 3.62 1.26 2.36 65.1911 10.15 3.55 6.60 65.0212 2.74 0.94 1.80 65.69

เฉลี่ย 64.85

Page 35: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

26

ตารางที่ 3.4 การทดสอบหาอัตราการลอกเปลือกสาโดยแรงงานคน

ครั้งท่ีทดสอบ

เวลาที่ใชในการลอกเปลือก(วินาที)

น.น.เปลือกในสาหลังจากลอกเปลือกออก (กรัม)

อัตราการลอกเปลือก(กก./ชม.)

1 173.99 37.57 0.782 69.46 21.33 1.103 127.74 23.12 1.654 71.31 17.74 0.905 54.58 26.88 1.786 165.70 39.13 0.857 112.41 33.31 1.108 59.06 19.03 1.169 120.34 17.20 0.52

10 94.68 24.43 0.9311 63.11 25.88 1.4812 105.34 29.85 1.02

เฉลี่ย 1.03

Page 36: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

27

ตารางที่ 3.5 การทดสอบการสูญเสียเปลือกในสาของเครื่องลอกเปลือกสา (ครั้งที่ 1)ชิ้นเปลือกสาตัวอยาง

ครั้งที่ทดสอบ น.น.เปลือก

ทั้งหมด (กรัม)น.น.เปลือกใน (กรัม)

อัตราสวนของ (น.น.เปลือกใน/น.น.ทั้งหมด)

เปลือกทดสอบน.น.เปลือกทั้งหมด (กรัม)

ผลจากการคํานวณน.น.เปลือกใน

(กรัม)

ผลจากการทดสอบน.น.เปลือกใน

(กรัม)

% การลอกเปลือกนอกไมหมด

% การสูญเสียเนื้อ (%)

1 14.71 11.11 0.755 123.85 93.54 90.49 - 3.262 5.23 3.69 0.706 28.71 20.27 19.13 - 5.623 4.56 3.21 0.704 29.24 20.58 19.62 - 4.684 13.76 10.83 0.787 104.16 81.97 77.46 - 5.505 2.26 1.57 0.695 13.94 9.69 9.04 - 6.70

เฉลี่ย - 5.15

Page 37: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

28

ตารางที่ 3.6 การทดสอบการสูญเสียเปลือกในสาของเครื่องลอกเปลือกสา (ครั้งที่ 2)ชิ้นเปลือกสาตัวอยาง

ครั้งที่ทดสอบ น.น.เปลือก

ทั้งหมด (กรัม)น.น.เปลือกใน (กรัม)

อัตราสวนของ (น.น.เปลือกใน/น.น.ทั้งหมด)

เปลือกทดสอบ น.น.เปลือกทั้งหมด (กรัม)

ผลจากการคํานวณน.น.เปลือกใน

(กรัม)

ผลจากการทดสอบน.น.เปลือกใน

(กรัม)

% การลอกเปลือกนอกไมหมด

% การสูญเสียเนื้อ (%)

1 6.64 3.32 0.72 16.69 11.94 11.02 - 7.712 2.84 1.88 0.66 12.16 8.05 7.50 - 6.833 4.63 3.19 0.69 27.33 18.83 17.27 - 8.284 2.81 2.06 0.73 14.68 10.76 9.89 - 8.105 2.96 1.90 0.64 24.56 15.76 15.33 - 2.766 13.85 10.15 0.73 103.59 75.92 72.31 4.75

เฉลี่ย - 6.41

Page 38: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

29

ตารางที่ 3.7 การทดสอบหาการสูญเสียเปลือกในสาของคนลอกเปลือกสาชิ้นเปลือกสาตัวอยาง

ครั้งที่ทดสอบ น.น.เปลือก

ทั้งหมด (กรัม)น.น.เปลือกใน

(กรัม)

อัตราสวนของน.น.เปลือกใน/น.น.ทั้งหมด

เปลือกทดสอบน.น.เปลือกทั้งหมด (กรัม)

ผลจากการคํานวณน.น.เปลือกใน

(กรัม)

ผลจากการทดสอบน.น.เปลือกใน

(กรัม)

% การลอกเปลือกนอกไมหมด

% การสูญเสียเนื้อ (%)

1 3.85 2.87 0.74 55.63 41.47 37.57 - 9.402 3.17 2.20 0.69 30.73 21.33 21.23 - 0.453 4.12 3.05 0.74 36.17 26.78 23.12 - 13.654 3.31 2.41 0.73 28.34 20.63 17.74 - 14.025 5.02 3.25 0.65 38.27 24.78 26.88 8.49 -6 6.16 4.20 0.68 59.66 40.68 39.13 - 3.807 3.99 2.74 0.69 49.81 34.20 33.31 - 2.628 3.64 2.60 0.71 26.93 19.24 19.03 - 1.079 3.34 2.08 0.62 27.21 16.95 17.20 1.50 -

10 3.45 2.15 0.62 37.36 23.28 24.43 4.93 -11 3.66 2.63 0.72 39.20 28.17 25.88 - 8.1212 4.04 2.74 0.68 43.82 29.72 29.85 0.44 -

เฉลี่ย 3.84 6.64

Page 39: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

30

ตารางที่ 3.8 การทดสอบหาอัตราการทํางานการลอกเปลือกสาของเครื่องลอกเปลือกสาตนแบบ

การทดสอบครั้งท่ี

เวลาที่ใชในการลอกเปลือกสาท้ังหมด (นาที)

จํานวนกิโลกรัมเปลือกสาที่ลอกได

(กก.)

จํานวนน้ํามันเช้ือเพลิงท่ีใช

(ลิตร)

อัตราการลอกเปลือก(กก./ชม.)

อัตราการสิ้นเปลืองน้ํามันเพลิง (ลิตร/

ชม.)1 14.39 7.8 0.37 32.52 1.542 18.78 12.0 0.44 38.33 1.403 20.89 10.50 0.52 30.15 1.494 26.87 18.0 0.72 40.20 1.60

เฉลี่ย 20.23 12.10 0.51 35.30 1.51

ตารางที่ 3.9 การคํานวณหาตนทุนในการทํางานและระยะเวลาการคืนทุนของเครื่องลอกเปลือกสา

ราคาเครื่องลอกเปลือกสา = 40,000 บาทเครื่องลอกเปลือกสามีความสามารถในการทํางานลอกเปลือกสาไดประมาณ 35.30 กิโลกรัมตอช่ัวโมงหรือ

282.40 กิโลกรัมตอวัน (คิดการทํางานวันละ 8 ช่ัวโมง) มีอัตราการกินน้ํามัน 1.51 ลิตร/ช.ม. โดยคิดราคาคาน้ํามันลิตรละ 16 บาท ประมาณวา เครื่องลอกเปลือกสานี้มีการใชงานเพียง 10 เดือนตอป ซึ่งสามารถนํามาคํานวณหาตนทุนในการทํางาน (บาท/กก.) การใชงานคุมทุน (กก./ป) และระยะเวลาการคืนทุน (ป) ของเครื่องลอกเปลือกสาไดดังนี้

1. คาเสื่อมราคาคิดแบบ Straight-line method อายุการใชงาน 15 ป สิ้นปท่ี 15 ราคาเครื่องเหลือ 10 เปอรเซนตของราคาเริ่มตน

∴ ราคาซากเครื่อง = (10/100) x 40,000 = 4,000 บาท33.933,215/)000,4000,40(/)( =+=−= LSPDP บาท/ป

2. Interest on invesment 2.5%∴ ดอกเบี้ยท่ีควรไดรับ = (2.5/100) x (40,000+4,000) / 2 = 550 บาท/ปTotal annual fixed cost = 2,933.33+550 = 3,483.33 บาท/ป

Page 40: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

31

3. Repair and Maintenanceเครื่องลอกเปลือกสามีช้ินสวนที่ตองการการซอมแซมหรือเปลี่ยนใหมตามอายุการใชงานตางๆ ดังนี้

รายการ ประมาณอายุการใชงาน (ช.ม.)

ราคาที่ซอมหรือเปลี่ยนใหม (บาท)

คาใชจาย(บาท/ช.ม.)

1. เครื่องยนต 6HP 3,000 3,000 1.002. เกียรทดกําลัง 30,000 4,000 0.133. เฟองโซ 3,000 2,000 0.674. โซสงกําลัง 3,000 1,500 0.505. ใบมีดลอกเปลือก 10,000 2,500 0.256. แปรงปดเปลือกสาออกจากหนา

มีด6,000 6,000 1.00

7. ชุดลูกปนตางๆ 6,000 2,000 0.33Repair and Maintenance = 3.88 บาท/ช.ม.คาจางแรงงานคนคุมเครื่อง 120 บาท/วัน = 15 บาท/ช.ม.

4. คาน้ํามัน∴ คาน้ํามัน = 16 x 1.5 = 24.16 บาท/ช.ม.Total operating cost = 3.88 + 24.16 = 28.04 บาท/ช.ม.+ 15 = 43.04 บาท/ช.ม.การใชงานเครื่องลอกเปลือกสา 8 ช่ัวโมง/วัน และทํางานเพียงปละ 10 เดือน∴ ใน 1 ป เครื่องใชงาน = 8 x 30 x 10 = 2,400 ช่ัวโมงเครื่องมีความสามารถลอกเปลือกได 35.30 กิโลกรัม/ช.ม.หรือ ใน 1 ป เครื่องสามารถลอกเปลือกได = 35.30 x 2,400 = 84,720 กก./ปตนทุนในการทํางานรวมทั้งหมด (บาท/กก.) = ตนทุนคงที่ (บาท/กก.) + ตนทุนผันแปร (บาท/กก.)= 3,483.33/84,720 บาท/กก.+43.04/35.30 บาท/ก.ก= 0.041 บาท/กก. + 1.22 บาท/กก.ตนทุนในการทํางานลอกเปลือก = 1.26 บาท/กก.การใชงานคุมทุน (กก./ป) = 3,483.33 / (2-1.26)การใชงานคุมทุน (กก./ป) = 4,707.21 กก./ปตนทุนคงที่ (บาท/ป) = 3,483.33 บาท/กก.ตนทุนผันแปร (บาท/กก.) = 1.22 บาท/กก.อัตราคาจางลอกเปลือก = 2 บาท/กก.

Page 41: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

32

จํานวนกิโลกรัมเปลือกสาที่ลอกได

ตนทุนคงที่(บาท/ป)

ตนทุนผันแปร(บาท)

ตนทุนรวม(บาท)

ผลประโยชนท่ีไดรับ (บาท)

ผลประโยชนสุทธิ (บาท)

ระยะการคืนทุน (ป)

84,720 3,483.33 103,358.40 106,481.73 169,440 62,598.27 0.64

Page 42: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

33

รูปที่ 3

.1 แส

ดงฟง

คชั่นห

ลักการท

ํางานก

ารลอก

เปลือก

สาขอ

งเครื่อ

งลอก

เปลือก

สาตน

แบบ

Page 43: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

34

รูปที่ 3

.2 แส

ดงหล

ักการถ

ายทอด

กําลังไป

ยังกลไกต

าง ๆ ข

องเคร

ื่องลอ

กเปลือ

กสาตนแ

บบ

Page 44: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

35

รูปที่ 3.3 เครื่องลอกเปลือกสา

รูปที่ 3.4 แสดงการปอนเปลือกสาที่สามารถทําไดครั้งละหลาย ๆ แผนพรอมกัน

รูปที่ 3.5 เปลือกสาที่ถูกลอกเปลือกแลว ขณะออกจากเครื่องลอกเปลือกสา

รูปที่ 3.6 ลักษณะเปลือกสาที่ถูกลอกเปลือกโดยเครื่องลอกเปลือกสา

Page 45: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

36

รูปที่ 3.7 แปรงปดทําความสะอาดหนามีดลอกเปลือกสา

รูปที่ 3.8 ใบมีดลอกเปลือกสา

รูปที่ 3.9 เครื่องลอกเปลือกสาขณะทํางานที่ บริษัท Royal Craft จังหวัดเชียงราย

รูปที่ 3.10 เครื่องลอกเปลือกสาขณะทํางานที่บริษัท Royal Craft จังหวัดเชียงราย เปลือกที่นํามาลอกเปนเปลือกของปอหูท่ีมีความเหนียว และแข็งมากยากที่จะลอกออกดวยคน

Page 46: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

37

บทที่ 4การวิจัยและพัฒนาการออกแบบสรางเครื่องมือทําแผนกระดาษสาที่

ทําดวยมือชนิดกึ่งอัตโนมัติ

4.1 อุปกรณที่ใชในการสรางและการทดสอบเครื่องมือทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือชนิดกึ่งอัตโนมัติ1. เครื่องมือท่ีใชในการสรางเครื่องลอกเปลือกสา ไดแก Drafting Table , Milling

Machine ,Shaping Machine, Boring Machine, Grinding Machine, Engine Lathe, Drilling Machine, Sawing Machine, Welding Machine, Gas cutting Machine, Shearing Machine, Bending Machine

2. เยื่อสาหรือเยื่อจากพืชชนิดอื่น ๆ ท่ีตองการนํามาทําเปนแผนกระดาษ3. เครื่องสลัดน้ําออกจากเยื่อสาชนิดใชแรงเหวี่ยง (ในที่นี้ใชเครื่องซักผา)4. เครื่องวัดความเร็วรอบ5. ตูอบหาความชื้น6. นาฬิกาจับเวลา7. เครื่องช่ังน้ําหนักขนาด 500 กรัม และ 5 กิโลกรัม8. ถวยตวงปริมาตร9. ตะแกรงสําหรับทําแผนกระดาษสาขนาด (กวาง X ยาว) 55 X 80 ซ.ม.

4.2 วิธีการออกแบบสรางเครื่องมือทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือชนิดกึ่งอัตโนมัติ เครื่องมือทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือชนิดกึ่งอัตโนมัติตนแบบชนิดนี้ ดังแสดงในรูปที่ 4.1 ถึง 4.5จะเปนเครื่องมือท่ีทํากระดาษชนิดท่ีทําดวยมือ ( Handmade Paper) โดยใชตะแกรงตาขายพลาสติกสําหรับทําเปนแผนกระดาษ ชนิดเดียวกับของชาวบานที่ใชทํากระดาษดวยมือในขณะทําแผนกระดาษจะไมมีการสูญเสียน้ําออกจากระบบเครื่องมือทําแผนกระดาษ ยกเวนแตน้ําท่ีติดไปกับตะแกรงและเยื่อท่ีอยูบนตะแกรงเทานั้นซึ่งเครื่องมือนี้จะมีกลไกและสวนประกอบตาง ๆ ดังนี้

1. อางละลายเยื่อสา อางละลายเยื่อสามีขนาด (กวาง X ยาง X สูง) 200 X 229 X 20 ซ.ม. ซึ่งคิดเปนปริมาตรความจุน้ําเยื่อไดเทากับ 600 ลิตร ทําจากเหล็กแผนธรรมดา แลวพนสีกันสนิม อางละลายเยื่อสาทําหนาท่ีเปนอางละลายเยื่อสาในระบบเครื่องทําแผนกระดาษสา

2. เครื่องตีเยื่อสา เครื่องตีเยื่อสาจะติดตั้งอยูบนอางละลายเยื่อสาดังแสดงในรูปที่ 4.1 – 4.2 ชนิดของใบตีเยื่อสาจะเปนแบบ เคียว ตัวใบตีเยื่อสามีขนาด (กวาง X ยาว) 4 X 15 ซ.ม. โดยติดใบตีเยื่อสาบนแกนเพลาขนาด 1นิ้ว ตัวใบหางกันประมาณ 2.5 ซ.ม. มีจํานวนใบตีท้ังหมด 20 ใบ เครื่องตีเยื่อสาจะหมุนดวยความเร็วรอบ 350รอบตอนาที ขับเคลื่อนโดยใชมอเตอรไฟฟาขนาด 1 แรงมา เครื่องตีเยื่อสาจะทําหนาท่ีตีเยื่อสาใหกระจายตัวแตกตัว ไมเกาะจับติดกันเปนกอน และยังทําใหเกิดการไหลวนของน้ําเยื่อสาภายในอางละลายเยื่อสา เพื่อทําใหเยื่อสากระจายตัวทําใหความเขมขนของน้ําเยื่อ สม่ําเสมอเทากันตลอดภายในอางละลายเยื่อสา

Page 47: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

38

3. ชุดกระพอตักน้ําเยื่อสา ชุดกระพอตักน้ําเยื่อสา จะติดตั้งอยูบนอางละลายเยื่อสาดังแสดงในรูปที่ 4.1 – 4.2 กระพอตักน้ําเยื่อสานี้ จะทําหนาท่ีตักน้ําเยื่อสาจากอางละลายเยื่อสา เพื่อสงไปยังหัวจายน้ําเยื่อสา ตัวกระพอแตละตัวจะมีปริมาตร 700 CC มีจํานวนทั้งหมด 10 กระพอ ตัวกระพอจะติดอยูบนโซสงกําลังเบอร 60 หางกันประมาณ 15ซ.ม. ความเร็วเชิงเสนในการเคลื่อนที่ของกระพอมีคาประมาณ 0.1 เมตรตอวินาที ชุดกระพอจะถูกขับเคลื่อนโดยมอเตอรไฟฟาขนาด 1 แรงมา ขับผานเกียรทดกําลังขนาด 20 : 1

4. หัวจายน้ําเยื่อสา หัวจายน้ําเยื่อสาจะรับน้ําเยื่อสาจากชุดกระพอตักน้ําเยื่อสาเพื่อจายลงสูตะแกรงสําหรับทําเปนแผนกระดาษ โดยน้ําเยื่อสาที่ออกจากหัวจายน้ําเยื่อจะไหลกลับลงสูอางละลายเยื่อสาไมมีการสูญเสียน้ําในระบบแตอยางใดยกเวนแตน้ําท่ีติดไปกับเยื่อสาที่อยูบนตะแกรงทําเปนแผนกระดาษ หัวจายน้ําเยื่อสาจะมีขนาด(กวาง X ยาว X สูง ) 55 X 30 X 30 ซ.ม. ภายในจะถูกกั้นไวเปนหอง ๆ สําหรับพักน้ําเยื่อ เพื่อใหน้ําเยื่ออยูในสภาพนิ่ง กอนที่จะไหลออกจากหัวจาย ท้ังนี้เพื่อใหการจายน้ําเยื่อออกจากหัวจายมีความสม่ําเสมอ ปากทางออกของหัวจายน้ําเยื่อจะมีความกวางเทากับขนาดความกวางของตะแกรงสําหรับทําเปนแผนกระดาษ และสามารถปรับอัตราการไหลของน้ําเยื่อไดโดยปรับความสูงของแผนเหล็กกั้น

5. สายพานลําเลียงตะแกรง สายพานลําเลียงตะแกรงทําหนาท่ีลําเลียงตะแกรงเขามารับน้ําเยื่อจากหัวจายน้ําเยื่อ ขนาดของสายพานลําเลียงตะแกรงนี้ จะออกแบบสําหรับลําเลียงตะแกรงทําแผนกระดาษขนาด (กวาง X ยาว ) 55 X 80ซ.ม. ซึ่งจะเปนขนาดทั่วไปที่ชาวบานใชทํากระดาษดวยมือ สายพานลําเลียงตะแกรงประกอบดวย สายพานสงกําลังรูปตัว วี จํานวน 2 เสน วางหางกัน 55 ซ.ม. โดยชองวางระหวางสายพานนี้ จะปูแผน พีวีซี เจาะรูเพื่อใหน้ําจากตะแกรงไหลผาน และตกกลับลงสูอางละลายเยื่อสาได แผนพีวีซี เจาะรูนี้ยังทําหนาท่ีกําหนดอัตราการไหลของน้ําออกจากตะแกรงเพื่อใหแผนกระดาษเรียบสม่ําเสมอกันตลอดทั่วท้ังแผน ความเร็วของสายพานลําเลียงตะแกรงสามารถปรับเปลี่ยนไดโดยเปลี่ยนขนาดของมูเลยขับเคลื่อน ซึ่งถายทอดกําลังมาจากชุดกระพอตักน้ําเยื่อ 6. ระบบการเติมเยื่อสาลงในอางละลายเยื่อสาของเครื่องมือทําแผนกระดาษสา เพราะเหตุวา ในขณะทําแผนกระดาษสาแผนตอแผน เยื่อสาที่ไหลออกมาจากหัวจายน้ําเยื่อจะคางอยูบนตะแกรงตาขายพลาสติกเพื่อจับตัวเปนแผนกระดาษ ดังนั้นความเขมขนของน้ําเยื่อสาในอางละลายเยื่อสาจะลดลงไปเรื่อย ๆ ถาหากไมมีการเติมเยื่อสาชดเชยลงไปในอางละลายเยื่อสา ดังนั้นจึงตองมีระบบการเติมเยื่อสาลงในอางละลายเยื่อสา ซึ่งระบบก็จะประกอบดวย อางละลายเยื่อสาขนาด (กวาง X ยาว X สูง ) 0.90 X 2.0 X 0.25 เมตร มีปริมาตรความจุประมาณ300 ลิตร พรอมเครื่องตีเยื่อสา กอนที่จะทําแผนกระดาษจึงตองเตรียมน้ําเยื่อสาตามความเขมขนที่กําหนดจากระบบนี้กอน ในขณะที่ทํากระดาษสาแผนตอแผนก็จะตองใชคนตักน้ําเยื่อสาจากระบบนี้เติมลงในอางละลายเยื่อสาของเครื่องมือทําแผนกระดาษสา

Page 48: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

39

4.3 วิธีการทําแผนกระดาษสาจากเครื่องมือทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือชนิดกึ่งอัตโนมัติ

เปลือกปอสาแหง ↓ตัดแตงปอ, ตัดตา, หัวปอ, แผน

โรคท้ิงแชน้ํา 12-24 ช่ัวโมง ↓ตมดวยโซดาไฟนาน 3-5 ช่ัวโมง ใชโซดาไฟ 7-10% ของน้ําหนักปอสา

