127

รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

  • Upload
    others

  • View
    9

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·
Page 2: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54)

สารบัญ

หนา สารบัญ

สารบัญรูป สารบัญตาราง

บทท่ี 1 บทนํา 1.1 หลักการและเหตุผล 1-1 1.2 คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย 1-2

บทท่ี 2 การศึกษารายละเอียดโครงการและขอมูลประกอบการรับฟงความคิดเห็น 2.1 ความเปนมาของโครงการ 2-1

2.2 สถานภาพโครงการ 2-3 2.3 ประเด็นเก่ียวกับท่ีตั้งโครงการ 2-3 2.3.1 ท่ีตั้งโครงการและพ้ืนท่ีโดยรอบ 2-3

2.3.2 การใชพ้ืนท่ีและระบบเสริมการผลิต 2-4 2.3.3 เชื้อเพลิงและการจัดการ 2-5 2.4 สารเคมีท่ีใชในโครงการ 2-8

2.5 กระบวนการผลิต 2-9 2.6 ทรัพยากรน้ํา 2-10 2.6.1 การใชน้ํา 2-10

2.6.2 การจัดการน้ําท้ิง 2-11 2.7 มลพิษทางอากาศ 2-12 2.8 มลพิษทางเสียง 2-15

2.9 กากของเสีย 2-15 2.10 การขนสงทางรถยนต 2-16 2.11 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2-16

2.12 การประชาสัมพันธ ชุมชนสัมพันธ และแผนการรับเรื่องรองเรียน 2-17 2.13 การทบทวนประเด็นความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสียจากรายงาน 2-18 การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมฯ ของโครงการ

บทท่ี 3 ข้ันตอนและกระบวนการจัดรับฟงความคิดเห็น 3.1 กําหนดวัน เวลา และสถานท่ีจัดประชุมรับฟงความคิดเห็นฯ 3-6

3.2 กลุมประชาชนและผูมีสวนไดเสียท่ีทําการประชาสัมพันธกระบวนการ 3-6 รับฟงความคิดเห็นฯ

Page 3: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54)

สารบัญ (ตอ)

หนา

3.3 เอกสารเผยแพร 3-6

3.4 การประกาศการประชุมรับฟงความคิดเห็นและรับลงทะเบียนลวงหนา 3-9

3.5 การรับลงทะเบียนลวงหนา 3-11

3.6 การจัดเตรียมบัญชีรายชื่อและแจงกลับผลการลงทะเบียน 3-12

3.7 การเผยแพรขอมูลขาวสารท่ีเก่ียวของกับโครงการ 3-12

3.8 การจัดประชุมรับฟงความคิดเห็น 3-14

3.8.1 ข้ันตอนการดําเนินการประชุมฯ 3-14

3.8.2 กติกาการแสดงความคิดเห็น 3-14

3.8.3 เอกสารประกอบการประชุม 3-14

3.8.4 การประเมินผลการ 3-15

บทท่ี 4 ผลการดําเนินงานจากกระบวนการรับฟงความคิดเห็น

4.1 ขอมูลท่ัวไปของการจัดประชุม 4-1

4.2 ผูเขารวมประชุม 4-2

4.3 ผูแสดงความคิดเห็น 4-4

4.4 การประมวลความคิดเห็น 4-4

4.4.1 ประเด็นเก่ียวกับกิจกรรมเพ่ือสังคมและชุมชน (20 ความเห็น) 4-22

4.4.2 ประเด็นเก่ียวกับมลพิษทางอากาศ (15 ความเห็น) 4-23

4.4.3 ประเด็นเก่ียวกับการดําเนินงานของโครงการ (11 ความเห็น) 4-25

4.4.4 ประเด็นเก่ียวกับการมีสวนรวม (10 ความเห็น) 4-26

4.4.5 ประเด็นเก่ียวกับสุขภาพ (10 ความเห็น) 4-27

4.4.6 ประเด็นเก่ียวกับภาพรวมของพ้ืนท่ี (7 ความเห็น) 4-28

4.4.7 ประเด็นเก่ียวกับการศึกษาและประเมินผลกระทบ (7 ความเห็น) 4-30

4.4.8 ประเด็นเก่ียวกับการอนุมัติ/อนุญาต (7 ความเห็น) 4-31

4.4.9 ประเด็นเก่ียวกับคุณภาพน้ําทะเล (6 ความเห็น) 4-32

4.4.10 ประเด็นเก่ียวกับการประชาสัมพันธและใหขอมูลขาวสาร (6 ความเห็น) 4-33

4.4.11 ประเด็นเก่ียวกับกองทุนพัฒนาไฟฟา (6 ความเห็น) 4-34

4.4.12 ประเด็นเก่ียวกับทรัยพากรชีวภาพทางทะเล/ประมง (4 ความเห็น) 4-35

4.4.13 ประเด็นเก่ียวกับความปลอดภัย (4 ความเห็น) 4-36

4.4.14 ประเด็นเก่ียวกับนโยบายพลังงาน (3 ความเห็น) 4-37

4.4.15 ประเด็นเก่ียวกับการกํากับดูแล (3 ความเห็น) 4-37

Page 4: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54)

สารบัญ (ตอ)

หนา

4.4.16 ประเด็นเก่ียวกับทางเลือกโครงการ (2 ความเห็น) 4-38

4.4.17 ประเด็นเก่ียวกับกากของเสีย (2 ความเห็น) 4-49

4.4.18 ประเด็นเก่ียวกับการคมนาคมขนสง (2 ความเห็น) 4-40

4.4.19 ประเด็นเก่ียวกับพ้ืนท่ีสีเขียว (2 ความเห็น) 4-41

4.4.20 ประเด็นเก่ียวกับการปดโครงการ/หลังดําเนินงาน (1 ความเห็น) 4-41

4.4.21 ประเด็นเก่ียวกับมาตรการชดเชย (1 ความเห็น) 4-42

4.5 การแสดงความคิดเห็นของคณะกรรมการองคกรอิสระดานสิ่งแวดลอมและ 4-43

สุขภาพ (กอสส.)

4.6 การประเมินผลกระบวนการรับฟงความคิดเห็น 4-45

บทท่ี 5 บทสรุป

5.1 การประมวลผลการรับฟงความคิดเห็นฯ 5-1

5.1.1 ประเด็นดานความเหมาะสมและทางเลือกของโครงการ 5-2

5.1.2 ประเด็นท่ีอาจสงผลกระทบดานคุณภาพสิ่งแวดลอม 5-3

5.1.3 ประเด็นท่ีอาจสงผลกระทบดานทรัพยากรธรรมชาติ 5-4

5.1.4 ประเด็นท่ีอาจสงผลกระทบดานสุขภาพ 5-5

5.1.5 ประเด็นดานความเชื่อม่ัน 5-6

5.2 บทสรุปและขอเสนอแนะ 5-7

5.2.1 บทสรุปสําหรับความคิดเห็นฯ เพ่ือการพิจารณาอนุญาตโครงการ 5-7

โรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

5.2.2 ขอเสนอแนะเก่ียวกับกระบวนการรับฟงความคิดเห็นฯ 5-7

ภาคผนวก

ภาคผนวก 1-1 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 29 ธ.ค. 2552

ภาคผนวก 1-2 ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 31 ส.ค. 2553

ภาคผนวก 1-3 หนังสือสงรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมฯ ของโครงการ

ภาคผนวก 1-4 คําสั่งคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน ท่ี 048/2554

ภาคผนวก 1-5 รายงานการประชุมคณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ

ภาคผนวก 2-1 แผนปฏิบัติการดานสิ่งแวดลอมและมาตรการฯ แนบทายหนังสือเห็นชอบ

Page 5: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54)

สารบัญ (ตอ)

ภาคผนวก 2-2 สรุปความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสียในกระบวนการจัดทํารายงาน

การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการ รวมท้ัง คณะกรรมการผูชํานาญการ

ผูพิจารณารายงานฯ

ภาคผนวก 3-1 คูมือการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการรับฟงฯ

ภาคผนวก 3-2 การสงจดหมายเชิญเขารวมการประชุมรับฟงความคิดเห็นฯ

ภาคผนวก 3-2.1 รายชื่อการสงจดหมายเชิญเขารวมการประชุมรับฟงความคิดเห็นฯ

ภาคผนวก 3-2.2 หลักฐานการสงจดหมายทางไปรษณีย

ภาคผนวก 3-2.3 เอกสารสงสําเนาจดหมายเซนตรับของชุมชน

ภาคผนวก 3-2.4 การเผยแพรผานทางเว็บไซต

ภาคผนวก 3-3 การประชาสัมพันธโครงการ

ภาคผนวก 3-3.1 ภาพถายการประชาสัมพันธโครงการ

ภาคผนวก 3-3.2 การประชาสัมพันธผานสื่อวิทยุ รถกระจายเสียง และสื่อประชาสัมพันธโครงการ

ภาคผนวก 3-4 การลงทะเบียนลวงหนา

ภาคผนวก 3-4.1 ภาพถายการรับลงทะเบียนลวงหนา

ภาคผนวก 3-4.2 รายชื่อผูลงทะเบียนลวงหนา

ภาคผนวก 3-4.3 ผูลงทะเบียนผานทางเว็บไซต

ภาคผนวก 3-4.4 แบบตอบรับเขารวมประชุม

ภาคผนวก 3-4.5 การแจงผลการลงทะเบียนลวงหนา

ภาคผนวก 3-5 กระบวนการจัดประชุมรับฟงความคิดเห็นฯ เม่ือวันท่ี 18 พฤศจิกายน 2554

ภาคผนวก 3-5.1 เอกสารประกอบการประชุมรับฟงความคิดเห็นฯ

ภาคผนวก 3-5.2 ภาพถายบรรยากาศการประชุมรับฟงความคิดเห็นฯ

ภาคผนวก 3-5.3 เอกสารการลงทะเบียนเขารวมประชุมรับฟงความคิดเห็นฯ

เม่ือวันท่ี 18 พฤศจิกายน 2554

ภาคผนวก 3-5.4 เอกสารการลงทะเบียนเขารวมประชุมรับฟงความคิดเห็นฯ

(ก) ประชาชนเทศบาลเมืองมาบตาพุด

(ข) ประชาชนเทศบาลเมืองบานฉางและเทศบาลตําบลบานฉาง

(ค) ประชาชนเทศบาลตําบลเนินพระ

(ง) ประชาชนเทศบาลตําบลทับมา

(จ) หนวยงานราชการ

(ฉ) สถาบันการศึกษา

(ช) บริษัทเอกชน

(ซ) สื่อมวลชน

Page 6: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54)

สารบัญ (ตอ)

(ฌ) องคกรพัฒนาเอกชน

(ญ) กลุมประมงเรือเล็ก

(ฎ) ผูสนใจท่ัวไป

ภาคผนวก 4-1 เอกสารการลงทะเบียนแสดงความคิดเห็น

ภาคผนวก 4-2 บันทึกประเด็นความเห็นอยางละเอียด

ภาคผนวก 4-3 เอกสารการแสดงความคิดเห็น

ภาคผนวก 4-3.1 เอกสารการแสดงความคิดเห็นทายแบบประเมินผลการประชุม

ภาคผนวก 4-3.2 เอกสารการแสดงความคิดเห็น โดยโครงการเสริมสรางศักยภาพในการให

ความเห็นตอการดําเนินโครงการท่ีสงผลกระทบตอชุมชนและสิ่งแวดลอม

ภาคผนวก 4-3.3 เอกสารการแสดงความคิดเห็นโดย กอสส.

ภาคผนวก 4-3.4 เอกสารการแสดงความคิดเห็นภายหลังการประชุมรับฟงฯ ทางไปรษณีย

ภาคผนวก 4-3.5 เอกสารการแสดงความคิดเห็นโดย บริษัท เก็คโค-วัน

ภาคผนวก 4-4 การประเมินผลการจัดประชุม

ภาคผนวก 4-4.1 แบบประเมินผลการจัดประชุม

ภาคผนวก 4-4.2 ผลการประเมินผลการจัดประชุม

ภาคผนวก 4-5 ซีดีบันทึกภาพเคลื่อนไหวการจัดประชุมรับฟงความคิดเห็นฯ

Page 7: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54)

สารบัญรูป

หนา

รูปท่ี 2.3.1-1 ท่ีตั้งโครงการและพ้ืนท่ีโดยรอบ 2-4

รูปท่ี 2.3.2-1 พ้ืนท่ีโครงการ 2 สวน ขนาดพ้ืนท่ีรวม 85 ไร 2-5

รูปท่ี 2.3.3-1 ลักษณะพ้ืนท่ีลานกองถานหินของโครงการและระบบปองกันการฟุงกระจาย 2-8

ของถานหิน

รูปท่ี 2.5-1 กระบวนการผลิตอยางงายของโครงการ 2-10

รูปท่ี 2.7-1 เปรียบเทียบอัตราการระบายโดยรวมกอนและหลังมีโครงการโรงไฟฟาใหม 2-13

รูปท่ี 3-1 กระบวนการและวิธีการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามชวงระยะเวลาการดําเนินงาน 3-5

Page 8: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54)

สารบัญตาราง

หนา

ตารางท่ี 2.3.3-1 องคประกอบถานหินบิทูมินัสท่ีใชในโครงการ 2-6

ตารางท่ี 2.7-1 คาควบคุมการระบายมลพิษทางอากาศของโครงการ 2-13

ตารางท่ี 2.7-2 การปรับลดการระบายมลพิษทางอากาศของโรงไฟฟาพลังความรอนรวม 2-14

640 เมกะวัตต และอัตราการระบายมลพิษทางอากาศของโครงการโรงไฟฟาใหม

ตารางท่ี 2.13-1 ข้ันตอนการดําเนินงานตามประกาศ ทส. 29 ธ.ค. 52 2-18

ตารางท่ี 3-1 การเปรียบเทียบกระบวนการจัดรับฟงความคิดเห็นฯ 3-2

ตามประกาศ ทส. 29 ธันวาคม 2552

ตารางท่ี 3.2-1 กลุมเปาหมายท่ีเชิญ/ประชาสัมพันธเขารวมกระบวนการรับฟงความคิดเห็น 3-8

ตารางท่ี 4.2-1 การจําแนกกลุมประชาชนและผูมีสวนไดเสียท่ีเขารวมประชุม 4-3

ตารางท่ี 4.4-1 ขอมูลผูแสดงความคิดเห็นจําแนกตามท่ีอยูอาศัย/ท่ีทํางาน 4-5

ตารางท่ี 4.4-2 ขอมูลผูแสดงความคิดเห็นจําแนกตามอาชีพ 4-6

ตารางท่ี 4.4-3 สรุปความถ่ีของการแสดงความคิดเห็นในแตละประเด็น 4-7

ตารางท่ี 4.4-4 สรุปความถ่ีของการแสดงความคิดเห็น จําแนกตามอาชีพ 4-8

ตารางท่ี 4.4.-5 สรุปความถ่ีของการแสดงความคิดเห็น จํานแกตามท่ีอยูอาศัย 4-9

(ระยะหางจากท่ีตั้งโครงการ)

ตารางท่ี 4.4-6 สรุปประเด็นจากการรับฟงความคิดเห็น: ประเด็นดานสังคมและชุมชน 4-10

43 ความเห็น

ตารางท่ี 4.4-7 สรุปประเด็นจากการรับฟงความคิดเห็น: ประเด็นเก่ียวกับการพัฒนา 4-14

โครงการระยะตาง ๆ (31 ความเห็น)

ตารางท่ี 4.4-8 สรุปประเด็นจากการรับฟงความคิดเห็น: ประเด็นเก่ียวกับการจัดการและ 4-16

ปองกันผลกระทบสิ่งแวดลอมจากการดําเนินงานของโครงการ (31 ความเห็น)

ตารางท่ี 4.4-9 สรุปประเด็นจากการรับฟงความคิดเห็น: ประเด็นดานสุขภาพ สาธารณสุข 4-19

และความปลอดภัย (14 ความเห็น)

ตารางท่ี 4.4-10 สรุปประเด็นจากการรับฟงความคิดเห็น: ประเด็นในภาพรวม (10 ความเห็น) 4-21

สรุปประเด็นจากการรับฟงความคิดเห็น

ตารางท่ี 4.5-1 การแสดงความคิดเห็นของคณะกรรมการองคกรอิสระดานสุขภาพ (กอสส.) 4-45

ตารางท่ี 4.6-1 แบบประเมินผลหลังการประชุม 4-46

Page 9: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 1-1

บทที่ 1 บทนํา

1.1 หลักการและเหตุผล

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน

ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด ฉบับนี้ เปนผลจากกระบวนการรับฟงความคิดเห็นฯ ในข้ันตอนการพิจารณา

อนุมัติอนุญาตโครงการ ตามมาตรา 67 วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ซ่ึงมีระเบียบ

วิธีปฏิบัติตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ทส.) เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ

วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางในการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมสําหรับ

โครงการหรือกิจกรรมท่ีอาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ท้ังทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม

ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ (ประกาศ ทส. 29 ธันวาคม 2552 แสดงใน ภาคผนวก 1-1) โดยท่ี

โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด ขนาดกําลังการผลิตกระแสไฟฟารวม

700 เมกะวัตต ซ่ึงใชถานหินเปนเชื้อเพลิง เปนโครงการท่ีเขาขายอาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชน

อยางรุนแรง ท้ังทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ตามประกาศกระทรวง

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภท ขนาดและวิธีปฏิบัติสําหรับโครงการหรือ

กิจการ ท่ีอาจกอให เ กิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ท้ังทางด านคุณภาพสิ่ งแวดลอม

ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ท่ีสวนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือเอกชนจะตองจัดทํารายงานการวิเคราะห

ผลกระทบสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2553 (ประกาศ ทส. 31 สิงหาคม 2553 แสดงใน ภาคผนวก 1-2) (อางถึง

เอกสารแนบทายประกาศ โครงการลําดับท่ี 11.1 โรงไฟฟาท่ีใชถานหินเปนเชื้อเพลิง ขนาดกําลังการผลิต

กระแสไฟฟารวมตั้งแต 100 เมกะวัตต ข้ึนไป)

ตามท่ีรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมฯ ของโครงการไดรับการเห็นชอบจาก

คณะกรรมการผูชํานาญการ (คชก.) ตามหนังสือสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอม (สผ.) ทส 1009.7/8240 ลงวันท่ี 8 กันยายน 2554 เปนท่ีเรียบรอยแลว และผลการพิจารณา

ดังกลาว ไดจัดสงมายังสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (สกพ.) (สําเนาหนังสือสงรายงานฯ

แสดงใน ภาคผนวก 1-3) ในฐานะท่ีเปนฝายเลขานุการของคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ. )

ผูมีอํานาจหนาท่ีในการอนุมัติอนุญาต เพ่ือใหดําเนินการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนได

เสีย ตามประกาศ ทส. 29 ธันวาคม 2552 (เอกสารทายประกาศ ง) ดังนั้น กกพ. จึงไดมีคําสั่งท่ี

048/2554 ลงวันท่ี 13 กันยายน 2554 เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและ

ผูมีสวนไดเสีย สําหรับโครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด (ภาคผนวก 1-4)

เพ่ือดําเนินการจัดกระบวนการรับฟงความคิดเห็นฯ และเสนอรายงานการรับฟงความคิดเห็นฯ พรอมท้ัง

คําชี้แจงของหนวยงานท่ีเก่ียวของ เสนอตอ กกพ. เพ่ือพิจารณาประกอบการพิจารณาอนุมัติอนุญาต

โครงการ ซ่ึงคณะกรรมการฯ ไดดําเนินการอยางครบถวนเปนท่ีเรียบรอยแลว ดังรายละเอียดในรายงานฯ

ฉบับนี้

Page 10: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 1-2

1.2 คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลัง

ความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด ท่ีแตงตั้งโดย กกพ. ตามคําสั่งเลขท่ี 048/2554 ลงวันท่ี 13

กันยายน 2554 (ภาคผนวก 1-4) ประกอบดวย ประธานกรรมการ และกรรมการ 4 ทาน ดังตอไปนี้

นายวิระ มาวิจักขณ ประธานกรรมการ

นายสุคนธ เจียสกุล กรรมการ

นายกิจจา เรืองไทย กรรมการ

นายมงคล ดํารงคศรี กรรมการ

นายจิรชัย เชาวลิต กรรมการ

ท้ังนี้ เพ่ือใหกระบวนการรับฟงความคิดเห็นฯ ครั้งนี้ สอดคลองตามกรอบกฎหมาย มีการ

ดําเนินงานท่ีสะดวกตอผู เ ก่ียวของทุกฝาย และไดมาซ่ึงความคิดเห็นอยางครบถวนรอบดาน

คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ไดมีการประชุมรวมกัน เพ่ือวางแผนและจัดเตรียมกระบวนการรับ

ฟงความคิดเห็นฯ มีการลงพ้ืนท่ีตรวจสอบพ้ืนท่ีโครงการ และเตรียมความพรอมของการจัดประชุม

รวมท้ังสิ้นจํานวน 11 ครั้ง (รายงานการประชุมคณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ดังแสดงใน

ภาคผนวก 1-5) ประกอบดวย

(1) กอนรับฟงความคิดเห็น

การประชุมคณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ เพ่ือวางแผนและจัดเตรียมความพรอม

ของกระบวนการรับฟงความคิดเห็นฯ มีจํานวน 5 ครั้ง ไดแก

- ครั้งท่ี 1/2554 (ครั้งท่ี 1) วันพุธท่ี 14 กันยายน 2554

- ครั้งท่ี 2/2554 (ครั้งท่ี 2) วันพุธท่ี 5 ตุลาคม 2554

- ครั้งท่ี 3/2554 (ครั้งท่ี 3) วันจันทรท่ี 17 ตุลาคม 2554

- ครั้งท่ี 4/2554 (ครั้งท่ี 4) วันอังคารท่ี 1 พฤศจิกายน 2554

- ครั้งท่ี 5/2554 (ครั้งท่ี 5) วันอังคารท่ี 15 พฤศจิกายน 2554

สําหรับการประชุมวาระพิเศษ (การเดินทางลงพ้ืนท่ีจังหวัดระยอง) มีจํานวน 2 ครั้ง

ไดแก

- ครั้งท่ี 1/2554 (ครั้งท่ี 1) วันจันทรท่ี 3 ตุลาคม 2554

- ครั้งท่ี 2/2554 (ครั้งท่ี 2) วันพฤหัสบดีท่ี 17 พฤศจิกายน 2554

Page 11: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 1-3

(2) ระหวางการรับฟงความคิดเห็น

- การประชุมรับฟงความคิดเหน็ ณ อาคารหอประชุมใหญ ศูนยราชการจังหวัดระยอง

- ครั้งท่ี 6/2554 (ครั้งท่ี 6) วันจันทรท่ี 28 พฤศจิกายน 2554

(3) หลังการรับฟงความคิดเห็น

คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ไดมีการประชุมหารือเพ่ือสรุปผลการรับฟงความ

คิดเห็นฯ และวิเคราะหขอมูลสําหรับจัดทํารายงานสรุปความคิดเห็นฯ จํานวน 2 ครั้ง ดังนี้

- ครั้งท่ี 7/2554 (ครั้งท่ี 7) วันอังคารท่ี 13 ธันวาคม 2554

- ครั้งท่ี 8/2554 (ครั้งท่ี 8) วันศุกรท่ี 16 ธันวาคม 2554

--------------------------------------------

Page 12: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 2-1

บทที่ 2 การศึกษารายละเอียดโครงการและขอมูลประกอบการรับฟงความคิดเห็น

คณะกรรมการฯ ไดศึกษาทบทวนรายละเอียดโครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด เพ่ือเปนขอมูลประกอบการจัดกระบวนการรับฟงความคิดเห็นในครั้งนี้ใหเกิด

ประสิทธิภาพมากท่ีสุด สําหรับแหลงท่ีมาของขอมูลหลักท่ีใชในการศึกษา ไดแก รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมสําหรับโครงการหรือกิจการท่ีอาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงท้ังทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน บริษัท

เก็คโค-วัน จํากัด ฉบับสมบูรณ เดือนสิงหาคม 2554 ซ่ึงรวมถึง เอกสารและรายงานฉบับอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวของในข้ันตอนของการศึกษาจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมฯ ประกอบดวย รายงานสรุปผลการดําเนินงานรับฟงความคิดเห็นของประชาชนแตละข้ันตอน และขอมูลท่ีชี้แจงตอ

คณะกรรมการผูชํานาญการในข้ันตอนของการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมฯ นอกจากนี้ คณะกรรมการฯ ไดลงพ้ืนท่ีเพ่ือเยี่ยมชมพ้ืนท่ีโครงการและสภาพแวดลอมโดยรอบ รวมท้ัง รับฟงการบรรยายสรุปขอมูลและซักถามเก่ียวกับกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ ของโครงการ จาก

ผูแทนของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด และบริษัท แอรเซฟ จํากัด (บริษัทท่ีปรึกษาผูจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมฯ) ในวันจันทรท่ี 3 ตุลาคม 2554

จากแหลงขอมูลขางตน คณะกรรมการฯ ไดสรุปรายละเอียดการดําเนินงานของโครงการในกิจกรรมท่ีอาจกอให เ กิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ท้ังทางดานคุณภาพสิ่ งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ รวมท้ัง ประเด็นท่ีประชาชนและผูมีสวนไดเสียตาง ๆ ไดนําเสนอไวใน

กระบวนการรับฟงความคิดเห็นฯ ในข้ันตอนของการศึกษาและจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมฯ

2.1 ความเปนมาของโครงการ

ตามท่ีรัฐบาลโดยกระทรวงพลังงานซ่ึงมีหนาท่ีจัดหาพลังงานไฟฟาใหเพียงพอตอการใชงานในประเทศ ไดมีนโยบายสงเสริมใหภาคเอกชนเขามามีบทบาทในการผลิตไฟฟา โดยประกาศเชิญชวน

ใหภาคเอกชนเขามาเสนอขายไฟฟาในรูปแบบผูผลิตไฟฟาเอกชนรายใหญหรือผูผลิตไฟฟาอิสระ (Independent Power Producer, IPP) และสงจําหนายใหกับการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) เพ่ือเปนการลดภาระการลงทุนของภาครัฐ ในการนี้ บริษัท เก็คโค-วัน จํากัด ไดรับคัดเลือกจาก

กระทรวงพลังงานเม่ือวันท่ี 7 ธันวาคม 2550 ใหเปนหนึ่งในผูผลิตไฟฟาอิสระ ตามแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย พ.ศ. 2550-2564 (PDP 2007) โดยมีเปาหมายผลิตไฟฟาเพ่ือจําหนายเขาระบบของ กฟผ. ปริมาณเสนอขาย 660 เมกะวัตต และดวยลักษณะโครงการเปนโรงไฟฟาพลังความรอนซ่ึง

ใชถานหินบิทูมินัสเปนเชื้อเพลิง สอดคลองกับนโยบายการเพ่ิมเสถียรภาพของราคาคาไฟฟาดวยการกระจายสัดสวนการใชเชื้อเพลิงในการผลิตพลังงานไฟฟาใหมีการกระจายชนิดเชื้อเพลิงสําหรับผลิตไฟฟาใหหลากหลายไมพ่ึงพาเชื้อเพลิงอยางใดอยางหนึ่งมากเกินไป โดยปจจุบันการผลิตไฟฟาของ

ประเทศไทยใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง ในอัตราท่ีสูงมากกวารอยละ 70 ของการผลิตไฟฟาท้ังหมด (สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน, 2553)

Page 13: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 2-2

จากขอเสนอขายไฟฟาของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด ท่ีไดรับการคัดเลือกขางตน กําหนดท่ีตั้ง

โครงการอยูในพ้ืนท่ีมาบตาพุด จังหวัดระยอง ซ่ึงปจจุบันไดประกาศเปนเขตควบคุมมลพิษ อยางไรก็

ตาม สําหรับจุดเดนของโครงการนี้ ตามเอกสารเผยแพรของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด สรุปไดดังนี้

(1) คุณภาพอากาศโดยรวมในพ้ืนท่ีมาบตาพุดดีข้ึนหลังจากมีโครงการ กลาวคือการท่ีโครงการ

สามารถเกิดข้ึนไดนั้น โรงไฟฟาเดิมในกลุมบริษัทโกลวตองปรับลดคาอัตราการระบายมลพิษท่ีมีอยูกอน

จากนั้น โครงการจึงจะสามารถนําอัตราการระบายมลพิษทางอากาศท่ีปรับลดไดดังกลาวมาใชพัฒนา

โครงการไมเกินรอยละ 80 ของอัตราการระบายท่ีปรับลดได สวนอีกรอยละ 20 คือสวนท่ีคืนใหแกอัตรา

การระบายรวมเพ่ือใหคุณภาพอากาศในพ้ืนท่ีมาบตาพุดดีข้ึน นอกจากนี้ การมีโครงการตองไมสงผลให

คาความเขมขนของมลพิษในบรรยากาศเพ่ิมข้ึน สอดคลองตามมติการประชุมคณะกรรมการสิ่งแวดลอม

แหงชาติ ครั้งท่ี 6/2550 วันท่ี 9 เมษายน พ.ศ.2550 เรื่อง หลักเกณฑการพิจารณารายงานการ

วิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมในบริเวณพ้ืนท่ีมาบตาพุด จังหวัดระยอง

(2) เทคโนโลยี Supercritical Pulverized Coal-Fired Boiler ท่ีนํามาใชในโครงการ เปน

ระบบท่ีมีประสิทธิภาพสูง มีการเผาไหมเชื้อเพลิงท่ีสมบูรณ จึงสามารถลดปริมาณการใชเชื้อเพลิง ยัง

สงผลใหมีการระบายมลสารนอยกวาเทคโนโลยีอ่ืนๆ ท่ีมีการใชงานในประเทศไทย นอกจากนี้ มีการ

ติดตั้งระบบบําบัดและควบคุมมลพิษตางๆ ท่ีมีความทันสมัยและสามารถควบคุมการระบายมลพิษทาง

อากาศดีกวามาตรฐานกลุมประเทศยุโรป (EU Standard) ซ่ึงมีความเขมงวดกวามาตรฐานของประเทศ

ไทยและธนาคารโลก (World Bank)

(3) การมีโครงการมีผลกระทบเชิงบวกตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนโดยรอบพ้ืนท่ีโรงไฟฟา

และการเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัดระยอง โดยมีการจัดสรรเงินสมทบกองทุนพัฒนาไฟฟาตั้งแตชวงกอสรางและตลอดอายุโครงการ ท้ังนี้ โครงการมีการจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทในจังหวัดระยอง มีการสรางรายไดใหทองถ่ินผานการจัดจางตางๆ และภาษี รวมท้ัง เพ่ิมอัตราการจางงานในพ้ืนท่ี นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรมเพ่ือสังคมและชุมชน (CSR) ท่ีมุงเนนการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตของชุมชนอยางยั่งยืน

(4) โครงการมุงเนนใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการดําเนินงานของโครงการ โดยมีการ

จัดตั้งคณะกรรมการไตรภาคี โดยมีผูแทนจากภาครัฐ ภาคชุมชน และโรงไฟฟา ทําหนาท่ีในการตรวจสอบการดําเนินงานของโครงการใหมีประสิทธิภาพและเปนไปตามมาตรฐานกําหนด

Page 14: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 2-3

2.2 สถานภาพโครงการ โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด ไดรับความเห็นชอบรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) จาก คชก. ตั้งแตวันท่ี 15 พฤษภาคม 2551 ตอมาโครงการไดรับอนุญาตกอสรางจาก กนอ. ตามพระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย พ.ศ. 2522 และไดเริ่มดําเนินการกอสรางโครงการ เม่ือเดือนตุลาคม 2551 ท้ังนี้ ภายหลังไดมีความชัดเจนเก่ียวกับแนวทางปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ 2550 มาตรา 67 วรรคสอง และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดมีการออกประกาศ ทส. 31 สิงหาคม 2553 และประกาศ ทส. 29 ธันวาคม 2552 ดังนั้น โครงการจึงไดจัดทํารายงานผลกระทบสิ่งแวดลอม สําหรับโครงการหรือกิจการท่ีอาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ท้ังทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอมทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ (EHIA) เสนอตอ สผ. และไดรับการเห็นชอบจาก คชก. เม่ือวันท่ี 22 สิงหาคม 2554

2.3 ประเด็นเกี่ยวกับท่ีตั้งโครงการ

2.3.1 ท่ีตั้งโครงการและพ้ืนท่ีโดยรอบ โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด มีสถานประกอบกิจการตั้งอยูบริเวณพ้ืนท่ีวางภายในพ้ืนท่ีโรงไฟฟาปจจุบันของกลุมบริษัทโกลว ภายในเขตทาเรืออุตสาหกรรม นิคม

อุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง ซ่ึงจุดเดนของท่ีตั้งโครงการ คือ มีความพรอมในดานสาธารณูปโภคหลักตาง ๆ อยูแลว เชน ทาเทียบเรือระบบขนถายถานหิน ระบบสูบน้ําทะเลและระบายน้ําท้ิง เปนตน นอกจากนี้ การท่ีโครงการตั้งอยูในเขตพ้ืนท่ีนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ซ่ึงปจจุบันได

ประกาศเปนเขตควบคุมมลพิษนั้น โครงการยอมมีขอจํากัดหลาย ๆ ดานและตองลงทุนในการพัฒนามากข้ึน โดยเฉพาะประเด็นดานมลพิษทางอากาศ

สําหรับพ้ืนท่ีโดยรอบท่ีตั้งโครงการภายในรัศมี 2 กิโลเมตร จึงเปนพ้ืนท่ีอุตสาหกรรมท้ังหมด นอกจากนี้ พ้ืนท่ีภายในรัศมี 5 จากท่ีตั้งโครงการ ประมาณรอยละ 50 เปนพ้ืนท่ีทะเล สวนพ้ืนท่ีชุมชนท่ีตั้งอยูใกลโครงการมากท่ีสุด อยูท่ีระยะหาง 2 กิโลเมตร ไดแก ชุมชนหนองแฟบ ท้ังนี้ สามารถสรุป

ชุมชนท่ีตั้งอยูโดยรอบพ้ืนท่ีโครงการภายในรัศมี 5 กิโลเมตร ไดดัง รูปท่ี 2.3.1-1 สรุปไดดังนี้ (1) ชุมชนภายในรัศมี 0-3 กิโลเมตร จากท่ีตั้งโครงการ ประกอบดวย 2 ชุมชน ไดแก

ชุมชนหนองแฟบ และชุมชนตากวน-อาวประดู (2) ชุมชนภายในรัศมี 3-5 กิโลเมตร จากท่ีตั้งโครงการ ประกอบดวย 7 ชุมชน - เขตเทศบาลเมืองมาบตาพุด 6 ชุมชน ไดแก ชุมชนกรอกยายชา ชุมชนเกาะกก-

หนองแตงเม ชุมชนหนองน้ําเย็น ชุมชนซอยรวมพัฒนา ชุมชนวัดโสภณ และชุมชนมาบชลูด

- เขตเทศบาลตําบลบานฉาง 1 ชุมชน ไดแก ชุมชนพยูน

Page 15: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 2-4

ท่ีมา : รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม, สิงหาคม 2554.

รูปท่ี 2.3.1-1 ท่ีตั้งโครงการและพ้ืนท่ีโดยรอบ

2.3.2 การใชพ้ืนท่ีและระบบเสริมการผลิต

โครงการมีพ้ืนท่ีรวม 85 ไร ประกอบดวย พ้ืนท่ี 2 สวน ดังแสดงใน รูปท่ี 2.3.2-1

ประกอบดวย

(1) พ้ืนท่ีสวนผลิตและระบบเสริมการผลิต ขนาด 35 ไร เปนพ้ืนท่ีของโรงไฟฟาโกลว เอสพีพี 3

อยูในพ้ืนท่ีวางของโรงไฟฟาเดิม (พ้ืนท่ีรวม 180 ไร) ท้ังนี้ ไมรวมพ้ืนท่ีสีเขียว 4.38 ไร ซ่ึงมีการใชงานรวมกัน

กับโรงไฟฟาเดิม

(2) พ้ืนท่ีลานกองถานหิน ขนาด 50 ไร เปนพ้ืนท่ีท่ีเชาจาก กนอ. อยูนอกเขตพ้ืนท่ี

โรงไฟฟาเดิม

มีการจัดสรรพ้ืนท่ีสีเขียว 4.38 ไร (คิดเปนรอยละ 5.15 ของพ้ืนท่ีโครงการท้ังหมด 85 ไร) อยูใน

ความรับผิดชอบของโครงการ

N

Page 16: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 2-5

ท้ังนี้ โครงการมีการใชระบบสาธารณูปโภค-สาธารณูปการและระบบเสริมการผลิตบางสวน

จาก โรงไฟฟาโกลว เอสพีพี 3 ดังนี้

(1) การเชา ประกอบดวย สถานีไฟฟายอย (ติดตั้งอุปกรณไฟฟาของโครงการ) พ้ืนท่ีบอสูบ

น้ํา/คลองระบายน้ําหลอเย็น 500 เมตร (ติดตั้งเครื่องสูบน้ําหลอเย็น) ทาเทียบเรือและระบบลําเลียงเดิม

(จากทาเทียบเรือไปยังลานกองถานหินของโรงไฟฟาเดิม)

(2) การซ้ือน้ําใส/น้ําปราศจากแรธาตุ ซ่ึงผลิตจากระบบผลิตน้ําของโรงไฟฟาโกลว เอสพีพี 3

รูปท่ี 2.3.2-1 พ้ืนท่ีโครงการ 2 สวน ขนาดพ้ืนท่ีรวม 85 ไร

2.3.3 เช้ือเพลิงและการจัดการ โครงการใชถานหินบิทูมินัสเปนเชื้อเพลิงในการผลิต สวนน้ํามันดีเซลสํารองไวใชเฉพาะชวงเริ่มเดินระบบ (Start up) เทานั้น (1) คุณภาพถานหิน โครงการใชถานหินบิทูมินัสเปนถานหินคุณภาพดีนําเขามาจากประเทศอินโดนีเซียและออสเตรเลีย โดยเปนการระบุในสัญญาการจัดหาและซ้ือขายถานหิน ใหมีองคประกอบของกํามะถัน

50 ไร

35 ไร

Page 17: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 2-6

(ซัลเฟอร) ในปริมาณต่ํา ไมเกินรอยละ 1 ท้ังนี้ จากขอมูลผลการวิเคราะหองคประกอบถานหินจากผูผลิต/นําเขาถานหินของโครงการ ซ่ึงแสดงไวในรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมฯ โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด ฉบับสมบูรณ (สิงหาคม 2554) รายละเอียดปรากฏใน ตารางท่ี 2.3.3-1 โดยมีปริมาณความตองการใชถานหิน 1,968,600 ตัน/ป

ตารางท่ี 2.3.3-1

องคประกอบถานหินบิทูมินัสท่ีใชในโครงการ

รายละเอียด หนวย โครงการ เถา % 1-9 ซัลเฟอร (S) % 0.1-1.0 สารระเหย (Volatile Matter) % 34-46 สารหนู (As) mg/kg 0.73-0.85 แคดเมียม (Cd) mg/kg ND (<2) ปรอท (Hg) mg/kg ND (<0.1) ตะก่ัว (Pb) mg/kg ND (<10) หมายเหต:ุ ND (Non-detectable) = มีคาต่ํากวาความสามารถของวิธีวิเคราะห (คา Detection limit)

ที่มา : รายงาน EIA ฉบับสมบูรณ (สิงหาคม 2554) สําหรับการเฝาระวัง/ตรวจสอบใหโครงการใชถานหินท่ีมีคุณภาพตามท่ีออกแบบไว มี

ดังนี้ - ใชถานหินบิทูมินัสท่ีมีองคประกอบของซัลเฟอรสูงสุดไมเกินรอยละ 1 เปน

เชื้อเพลิง โดยระบุขอกําหนดขางตนไวในสัญญาซ้ือขายระหวางโครงการกับผูแทนจัดหาถานหินใหกับ

โครงการ

- จัดเก็บขอมูลคุณภาพของถานหินท่ีไดจากการนําเขา (ตามเอกสารแนบทายของ

การจัดทําการศุลกากร) และขอมูลผลการตรวจวิเคราะหคุณภาพของถานหินของบริษัทฯ (ประกอบดวย

สัดสวนของซัลเฟอร สัดสวนเถา สารโลหะหนัก และธาตุปริมาณนอยท่ีเปนองคประกอบในถานหิน) (2) การขนสงและขนถายถานหิน

ถานหินจะถูกขนสงโดยทางเรือเขาสูทาเทียบเรือของโรงไฟฟาเดิม ความถ่ีประมาณ

33 เท่ียว/ป เรือขนสงแตละเท่ียวจะใชเวลาขนถาย ประมาณ 5-7 วัน/เท่ียว จากทาเทียบเรือลําเลียง

ผานสายพานลําเลียงระบบปดเขาสูพ้ืนท่ีลานกองถานหินของโครงการ โดยมีมาตรการฯ ท่ีสําคัญใน

ข้ันตอนของการขนสงและขนถายถานหิน ดังนี้

Page 18: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 2-7

กิจกรรม/พ้ืนท่ี มาตรการท่ีสําคัญ

เรือขนถานหิน 1. ขณะเรือขนสงถานหินเขาเทียบทา ขนถายถานหินดวยสายพานลําเลียงแบบปด มีการปูผาใบปดครอมระหวางกราบเรือและทาเทียบเรือเพ่ือปองกันถานหินรวงลงทะเล

2. ควบคุมและกวดขันเรือขนสงถานหิน ไมใหมีการลักลอบปลอยน้ําเสียและน้ําอับเฉาจากเรือลงสูทะเลในบริเวณรองน้ําเดินเรือและบริเวณนานน้ําไทยและไมใหมีการลักลอบท้ิงขยะจากเรือท่ีมาใชบริการรองน้ําเดินเรือ

ระบบสายพานลําเลียง

1. ใชสายพานลําเลียงถานหินแบบระบบปด 2. มีหัวฉีดพนน้ําขณะโปรยถานหินลงสูกอง

3. บดอัดกองถานหินใหหนาแนนเหมาะสม

(3) ลานกองถานหิน

พ้ืนท่ีลานกองถานหินของโครงการ มีขนาด 50 ไร เปนพ้ืนท่ีท่ีเชาจาก กนอ. อยูนอก

เขตพ้ืนท่ีโรงไฟฟาเดิม (รูปท่ี 2.3.2-1) สามารถเก็บสํารองถานหินไดประมาณ 300,000 ตัน (45 วัน) มี

ลักษณะการกองถานหินสูง 15 เมตร ดัง รูปท่ี 2.3.3-1 โดยมีการจัดการสิ่งแวดลอมบริเวณพ้ืนท่ีลานกอง

ดังนี้

กิจกรรม/พ้ืนท่ี มาตรการท่ีสําคัญ

ลานกองถานหิน

1. กําหนดกองถานหินใหมีความสูงไมเกิน 15 เมตร

2. ติดตั้งกําแพงเบี่ยงเบนลมทําดวยโลหะ สูง 15 เมตร ทางดานทิศใตและทิศ

ตะวันตก เพ่ือปองกันการฟุงกระจายของฝุน สวนทิศเหนือ ซ่ึงติดกับพ้ืนท่ี

ฝงกลบของ GENCO ทําหนาท่ีเสมือนกําแพงกันลมอยูแลว

3. ปลูกไมยืนตนชนิดท่ีไมผลัดใบบริเวณรอบลานกองถานหิน สําหรับตนไมท่ี

ปลูกตองเปนชนิดท่ีมีความสูงเหมาะสมกับความสูงในการกองถานหิน

4. ติดตั้งหัวพนน้ําโดยรอบเพ่ือฉีดพนน้ําใหท่ัวบริเวณกองถานหินเพ่ือเปนการ

ปองกันการฟุงกระจายของฝุนถานหินและปองกันการลุกไหม

5. เตรียมรถตักเพ่ือตักแยกถานหินบริเวณท่ีเกิดลุกไหม ซ่ึงการตักแยกถานหิน

เพ่ือดับเพลิงขางตนสอดคลองตามมาตรฐานสากลในการจัดการกองถานหิน

6. พ้ืนท่ีลานกอง ปูพ้ืนดวยพลาสติกชนิดหนาแนนสูง (HDPE) เพ่ือปองกัน

น้ําซึมปนเปอนน้ําใตดิน และจัดระบบรวบรวมน้ําชะจากลานกองถานหิน

เขาสูบอพักน้ําชะ (run-off pond) กอนสูบน้ําในบอกลับมาใชฉีดพนใน

พ้ืนท่ีลานกองโดยไมมีการระบายออก ยกเวน ในกรณีฉุกเฉินตองทําการ

บําบัดดวยระบบบําบัดน้ําเสียแบบเคมีจนไดมาตรฐานกอนระบายออก

Page 19: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 2-8

รูปท่ี 2.3.3-1

ลักษณะพ้ืนท่ีลานกองถานหินของโครงการและระบบปองกันการฟุงกระจายของ

ถานหิน

2.4 สารเคมีท่ีใชในโครงการ

สารเคมีท่ีใชในโครงการ ไมมีสารอินทรียระเหยงายตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอม

แหงชาติ ฉบับท่ี 30 (พ.ศ. 2550) และไมมีสารกอมะเร็ง ในบัญชีรายชื่อ IARC สารเคมีสวนใหญถูกใชใน

ระบบเสริมการผลิต เชน การฟนฟูเรซินของระบบปรับปรุงคุณภาพน้ําคอนเดนเสท การปรับปรุง

คุณภาพน้ําปอนหมอไอน้ําเพ่ือปองกันการกัดกรอน การปรับปรุงคุณภาพน้ําท้ิงกอนระบายท้ิง การ

ควบคุมมลพิษทางอากาศ การควบคุมจุลชีพในระบบหลอเย็น เปนตน สําหรับสารโซเดียมไฮโปคลอไรต

Page 20: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 2-9

ท่ีใชในการปรับปรุงคุณภาพน้ําทะเลเพ่ือนํามาใชในระบบหลอเย็นมีผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตในทะเล การ

ใชงานจะมีคลอรีนอิสระคงเหลือโดยสามารถทําปฏิกิริยากับสารอินทรียธรรมชาติท่ีอยูในน้ําและเปลี่ยน

รูปกอใหเกิดสารไตรฮาโลมีเทนซ่ึงเปนสารกอมะเร็ง ปจจุบันมีการกําหนดมาตรฐานควบคุมสารไตรฮาโล

มีเทนในน้ําประปา เพ่ือปองกันผลกระทบสุขภาพของผูอุปโภค ซ่ึงจากขอมูลผลการตรวจวัดสารไตร

ฮาโลมีเทนของโรงไฟฟาท่ีเปดดําเนินการแลวในปจจุบัน (บริษัท โกลว เอสพีพี 3 จํากัด) พบวาคาท่ี