↓ฟอกขาวดวยไฮโดรเจนเปอรออกไซด ใช 4-10% ของน้ําหนักปอสา

นาน 1-5 ช่ัวโมง ↓

ลางน้ําใหสะอาด 3-4 ครั้ง ↓เก็บเศษสกปรกที่ติดมากับเยื่อออก

↓ตีดวยเครื่อง

↓สลัดน้ําออกจากเยื่อ

↓ช่ังน้ําหนักเยื่อ

↓↓ ↓

นําเยื่อละลายลงในอางละลายเยื่อของเครื่องมือทําแผนกระดาษโดยใชเยื่อ 2 กิโลกรัมตอน้ํา 410 ลิตรหรือ

4.878 กรัมตอลิตร

นําเยื่อละลายลงในอางละลายเยื่อของระบบการเติมเยื่อตามความเขม

ขนที่กําหนด

↓ ↓เดินเครื่องตีเยื่อของระบบ เดินเครื่องตีเยื่อของระบบ

↓ ↓เติมสารเคมียูรามีนลงในอางละลายเยื่อในอัตรา 50 กรัมตอน้ํา 410 ลิตร

เติมสารเคมียูรามีนลงในอางละลายเยื่อ

Page 49: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

40

หรือ 0.12 กรัมตอลิตร ในอัตรา 0.23 กรัมตอลิตร↓ ↓

เดินชุดกระพอตักน้ําเยื่อ ปลอยน้ําเยื่อออกจากระบบลงสูถังพักน้ําเยื่อ

↓ ↓กําหนดความเร็วของ

สายพานลําเลียงตะแกรงใชคนตักน้ําเยื่อเติมลงในอางละลาย

เยื่อของเครื่องทําแผน↓ กระดาษในอัตรา 3 ลิตร

นําตะแกรงสําหรับทํากระดาษ ตอการทํากระดาษหนึ่งแผนวางลงบนสายพานลําเลียง

ทีละตะแกรง↓

รอใหน้ําในตะแกรงไหลออกหมดจึงยกตะแกรงออกจากสายพานลําเลียงตะแกรง

↓นําตะแกรงไปตากแดด หรือนําเขาเครื่องอบแหงกระดาษ

↓ลอกกระดาษออกจากตะแกรง

Page 50: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

41

4.4 วิธีการทดสอบเครื่องมือทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือชนิดกึ่งอัตโนมัติ1. ในการทดสอบเครื่องมือทําแผนกระดาษครั้งนี้ไดกําหนดความเขมขนของน้ําเยื่อในอางละลายเยื่อ

ของเครื่องมือทําแผนคงที่เทากับ 4.878 กรัมตอลิตร หรือใสน้ําลงในอางละลายเยื่อเทากับ 410 ลิตร แลวใสเยื่อสาที่สลัดน้ําออกแลวจํานวน 2 กิโลกรัม และเติมสารเคมียูรามีนจํานวน 50 กรัม ลงในในอางละลายเยื่อ

2. ปรับความสูงของแผนเหล็กกั้นที่ปากทางออกของหัวจายน้ําเยื่อใหมีระยะเทากับ 4 มม. ซึ่งจะไดอัตราการไหลของน้ําเยื่อเทากับ 1.50 ลิตรตอวินาที

3. กําหนดความเร็วของสายพานลําเลียงตะแกรงทําแผนกระดาษ 3 ความเร็วคือ 0.10, 0.05, และ 0.038 เมตรตอวินาที เพื่อใหไดขนาดของน้ําหนักกระดาษ 3 ขนาดน้ําหนัก

4. คํานวณหาปริมาณน้ําหนักของเยื่อท่ีอยูบนตะแกรงแตละตะแกรงในแตละความเร็วของสายพานลําเลียงตะแกรง ซึ่งสูตรสําหรับการคํานวณหาปริมาณน้ําหนักของเยื่อท่ีอยูบนตะแกรงมีดังนี้

น้ําหนักของเยื่อท่ีอยูบนแตละตะแกรง

(กรัม)=

เวลาที่แตละตะแกรงรับน้ําเยื่อจากหัวจาย

(วินาที)X

อัตราการไหลของน้ําเยื่อ

(ลิตร/วินาที)X

ความเขมขนของน้ําเยื่อในอางละลายเยื่อ

(กรัม/ลิตร)

5. คํานวณหาปริมาณน้ําหนักของเยื่อและปริมาณน้ําท่ีตองเตรียมไวท้ังหมดสําหรับเติมลงในอางละลายเยื่อของเครื่องมือทําแผนกระดาษเครื่องมือทําแผนกระดาษนี้ออกแบบใหเปนแบบไมใหมีการสูญเสียน้ําออกจากระบบ แตก็ยังมีปริมาณน้ําท่ีสูญเสียไปบางเนื่องจากน้ําท่ีติดไปกับตะแกรงและติดไปกับเยื่อท่ีอยูบนตะแกรง จากการทดสอบเบื้องตนปริมาณน้ําท่ีสูญเสียไปนี้ประมาณ 3 ลิตรทุกๆ การทํากระดาษ 1 แผน ดังนั้นจึงตองมีการเติมท้ังเยื่อและน้ําปริมาณ 3 ลิตร เพื่อชดเชยกับเยื่อและน้ําท่ีหายไปจากอางละลายเยื่อทุกๆ การทํากระดาษ 1 แผน เพื่อทําใหความเขมขนของน้ําเยื่อในอางละลายเยื่อคงที่ ซึ่งสูตรสําหรับการคํานวณหาปริมาณน้ําหนักของเยื่อและปริมาณน้ําท่ีตองเตรียมไวท้ังหมดสําหรับเติมลงในอางละลายเยื่อของเครื่องมือทําแผนกระดาษ มีดังนี้

น้ําหนักเยื่อท่ีตองเตรียมไวท้ังหมดสําหรับเติมลงใน

อางละลายเยื่อของเครื่องมือทําแผนกระดาษ

(กิโลกรัม)

=น้ําหนักของเยื่อท่ีอยูบนแต

ละตะแกรง(กิโลกรัม)

Xจํานวนตะแกรงทํา

แผนกระดาษที่ตองการทํากระดาษ

น้ําท้ังหมดที่ตองเตรียมไวสําหรับเติมลงในอางละลายเยื่อของเครื่องมือทําแผน

กระดาษ (ลิตร)

=ปริมาณน้ํา 3 ลิตรท่ีเติมลงในอางละลายเยื่อทุกๆ การทํากระดาษ 1 แผน

Xจํานวนตะแกรงทําแผนกระดาษที่ตองการ

ทํากระดาษ

Page 51: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

42

6. จับเวลาตั้งแตเริ่มตนวางตะแกรงลงบนสายพานลําเลียงตะแกรงทําแผนกระดาษ จนกระทั่งนําตะแกรงออกจากสายพานลําเลียงตะแกรงแลวนํามาคํานวณหาอัตราการทําแผนกระดาษของเครื่องมือทําแผนกระดาษเปนจํานวนแผนตอช่ัวโมง

7. ช่ังน้ําหนักกระดาษสาแตละแผน8. ทดลองทําแผนกระดาษจากเครื่องมือทําแผนกระดาษนี้ โดยใชเยื่อของพืชชนิดอื่นๆ เชน เยื่อจาก

ฟางขาว, เยื่อจากกลวย, และเยื่อจากผักตบชวา เปนตน

Page 52: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

43

4.5 วิธีการคํานวณคาใชจายหรือตนทุนในการผลิตกระดาษสาและระยะเวลาในการคืนทุนของ เคร่ืองมือทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือชนิดกึ่งอัตโนมัติ

การคิดคาใชจายในการผลิตกระดาษสาของเครื่องมือทําแผนกระดาษสาและระยะเวลาการคืนทุนของเครื่องมีดังตอไปนี้

1. การคํานวณคาเสื่อมราคาของเครื่องมือทําแผนกระดาษสาสามารถคํานวณไดดังนี้

LSPDP )( −

=

เมื่อ DP = คาเสื่อมราคา (บาท/ป)P = ราคาซื้อของเครื่อง (บาท)S = ราคาขายหรือคาคงเหลือเมื่อเครื่องมือทําแผนกระดาษสาหมดอายุ (บาท)L = อายุการปฏิบัติงานของเครื่องมือทําแผนกระดาษสา (ป)

2. การคํานวณดอกเบี้ยของการลงทุนซื้อเครื่องมือทําแผนกระดาษสามารถคํานวณไดดังนี้

( )[ ]2/)sPiI +=

เมื่อ I = คาดอกเบี้ยคงที่ตอป (บาท)i = อัตราดอกเบี้ย (ทศนิยม)P = ราคาซื้อของเครื่อง (บาท)s = ราคาขายหรือคาคงเหลือเมื่อเครื่องมือทําแผนกระดาษสาหมดอายุ (บาท)

3. การคํานวณหาตนทุนคงที่ตอป (Total annual fixed cost) สามารถคํานวณไดดังนี้

IDPAFC +=

เมื่อ AFC = ตนทุนคงที่ตอป (บาท)DP = คาเสื่อมราคา (บาท/ป)I = คาดอกเบี้ยคงที่ตอป (บาท)

Page 53: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

44

4. การคํานวณคาใชจายในการทํางานของเครื่องมือทําแผนกระดาษสาตอป (Total annual operating cost)สามารถคํานวณไดดังนี้

FRMAOC +=

เมื่อ AOC = คาใชจายในการทํางานของเครื่องมือทําแผนกระดาษสาตอป (บาท)RM = คาซอมบํารุงรักษาเครื่องมือทําแผนกระดาษสาF = คาไฟฟา (บาท/ป)

5. การคํานวณตนทุนรวมในการทํางานของเครื่องมือทําแผนกระดาษสาตอป สามารถคํานวณไดดังนี้

AOCAFCTAC +=

เมื่อ TAC = ตนทุนรวมในการทํางานของเครื่องมือทําแผนกระดาษสาตอป (บาท)AFC = คาใชจายคงที่ตอป (บาท)AOC = คาใชจายในการทํางานของเครื่องมือทําแผนกระดาษสาตอป (บาท)

6. การคิดตนทุนและระยะเวลาการคืนทุนของเครื่องมือทําแผนกระดาษสา• ตนทุนคงที่ คือคาผลรวมของคาเสื่อมราคาเครื่องและคาดอกเบี้ยของการลงทุนซื้อเครื่องมือทําแผน

กระดาษสา• ตนทุนผันแปร คือคาผลรวมของคาซอมแซม คาบํารุงรักษา คาไฟฟา• ตนทุนรวม คือผลรวมของตนทุนคงที่กับตนทุนผันแปร• ผลประโยชนท่ีไดรับ คิดจาก ราคาขายกระดาษสาตอแผนคูณกับจํานวนแผนกระดาษสาตอปท่ีผลิตได• ผลประโยชนสุทธิ คือผลตางระหวางผลประโยชนท่ีไดรับกับตนทุนรวม• ระยะเวลาคืนทุน คือผลหารระหวางราคาซื้อของเครื่องมือทํากระดาษสากับผลประโยชนสุทธิ

Page 54: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

45

4.6 ผลการทดสอบและวิจารณสภาพการทํางานของเครื่องมือทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือชนิดกึ่งอัตโนมัติตนแบบอยูในเกณฑดี

สามารถทําแผนกระดาษสาขนาดน้ําหนักตางๆ ไดตามตองการ โดยการเปลี่ยนแตความเร็วของสายพานลําเลียงตะแกรงทําแผนกระดาษเทานั้น เครื่องมือทําแผนกระดาษนี้สามารถทํางานไดอยางตอเนื่องตลอดทั้งวันโดยไมมีเหตุติดขัดแตอยางใด การออกแบบระบบเครื่องมือทําแผนกระดาษที่ทําดวยมือ (Handmade Paper) นี้ เปนแบบไมใหมีการสูญเสียน้ําออกจากระบบเครื่องมือทําแผนกระดาษ (Closed System) จึงทําใหการใชน้ําตอวันในขบวนการทําแผนกระดาษจากเครื่องมือทําแผนกระดาษนี้คอนขางต่ํา โดยปริมาณน้ําเริ่มตนที่เติมลงในอางละลายเยื่อของเครื่องมือทําแผนกระดาษเทากับ 410 ลิตร และปริมาณน้ําท่ีตองใชเติมลงในอางละลายเยื่อเพื่อชดเชยน้ําท่ีติดไปกับตะแกรงและเยื่อ คิดเปนปริมาณ 3 ลิตรตอแผน ถาหากตองการผลิตกระดาษ 500 แผนตอวัน ก็จะใชปริมาณน้ําท้ังหมดในการทํากระดาษเพียง 1,910 ลิตร ซึ่งเมื่อรวมกับปริมาณน้ําท่ีตองใชในการลางระบบเครื่องมือทําแผนกระดาษแลว ปริมาณน้ําท่ีใชตอวันก็จะไมควรเกิน 2,500 ลิตรตอวันตอการทํากระดาษ 500 แผนตอวัน

วัสดุตางๆ ท่ีใชทําเปนสวนประกอบของเครื่องใชเหล็กธรรมดาแลวพนสี EPOXY สีดําเพื่อกันสนิม จึงทําใหผิวหนาของเครื่องมือนี้ไมเรียบเปนเหตุใหมีเศษเยื่อเกาะจับติดผิวหนาบางสวนของเครื่องมือ โดยเฉพาะภายในอางละลายเยื่อจะสงผลใหเวลาลางทําความสะอาดตัวเครื่องคอนขางยุงยากและบางสวนก็ลางเยื่อบางจุดออกไมหมด และก็จําเปนตองซอมแซมทําสีในบางจุดท่ีเกิดสนิมข้ึนอยูเปนประจํา การลางเยื่อออกจากระบบไมหมด หรือเกิดสนิมข้ึนในระบบ ก็จะสงผลใหการผลิตกระดาษครั้งตอไปทําใหกระดาษไมสะอาด มีเยื่อกระดาษเกาปะปนมา และจะมีผลตอความขาวของกระดาษดวย

การออกแบบใบตีเยื่อสาทั้งท่ีใชในเครื่องมือทําแผนกระดาษและในระบบการเติมเยื่อเปนแบบที่เรียกวา เคียว ซึ่งใบชนิดนี้ขณะตีเยื่อจะทําการสางเยื่อออกไมใหเสนใยพันกัน จะไมมีการบดเยื่อ จึงเปนเหตุใหในอางละลายเยื่อสาเกิดมีเยื่อสาจับตัวกันเปนกอนๆ บางเปนครั้งคราว ซึ่งอาจจําเปนตองออกแบบตัวใบตีเยื่อในลักษณะเปนแบบอื่นๆ ท่ีสามารถบดเยื่อได

ความเขมขนของน้ําเยื่อสาในอางละลายเยื่อสาของเครื่องมือทําแผนกระดาษเทากับ 4.878 กรัมตอลิตร หรือมี Consistency เทากับ 0.485% เปนขนาดความเขมขนที่พอเหมาะที่ใหอัตราการไหลของน้ําเยื่อสาคอนขางดี น้ําเยื่อสาไหลสม่ําเสมอและราบเรียบ ซึ่งถาหากความเขมขนของน้ําเยื่อสาสูงกวานี้อาจสงผลใหการไหลของน้ําเยื่อสาคอนขางยากและการไหลผานหัวจายน้ําเยื่ออาจไมสม่ําเสมอ

ในการทําแผนกระดาษของเครื่องมือทําแผนกระดาษนี้จําเปนตองผสมสารเคมียูรามีนผสมกับน้ําเยื่อสา เพื่อใหเยื่อสากระจายตัวไมเกาะจับตัวกันเปนกอนๆ สารเคมียูรามีนชนิดนี้เปนชนิดเดียวกับที่ใชในโรงงานกระดาษทั่วๆ ไป มีราคาคอนขางแพงแตจะใชในปริมาณที่นอยมาก ในขณะที่น้ําเยื่อสาไหลออกจากหัวจายน้ําเยื่อสาและไหลลงสูตะแกรงสําหรับทําเปนแผนกระดาษ ความสม่ําเสมอของเยื่อสาที่จับตัวกัน (Forming) เปนแผนกระดาษบนตะแกรงตาขายพลาสติกนี้ จะมีความสม่ําเสมอมากหรือนอยนั้นจะขึ้นอยูกับความเขมขนของสารเคมียูรามีนที่ผสมกับน้ําเยื่อ และอัตราการไหลของน้ําท่ีไหลออกจากตะแกรง ซึ่งอัตราการไหลของน้ําท่ีไหลออกจากตะแกรงจะยังข้ึนอยูกับความเขมขนของสารเคมียูรามีน และขนาดของรู และจํานวนรูท่ีเจาะบนแผนพีวี

Page 55: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

46

ซีท่ีรองใตตะแกรงตาขายพลาสติก ในระบบสายพานลําเลียงตะแกรง ตัวแผนพีวีซีท่ีติดตั้งในระบบสายพานลําเลียงตะแกรงนี้สําคัญมาก แผนพีวีซีตองเปนแผนเรียบและตองไดระดับ และรูเจาะบนแผนพีวีซีตองมีขนาดเสนผาศูนยกลาง 8 มม. และระยะหางระหวางรู 25 มม. ซึ่งจะทําใหไดอัตราการไหลของน้ําออกจากตะแกรงที่พอเหมาะ เปนผลใหการจับตัวของเยื่อสามีความสม่ําเสมอตลอดทั่วท้ังแผนกระดาษทําใหไดกระดาษมีความหนาสม่ําเสมอตลอดทั่วท้ังแผน ความเขมของสารเคมียูรามีนที่ใชในอางละลายเยื่อของเครื่องมือทําแผนกระดาษ และในอางละลายเยื่อของระบบการเติมเยื่อมีคาเทากับ 0.12 และ 0.23 กรัมตอลิตร เปนอัตราที่พอเหมาะที่จะทําใหเยื่อสามีการกระจายตัวดี และทําใหอัตราการไหลของน้ําออกจากตะแกรงทําแผนกระดาษอยูในอัตราที่พอเหมาะที่จะทําใหการจับตัวของเยื่อสาบนตะแกรงมีความสม่ําเสมอ ซึ่งสามารถคิดเปนอัตราการใชสารเคมียูรามีนตอแผนกระดาษที่ทําไดเทากับ 0.79 กรัมตอแผน โดยราคาของสารเคมียูรามีนราคากิโลกรัมละ 300 บาท ดังนั้นคาใชจายในการใชสารเคมียูรามีนมีคาเทากับ 0.24 บาทตอแผน

ขนาดน้ําหนักของแผนกระดาษหรือความหนาบางของแผนกระดาษจากการทําแผนกระดาษโดยเครื่องมือทําแผนกระดาษนี้จะขึ้นอยูกับคาของ 3 ตัวแปร คือคาความเขมขนของน้ําเยื่อ อัตราการไหลของน้ําเยื่อและความเร็วของสายพานลําเลียงตะแกรงทําแผนกระดาษ แตในการทดสอบนี้จะกําหนดความเขมขนของน้ําเยื่อและอัตราการไหลของน้ําเยื่อใหคงที่ท่ี 4.878 กรัมตอลิตร และ 1.5 ลิตรตอวินาที ตามลําดับ ดังนั้นขนาดน้ําหนักของกระดาษจึงข้ึนอยูกับคาความเร็วของสายพานลําเลียงตะแกรงคาเดียว ขนาดน้ําหนักของแผนกระดาษจะแปรผกผันกับความเร็วของสายพานลําเลียงตะแกรง โดย ณ ท่ีความเร็วของสายพานลําเลียงตะแกรง 0.10, 0.05 และ 0.038 เมตรตอวินาที จะสามารถทําแผนกระดาษสาขนาด (กวาง X ยาว) 55 X 80 ซ.ม. มีน้ําหนักโดยเฉลี่ย 15.46, 35.27 และ 41.48 กรัมตอแผน ตามลําดับ

ตารางที่ 4.1 และตารางที่ 4.2 เปนผลการทดสอบทําแผนกระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 15.46 กรัมตอแผน ไดทําการทดสอบจํานวน 2 ครั้ง แตละครั้งไดทําแผนกระดาษสาจํานวน 15 แผน การทดสอบแตละครั้งนี้ไดทําการทดสอบตางวันและตางเวลากัน เพื่อตองการเปรียบเทียบลักษณะกระดาษสาที่ทําไดวาจะมีลักษณะเหมือนกันหรือไม ซึ่งผลการทดสอบปรากฎวาเมื่อเปรียบเทียบโดยการดูดวยสายตาแลวกระดาษสา จากการทดสอบทั้งสองครั้งมีลักษณะเหมือนกัน น้ําหนักกระดาษสาเฉลี่ยจากการทดสอบครั้งท่ี 1 และครั้งท่ี 2 เทากับ 15.70 และ 15.23 กรัมตอแผน ตามลําดับ ความหนาของกระดาษสาที่ไดจะมีลักษณะบางมาก เปนเหตุใหการลอกออกจากตะแกรงลําบาก และในบางครั้งขณะลอกแผนกระดาษก็ขาด นอกจากกระดาษสาจะบางมากแลว กระดาษสาก็จะไมคอยเกิดรอยยนของกระดาษ กระดาษจะมีลักษณะคอนขางเรียบ

ตารางที่ 4.3 และตารางที่ 4.4 เปนผลการทดสอบทํากระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 35.27 กรัมตอแผน ไดทําการทดสอบจํานวน 3 ครั้ง แตละครั้งไดทําแผนกระดาษสาจํานวน 20 แผน การทดสอบแตละครั้งก็ไดทําการทดสอบตางวันและตางเวลากันอีก ผลการทดสอบ ปรากฏวาลักษณะของแผนกระดาษสาแตละแผน จากการทดสอบทั้ง 3 ครั้ง มีลักษณะเหมือนกัน น้ําหนักกระดาษสาเฉลี่ยจากการทดสอบครั้งท่ี 1 ครั้งท่ี 2 และครั้งท่ี 3 เทากับ 34.80, 35.51 และ 35.50 กรัมตอแผน ตามลําดับ การลอกแผนกระดาษสาออกจากตะแกรงกระทําไดงาย การเกิดรอยยนของกระดาษก็เกิดพอสมควร