ตรวจวัดไดมีคานอยกวาคามาตรฐานน้ําประปามาก ท้ังนี้ จากการประเมินดวยแบบจําลองทาง

คณิตศาสตรไมพบคาคลอรีนอิสระคงเหลือท่ีระยะ 1,000 เมตรจากจุดระบายน้ําท้ิง

2.5 กระบวนการผลิต

กระบวนการผลิตอยางงายของโครงการ ดังแสดงใน รูปท่ี 2.5-1 สรุปไดดังนี้

(1) ถานหินชนิดบิทูมินัส นําเขาจากตางประเทศ ถูกลําเลียงจากทาเทียบเรือของโครงการ

โดยระบบสายพานลําเลียงแบบปดเขาสูลานกองถานหิน (2) จากลานกองถานหินใชสายพานลําเลียงระบบปดเพ่ือนําไปเก็บพักไวชั่วคราวท่ีไซโล

และนําไปบดละเอียดใหไดขนาดท่ีเหมาะสม (3) ผงถานหินถูกฉีดพนเขาไปผสมกับอากาศท่ีหองเผาไหมของหมอไอน้ํา การเผาไหมถาน

หินใชหัวเผาท่ีไดรับการออกแบบใหมีการเผาไหมอยางสมบูรณ ซ่ึงทําใหเกิดออกไซดของไนโตรเจนต่ํา

(Low NOx Burner) (4) กาซรอนท่ีเกิดข้ึนจากการเผาไหมถานหินมีพลังงานความรอน จะนําไปตมน้ํา

ปราศจากแรธาตุท่ีอยูในทอรอบ ๆ ผนังหมอไอน้ํา เกิดเปนไอน้ําแรงดันสูง และจะถูกสงไปยังกังหันไอน้ํา

เพ่ือขับเคลื่อนเครื่องกําเนิดไฟฟา และไดเปนพลังงานไฟฟาข้ึน (5) ไฟฟาท่ีผลิตไดจะถูกเพ่ิมแรงดันดวยหมอแปลงไฟฟากอนสงเขาระบบสายสงของ กฟผ. (6) ไอน้ําท่ีผานออกมาจากเครื่องกังหันไอน้ํา จะถูกสงเขาสูหนวยควบแนนซ่ึงอาศัยระบบ

หลอเย็นโดยน้ําทะเล ไดเปนน้ําคอนเดนเสทหมุนเวียนกลับไปใชใหมท่ีหมอไอน้ํา กาซรอนจากการเผา

ไหมถานหิน จะผานระบบควบคุมและบําบัดมลพิษ ไดแก เครื่องควบคุมกาซออกไซดของไนโตรเจน

แบบเอสซีอาร (Selective Catalytic Reduction, SCR) อุปกรณดักฝุนแบบไฟฟาสถิต (Electrostatic

Precipitator, ESP) และเครื่องควบคุมกาซซัลเฟอรไดออกไซดแบบ (Seawater Flue Gas

Desulphurization, SW-FGD) ตามลําดับ กอนระบายออกสูบรรยากาศทางปลองสูง 150 เมตร ตอไป (7) เถาจากการเผาไหมถานหิน ท้ังท่ีเปน เถาหนัก (bottom ash) และเถาลอย (fly ash)

สงไปรวบรวมไวท่ีไซโล และสงใหหนวยงานท่ีไดรับอนุญาตจากหนวยงานราชการนําไปกําจัด หรือ

นําไปใชประโยชนในอุตสาหกรรมผลิตปูนซีเมนต อิฐหรือคอนกรีต เปนตน

Page 21: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 2-10

รูปท่ี 2.5-1 กระบวนการผลิตอยางงายของโครงการ

2.6 ทรัพยากรน้ํา

2.6.1 การใชน้ํา

(1) น้ําจืด

โครงการมีการใชน้ําจืด ปริมาณ 1,062 ลูกบาศกเมตร/วัน ประกอบดวย น้ําดิบ (น้ํา

ฉีดพรมปองกันฝุนละอองบริเวณลานกองถานหินและไซโลเก็บเถาลอย) น้ําใส (น้ําใชท่ัวไปและทําความ

สะอาด) น้ําปราศจากแรธาตุ (น้ําปอนหมอไอน้ํา) โดยรับมาจากโรงไฟฟาเดิม (บริษัท โกลว เอสพีพี 3

จํากัด)

(2) น้ําทะเล

โครงการมีการใชน้ําทะเล ปริมาณ 3,621,720 ลูกบาศกเมตร/วัน (ประมาณ 42

ลูกบาศกเมตร/วินาที) นํามาใชในระบบหลอเย็น โดยน้ําทะเลท่ีผานการใชงานในระบบหลอเย็นสวน

หนึ่งจะถูกนํามาใชท่ีระบบกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซดดวย ท้ังนี้ โครงการมีการติดตั้งอุปกรณสูบน้ํา

เพ่ิมเติมอีก 4 ชุดท่ีสถานีสูบน้ําของโรงไฟฟาเดิม ซ่ึงมีโครงสรางหลักของทางน้ําเขา (sea water

intake) และสถานีสูบน้ํารองรับไวแลว โดยบริเวณทางเขาของจุดสูบน้ําทะเลมีการติดตั้งตะแกรง (bar

screen) เพ่ือดักขยะและมีการติดตั้งตะแกรงถ่ี (traveling screen) เพ่ือปองกันสัตวน้ําขนาดเล็กท่ีอาจ

ติดไปกับน้ําท่ีสูบเขามาใชงาน

Page 22: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 2-11

2.6.2 การจัดการน้ําท้ิง

(1) น้ําจืด น้ําท้ิงท่ีเปนน้ําจืด สวนใหญเปนน้ําท้ิงจากหมอไอน้ํา น้ําใชท่ัวไป น้ําทําความสะอาด และน้ําฝนท่ีตกลงในพ้ืนท่ีท่ีอาจมีการปนเปอน ดังนั้น จึงตองผานระบบบําบัดเบื้องตนกอนรวบรวมเขาสู

บอพักน้ําท้ิง ขนาด 100 ลูกบาศกเมตร ซ่ึงมีระยะเวลาในการเก็บกัก 8 ชั่วโมง) เพ่ือทําการตรวจสอบคุณภาพกอนระบายออกสูรางระบายน้ําของโครงการซ่ึงเชื่อมไปยังคลองระบายน้ํายาว 500 เมตรของโรงไฟฟาเดิม และลงสูทะเล ตามลําดับ ท้ังนี้ หากตรวจสอบพบวาคุณภาพน้ําท้ิงในบอพักน้ําท้ิงไมได

มาตรฐาน ทางโครงการจะรวบรวมน้ําท้ิงไปบําบัดใหมอีกครั้งจนไดมาตรฐานกอนระบายออก สําหรับการจัดการน้ําท้ิงจากแหลงตางๆ กอนระบายรวมลงสูบอพักน้ําท้ิง สรุปไดดังนี้

1) น้ําฝนท่ีมีโอกาสปนเปอนบริเวณพ้ืนท่ีลานกองถานหินและบอเก็บกักน้ําชะ ทําการรวบรวมเขาสูบอเก็บกักน้ําชะขนาด 12,000 ลูกบาศกเมตร ซ่ึงโดยปกติจะไมมีการระบายออกสู

ภายนอก แตจะหมุนเวียนกลับมาใชฉีดพนบนพ้ืนท่ีลานกองถานหิน อยางไรก็ตาม หากเกิดกรณีท่ีทําใหบอเก็บกักน้ําชะดังกลาวไมสามารถเก็บกักน้ําชะไดอยางเพียงพอ โครงการทําการบําบัดน้ําชะดังกลาวท่ีระบบบําบัดแบบเคมี เพ่ือกําจัดโลหะหนัก (Heavy metals) และสารเจือปนอ่ืน ๆ รวมท้ัง ปรับสภาพ

น้ําใหเปนกลางกอนระบายออกสูบอพักน้ําท้ิง 2) น้ําฝนท่ีตกในพ้ืนท่ีสวนการผลิตอ่ืน ๆ เชน บริเวณหมอแปลงไฟฟา บริเวณสถานีเครื่องปมน้ํา เปนตน อาจมีการปนเปอนน้ํามัน มีการรวบรวมฝนท่ีตกภายใน 30 มิลลิเมตรแรกของ

พ้ืนท่ี สงเขาบอพักน้ําฝนปนเปอนและทยอยสงเขาสูถังดักน้ํามัน กอนระบายลงสูบอพักน้ําท้ิง 3) น้ําเสียจากการอุปโภคของพนักงาน (5 ลูกบาศกเมตร/วัน) บําบัดดวยระบบบําบัดน้ําเสียสําเร็จรูปกอนระบายลงสูบอพักน้ําท้ิง 4) น้ําเสียจากการฟนฟูระบบปรับปรุงคุณภาพน้ําคอนเดนเสท (28 ลูกบาศกเมตร/วัน) รวบรวมเขาสูถังปรับสภาพใหเปนกลางกอนระบายลงสูบอพักน้ําท้ิง

5) น้ําเสียจากการลางอุปกรณตางๆ (10 ลูกบาศกเมตร/วัน) บําบัดดวยถังดักน้ํามันกอนระบายลงสูบอพักน้ําท้ิง

6) น้ําท้ิงจากกระบวนการผลิตไอน้ํา (255 ลูกบาศกเมตร/วัน) ระบายลงสูบอพักน้ําท้ิงโดยตรง ระบบบําบัดน้ําท้ิงจากเครื่องดักฝุนหรือระบบกําจัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด สามารถบําบัดน้ําเสียไดไมนอยกวา 30 ลูกบาศกเมตร/ชั่วโมง เฉพาะในกรณีท่ีมีการลางในการซอมบํารุงเทานั้น โดยมีประมาณ

480 ลูกบาศกเมตร/ครั้ง โครงการจะรวบรวมเขาสูบอพักน้ําท้ิงฉุกเฉิน (retention basin) ขนาด 1,000 ลูกบาศกเมตร และเขาสูระบบบําบัดน้ําเสียแบบเคมี ซ่ึงมีการเติมสารเคมีเพ่ือกําจัดของแข็งแขวนลอยและปรับสภาพน้ําใหเปนกลางกอนระบายลงสูบอพักน้ําท้ิง

Page 23: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 2-12

(2) น้ําทะเล

สําหรับน้ําทะเลท่ีโครงการนํามาใชในระบบหลอเย็นและระบบควบคุมซัลเฟอรได

ออกไซด (SW-FGD) ในปริมาณ 3,621,720 ลูกบาศกเมตร/วัน (ประมาณ 42 ลูกบาศกเมตร/วินาที)

โดยการนําน้ําทะเลมาใชงานจะมีการเติมสารโซเดียมไฮโปคลอไรตเพ่ือปรับปรุงคุณภาพน้ําทะเลให

เหมาะสมตอการใชงานในระบบหลอเย็น ท้ังนี้ โครงการควบคุมความแตกตางของอุณหภูมิของน้ําทะเล

กอนและหลังการใชงานในระบบหลอเย็น แตกตางกันไมเกิน 6 องศาเซลเซียส กอนระบายลงสูบอหรือ

รางเติมอากาศ (aeration basin) ท่ีมีการติดตั้งหัวพนอากาศตามแนวทองราง เพ่ือปรับสภาพน้ําทะเล

ใหเปนกลางและเปลี่ยนรูปไอออนซัลไฟตใหอยูในรูปซัลเฟตอยางสมบูรณและคงตัว กอนระบายลงสู

คลองระบายน้ําทะเลยาว 500 เมตร ของโรงไฟฟาเดิม และระบายกลับลงสูทะเลผานจุดปลอยน้ําตอไป

2.7 มลพิษทางอากาศ

โครงการมีปลองระบายอากาศจากหมอไอน้ํา 1 ปลอง เพ่ือระบายกาซจากการเผาไหม

มลพิษหลักทางอากาศท่ีสําคัญ ไดแก ออกไซดของไนโตรเจน (NOx) ซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) และฝุน

ละออง ท้ังนี้ การควบคุมมลพิษทางอากาศของโครงการ เปนไปตามมติคณะกรรมการสิ่งแวดลอม

แหงชาติจากการประชุมครั้งท่ี 6/2550 เม่ือวันท่ี 9 เมษายน 2550 กลาวคือการดําเนินโครงการตองไม

ทําใหยอดรวมของอัตราการระบายมลพิษทางอากาศในแงของกาซออกไซดของไนโตรเจนและกาซ

ซัลเฟอรไดออกไซดโดยรวมของพ้ืนท่ีเพ่ิมสูงข้ึนจากเดิมเม่ือเปรียบเทียบกับกอนมีโครงการ และไมทําให

คาความเขมขนสูงสุดท่ีระดับพ้ืนดินของมลพิษทางอากาศท่ีเกิดจากแหลงกําเนิดมลพิษตาง ๆ ท่ีมีอยูเดิม

กอนมีโครงการมีคาเพ่ิมสูงข้ึน โดยดําเนินการดังนี้

(1) บริษัท โกลว เอสพีพี 3 จํากัด ทําการปรับลดการระบายกาซออกไซดของไนโตรเจน

และกาซซัลเฟอรไดออกไซด 142.43 และ 130.68 กรัม/วินาที ตามลําดับ เพ่ือนําคาท่ีปรับลดไดมาใช

ในการพัฒนาโครงการนี้และโครงการในอนาคตของบริษัท โกลว พลังงาน จํากัด (มหาชน) ท้ังนี้ อัตรา

การระบายกาซออกไซดของไนโตรเจนและกาซซัลเฟอรไดออกไซดโดยรวมท่ีโรงไฟฟาแหงใหมท้ังสอง

โครงการนํามาใช คิดเปนรอยละ 71.61 และ 75.15 ของอัตราการระบายท่ีปรับลดลงดังกลาว ซ่ึงเปนไป

ตามเกณฑคือ ไมเกินรอยละ 80 ของคาท่ีปรับลดได ท้ังนี้ เม่ือเปรียบเทียบขอมูลอัตราการระบาย

โดยรวมกอนและหลังการปรับลดของบริษัท โกลว เอสพีพี 3 จํากัด ใหกับโครงการและบริษัท โกลว

พลังงาน จํากัด (มหาชน) ดัง รูปท่ี 2.7-1 พบวาอัตราการระบายกาซออกไซดของไนโตรเจนโดยรวม

ลดลงจาก 310.53 กรัม/วินาที เปน 270.09 กรัม/วินาที สวนอัตราการระบายกาซซัลเฟอรไดออกไซด

โดยรวม ลดลงจาก 343.87 กรัม/วินาที เปน 311.39 กรัม/วินาที

Page 24: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 2-13

รูปท่ี 2.7-1 เปรียบเทียบอัตราการระบายโดยรวมกอนและหลังมีโครงการโรงไฟฟาใหม

(2) โครงการสามารถควบคุมคาการระบายมลพิษทางอากาศดีกวาคามาตรฐานของ

ประเทศไทยมาก อีกท้ังยังสอดคลองตามมาตรฐานของกลุมประเทศยุโรป ดังแสดงใน ตารางท่ี 2.7-2

โดยมีอัตราการระบายกาซออกไซดของไนโตรเจน 74.07 กรัม/วินาที (6.4 ตัน/วัน) กาซซัลเฟอรได

ออกไซด 97.53 กรัม/วินาที (8.4 ตัน/วัน) และฝุนละอองรวม 38.67 กรัม/วินาที (3.3 ตัน/ วัน)

ตารางท่ี 2.7-1

คาควบคุมการระบายมลพิษทางอากาศของโครงการ

มลสาร หนวย คาควบคุม

ของโครงการ

คามาตรฐาน

ประเทศไทย กลุมประเทศ

ยุโรป

กาซออกไซดของไนโตรเจน พีพีเอ็ม 56 200 91

กาซซัลเฟอรไดออกไซด พีพีเอ็ม 53 180 65

ฝุนละอองรวม มก./ลบ.ม. 55 80 -

ที่มา : รายงาน EIA ฉบับสมบูรณ (สิงหาคม 2554)

เพ่ือใหอัตราการระบายเปนไปตามคาควบคุมขางตน โครงการมีการใชถานหินชนิดบิทู

มินัส ซ่ึงมีคุณภาพดี และติดตั้งอุปกรณสําหรับควบคุมและบําบัดมลพิษทางอากาศใหมีคาอัตราการ

ระบายมลพิษทางอากาศอยูในคาท่ีควบคุม ดังนี้

1) การใชหมอไอน้ําแบบ Pulverized Coal Fire Boiler (PC Boiler) ซ่ึงมีการบด

ถานหินใหมีขนาดเล็กมากกอนพนเขาไปในเตาเผาพรอมอากาศ ทําใหมีประสิทธิภาพในการเผาไหมสูง

และเกิดสารมลพิษทางอากาศนอยกวาเทคโนโลยีอ่ืน

Page 25: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·
Page 26: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 2-15

2) การควบคุมกาซออกไซดของไนโตรเจน (NOx) มี 2 ข้ันตอน คือ การใชหัวเผาของ

หมอไอน้ําเปนแบบกอใหเกิดกาซออกไซดของไนโตรเจนต่ํา (low NOx burner) และการติดตั้งระบบ

เอสซีอาร (selective catalytic reduction; SCR) ซ่ึงเปนการใชแอมโมเนียหรือแอมโมเนียแอนไฮดรัส

ทําปฏิกิริยากับกาซออกไซดของไนโตรเจนเพ่ือเปลี่ยนรูปใหกลายเปนกาซไนโตรเจนและน้ํา มี

ประสิทธิภาพการกําจัดกาซออกไซดของไนโตรเจนประมาณรอยละ 76.57

3) การควบคุมกาซซัลเฟอรไดออกไซด มี 2 ข้ันตอน คือ การเลือกใชถานหินบิทูมินัส

ท่ีมีองคประกอบของซัลเฟอรหรือกํามะถันไมเกินรอยละ 1 และการติดตั้งระบบกําจัดกาซซัลเฟอรได

ออกไซด แบบ seawater flue gas desulphurization (SW-FGD) มีประสิทธิภาพการกําจัดประมาณ

รอยละ 92.51 โดยมีหลักการทํางานคลายกับเครื่องพนจับหรือสครับเบอร ใชน้ําทะเลฉีดพนเพ่ือทําให

กาซซัลเฟอรไดออกไซดทําปฏิกิริยาและละลายในน้ําทะเลกลายเปนไอออนของซัลไฟตและซัลเฟต

4) การควบคุมฝุนละออง ออกแบบใหมีเครื่องดักฝุนแบบไฟฟาสถิต (electrostatic

precipitator; ESP) มีประสิทธิภาพการกําจัดฝุนประมาณรอยละ 99.34

(3) สําหรับสารเจือปนอ่ืน ๆ ท่ีอาจระบายจากโครงการ จากขอมูลผลการวิเคราะหถานหิน

พบวาตรวจไมพบแคดเมียม ปรอท และตะก่ัว ในถานหิน และมีสารระเหยในปริมาณต่ํามาก อยางไรก็ตาม

มีการประเมินคาโลหะหนักดังกลาวเทากับคา Detection limit ทํานายการแพรกระจายของโลหะหนัก

ในบรรยากาศดวยแบบจําลองฯ พบวามีคาดีกวาคาแนะนําขององคการอนามัยโลก 20-100,000 เทา

2.8 มลพิษทางเสียง

เครื่องจักรท่ีเปนแหลงกําเนิดเสียงดังของโครงการ ไดแก เครื่องกังหันไอน้ํา (Steam

turbine) เครื่องกําเนิดไฟฟา (Turbine generator) เครื่องบดถานหิน (Coal mills and fans) เครื่อง

ปมน้ําหลอเย็น (Cooling water pump) และเครื่องปมน้ําเขาหมอไอน้ํา (Boiler feed water pumps)

ท้ังนี้ โครงการกําหนดใหมีการควบคุมระดับเสียงดังจากอุปกรณ/เครื่องจักรโดยสวนใหญใหไมเกิน 85

เดซิเบลเอ (ท่ีระยะ 1 เมตร) ยกเวน เครื่องกังหันไอน้ํา (Steam turbine) ควบคุมระดับเสียงท่ีระยะ 1 เมตร

ไมใหเกิน 90 เดซิเบลเอ นอกจากนี้ ไดจัดเตรียมอุปกรณปองกันเสียงสวนบุคคล (เชน ปลั๊กอุดหู

ท่ีครอบหู เปนตน) ใหกับพนักงานท่ีทํางานในพ้ืนท่ีท่ีมีเสียงดังอยางเพียงพอ

2.9 กากของเสีย (1) เถาจากการเผาไหมถานหิน ประกอบดวย เถาลอย 202,000 ตัน/ป และเถาหนัก

(22,500 ตัน/ป) ลําเลียงเก็บพักไวในไซโลดวยระบบทอปด กอนถายลงรถบรรทุกท่ีมีลักษณะปดเพ่ือสง

ใหหนวยงานท่ีไดรับอนุญาตจากหนวยงานราชการนําไปกําจัดหรือนําไปใชประโยชนในอุตสาหกรรม

ซีเมนต ท้ังนี้จากผลการวิเคราะหเถาของโรงไฟฟาเดิมซ่ึงใชถานหินชนิดบิทูมินัส พบวาไมจัดเปนของ

เสียอันตราย

Page 27: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 2-16

(2) ของเสียอ่ืน ๆ จากกระบวนการผลิต ไดแก เรซินท่ีเสื่อมสภาพ สารเรงปฏิกิริยาท่ี

เสื่อมสภาพ น้ํามันจากถังดักน้ํามัน น้ํามันหลอลื่นท่ีเสื่อมสภาพ ฉนวนกันความรอน แบตเตอรี่ท่ีใชแลว

แผงวงจรไฟฟาท่ีใชแลว ภาชนะบรรจุสารเคมี ติดตอใหหนวยงานท่ีไดรับอนุญาตจากกรมโรงงาน

อุตสาหกรรมมารับไปกําจัดตอไป

(3) ของเสียจากพนักงานและสํานักงาน คัดแยกประเภทเพ่ือนํากลับมาใชใหม หรือสงให

หนวยงานท่ีไดรับอนุญาตราชการรับไปจัดการหรือปรับปรุงคุณภาพกอนนํากลับไปใชใหมตอไป สวนท่ี

ไมสามารถนํากลับไปใชใหมไดจะสงใหหนวยงานท่ีไดรับอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือจาก

หนวยงานราชการท่ีเก่ียวของรับไปกําจัดอยางถูกหลักวิชาการตอไป

2.10 การขนสงทางรถยนต

การขนสงในชวงดําเนินการเกิดจากการขนสงสารเคมี 103 คัน/ป กากของเสียประเภทเถา

หนักและเถาลอย 54 คัน/วัน ซ่ึงโครงการกําหนดใหมีการจัดการกากของเสียใหเปนไปตามประกาศ

กระทรวงอุตสาหกรรม รวมถึง การเดินทางของพนักงานท่ีเปนรถยนตนั่ง รถตู และรถบัส ประมาณ 10

คัน/วัน โดยใชทางหลวงแผนดินหมายเลข 3 และ 3191 เปนเสนทางหลัก ท้ังนี้ จะหลีกเลี่ยงการขนสง

ในชวงชั่วโมงเรงดวน (7.00 – 8.00 และ 17.00 – 18.00 น.) และจัดใหมีเจาหนาท่ีอํานวยความสะดวก

และจัดระเบียบจราจรบริเวณทางเขาออกโครงการ

2.11 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

โครงการมีการกําหนดนโยบายดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย รวมท้ัง ดําเนินการ

ตามท่ีกฎหมายกําหนด รวมท้ัง จัดใหมีอุปกรณปองกันอัคคีภัยตางๆ ใหเปนไปตามมาตรฐานของ

National Fire Protection Association (NFPA) โดยมีถังสํารองน้ําและเครื่องสูบน้ําดับเพลิงแยกออก

จากโรงไฟฟาเดิม มีการติดตั้งอุปกรณตรวจวัด/ตรวจสอบการทํางานของอุปกรณซ่ึงสามารถแสดงผล