Page 56: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

47

ตารางที่ 4.5 และตารางที่ 4.6 เปนผลการทดสอบทํากระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 41.84 กรัมตอแผน ไดทําการทดสอบจํานวน 3 ครั้ง แตละครั้งไดแผนกระดาษสาจํานวน 15 แผน การทดสอบแตละครั้งก็ไดทําการทําการทดสอบตางวันและตางเวลากันอีก ผลการทดสอบปรากฏวา ลักษณะของแผนกระดาษสาแตละแผนจากการทดสอบทั้ง 3 ครั้ง มีลักษณะเหมือนกัน มองดูดวยตาไมสามารถแยกความแตกตางของลักษณะกระดาษสาจากการทดสอบทั้ง 3 ครั้งได ขนาดกระดาษสาขนาดนี้จะมีความหนามากสุด และเกิดรอยยนของกระดาษสามากที่สุด น้ําหนักกระดาษสาเฉลี่ยจากการทดสอบครั้งท่ี 1 ครั้งท่ี 2 และครั้งท่ี 3 เทากับ 41.52, 42.80 และ 41.22 กรัมตอแผน เนื่องจากการทดสอบครั้งท่ี 2 มีตะแกรงบางตะแกรงเดินติดในระหวางการรับน้ําเยื่อจากหัวจายน้ําเยื่อจึงเปนเหตุใหมีปริมาณเยื่อในตะแกรงมากกวาปกติ น้ําหนักกระดาษของบางตะแกรงจึงมากกวาปกติจากการทดสอบหาความแตกตางกันของน้ําหนักแผนกระดาษสาของขนาดน้ําหนักเฉลี่ยท้ังสามขนาดไดใชตาชั่งน้ําหนักกระดาษสาแบบดิจิตอล ซึ่งมีความละเอียดถึง 0.01 กรัม ซึ่งถาหากใชตาชั่งชนิดท่ีมีความละเอียดเพียง 1 กรัม จะไมสามารถชั่งน้ําหนักไดคาความแตกตางของน้ําหนักไดเลย (ไดน้ําหนักกระดาษสาแตละแผนเทากันหมด)

ความสามารถของเครื่องมือทําการกระดาษนี้จะแปรผกผันกับขนาดน้ําหนักของแผนกระดาษที่ตองการทํา เพราะเหตุวาถาหากตองการน้ําหนักกระดาษตอแผนมากก็ตองใชความเร็วของสายพานลําเลียงต่ําจึงทําใหใชเวลาในการทําตอแผนนาน โดย ณ ท่ีขนาดน้ําหนักกระดาษเฉลี่ย 15.41, 35.27 และ 41.48 กรัมตอแผน จะใชเวลาในการทํากระดาษเฉลี่ยตอแผน 20, 45 และ 60 วินาที ตามลําดับ ซึ่งตัวเลขเวลานี้จะใชวิธีการจับเวลาตั้งแตวางตะแกรงลงบนสายพานลําเลียงจนกระทั่งนําตะแกรงออกจากสายพานลําเลียงแลวนําตะแกรงไปวางบนพื้น ถาหากคิดเปนความสามารถในการทําแผนกระดาษสาตอช่ัวโมงจะได 180, 80 และ 60 แผนตอช่ัวโมง ตามลําดับ เมื่อเปรียบเทียบกับการผลิตกระดาษที่ทําดวยมือแบบแตะที่ชาวบานแถบภาคเหนือทํากันอยูในเวลานี้ ชาวบานสามารถผลิตกระดาษที่ทําดวยมือแบบแตะโดยเฉลี่ย 200 แผนตอคนตอวัน (ขอมูลบริษัท Royal Craft Co., ltd. จังหวัดเชียงราย) หรือ 25 แผนตอช่ัวโมง หรือคิดเปนเวลาในการทําตอแผนเฉลี่ย 2.4 นาที/แผน

กระดาษสาที่ทําดวยมือท่ีผลิตจากเครื่องมือทําแผนกระดาษสานี้ จะมีความคลายคลึง และเกิดลายบนแผนกระดาษสาเหมือนกับกระดาษสาที่ชาวบานผลิตไมวาจะผลิตโดยวิธี แบบแตะ หรือ แบบชอน การผลิตกระดาษสาดวยเครื่องมือนี้จะมีความสม่ําเสมอของเยื่อสาบนแผนกระดาษมากกวา และความหนาของกระดาษสาจะมีความสม่ําเสมอมากกวา สามารถผลิตกระดาษสาตอวันไดจํานวนแผนกระดาษสามากกวาคนผลิต นั่นหมายถึง รายไดหรือกําไรจากการขายกระดาษสาตอวันยอมมากกวาดวย ในการประมาณคาใชจายหรือตนทุนในการผลิตกระดาษเมื่อใชเครื่องมือทําแผนกระดาษสาผลิต เพื่อใหคนทํางานไมตองเหน็ดเหนื่อยมากเกินไป จึงประมาณใหใชคนควบคุมเครื่องผลิตกระดาษสาจํานวน 2 คน ดังนั้นเมื่อเปรียบเทียบตนทุนในการทําแผนกระดาษสาโดยคนแลว จึงตองประมาณไวท่ี 2 คนผลิตเชนเดียวกับเครื่องมือทําแผนกระดาษสา ผลการประมาณคาใชจาย หรือตนทุนในการผลิตกระดาษสาน้ําหนักเฉลี่ย 35.27 กรัม 41.48 กรัม และ กระดาษสาเติมลายดอกไม น้ําหนักเฉลี่ย 64.78 กรัม ตอแผน จะมีตนทุนหรือคาใชจายเฉลี่ยตอแผน 5.302, 6.533 และ 7.933 บาทตอแผน ตามลําดับ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับการผลิตโดยใชคนทําแผนกระดาษสาแลวจะมีตนทุนแพงกวาเล็กนอย โดยตนทุนหรือคาใชจายในการทําแผนกระดาษสาดวยคนทําแผนกระดาษสาจะมีคาเทากับ 5.179, 6.225 และ 6.85 บาทตอแผนตามลําดับ เครื่องมือทําแผนกระดาษสาถาหากนําไปใชผลิตกระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย

Page 57: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

48

35.27, 41.048 กรัม และกระดาษสาชนิดเติมลายดอกไม จะมีระยะเวลาการคืนทุน 0.077, 0.118 และ 0.086 ป ณ ท่ีจํานวนแผนของการผลิตกระดาษสาตอป 192,000, 144,000 และ 48,000 แผนตอป และที่ราคาขายกระดาษสาตอแผน 7, 8 และ 14 บาทตอแผน ตามลําดับ

เครื่องมือทําแผนกระดาษสานี้ยังสามารถทํากระดาษสาชนิดท่ีเติมลายดอกไมลงในแผนกระดาษไดอีกวิธีการทําก็คือนําตะแกรงทําแผนกระดาษวางลงในกระบะเหล็กอีกที กระบะเหล็กนี้จะมีขนาดภายในที่ใหตะแกรงทําแผนกระดาษวางลงไปไดพอดี โดยความสูงของขอบกระบะเหล็กจะเทากับขอบของตะแกรงพอดี แลวจึงนํากระบะเหล็กวางลงบนสายพานลําเลียง นําเยื่อสาที่ไหลออกจากหัวจายน้ําเยื่อ ก็จะอยูในตะแกรง และก็จะถูกขังอยูในกระบะเหล็ก หลังจากนั้นก็จะใชคนวางดอกไมตามรูปแบบตาง ๆ ท่ีกําหนดลงไปในตะแกรง เมื่อวางดอกไมเสร็จจึงยกตะแกรงขึ้นจากกระบะเหล็ก แลวจึงเทน้ําเยื่อสาที่อยูในกระบะเหล็กกลับลงสูอางละลายเยื่อสา ตารางที่ 4.7 เปนผลการทดสอบการทํากระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 41.84 กรัมตอแผน แลวเติมลายดอกไม 2 ลายลงในแผนกระดาษ จะใชเวลาในการทํากระดาษเฉลี่ยตอแผน 3 นาทีตอแผน หรือ 20 แผนตอช่ัวโมง กระดาษสาที่เติมลายดอกไมลงไปแลวจะมีน้ําหนักเฉลี่ย 64.78 กรัม ตอแผน เมื่อเปรียบเทียบกับการผลิตกระดาษสาที่ทําดวยมือ แบบแตะชนิดเติมลายดอกไม แบบที่ชาวบานผลิตจะสามารถผลิตไดเฉลี่ย 100 แผนตอวัน (ขอมูลบริษัท Royal Craft Co., Ltd.)เครื่องมือทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือชนิดกึ่งอัตโนมัติ ยังสามารถนําไปผลิตกระดาษที่ทําดวยมือ (Handmade paper) จากเยื่อของพืชชนิดอื่น ๆ ไดเปนอยางดี โดยไดทดลองผลิตกระดาษจากเยื่อสาผสมเยื่อฟางขาวในอัตราสวน เยื่อสาตอเยื่อฟางขาว 40 : 60 ผลิตกระดาษจากเยื่อสาผสมเยื่อฟางขาวในอัตราสวน เยื่อสา ตอ เยื่อฟางขาว 20 : 80 ผลิตกระดาษจากเยื่อสาผสมกับเยื่อตนกลวยในอัตราสวน เยื่อสา ตอ เยื่อตนกลวย 50 : 50 ผลิตกระดาษจากเยื่อสาผสมกับเยื่อผักตบชวาในอัตราสวน เยื่อสา ตอ เยื่อผักตบชวา 10 : 90 และผลิตจากเยื่อสา ผสม เยื่อฟางขาว ผสมเยื่อผักตบชวา ในอัตราสวน 5 : 60 : 35 เปนตน ผลการทดสอบปรากฏวา สามารถผลิตกระดาษไดเปนอยางดี กระดาษจะมีลวดลายตามธรรมชาติท่ีสวยงามตามชนิดของเยื่อพืชตาง ๆ ท่ีนํามาผสมกับเยื่อสา น้ําเยื่อจะมีการกระจายตัวดีและสม่ําเสมอ มากกวาน้ําเยื่อท่ีใชเยื่อสาลวน ๆ โดยเฉพาะเยื่อผักตบชวาเปนเยื่อพืชชนิดหนึ่งท่ีนาสนใจมาก สามารถนํามาทําเปนกระดาษไดเปนอยางดี และการเตรียมเยื่อก็ไมยุงยากเหมือนเยื่อจากตนสา การนําผักตบชวามาทําเปนกระดาษ จะเปนอีกทางเลือกหนึ่งในการที่จะทําใหผักตบชวาเกิดประโยชน นอกจากจะนําผักตบชวามาสานเปนกระเปาตาง ๆ เพราะเหตุวาผักตบชวาเปนวัชพืชท่ีข้ึนอยูตามแมน้ําลําคลองเปนจํานวนมาก ดังนั้นถาหากมีการใชผักตบชวามาใชทําเปนกระดาษในระดับอุตสาหกรรมในครอบครัวก็จะมีการเก็บเกี่ยวผักตบชวาจากแมน้ําลําคลองตาง ๆ จะเปนการลดปญหาของผักตบชวาที่ข้ึนขวางลําน้ําตาง ๆ ท่ีเปนอุปสรรคตอการเดินเรือไปในตัวดวยดวย และนอกจากนี้จะยังกอใหเกิด รายไดกับชาวบานที่จะยึดอาชีพการเก็บผักตบชวาขายอีกทางหนึ่งดวย4.7 สรุปผลการทดสอบ และวิจารณ

1. ท่ีความเร็วของสายพานลําเลียงตะแกรง 0.10, 0.05 และ 0.038 เมตรตอวินาที จะไดน้ําหนักกระดาษสามีคาเฉลี่ย 15.46, 35.27 และ 41.84 กรัมตอแผนตามลําดับ และมีความแตกตางกันของน้ําหนักกระดาษสาแตละแผนไมเกิน 3 กรัม

Page 58: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

49

2. การทํากระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 15.46, 35.27 และ 41.84 กรัมตอแผน จะใชเวลาเฉลี่ยในการทําตอแผนประมาณ 20, 40 และ 60 วินาทีตอแผน โดยเครื่องทําแผนกระดาษสานี้จะมีความสามารถในการทําแผนกระดาษสาได 180, 80 และ 60 แผนตอช่ัวโมง ตามลําดับ โดยจะใชเวลานอยกวาการทํากระดาษสาที่ทําดวยแรงงานคน

3. คาใชจายหรือตนทุนในการทําแผนกระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 15.46, 35.27, 41.84และ 64.78(เติมลายดอกไม) กรัมตอแผน มีคาใชจายหรือตนทุนประมาณ 2.670, 5.302 , 6.533 , 7.933 บาทตอแผน ตามลําดับ

4. ตนทุนตอแผนในการทําแผนกระดาษโดยเครื่องมือทําแผนกระดาษ จะมีตนทุนสูงกวาเพียงเล็กนอยเมื่อเปรียบเทียบกับการใชแรงงานคนทําแผนกระดาษ แตจะสามารถชดเชยไดเพราะเครื่องมือทําแผนกระดาษจะมีความสามารถทําแผนกระดาษไดตอวันสูงกวาคนทําแผนกระดาษ ดังนั้น รายไดตอวันเมื่อใชเครื่องมือทําแผนกระดาษจะสูงกวาเมื่อใชคนทําแผนกระดาษ

5. กระดาษสาที่ผลิตไดจะมีความสม่ําเสมอของเยื่อกระดาษสา และความแตกตางกันของน้ําหนักกระดาษสาแตละแผนอยูในเกณฑท่ียอมรับได และจะไดกระดาษที่มีความหนาที่สม่ําเสมอมากกวาการใชแรงงานคนทําแผนกระดาษ

6. กระดาษสาที่ผลิตไดจะเกิดรอยยนหรือข้ึนลายตามธรรมชาติและมีความสวยงามเชนเดียวกับกระดาษสาที่ทําดวยมือท่ีผลิตแบบชาวบาน

7. เครื่องมือทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือชนิดกึ่งอัตโนมัตินี้ยังสามารถนําไปประยุกตใชทําแผนกระดาษที่ทําดวยมือท่ีใชเยื่อจากตนพืชชนิดอื่น ๆ นํามาใชทําแผนกระดาษไดเปนอยางดีเชน เยื่อฟางเยื่อกลวยและเยื่อผักตบชวาเปนตน

ตารางที่ 4.1 การทดสอบทําแผนกระดาษสาขนาดน้ําหนักที่15.46 กรัมตอแผน

การทดสอบครั้งที่1 การทดลองครั้งที่ 2 จํานวนกระดาษสาที่ทํา (แผน)

15 15ปริมาณเยื่อเริ่มตนในระบบเครื่องทําแผนกระดาษสา (กรัม)

2,000 2,000

ปริมาณเยื่อท่ีใชเติม (กรัม) 1,000 1,000ปริมาณสารเคมี (ยูรามีน) เริ่มตน (กรัม) 50 50ปริมาณสารเคมี (ยูรามีน)ท่ีใชเติม (กรัม) 7 7ปริมาณน้ําในอางละลายเยื่อ (ลิตร) 400 400อัตราการไหลกอนทดสอบ (ลิตร/วินาที) 1.42 1.46อัตราการไหลหลังทดสอบ (ลิตร/วินาที) 1.51 1.51ความเร็วสายพานลําเลียงตะแกรง (m/s) 0.01 0.01

Page 59: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

50

ตารางที่ 4.2 แสดงน้ําหนักกระดาษสาแหงขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 15.46 กรัมตอแผน

แผนที่ การทดสอบครั้งท่ี 1น้ําหนักกระดาษ (g)

การทดสอบครั้งท่ี 2น้ําหนักกระดาษ (g)

1 14.96 14.412 14.42 13.933 14.98 14.314 16.63 14.155 15.66 14.506 15.93 14.627 15.74 16.558 15.85 15.209 15.27 15.4110 15.74 16.3611 16.83 15.4212 15.86 16.1513 15.37 15.6914 16.34 16.2115 15.94 16.55

Mean 15.70 15.23SD 0.639 0.928

CV% 4.070 6.093

Page 60: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

51

ตารางที่ 4.3 การทดสอบทําแผนกระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 35.27 กรัมตอแผน

การทดสอบครั้งท่ี1 การทดสอบครั้งท่ี2 การทดสอบครั้งท่ี3

จํานวนกระดาษสาที่ทํา (แผน) 20 20 20ปริมาณเยื่อเริ่มตนในระบบเครื่องทําแผนกระดาษสา (กรัม)

2,000 2,000 2,000

ปริมาณเยื่อท่ีใชเติม (กรัม) 2,700 2,600 2,600ปริมาณสารเคมี (ยูรามีน) เริ่มตน (กรัม) 50 50 50ปริมาณสารเคมี (ยูรามีน)ท่ีใชเติม (กรัม) 20 20 20ปริมาณน้ําในอางละลายเยื่อ (ลิตร) 400 400 400อัตราการไหลกอนทดสอบ (ลิตร/วินาที) 1.42 1.47 1.42อัตราการไหลหลังทดสอบ (ลิตร/วินาที) 1.54 1.50 1.45ความเร็วสายพานลําเลียงตะแกรง (m/s) 0.05 0.05 0.05

Page 61: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

52

ตารางที่ 4.4 แสดงน้ําหนักกระดาษสาแหงขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 35.27 กรัมตอแผน

แผนที่ การทดสอบครั้งท่ี 1น้ําหนักกระดาษ (g)

การทดสอบครั้งท่ี 2น้ําหนักกระดาษ (g)

การทดสอบครั้งท่ี 3น้ําหนักกระดาษ (g)

1 29.15 33.11 32.132 29.67 33.23 32.043 30.85 33.95 31.744 30.96 33.86 33.685 32.39 33.33 34.496 32.49 33.89 34.807 33.32 34.19 34.988 33.45 34.44 35.889 34.33 34.54 36.1610 35.68 35.80 36.1411 35.10 35.97 36.3112 37.11 36.33 36.1613 36.32 36.64 36.3814 36.95 36.34 36.3515 37.34 37.82 36.9316 37.60 37.16 37.1417 37.61 36.10 37.4918 38.14 36.91 37.0719 38.70 36.90 38.1620 38.86 36.74 35.97

Mean 34.80 35.51 35.50SD 3.096 1.515 1.844

CV% 8.897 4.266 5.194

Page 62: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

53

ตารางที่ 4.5 การทดสอบทําแผนกระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 41.48 กรัมตอแผน

การทดสอบครั้งที่1 การทดสอบครั้งที่2 การทดสอบครั้งที่3

จํานวนกระดาษสาที่ทํา (แผน) 15 15 15ปริมาณเยื่อเริ่มตนในระบบเครื่องทําแผนกระดาษสา (กรัม)

2,000 2,000 2,000

ปริมาณเยื่อท่ีใชเติม (กรัม) 2,400 2,400 2,400ปริมาณสารเคมีเริ่มตน (กรัม) 50 50 50ปริมาณสารเคมีท่ีใชเติม (กรัม) 14 14 14ปริมาณน้ําในอางละลายเยื่อ (ลิตร) 400 400 400อัตราการไหลกอนทดสอบ (ลิตร/วินาที) 1.48 1.46 1.45อัตราการไหลหลังทดสอบ (ลิตร/วินาที) 1.49 1.50 1.49ความเร็วสายพานลําเลียงตะแกรง(m/s) 0.038 0.038 0.038

Page 63: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

54

ตารางที่ 4.6 แสดงน้ําหนักกระดาษสาแหงขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 41.84 กรัมตอแผน

แผนที่ การทดสอบครั้งท่ี 1น้ําหนักกระดาษ (g)

การทดสอบครั้งท่ี 2น้ําหนักกระดาษ (g)

การทดสอบครั้งท่ี 3น้ําหนักกระดาษ (g)

1 38.59 41.52 39.072 39.46 41.17 38.713 39.59 41.30 39.214 39.29 42.84 40.255 40.50 43.41 41.006 41.41 42.37 41.747 41.55 42.28 42.938 41.89 42.95 41.879 41.64 42.57 42.1210 40.76 42.21 43.0211 40.96 54.72 41.7412 41.92 43.32 42.9113 44.77 42.28 43.3014 42.64 43.52 41.2915 47.96 44.52 44.34

Mean 41.52 42.80 41.22SD 2.346 3.257 1.669

CV% 5.650 7.610 4.049

Page 64: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

55

ตารางที่ 4.7 แสดงน้ําหนักกระดาษสาแหงขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 64.78 กรัมตอแผน (เติมลายดอกไม)

แผนที่ การทดสอบครั้งท่ี 1น้ําหนักกระดาษ (g)

1 65.372 60.703 68.454 60.725 63.176 62.767 66.148 63.809 68.6610 64.3411 67.8312 64.9213 63.9114 69.4115 61.59

Mean 64.78SD 2.846

CV% 4.393

Page 65: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

56

ตารางที่ 4.8 ผลการทดสอบเครื่องมือทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือกึ่งอัตโนมัติ

การทดสอบครั้งท่ี 1 2 3 4 5 6 7 8จํานวนแผน 15 15 20 20 20 15 15 15ความเร็วสายพานลําเลียงตะแกรง (m/sec)

0.10 0.10 0.05 0.05 0.05 0.038 0.038 0.038

Mean (g) 15.70 15.23 34.80 35.51 35.50 41.52 42.80 41.22Max (g) 16.83 16.55 38.86 37.82 38.16 47.96 45.72 45.34Min (g) 14.42 13.93 29.15 33.11 31.74 38.59 41.17 38.71SD 0.639 0.928 3.096 1.515 1.844 2.346 3.257 1.669CV% 4.070 6.093 8.897 4.266 5.194 5.650 7.610 4.049น้ําหนักเฉลี่ย (g) 15.46 35.27 41.84

การหาคาใชจายหรือตนทุนในการทํางานแผนกระดาษ และระยะเวลาการคืนทุน ของเครื่องมือทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือชนิดกึ่งอัตโนมัติ

การหาคาใชจายในการทํากระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 35.27 กรัม ตอแผน1. ราคาเครื่องทําแผนกระดาษสา 25,000 บาท2. ดอกเบี้ย 3 %

- อายุการใชงานของเครื่อง 10 ป - มูลคาซาก 10 % ของราคาเริ่มตน - การใชงานเครื่องโดยเฉลี่ย วันละ 8 ช่ัวโมง ทํางานเพียงปละ 10 เดือน - เครื่องสามารถผลิตกระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 35.27 กรัมไดในอัตรา 80 แผนตอช่ัวโมงหรือ ไดวันละ640 แผน- ราคาขายแผนกระดาษสาแผนละ 7 บาทตอแผน

Page 66: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

57

ตนทุนผันแปร

รายละเอียด อายุการใชงาน ราคาที่ซอมแซม คาสึกหรอ (ช่ัวโมง) หรือเปลี่ยนใหม (บาท) (บาท/ช่ัวโมง) 1. มอเตอรไฟฟา 4,000 800 0.2 2. เกียรทด 10,000 2,000 0.2 3. เฟอง 10,000 1,800 0.18 4. ลูกปน 3,000 3,600 1.2 5. โซ 4,800 2,000 0.42 6. สายพาน 2,400 840 0.35 7. อางละลายเยื่อ 2,400 500 0.21 8. คาจางแรงงาน 2 คน คนละ 120 บาท/วัน/คน 30 9. คาไฟฟา 10 หนวยตอวัน ราคาหนวยละ 3 บาท 3.7510. คาน้ําประปา 2,500 ลิตรตอวัน ราคาลูกบาศกเมตรละ 5 บาท 1.56311. คาเยื่อปอสา 84 กิโลกรัมตอวัน ราคากิโลกรัมละ 35 บาท 367.512. คาสารเคมี (ยูรามีน) 0.466 กิโลกรัมตอวัน ราคากิโลกรัมละ 300 บาท 17.475 รวมตนทุนผันแปร 423.048

ตนทุนคงที่1. คาเสื่อมราคา DP = (P-S)/L บาทตอป P = ราคาซื้อของเครื่อง = 25,000 บาท S = ราคาขายหรือคาคงเหลือ = 10 % ของราคาเริ่มตน = 25,000(10/100) = 2,500 บาท DP = ( 25,000 - 2,500 )/10 = 2,250 บาท/ป2. ดอกเบี้ย (Interest) 3 % ดอกเบี้ย = (3/100) x (25,000+2,500)/2 = 412.5 บาท/ป

ตนทุนคงที่ (Fixed Cost) = 2,250 + 412.5 = 2,662.5 บาท/ป

การใชงานเครื่องโดยเฉลี่ย วันละ 8 ช่ัวโมง ทํางานเพียงปละ 10 เดือน ในระยะเวลา 1 ป เครื่องจะทํางาน 8 x 30 x 10 = 2,400 ช่ัวโมง/ป

หรือ (80 x 8 x 30 x 10 ) = 192,000 แผน/ป

Page 67: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

58

คาใชจายท้ังหมด (บาท/แผน) = ตนทุนคงที่ (บาท/แผน) + ตนทุนผันแปร (บาท/แผน) = 2,662.5 (บาท/ป) + 5.288 (บาท/แผน) 192,000 (แผน/ป) = 5.302 บาท/แผนคาใชจายท้ังหมดเมื่อใชแรงงานคนทําแผนกระดาษสา

- ความสามารถของคนทําแผนกระดาษสาได 200 แผนตอคนตอวัน- ถาใช 2 คนผลิตจะสามารถผลิตได 400 แผนตอวัน

คาจางแรงงาน 2 คน คนละ 120 บาท / วัน / คน 240 บาท/วัน คาน้ําประปา 2,000 ลิตร ราคาลูกบาศกเมตรละ 5 บาท 10 บาท/วัน คาเยื่อปอสา 52 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 35 บาท 1,820 บาท/วัน รวมตนทุน 2,070 บาท/วัน

คาใชจายเมื่อใชแรงงานคนทําแผนกระดาษ = 5.175 บาท/แผน

ระยะเวลาการคืนทุน

ตารางที่ 4.9 การหาระยะเวลาการคืนทุนของเครื่องมือทําแผนกระดาษสาถาหากนําไปทําแผน กระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 35.27 กรัมตอแผน

กระดาษสา(แผน/ป)

ตนทุนคงที่(บาท/ป)

ตนทุนผันแปร

(บาท/ป)

ตนทุนรวม(บาท/ป)

ผลประโยชนท่ี

ไดรับ (บาท/ป)

ผลประโยชนสุทธิ (บาท/ป)

ระยะเวลาการคืนทุน

(ป)

50000100000150000192000200000250000300000

2662.52662.52662.52662.52662.52662.52662.5

264400 528800

7932001015296105760013220001586400

267062.5 531462.5 795862.51017958.51060262.51324662.51589062.5

350000 700000

10500001344000140000017500002100000

82937.5168537.5254137.5326041.5339737.5425337.5510937.5

0.3010.1480.0980.0770.0740.0590.049

Page 68: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

59

การหาคาใชจายในการทํากระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 41.48 กรัม ตอแผน1. ราคาเครื่องทําแผนกระดาษสา 25,000 บาท2. ดอกเบี้ย 3 %

- อายุการใชงานของเครื่อง 10 ป - มูลคาซาก 10 % ของราคาเริ่มตน - การใชงานเครื่องโดยเฉลี่ย วันละ 8 ช่ัวโมง ทํางานเพียงปละ 10 เดือน - เครื่องสามารถผลิตกระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 41.48 กรัมตอแผน ไดในอัตรา 60 แผน ตอช่ัวโมงหรือ ไดวันละ 480 แผน- ราคาขายแผนกระดาษสาแผนละ 8 บาท

ตนทุนผันแปร

รายละเอียด อายุการใชงาน ราคาที่ซอมแซม คาสึกหรอ (ช่ัวโมง) หรือเปลี่ยนใหม (บาท) (บาท/ช่ัวโมง) 1. มอเตอรไฟฟา 4,000 800 0.2 2. เกียรทด 10,000 2,000 0.2 3. เฟอง 10,000 1,800 0.18 4. ลูกปน 3,000 3,600 1.2 5. โซ 4,800 2,000 0.42 6. สายพาน 2,400 840 0.35 7. อางละลายเยื่อ 2,400 500 0.21 8. คาจางแรงงาน 2 คน คนละ 120 บาท/วัน/คน 30 9. คาไฟฟา 10 หนวยตอวัน ราคาหนวยละ 3 บาท 3.7510. คาน้ําประปา 2,000 ลิตรตอวัน ราคาลูกบาศกเมตรละ 5 บาท 1.2511. คาเยื่อปอสา 77 กิโลกรัมตอวัน ราคากิโลกรัมละ 35 บาท 367.512. คาสารเคมี (ยูรามีน) 0.434 กิโลกรัมตอวัน ราคากิโลกรัมละ 300 บาท 16.275 รวมตนทุนผันแปร 390.91

ตนทุนคงที่1. คาเสื่อมราคา DP = (P-S)/L บาทตอป P = ราคาซื้อของเครื่อง = 25,000 บาท S = ราคาขายหรือคาคงเหลือ = 10 % ของราคาเริ่มตน = 25,000(10/100) = 2,500 บาท

Page 69: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

60

DP = ( 25,000 - 2,500 )/10 = 2,250 บาท/ป2. ดอกเบี้ย (Interest) 3 % ดอกเบี้ย = (3/100) x (25,000+2,500)/2 = 412.5 บาท/ป

ตนทุนคงที่ (Fixed Cost) = 2,250 + 412.5 = 2,662.5 บาท/ป

การใชงานเครื่องโดยเฉลี่ย วันละ 8 ช่ัวโมง ทํางานเพียงปละ 10 เดือน ในระยะเวลา 1 ป เครื่องจะทํางาน 8 x 30 x 10 = 2,400 ช่ัวโมง/ป

หรือ (60 x 8 x 30 x 10 ) = 144,000 แผน/ป

คาใชจายท้ังหมด (บาท/แผน) = ตนทุนคงที่ (บาท/แผน) + ตนทุนผันแปร (บาท/แผน) = 2,662.5 (บาท/ป) + 6.515 (บาท/แผน) 144,000 (แผน/ป) = 6.533 บาท/แผน

คาใชจายท้ังหมดเมื่อใชแรงงานคนทําแผนกระดาษสา- ความสามารถของคนทําแผนกระดาษสา 200 แผนตอคนตอวัน- ถาใชแรงงานคน 2 คนผลิต จะสามารถผลิตได 400 แผนตอวัน

คาจางแรงงาน 2 คน คนละ 120 บาท / วัน / คน 240 บาท/วัน คาน้ําประปา 2,000 ลิตร ราคาลูกบาศกเมตรละ 5 บาท 10 บาท/วัน คาเยื่อปอสา 64 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 35 บาท 2,240 บาท/วัน รวมตนทุน 2,490 บาท/วัน

คาใชจายเมื่อใชแรงงานคนทําแผนกระดาษ = 6.225 บาท/แผน

Page 70: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

61

ระยะเวลาการคืนทุนตารางที่ 4.10 การหาระยะเวลาการคืนทุนของเครื่องมือทําแผนกระดาษสาถาหากนําไปทําแผน กระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 41.48 กรัมตอแผน

กระดาษสา(แผน/ป)

ตนทุนคงที่(บาท/ป)

ตนทุนผันแปร

(บาท/ป)

ตนทุนรวม(บาท/ป)

ผลประโยชนท่ี

ไดรับ (บาท/ป)

ผลประโยชนสุทธิ (บาท/ป)

ระยะเวลาการคืนทุน

(ป)

75000100000125000144000150000175000200000

2662.52662.52662.52662.52662.52662.52662.5

48862565150081437593816097725011401251303000

491287.5654162.5817037.5940822.5979912.51142787.51305662.5

600000 80000010000001152000120000014000001600000

108712.5145837.5182962.5211177.5220087.5257212.5294337.5

0.2290.1710.1370.1180.1140.0970.085

การหาคาใชจายในการทําแผนกระดาษสาชนิดเติมลายดอกไมขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 64.78 กรัมตอแผน1. ราคาเครื่องทําแผนกระดาษสา 25,000 บาท2. ดอกเบี้ย 3 %

- อายุการใชงานของเครื่อง 10 ป - มูลคาซาก 10 % ของราคาเริ่มตน - การใชงานเครื่องโดยเฉลี่ย วันละ 8 ช่ัวโมง ทํางานเพียงปละ 10 เดือน - เครื่องสามารถผลิตกระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 64.78 กรัมตอแผน (เติมลายดอกไม)ได ในอัตรา 20 แผนตอช่ัวโมง หรือไดวันละ 160 แผน- ราคาขายกระดาษสาชนิดเติมลายดอกไมแผนละ 14 บาท

Page 71: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

62

ตนทุนผันแปร

รายละเอียด อายุการใชงาน ราคาที่ซอมแซม คาสึกหรอ (ช่ัวโมง) หรือเปลี่ยนใหม (บาท) (บาท/ช่ัวโมง) 1. มอเตอรไฟฟา 4,000 800 0.2 2. เกียรทด 10,000 2,000 0.2 3. เฟอง 10,000 1,800 0.18 4. ลูกปน 3,000 3,600 1.2 5. โซ 4,800 2,000 0.42 6. สายพาน 2,400 840 0.35 7. อางละลายเยื่อ 2,400 500 0.21 8. คาจางแรงงาน 2 คน คนละ 120 บาท/วัน/คน 30 9. คาไฟฟา 10 หนวยตอวัน ราคาหนวยละ 3 บาท 3.7510. คาน้ําประปา 1,000 ลิตรตอวัน ราคาลูกบาศกเมตรละ 5 บาท 0.62511. คาเยื่อปอสา 26 กิโลกรัมตอวัน ราคากิโลกรัมละ 35 บาท 113.7512. คาสารเคมี (ยูรามีน) 0.178 กิโลกรัมตอวัน ราคากิโลกรัมละ 300 บาท 6.675 รวมตนทุนผันแปร 157.56

ตนทุนคงที่1. คาเสื่อมราคา DP = (P-S)/L บาทตอป P = ราคาซื้อของเครื่อง = 25,000 บาท S = ราคาขายหรือคาคงเหลือ = 10 % ของราคาเริ่มตน = 25,000(10/100) = 2,500 บาท DP = ( 25,000 - 2,500 )/10 = 2,250 บาท/ป2. ดอกเบี้ย (Interest) 3 % ดอกเบี้ย = (3/100) x (25,000+2,500)/2 = 412.5 บาท/ป

ตนทุนคงที่ (Fixed Cost) = 2,250 + 412.5 = 2,662.5 บาท/ป

การใชงานเครื่องโดยเฉลี่ย วันละ 8 ช่ัวโมง ทํางานเพียงปละ 10 เดือน ในระยะเวลา 1 ป เครื่องจะทํางาน 8 x 30 x 10 = 2,400 ช่ัวโมง/ป

หรือ (20 x 8 x 30 x 10 ) = 48,000 แผน/ป

Page 72: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

63

คาใชจายท้ังหมด (บาท/แผน) = ตนทุนคงที่ (บาท/แผน) + ตนทุนผันแปร (บาท/แผน) = 2,662.5 (บาท/ป) + 7.878 (บาท/แผน) 48,000 (แผน/ป) = 7.933 บาท/แผน

คาใชจายท้ังหมดเมื่อใชแรงงานคนทําแผนกระดาษ- ความสามารถของคนทําแผนกระดาษสาใสลายดอกไม 100 แผนตอคนตอวัน- ถาหากใช 2 คนผลิตจะสามารถผลิตได 200 แผนตอวัน

คาจางแรงงาน 2 คน คนละ 120 บาท / วัน / คน 240 บาท/วัน คาน้ําประปา 2,000 ลิตร ราคาลูกบาศกเมตรละ 5 บาท 10 บาท/วัน

คาเยื่อปอสา 32 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 35 บาท 1,120 บาท/วัน รวมตนทุน 1,370 บาท/วัน

คาใชจายเมื่อใชแรงงานคนทําแผนกระดาษ = 6.850 บาท/แผน

ระยะเวลาการคืนทุนตารางที่ 4.11 ระยะเวลาการคืนทุนของเครื่องมือทําแผนกระดาษถาหากนําไปผลิตกระดาษสา

ชนิดเติมลายดอกไมขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 64.78 กรัมตอแผน (เติมลายดอกไม)กระดาษสา(แผน/ป)

ตนทุนคงที่(บาท/ป)

ตนทุนผันแปร

(บาท/ป)

ตนทุนรวม(บาท/ป)

ผลประโยชนท่ี

ไดรับ (บาท/ป)

ผลประโยชนสุทธิ (บาท/ป)

ระยะเวลาการคืนทุน

(ป)

20000300004000048000500006000070000

2662.52662.52662.52662.52662.52662.52662.5

157560236340315120378144393900472680551420

160222.5239002.5317782.5380806.5396562.5475342.5554122.5

280000420000560000672000700000840000980000

119777.5180997.5242217.5291193.5303437.5364657.5425877.5

0.2090.1380.1030.0860.0820.0690.059

Page 73: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

64

Page 74: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

65

Page 75: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

66

Page 76: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

67

Page 77: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

68

Page 78: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

69

รูปที่ 4.6 เครื่องมือทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือชนิดกึ่งอัตโนมัติ

รูปที่ 4.7 เครื่องมือทําแผนกระดาษ และระบบการเติมเยื่อ

รูปที่ 4.8 การทํางานของเครื่องตีเยื่อ และชุดกระพอตักน้ําเยื่อ

รูปที่ 4.9 การทํางานของหัวจายน้ําเยื่อ และชุดกระพอตักน้ําเยื่อ

Page 79: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

70

รูปที่ 4.10 การไหลของน้ําเยื่อออกจากหัวจายน้ําเยื่อ

รูปที่ 4.11 การลําเลียงตะแกรงเขามารับน้ําเยื่อจากหัวจายน้ําเยื่อ

รูปที่ 4.12 การจับตัวของเยื่อสา (Forming) ในตะแกรงสําหรับทําแผนกระดาษ หลังจากผานหัวจายน้ําเยื่อแลว

รูปที่ 4.13 เยื่อสาจับตัวเปนแผนกระดาษสาแลว หลังจากยกตะแกรงออกจาก สายพานลําเลียงตะแกรง

Page 80: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

71

รูปที่ 4.14 การทําแผนกระดาษสาชนิดเติมลายดอกไม

รูปที่ 4.15 เยื่อสาจับตัวเปนกระดาษสาชนิดเติมลายดอกไม หลังจาก ยกตะแกรงออกจากสายพานลําเลียงตะแกรง

Page 81: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

72

บทที่ 5การวิจัยและพัฒนาการออกแบบสรางเครื่องอบแหง

กระดาษสาที่ทําดวยมือ

5.1 อุปกรณที่ใชในการสรางและการทดสอบเครื่องอบแหงกระดาษสาที่ทําดวยมือมีดังนี้1. เครื่องมือท่ีใชในการสรางเครื่องลอกเปลือกสา ไดแก Drafting Table , Milling

Machine ,Shaping Machine, Boring Machine, Grinding Machine, Engine Lathe, Drilling Machine, Sawing Machine, Welding Machine, Gas cutting Machine, Shearing Machine, Bending Machine

2. เยื่อสาเปยกที่จับตัวเปนแผนกระดาษสาแลว ท่ีอยูบนตะแกรงทําแผนกระดาษสา ขนาด (กวาง X ยาว ) 55 X 80 ซ.ม.

3. เครื่องวัดอุณหภูมิ ชนิด Data Logger เพื่อบันทึกอุณหภูมิภายในตูอบ4. ตูอบหาความชื้น5. นาฬิกาจับเวลา6. เครื่องช่ังน้ําหนักแบบดิจิตอล ขนาด 3 กิโลกรัม7. สายเทอรโมคัปเปล Type K8. Watthour meter สําหรับวัดปริมาณการใชไฟฟา9. แกลบ

5.2 วิธีการออกแบบสราง เคร่ืองอบแหงกระดาษสาที่ทําดวยมือ เครื่องอบแหงกระดาษสาดังแสดงในรูปที่ 5.1 ถึงรูปที่ 5.3 จะเปนเครื่องอบแหงกระดาษสาที่ทําดวยมือท่ีใชตะแกรงตาขายพลาสติกสําหรับทําแผนกระดาษสาขนาด (กวาง X ยาว) 55 X 80 ซ.ม. โดยใชแกลบเปนเชื้อเพลิง สาเหตุท่ีเลือกใชแกลบเปนเชื้อเพลิง เพราะในปจจุบัน พลังงานจากไฟฟา แกสหุงตม (LPG) และน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดตาง ๆ มีราคาแพง และมีแนวโนมท่ีจะมีราคาสูงข้ึนตลอดเวลา ซึ่งจะไมเหมาะสมที่จะนํามาใชเปนเชื้อเพลิงของเครื่องอบแหงกระดาษสาเพราะจะทําใหตนทุนการอบแหงกระดาษสาสูง การใชงานของเครื่องอบแหงกระดาษสานี้จะใชงานตามทองถิ่นชนบทตาง ๆ ของประเทศ ซึ่งวัสดุเหลือท้ิงทางการเกษตรมีอยูเปนจํานวนมาก ดังนั้นจึงไดพิจารณาถึงการนําแกลบซึ่งเปนวัสดุเหลือท้ิงทางการเกษตรประเภทหนึ่ง นํามาใชเปนเชื้อเพลิงของเครื่องอบแหงกระดาษสา เพราะแกลบสามารถหาไดงายมีอยูในทั่วทุกภาคของประเทศ และแกลบสามารถปอนและควบคุมอัตราการปอนงายกวาวัสดุเหลือท้ิงทางการเกษตรประเภทอื่น ๆ เครื่องอบแหงกระดาษสาที่ทําดวยมือจะมีกลไกและสวนประกอบตาง ๆ ดังนี้

1. ตูอบชั้นใน ตูอบชั้นในมีจํานวน 2 ตู ทําจากเหล็กชุบซิงค ซึ่งมีคุณสมบัติตานทานการเกิดสนิมเหล็กดีกวาเหล็กธรรมดา ตูอบชั้นในมีขนาด (กวาง X ยาว X สูง ) 0.68 X 1.00 X 1.40 เมตร ภายในตูอบชั้นในจะทําเปนช้ันสําหรับวางตะแกรงทํากระดาษสาเพื่ออบเยื่อสาเปยกที่จับตัวเปนแผนกระดาษสาใหแหง สามารถใสตะแกรง

Page 82: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

73

ไดตูละ 17 ตะแกรง โดยมีระยะหางระหวางชั้นตะแกรง เทากับ 6.5 ซ.ม. เครื่องอบกระดาษสานี้สามารถอบกระดาษสาไดท้ังหมดครั้งละ 34 แผน บริเวณรอบนอกของตูช้ันใน จะติดครีบเหล็กเพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวสัมผัสกับอากาศรอน ตูช้ันในนี้จะสัมผัสกับอากาศรอน ท้ังหมด หาดาน ท่ีประตูดานหนาของแตละตูจะติดพัดลมจํานวน 3 ตัว มีขนาดกําลังตัวละ 45 วัตต พัดลมสองตัวลาง จะทําหนาท่ีเปาอากาศจากภายนอกเขาไปภายในตูเพื่อทําใหเกิดการกระจายความรอนภายในตูใหสม่ําเสมอ พัดลมตัวบนใชสําหรับดูดเอาอากาศชื้นภายในตูอบออกทิ้งภายนอก