หรือแจงเตือนไปยังหองควบคุมสวนกลางได อุปกรณฉุกเฉินหรืออุปกรณนิรภัยท่ีพรอมทํางานมิให

Page 28: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 2-17

สถานการณเกิดความรุนแรง มีแผนบํารุงรักษาเชิงปองกันอยางสมํ่าเสมอ นอกจากนี้ ไดมีมาตรการท่ี

เก่ียวของกับชุมชนเพ่ิมเติมดวย ดังนี้

- ใหขอมูลสารเคมีกับหนวยงานภาครัฐท่ีรับผิดชอบนอกเหนือจากสํานักงานนิคม

อุตสาหกรรมมาบตาพุด เชน องคการปกครองสวนทองถ่ิน หนวยงานสาธารณสุขในพ้ืนท่ี

- จัดทําแผนการสื่อสารเ ม่ือเกิดภาวะฉุกเฉินตั้งแตระดับ 1 โดยอยางนอยตอง

ประกอบดวย การแจงเหตุ การฝกซอมและการอพยพ

- ซอมแผนฉุกเฉินรวมกับชุมชน ท้ังนี้แผนการดําเนินการซอมแผนฯ ใหพิจารณารวมกับ

ชุมชน

2.12 การประชาสัมพันธ ชุมชนสัมพันธ และแผนการรับเรื่องรองเรียน

โครงการมีการจัดทําแผนปฏิบัติหรือข้ันตอนในการรับขอรองเรียน เพ่ือรองรับขอรองเรียน

จากผูท่ีไดรับหรือสงสัยวาไดรับผลกระทบจากการดําเนินการของโครงการ เพ่ือนําไปสูการตรวจสอบ

สาเหตุ และกําหนดนโยบายการแกไขไดอยางชัดเจนและทันทวงที

สําหรับการดําเนินกิจกรรมชุมชนสัมพันธในชวงป 2553 ท่ีผานมา ตัวอยางเชน โครงการ

สงเสริมรายไดทองถ่ิน โครงการเพาะพันธุสัตวน้ําวัยออนสูทะเล โครงการหนวยแพทยเคลื่อนท่ี

โครงการคายเยาวชนภาษาอังกฤษ โครงการสงเสริมวัฒนธรรมและประเพณีตาง ๆ ฯลฯ ครอบคลุมท้ัง

แผนงานสรางความเขาใจ ใหความรู และเสริมสรางความสัมพันธระหวางโรงไฟฟากับชุมชน แผนงาน

พัฒนาคุณภาพชีวิต ความเปนอยู และสุขภาพของชุมชน แผนงานพัฒนาดานการศึกษา และแผนงาน

พัฒนาอาชีพชุมชน ซ่ึงแผนดังกลาวสามารถปรับเปลี่ยนหรือปรับปรุงไดอยางตอเนื่องเพ่ือใหสอดคลอง

กับสถานการณหรือสภาพแวดลอมท่ีอาจเปลี่ยนแปลงไป

นอกจากนี้ โครงการรวมท้ังกลุมบริษัทโกลวไดเขารวม โครงการ “กลุมเพ่ือนชุมชน” ซ่ึงมี

วัตถุประสงค เพ่ือพัฒนาอุตสาหกรรมสูอุตสาหกรรมสะอาด เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ดวยความจริงใจ

จริงจัง มุงม่ันแกปญหารวมกันอยางเรงดวน และมุงหวังใหอุตสาหกรรมและชุมชนสามารถอยูรวมกัน

และเติบโตไปดวยกันอยางเก้ือกูลและยั่งยืน โดยแบงการทํางานเปน 3 ดาน คือ

(1) Green Operation ปฏิบัติการโรงงานสีเขียว เปนการทําขอตกลงรวมกันเพ่ือเปน

ตนแบบท่ีดีในการบริหารจัดการสิ่ งแวดลอมและความปลอดภัย ทําใหดีกวากฎหมายและ

มาตรฐานสากล และปรับปรุงใหดีข้ึนตลอดเวลา พรอมถายทอดความรูและแบงปนประสบการณ เพ่ือ

ยกระดับมาตรฐานอุตสาหกรรมใหมีมาตรฐานสูงข้ึนทัดเทียมกัน และกาวสูกระบวนการตรวจสอบดูแล

ตัวเอง เพ่ือพัฒนาใหเปน Green Manufacturing อยางแทจริง

Page 29: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 2-18

(2) Beyond CSR ดูแลเอาใจใสชุมชนเพ่ือคุณภาพชีวิตท่ีดี เปนความมุงม่ันของ

อุตสาหกรรมท่ีจะดูแลเอาใจใสชุมชน ดวยความจริงใจเหมือนคนในครอบครัวเดียวกัน เพ่ือยกระดับ

คุณภาพชีวิตของชุมชน พรอมท้ังแกปญหาและตอบความตองการท่ีแทจริงของชุมชน โดยมุงเนนการ

พัฒนาสุขภาพและการศึกษาของชุมชน ครอบคลุมพ้ืนท่ีตําบลมาบตาพุด หวยโปง เนินพระ ทับมา มาบขา

และบานฉาง

(3) Communication สื่อสารเสริมสรางความเขาใจ มุงสนับสนุนใหอุตสาหกรรม รวมมือ

กันพัฒนาการจัดการสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย สูอุตสาหกรรมสะอาดเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

พรอมท้ังเผยแพรความรูความเขาใจ และสรางการมีสวนรวมกับชุมชนอยางเปดเผยโปรงใสเก่ียวกับการ

ดําเนินการดานสิ่งแวดลอมและความปลอดภัยของอุตสาหกรรม

2.13 การทบทวนประเด็นความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสียจากรายงานการ

วิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมฯ ของโครงการ

จากการทบทวนรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมฯ ของโครงการ พบวามีการรับฟง

ความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสียในระหวางการศึกษาและจัดทํารายงานการวิเคราะห

ผลกระทบสิ่งแวดลอมฯ ตามเอกสารทายประกาศ ทส. 29 ธันวาคม 2552 จํานวน 3 ข้ันตอน ดัง

ตารางท่ี 2.13-1 พบวามีประเด็นความคิดเห็นและความหวงกังวลท่ีหลากหลาย ท้ังนี้ มาตรการปองกัน

และแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม รวมท้ัง มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม ท่ีกําหนดแนบ

ทายหนังสือเห็นชอบฯ ซ่ึงเก่ียวของในแตละประเด็น สรุปไดดังตารางท่ี 2.13-2

ตารางท่ี 2.13-1

ข้ันตอนการดําเนินงานตามประกาศ ทส. 29 ธ.ค.52

การดําเนินงานตามประกาศ ทส. 29 ธ.ค.52 วันท่ีดําเนินการ จํานวน

ผูเขารวม

ค1 จัดเวทีรับฟงความคิดเห็น เพ่ือกําหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผล

กระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ (Public Scoping)

3 สิงหาคม 53 626 คน

ค2 กระบวนการรับฟงความคิดเห็น ในข้ันตอนการประเมินและจัดทํารายงานฯ

- การสํารวจความคิดเห็นระดับครัวเรือน (แบบสอบถาม)

- ประชุมเชิงปฏิบัติการ (Working Group Meeting)

9-16 ตุลาคม 53

14 ตุลาคม 53

404 ตัวอยาง

167 คน

ค3 จัดเวทีรับฟงความคิดเห็น เพ่ือทบทวนรางรายงานการวิเคราะหผลกระทบ

สิ่งแวดลอมและสุขภาพ (Public Review)

15 ธันวาคม 53 257 คน

--------------------------------------------

Page 30: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 3-1

บทที่ 3 ข้ันตอนและกระบวนการจัดรับฟงความคิดเห็น

การดําเนินงานของคณะกรรมการฯ เพ่ือกําหนดข้ันตอนและจัดกระบวนการรับฟงความ

คิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย สําหรับโครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน

จํากัด ในครั้งนี้ ตั้งอยูบนหลักการพ้ืนฐาน ตอไปนี้

(1) การประชาสัมพันธกระบวนการรับฟงความคิดเห็นฯ อยางกวางขวางและครอบคลุม

ประชาชนและผูมีสวนไดเสียทุกกลุม เพ่ือใหเกิดการนําเสนอประเด็นในมุมมองตางๆ ท่ีหลากหลายและ

มีการสะทอนความคิดเห็นอยางรอบดาน

(2) คํานึงถึงความสะดวกของผูเก่ียวของทุกฝาย ในการดําเนินงานทุกข้ันตอน ตั้งแตการ

เผยแพรขาวสาร การลงทะเบียน การเขารวมประชุม และการแสดงความคิดเห็น เพ่ือใหผูท่ีเก่ียวของ

หรือสนใจท่ีจะแสดงความคิดเห็นสามารถเขามามีสวนรวมในกระบวนการรับฟงความคิดเห็นครั้งนี้ได

โดยมีขอจํากัดนอยท่ีสุด

(3) การเปดใหมีการแสดงความคิดเห็นโดยอิสระและมีการรับฟงอยางแทจริงโดยคํานึงถึง

ขอโตแยงของทุกฝาย ตลอดจนผลกระทบในดานตางๆ และดําเนินการดวยความยืดหยุน สุจริต เปนธรรม

(4) ใหทุกภาคสวนไดมีโอกาสในการแสดงความเห็นอยางเสมอภาค และใหเวลาในการ

แสดงความคิดเห็นอยางเต็มท่ี

(5) ทุกประเด็นความคิดเห็นตองมีการบันทึกไวอยางครบถวน ท้ังการบันทึกท่ีเปนลายลักษณ

อักษร การบันทึกภาพและเสียง เพ่ือนําไปสูการสรุปผลท่ีครบถวนสมบูรณและสามารถตรวจสอบได

(6) กระบวนการดําเนินงานทุกข้ันตอนตองมีความชัดเจน โปรงใส และการสรุปความ

คิดเห็นต้ังอยูบนขอเท็จจริงท่ีไดจากการรับฟงความคิดเห็น โดยปราศจากความเอนเอียงตอผูมีสวนไดเสีย

ฝายหนึ่งฝายใด

เพ่ือใหไดมาซ่ึงความคิดเห็นท่ีครบถวนรอบดานมากท่ีสุดจากทุกภาคสวน คณะกรรมการฯ

ไดยึดหลักการดังกลาวขางตน ในการกําหนดกระบวนการ วิธีการ สถานท่ี และเวลาการจัดรับฟงความ

คิดเห็นฯ รวมท้ัง การดําเนินงานท่ีเก่ียวของทุกข้ันตอน ดังรายละเอียดปรากฏในรายงานการประชุม

คณะกรรมการฯ แตละครั้ง ท่ีไดแสดงไวใน บทท่ี 1 สงผลใหกระบวนการจัดรับฟงความคิดเห็นฯ ในครั้งนี้

มีการดําเนินงานในแตละข้ันตอนมากกวาท่ีกําหนดตามเอกสารทายประกาศ ง (ประกาศ ทส. 29

ธันวาคม 2552) ดังสรุปใน ตารางท่ี 3-1

Page 31: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 3-2

ตารางท่ี 3-1

การเปรียบเทียบกระบวนการจัดรับฟงความคิดเห็นฯ ตามประกาศ ทส. 29 ธันวาคม 2552

เอกสารทายประกาศ ง

(ประกาศ ทส. 29 ธันวาคม 2552) การดําเนินงานของคณะกรรมการฯ

กอนการรับฟงความคิดเห็น

ขอ 2.1 ศึกษารายละเอียดเก่ียวกับโครงการหรือกิจการท่ีจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นฯ ดังกลาว

คณะกรรมการฯ ไดศึกษารายละเอียดเก่ียวกับโครงการ ดังแสดงใน บทท่ี 2

ขอ 2.2 กําหนดกระบวนการ วิธีการ สถานท่ีและเวลาในการรับฟงความคิดเห็นฯ โดยคํานึงถึงความสะดวกของผูเก่ียวของทุกฝาย

คณะกรรมการฯ มีการประชุมเพ่ือวางแผนและรวมพิจารณาทางเลือกกระบวนการ วิธีการ สถานท่ี และเวลาในการรับฟงความคิดเห็น ท่ีสะดวกตอทุกฝาย(รายงาน

การประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งท่ี 1-5) ซ่ึงไดขอสรุปเปนการจัดประชุมรับฟงความคิดเห็น ในวันท่ี 18 พฤศจิกายน 2554 เวลา 08.30-15.30 น.

ณ อาคารหอประชุมใหญ ศูนยราชการจังหวัดระยอง

ขอ 2.3 ลงประกาศในหนังสือพิมพรายวันอยางนอย 1 ฉบับท่ีมีการอานแพรหลายท่ัวไป โดยเฉพาะในพ้ืนท่ีการกอสรางโครงการ และเขต

ใกลเคียงเปนเวลา ไมนอยกวา 3 วัน เพ่ือใหประชาชนและ ผูมีสวนไดเสียท่ีประสงคจะเสนอความคิดเห็น

มาลงทะเบียนไวกับคณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ กอนวันท่ีรับฟงความคิดเห็นดังกลาว ลวงหนาไมนอยกวา 15 วัน และจะตองมี

ระยะเวลาในการเปดรับลงทะเบียนไมนอยกวา 5 วัน

ลงประกาศในหนังสือพิมพรายวันอยางนอย 1 ฉบับท่ีมีการอานแพรหลายท่ัวไป ไดแก นสพ.ไทยรัฐ เปนเวลา 3 วัน (วันท่ี 9, 18 และ 19 ตุลาคม 2554) นอกจากนี้ ไดมี

การประชาสัมพันธทางชองทางอ่ืนๆ เพ่ิมเติม ดังนี้ - นสพ.บูรพานิวส ฉบับวันท่ี 10 ตุลาคม-10 พฤศจิกายน

2554

- นสพ .ระยองโพสต ลงฉบับวันท่ี 15 ตุลาคม -15 พฤศจิกายน 2554

- ปายประชาสัมพันธบริเวณจุดสังเกตท่ีสําคัญในพ้ืนท่ี

และท่ีทําการชุมชนทุกแหง - ประชาสัมพันธทางคลื่นวิทยุทองถ่ิน 5 สถานี ตั้งแต

วันท่ี 21 ตุลาคม-18 พฤศจิกายน 2554 ทุกตนชั่วโมง

- เวปไซต สกพ. (www.erc.or.th/EHIA) - การสงจดหมายเชิญ

- รถกระจายเสียง พรอมเจ าหนา ท่ีแจกเอกสาร

ประชาสัมพันธ ในพ้ืนท่ีชุมชนภายในรัศมี 5 กิโลเมตร

- เปดรับลงทะเบียนทางเว็บไซต สกพ.

(www.erc.or.th) ทางโทรศัพท/โทรสาร/ไปรษณีย/

จดหมายอิเล็กทรอนิกสสงมายังศูนยประสานงานฯ ท่ี

Page 32: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 3-3

เอกสารทายประกาศ ง

(ประกาศ ทส. 29 ธันวาคม 2552) การดําเนินงานของคณะกรรมการฯ

สกพ. ตั้งแตวันท่ี 10 ตุลาคม 2554 จนถึงวันท่ี 15

พฤศจิกายน 2554

- ตั้งโตะรับลงทะเบียนในพ้ืนท่ี 2 จุด ท่ีศูนยราชการ

จังหวัดระยอง และเทศบาลเมืองมาบตาพุด (วันท่ี 25-

28 และ 31 ตุลาคม 2554)

ขอ 2.4 แจงใหประชาชนและผูมีสวนไดเสียท่ีไดลงทะเบียนไวแลวทราบถึงวันท่ีจะรับฟงความ

คิดเห็นดังกลาว โดยระยะเวลาในการรับฟงความคิดเห็นฯ นั้น จะตองมีเวลาไมนอยกวา 15 วัน

มีการประกาศรายชื่อผูท่ีลงทะเบียนไวลวงหนา ทางเวปไซต สกพ. (www.erc.or.th) รวมถึง มีการแจง

กลับทางจดหมายอิเล็กทรอนิกสท่ีไดใหไวตอนลงทะเบียน สําหรับผูสนใจท่ัวไปหรือผูท่ียังไมไดลงทะเบียน มีการประชาสัมพันธทราบถึงกําหนดการและระยะเวลาในการ

รับฟงความคิดเห็นฯ ประกอบดวย การประชุมรับฟงความคิดเห็นฯ วันท่ี 18 พฤศจิกายน 2554 และการแสดงความคิดเห็นทางเว็บไซต สกพ. (www.erc.or.th)

ทางโทรศัพท/โทรสาร/ไปรษณีย/จดหมายอิเล็กทรอนิกสสงมายังศูนยประสานงานฯ ท่ี สกพ. ตั้งแตวันท่ี 10 ตุลาคม 2554 จนถึงวันท่ี 4 ธันวาคม 2554 รวม 56 วัน

ตามชองทางตางๆ เชนเดียวกันกับขอ 2.3

ขอ 2.5 ปดประกาศเผยแพรขอมูลขาวสารท่ี

เก่ียวของกับโครงการหรือกิจการดังกลาวโดยเปดเผย ณ สํานักงานของหนวยงานของรัฐท่ีมีอํานาจในการอนุมัติหรืออนุญาตโครงการหรือ

กิจการนั้น องคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ีโครงการหรือกิจการนั้นตั้งอยู และบนเว็บไซตของหนวยงานของรัฐท่ีดําเนินการรับฟงความคิดเห็นฯ

โดยท้ังนี้จะตองดําเนินการลวงหนากอนเริ่มกระบวนการรับฟงความคิดเห็นฯ ดังกลาวไมนอยกวา 15 วัน

ปดประกาศเผยแพรขอมูลขาวสารท่ีเก่ียวของกับโครงการ

โดยเปดเผย ตั้งแตวันท่ี 25 ตุลาคม-18 พฤศจิกายน 2554 เปนเวลา 25 วัน ณ สถานท่ีตอไปนี้ สํานักงานของหนวยงานอนุมัติอนุญาต

- สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (สวนกลาง) อาคารจามจุรีสแควร

- สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน เขต 8

(ชลบุรี) - สํานักงานนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด องคกรปกครองสวนทองถ่ิน

- เทศบาลเมืองมาบตาพุด (ประชาสัมพันธ ชั้น 1) - ศูนยราชการจังหวัดระยอง (ประชาสัมพันธ ชั้น 1) เว็บไซตของ สกพ. (www.erc.or.th)

(ตั้งแตวันท่ี 10 ตุลาคม 2554 จนถึงวันท่ี 4 ธันวาคม 2554)

Page 33: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 3-4

เอกสารทายประกาศ ง

(ประกาศ ทส. 29 ธันวาคม 2552) การดําเนินงานของคณะกรรมการฯ

ระหวางการรับฟงความคิดเห็น

ใหคณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ คํานึงถึงขอ

โตแยงของทุกฝาย ตลอดจนผลกระทบในดานตาง ๆ

และใหดําเนินการดวยความยืดหยุน สุจริตและ

เปนธรรม เพ่ือใหไดมาซ่ึงขอมูลประกอบการ

ตัดสินใจของหนวยงานอนุมัติหรือหนวยงาน

อนุญาตท่ีชัดเจนและถูกตองตามหลักวิชาการและ

สภาพความเปนจริงมากท่ีสุด

การรับฟงความคิดเห็นในการประชุมวันท่ี 18

พฤศจิกายน54 และเปดรับฟงความคิดเห็นตอเนื่องผาน

ชองทางตางๆ จนถึงวันท่ี 4 ธันวาคม 2554 ท้ังนี้ ไดมีการ

เปดรับความคิดเห็นทางเว็บไซต สกพ. (www.erc.or.th)

ทางโทรศัพท/โทรสาร/ไปรษณีย/จดหมายอิเล็กทรอนิกส

ซ่ึงจัดสงมายังศูนยประสานงานฯ สกพ. ตั้งแตวันท่ี 10

ตุลาคม 2554 จนถึงวันท่ี 4 ธันวาคม 2554 รวม 56 วัน

หลังการรับฟงความคิดเห็น

ขอ 3 เม่ือคณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ

ไดรับฟงความคิดเห็นเสร็จแลว ใหทํารายงานการ

รับฟงความคิดเห็นฯ พรอมท้ัง คําชี้แจงของ

หนวยงานท่ีเก่ียวของเสนอตอหนวยงานของรัฐท่ี

แตงตั้งภายใน 15 วัน

กําหนดสงรายงานฯ ภายในวันท่ี 19 ธันวาคม 2554

(15 วัน นับจากวันท่ี 4 ธันวาคม 2554 ซ่ึงเปนวันสุดทาย

ท่ีเปดรับฟงความคิดเห็น)

ท้ังนี้ สามารถสรุปข้ันตอนการรับฟงความคิดเห็นฯ ขางตน โดยแบงตามชวงการดําเนินงาน

ไดเปน 3 ระยะ ไดแก 1.การดําเนินการกอนการจัดประชุม 2.การจัดประชุม และ 3.การดําเนินการ

ภายหลังวันจัดประชุม ดัง รูปท่ี 3-1

Page 34: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 3-5

รูปท่ี 3-1 กระบวนการและวิธีการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามชวงระยะเวลาการ

ดําเนินงาน

ชวงก

อนรับ

ฟงค

วามค

ิดเห็น

ชวงร

ับฟงค

วามค

ิดเห็น

ชวงห

ลังรับ

ฟงค

วามค

ิดเห็น

ศึกษารายละเอียดโครงการ

ประชุมวางแผนพิจารณาแนวทางการรับฟงฯ

ลงประกาศหนังสือพิมพ ไทยรัฐ 3 วัน

(9, 17 และ 19 ตุลาคม 2554)

เปดรับลงทะเบียน (เว็บไซต, ไปรษณีย, โทรสาร, โตะลงทะเบียน ฯลฯ)

(10 ตุลาคม – 15 พฤศจิกายน 2554)

ประกาศรายชื่อผูลงทะเบียนและแจงกลับวัน เวลา สถานที่ รับฟงความคิดเห็นฯ

ติดประกาศเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับโครงการเปนเวลา 25 วัน

(25 ตุลาคม – 18 พฤศจิกายน 2554)

จัดประชุมรับฟงความคิดเห็น ณ ศูนยราชการ จ. ระยอง

(18 พฤศจิกายน 2554)

เปดรับฟงความคิดเห็นผานชองทางอ่ืนๆ (เว็บไซต, ไปรษณีย, โทรสาร เปนตน)

(10 ตุลาคม – 4 ธันวาคม 2554)

จัดทํารายงานสรุปผลการรับฟงความคิดเห็นฯ

(4 ธันวาคม 2554 – 19 ธันวาคม 2554)

การดําเนินงานของคณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ประกาศ ทส.