2. ตูอบชั้นนอก ตูอบชั้นนอกสรางจากอิฐมอญ และปูนซีเมนต กอข้ึนเปนผนังตู อิฐมอญมีคุณสมบัติเปนฉนวนปองกันการสูญเสียความรอนออกสูภายนอกไดเปนอยางดี อากาศรอนที่เกิดจากการเผาไหมแกลบจะลอยข้ึนผานชองวางระหวางตูช้ันนอกและตูช้ันใน และจะคอย ๆ ระบายออกทางปลองระบายควันที่ติดตั้งไวท่ีสวนบนของตูช้ันนอกนี้ ระหวางที่อากาศรอนอยูในชองวางระหวางตูช้ันนอก และตูช้ันใน อากาศรอนก็จะถายเทความรอนเขาสูตูช้ันใน ทําใหภายในตูช้ันในรอน โดยชองวางระหวางตูช้ันนอกและตูช้ันในมีระยะประมาณ 15 – 20 ซ.ม. เพื่อเปนที่กักอากาศรอน และทางผานของอากาศรอน ท่ีระบายออกทางปลองระบายควัน

3. เตาเผาแกลบ เตาเผาแกลบจะอยูสวนลางของตูช้ันใน แกลบจะถูกเผาไหมท่ีบริเวณนี้ ความรอนและอากาศรอนที่เกิดจากการเผาไหม จะลอยขึ้นขางบน โดยผานไปตามชองวางระหวางตูช้ันนอกและตูช้ันใน และจะระบายออกสูปลองระบายควันที่ติดตั้งไวทางดานบนตู แกลบเมื่อเผาไหมหมดแลวข้ีเถาแกลบก็จะตกลงสูพื้นเตาซึ่งจะตองใชคนโกยออก ระหวางการเผาไหมแกลบจะมีการเติมแกลบเปนชวง ๆ ตลอดเวลาเพื่อใหไดอุณหภูมิภายในตูอบไดตามที่ตองการ

4. เคร่ืองปอนแกลบ เครื่องปอนแกลบทําหนาท่ีโรยแกลบลงสูเตาเผาแกลบ เพื่อใหแกลบติดไฟอยางตอเนื่องตลอดเวลา และเพื่อใหไดอุณหภูมิภายในตูอบไดตามอุณหภูมิท่ีตองการ เครื่องปอนแกลบจะประกอบดวยถังใสแกลบจํานวน 2 ถัง แตละถังจะสามารถบรรจุแกลบไดประมาณ 20 กิโลกรัม และตะแกรงโยกทําหนาท่ี โรยแกลบลงสูเตาเผาแกลบ ตะแกรงโยกขับเคลื่อนดวยมอเตอรไฟฟาขนาด 0.5 แรงมา มอเตอรนี้จะทํางานอัตโนมัติโดยจะถูกควบคุมการทํางานดวยชุดควบคุมแบบตั้งเวลา จึงสามารถตั้งคาความถี่ และระยะเวลาในการปอนแกลบไดตามความตองการ

5.3 วิธีการทดสอบเครื่องอบแหงกระดาษสาที่ทําดวยมือ การทดสอบเครื่องอบแหงกระดาษสาที่ทําดวยมือมีวิธีการทดสอบตาง ๆ ดังตอไปนี้

1. การทดสอบหาอัตราการอบแหงกระดาษสาที่ทําดวยมือ โดยใชวิธีการตากแดด เพื่อนําขอมูลท่ีไดไปเปรียบเทียบกับขอมูลการอบแหงกระดาษดวยเครื่องอบแหง

2. การทดสอบหาอัตราการอบแหงกระดาษสา โดยใชเครื่องอบแหง หาระยะเวลาในการอบแหงกระดาษสาจนแหง เพื่อนําขอมูลท่ีไดไปคํานวณหาคาใชจาย หรือตนทุนในการอบแหง (บาทตอแผน)

Page 83: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

74

5.3.1 วิธีการทดสอบหาอัตราการอบแหงกระดาษสาที่ทําดวยมือโดยใชวิธีการตากแดด1. ช่ังน้ําหนักตะแกรงเปลา จํานวน 3 ตะแกรง2. ทําแผนกระดาษสาจากตะแกรงทั้ง 3 ดวยเครื่องมือทําแผนกระดาษสา3. นําตะแกรงออกจากสายพานลําเลียงของเครื่องมือทําแผน แลวตั้งท้ิงไวใหสะเด็ดน้ํา นาน

ประมาณ 15 นาที4. นําตะแกรงทั้ง 3 มาชั่งน้ําหนัก5. นําตะแกรงไปตากแดด โดยใหตะแกรงวางเอียงทํามุม ประมาณ 60 องศา หันหนาตะแกรงใหรับ

แสงแดดมากที่สุด พรอมบันทึกคาอุณหภูมิของแสงแดดตลอดระยะเวลาการอบ เริ่มตนจับเวลาการอบแหง

6. ช่ังน้ําหนักตะแกรงทั้ง 3 ทุก ๆ 1 ช่ัวโมง7. รอจนกระดาษแหง และบันทึกเวลาที่ใชท้ังหมด

5.3.2 วิธีการทดสอบหาอัตราการอบแหงกระดาษสาโดยใชเครื่องอบแหงกระดาษสา1. ช่ังน้ําหนักตะแกรงเปลา จํานวน 34 ตะแกรง2. เดินสายเทอโมคัปเปลติดตั้งตามตําแหนงตาง ๆ ท่ีจะทําการวัดอุณหภูมิภายในตูไดแก จุดบน

จุดกลางและจุดลางของทั้งสองตู3. ทําแผนกระดาษสาจากตะแกรงทั้ง 34 ตะแกรงที่เตรียมไว โดยใชเครื่องทําแผนกระดาษสา4. นําตะแกรงออกจากสายพานลําเลียงของเครื่องมือทําแผนแลวตั้งท้ิงไวประมาณ 15 นาที เพื่อ

ใหสะเด็ดน้ํา5. จุดเตาเผาแกลบเพื่อเตรียมอุณหภูมิในตูใหไดประมาณ 70 – 80 องศาเซลเซียส6. ช่ังน้ําหนักตะแกรงกอนนําเขาตูอบ7. นําตะแกรงเขาตูอบ เริ่มตนจับเวลา และบันทึกอุณหภูมิภายในตูอบ8. นําตะแกรงตามตําแหนงตาง ๆ ภายในตูอบท่ีกําหนดไว ตูละ 5 ตําแหนง ออกมาชั่งน้ําหนัก

ทุก ๆ 30 นาที9. รอจนกระดาษแผนสุดทายแหง บันทึกเวลาที่ใชท้ังหมด น้ําหนักแกลบที่ใชท้ังหมด และจํานวน

ยูนิตของไฟฟาท่ีใชท้ังหมด5.4 วิธีการคํานวณคาใชจายหรือตนทุนในการอบแหงกระดาษสา (บาทตอแผน) และระยะเวลาในการคืนทุน

ของเครื่องอบแหงกระดาษสาที่ทําดวยมือการคิดคาใชจายในการอบกระดาษสาของเครื่องอบแหงกระดาษสาและระยะเวลาการคืนทุนของเครื่องมีดังตอไปนี้1. การคํานวณคาเสื่อมราคาของเครื่องอบแหงกระดาษสาสามารถคํานวณไดดังนี้

LSPDP )( −

=

เมื่อ DP = คาเสื่อมราคา (บาท/ป)

Page 84: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

75

P = ราคาซื้อของเครื่อง (บาท)S = ราคาขายหรือคาคงเหลือเมื่อเครื่องอบแหงกระดาษสาหมดอายุ (บาท)L = อายุการปฏิบัติงานของเครื่องอบแหงกระดาษสา (ป)

5 การคํานวณดอกเบี้ยของการลงทุนซื้อเครื่องอบแหงกระดาษสามารถคํานวณไดดังนี้

( )[ ]2/)sPiI +=

เมื่อ I = คาดอกเบี้ยคงที่ตอป (บาท)i = อัตราดอกเบี้ย (ทศนิยม)P = ราคาซื้อของเครื่อง (บาท)s = ราคาขายหรือคาคงเหลือเมื่อเครื่องอบแหงกระดาษสาหมดอายุ (บาท)

6 การคํานวณหาตนทุนคงที่ตอป (Total annual fixed cost) สามารถคํานวณไดดังนี้

IDPAFC +=

เมื่อ AFC = ตนทุนคงที่ตอป (บาท)DP = คาเสื่อมราคา (บาท/ป)I = คาดอกเบี้ยคงที่ตอป (บาท)

7 การคํานวณคาใชจายในการทํางานของเครื่องอบแหงกระดาษสาตอป (Total annual operating cost)สามารถคํานวณไดดังนี้

FRMAOC +=

เมื่อ AOC = คาใชจายในการทํางานของเครื่องอบแหงกระดาษสาตอป (บาท)RM = คาซอมบํารุงรักษาเครื่องอบแหงกระดาษสาF = คาไฟฟา (บาท/ป)

8 การคํานวณตนทุนรวมในการทํางานของเครื่องอบแหงกระดาษสาตอป สามารถคํานวณไดดังนี้

AOCAFCTAC +=

เมื่อ TAC = ตนทุนรวมในการทํางานของเครื่องอบแหงกระดาษสาตอป (บาท)AFC = คาใชจายคงที่ตอป (บาท)AOC = คาใชจายในการทํางานของเครื่องอบแหงกระดาษสาตอป (บาท)

Page 85: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

76

9 การคิดตนทุนและระยะเวลาการคืนทุนของเครื่องอบแหงกระดาษสา• ตนทุนคงที่ คือคาผลรวมของคาเสื่อมราคาเครื่องและคาดอกเบี้ยของการลงทุนซื้อเครื่องอบแหง

กระดาษสา• ตนทุนผันแปร คือคาผลรวมของคาซอมแซม คาบํารุงรักษา คาไฟฟา• ตนทุนรวม คือผลรวมของตนทุนคงที่กับตนทุนผันแปร• ผลประโยชนท่ีไดรับ คิดจาก ราคาขายกระดาษสาตอแผนคูณกับจํานวนแผนกระดาษสาตอปท่ีผลิตได• ผลประโยชนสุทธิ คือผลตางระหวางผลประโยชนท่ีไดรับกับตนทุนรวม• ระยะเวลาคืนทุน คือผลหารระหวางราคาซื้อของเครื่องอบแหงกระดาษสากับผลประโยชนสุทธิ

5.5 ผลการทดสอบและวิจารณ สภาพการทํางานโดยทั่ว ๆ ไปของเครื่องอบแหงกระดาษสาที่ทําดวยมือ อยูในเกณฑดี สามารถอบแหงกระดาษสาที่ทําดวยมือไดตามตองการ เครื่องอบแหงกระดาษสานี้สามารถทํางานไดอยางตอเนื่องตลอดทั้งวันหรืออาจทําการอบแหงกระดาษสาตอเนื่องไปจนถึงตอนกลางคืนก็ได โดยกลไกการทํางานของเครื่องอบแหงจะไมเกิดการ Overload เพราะชิ้นสวนกลไกที่เปนช้ินสวนเคลื่อนที่มีนอยมาก การออกแบบตูอบแหงจะมีลักษณะของตูอบแหงเปนแบบตูอบแหงสองชั้น โดยมีตูช้ันในซอนอยูในตูช้ันนอก ตูช้ันในทําจากเหล็กชุบซิงคติดครีบนําความรอนภายนอกรอบตูอบแหง สวนตูช้ันนอกทําเปนผนังอิฐมอญกอดวยปูนซีเมนต ซึ่งจะเปนฉนวนกันการสูญเสียความรอนออกสูภายนอกไดเปนอยางดี ไมจําเปนตองมีฉนวนกันการสูญเสียความรอนหุมภายนอกตูอีกจึงทําใหตนทุนในการสรางตูอบแหงต่ํา อากาศรอนที่เกิดจากการเผาไหมแกลบจะอยูในชองวางระหวางตูช้ันนอก และ ตูช้ันใน โดยจะถายเทความรอนเขาไปสูภายในตูอบแหงช้ันใน สวนการสูญเสียความรอนผานผนังอิฐของตูช้ันนอกนี้นอยมาก โดยสังเกตที่ผนังอิฐภายนอกปรากฏวาผนังอิฐจะอุน ๆ เทานั้น ความรอนท่ีสูญเสียไปเปนสวนใหญคือความรอนที่ตามไปกับอากาศรอนที่เกิดจากการเผาไหมแกลบ ท่ีระบายออกไปทางปลองระบายควันเทานั้น การติดไฟครั้งแรกของแกลบในเตาเผาแกลบจําเปนตองใชน้ํามันเครื่องท่ีใชแลวหรือน้ํามันโซลาลาดแกลบ เพื่อใหแกลบจุดติดไฟงาย เมื่อแกลบติดไฟดีแลว จึงเดินเครื่องปอนแกลบเพื่อใหแกลบลุกอยางตอเนื่องตลอดเวลา ผลการทดสอบเมื่อแกลบจุดติดไฟในครั้งแรกแลว แกลบก็สามารถลุกไดอยางตอเนื่องตลอดเวลาไมมีการดับตราบเทาท่ีมีการปอนแกลบลงในเตาเผาแกลบ การปอนแกลบลงในเตาเผาแกลบนี้ จะไมไดทําการปอนแกลบอยางตอเนื่อง แตจะตองทําการปอนแกลบเปนชวง ๆ และในปริมาณแกลบที่กําหนด ถาหากเปนการปอนแกลบตอเนื่องตลอดเวลา แกลบจะลุกติดไฟไมทัน แกลบที่กําลังปอนลงไปจะไปทับแกลบที่กําลังลุกไหม ซึ่งจะทําใหแกลบดับ จึงตองทําการปอนแกลบเปนชวง ๆ เพื่อใหระยะเวลาแกลบไดลุกติดไฟไปชวงหนึ่งกอน จนแกลบเกือบมอดเปนขี้เถา จึงปอนแกลบเติมเขาไปใหมอีก ในปริมาณแกลบที่กําหนด ซึ่งจะตองไมมากเกินไป ถาหากมากเกินไป แกลบที่ปอนเขาไปจะไปทับแกลบที่กําลังลุกไหมหมด ซึ่งจะทําใหแกลบดับ แกลบที่ปอนเขาไปใหมจะลุกติดไฟตอ รอจนแกลบนี้ลุกไหมจนเกือบมอดจึงปอนแกลบเขาไปใหมอีก การปอนแกลบจึงมีลักษณะเชนนี้ตลอดเวลาที่เดินเครื่องอบแหงกระดาษสา การกําหนดชวงเวลาในการปอน และ ปริมาณแกลบที่เติมลงไปในเตาเผาแกลบนั้นจะสามารถกําหนดไดโดยการตั้งเวลาที่ชุดควบคุมเวลา (Timer) ในการทดสอบครั้งนี้ไดตั้งชุดควบคุมเวลาใหมอเตอรปอนแกลบทํางานทุก ๆ 10 นาที และปอนแกลบลงเตาเผาแกลบนาน 40 วินาที

Page 86: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

77

ซึ่งจะไดอัตราการปอนแกลบเฉลี่ย 1.56 กิโลกรัมตอนาที โดยอุณหภูมิภายในตูช้ันในจะมากหรือนอยจะขึ้นอยูกับอัตราการปอนแกลบ และความถี่ของการปอนแกลบเปนสําคัญ ตารางที่ 5.2 และ ตารางที่ 5.3 แสดงอุณหภูมิภายในตูอบแหงขณะทําการอบกระดาษสา ณ.ตําแหนง บน, กลาง, และลาง ของตูอบแหงตูท่ี1 และตูท่ี 2 ตามลําดับ เนื่องจากเตาเผาแกลบอยูดานลางของตูช้ันใน ดังนั้นบริเวณดานลางภายในตูช้ันใน จะมีอุณหภูมิสูงกวาบริเวณอื่น ๆ ภายในตู ซึ่งบริเวณดานลางภายในตูอบแหงตูท่ี1 และตูท่ี2 จะมีอุณหภูมิเฉลี่ย 81.78 และ 81.46 องศาเซลเซียส ตามลําดับ บริเวณดานบนตู จะเปนอีกบริเวณหนึ่งท่ีมีอุณหภูมิสูงแตจะมีอุณหภูมิต่ํากวาบริเวณดานลางตูอบแหง สาเหตุเนื่องจากอากาศรอนจะไปรวมตัวกันอยูบริเวณดานบนของชองวางระหวางตูช้ันใน และตูช้ันนอก โดยอากาศรอนนี้จะคอย ๆ ระบายออกไปทางปลองระบายควันที่ติดตั้งไวสวนบนของตูช้ันนอก ดังนั้นจึงมีการถายเทความรอนใหเขาไปในตูช้ันในในบริเวณสวนบนตูมากกวาบริเวณกลางตู จึงทําใหดานบนภายในตูอบแหงมีอุณหภูมิสูง ซึ่งบริเวณดานบนของตูอบแหงตูท่ี 1 และตูท่ี 2 จะมีอุณหภูมิเฉลี่ย 69.53 และ 69.92 องศาเซลเซียส ตามลําดับ สวนบริเวรตรงกลางตูจะมีอุณหภูมิต่ําสุด โดยบริเวณกลางตูของตูอบตูท่ี 1 และตูท่ี 2 จะมีอุณหภูมิเฉลี่ย 67.57 และ 59.29 องศาเซลเซียสตามลําดับ จากการทดสอบยังพบอีกวา ไอน้ําหรือความชื้นที่ระเหยออกมาจากแผนกระดาษจะสะสมอยูบริเวณกลางตูเพราะ ระบายออกมาจากภายในตะแกรงยากเนื่องจากชองวางระหวางตะแกรงมีนอยมากขอบของตะแกรงจะเปนตัวกั้น อากาศรอน และความชื้นไมใหไหลผานตะแกรงออกมาโดยงาย รูปที่ 5.10 เปนกราฟของอุณหภูมิบริเวณกลางตู ในตูอบ ตูท่ี 1 และตูท่ี 2 เปการทดสอบวัดอุณหภูมิภายในตูท่ีเปนตูเปลา ยังไมไดใสตะแกรงอบกระดาษสา โดยบริเวณกลางตูของตูอบตูท่ี 1 และตูท่ี 2 จะมีอุณหภูมิเฉลี่ย 85.11 และ86.20องศาเซลเซียส ตามลําดับ แตเมื่อใสตะแกรงอบกระดาษสาเขาไปเต็มตูแลว กระดาษจะมีการดึงความรอนเขาไปใชระเหยน้ําออกจากกระดาษ และมีการสะสมความชื้นบริเวณกลางตูจึงทําใหอุณหภูมิกลางตูลดลงไปประมาณ20 องศาเซลเซียส รูปที่ 5.11 และรูปที่ 5.12 เปนกราฟของอุณหภูมิขณะอบแหงกระดาษสาบริเวณ บน ,กลาง และ ลาง ตูอบแหงตูท่ี 1 และตูท่ี 2 ตามลําดับ สาเหตุท่ีกราฟมีลักษณะเปนลูกคลื่น ข้ึน ๆ ลง ๆ เปนเพราะมีการเปดตูอบเพื่อนําตะแกรงตามจุดตาง ๆ ออกมาชั่งน้ําหนัก ทุก ๆ 30 นาที แลวนําขอมูลไปคํานวณหาอัตราการอบแหงกระดาษสา ในการที่อุณหภูมิบริเวณดานลางภายในตูอบแหงมีอุณหภูมิสูงกวาบริเวณอื่น ๆ อาจแกไขไดโดยเพิ่มพัดลมเปาอากาศจากภายนอกเขาไปที่ดานลางตู เพิ่มอีก 1 – 2 ตัว จากเดิมท่ีติดตั้งไว 2 ตัว อาจมีกําลังลมไมพอท่ีจะพาความรอนบริเวณดานลางตู ใหกระจายความรอนออกไปยังบริเวณอื่น ๆ ภายในตูอบแหงได รูปที่ 5.13 และรูปที่ 5.14 เปนกราฟแสดงอัตราการลดความชื้นของกระดาษสาตามตําแหนงตางๆ ภายในตูอบแหงตูท่ี1 และตูท่ี 2 ตามลําดับ โดยตะแกรงที่ 1 เปนตะแกรงที่อยูดานบนสุดของตูอบแหงตะแกรงที่ 2 จะอยูต่ําลงมาจากตะแกรงที่ 1 โดยหางกัน 3 ตะแกรง ไลลงมาอยางนี้จน ถึงตะแกรงที่ 5 ซึ่งเปนตะแกรงดานลางสุด ความชื้นของกระดาษสากอนนําเขาตูอบแหง มีความชื้นประมาณ 86 – 91 % มาตราฐานเปยก ผลการทดสอบอบแหงกระดาษสา ปรากฏวา ตะแกรงที่ 5 ซึ่งเปนตะแกรงดานลางสุด กระดาษในตะแกรงจะแหงเร็วท่ีสุด ในเวลาเพียง 30 นาที กระดาษแหงเหลือความชื้นประมาณ 4.56 – 6.51 % มาตราฐานเปยกเหมือนกันทั้งสองตูอบแหง สาเหตุเปนเพราะบริเวณดานลางตูอบแหงมีอุณหภูมิสูงกวาบริเวณอื่น ๆ กระดาษจึงแหงเร็วท่ีสุด ตะแกรงที่กระดาษแหงในเวลาตอมา คือ ตะแกรงที่อยูบริเวณดานบนตู สําหรับตูอบตูท่ี 2 กระดาษแหงเหลือความชื้นประมาณ 5.23 % มาตราฐานเปยก จะแหงในเวลา 60 นาที สวนตูอบตูท่ี 1 จะมีท้ังตะแกรงที่