1 ฉบับ 3 วัน

ไม < 5 วัน

กอน 15 วัน

ไม < 15 วัน

ไม < 15 วัน

ไม > 15 วัน

Page 35: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 3-6

3.1 กําหนดวัน เวลา และสถานท่ีจัดประชุมรับฟงความคิดเห็นฯ

คณะกรรมการฯ ไดกําหนดกระบวนการรับฟงความคิดเห็น โดยการจัดประชุมในวันศุกรท่ี

18 พฤศจิกายน 2554 เวลา 08.30-15.30 น. ณ หองประชุมศูนยราชการจังหวัดระยอง เนื่องจาก

สถานท่ีเปนท่ีรูจักของคนในพ้ืนท่ี และมีความสะดวกตอการเดินทางเขารวมประชุม ท้ังนี้ คณะ

กรรมการฯ ไดเปดรับฟงความคิดเห็นจนถึงเวลา 15.30 น. หรือจนกวาผูประสงคจะแสดงความคิดเห็น

ไดแสดงความเห็นจนครบทุกคน

3.2 กลุมประชาชนและผูมีสวนไดเสียท่ีทําการประชาสัมพันธกระบวนการรับฟงความคิดเห็นฯ

เพ่ือใหการรับฟงความคิดเห็นครั้งนี้ครอบคลุมประชาชนและผูมีสวนไดสวนเสียทุกภาคสวน ตาม

เจตนารมณของประกาศ ทส. 29 ธันวาคม 2552 ทางคณะกรรมการฯ ไดวิเคราะหกลุมประชาชนและผูมี

สวนไดเสียเพ่ือประชาสัมพันธและเชิญชวนเขารวมกระบวนการรับฟงความคิดเห็น โดยกําหนด

ครอบคลุมกลุมเปาหมายเดิมท่ีไดเขามามีสวนรวมในรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมฯ

ประกอบดวย 7 กลุม ไดแก กลุมท่ี 1 ประชาชนในเขตจังหวัดระยอง/ผูท่ีอาจไดรับผลกระทบ กลุมท่ี 2

หนวยงานราชการ ท้ังระดับทองถ่ินและสวนกลาง กลุมท่ี 3 ผูประกอบการ/บริษัท/หนวยงานเอกชน

กลุมท่ี 4 สถาบันการศึกษา/องคกรเอกชน กลุมท่ี 5 สื่อมวลชน กลุมท่ี 6 หนวยงานท่ีรับผิดชอบจัดทํา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม และกลุมท่ี 7 ประชาชนผูสนใจท่ัวไป ซ่ึงครอบคลุม

กลุมเปาหมายท่ีเก่ียวของอ่ืนๆ เพ่ิมเติม เชน ชุมชนนอกขอบเขตพ้ืนท่ีศึกษารัศมี 5 กิโลเมตร กล ุ มอาชีพ

ประมง สถาบันการศึกษาท่ีมีความเชี่ยวชาญในการวิจัยดานตางๆ และกลุมท่ีติดตามปญหาเฉพาะซ่ึง

เก่ียวของกับโครงการไดแก ดานพลังงาน ดานถานหิน ดานผลกระทบจากโรงไฟฟา ผลกระทบจากฝุน

ละอองและโรคระบบทางเดินหายใจ เปนตน รวมท้ัง หนวยงาน/องคกรดานนโยบายพลังงาน

รายละเอียดของกลุมเปาหมายท่ีมีการประชาสัมพันธและเชิญชวนเขารวมกระบวนการรับฟงความ

คิดเห็นฯ ในครั้งนี้ สรุปไดดัง ตารางท่ี 3.2-1

3.3 เอกสารเผยแพร

เพ่ือใหผูเขารวมการประชุมไดรับทราบความเปนมาของการจัดประชุมรับฟงความคิดเห็น

และสรางความเขาใจตอกระบวนการดังกลาว คณะกรรมการไดจัดทําคูมือการเขารวมรับฟงความ

คิดเห็นฯ (ภาคผนวก 3-1) โดยมีเนื้อหาประกอบดวย 7 สวน ดังนี้

สวนท่ี 1 ความเปนมาของการจัดรับฟงความคิดเห็นฯ

สวนท่ี 2 ความเปนมาของโครงการโรงไฟฟาพลังความรอน บริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

กอนข้ันตอนการพิจารณาอนุมัติหรืออนุญาต

สวนท่ี 3 แนะนําหนวยงานของรัฐซ่ึงเปนผูมีอํานาจในการอนุมัติหรืออนุญาต

โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

สวนท่ี 4 คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย

โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

Page 36: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 3-7

สวนท่ี 5 การเตรียมตัวเพ่ือเขารวมประชุมรับฟงความคิดเห็น

สวนท่ี 6 ชองทางการลงทะเบียนลวงหนาและการศึกษารายละเอียดโครงการ

สวนท่ี 7 กติกาและขอตกลงในการประชุมรับฟงความคิดเห็น

Page 37: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 3-8

ตารางท่ี 3.2-1

กลุมเปาหมายท่ีเชิญ/ประชาสัมพันธเขารวมกระบวนการรับฟงความคิดเห็น

กลุมเปาหมาย รายละเอียด

1. ประชาชนในเขตจังหวัดระยอง/

ผูท่ีอาจไดรับผลกระทบ

1.1 เขตเทศบาลเมืองมาบตาพุด ทุกชุมชน (33 ชุมชน)

1.2 เขตเทศบาลเมืองบานฉาง ทุกชุมชน (22 ชุมชน) เพ่ิมเติมจากในรายงาน EHIA

1.3 เขตเทศบาลตําบลบานฉาง ทุกชุมชน (14 ชุมชน)

1.4 เขตเทศบาลตําบลเนินพระ ทุกชุมชน (7 ชุมชน)

1.5 เขตเทศบาลตําบลทับมา ทุกชุมชน (8 ชุมชน)

1.6 กลุมประมงเรือเล็ก ทุกชุมชน (7 กลุม) เพ่ิมเติมจากในรายงาน EHIA

1.7 วัดในพ้ืนท่ี 17 แหง

2. หนวยงานราชการ ท้ังระดับทองถ่ินและ

สวนกลาง

หนวยงานปกครองสวนทองถ่ิน หนวยงานกํากับดูแล

หนวยงานดานตางๆ (พลังงาน อุตสาหกรรมและการ

ลงทุน สาธารณูปโภค สิ่งแวดลอม การใชท่ีดิน สุขภาพ

คุณภาพชีวิตและสังคม อาชีพ)

รวม 58 หนวยงาน

3. ผูประกอบการ/บริษัท/หนวยงานเอกชน บริษัท/โรงงานอุตสาหกรรมในเขตนิคมอุตสาหกรรม

มาบตาพุด

รวม 53 ราย

4. สถาบันการศึกษา/องคกรเอกชน สถาบันการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย สวนกลาง 21

แหง และท่ีมีสาขาในพ้ืนท่ี 3 แหง โรงเรียนในพ้ืนท่ีทุก

ระดับ 15 แหง

องคกรพัฒนาเอกชนดานสุขภาพ สิ่งแวดลอม และ

พลังงาน 29 แหง

5. สื่อมวลชน ประกอบดวย สื่อวงกวาง (เผยแพรท่ัวประเทศ) 26 ราย

และสื่อทองถ่ิน (ระดับจังหวัด) 29 ราย

6. หนวยงานท่ีรับผิดชอบจัดทํารายงานการ

วิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม

บริษัท แอรเซฟ จํากัด (บริษัทท่ีปรึกษา)

คณะเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล

บริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

7. ประชาชนผูสนใจท่ัวไป กลุมท่ีไมรวมอยูในกลุมเปาหมายขางตน

Page 38: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 3-9

3.4 การประกาศการประชุมรับฟงความคิดเห็นและรับลงทะเบียนลวงหนา

คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย ไดลงประกาศทาง

หนังสือพิมพไทยรัฐ ซ่ึงเปนหนังสือพิมพรายวัน ท่ีมีการอานแพรหลายท่ัวไป โดยลงประกาศฉบับวันท่ี 9,

18 และ 19 ตุลาคม 54 รวม 3 วัน เพ่ือใหประชาชนและผูมีสวนไดเสียท่ีประสงคจะเสนอความคิดเห็น

มาลงทะเบียนไวกับคณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ กอนวันท่ีรับฟงความคิดเห็นดังกลาวลวงหนา

40 วัน และกอนวันเปดรับลงทะเบียนในพ้ืนท่ีลวงหนา 15 วัน สอดคลองตามประกาศ ทส. 29 ธันวาคม

2552 เอกสารทายประกาศ ง ขอ 2.3 ท้ังนี้ เพ่ือใหกระบวนการรับฟงความคิดเห็นครั้งนี้มีการสื่อสารวง

กวางไปยังกลุมเปาหมายตาง ๆ อยางมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการฯ ไดดําเนินการประกาศและ

ประชาสัมพันธเพ่ิมเติม ทางชองตาง ๆ ดังนี้

(1) การเชิญ/แจงโดยตรง (เอกสารหลักฐาน ดังแสดงใน ภาคผนวก 3-2) ประกอบดวย 2

สวน ไดแก 1) หนวยงานราชการและองคกรตางๆ (286 หนวยงาน) สงจดหมายเชิญทาง

ไปรษณีย 2) ชุมชน (84 ชุมชน วัด 17 แหง ) สงจดหมายเชิญเปนรายบุคคลไปยังประธานชุมชน/ผูนําชุมชน โดยมีเจาหนาท่ีเขาพบและเชิญดวยวาจา

(2) ลงประกาศในหนังสือพิมพทองถ่ิน 2 ฉบับ ประกอบดวย หนังสือพิมพบูรพานิวส ลงฉบับประจําวันท่ี 10 ตุลาคม-10 พฤศจิกายน 54 และหนังสือพิมพระยองโพสต ลงฉบับประจําวันท่ี 15

ตุลาคม-15 พฤศจิกายน 54 (3) ปายประชาสัมพันธตามจุดตางๆ ประกอบดวย ปายไวนิลขนาดใหญ 4 ปาย ติดตั้ง

บริเวณจุดสังเกตท่ีสําคัญในชุมชน ไดแก ตลาดมาบตาพุดเมืองใหม แยกตากวน-อาวประดู แยกศูนยราชการจังหวัดระยอง และดานหนาท่ีวาการอําเภอบานฉาง ปายไวนิลขนาดเล็ก 20 ปาย (ติดท่ีทําการชุมชนในพ้ืนท่ีรัศมี 5 กิโลเมตร) และโปสเตอรขนาด A3 จํานวน 80 แผน (ติดบริเวณสถานท่ีสาธารณะ

ตาง ๆ) (4) คลื่นวิทยุทองถ่ิน 5 สถานี ไดแก สถานีวิทยุ 97.50 (พลาซาเรดิโอ) สถานีวิทยุ 105.75

(ชุมชนคนหวยโปง) สถานีวิทยุ 98.50 (คนหนองโพรง) สถานีวิทยุ 105.25 (กรีนวอยซ) และสถานีวิทยุ 108.00 (กระเฉท) ทําการออกอากาศในเวลา 05.00-22.00 น.วันจันทร-อาทิตย ตั้งแตวันท่ี 21 ตุลาคม-18 พฤศจิกายน 2554 ทุกตนชั่วโมง ครอบคลุมพ้ืนท่ีในจังหวัดระยอง

(5) เว็บไซต สกพ. www.erc.or.th/EHIA

(6) ในชวงใกลวันจัดประชุม คณะกรรมการฯ ไดเพ่ิมชองทางการประชาสัมพันธโดยใชรถกระจายเสียงติดปายเชิญประชุมฯ วิ่งตามเสนทางในชุมชน และจอดประชาสัมพันธเปนจุดๆ บริเวณท่ี

Page 39: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 3-10

เปนเขตชุมชนและตลาดนัด เชน ตลาดลาว (ชุมชนตากวน-อาวประดู) ตลาดตนโพธิ์ (ชุมชนวัดมาบตาพุด) ตลาดเมืองใหมมาบตาพุด และตลาดสี่ภาค โดยมีเจาหนาท่ีรวมแจกแผนพับประชาสัมพันธดวย

ดําเนินการในวันท่ี 6, 13, 15 และ 17 พฤศจิกายน 54 เพ่ือกระตุนเตือนประชาชนในพ้ืนท่ีใหเขารวมกระบวนการมากยิ่งข้ึน

เอกสารหลักฐานประชาสัมพันธโครงการ ดังแสดงใน ภาคผนวก 3-3

ตัวอยางรถประชาสัมพันธ

ภาพแสดงการประกาศการประชุมรับฟงความคิดเห็นและรับลงทะเบียนลวงหนา

ตัวอยางหนังสือพิมพทองถิ่น ระยองโพสต

ตัวอยางปายไวนิล

Page 40: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 3-11

3.5 การรับลงทะเบียนลวงหนา

คณะกรรมการฯ ไดเปดรับลงทะเบียนลวงหนาใหแกประชาชนและผูมีสวนไดเสีย กอนวัน

ประชุมไมนอยกวา 15 วัน โดยดําเนินการ ดังนี้

(1) ทางระบบเครือขายคอมพิวเตอรของสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน

(สกพ.) www.erc.or.th/EHIA รวมท้ัง โทรศัพท โทรสาร และจดหมายอิเล็กทรอนิกส ของศูนย

ประสานงานการรับฟงความคิดเห็นฯ สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (สกพ.) เริ่ม

ดําเนินการตั้งแตวันท่ี 10 ตุลาคม - 15 พฤศจิกายน 54

(2) การตั้งโตะรับลงทะเบียนในพ้ืนท่ีจังหวัดระยอง ในวันท่ี 25-28 และ 31 ตุลาคม 54

(ในวันและเวลาราชการ) รวมระยะเวลา 5 วัน ดําเนินการจํานวน 2 จุด ไดแก

1) ศูนยราชการจังหวัดระยอง

2) เทศบาลเมืองมาบตาพุด

เอกสารหลักฐานการดําเนินงานรับลงทะเบียนลวงหนา ดังแสดงใน ภาคผนวก 3-4

ภาพแสดงการดําเนินงานเปดรับลงทะเบียนลวงหนา

Page 41: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 3-12

3.6 การจัดเตรียมบัญชีรายช่ือและแจงกลับผลการลงทะเบียน

คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย ไดปดรับการลงทะเบียน

ลวงหนาในวันท่ี 15 พฤศจิกายน 2554 โดยมีการแจงใหประชาชนและผูมีสวนไดเสียท่ีไดลงทะเบียนไว

แลวไดทราบถึงกําหนดการประชุมรับฟงความคิดเห็นในวันท่ี 18 พฤศจิกายน 2554 และลําดับการ

แสดงความคิดเห็นของผูท่ีไดลงทะเบียนไว โดยการแจงกลับตามท่ีอยูอิเล็กทรอนิกสท่ีไดใหไว รวมท้ัง

ประกาศทางเว็บไซตของ สกพ. www.erc.or.th/EHIA

.3 ในการนี้ มีประชาชนและผูมีสวนไดเสียท่ีไดลงทะเบียนไวลวงหนา ประกอบดวย

ผูลงทะเบียนลวงหนาเพ่ือเขารวมประชุม จํานวน 83 ราย และผูลงทะเบียนลวงหนาเพ่ือแสดงความ

คิดเห็น จํานวน 7 ราย

เอกสารหลักฐานการดําเนินงาน ดังแสดงใน

ภาคผนวก 3-4

3.7 การเผยแพรขอมูลขาวสารท่ีเกี่ยวของกับโครงการ

คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย ไดมีการเผยแพรขอมูล

ขาวสารท่ีเก่ียวของกับโครงการลวงหนากอนวันจัดประชุมวันท่ี 18 พฤศจิกายน 2554 โดยเปดเผยทาง

เว็บไซตของสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (www.erc.or.th/EHIA) ตั้งแตวันท่ี 10

ตุลาคม 2554 เปนตนไป ลวงหนาเปนเวลา 38 วัน และมีการจัดวางเอกสาร ตั้งแตวันท่ี 25 ตุลาคม

2554 ลวงหนาเปนเวลา 23 วัน ณ สถานท่ีของหนวยงานผูอนุมัติอนุญาตและหนวยงานทองถ่ินท่ีเปน

ท่ีตั้งโครงการ 5 แหง ดังนี้

(1) สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (สวนกลาง) อาคารจามจุรีสแควร

(2) สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน เขต 8 (ชลบุรี)

(3) สํานักงานนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด

(4) เทศบาลเมืองมาบตาพุด (บริเวณประชาสัมพันธ ชั้น 1)

(5) ศูนยราชการจังหวัดระยอง (บริเวณประชาสัมพันธ ชั้น 1)

สําหรับเอกสารท่ีมีการเผยแพร ณ สถานท่ีดังกลาวขางตน ประกอบดวย

(1) สําเนาหนังสือสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สผ.)

เรื่อง ผลการพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมฯ และสรุปสาระสําคัญของมาตรการ

ปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอมโครงการฯ

(2) รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมฯ ประกอบดวย รายงานฉบับยอ และ

รายงานฉบับสมบูรณ

เอกสารหลักฐานการดําเนินงาน ดังแสดงใน ภาคผนวก 3-3

Page 42: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 3-13

ภาพแสดงการเผยแพรขอมูลขาวสารท่ีเกี่ยวของกับโครงการ

Page 43: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 3-14

3.8 การจัดประชุมรับฟงความคิดเห็น

3.8.1 ข้ันตอนการดําเนินการประชุมฯ

การจัดประชุมรับฟงความคิดเห็นฯ ในวันศุกรท่ี 18 พฤศจิกายน 2554 เวลา 08.30-15.30 น.

ณ อาคารหอประชุมใหญ ศูนยราชการจังหวัดระยอง ไดกําหนดรูปแบบและข้ันตอนการดําเนินการ

ประชุมฯ ดังนี้

เวลา กําหนดการประชุม

08.30–14.00 น. ลงทะเบียนรวมประชุมและ/หรือลงทะเบียนแสดงความคิดเห็น

09.00-09.15 น. ชี้แจงรายละเอียด–ข้ันตอนการรับฟงความคิดเห็นฯ

แนะนําวิธีการปฏิบัติในการประชุมรับฟงความคิดเห็น

กติกาการเสนอประเด็นความคิดเห็นฯ ในหองประชุม

09.15–09.30 น. นําเสนอวีดีทัศนขอมูลของโครงการ

09.30–12.30 น. การรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดสวนเสีย

สําหรับโครงการโรงไฟฟาพลังความรอน บริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

12.30–13.30 น. รับประทานอาหารกลางวันรวมกัน

13.30–15.30 น. การรับฟงความคิดเห็นจากผูประสงคใหรายละเอียดเพ่ิมเติม

3.8.2 กติกาการแสดงความคิดเห็น

เพ่ือใหกระบวนการรับฟงความคิดเห็นฯ เปนไปดวยความเปนระเบียบเรียบรอย คณะ

กรรมการฯ ไดมีการเผยแพรกติกาการแสดงความคิดเห็นไวในคูมือการเขารวมประชุม และทบทวนให

ผูเขารวมประชุมทราบในวันประชุมอีกครั้ง โดยการแสดงความคิดเห็นจะเรียกชื่อผูท่ีไดลงทะเบียนไว

ลวงหนาใหแสดงความคิดเห็นกอนตามลําดับ และใชเวลาตามท่ีตกลงในหองประชุม คือ รายละ 5 นาที

สําหรับผูท่ีลงทะเบียนในหองประชุมจะเรียกตามลําดับกอนหลังของการลงทะเบียน

3.8.3 เอกสารประกอบการประชุม

เอกสารประกอบการประชุมรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย ของโครงการ

โรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด ในวันศุกรท่ี 18 พฤศจิกายน 2554 มีจํานวน 4

รายการ ดังแสดงใน ภาคผนวก 3-5 ประกอบดวย

(1) กําหนดการประชุม

(2) คูมือการเขารวมประชุมและแสดงความคิดเห็น

(3) เอกสารสรุปความคิดเห็นของประชาชนและมาตรการท่ีเก่ียวของ

(4) แบบประเมินผลการประชุม

Page 44: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 3-15

3.8.4 การประเมินผลการประชุม

คณะกรรมการฯ มีการประเมินผลการจัดประชุมรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวน

ไดเสีย ของโครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด ในวันศุกรท่ี 18 พฤศจิกายน

2554 โดยทําการประเมินผลการจัดประชุมรับฟงความคิดเห็นฯ 2 สวน ไดแก สวนท่ี 1 การประเมินใน

ภาพรวมโดยการสอบถามจากผูเขารวมในหองประชุม และสวนท่ี 2 จากแบบประเมินผล ในประเด็นตาง ๆ

ดังนี้

ตอนท่ี 1: ขอมูลผูตอบแบบประเมิน

ตอนท่ี 2: การรับรูขาวสารเก่ียวกับการรับฟงความคิดเห็นฯ ครั้งนี้

ตอนท่ี 3: ระดับความรูความเขาใจในเรื่องท่ีเก่ียวของกับการรับฟงความคิดเห็นฯ

ตอนท่ี 4: ระดับความพึงพอใจในการจัดกระบวนการรับฟงความคิดเห็นครั้งนี้

ตอนท่ี 5: ความคิดเห็นและขอเสนอแนะ

-----------------------------------------------

Page 45: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-1

บทที่ 4 ผลการดําเนินงานจากกระบวนการรับฟงความคิดเห็น

4.1 ขอมูลท่ัวไปของการจัดประชุม

การประชุมรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย ของโครงการโรงไฟฟาพลังความรอน

ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด ดําเนินการในวันศุกรท่ี 18 พฤศจิกายน 54 ณ อาคารหอประชุมใหญ ศูนยราชการ

จังหวัดระยอง โดยมีการแจงกําหนดการรับลงทะเบียนตั้งแตเวลา 08.30-14.00 น. และรับฟงความคิดเห็น

จนถึงเวลา 15.30 น. ท้ังนี้ เม่ือเวลา 14.00 น. ปรากฏวาไมมีผูมาลงทะเบียนแสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติมและผูท่ี

ลงทะเบียนไวแลวไดมีการแสดงความคิดเห็นอยางครบถวน ดังนั้น ประธานฯ จึงไดแจงผูเขารวมประชุมท่ี

เหลืออยูวาไมมีผูประสงคแสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติม และดําเนินการประเมินผลในภาพรวมโดยการสอบถามจาก

ผูเขารวมในหองประชุม หลังเสร็จสิ้นแลว ประธานฯ ไดขอหารือและขอมติปดการประชุมเม่ือเวลา 14.30 น.