Page 87: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

78

อยูบริเวณดานบนตู และตะแกรงที่อยูเหนือตะแกรงลางสุดกระดาษแหงเหลือความชื้นประมาณ 4.65 – 3.95 %มาตราฐานเปยก จะแหงในเวลา 60 นาที สวนตะแกรงที่กระดาาสาแหงชาท่ีสุดจะเปนตะแกรงที่อยูบริเวณกลางตูอบแหง ซึ่งจะเหมือนกันทั้งสองตูอบแหง กระดาษสาในตะแกรงจะแหงเหลือความชื้นประมาณ 4.65 – 6.82 %มาตราฐานเปยก จะแหงในเวลา 90 นาที เครื่องอบแหงกระดาษสาที่ทําดวยมือจะสามารถอบแหงกระดาษสาที่อยูในตะแกรงทําแผนกระดาษ กระดาษสาจะแหงในเวลาที่ไมเทากัน ท้ังนี้ข้ึนอยูกับตําแหนงของตะแกรงภายในตูอบแหง สาเหตุเปนเพราะอุณหภูมิภายในตูอบแหงยังมีการกระจายอุณหภูมิไมเทากัน (ดานลางและดานบนจะมีอุณหภูมิสูงกวาตรงกลาง)และเหตุผลอีกประการหนึ่งคือ การออกแบบระยะหางระหวางตะแกรงภายในตูอบแหงท่ีมีระยะหางระหวางตะแกรงเทากับ 6.5 ซ.ม. ระยะหางอาจแคบเกินไป จึงทําใหการระบายความชื้นของน้ําท่ีระเหยออกจากกระดาษในตะแกรงระเหยออกไปยาก ขอบของตะแกรงจะเปนตัวกั้นไว โดยบริเวณกลางตูจะมีการสะสมไอน้ําหรือความชื้นมากกวาบริเวณอื่น ๆ ภายในตู อาจจําเปนตองออกแบบใหมีระยะหางระหวางตะแกรงใหมากกวานี้เพื่อใหไอน้ําหรือความชื้นระเหยออกไปไดงาย ผลการทดสอบการอบแหงกระดาษสาจํานวน 34 แผน ขนาดกระดาษสาน้ําหนักแหงเฉลี่ย 43.40 กรัมตอแผน โดยการอบแหงกระดาษสาจากความชื้นประมาณ 86 - 91 % มาตราฐานเปยก จนกระดาษสาแหงเหลือความชื้นประมาณ 3.95 – 6.82 % มาตราฐานเปยก จะใชเวลา 1.5 ช่ัวโมง ใชแกลบไปทั้งหมด 25 กิโลกรัม หรืออัตราการใชแกลบ 16.64 กิโลกรัมตอช่ัวโมง และใชพลังงานไฟฟาไปทั้งหมด 0.3 หนวย หรืออัตราการใชพลังงานไฟฟา 0.2 หนวยตอช่ัวโมง ซึ่งสามารถคํานวณหาคาใชจายหรือตนทุนในการอบแหงกระดาษสาไดเทากับ0.805 บาทตอแผน และระยะเวลาการคืนทุนเทากับ 0.842 ป เมื่อเปรียบเทียบกับการอบแหงกระดาษสาดวยการตากแดด ผลการทดสอบปรากฏวา การตากแดดจะใชระยะเวลานานกวาการใชเครื่องอบแหงกระดาษสา โดยทดสอบกับกระดาษสาน้ําหนักแหงเฉลี่ย 31.33 และ44.33 กรัมตอแผน อบแหงโดยการตากแดดจากความชื้นเริ่มตน 86 – 91 % มาตราฐานเปยก ตากแดดจนกระดาษสาแหงเหลือความชื้นประมาณ 5.85 – 6.67 % มาตราฐานเปยก จะใชเวลา 3.33 และ 5 ช่ัวโมงตามลําดับจะเห็นไดวาระยะเวลาการอบแหงจะแปรตามน้ําหนักกระดาษสาแหง รูปที่ 5.15 และรูปท่ี 5.16 เปนกราฟแสดงอัตราการลดความชื้นของกระดาษสาดวยการตากแดด อุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศจะไมสม่ําเสมอตลอดทั้งวัน โดยเฉลี่ยจะมีอุณหภูมิประมาณ 35 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมผัสของอากาศเทากับ 55 %RH อัตราการลดความชื้นของกระดาษสาแตละแผนจะมีอัตราการลดความชื้นที่ใกลเคียงกันมาก แสดงใหเห็นวา กระดาษสาทุกแผนจะแหงพรอมกัน แตถาวันไหนมีฝนตกหรือแดดไมออก การอบแหงกระดาษสาดวยวิธีตากแดดจะทําไมไดหรือจําเปนตองใชระยะเวลาการอบแหงนานมาก5.6 สรุปผลการทดสอบ

1. เครื่องอบแหงกระดาษสาที่ทําดวยมือสามารถใชแกลบเปนเชื้อเพลิงในการอบแหงกระดาษสาไดเปนอยางดี สามารถอบแหงกระดาษสาไดครั้งละจํานวน 34 แผน ไดทดสอบอบกระดาษสา ขนาดน้ําหนักแหงเฉลี่ย 43.40 กรัมตอแผน จากความชื้นเริ่มตน 86 – 91 % มาตราฐานเปยก อบจนกระดาษสาแหงเหลือความชื้น 4.65 – 6.82 % มาตราฐานเปยก จะใชเวลา 1.5 ช่ัวโมง กระดาษสาที่

Page 88: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

79

อบแหงโดยเครื่องอบแหงกระดาษสานี้จะมีลักษณะเหมือนกับกระดาษสาที่อบแหงโดยใชวิธีการตากแดด

2. อัตราการใชแกลบของเครื่องอบแหงกระดาษสาเทากับ 16.64 กิโลกรัมตอช่ัวโมง และอัตราการใชพลังงานไฟฟาเทากับ 0.2 หนวยตอช่ัวโมง คาใชจายในการอบแหงกระดาษสาสําหรับกระดาษสาขนาดน้ําหนักเฉลี่ย 43.40 กรัมตอแผน จะมีคาใชจายหรือตนทุนในการอบแหงกระดาษสาเทากับ0.805 บาทตอแผน และมีระยะเวลาการคืนทุน 0.842 ป

3. อุณหภูมิดานลางภายในตูอบแหง มีอุณหภูมิสูงท่ีสุดเฉลี่ยประมาณ 81.62 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิดานบนภายในตูอบแหงมีอุณหภูมิสูงรองลงมาเฉลี่ยประมาณ 69.73 องศาเซลเซียส ในขณะที่อุณหภูมิตอนกลางตูอบแหงจะมีอุณหภูมิต่ําสุดเฉลี่ยประมาณ 63.43 องศาเซลเซียส จึงเปนเหตุใหกระดาษสาภายในตูอบแหง แหงไมพรอมกัน โดยกระดาษสาที่อยูในตะแกรงดานลางตูอบจะแหงเร็วท่ีสุด ภายในเวลา 30 นาที และกระดาษสาที่อยูดานบนตูอบจะแหงภายในเวลา 60 นาทีสวนกระดาษสาที่อยูในตะแกรงบริเวณ กลางตูจะแหงในเวลา 90 นาที

4. การใชแกลบเปนเชื้อเพลิงจะควบคุมใหอุณหภูมิภายในตูอบแหงคงที่ ณ. อุณหภูมิใด อุณหภูมิหนึ่งทําไดยาก เพราะแกลบเปนวัสดุเกษตรที่ควบคุมอัตราการเผาไหมใหคงที่ควบคุมยากทั้งนี้จะขึ้นอยูกับแฟคเตอรตาง ๆ หลายอยางเชน อัตราการปอนแกลบ ความชื้นของแกลบ ปริมาณลมที่เขามาชวยในการเผาไหม และความชื้นในอากาศเปนตน

5. การใชแกลบเปนเชื้อเพลิงสําหรับเครื่องอบแหงกระดาษสาอาจกอปญหาดานสภาพแวดลอม เพราะการเผาไหมแกลบในบางครั้งท่ีการเผาไหมไมสมบูรณจะเกิดควันมาก ซึ่งอาจกอใหเกิดมลภาวะทางอากาศได แตเนื่องจากเครื่องอบแหงกระดาษสาสวนใหญจะใชในชนบทที่หางไกลจากตัวเมืองใหญอาจไมกอปญหามากนัก

6. การใชแกลบเปนเชื้อเพลิงสําหรับเครื่องอบแหงกระดาษสาจะทําใหตนทุนในการอบแหงต่ําเพราะแกลบอาจไดมาฟรีหรือซื้อมาในราคาถูก

7. การอบแหงกระดาษสาดวยวิธีการตากแดดสําหรับขนาดกระดาษสาน้ําหนักเฉลี่ย 31.33 และ 44.33กรัมตอแผน จะใชเวลาในการตากแดด 3.33 และ 5 ช่ัวโมงตามลําดับ ณ.ท่ีอุณหภูมิของอากาศเฉลี่ย35 องศาเซลเซียส และความชื้นสัมพัทธของอากาศ 55 %RH ระยะเวลาในการตากแดดจนกระดาษสาแหงจะขึ้นกับน้ําหนักของกระดาษสา และอุณหภูมิของอากาศ เปนสําคัญ การอบแหงโดยวิธีการตากแดดจะทําใหกระดาษสาแหงพรอมกัน

8. เครื่องอบแหงกระดาษสาสามารถอบแหงกระดาษสาไดเร็วกวาวิธีการอบแหงโดยการตากแดด9. สามารถประยุกตใชเครื่องอบแหงกระดาษสาที่ทําดวยมือนําไปใชอบแหงผลิตผลทางการเกษตรตาง

ๆ ไดเชน การอบแหงกลวยน้ําหวาเพื่อทําเปนกลวยตาก การอบลําใยแหง การอบพริกตาง ๆ การอบใบยาสูบ การอบแหงพืชสมุนไพรตาง ๆ การอบแหงผลไมตาง ๆ เปนตน

Page 89: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

80

Page 90: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

81

Page 91: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

82

Page 92: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

83

Page 93: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

84

Page 94: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

85

Page 95: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

86

Page 96: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

87

Page 97: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

88

Page 98: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

89

ตารางที่ 5.1 แสดงขอมูลอุณหภูมิบริเวณภายในกลางตูอบแหงของ ตูท่ี 1 และตูท่ี 2เปนการวัดอุณหภูมิตูเปลายังไมไดใส ตะแกรงทํากระดาษ

อุณหภูมิเวลา(นาที) ตู 1 ตู2

0 29.90 29.605 34.70 33.7010 53.70 42.7015 73.80 48.3020 83.50 66.5025 78.30 66.6030 85.00 78.3035 81.10 76.9040 82.00 80.0045 83.40 81.2050 79.60 80.3055 89.20 92.6060 87.20 93.70

อุณหภูมิเวลา(นาที) ตู 1 ตู2

65 95.60 102.2070 88.50 93.4075 87.50 92.0080 87.30 93.1085 85.10 90.2090 81.70 86.3095 78.20 81.70

100 73.80 77.40105 96.80 73.00110 65.80 68.90115 62.50 65.40120 60.60 63.00125 56.90 60.70

Page 99: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

90

Page 100: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

91

ตารางที่ 5.2 แสดงขอมูลอุณหภูมิภายในตูอบแหงตูท่ี 1 ในขณะทําการอบแหงกระดาษ

อุณหภูมิ ตู 1เวลา(นาที) บน กลาง ลาง

0 60.3 54.9 6010 73 64.1 98.220 75.8 67 103.530 66.3 71.1 64.640 76.8 69.5 84.950 74.5 63.4 86.560 69.8 66.3 48.570 67.8 70.9 98.280 74.2 74.8 112.790 57.1 74 60.7เฉลี่ย 69.53 67.57 81.78

ตารางที่ 5.3 แสดงอุณหภูมิภายในตูอบแหงตูท่ี 2 ในขณะทําการอบแหงกระดาษอุณหภูมิ ตู 1เวลา

(นาที) บน กลาง ลาง0 55.3 37.6 49.7

10 67.7 52.6 99.820 69.7 52.4 91.230 70.6 57.9 97.540 70.1 53.7 77.550 68.3 53.4 65.960 69 55.5 66.170 73.8 77.9 84.880 76.4 75.6 95.990 78.3 76.3 86.2เฉลี่ย 69.92 59.29 81.46

Page 101: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

92

Page 102: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

93

Page 103: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

94

ตารางที่ 5.4 แสดงขอมูลอัตราการลดความชื้นของกระดาษสาในขณะทําการอบแหงกระดาษสาของตูอบแหงตูท่ี 1

ตู 1 เวลา น.น.เยื่อเปยก (กรัม) ความชื้น (%wb.)0 367 88.83

30 153 73.2060 43 4.65

ตะแกรง 1

900 322 87.27

30 203 79.8060 123 66.67

ตะแกรง 2

90 44 6.820 463 91.19

30 221 81.5460 145 71.66

ตะแกรง 3

90 43 5.110 321 87.13

30 122 66.1560 43 3.95

ตะแกรง 4

900 375 88.80

30 44 4.5660

ตะแกรง 5

90

Page 104: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

95

ตารางที่ 5.5 แสดงขอมูลอัตราการลดความชื้นของกระดาษสาในขณะทําการอบแหงกระดาษสาของตูอบแหงตูท่ี 2

ตู 1 เวลา น.น.เยื่อเปยก (กรัม) ความชื้น (%wb.)0 314 86.72

30 143 70.8460 44 5.23

ตะแกรง 1

900 333 87.69

30 212 66.1260 64 35.94

ตะแกรง 2

90 44 6.820 418 90.19

30 206 80.1060 83 50.60

ตะแกรง 3

90 43 4.650 335 87.76

30 139 70.5060 84 51.19

ตะแกรง 4

90 43 4.650 329 87.78

30 43 6.5160

ตะแกรง 5

90

Page 105: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

96

Page 106: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

97

Page 107: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

98

ตารางที่ 5.6 แสดงขอมูลอัตราการลดความชื้นของกระดาษสาในขณะทําการอบแหงกระดาษสาดวยการตากแดด สําหรับกระดาษสาน้ําหนักแหง 31.33 กรัมตอแผน

ลําดับ เวลา น.น.เยื่อเปยก (กรัม) ความชื้น (%wb.)0 1043 97.22

60 312 90.71120 134 78.36180 43 32.56

ตะแกรง 1

240 31 6.450 1143 97.46

60 331 91.24120 161 81.99180 53 45.25

ตะแกรง 2

240 34 14.710 1209 97.60

60 332 91.27120 140 79.29180 48 39.58

ตะแกรง 3

240 32 9.38

Page 108: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

99

ตารางที่ 5.7 แสดงขอมูลอัตราการลดความชื้นของกระดาษสาในขณะทําการอบแหงกระดาษสาดวยการตากแดด สําหรับกระดาษสาน้ําหนักแหง 44.33 กรัมตอแผน

ลําดับ เวลา น.น.เยื่อเปยก (กรัม) ความชื้น (%wb.)0 910 95.38

60 400 89.50120 234 82.05180 125 66.40210 73 42.47

ตะแกรง 1

300 44 4.550 1005 95.82

60 426 90.14120 256 83.59180 146 71.23210 101 58.42

ตะแกรง 2

300 42 6.670 1030 95.92

60 439 90.34120 250 83.20180 136 69.12210 91 53.85

ตะแกรง 3

300 44 4.55

Page 109: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

100

Page 110: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

101

Page 111: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

102

การคํานวณคาใชจายในการอบแหงกระดาษสาดวยเคร่ืองอบแหงกระดาษสาตนแบบ ขอมูลที่ใชในการคํานวณ

- ราคาสรางเครื่อง 15,000 บาท- ดอกเบี้ยท่ีควรไดรับจากธนาคารถานําเงินไปฝากแทน 3%- อายุการใชงานของเครื่อง 10 ป- ตนทุนการทําแผนกระดาษสาที่ทําดวยมือ 6.225 บาท/แผน- พัดลม 6 ตัว ราคาตัวละ 350 บาท อายุการใชงาน 3,000 ช่ัวโมง- คาซอมแซมดูแลมอเตอรตัวปอนแกลบในเวลา 3,000 ช่ัวโมงคือ 1,000 บาท- ชุดควบคุมการตั้งเวลาปอนแกลบ (Timer) มีอายุใชงาน 6,000 ช่ัวโมง คาซอมบํารุง 500 บาท- คาซอมบํารุง ทาสีประจําป 1,000 บาท/ป- คาไฟฟา ยูนิตละ 3 บาท- กําหนดใหทําการอบวันละ 6 ครั้ง เครื่องใชเวลาอบ 1.5 ช่ัวโมง/ครั้ง (ทํางาน 9 ช่ัวโมง/วัน)- ตูอบ อบไดครั้งละ 34 แผน- ระยะเวลาการใชเครื่องอบ 90 วัน/ป- ใชคนงาน 1 คน คาจาง 120 บาท/วัน- จากการทดสอบพบวาในการอบแตละครั้งจะสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟาใหตัวปอนทั้งสิ้น 0.3 ยู

นิตวิธีการคํานวณ

1. คาใชจายคงที่1.1 คาเสื่อมราคา

DP = (P – S) Lเมื่อ DP = คาเสื่อมราคาประจําป (บาท/ป)

P = ราคาซื้อของเครื่องจักร (บาท)L = อายุการปฏิบัติงานของเครื่องจักร (ป)S = ราคาขายหรือคาคงเหลือเมื่อเครื่องจักรหมดอายุโดยคิดประมาณ

10% ของราคาซื้อหรือสรางเครื่อง (บาท) S = (10/1100)X15,000

= 1,500 บาทDP = (15,000 – 1,500)/10 = 1,350 บาท/ป

Page 112: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

103

1.2 คาดอกเบี้ยท่ีควรได (Interest run Investment) 3%I = (C+S) I 2

เมื่อ I = คาดอกเบี้ยคงที่ตอป (บาท)i = อัตราดอกเบี้ย (ทศนิยม)C = ราคาซื้อของเครื่องจักรกล (บาท)S = ราคาขายหรือคาคงเหลือเมื่อเครื่องจักรหมดอายุโดยยอดประมาณ 10% ของราคาเครื่อง

I = (15,000+1,500) x 0.03 2

= 247.5 บาท/ปคาใชจายคงที่ (บาท/ป) = 1,350+247.5 = 1,597.5 บาท/ปการใชงานเครื่องโดยเฉลี่ย 9 ชม./วัน

ใน 1 ป จะใชงาน 90 วัน = 9x90 = 810 ชม.ใน 1 วัน สามารถอบได = 6x34 = 204 แผน/วันใน 1 ป สามารถอบได = 204x90 = 18,360 แผน/ป

คาใชจายคงที่ (บาท/แผน) = (1,597.5/18,360) = 0.087 บาท/แผน2. คาใชจายผันแปร ประกอบดวย

2.1 การซอมบํารุงและทาสีเครื่อง 1,000 บาท/ปคาใชจาย = (1,000/810) = 1.234 บาท/ช่ัวโมง

2.2 คาเปลี่ยนพัดลม 6 ตัว (ราคาตัวละ 350 บาท) อายุการใชงานของพัดลม 3,000 ช.ม.คาใชจาย (6x350)/3,000 = 0.7 บาท/ช่ัวโมง

2.3 คาซอมบํารุงชุดมอเตอรตัวปอน 1,000 บาท อายุการใชงานของชุดมอเตอรคือ 3,000 ช.ม.คาใชจาย (1,000/3,000) = 0.333 บาท/ช่ัวโมง

2.4 คาซอมบํารุงชุดควบคุมการปอนอัตโนมัติ 500 บาท อายุการใชงานของชุดควบคุมคือ 6,000 ชม.คาใชจาย (500/6,000) = 0.083 บาท/ช่ัวโมง

2.5 คาไฟฟา คิดยูนิตละ 3 บาท และจากการทดสอบเครื่อง 1.5 ชม. ใชไฟฟาไป 0.3 ยูนิตอัตราการสิ้นเปลืองไฟฟา = 0.3/1.5 = 0.2 ยูนิต/ช่ัวโมงคาใชจาย = 0.2x3 = 0.6 บาท/ช่ัวโมง

2.6 คาจางแรงงานคิด 120 บาท/วัน/คน ในที่นี้ใชคนงาน 1 คน ทํางาน 9 ชม./วันคิดเปนคาจาง = 120/9 = 13.33 บาท/ชม.คาใชจายผันแปรทั้งหมด = 1.23+0.7+0.333+0.083+0.6+13.33 = 16.28 บาท/ชม.คิดเปนคาใชจายผันแปร = (16.28x1.5)/34 = 0.718 บาท/แผน

Page 113: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

104

3. คาใชจายรวมในการอบแหงกระดาษสาคาใชจายรวม = คาใชจายคงที่ + คาใชจายผันแปร

= 0.087 + 0.718= 0.805 บาท/แผน

4. การหาจุดคุมทุน และระยะเวลาการคืนทุนของเครื่องอบแหงกระดาษสาขอมูลท่ีใชในการคํานวณ

- ตนทุนคาใชจายในการทําแผนกระดาษสา คือ 6.225 บาท/แผน- ราคาขายของกระดาษสา 8 บาท/แผนคาจายในการผลิตกระดาษสา เมื่อใชเครื่องอบแหงกระดาษสา = 6.225+0.805 = 703 บาท

กําไร (บาท/แผน) = 8 – 703 = 0.97 บาท/แผนใน 1 ป อบกระดาษสา 90 วัน ๆ ละ 204 แผนสามารถอบกระดาษสาได 90 x 204 = 18,360 แผน/ปกําไรสุทธิ (บาท/ป) = 0.97x18,360 = 17,809.2 บาท/ปจุดคุมทุน เมื่อทําการผลิต = A แผน

8 = 1,597.5 + (6.225+0.718)A

A = 1,511.35 แผน/ประยะเวลาการคืนทุน = ราคาเครื่อง (บาท)

กําไรสุทธิ (บาท/ป)= 15,000/17,809.2= 0.842 ป

ตารางที่ 5.8 แสดงจํานวนการผลิตกระดาษที่อบแหงโดยเครื่องอบแหงท่ีมีตอตนทุนการผลิต

จํานวนผลิตแผน/วัน แผน/ป

คาใชจายคงที่(บาท/ป)

คาใชจายผันแปร(บาท/ป)

คาใชจายรวม(บาท/ป)

ตนทุน(บาท/แผน)

100 9000 1597.5 62487 64082.5 7.120200 18000 1597.5 124978 126571.5 7.032300 27000 1597.5 187461 189058.5 7.000400 36000 1597.5 249948 251545.5 6.987500 45000 1597.5 312435 314032.5 6.978600 54000 1597.5 374922 376519.5 6.973

Page 114: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

105

Page 115: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

106

รูปที่ 5.18 แสดงตูอบแหงช้ันในซอนอยูในโครงของตูอบแหงช้ันนอก

รูปที่ 5.19 แสดงโครงของตูอบแหงช้ันนอก รูปที่ 5.20 ขณะกําลังกอผนังอิฐมอญของตูอบแหง ช้ันนอก

รูปที่ 5.21 การประกอบตูอบช้ันในซอนอยูในตูอบชั้นนอก

Page 116: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

107

รูปที่ 5.22 แสดงภายในของตูอบช้ันใน

รูปที่ 5.23 แสดงเครื่องปอนแกลบ อยูทางดานหลังของตูอบแหง

รูปที่ 5.24 การใสตะแกรงอบแหงกระดาษสา รูปที่ 5.25 ขณะทําการทดสอบอบแหงกระดาษสา ขางในตูอบแหงช้ันใน

Page 117: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

108

บทที่ 6การวิจัยและพัฒนาเครื่องเก็บเกี่ยวตนปอสา

6.1 อุปกรณที่ใชในการสรางและการทดสอบเครื่องเก็บเกี่ยวตนปอสา1. เครื่องมือท่ีใชในการสรางเครื่องเก็บเกี่ยวตนปอสาไดแก Drafting Table , Milling

Machine ,Shaping Machine, Boring Machine, Grinding Machine, Engine Lathe, Drilling Machine, Sawing Machine, Welding Machine, Gas cutting Machine, Shearing Machine, Bending Machine 2. ตนปอสาอายุ 1 – 3 ป 3. เครื่องวัดความเร็วรอบ 4. ตูอบหาความชื้น 5. เครื่องช่ังน้ําหนัก 6. เวอรเนียร6.2 วิธีการออกแบบสรางเครื่องเก็บเกี่ยวตนปอสา เครื่องเก็บเกี่ยวตนปอสา ดังแสดงในรูปที่ 6.1 ถึงรูปท่ี 6.2 จะเปนเครื่องมือท่ีใชทําการตัดตนปอสาในพื้นที่ปลูกปอสา หรือข้ึนเองในปาธรรมชาติ โดยไดดัดแปลงเครื่องตัดแตงกิ่งไม ซึ่ง วิชา หมั่นทําการ และคณะ เปนผูดําเนินการวิจัยประดิษฐข้ึนมาจนเปนผลสําเร็จแลว จึงไดนํามาปรับใชใหเปนเครื่องตัดตนปอสา ซึ่งเครื่องมือนี้จะมีกลไกและสวนประกอบตาง ๆ ดังตอไปนี้

1. เครื่องยนตชนิด 2 จังหวะ ซึ่งเปนเครื่องยนตท่ีนํามาจากเครื่องยนตของเครื่องตัดหญาสะพายหลังขนาดกําลัง ประมาณ 2 แรงมา

2. เพลาสายออน ( Flexible Shaft ) เปนชนิดเกลียวซายพรอมปลอกหุมสาย ใชสําหรับถายทอดกําลังจากเครื่องยนตมาที่ดามจับ

3. ดามจับ ดามจับเปนทออลูมิเนียมขนาด 1 นิ้ว ยาว 2 เมตร ภายในจะมีเพลาเหล็กสปริงขนาด 5 มม. ใชสําหรับสงผานกําลังจากเพลาสายออน ( Flexible Shaft ) ไปขับเคลื่อนหองเกียรเฟองดอกจอกที่ติดอยูท่ีปลายดามจับ

4. หองเกียรเฟองดอกจอกใชสําหรับขับเคลื่อนเลื่อยโซใหเคลื่อนที่ หองเกียรนี้ทําดวยวัสดุอลูมิเนียมภายในประกอบดวยเฟองดอกจอกขนาดเล็กมีขนาดฟนเฟองเทากับขนาด M2ตัวหองเกียรจะมีแนวแกนเพลาขับ ( Driving shaft ) และแกนเพลาตาม ( Driven shaft )ทํามุมกันเทากับ 90 องศา หองเกียรนี้จะรับกําลังขับจากเครื่องยนต 2 จังหวะ โดยสงผานกําลังผานเพลาสายออน (Flexible shaft ) และเพลาเหล็กสปริง

5. เลื่อยโซ ใชสําหรับตัดกิ่งตนสา ประกอบดวย Guide bar และ เสนเลื่อยโซ Guide barทําจากเหล็ก Stainless steel ยาว 30 ซ.ม. และเสนเลื่อยโซ ซึ่งพัฒนามาจากโซสงกําลังเบอร 25 แลวออกแบบตัวใบเลื่อยโซท่ีพัฒนาสรางขึ้นเอง ติดเขาไปกับขอโซสงกําลัง

Page 118: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

109

โดยถอดขอโซเดิมออกและนําตัวใบเลื่อยโซนี้ติดเขาไปแทนที่ โดยจะติดขอเวนขอสลับกันไป ซาย – ขวา โซ 1 เสนจะใชตัวใบเลื่อยโซประมาณ 30 ใบ

6.3 วิธีการทดสอบเครื่องเก็บเกี่ยวตนปอสา การทดสอบการนําเครื่องตัดแตงกิ่งไม มาใชเปนเครื่องตัดตนปอสา จะมีวิธีการทดสอบตาง ๆดังตอไปนี้

1. การทดสอบหากําลังท่ีใชในการตัดกิ่งปอสา เพื่อใหทราบถึงความตองการใชกําลังตัดตนปอสาโดยใชเลื่อยโซในการตัดกิ่งปอสา

2. การทดสอบหาอัตราการทํางานตัดกิ่งปอสา โดยใชเครื่องกิ่งไม และหาอัตราการสิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิงเพื่อนําขอมูลไปคํานวณหาคาใชจายท้ังหมดในการตัดกิ่งปอสา

3. การทดสอบเปรียบเทียบการตัดกิ่งปอสาโดยใชแรงงานคนใชมีดตัดฟนกิ่งปอสา เพื่อเปรียบเทียบอัตราการทํางานการตัดกิ่งปอสากับการใชเครื่องตัดกิ่ง

6.3.1 วิธีการทดสอบหากําลังท่ีใชในการตัดกิ่งปอสา โดยใชเลื่อยโซในการตัดกิ่ง1. ประกอบชุดเลื่อยโซเขากับตัว Dynamometer วัดกําลัง2. ประกอบชุดเครื่องมือวัดแรงบิด เครื่องวัดความเร็วรอบ เขากับตัว Dynamometer3. วัดขนาดเสนผาศูนยกลางกิ่งปอสาที่จะนํามาทดสอบ4. เดินเครื่อง Dynamometer เพื่อขับชุด เลื่อยโซ ตามความเร็วเชิงเสนของเลื่อยโซท่ี

กําหนด5. นํากิ่งปอสามาทดสอบตัดกิ่งโดยเลื่อยโซพรอมกับจับเวลา อานคาแรงบิด และ

ความเร็วรอบ ของ Dynamometer6. คํานวณหากําลังท่ีใชในการขับเคลื่อนเลื่อยโซท่ีใชสําหรับตัดกิ่งปอสา7. นํากิ่งปอสาที่ตัดไดไปอบหาความชื้น

6.3.2 วิธีการทดสอบหาอัตราการทํางานตัดกิ่งปอสาโดยใชเครื่องตัดกิ่งไม1. กําหนดพื้นที่ท่ีจะทําการตัดกิ่งสา ในที่นี้จะใชตนสาที่ข้ึนตามธรรมชาติอายุ ประมาณ

1 – 3 ป2. เติมน้ํามันใหเต็มถังน้ํามันของเครื่องยนต3. ติดเครื่องยนตเดินเครื่องเลื่อยโซ โดยใชความเร็วรอบเครื่องยนต ประมาณ 5000 – 6000

รอบตอนาที ซึ่งจะไดความเร็วเชิงเสนของเลื่อยโซประมาณ 7 – 9 เมตรตอวินาที เริ่มตนจับเวลาในการตัดกิ่งสาโดยจับเวลาทั้งหมดและเวลาที่ใชในการตัดตอกิ่ง

4. ดําเนินการตัดกิ่งสาในพื้นที่ไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งคนทํางานตัดเหนื่อยตองการพักจึงหยุด แลวบันทึกเวลาการใชในการตัดกิ่งท้ังหมด และเวลาที่ใชเฉพาะตัดกิ่ง วัดอัตราการกินน้ํามันเชื้อเพลิงของเครื่องยนต โดยการเติมน้ํามันลงไปในถังน้ํามันของเครื่องยนตอีกครั้งจนกระทั่งถึงระดับเดิม จํานวนน้ํามันที่ใชเติมจนถึงระดับเดิมคือจํานวนน้ํามันที่เครื่องยนตใชไป

Page 119: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

110

5. คํานวณหาอัตราการตัดกิ่งสาเปน จํานวนกิ่งตอช่ัวโมง และคํานวณหาอัตราการกินน้ํามันเปน ลิตรตอช่ัวโมง

6.3.3 วิธีการทดสอบเปรียบเทียบการตัดกิ่งโดยใชแรงงานคน ใชมีดตัดกิ่ง เพื่อเปรียบอัตราการทํางานกับเครื่องตัดกิ่ง ซึ่งมีวิธีการทดสอบดังนี้

1. กําหนดพื้นที่ท่ีจะทําการตัดกิ่งสา ในที่นี้จะใชตนสาที่ข้ึนตามธรรมชาติอายุ ประมาณ1 – 3 ป

2. เริ่มตนจับเวลาโดยใหคนใชมีดตัดฟนตนสา จับเวลาที่ใชในการตัดท้ังหมดและเวลาที่ใชในการตัดตอกิ่ง

3. ดําเนินการตัดกิ่งสาในพื้นที่ไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งคนทํางานตัดเหนื่อยตองการพักจึงหยุด แลวบันทึกเวลาการใชในการตัดกิ่งท้ังหมด และเวลาที่ใชเฉพาะตัดกิ่ง

4. คํานวณหาอัตราการตัดกิ่งปอสาเปน จํานวนกิ่งตอช่ัวโมง

6.4 วิธีการคํานวณคาใชจายหรือตนทุนในการตัดกิ่งปอสาโดยเครื่องตัดกิ่งไม การคิดคาใชจายในการตัดกิ่งปอสาของเครื่องตัดกิ่งไมมีดังตอไปนี้1. การคํานวณคาเสื่อมราคาของเครื่องตัดกิ่งปอสาสามารถคํานวณไดดังนี้

LSPDP )( −

=

เมื่อ DP = คาเสื่อมราคา (บาท/ป)P = ราคาซื้อของเครื่อง (บาท)S = ราคาขายหรือคาคงเหลือเมื่อเครื่องตัดกิ่งปอสาหมดอายุ (บาท)L = อายุการปฏิบัติงานของเครื่องตัดกิ่งปอสา (ป)

2. การคํานวณดอกเบี้ยของการลงทุนซื้อเครื่องตัดกิ่งปอสาสามารถคํานวณไดดังนี้

( )[ ]2/)sPiI +=

เมื่อ I = คาดอกเบี้ยคงที่ตอป (บาท)I = อัตราดอกเบี้ย (ทศนิยม)P = ราคาซื้อของเครื่อง (บาท)s = ราคาขายหรือคาคงเหลือเมื่อเครื่องตัดกิ่งปอสาหมดอายุ (บาท)

3. การคํานวณหาตนทุนคงที่ตอป (Total annual fixed cost) สามารถคํานวณไดดังนี้

IDPAFC +=

Page 120: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

111

เมื่อ AFC = ตนทุนคงที่ตอป (บาท)DP = คาเสื่อมราคา (บาท/ป)I = คาดอกเบี้ยคงที่ตอป (บาท)

4. การคํานวณคาใชจายในการทํางานของเครื่องตัดกิ่งปอสาตอป (Total annual operating cost) สามารถคํานวณไดดังนี้

เมื่อ AOC = คาใชจายในการทํางานของเครื่องตัดกิ่งปอสาตอป (บาท)RM = คาซอมบํารุงรักษาเครื่องตัดกิ่งปอสาF = คาน้ํามันเชื้อเพลิง (บาท/ป)

5. การคํานวณตนทุนรวมในการทํางานของเครื่องตัดกิ่งปอสาตอป สามารถคํานวณไดดังนี้

AOCAFCTAC +=

เมื่อ TAC = ตนทุนรวมในการทํางานของเครื่องตัดกิ่งปอสาตอป (บาท)AFC = คาใชจายคงที่ตอป (บาท)AOC = คาใชจายในการทํางานของเครื่องตัดกิ่งปอสาตอป (บาท)

6.5 ผลการทดสอบและวิจารณ การประยุกตนําเครื่องตัดแตงกิ่งไมนํามาใชงานตัดแตงกิ่งสานั้นสามารถใชงานตัดกิ่งสาไดพอใจในระดับหนึ่ง เนื่องจากปอสาที่เปลือกจะมียางและเสนใยท่ีเหนียว ปญหาที่เกิดข้ึนกับเลื่อยโซท่ีใชตัดกิ่งสาก็คือ เมื่อใชเลื่อยโซตัดกิ่งสาไปสักพักหนึ่ง เสนใยและยางจะจับท่ีหนาคมใบมีดของเลื่อยโซจึงจําเปนตองหยุดเครื่องเปนระยะ ๆ และใชแปรงปดเอาออก ซึ่งจะทําใหเสียเวลาในการตัดกิ่งสาไปมากพอสมควรสวนปญหาอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวของกับตัวเครื่องนั้นไมมีปญหาสามารถทํางานตัดกิ่งสาไดอยางตอเนื่องเปนอยางดี ผลการทดสอบการหากําลังท่ีใชในการขับเคลื่อนเลื่อยโซท่ีใชตัดกิ่งปอสานั้นแสดงไวใน ตารางที่ 6.1 ถึง ตารางที่ 6.3 โดยการทดสอบไดกระทําท่ีความเร็วเชิงเสนของเลื่อยโซ 3 ระดับ คือ 14.21 , 18.30 และ 23.93 เมตรตอวินาที ผลการทดสอบปรากฏวาเลื่อยโซ ตองการกําลังท่ีใชในการขับเคลื่อนเฉลี่ยอยูในชวง 16.70 – 26.79 วัตต ซึ่งมีคานอยมาก ดังนั้นเครื่องยนต 2 จังหวะที่เปนเครื่องตัดหญาสะพายหลังสามารถใชขับเคลื่อนเลื่อยโซไดไมมีปญหาเกี่ยวกับกําลังไมพอ ผลการทดสอบหาอัตราการทํางานตัดกิ่งปอสา แสดงไวในตารางที่ 6.5 การทดสอบไดทําการทดสอบตัดกิ่งตนปอสาที่ข้ึนเองในปาธรรมชาติ ขนาดเสนผาศูนยกลางของกิ่งท่ีตัดอยูระหวาง 26.30 –69.80 มม. ใชเวลาในการตัดตอกิ่งระหวาง 6.54 วินาที ถึง 140.34 วินาที โดยเวลาที่ใชในการตัดตอกิ่งจะแปรผันตามขนาดความโตของกิ่งสา ความชื้นของกิ่งสาในขณะทดสอบมีคาเฉลี่ยเทากับ 63.70 % มาตราฐานเปยก ไดทําการทดสอบตัดกิ่งสาไปทั้งหมด 22 กิ่ง ใชเวลาทั้งหมด 25.38 นาที โดยใชเวลาเฉพาะตัดกิ่งสาเทากับ 15.12 นาที ดังนั้นจึงมีเวลาที่สูญเสียไปเทากับ 10.26 นาที เวลาที่สูญเสียไปนี้เปนเวลาที่ใชใน

Page 121: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

112

การเลือกกิ่งตัดจากกิ่งหนึ่งไปอีกกิ่งหนึ่ง และเวลาที่เสียไปจากการที่ตองใชแปรงปดทําความสะอาดเอาเสนใยและยางที่จับหนาคมมีดของเลื่อยโซออก สามารถคํานวณหาอัตราการตัดกิ่งสาไดเทากับ 52 กิ่งตอช่ัวโมง มีการใชน้ํามันเชื้อเพลิงไปทั้งหมด 0.24 ลิตร หรือมีอัตราการใชน้ํามันเชื้อเพลิงเทากับ 0.56 ลิตรตอช่ัวโมง มีคาใชจายในการตัดกิ่งสาตอกิ่งเทากับ 0.51 บาทตอกิ่ง เมื่อเปรียบเทียบกับการใชแรงงานคนใชมีดตัดกิ่งสา ซึ่งการทดสอบไดทําการทดสอบในพื้นที่เดียวกัน ผลการทดสอบปรากฏวา ขนาดเสนผาศูนยกลางที่คนเลือกตัดกิ่งสามีขนาดอยูระหวาง 39.00 - 113 มม. ใชเวลาในการตัดตอกิ่งระหวาง 3.59วินาที ถึง 191.09 วินาที โดยเวลาที่ใชในการตัดตอกิ่งจะแปรผันตามขนาดความโตของกิ่งสาเชนเดียวกับการใชเครื่องตัดกิ่ง จากการทดสอบคนสามารถตัดกิ่งสาไดท้ังหมด 20 กิ่ง ใชเวลาทั้งหมด 28.68 นาที โดยใชเวลาเฉพาะตัดกิ่งสาเทากับ 8.42 นาที ซึ่งจะเห็นไดวาในการใชมีดตัดกิ่งสาจะสามารถตัดไดเร็วกวาการใชเลื่อยโซตัดกิ่งแตในการใหคนใชมีดตัดกิ่งสานั้นจะใชเวลาทั้งหมดคอนขางมากทั้งนี้เนื่องมาจากคนตัดมีความเหน็ดเหนื่อยมากจึงสูญเสียเวลาไปกับการพักเหนื่อยระหวางทํางานตัดกิ่งไปคอนขางมาก โดยมีการสูญเสียเวลาไปกับการพักเหนื่อย และการเลือกกิ่งตัดไปเทากับ 20.26 นาที สามารถคํานวณหาอัตราการทํางานตัดกิ่งสาไดเทากับ 41.84 กิ่งตอช่ัวโมง ซึ่งอัตราการทํางานตัดกิ่งสาจะนอยกวาเมื่อเปรียบเทียบกับการใชเครื่องตัดกิ่ง ในการใหคนใชมีดตัดกิ่งสานั้นสามารถคํานวณหาคาใชจายในการตัดตอกิ่งไดเทากับ0.358 บาทตอกิ่ง ตอคน ซึ่งคํานวณจากอัตราคาจาง แรงงาน 120 บาทตอวัน และไมคิดคาเสื่อมราคาและการสึกหรอของมีดท่ีใชตัดเนื่องจากมีคานอยมาก เมื่อเปรียบเทียบสภาพการทํางานการตัดกิ่งสาโดยใชเครื่องตัดกิ่งกับการใชแรงงานคนใชมีดตัดกิ่งแลว สภาพการทํางานโดยทั่ง ๆ ไป จากการใชมีดตัดกิ่งจะมีความคลองตัวและสะดวกมากกวาการใชเครื่องตัดกิ่ง แตจะทําใหคนตัดกิ่งมีความเหน็ดเหนื่อยมากตองเสียเวลาพักเหนื่อยนานจงเปนเหตุใหอัตราการทํางานตัดกิ่งนอยกวาการใชเครื่องตัดกิ่ง ท้ัง ๆ ท่ี มีเวลาตัดเฉลี่ยตอกิ่งมีคานอยกวา คาใชจายในการทํางานตัดกิ่งสาโดยการใชมีดตัดจะนอยกวาการใชเครื่องตัดกิ่ง เนื่องจากเครื่องตัดกิ่งมีคาใชจายคงที่และคาใชจายผันแปรที่ตองนํามาคํานวณจึงทําใหมีคาใชจายแพงกวา

6.6 สรุปผลการทดสอบ1. กําลังท่ีใชในการขับเคลื่อนเลื่อยโซตัดกิ่งปอสาจะแปรผันตามความเร็วเชิงเสนของเลื่อยโซ

ท่ีเพิ่มข้ึน โดยมีกําลังท่ีใชในการขับเคลื่อนเฉลี่ยอยูในชวง 16.70 – 26.79 วัตต2. เครื่องตัดกิ่งสามีอัตราการทํางานตัดกิ่งสาเทากับ 52 กิ่งตอช่ัวโมง โดยมีคาใชจายในการตัด

กิ่งสาตอกิ่งเทากับ 0.51 บาทตอกิ่ง3. เครื่องตัดกิ่งสา สามารถตัดกิ่งสามีขนาดความโตสูงสุดไมควรเกิน 10 ซ.ม. และกิ่งขนาด

เล็กสุดไมควรนอยกวา 1 ซ.ม.4. การใช แรงงานคนในการตัดกิ่งสามีอัตราการทํางานตัดกิ่งสาเทากับ 41.84 กิ่งตอ ช่ัวโมง

โดยมีคาใชจายในการตัดกิ่งสาตอกิ่งเทากับ 0.358 บาทตอกิ่งตอคน5. การใชมีดตัดกิ่งสาทําใหคนมีความเหน็ดเหนื่อยมากกวาการใชเครื่องตัดกิ่งสา

Page 122: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

113

6. เครื่องตัดกิ่งสายังมีปญหาที่เกิดข้ึนระหวางการตัดกิ่งสาเนื่องจากปอสามียางและเสนใยที่เหนียวจึงทําใหไปจับที่หนาคมใบมีดของเลื่อยโซจึงเปนเหตุทําใหความคมลดนอยลงทําใหการตัดตอกิ่งใชเวลานานและทําใหตองเสียเวลาในการใชแปรงปดเอาออกเปนครั้งคราว

7. การใชมีดตัดกิ่งปอสาจะมีความสะดวกและมีความคลองตัวมากกวาเมื่อเปรียบเทียบกับการใชเครื่องตัดกิ่งปอสา

ตารางที่ 6.1 แสดงขอมูลการทดสอบหากําลังท่ีใชในการขับเคลื่อนเลื่อยโซท่ีใชตัดกิ่งปอสา ณ. ท่ีความเร็วเชิงเสนของเลื่อยโซ 14.21 เมตรตอวินาที

กิ่งท่ีขนาดเสนผาศูนยกลางกิ่ง

(มม.)