รายละเอียดกระบวนการดําเนินงาน สามารถสรุปไดดังนี้

เวลา

กระบวนการดําเนินงาน

08.30–14.00 น. ประชาชนและผูมีสวนไดเสีย ลงทะเบียนเขารวมประชุมและ/หรือลงทะเบียนแสดง

ความคิดเห็น พรอมรับเอกสารประกอบการประชุม

09.00-09.15 น. ประธานกรรมการและกรรมการผูดําเนินรายการบนเวที ไดชี้แจงรายละเอียดและข้ันตอน

การรับฟงความคิดเห็น รวมท้ัง ชี้แจงกติกาการเสนอประเด็นความคิดเห็นฯ ซ่ึงตองมี

การลงทะเบียนกอนและเรียกชื่อตามลําดับ ท้ังนี้ ท่ีประชุมมีมติใหกําหนดเวลาการ

แสดงความคิดเห็นรายละ 5 นาที หากมีความตองการแสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติม

สามารถลงทะเบียนใหมและรอแสดงความคิดเห็นตามลําดับ

09.15–09.30 น. ประธานกรรมการและกรรมการผูดําเนินรายการบนเวที ไดเปดโอกาสใหบริษัท เก็คโค-

วัน จํากัด ไดนําเสนอรายละเอียดการดําเนินงานและการจัดการสิ่งแวดลอมของ

โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน โดยใชสื่อวีดีทัศน ความยาว 15 นาที เพ่ือให

ผูเขารวมประชุมไดมีขอมูลในการใหความเห็น

09.30–12.30 น. ประธานกรรมการและกรรมการผูดําเนินรายการบนเวที ไดเปดรับฟงความคิดเห็นของ

ประชาชนและผูมีสวนไดสวนเสีย สําหรับโครงการโรงไฟฟาพลังความรอน บริษัท เก็ค

โค-วัน จํากัด โดยเริ่มจากการเรียกชื่อจากบัญชีผูลงทะเบียนแสดงความคิดเห็นไว

ลวงหนา ตั้งแตลําดับท่ี 1 ไปตามลําดับ โดยในชวงเชามีผูแสดงความคิดเห็นท้ังสิ้น 23

ราย ในท่ีนี้ มี 1 ราย ท่ีแสดงความคิดเห็นเปนลายลักษณอักษร

Page 46: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-2

เวลา

กระบวนการดําเนินงาน

12.30–13.30 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.30–14.30 น. ประธานกรรมการและกรรมการผูดําเนินรายการบนเวที ไดเปดรับฟงความคิดเห็นฯ ตอ

จากชวงเชา มีผูลงทะเบียนแสดงความคิดเห็นชวงบาย 2 ราย และไมมีผูประสงคจะ

แสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติม ท้ังนี้ เม่ือเวลา 14.00 น. ปรากฏวา ไมมีผูมาลงทะเบียน

แสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติมและผูท่ีลงทะเบียนไวแลวไดมีการแสดงความคิดเห็นอยาง

ครบถวน ดังนั้น ประธานฯ จึงไดแจงผูเขารวมประชุมท่ีเหลืออยูวาไมมีผูประสงค

แสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติม และดําเนินการประเมินผลในภาพรวมโดยการสอบถาม

จากผูเขารวมในหองประชุม หลังเสร็จสิ้นแลว ประธานฯ ไดขอหารือและขอมติปด

การประชุมเม่ือเวลา 14.30 น. พรอมท้ังไดชี้แจงชองทางการรับฟงความคิดเห็น

ตอเนื่องภายหลังการประชุม จนถึงวันท่ี 4 ธันวาคม 54 เม่ือสิ้นสุดการประชุม

เจาหนาท่ีไดจัดเก็บแบบประเมินผลการประชุม ซ่ึงมีการแสดงความคิดเห็นเปนลาย

ลักษณอักษร เพ่ิมเติมในแบบประเมินดังกลาวรวม 46 ราย

4.2 ผูเขารวมประชุม

การประชุมในวันศุกรท่ี 18 พฤศจิกายน 2554 มีผูลงทะเบียนเขารวมประชุม รวม 398 คน เปนผูท่ี

ลงทะเบียนลวงหนาเพ่ือเขารวมประชุม จํานวน 84 คน ท้ังนี้ สามารถจําแนกกลุมผูมีสวนไดเสีย ไดเปน 7 กลุม

ดัง ตารางท่ี 4.2-1 โดยพบวาผูเขารวมประชุม รอยละ 61.6 เปนประชาชนท่ีอยูในเขตพ้ืนท่ีจังหวัดระยอง ซ่ึง

สวนใหญอยูในเขตพ้ืนท่ีมาบตาพุด (รอยละ 30.9) และบานฉาง (รอยละ 21.9) รองลงมาเปนกลุมหนวยงาน

ราชการท้ังในระดับทองถ่ินและสวนกลาง รอยละ 20.1 และกลุมผูประกอบการ บริษัทเอกชน รอยละ 7.5

และอ่ืนๆ รอยละ 10.8 ตามลําดับ รายชื่อประชาชนและผูมีสวนไดเสียท่ีไดลงทะเบียนและเขารวมประชุม ดัง

แสดงใน ภาคผนวก 3-5

สําหรับคณะกรรมการฯ ท่ีเขารวมประชุมในครั้งนี้ ประกอบดวย นายวิระ มาวิจักขณ ประธาน

กรรมการ และกรรมการ ท้ัง 4 ทาน ไดแก นายสุคนธ เจียสกุล, นายกิจจา เรืองไทย, นายมงคล ดํารงคศรี

และนายจิรชัย เชาวลิต

Page 47: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-3

ตารางท่ี 4.2-1

การจําแนกกลุมประชาชนและผูมีสวนไดเสียท่ีเขารวมประชุม

กลุมผูเขารวมประชุม

จํานวน

(คน) รอยละ

1. ประชาชนในเขตจังหวัดระยอง/ผูท่ีอาจไดรับผลกระทบ 245 61.6

1.1 เขตเทศบาลเมืองมาบตาพุด 123 30.9

1.2 เขตเทศบาลเมืองบานฉางและเทศบาลตําบลบานฉาง 87 21.9

1.3 เขตเทศบาลตาํบลเนินพระ 14 3.5

1.4 เขตเทศบาลตาํบลทับมา 19 4.8

1.5 กลุมประมงเรือเล็ก 2 0.5

2. หนวยงานราชการ 80 20.1

3. ผูประกอบการ/บริษทั/หนวยงานเอกชน 30 7.5

4. สถาบันการศึกษา/ องคกรเอกชน 12 3.0

5. สื่อมวลชน 8 2.0

6. หนวยงานท่ีรับผิดชอบจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม 5 1.3

7. ประชาชนผูสนใจท่ัวไป 18 4.5

รวม 398 100.0

Page 48: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-4

4.3 ผูแสดงความคิดเห็น

การลงทะเบียนเพ่ือแสดงความคิดเห็นฯ โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน บริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

ในวันท่ี 18 พฤศจิกายน 2554 มีผูลงทะเบียนแสดงความคิดเห็นท้ังสิ้น 28 ราย ดังแสดงใน ภาคผนวก 4-1

จําแนกเปน

- ผูท่ีลงทะเบียนลวงหนากอนวันประชุม 7 ราย - ผูท่ีลงทะเบียนในวันประชุม จํานวน 21 ราย

โดยในจํานวนผูยื่นความประสงคจะแสดงความคิดเห็น 28 รายนั้น ไดมีผูแสดงความคิดเห็นดวยวาจาในหองประชุมจํานวน 22 ราย (ดังแสดงใน ภาคผนวก 4-2) โดยมีผูแสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติมเปนเอกสาร จํานวน 1 ราย ดังแสดงใน ภาคผนวก 4-4

ท้ังนี้ มีผูแสดงความคิดเห็นเปนลายลักษณอักษรผานแบบประเมิน จํานวน 46 ราย (ดังแสดงใน ภาคผนวก 4-3) และแสดงความคิดเห็นเปนลายลักษณอักษรหลังจากวันประชุม (18 พฤศจิกายน 2554) ผาน

จดหมายอิเล็กทรอนิกส และไปรษณียบัตร จํานวน 6 ราย เอกสารการใหความเห็น ดังแสดงใน ภาคผนวก 4-5

ในจํานวนผูลงทะเบียนลวงหนา จํานวน 7 ราย ไดมาเขารวมประชุมและแสดงความคิดเห็น จํานวน 2 ราย สําหรับผูลงทะเบียนในหองประชุม จํานวน 20 ราย ไดแสดงความคิดเห็น 2 รอบ 3 ราย และมี 1 ราย ท่ีแสดงความคิดเห็นพรอมยื่นเอกสารประกอบความคิดเห็นฯ

4.4 การประมวลความคิดเห็น

การประมวลความคิดเห็นท่ีไดรับจากกระบวนการจัดรับฟงความคิดเห็นในครั้งนี้ ไมไดนําความ

คิดเห็นในสวนท่ี 5 (กอสส.) และสวนท่ี 6 (บริษัท เก็คโค-วัน จํากัด) มาประมวลผลในเชิงปริมาณรวมกับ

ความเห็นอ่ืนๆ แตไดนํามาพิจารณาในเชิงคุณภาพประกอบการประมวลสรุปความเห็นในประเด็นท่ีเก่ียวของ

เทานั้น โดยสรุปขอมูลจําแนกตามท่ีอยูอาศัย/ท่ีทํางาน และตามกลุมอาชีพ ไดดังนี้

(1) ผูแสดงความคิดเห็นท่ีอาศัยอยูในชุมชนภายในรัศมี 0-3 และ 3-5 กิโลเมตรจากท่ีตั้งโครงการ

คิดเปนรอยละ 13.2 และ 5.9 ของผูแสดงความคิดเห็นท้ังหมด ซ่ึงนอยกวาชุมชนอ่ืน ๆ ในเขตมาบตาพุดและบาน

ฉาง ท่ีมีการแสดงความคิดเห็น ถึงรอยละ 51.5 ของผูแสดงความคิดเห็นท้ังหมด ดังปรากฏใน ตารางท่ี 4.4-1

(2) ผูแสดงความคิดเห็นสวนใหญเปนหนวยงานราชการและผูประกอบอาชีพธุรกิจสวนตัว/คา

ขายในสัดสวนท่ีเทากัน คิดเปนรอยละ 30.9 ของผูแสดงความคิดเห็นท้ังหมด รองลงมาไดแกพนังงานบริษัท/

พนักงานโรงงาน คิดเปนรอยละ 10.3 ของผูแสดงความคิดเห็นท้ังหมด ดังปรากฏใน ตารางท่ี 4.4-2

Page 49: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-5

ตารางท่ี 4.4-1

ขอมูลผูแสดงความคิดเห็นจําแนกตามท่ีอยูอาศัย/ท่ีทํางาน

ขอมูลผูแสดงความคิดเห็น

โดยวาจา แบบแสดงความคิดเห็น รวม

จํานวน

(ราย) รอยละ

จํานวน

(ราย) รอยละ

จํานวน

(ราย) รอยละ

- ชุมชนภายในรัศมี 0-3 กิโลเมตร

จากท่ีตั้งโครงการ 2 9.1 7 15.2 9 13.2

- ชุมชนภายในรัศมี 3-5 กิโลเมตร

จากท่ีตั้งโครงการ 1 4.5 3 6.5 4 5.9

- ชุมชนอ่ืนๆ ในเขตมาบตาพุดและบานฉาง

(นอกจากชุมชนขางตน) 10 45.5 25 54.4 35 51.5

- ชุมชนอ่ืนๆ ในจังหวัดระยอง

(นอกเขตมาบตาพุดและบานฉาง) 7 31.8 6 13.0 13 19.1

- ไมไดอยูในจังหวัดระยอง 2 9.1 1 2.2 3 4.4

- ไมไดระบุ 0 0.0 4 8.7 4 5.9

รวม 22 100 46 100.0 68 100

รวมท้ังสิ้น รอยละ 32.4 รอยละ 67.6 รอยละ 100

Page 50: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-6

ตารางท่ี 4.4-2

ขอมูลผูแสดงความคิดเห็นจําแนกตามอาชีพ

ขอมูลผูแสดงความคิดเห็น

โดยวาจา แบบแสดงความคิดเห็น รวม

จํานวน

(ราย) รอยละ

จํานวน

(ราย) รอยละ

จํานวน

(ราย) รอยละ

- ขาราชการ/ลูกจางหนวยงานของรัฐ 8 36.4 13 28.3 21 30.9

- คาขาย/ธุรกิจสวนตัว 9 40.9 12 26.1 21 30.9

- พนักงานบริษัท 0 0.0 7 15.2 7 10.3

- รับจางท่ัวไป/รับจางโรงงาน 0 0.0 4 8.7 4 5.9

- เกษตรกรรม 2 9.1 2 4.3 4 5.9

- ประมง 0 0.0 1 2.2 1 1.5

- อ่ืนๆ เชน แมบาน นักเรียน/นักศึกษา

และคนชรา อสม.เปนตน 0 0.0 5 10.9 5 7.4

- องคกรพัฒนาเอกชน (NGOs) 1 4.5 0 0.0 1 1.5

- ผูสื่อขาว 1 4.5 0 0.0 1 1.5

- ไมระบุ 1 4.5 2 4.3 3 4.4

รวม 22 100 46 100 68 100

รวมท้ังสิ้น รอยละ 32.4 รอยละ 67.6 รอยละ 100

หมายเหตุ เปนการปดเศษทศนิยมโดยอัตโนมัติ ผลรวมอาจไมเทากับ 100

ความคิดเห็นท่ีไดรับจากกระบวนการรับฟงความคิดเห็นในครั้งนี้ สามารถสรุปไดเปน 21 ประเด็น

(รายละเอียดความคิดเห็น ดังปรากฏใน ตารางท่ี 4.4-3) โดยประเด็นท่ีมีการแสดงความคิดเห็นมากท่ีสุด

ตามลําดับ ดังปรากฏใน ตารางท่ี 4.4-4 ดังนี้

(1) ประเด็นดานสังคมและชุมชน รวม 43 ความเห็น

(2) ประเด็นเก่ียวกับการพัฒนาโครงการระยะตางๆ รวม 31 ความเห็น (3) ประเด็นเก่ียวกับการจัดการและปองกันผลกระทบสิ่งแวดลอมจากการดําเนินงานของโครงการ รวม 30 ความเห็น

(4) ประเด็นดานสุขภาพ สาธารณสุข และความปลอดภัย รวม 14 ความเห็น (5) ประเด็นในภาพรวม รวม 10 ความเห็น

สําหรับประเด็นยอยท่ีมีการแสดงความคิดเห็นมากท่ีสุด 5 ลําดับแรก ไดแก ลําดับท่ี 1 ประเด็นดาน

กิจกรรมเพื่อสังคมและชุมชน (20 ความเห็น) ลําดับที่ 2 ประเด็นดานมลพิษทางอากาศ (14 ความเห็น) ลําดับท่ี 3

ประเด็นดานการดําเนินงานที่ดีของโครงการ (11 ความเห็น) ลําดับท่ี 4 มี 2 ประเด็น ประเด็นดานสุขภาพ (10

ความเห็น) และลําดับที่ 5 มี 3 ประเด็นที่มีความเห็นเทากัน (7 ความเห็น) คือ ประเด็นภาพรวมของพื้นที่ ประเด็น

การศึกษาและประเมินผลกระทบ และประเด็นการอนุมัติอนุญาต

Page 51: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-7

ตารางท่ี 4.4-3

สรุปความถี่ของการแสดงความคิดเห็นในแตละประเด็น

ประเด็น

รวม

ลักษณะความคิดเห็นที่ไดรับ

การใหขอมูล

สะทอนปญหา

สิ่งท่ียังไม

ชัดเจน/

ไมม่ันใจ

สิ่งท่ีคาดหวัง

จากการมี

โครงการ

ขอหวงกังวล/

ผลกระทบท่ีตอง

ดูแลเปนพิเศษ

ขอเสนอแนะ

เพ่ือพิจารณา

ประเด็นดานสังคมและชุมชน รวม 43 ความเห็น

1. กิจกรรมเพื่อสังคมและชุมชน 20 2 - 7 - 11

2. การประชาสัมพนัธและ

ใหขอมูลขาวสาร

6 2 - 2 - 2

3. กองทุนพัฒนาไฟฟา 6 1 - 1 - 4

4. การมีสวนรวม 10 1 - 2 - 7

5. มาตรการชดเชย 1 - - - - 1

ประเด็นเกี่ยวกับการพัฒนาโครงการระยะตางๆ รวม 31 ความเห็น

6. ทางเลือกโครงการ 2 - 1 - - 1

7. การศึกษา/ประเมินผลกระทบ 7 - 5 - - 2

8. การอนุมัต/ิอนุญาต 7 - 3 2 - 2

9. การดําเนินงานของโครงการ 11 - - 11 - -

10. การกํากับดูแล 3 - - 3 - -

11. หลังดําเนินงาน/การปดโครงการ 1 - - 1 - -

ประเด็นเกี่ยวกับการจดัการและปองกันผลกระทบสิ่งแวดลอมจากการดําเนินงานของโครงการ รวม 30 ความเห็น

12. มลพิษทางอากาศ 15 - 1 - 13 1

13. คุณภาพน้ําทะเล 6 1 1 2 1 1

14. ทรัพยากรชีวภาพทะเล/ประมง 4 - 1 2 1 -

15. กากของเสีย 2 - - 2 - -

16. การคมนาคมขนสง 2 1 - - 1 -

17. พื้นที่สีเขียว 2 - 1 - - 1

ประเด็นดานสขุภาพ สาธารณสุข และความปลอดภัย รวม 14 ความเห็น

18. สุขภาพ 10 2 - 4 1 3

19. ความปลอดภัย 4 - 2 1 - 1

ประเด็นในภาพรวม รวม 10 ความเห็น

20. นโยบายพลังงาน 3 1 1 - 1 -

21. ภาพรวมของพื้นที ่ 7 3 - - 2 2

Page 52: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-8

ตารางท่ี 4.4-4

สรุปความถี่ของการแสดงความคิดเห็น จําแนกตามอาชีพ

ประเด็น

รวม

อาชีพ

รับราชการ/

หนวยงานรัฐ

รับจาง/

พนักงานบริษัท

คาขาย/

ธุรกิจสวนตัว

เกษตร/

ประมง

นักวิชาการ/

NGOs

อ่ืนๆ/ไมระบุ

ประเด็นดานสังคมและชุมชน รวม 43 ความเห็น

1. กิจกรรมเพื่อสังคมและชุมชน 20 2 1 10 2 - 5

2. การประชาสัมพนัธและ

ใหขอมูลขาวสาร

6 - - 6 - - -

3. กองทุนพัฒนาไฟฟา 6 1 - 3 2 - -

4. การมีสวนรวม 10 2 1 3 2 - 2

5. มาตรการชดเชย 1 1 - - - - -

ประเด็นเกี่ยวกับการพัฒนาโครงการระยะตางๆ รวม 31 ความเห็น

6. ทางเลือกโครงการ 2 1 - - 1 - -

7. การศึกษา/ประเมินผลกระทบ 7 1 1 1 2 2 -

8. การอนุมัต/ิอนุญาต 7 1 3 2 - 1 -

9. การดําเนินงานของโครงการ 11 2 2 5 - - 2

10. การกํากับดูแล 3 1 - 1 1 - -

11. หลังดําเนินงาน/การปดโครงการ 1 1 - - - - -

ประเด็นเกี่ยวกับการจดัการและปองกันผลกระทบสิ่งแวดลอมจากการดําเนินงานของโครงการ รวม 30 ความเห็น

12. มลพิษทางอากาศ 15 2 4 5 2 1 1

13. คุณภาพน้ําทะเล 6 2 - 2 1 - 1

14. ทรัพยากรชีวภาพทะเล/ประมง 4 2 - 2 - - -

15. กากของเสีย 2 2 - - - - -

16. การคมนาคมขนสง 2 - - 2 - - -

17. พื้นที่สีเขียว 2 1 - 1 - - -

ประเด็นดานสขุภาพ สาธารณสุข และความปลอดภัย รวม 14 ความเห็น

18. สุขภาพ 10 5 - - 2 2 1

19. ความปลอดภัย 4 2 - 1 - - 1

ประเด็นในภาพรวม รวม 10 ความเห็น

20. นโยบายพลังงาน 3 - - 1 - 2 -

21. ภาพรวมของพื้นที ่ 7 3 - 4 - - -

Page 53: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-9

ตารางท่ี 4.4-5

สรุปความถี่ของการแสดงความคิดเห็น จําแนกตามท่ีอยูอาศัย (ระยะหางจากท่ีตั้งโครงการ)

ประเด็น

รวม

พ้ืนที่อยูอาศัย/ที่ทํางาน (ระยะหางจากที่ตั้งโครงการ)

0-3

กิโลเมตร

3-5

กิโลเมตร

>5 กิโลเมตร ใน

เขตมาบตาพุด

และบานฉาง

พ้ืนท่ีอ่ืนๆ

ในจังหวัด

ระยอง

นอกเขต

พ้ืนท่ีจังหวัด

ระยอง

อ่ืนๆ/

ไมระบุ

ประเด็นดานสังคมและชุมชน รวม 43 ความเห็น

(1) กิจกรรมเพื่อสังคมและชุมชน 20 - 2 9 7 2 -

(2) การประชาสัมพนัธและ

ใหขอมูลขาวสาร

6 3 1 2 - - -

(3) กองทุนพัฒนาไฟฟา 6 2 - 4 - - -

(4) การมีสวนรวม 10 3 2 4 - 1 -

(5) มาตรการชดเชย 1 - - - 1 - -

ประเด็นเกี่ยวกับการพัฒนาโครงการระยะตางๆ รวม 31 ความเห็น

(6) ทางเลือกโครงการ 2 - - 2 - - -

(7) การศึกษา/ประเมินผลกระทบ 7 - - 4 3 - -

(8) การอนุมัต/ิอนุญาต 7 - - 2 5 - -

(9) การดําเนินงานของโครงการ 11 - - 9 2 - -

(10) การกํากับดูแล 3 - - 2 0 1 -

(11) หลังดําเนินงาน/การปด

โครงการ

1 - - - 1 - -

ประเด็นเกี่ยวกับการจดัการและปองกันผลกระทบสิ่งแวดลอมจากการดําเนินงานของโครงการ รวม 30 ความเห็น

(12) มลพิษทางอากาศ 15 3 0 5 4 1 2

(13) คุณภาพน้ําทะเล 6 - - 4 1 1 -

(14) ทรัพยากรชีวภาพทะเล/ประมง 4 1 - 3 - - -

(15) กากของเสีย 2 - - 2 - - -

(16) การคมนาคมขนสง 2 - 1 1 - - -

(17) พื้นที่สีเขียว 2 1 - 1 - - -

ประเด็นดานสขุภาพ สาธารณสุข และความปลอดภัย รวม 14 ความเห็น

(18) สุขภาพ 10 - 2 4 3 1 -

(19) ความปลอดภัย 4 - - 2 2 - -

ประเด็นในภาพรวม รวม 10 ความเห็น

(20) นโยบายพลังงาน 3 - - 1 1 1 -

(21) ภาพรวมของพื้นที ่ 7 2 - 4 1 - -

Page 54: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-10

ตารางท่ี 4.4-6

สรุปประเด็นจากการรับฟงความคิดเห็น: ประเด็นดานสังคมและชุมชน 43 ความเห็น

ประเด็นยอย ความคิดเห็น

กิจกรรมเพ่ือสังคม

และชุมชน

(20 ความเห็น)

ดานบริการสังคม/ชุมชน (8 ความเห็น)

1.สนับสนุนเบ้ียยงัชีพใหกับคนชรา

2.ควรมีหนวยงานท่ีรับผิดชอบตามการดําเนินงานเรื่องการศึกษาของเด็กในชุมชน

3.อยากใหมีครูระดับประถมเพ่ือรองรับกลุมเด็กวัยเรียนท่ีมาพรอมกับกลุมประชากรแฝง

4.ขอทุนการศึกษาใหเด็กในชุมชน

5.สนับสนุนทุนการศึกษาใหเด็กนักเรียนในพ้ืนท่ี

6.นักเรียนในโรงเรียนระยองวิทยาคมนิคมอุตสาหกรรม สวนใหญรับเด็กท่ีมากับประชากรแฝง (แรงงาน)

จากหลายพ้ืนท่ีและเขาโรงเรียนอ่ืนๆ ในพ้ืนท่ีไมได เพราะปจจุบันโรงเรียนสวนใหญกําหนดวา รับเด็กท่ีมี

ทะเบียนบานในพ้ืนท่ีเทาน้ัน แมวาโรงเรียนจะตั้งอยูใกลกับนิคมอุตสาหกรรมแตขาดการสนับสนุนจาก

ภาคอุตสาหกรรม ปจจุบันโรงเรียนตองชวยเหลือตนเอง ไมมีงบประมาณดําเนินงาน เชน การจางครู

จัดซื้อสื่อการเรียนการสอน อุปกรณตางๆ อาคารสถานท่ี ฯลฯ

7.ตองการให ผอ.นิคมฯ มาเปนกรรมการศึกษาของโรงเรียน

8.ปญหาเชิงโครงสราง เชน การศึกษา สังคม สุขภาพ และบริการสาธารณูปโภค ควรมีแผนงานแบบ

บูรณาการในการแกปญหาในภาพรวม จากหนวยงานราชการสวนกลาง ทองถ่ิน ผูประกอบการ และ

กนอ.

ดานเศรษฐกิจและรายได (6 ความเห็น)

1.รวมพัฒนาทองถ่ินใหเจริญ เชน การจางแรงงานในจังหวัด ใชจายในจังหวัด เสียภาษีในจังหวัด เปนตน

2.บริษัทฯ จดทะเบียนเสียภาษีในจังหวัดระยอง 100% หรือไม เพ่ือใหภาษีกลับคืนไปบํารุงพัฒนา

ทองถ่ิน

3.ขอใหมีการจายภาษีท่ีจังหวัดระยอง ปจจุบันโรงงานสวนใหญจดทะเบียนท่ีกรุงเทพฯ สงผลใหทองถ่ิน

ไมมีงบประมาณท่ีเพียงพอในการพัฒนาสาธารณูปโภคพ้ืนฐานใหเพียงพอตอบริการประชาชน ซึ่งรวมถึง

ประชากรแฝงจํานวนมาก อันเกิดจากแรงงานท่ีไมไดยายทะเบียนบานมาท่ีจังหวัดระยอง

4.ขอใหโรงงานจดทะเบียนเปนบริษัทท่ีระยอง รวมท้ัง การใชรถท่ีจดทะเบียนในจังหวัดระยอง เพ่ือให

เงินภาษีอยูกับคนระยอง 100% เปนการแสดงความรับผิดชอบตอการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอมของ

พ้ืนท่ีท่ีประชาชนจังหวัดระยองเปนผูไดรับผลกระทบและเปนผูมีสวนเสียอยางเดียว ขณะท่ีพ้ืนท่ีอ่ืนๆ ได

ประโยชน

5.การท่ีมีโรงงานเพ่ิมข้ึนเปนเขตอุตสาหกรรม ทําใหคนในพ้ืนท่ีมีงานทําเพ่ิมข้ึน

6.ควรมีการกระจายรายไดสูชุมชน ผลิตภัณฑของกลุมแมบานและชุมชน

Page 55: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-11

ประเด็นยอย ความคิดเห็น

ดานกิจกรรม CSR (4 ความเห็น)

1.ขอใหพิจารณาวาโรงงานจะสามารถตอบแทนหรือสรางประโยชนใหกับชุมชนและสวนรวมอยางไรบาง

2.การพัฒนาระบบคิดขององคกรใหม เชน EHIA ขอใหออกจากกรอบคิดการกําหนดมาตรการแบบเดิมๆ

เชน สงเสริมใหชุมชนพัฒนาวิสาหกิจและใหสามารถคงอยูรวมกันกับโรงงานไดอยางยั่งยืนดวย (มีการ

กําหนดแผนงาน ผูรับผิดชอบท่ีชัดเจน)ปจจุบันในพ้ืนท่ีมาบตาพุดมีโรงไฟฟาขนาดใหญจํานวนมาก ซึ่ง

เคยไดรับทราบวาจะไมมีเพ่ิมข้ึนอีกแลว ดังน้ัน การสรางเพ่ิม ตองมี CSR ท่ีเขามาดูแลผลกระทบท่ี

เกิดข้ึนตอประชาชนอยางแทจริง มิใชการทําบุญ บริจาคอยางในอดีต

3.ควรมีกิจกรรม CSR ในชุมชนเดือนละครั้ง ควรสงเสริมอาชีพในชุมชน

4.ควรจัดสรรงบประมาณใหกับกรรมการชุมชน เพ่ือใชในการบริหารชุมชนดวย เพราะปจจุบันกรรมการ

ชุมชนไมมีเงินเดือน เสนอใหชุมชนละ 1 หมื่นบาท/ป

ดานการจางงาน (2 ความเห็น)

1.การรับสมัครพนักงาน ขอใหพิจารณาคนในทองถ่ิน (จังหวัดระยอง)

2.การรับพนักงานของบริษัทฯ ขอใหรับคนระยองเปนลําดับแรก ถาพิจารณาแลวเห็นวามีความสามารถท่ี

จะทํางานได

การ

ประชาสมัพันธ

และใหขอมูล

ขาวสาร

(6 ความเห็น)

1.บริษัทฯควรขยายขอบเขตการใหขอมูลขาวสารกับประชาชนเพ่ิมเติม

2.ปจจุบันโรงงานในพ้ืนท่ียังไมไดมกีารประชาสัมพันธขอมูลขาวสารท่ีใหชาวบานไดทราบท่ัวถึง ยังไมมี

ความชัดเจนในการกําหนดภารกิจ เรื่อง ขอมูลขาวสารของโรงงานปจจุบันโรงงานในพ้ืนท่ียังไมไดมีการ

ประชาสมัพันธขอมูลขาวสารท่ีใหชาวบานไดทราบท่ัวถึง ยังไมมีความชัดเจนในการกําหนดภารกิจ เรื่อง

ขอมูลขาวสารของโรงงาน

3.เมื่อบริษัทฯ ปฏิบัติตามมาตรการดานสิ่งแวดลอม ควรมีการประชาสัมพันธใหประชาชนไดรับทราบ

ดวย เพ่ือใหประชาชนไดมีการตรวจสอบโรงงานแตละแหงวามีมาตรฐานการดําเนินงานท่ีดีหรือไม

4.ขอฝากประเด็นดานการประชาสัมพันธผานสื่อตางๆ ท่ีมีในระยอง ซึ่งปจจุบันสื่อในพ้ืนท่ีไดมีการพัฒนา

ไปมากแลว ขณะท่ีภาครัฐ/เอกชนยังตามไมทันในการใชสื่อท่ีมีอยูใหมีประสิทธิภาพ เขาถึง และ

ครอบคลมุประชาชนในพ้ืนท่ี มีการประชาสัมพันธนอยเกินไป ทําใหประชาชนท่ัวไปไมไดรับรูขาวสารการ

ดําเนินงานของภาครัฐและเอกชนในการลดและขจดัมลพิษ รวมท้ัง ความพยายามดานอ่ืนๆ ท่ีกําลัง

ดําเนินการอยู

5.ขอใหตระหนักถึงความสําคัญของสื่อมวลชนในพ้ืนท่ี มีแบบแผนการทํางานดานการประชาสมัพันธท่ีจะ

เขาถึงประชาชนอยางเปนระบบ ขอใหศึกษาและเลือกใชสื่อท่ีมีศักยภาพในการถายทอดขาวสารและ

เหมาะสมกับชุมชน/กลุมเปาหมาย โดยสื่อทองถ่ินยินดีใหความรวมมือ ซึ่งจะชวยสรางความเขาใจท่ี

ถูกตองและฟนฟูภาพลักษณท่ีดีของภาคอุตสาหกรรมใหเกิดข้ึนในความรูสึกของประชาชน และลบลาง

ภาพเดิมๆ ของมาบตาพุดท่ีเปนเมอืงมลพิษไดในท่ีสดุ

6.การแกไขปญหาภาพรวมของพ้ืน ซึ่งปจจุบันม ีกนอ. เปนผูกํากับดูแล โดยมีการจัดทําแผนลดและขจัด

มลพิษรวมกับชุมชน มีโครงการธรรมาภิบาลสิ่งแวดลอม จดัตั้งคณะกรรมการไตรภาคีเพ่ือกํากับดูแล

Page 56: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-12

ประเด็นยอย ความคิดเห็น

ตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการฯ ในรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ซึ่งดําเนินการทุกป

เปนสิ่งดีๆ ท่ีปฏิบัติอยูแลว แตยังขาดการประชาสมัพันธใหชุมชนไดรบัทราบถึงกระบวนการปองกันและ

ตรวจสอบท่ีมีการดาํเนินการอยูแลว เพ่ือจะไดมีการนําขอเสนอแนะเพ่ิมเติมตางๆ มาปรับปรุงตอไป

กองทุนพัฒนา

ไฟฟา

(6 ความเห็น)

1.เห็นดวยกับกองทุนพัฒนาไฟฟาท่ีมีอยูในปจจุบัน เน่ืองจากมีประโยชนตอการพัฒนาทองถ่ิน ตองการ

ใหโรงงานอ่ืนๆ จํานวนมากในพ้ืนท่ี ดําเนินการในลักษณะเดียวกันในการพัฒนากองทุนโรงงาน เพ่ือนํา

งบประมาณมาพัฒนาทองถ่ิน (มาบตาพุดขาดการดูแลจากภาครัฐสวนกลาง) ท่ีผานมาหนวยงานอนุญาต

ไดรับผลประโยชนแตไมไดดูแลชุมชน จึงขอเสนอใหเทศบาลเมืองมาบตาพุดเปนแกนนําในการทํา

ประชาคมเพ่ือสอบถามความตองการของชุมชน รวมท้ัง หารือรปูแบบการดําเนินงาน

2.บริษัทฯ ไดจายเงินเขากองทุนแลวหรือไม

3.กองทุนพัฒนาไฟฟา ปจจุบันยังใชประโยชนไมถูกตอง ควรนํามาใชเพ่ือการฟนฟู หรือวิเคราะห/วิจัย

โดยนักวิชาการดานพลังงานท่ีเปนกลาง เพ่ือใหชุมชนไดรับทราบขอมูลท่ีเท็จจริงกองทุนพัฒนาไฟฟา

ปจจุบันยังใชประโยชนไมถูกตอง ควรนํามาใชเพ่ือการฟนฟู หรือวิเคราะห/วิจัยโดยนักวิชาการดาน

พลังงานท่ีเปนกลาง เพ่ือใหชุมชนไดรับทราบขอมลูท่ีเท็จจริง

4.กองทุนไฟฟาตองคิดถึงประชาชนเปนหลัก ขอใหพิจารณาเรื่องการชดเชยใหกับชุมชนท่ีไดรับ

ผลกระทบ อยางท่ัวถึง เชน การไดรับสวนลดคาไฟฟา การพัฒนาสขุภาวะของประชาชนในพ้ืนท่ี จะทํา

ใหประชาชนไดรับประโยชนและมคีวามสุขมากข้ึน

5.การดําเนินการของกองทุนฯ ขอใหเปนโครงการท่ีเปนความตองการของชุมชนจริงๆ โดยชุมชนเปน

ผูจัดทําโครงการเอง ไมใชกําหนดมาจากสวนกลาง (ชาวบานจะรูวาปญหาและความตองการดีกวา)

6.คณะกรรมการกองทุนโรงไฟฟา ควรมาดูแลในเรื่องการอนุรักษฟนฟูสิ่งแวดลอมในพ้ืนท่ีขางเคียงปา

ชายเลน กองทุนซื้อคืนบริเวณท่ีเคยเปนปาชายเลนมาฟนฟู

การมีสวนรวม

(10 ความเหน็)

1.ควรมีการประชาสมัพันธใหขอมลูเอกสารทางวิชาการกับประชาชน เก่ียวกับขอดี-ขอเสียของโครงการ

แนวทางการจัดการแกไข โดยดําเนินการใหท่ัวถึง ท้ังชุมชนชาวประมงหรือผูมสีวนไดสวนเสีย โดยเฉพาะ

ผูท่ีจะไดรับผลกระทบ เพ่ือใหทราบวาควรจะดําเนินการอยางดี หากโครงการไดรบัอนุมัต ิ

2.จัดประชุมใหความรูกับประชาชนในพ้ืนท่ีรัศมี 5 กม. และทีมงานควรลงไปพ้ืนท่ีมากกวาน้ี

3.การแสดงความคิดเห็นครั้งน้ี ไมครอบคลมุพ้ืนท่ีท้ังหมดท่ีไดรับผลกระทบ กลุมชาวประมงเรือเล็ก

จังหวัดระยองมีท้ังหมด 30 กลุม ไดรับเชิญเฉพาะ 7 กลุม ท่ีอยูใกลเคียงพ้ืนท่ีโครงการ 4.ควรใหชุมชนตรวจเยีย่มบริษัทฯ อยางนอยชุมชนละ 12-15 คน ทุก 3-6 เดือน

5.การประชุมรับฟงความคิดเห็นเปนสิ่งท่ีดีซึ่งจะไดมีการหารือกัน จะไดรับทราบขอมลูเพ่ิมข้ึน

6.การดําเนินการในกระบวนการตางๆ ขอใหมองประชาชนเปนหลัก มิใชเฉพาะประธานชุมชน

7.เน่ืองจากชุมชนไมมีความมั่นใจในผลการตรวจวัดท่ีทางบริษัทฯ ดําเนินการ จึงเสนอใหองคการ

ปกครองสวนทองถ่ิน ไดมีสวนรวมในการคัดเลือกบริษัทท่ีมีความเปนกลาง มาเปนผูดําเนินการตรวจวัด

คุณภาพสิ่งแวดลอม โดยใหบริษัทฯ เปนผูรับผดิชอบคาใชจาย

8.ควรมีการประชุมและพบปะชุมชนมากกวาน้ี

9.ขอใหจัดประชุมรับฟงความคิดเห็นของชุมชนบอยๆ

Page 57: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-13

ประเด็นยอย ความคิดเห็น

10.อยากใหมีการจัดประชุมบอยๆ เพ่ือใหชาวบานแสดงความคิดเหน็

มาตรการชดเชย

(1 ความเห็น)

จากการเขาไปเยี่ยมชมท่ีโรงงาน พบวามีการดําเนินงานคอนขางดี อยางไรก็ตาม ในพ้ืนท่ีมีโรงงานและ

โรงไฟฟาหลายแหงซึ่งใชทรัพยากรธรรมชาติท่ีเปนของสวนรวมในปริมาณมากเพ่ือประโยชนในการผลิต

เชน การใชนํ้าทะเลมาหลอเย็น ซึ่งไมพบวามีผูประกอบการรายใดท่ีแสดงเจตนารมณ/ริเริ่มท่ีจะ

ดําเนินการในเรื่องการชดเชยหรือแกไขปญหาท่ีเกิดจากการใชทรัพยากรธรรมชาติดังกลาวท่ีเปนของ

สวนรวม ดังน้ัน ตองการเห็นการกําหนดนโยบายการจัดเก็บภาษีจากการใชทรัพยากรฯ ท่ีเปนรูปธรรม

เชน มีการหักเงินคาธรรมเนียมตามสัดสวนการใชทรัพยากรฯ เขาสูกองทุนฯ เพ่ือเปนงบประมาณให

ทองถ่ินนําไปใชในการอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรฯ รวมท้ัง การพัฒนาท่ีเปนประโยชนตอสวนรวมตอไป

โดยเฉพาะเทศบาลเมืองมาบตาพุดซึ่งขาดงบประมาณสําหรับพัฒนาทองถ่ิน เน่ืองจากตองใชงบประมาณ

สวนใหญในการดูแลประชาชน ปจจุบันมีประชากรท่ีตองดูแลมากกวาประชากรตามทะเบียนราษฎร

(ประชากรแฝงไมมีงบประมาณจากสวนกลางจัดสรรมาให)

Page 58: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-14

ตารางท่ี 4.4-7

สรุปประเด็นจากการรับฟงความคิดเห็น: ประเด็นเกี่ยวกับการพัฒนาโครงการระยะตางๆ (31 ความเห็น)

ประเด็น สรุปการแสดงความคิดเห็น

ทางเลือกโครงการ

(2 ความเห็น)

1.การผลิตไฟฟาเปนสิ่งจําเปน แตตองการใหพิจารณาทางเลือกเช้ือเพลิงชนิดอ่ืนๆ ท่ีกอใหเกิดมลพิษ

นอยกวาทดแทนถานหิน เชน โรงไฟฟากาซธรรมชาติ พลังงานแสงอาทิตยและพลังงานลม เปนตน

2.กังวลวาจะมีผลกระทบจากการใชเช้ือเพลิงถานหินลิกไนต เพราะเคยทราบมาวาการ Start up จะใช

บิทูมินัสอยางเดยีวไมได ตองใชลิกไนตดวย ถาเปนไปไดไมควรใชลิกไนต

การศึกษาและ

ประเมินผลกระทบ

จากโครงการ

(7 ความเห็น)

ดานขอบเขตการศึกษา (4 ความเห็น)

1.ผลกระทบท่ีอาจเกิดข้ึนในอนาคตยังมองไมเห็นเปนรูปธรรม จะมัน่ใจไดอยางไรวามาตรการของ

โครงการครอบคลมุผูไดรับผลกระทบอยางครบถวน

2.ขอใหพิจารณาผลกระทบท้ังระยะสั้นและระยะยาว โดยพิจารณาในภาพรวมท้ังโครงการและโรงไฟฟา

ถานหินท่ีมีอยูเดิม

3.ตรวจสอบการกระจายของมลภาวะในพ้ืนท่ีท่ีเกินรัศม ี5 กิโลเมตร

4.การกําหนดขอบเขตการศึกษา (Scoping) ควรมากกวารัศมี 5 กิโลเมตร

ดานความครบถวนของประเด็นการศึกษาประเมิน (3 ความเห็น)

1.ขอใหพิจารณาผลกระทบตออาชีพประมง เน่ืองจากนํ้าหลอเย็นท่ีระบายออกจะทําใหอุณหภมูินํ้าทะเล

สูงข้ึน เกิดปะการังฟอกขาว

2.ขาดการประเมินผลกระทบดานมลพิษทางอากาศเน่ืองจากการเผาไหมถานหินหลายดาน เชน โลหะ

หนัก (ตะก่ัว ปรอท แคดเมยีม) สารอินทรียระเหย (VOCs) เบนซีน และคารบอนไดออกไซด

3.ขาดการประเมินเรื่องระบบนิเวศ เน่ืองจากโครงการมีการสูบนํ้าทะเลมาใชในปริมาณมากและตอเน่ือง

มีการระบายนํ้าท้ิงท่ีมีอุณหภูมสิูง จะสงผลใหสิ่งมีชีวิตในทะเล เชน แพลงคตอนและสัตวนํ้าอ่ืนๆ

เปลี่ยนแปลง มีผลตออาชีพประมง

การอนุมัติอนุญาต

(7 ความเห็น)

1.ควรมีการช้ีแจงข้ันตอนและสถานะปจจุบันของโครงการใหมากข้ึน สําหรับผลการอนุญาตควรแสดง

เหตุผลประกอบท่ีชัดเจน

2.โครงการไดมีกระบวนการผลิตไปแลวกอนไดรับอนุญาต

3.เน่ืองจากโครงการกอสรางไปแลว ความคิดเห็นท่ีไดรับจากการจัดประชุมรับฟงความคิดเห็นในครั้งน้ี

จะนําไปเปนสวนประกอบการในการอนุญาตไดอยางไร

4.มีการเปดเผยผลการประชุม การพิจารณา และช้ีแจงสรุปผลการประชุม ใหประชาชนและผูท่ีเขารวม

ประชุมไดรับทราบอยางโปรงใส เพ่ือในชุมชนกับภาคอุตสาหกรรมอยูดวยกันได

5.ถามีความเห็นท่ีขัดแยงกัน ท้ังฝายท่ีเห็นดวยและไมเห็นดวย หากชุมชนสวนใหญเห็นดวย ก็ขอใหมี

การกํากับดูแลท่ีชัดเจน มีการจัดทําขอมูลวาผลกระทบท่ีเกิดข้ึนน้ันเปนอยางไร และแจงใหชุมชนได

ทราบดวย

6.เน่ืองจากโครงการอยูในเขตควบคุมมลพิษ ซึ่งมาตรการลดและขจัดมลพิษตางๆ ยังดําเนินการไมแลว

เสร็จ ควรรอใหดําเนินการมาตรการตางๆ อยางครบถวนกอน

Page 59: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-15

ประเด็น สรุปการแสดงความคิดเห็น

7.หลังจากสงรายงานฯ ขอใหตั้งเง่ือนไขไววา กอนการอนุญาตใหบริษัทฯ ดําเนินการได ตองมีการติดตั้ง

ปะการังเทียม (ตามจํานวนท่ีระบุ) เพ่ือเปนการแสดงความจริงใจตอชุมชน

การดําเนินงาน

(11 ความเห็น)

1.ขอใหปฏิบัติตามกฎระเบียบท่ีเก่ียวของอยางเครงครัด

2.ปฏิบัติขอบังคับทางกฎหมายอยางเครงครัด ตองคํานึงเสมอวาตองอยูรวมกับประชาชน

3.ตองชวยกันดูแลสุขภาพคนในชุมชน รวมถึง สิ่งแวดลอมภายในชุมชน

4.คํานึงถึงความปลอดภัยของชุมชนโดยรอบอยางสม่ําเสมอ ใหชุมชนอยูไดโดยไมมีขอกังวลในดานความ

ปลอดภัย

5.หากโรงไฟฟาผานอนุมัติก็ขอใหดําเนินการดวยความรอบคอบ ปลอดภัย และคํานึงถึงสุขภาพ/

สิ่งแวดลอมเปนสําคญั

6.ควบคุมคุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชนตามท่ีนําเสนอตลอดไป

7.เมื่อโรงงานปองกันมลพิษไดดีแลวโรงงานกับชุมชนก็จะอยูดวยกันอยางมีความสุข

8.บริษัทตองจริงใจตอชุมชน โดยคํานึงถึงความปลอดภยัในดานการบริหารจดัการใหดีท่ีสุด ไมใหเกิด

อันตรายตอประชาชนและสิ่งแวดลอม

9.ควรดูแลผลกระทบทางธรรมชาติใหมาก

10.ขอใหโรงไฟฟาปฏิบัติตามแผนการลดและขจดัมลพิษอยางจริงจัง

11.ควบคุมดูแลการปลอยมลพิษใหชัดเจนมากยิ่งข้ึน

การกํากับดูแล

(3 ความเห็น)

1.โครงการตั้งอยูในนิคมฯ จึงมีหนวยงานกํากับดูแล 2 ช้ัน คือ กกพ. และ กนอ. สวนมาตรการฯ ท่ี

เก่ียวกับคณะกรรมการไตรภาค ีซึ่งตอนน้ียังไมมีการดําเนินงาน อยากใหคงอยูตลอดไปควบคูกับการ

ดําเนินงานของโรงไฟฟา ไมใชแคตอนรับฟงความคิดเห็นเทาน้ัน

2.มาตรการฯ ตางๆ ท่ีกําหนดไวในรายงานฯ เปนสิ่งท่ีเหมาะสมแลว แตสิ่งท่ีสําคัญคือ การตดิตาม

ตรวจสอบวาโครงการมีการปฏิบัตติามมาตรการฯ ท่ีกําหนดอยางเครงครัด ซึ่งคณะกรรมการไตรภาคท่ีี

กําหนดไวมคีวามเหมาะสม แตตองมีการเปดเผยใหชุมชนรบัทราบดวย

3.โรงไฟฟาสรางความเช่ือมั่นใหกับชุมชนไดอยางไร เพ่ือใหเกิดการยอมรับอยางแทจริง ตองสราง

กระบวนการใหเกิดข้ึน

ภายหลังปดกิจการ

(1ความเห็น)

ขอใหวางแผนระยะยาวในชวงปดโครงการหรือกรณีท่ีโครงการหยุดดําเนินการ จะจัดการอยางไรกับ

พ้ืนท่ีโรงงาน เพ่ือไมใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชน

Page 60: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-16

ตารางท่ี 4.4-8

สรุปประเด็นจากการรับฟงความคิดเห็น: ประเด็นเกี่ยวกับการจัดการและปองกันผลกระทบสิ่งแวดลอม

จากการดําเนินงานของโครงการ (31 ความเห็น)

ประเด็น สรุปการแสดงความคิดเห็น

มลพิษทางอากาศ

(15 ความเห็น)

การจัดการมลพิษทางอากาศ (3 ความเห็น)

1.โรงไฟฟาถานหินมมีลพิษทางดานอากาศ ฝุนละออง ขอใหหนวยงานพิจารณาใหถ่ีถวน

2.ดูแลการขนถายถานหินใหมีการจัดการท่ีด ีไมใหมผีลกระทบคณุภาพอากาศ (ฝุนละออง)

3.ขอใหปฏิบัติตามแผนลดและขจดัมลพิษใหมากกวาท่ีกําหนดไว

ลานกองถานหิน (6 ความเห็น)

1.พ้ืนท่ีลานกองถานหินท่ีมีอยูไมนาจะเพียงพอ และจะสงผลกระทบดานอ่ืนๆ

2.พ้ืนท่ีลานกองถานหินควรปองกันกระแสลม 3 ช้ันข้ึนไป

3.การจัดการลานกองถานหิน ควรมีระบบท่ีดีกวาปจจุบันซึ่งปดดานเดียว ควรมรีอบพ้ืนท่ีลานกอง