เวลาที่ใชตัดตอกิ่ง(วินาที)

ความเร็วเชิงเสนของเลื่อยโซ ( m/s)

แรงบิดเฉลี่ย

(kg – m)

ความเร็วรอบเฉลี่ยของ Dynamometer

(รอบตอนาที)

กําลังท่ีใชขับเคลื่อนเลื่อยโซ (วัตต)

1 24.65 3.63 14.21 0.03 626.33 19.312 25.05 3.20 14.21 0.03 626.33 19.313 24.28 2.70 14.21 0.02 626.00 12.874 23.18 2.60 14.21 0.03 624.67 19.265 23.85 2.35 14.21 0.02 626.33 12.876 21.53 2.40 14.21 0.03 626.33 19.317 22.30 1.91 14.21 0.03 628.67 19.368 25.35 1.24 14.21 0.03 629.00 19.39

เฉลี่ย 23.77 2.50 14.21 0.03 626.71 17.71

ตารางที่ 6.2 แสดงขอมูลการทดสอบหากําลังท่ีใชในการขับเคลื่อนเลื่อยโซท่ีใชตัดกิ่งปอสา ณ. ท่ีความเร็วเชิงเสนของเลื่อยโซ 18.30 เมตรตอวินาที

กิ่งท่ี

ขนาดเสนผาศูนยกลางกิ่ง

(มม.)

เวลาที่ใชตัดตอกิ่ง(วินาที)

ความเร็วเชิงเสนของเลื่อยโซ ( m/s)

แรงบิดเฉลี่ย

(kg – m)

ความเร็วรอบเฉลี่ยของ Dynamometer

(รอบตอนาที)

กําลังท่ีใชขับเคลื่อนเลื่อยโซ (วัตต)

1 38.35 3.63 18.30 0.02 813 16.712 37.10 3.20 18.30 0.02 812.33 16.693 35.55 2.70 18.30 0.02 812.67 16.704 35.40 2.60 18.30 0.02 813 16.715 35.53 2.35 18.30 0.02 811.67 16.68

เฉลี่ย 36.39 2.90 18.30 0.02 812.53 16.70

Page 123: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

114

ตารางที่ 6.3 แสดงขอมูลการทดสอบหากําลังท่ีใชในการขับเคลื่อนเลื่อยโซท่ีใชตัดกิ่งปอสา ณ. ท่ีความเร็วเชิงเสนของเลื่อยโซ 23.93 เมตรตอวินาที

กิ่งท่ี

ขนาดเสนผาศูนยกลางกิ่ง

(มม.)

เวลาที่ใชตัดตอกิ่ง(วินาที)

ความเร็วเชิงเสนของเลื่อยโซ ( m/s)

แรงบิดเฉลี่ย(kg – m)

ความเร็วรอบเฉลี่ยของ Dynamometer

(รอบตอนาที)

กําลังท่ีใชขับเคลื่อนเลื่อยโซ (วัตต)

1 30.80 1.38 23.93 0.02 1054.33 21.672 29.25 1.84 23.93 0.02 1053.00 21.643 30.05 1.19 23.93 0.02 1054.00 21.664 29.18 1.15 23.93 0.02 1054.33 21.675 28.50 0.91 23.93 0.02 1051.33 21.616 28.85 1.81 23.93 0.03 1052.33 32.447 28.25 1.03 23.93 0.02 1052.67 21.648 25.73 0.86 23.93 0.03 1054.33 32.509 25.80 1.20 23.93 0.02 1056.00 21.70

10 25.30 0.84 23.93 0.03 1058.00 32.6211 25.23 0.94 23.93 0.03 1056.33 32.5712 22.68 0.79 23.93 0.03 1056.33 32.57

เฉลี่ย 27.11 1.16 23.93 0.025 1054.67 26.79

ตารางที่ 6.4 ความชื้นของกิ่งสาขณะทดสอบการตัดกิ่งสา

ตนที่ น้ําหนักกอนอบ (กรัม) น้ําหนักหลังอบ (กรัม) น้ําหนักที่หายไป (กรัม) % ความชื้น (%)

1 33.46 12.11 21.35 63.812 47.93 17.21 30.72 64.093 31.20 10.81 57.93 65.354 88.14 31.11 57.03 64.705 31.95 12.62 19.33 60.056 130.38 43.22 87.16 66.857 49.69 21.44 28.25 56.858 128.46 41.23 87.23 67.90

รวม 509.60เฉลี่ย 63.70

Page 124: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

115

ตารางที่ 6.5 แสดงการทดสอบโดยการใชเลื่อยโซดามจับยาว 2 เมตร

กิ่งท่ี เวลาในการตัด(S)

ขนาดเสนผาศูนยกลาง(mm.)

1 74.84 56.82 11.81 38.13 28.53 43.94 13.63 39.65 7.45 34.856 85.7 56.657 23.41 46.458 26.47 519 10.05 3310 41.46 4011 17.27 38.1512 6.54 37.913 96.16 69.814 27.93 53.0515 24.01 4116 140.34 67.9517 92.51 63.2218 29.01 4519 27.69 39.220 9.68 26.321 15.65 39.7522 97.47 60.66รวม 907.61 1022.33เฉลี่ย 41.26 46.47

- เวลารวมที่ใชในการทดสอบทั้งหมด 25 นาที 23 วินาที - เวลาที่ใชในการตัดกิ่งปอสา 15 นาที 7 วินาที

Page 125: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

116

ตารางที่ 6.6 แสดงการทดสอบโดยการใชคนตัด (ใชมีด) กิ่งท่ี เวลาในการตัด ขนาดเสนผาศูนยกลาง

(S) (mm.)1 11.80 58.002 17.59 66.303 17.38 69.004 5.74 42.305 10.79 67.706 22.48 78.807 3.59 42.408 20.95 69.809 9.70 53.3010 16.51 54.4011 20.55 68.0012 41.14 76.0013 11.86 52.8014 45.77 82.4015 22.49 69.0016 16.27 60.0017 191.09 113.0018 14.91 42.5019 10.29 41.0020 11.24 39.00

Total 522.14 1245.70เฉลี่ย 26.12 62.29

- เวลารวมที่ใชในการทดสอบทั้งหมด 28 นาที 41 วินาที- เวลาที่ใชในการตัดกิ่งปอสา 8 นาที 25 วินาที

Page 126: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

117

การคํานวณคาใชจายการใชงานเครื่องตัดตนปอสา- ราคาเครื่องยนต 10,000 บาท- ดอกเบี้ย 3 %- การใชงาน 10 ป- คาใชจายผันแปร

ทํางาน 8 hr / day-ใบโซเปลี่ยนทุก 500 hr , ใบโซ 15 บาท / ใบ , ใช 30 ใบ/ เสน-guide-bar 5,000 hr ชุดละ 400 บาท-เฟองขับโซ 3,000 hr ราคา 80 บาท-เฟองหองเกียร 3,000 hr (เฟองดอกจอก 2 ตัว) ชุดละ 1,000 บาท-หองเกียร 3,000 hr ราคา 1,000 บาท-ลูกปน 4 ลูก (3,000 hr ลูกละ 50 บาท)-เครื่องยนต 3,000 hr ซอมบํารุงรักษา เปลี่ยนแหวน ครั้งละ 2,000 บาท

-คนงาน 1 คน 120 บาท / วัน-น้ํามันเชื้อเพลิง 15.29 บาท /ลิตร

การคิดคาใชจายในการตัดกิ่งปอสา (บาท / กิ่ง)1). คาเสื่อมราคา DP = P – S L

DP = คาเสื่อมราคาประจําปP = ราคาซื้อของเครื่องจักรL = อายุการปฏิบัติงานของเครื่องจักรS = ราคาขายหรือคาคงเหลือเมื่อเครื่องจักรหมดอายุโดยคิดประมาณ 10 % ของราคาซื้อ

อายุการใชงาน 10 ป เมื่อสิ้นปท่ี 10 ราคาเครื่องเหลือ 10% ของราคาเริ่มตนราคาซากเครื่อง = 10 X 10,000 =1,000 บาท

100DP = 10,000 – 1,000 = 900 บาท / ป

10

Page 127: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

118

2). ดอกเบี้ย (Interest on Invertment) 3 %ดอกเบี้ยท่ีควรจะไดรับ (I) = ( C+S ) X i

2I = คาดอกเบี้ยคงท่ีตอป บาทI = อัตราดอกเบี้ย (ทศนิยม)C = ราคาซื้อของเครื่องจักรกลS = ราคาขายหรือคาคงเหลือเมื่อเครื่องจักรหมดอายุโดยคิดประมาณ 10 % ของราคาซื้อ

I = ( 10,000 +1,000 ) x 0.03 2

= 165 บาท /ปตนทุนคงที่ / ป = 165 + 900

= 1,065 บาท / ปการใชงานเครื่องโดยเฉลี่ย 8 ชม./วัน

ใน 1 ป จะใชงาน = 8 x30 x12 ชม. = 2,880 ชม.

ตนทุนคงที่ / ชม. = 1,065 = 0.37 บาท / ชม. 2,880

ตนทุนผันแปร = การซอมบํารุงรักษา + คาน้ํามันเชื้อเพลิง + คาน้ํามันเครื่อง +การซอมบํารุงรักษา + การสึกหรอของใบโซ

ใบโซเปลี่ยนทุกๆ 500 hr- อายุการใชงานใบโซ = 500 hr/ ใบใบโซ 1 เสน ใช 30 ใบ , ราคาใบโซ 15 บาท / ใบ

ราคาใบโซ เสนละ = 15 x 30 = 450 บาทตองเปลี่ยนใบโซ = 2,880 x 450 บาท / ป

500= 2,592 บาท / ป

- อายุการใชงานของ Guide-bar 5,000 hr อันละ 400 บาทคาสึกหรอ = 2,880 x 400 บาท / ป

5,000 = 230.4 บาท / ป

Page 128: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

119

- อายุการใชงานของเฟองหองเกียร 3,000 hr (เฟองดอกจอก 2 ตัว) ราคาชุดละ 1,000 บาทคาสึกหรอ = 2,880 x 1,000 บาท / ป

3,000 = 960 บาท / ป

- อายุการใชงานของหองเกียร 3,000 hr ตัวละ1,000 บาทคาสึกหรอ = 2,880 x 1,000 บาท / ป

3,000 = 960 บาท /ป

- อายุการใชงานของเฟองขับโซ 3,000 hr ราคา 80 บาทคาสึกหรอ = 2,880 X 80 บาท / ป

3,000 = 76.8 บาท / ป

- อายุการใชงานของลูกปน ( 4 ลูก) 3,000 ชม. ลูกละ 50 บาทคาสึกหรอ = 2,880 X 200 บาท / ป 3,000

= 192 บาท / ปการสึกหรอของเครื่องยนตยกเครื่องใหมทุกๆ 3,000 hr แตละครั้งเสียคาใชจาย 2,000 บาท

คาสึกหรอเครื่องยนต = 2,880 X 2,000 บาท / ป 3,000

= 1,920 บาท / ปรวมคาซอมบํารุงรักษา = 2,592 + 230.4 + 960+960+76.8 +192 +1,920 บาท

= 6,931.2 บาทคาซอมบํารุงรักษา / ชม. = 6,931.2 บาท / ชม.

2,880 = 2.41 บาท / ชม.

ขอมูลจากการทดสอบการตัดกิ่งปอสา เลื่อยโซดามจับยาว 2 เมตร คาน้ํามัน 0.56 ลิตร / ช่ัวโมง ตัดกิ่งไมได 52 กิ่ง / ช่ัวโมง

คาน้ํามันเชื้อเพลิง = 0.56 X 15.29 บาท / ชม. = 8.56 บาท / ชม.

ตนทุนผันแปร = 2.41 + 8.56 บาท / ชม = 10.97 บาท / ชม.

Page 129: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

120

ตนทุนรวมทั้งหมด = 0.37 +10.97 บาท / ชม = 11.34 บาท / ชม.

เครื่องสามารถตัดกิ่งไมได 52 กิ่ง /ชม.ตนทุนตอกิ่ง = 11.34 บาท / กิ่ง

52 = 0.22 บาท /กิ่ง

เมื่อคิดคาจางแรงงาน 120 บาท / วัน ทํางานวันละ 8 ชม.คาจางแรงงาน = 120 = 15 บาท / ชม.

8 คาใชจายของเครื่องตัดตนปอสา = 11.34 +15 บาท / กิ่ง

52 = 0.51 บาท / กิ่ง

ความสามารถในการใชแรงงานคนใชมีดตัดกิ่งสา = 41.84 กิ่ง/ชม. คิดคาจางแรงงาน 120 บาท/วัน ทํางานวันละ 8 ชม. ดังนั้นคาจางแรงงาน = 15 บาท/ชม. คาใชจายเมื่อใชแรงงานคนใชมีดตัดตนสา = 15

41.84 = 0.358 บาท / กิ่ง / คนตัด

Page 130: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

121

รูปที่ 6.1 เลื่อยโซท่ีพัฒนาขึ้นสําหรับใชตัดตนสา รูปที่ 6.2 แสดงเสนใยสาและยางเกาะจับติดหนาคมใบมีดของเลื่อยโซ

รูปที่ 6.3 แสดงมีดท่ีใชทดสอบตัดกิ่งตนสา

รูปที่ 6.4 การทดสอบตัดกิ่งสาโดยเครื่องตัดกิ่งสา

รูปที่ 6.5 ทําการทดสอบตัดกิ่งสาโดยเครื่องตัดกิ่งสาเมื่อกิ่งอยูลึกและหางตัว

Page 131: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

122

เอกสารอางอิงเจษฎา เหลืองแจม .2525. ขาวสารเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. 11(4):51-56.ไชยยศ เพรชบูรณิน และอัจฉรา สิริจันทรา .2526 .แนะนําพืชเกาแก .ขาวพืชไร .10(2):20-30.ที ซาไก , 2533 . มาตราฐานการกําหนดเกรดของเปลือกปอสาจากประเทศไทย บริษัท ซันเวิลด จํากัด

กรุงเทพ. 5 หนา.นัยนา นิยมวัน, วัฒนา โอภานนทอมตะ,ศิริกัลยา สุวจิตตานนท,อัญชลี กมลรัตนกุล และ สมบัติ อัศวปยา

นนท. 2526. ในรายงานฉบับที่ 2 การใชประโยชนไมปอสาในอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษ โครงการวิจัยท่ี ภ. 22 – 04 การใชประโยชนพืชเมืองรอนในอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษและกระดาษ. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย,กรุงเทพ

เนาวรัตน เสริมศรี . 2523 . ปอสา. วารสารกสิกร ,53 (6 ) : 439-442 กองพืชไร กรมวิชาการเกษตร.เพิ่มศักดิ์ สุภาพรเหมินทร , อินทรัตน เสราาดี , วันชัย สรอยอินทรากุล , สวาง ขัดขาว, ศุภชัย แกวมีชัย ,

วิโรจน วจนานวัช และชาญชัย สมาศิลป . 2538. เทคโนโลยีการผลิตปอสา และกระดาษสา , ศูนยวิจัยพืชไรเชียงใหม สถาบันวิจัยพืชไร กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ, เชียงใหม.

ฟนิกซ พลัพ แอนด เพเปอร จํากัด 2530 , สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมการผลิตเยื่อกระดาษ, ศูนยพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กองเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม สํานักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม.

เมษ ตุงคเศรณี .2526. การคาเปลือกปอสาในประเทศไทย , รายงานการสัมมนาเรื่องการพัฒนาปอสาเพื่ออุตสาหกรรมเยื่อกระดาษ ,สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย, กรุงเทพ.

วิวัฒน ตัณฑะนานิชกุล.2525. อุปกรณอบแหงในอุตสาหกรรม.สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีปุน)กรุงเทพ.

สมบัติ อัศวปยานนท, สุเพ็ญ จงวัฒนา และ นัยนา นิยมวัน . 2526 . รายงานฉบับที่ 3 การปรับปรุงกรรมวิธีการผลิตกระดาษสาของ วท.โครงการวิจัยท่ี ภ.22 – 04 การใชประโยชนพืชเมืองรอนในอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษและกระดาษ,สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย, กรุงเทพ.

สรรเสริญ เจริญศรี และมนตรี พรหมโชติกุล . 2517 . การทําเยื่อกระดาษจากไมและเปลือกปอกะสาโดยวิธีซัลเฟต,รายงานเลขที่ ร. ( R ) 152 กองวิจัยผลิตผลปาไม กรมปาไม กระทรวงเกษตรและสหกรณ,กรุงเทพ.

Page 132: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

123

ประวัตินักวิจัย

ชื่อ (ภาษาไทย) นายวิชา นามสกุล หมั่นทําการ (ภาษาอังกฤษ) Mr. Vicha Manthamkarn ตําแหนงปจจุบันผูชวยศาสตราจารย ประวัติการศึกษา

ปท่ีจบ ระดับปริญญา อักษรยอปริญญา สาขาวิชา ช่ือสถาบัน ประเทศการศึกษา และชื่อเต็ม การศึกษา

2523 ปริญญาตรี B.Eng (Bachelor Agricultural มหาวิทยาลัย ไทยof Engineering) Engineering เกษตรศาสตร

2526 ปริญญาโท M.Eng (Master ofAgricultural Asian Institute ไทยEngineering Machinery & Technology

Management (AIT)

สาขาวิชาการที่มีความชํานาญพิเศษ (แตกตางจากวุฒิการศึกษา) ระบุสาขาวิชาการออกแบบและทดสอบเครื่องจักรกลการเกษตร

ประสบการณที่เกี่ยวของกับงานวิจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ : ระบุสภาพในการทําวิจัยวาเปนหัวหนาโครงการวิจัย หรือผูรวมวิจัยในแตละเร่ือง

งานวิจัยท่ีทําเสร็จแลว : ช่ือเรื่อง ปท่ีพิมพ และสถานภาพในการทําการวิจัย

ชื่อเร่ืองงานวิจัย ปที่พิมพ สถานภาพในการทําวิจัย

1. การวิจัยและพัฒนาระบบเครื่องเพาะฟกไขปลานิล 2531 หัวหนาโครงการ2. การวิจัยการออกแบบหีบหอบรรจุมะมวง 2532 หัวหนาโครงการ3. การทดสอบเครื่องมือเตรียมดินปลูกออยท่ีผลิตใน 2530 หัวหนาโครงการ

ประเทศไทย4. การวิจัยและพัฒนาเครื่องคัดขนาดกุง 2532 หัวหนาโครงการ5. การวิจัยและพัฒนาเครื่องดูดเลนในบอเลี้ยงกุง 2533 หัวหนาโครงการ6. การวิจัยและพัฒนาเครื่องลางทําความสะอาดทุเรียน 2533 หัวหนาโครงการ7. การทดสอบเครื่องเกี่ยวนวดขาว 2534 หัวหนาโครงการ8. การทดสอบเครื่อง Rice stripper 2535 หัวหนาโครงการ9. การทดสอบเครื่องปรับระดับโดยใชแสงเลเซอรควบคุม 2536 หัวหนาโครงการ

Page 133: รายงานการวิจัย - Kasetsart Universityposaa.kapi.ku.ac.th/Research/2545_NRCT/Full_SP4.pdfตารางท 3.8 การทดสอบหาอ ตราการท

124

ชื่อเร่ืองงานวิจัย ปที่พิมพ สถานภาพในการทําวิจัย

10. การทดสอบเครื่องนวดขาวของเครื่องเกี่ยวนวดขาว 2535 หัวหนาโครงการ ตนแบบ

11. การวิจัยและพัฒนาเครื่องหวานอาหารเม็ดสําเร็จรูป 2536 หัวหนาโครงการ สําหรับบอกุง-ปลา

12. การวิจัยและพัฒนาเครื่องเกี่ยวนวดขาว 2537 หัวหนาโครงการ13. การวิจัยและพัฒนาเครื่องเก็บเกี่ยวขาวโพดติด 2538 หัวหนาโครงการ

รถไถนาเดินตาม14. การวิจัยและพัฒนาเพื่อเครื่องเก็บเกี่ยวขาวโพด 2539 หัวหนาโครงการ

สําหรับติดรถไถเดินตาม และสําหรับติดรถ แทรกเตอร 4 ลอ ในเชิงการคา

15. การวิจัยและพัฒนาเครื่องปลิดเมล็ดขาว 2540 หัวหนาโครงการ (Rice stripper)

งานวิจัยท่ีกําลังทํา : ช่ือเรื่องและสถานภาพการทําการวิจัยเปนหัวหนาโครงการวิจัย และพัฒนาเครื่องเกี่ยวนวดขาวโพด (Corn Combiued Harveter)

และการวิจัยและพัฒนาเครื่องสีขาวโพดทั้งเปลือก (Husked Corn Sheller)

ผลงานที่เคยไดรับรางวัลรางวัลชมเชยจากการประกวดสิ่งประดิษฐในงานแสดงเกษตรและอุตสาหกรรมโลกป พ.ศ. 2538

จากการประกวดสิ่งประดิษฐเครื่องเก็บเกี่ยวขาวโพดติดรถไถติดตามรางวัลชมเชย จากการประกวดสิ่งประดิษฐคิดคนทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีประจําป 2539

จัดโดย กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม รวมกับมูลนิธิธนาคารกรุงเทพ จากผลงานการประดิษฐการออกแบบใบพันปนน้ําท่ีสามารถดูดน้ําท่ีมีของแข็งแขวนลอยได

รางวัลท่ี 3 จากการประกวดสิ่งประดิษฐคิดคนทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีประจําป 2539 จัดโดยกระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอมรวมกับมูลนิธิธนาคารกรุงเทพ จากผลงานการประดิษฐ เครื่องเก็บเกี่ยวขาวโพดติดรถแทรกเตอร 4 ลอ