4.การจัดเก็บถานหิน ควรทําเปน Warehouse ปดครอบไปเลย จะไดไมมีการฟุงกระจาย

5.ควรปลูกตนไมสูงกวาความสูงของกองถานหิน 4 เมตร เพ่ือเปนแนวกันชน/แนวบังลม ฝงถนนไอ 5

หรือโดยรอบกองถานหิน

6.การปลูกตนไมรอบลานกองถานหิน เพ่ือปองกันฝุนละออง ขอใหพิจารณาชนิดตนไมท่ีเหมาะสม และ

มีการดูแลในระยะยาวตอเน่ือง การปลูกตองศึกษาทิศทางลมของระยองใหดี เพราะแตละเดือนมีทิศทาง

แตกตางกัน

การติดตามตรวจสอบ (4 ความเหน็)

1.ผลกระทบของเถาเบาท่ีฟุงกระจาย อาจสงผลกระทบตอชุมชน ควรมีการติดตั้งสถานีตรวจวัดเพ่ิม

ปจจุบันสถานีตรวจวัดอากาศ มีแต กนอ. และ คพ. ควรมเีทศบาลเมืองมาบตาพุดรวมดวย

2.สถานีตรวจวัดอากาศแบบตอเน่ืองจะติดตั้งเพ่ิมอีก 1 สถานี มีหลกัการอยางไร แคน้ีเพียงพอหรือไม มี

การสื่อสารใหชาวบานทราบหรือไม

3.จากคาการตรวจวัดฝุนถานหินซึง่อยูในคาควบคุม แตบริเวณใกลเคียงโดยรอบมีฝุนจากถานหินปลิว

กระจายไปท่ัว

4.กอนอนุมัต ิควรลงพ้ืนท่ีเพ่ือตรวจสอบสภาพปจจุบันจากผูไดรับผลกระทบ เชน บริษัทขางเคียง จะทํา

ใหไดรับขอเท็จจริงในมุมมองท่ีหลากหลาย (พนักงานบริษัทขางเคียงวาไดรับผลกระทบทุกวันจาก

โรงงานและลานกองหิน เชน ฝุน ควัน กลิ่น เสียง ละอองนํ้าจากการ Spray นํ้า เปนตน)

มาตรการสําหรับกลุมเสี่ยง (2 ความเห็น)

1.การมีโรงไฟฟาเปนการเพ่ิมปญหาดานมลพิษทางอากาศใหรุนแรงข้ึน โครงการมมีาตรการปองกันและ

ดูแลชุมชนใกลเคยีงอยางไร

2.ชุมชนตากวน-อาวประดู ซึ่งอยูในทิศทางลม จะไดรับผลกระทบจากอากาศรอนเพ่ิมข้ึนจากท่ีไดรับอยู

ในปจจุบัน ตองการทราบมาตรการแกไขและชดเชยใหกับชุมชนท่ีไดรับผลกระทบ

Page 61: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-17

ประเด็น สรุปการแสดงความคิดเห็น

คุณภาพนํ้าทะเล

(6 ความเห็น)

1.ควบคุมคุณภาพนํ้าท้ิงกอนระบายลงสูทะเลอยางจริงจัง

2.มีประเด็นจาก กอสส. วาปริมาณนํ้าเสียเขา-ออกไมสัมพันธกัน และระยะหางของทอนํ้าเขา-นํ้าออก

ยังไมเหมาะสม

3.เรือท่ีมาสงวัตถุดิบ ถานหิน ฯลฯ สรางปญหานํ้ามันเครื่องรั่วไหลลงทะเลและชายหาด เมื่อสอบถาม

กนอ. ไมมีคําตอบวามาจากเรือลาํไหน จึงอยากใหมีหนวยงานติดตามดูแลเพ่ือปองกันปญหาน้ี

เชนเดียวกับท่ีทาเรือแหลมฉบัง

4.เรือขนถานหิน ซึ่งมีขนาดใหญ จํานวนเท่ียวเยอะ ตองคํานึงถึงผลกระทบดานตาง ๆ ใหรอบคอบ เชน

การปลอยนํ้ามันเครื่องเรือขนถานหิน ซึ่งมีขนาดใหญ จํานวนเท่ียวเยอะ ตองคํานึงถึงผลกระทบดานตาง

ๆ ใหรอบคอบ เชน การปลอยนํ้ามันเครื่อง

5.กําหนดมาตรการและบทลงโทษอยางเด็ดขาด เพ่ือปองกันการลักลอบปลอยนํ้าเสีย นํ้าอับเฉา

นํ้ามันเครื่อง หรือสิ่งสกปรกอ่ืน ๆ จากเรือลงสูทองทะเล

6.ขอใหชวยตรวจสอบคณุภาพนํ้าทะเลในพ้ืนท่ีใกลกับการนิคมฯ ใหมีสภาพเปนปกติ รวมถึง สัตวนํ้า

ดวย

ทรัพยากรทาง

ทะเล

(4 ความเห็น)

1.การนํานํ้าทะเลมาใชในระบบหลอเย็นอยางตอเน่ือง การระบายความรอนอาจสงผลตอแพลงคตอนพืช

และสตัว โครงการมีการเฝาระวังระบบนิเวศทางทะเลและชดเชยอยางไร

2.อุณหภูมินํ้าหลอเย็นท่ีสูงข้ึน 6 องศาเซลเซียส มผีลกระทบตอสัตวนํ้า มาตรการฯ เรื่อง การปลอยสตัว

นํ้าลงสูทะเล ควรมีมาตรการติดตามตรวจสอบ ซึ่งดําเนินการโดยใคร/เมื่อไหร และถาไมมีการ

ดําเนินงานจะมีบทลงโทษหรือไม

3.ตรวจสอบระบบนิเวศนํ้าทะเล อยางนอยปละ 2 ครั้ง หากพบปญหาใหดําเนินการแกไขทันที

4.เสนอใหบริษัทฯ ลงทุนซื้อเรือทองกระจก เพ่ือใหชุมชนไดรวมสํารวจพ้ืนท่ีทะเลท่ีคาดวาจะไดรับ

ผลกระทบจากการดําเนินงานของโรงไฟฟาเดือนละหน่ึงครั้ง (ตะกอนถานหิน ปะการัง สัตวนํ้าฯลฯ)

กากของเสีย

(2 ความเห็น)

1.ควรนําเถาจากโครงการไปใชประโยชน เชน การทําอิฐ

2.กอนนําเถามาใชงาน มีการตรวจสอบกอนวาไมมีสารอันตรายเจือปน เพ่ือปองกันผลกระทบท่ีอาจ

เกิดข้ึนในอนาคตได

การใชท่ีดิน

พ้ืนท่ีสีเขียว

(2 ความเห็น)

1.พ้ืนท่ีสีเขียวของโครงการ ประมาณ 5% กําหนดใหปลูกอโศกอินเดีย 3 แถวรอบกองถานหิน ตองการ

ทราบพ้ืนท่ีสีเขียวท้ังหมดของโรงงานท้ังพ้ืนท่ีเดิมและโครงการใหมวาเปนไปตามท่ีกฎหมายกําหนด

หรือไม และมีการกําหนด Protection strip หรือไม (ผลจากการประกาศเขตควบคมุมลพิษ)

2.คณะกรรมการ 4 ฝาย มีการกําหนดแนวกันชนท่ีตองกวาง 2,000 เมตร แตโรงไฟฟาอยูในเขตนิคม

อุตสาหกรรมและติดตอกับทะเล อาจทําตามท่ีกําหนดไมได จึงควรพิจารณาไปดําเนินการในพ้ืนท่ีอ่ืนๆ

แทน เชน การฟนฟูปาชายเลน หรือพ้ืนท่ีใกลเคียงชายฝงทะเลท่ีเสือ่มโทรม หรือการหาพ้ืนท่ีสาธารณะ

ในชุมชนมาปรับปรุงเปนพ้ืนท่ีสเีขียวทดแทน

Page 62: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-18

ประเด็น สรุปการแสดงความคิดเห็น

การคมนาคมขนสง

(2 ความเห็น)

1.ถนนสายมาบขา-ปลวกแดง และหวยโปง-หนองบอน มีสภาพท่ีชํารุดทรุดโทรมมาก เปนอันตรายตอ

ประชาชนท่ีใชเสนทางสัญจรไปมา ตองการใหหนวยงานท่ีเก่ียวของเขามาดูแลแกไขโดยดวน

2.จากการตรวจสอบเอกสารประกอบการรับฟงความคดิเห็นครั้งน้ี พบวาขาดมาตรการฯ ท่ีจะแกไข

ปญหาดานการคมนาคมขนสง ปริมาณจราจรบนทองถนนท่ีหนาแนนมาก ซึ่งใหพิจารณาถึงรถท่ัวไปท่ี

สัญจรไมเฉพาะรถขนสงของโรงงานเทาน้ัน สงผลกระทบตอการใชถนนของประชาชนท่ีสัญจรไปมาและ

รับสงบุตรหลานจากโรงเรียน ท้ังในดานความปลอดภยัและเสยีเวลา (รถติด) ขอใหพิจารณากําหนดใน

มาตรการฯ ดวย

Page 63: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-19

ตารางท่ี 4.4-9

สรุปประเด็นจากการรับฟงความคิดเห็น: ประเด็นดานสุขภาพ สาธารณสุข และความปลอดภัย

(14 ความเห็น)

ประเด็น สรุปการแสดงความคิดเห็น

สุขภาพ

(10 ความเห็น)

มาตรการเชิงปองกัน (3 ความเห็น)

1.การทําสัญญาจางบริษัทรับเหมา นอกจากเง่ือนไขดานสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย ควรกําหนด

เง่ือนไขดานสุขภาพ โดยใหมีการคัดกรองพนักงานรับเหมาเขาทํางานไวในสัญญาจางดวย เพราะเปน

กลุมท่ีมีความเสี่ยงและการดูแลติดตามตรวจสอบผลกระทบตอเน่ืองคอนขางยาก เน่ืองจากมีการเปลี่ยน

สถานท่ีทํางานและมีการยายถ่ินฐาน

2.ทางดานสุขภาพและบริการสาธารณสุข ประเด็นท่ี คชก. กําหนด ยังไมมีบริษัทใดในนิคมอุตสาหกรรม

ดําเนินการไดอยางครบถวน

3.โรงงานและชุมชนอยูรวมกันได อาศัยอยูในพ้ืนท่ีมา 67 ป ไมไดรับผลกระทบจากมลพิษจากโรงงาน

อุตสาหกรรมในมาบตาพุด โรงงานมีกฎหมายควบคุมมลพิษ แตชุมชนไมมีการควบคุม เชน การใชยาฆา

แมลง รวมถึง พฤติกรรมของมนุษยทําใหเจ็บปวย ซึ่งสวนใหญชาวบานเปนโรคความดันโลหิตสูงและ

เบาหวานมากกวาโรคมะเร็งซึ่งพบนอย

ขอมูลดานสุขภาพและการเฝาระวัง (3 ความเห็น)

1.ขอมูลตางๆ ท่ีเปนความเสี่ยงของโครงการ ตองใหขอมูลกับหนวยงานสาธารณสุขในพ้ืนท่ีดวย

2.ขอใหกําหนดมาตรการท่ีชัดเจนในการประสานงานกับภาคสาธารณสุขในการเก็บขอมูลสุขภาพกับ

ชุมชนท่ีอยูใกลเคียงกับโรงไฟฟา รวมกับการปองกันและดูแลสุขภาพดวย

3.ขอมูลของหนวยงานดานสถิติทางสุขภาพ ผลกระทบในระยะสั้น อาการผิดปกติตางๆ ควรให

ความสําคัญในการติดตามและเฝาระวัง เชน โรคทางเดินหายใจ โรคผิวหนัง รวมท้ัง สนับสนุนการจาง

นักวิจัยท่ีเปนกลางมาทําการศึกษาวิจัย ติดตามประเมินผลในระยะยาว

มาตรการสนับสนุนการใหบริการสาธารณสุข/สุขภาพ (4 ความเห็น)

1.เพ่ิมบุคลากรดานสาธารณสุขรองรับการรักษาท่ีเพ่ิมมากข้ึนใหเพียงพอตอความตองการใชบริการของ

ประชาชน

2.สนับสนุนอุปกรณการแพทยเบ้ืองตนกับสถานีอนามัยหรือโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลเพ่ือให

กลุม อสม.ทํางานกันไดสะดวกข้ึน

3.ปจจุบันโรงงานมีการชวยเหลือในการดูแลสุขภาพประชาชนหลายดานดีข้ึน

4.ชุมชนรอบโรงไฟฟาสุขภาพไมคอยดี ขอใหมีการตรวจสุขภาพประจําปใหกับประชาชนดวย โดยจัดใหมี

แพทยประจําในศูนยสุขภาพชุมชน อยางนอยแหงละ 1 คน

ความปลอดภัย

(4 ความเห็น)

1.การท่ีมีโรงงานเพ่ิมข้ึนสงผลใหมมีลพิษตางๆ เพ่ิมข้ึน หากมีการควบคุมไมดจีะมรีะบบการปองกัน

แกไขไดทันเวลาหรือไม

2.บริเวณจดุเสี่ยง การกําหนดจดุตดิตามตรวจวัดและการแสดงผลทางจอแจงเตือน อาจไมเพียงพอ ควร

มีการวางแผนอยางเปนระบบ โดยกําหนดวาหนวยงานไหนจะตองทําหนาท่ีไปแจงชุมชนไหนบาง

Page 64: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-20

ประเด็น สรุปการแสดงความคิดเห็น

จะตองไปแจงภายในก่ีนาที เชน มรีถเคลื่อนท่ี (หนวยเคลื่อนท่ีเร็ว) ใครทํา การเขาถึงพ้ืนท่ีในเวลาเทาใด

เปนตน

3.ปญหาระเบิดไฟไหม ขอใหโรงงานตระหนักไวเสมอวาอุบัตเิหตุเกิดข้ึนไดเสมอ ขอใหดูแลโรงไฟฟาใหดี

ท่ีสุด ในเรื่อง อุบัติเหตุ อุบัติภัย เพราะหากเกิดข้ึนแลวจะสงผลกระทบตอลูกหลานในภายภาคหนา

4.การดําเนินงานบางชวง เชน ชวงทดลองเดินเครื่องจักร หรือกรณีระบบขัดของ การแจงใหประชาชน

ทราบลวงหนาอาจไมเพียงพอ เสนอใหมีการแจกจายอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPE) แก

ประชาชนท่ีอาจไดรับผลกระทบ รวมท้ัง ใหความรู/แนะนําวิธีการใชงานดวย

Page 65: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-21

ตารางท่ี 4.4-10

สรุปประเด็นจากการรับฟงความคิดเห็น: ประเด็นในภาพรวม (10 ความเห็น) ประเด็น สรุปการแสดงความคิดเห็น

นโยบายพลังงาน

(3 ความเห็น)

1.ประเทศไทยมีปริมาณการใชไฟฟามาก ปจจุบันการผลิตไฟฟาพ่ึงพากาซธรรมชาติถึงรอยละ 70 ท่ีผาน

มาเหตุการณท่ีแมเมาะทําใหประเทศสูญเสียโอกาสในการใชถานหินเพ่ือผลิตไฟฟา สวนโรงไฟฟา

นิวเคลียรคงไมสามารถเกิดข้ึนไดในระยะอันใกล ดังน้ัน ตองฝากความหวังไวกับถานหิน

2.ขอใหคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) และหนวยงานผูอนุญาต พิจารณาทบทวนนโยบาย

ดานพลังงาน ในการรับซื้อไฟฟา เน่ืองจากท่ีผานมาไมพบปญหาการขาดแคลนไฟฟา และกําลังการผลิต

ไฟฟาของประเทศสูงกวาความตองการใชไฟฟาคอนขางมากตลอด กําลังการผลิตไฟฟาของโครงการ

700 เมกะวัตต จะเปนการเพ่ิมภาระใหกับภาคประชาชนหรือไม (ตองเสียคาไฟฟาท่ีสูงข้ึน)

3.ขอใหชวยพิจารณาวา ถาโรงไฟฟาเกิดไมไดและสงผลกระทบใหแหลงพลังงานไฟฟาของประเทศไม

เพียงพอ ใครจะเปนผูรับผิดชอบ (การสรางโรงไฟฟาใชเวลาประมาณ 3-5 ป)

ภาพรวมของพ้ืนท่ี

(7 ความเห็น)

สถานการณของปญหา (4 ความเห็น)

1.กลุมบริษัทโกลวอยูในพ้ืนท่ีนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดมีโรงงานมากกวา 200 โรงงาน ท้ังน้ี มีนิคม

อุตสาหกรรมอ่ืน ๆ ใกลเคียงอีก 5 แหง ดังน้ัน ขอใหมองภาพรวม การเจาะจงวาผลกระทบเกิดข้ึนจาก

โรงงานใดโรงงานหน่ึงไมสามารถระบุได อยากใหทุกโรงงานรวมกันแกไขปญหา เพราะปจจุบันมีท้ัง

โรงงานท่ีดีและไมดี สวนท่ีไมดีจะทําใหเสียท้ังหมด ดังน้ัน ในภาพรวมตองดูแลจัดการใหทุกโรงงานมี

มาตรฐานท่ีดีเหมือนกัน

2.การควบคุมอัตราการระบายมลพิษซึ่งควบคุมท่ีปลอง แตสภาพปจจุบันในบรรยากาศมีมลพิษเกิน

ตลอดเวลา ไมสอดคลองกับมาตรการท่ีจะลดมลพิษของเขตควบคุมมลพิษ

3.ภาวะโลกรอนสงผลใหปจจุบันมีภัยพิบัติท่ีรุนแรงมากข้ึน สําหรับพ้ืนท่ีมาบตาพุดเปนปญหาเรื่องลม/

พายุฝน ฟารองฟาผา หากเกิดภัยพิบัติดังกลาวข้ึน ทางโรงงานจะมีมาตรการอยางไร เน่ืองจากหาก

ไฟดับฉุกเฉิน จะมีผลกระทบเปนวงกวางตอกระบวนการผลิตของโรงงานอ่ืนๆ ท้ังพ้ืนท่ี เหมือนท่ีเคยเกิด

มาแลว และสงผลกระทบกับประชาชนในท่ีสุด

4.โรงไฟฟาควรมีสวนรวมในการแกไขปญหาภาวะโลกรอน

การจัดการปญหา (3 ความเห็น)

1.ปจจุบันชุมชนมีความตื่นตัวในการอยูรวมกับอุตสาหกรรม ไมตองการใหมีการอพยพหนีมลพิษแบบไม

มีทิศทาง ปจจุบันมีการจัดทําแผนบรรเทาสาธารณภัยของชุมชนท้ัง 34 ชุมชน คาดวาจะแลวเสร็จในป

หนา

2.เมื่อมีโครงการเกิดข้ึน จะสิ่งอ่ืนๆ ตามมาตอเน่ือง เชน คนงาน โรงงาน ประชากรแฝง เกิดการบริโภค

ทรัพยากรฯ มากข้ึน สงผลกระทบตอบริการพ้ืนฐานของชุมชนท่ีไมเพียงพอ ท้ังดานสาธารณสุข

การศึกษา โดยเฉพาะปญหาการจราจรแออัด มีแผนรองรับหรือไม อยากใหมีการจัดการในภาพรวม ท่ี

ผานมาไมมีการเสนอขอมูลในภาคสังคมวาท่ีผานมาไดมีการปรับปรุงแกไขไปแลวคืออะไร มีการ

เปลี่ยนแปลงดีข้ึนมากนอยเทาไร มีแตการรับรูวามีโรงงานอุตสาหกรรมขยายข้ึนเรื่อย ๆ อยางตอเน่ือง

3.การบริหารจัดการของมาบตาพุดมีปญหาอะไรบาง ทุกประเด็นท่ีนําเสนอในวันน้ี ขอใหมีการสื่อสาร

ตอไปยังหนวยงานท่ีเก่ียวของทุกภาคสวน ไปขยายผลดําเนินงานตอเพ่ือหาขอมูลมาจัดทําแนวทางใน

การแกไขปญหา ตองการใหมีการผลักดันอยางจริงจังไปสูผูท่ีมีอํานาจในการอนุมัต/ิทําใหเกิดได

Page 66: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-22

4.4.1 ประเด็นเกี่ยวกับกิจกรรมเพ่ือสังคมและชุมชน (20 ความเห็น)

ขอมูลท่ัวไปของผูแสดงความคิดเห็น เปนผูประกอบอาชีพรับราชการ/หนวยงานรัฐ (2 ราย) รับจาง/

พนักงานบริษัท (1 ราย) คาขาย/ธุรกิจสวนตัว (10 ราย) เกษตรกรรม/ประมง (2 ราย) และอ่ืนๆ/ไมระบุ (5 ราย)

โดยเปนผูท่ีอาศัยอยูในเขตรัศมี >3-5 กิโลเมตร จากท่ีตั้งโครงการ (2 ราย) อยูนอกรัศมี 5 กิโลเมตร ในเขตมาบตา

พุดและบานฉาง (9 ราย) อยูในพ้ืนท่ีอ่ืนๆ ของจังหวัดระยอง นอกเขตมาบตาพุด/บานฉาง (7 ราย) และไมไดอยู

ในจังหวัดระยอง (2 ราย) ประกอบดวย การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (2 ความเห็น) การแสดงสิ่งท่ีคาดหวัง

จากการมีโครงการ (7 ความเห็น) และการใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (11 ความเห็น) ดังตอไปนี้

(1) การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (2 ความเห็น)

1.นักเรียนในโรงเรียนระยองวิทยาคมนิคมอุตสาหกรรม สวนใหญรับเด็กท่ีมากับประชากร

แฝง (แรงงาน) จากหลายพ้ืนท่ีและเขาโรงเรียนอ่ืนๆ ในพ้ืนท่ีไมได เพราะปจจุบันโรงเรียนสวนใหญกําหนดวา

รับเด็กท่ีมีทะเบียนบานในพ้ืนท่ีเทานั้น แมวาโรงเรียนจะตั้งอยูใกลกับนิคมอุตสาหกรรมแตขาดการสนับสนุน

จากภาคอุตสาหกรรม ปจจุบันโรงเรียนตองชวยเหลือตนเอง ไมมีงบประมาณดําเนินงาน เชน การจางครู

จัดซ้ือสื่อการเรียนการสอน อุปกรณตางๆ อาคารสถานท่ี ฯลฯ

2.การท่ีมีโรงงานเพ่ิมข้ึนเปนเขตอุตสาหกรรม ทําใหคนในพ้ืนท่ีมีงานทําเพ่ิมข้ึน

(2) การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (0 ความเห็น)

ไมมี

(3) การแสดงส่ิงท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (7 ความเห็น)

1.รวมพัฒนาทองถ่ินใหเจริญ เชน การจางแรงงานในจังหวัด ใชจายในจังหวัด เสียภาษีใน

จังหวัด เปนตน

2.บริษัทฯ จดทะเบียนเสียภาษีในจังหวัดระยอง 100% หรือไม เพ่ือใหภาษีกลับคืนไปบํารุง

พัฒนาทองถ่ิน

3.ขอใหมีการจายภาษีท่ีจังหวัดระยอง ปจจุบันโรงงานสวนใหญจดทะเบียนท่ีกรุงเทพฯ สงผล

ใหทองถ่ินไมมีงบประมาณท่ีเพียงพอในการพัฒนาสาธารณูปโภคพ้ืนฐานใหเพียงพอตอบริการประชาชน ซ่ึง

รวมถึงประชากรแฝงจํานวนมาก อันเกิดจากแรงงานท่ีไมไดยายทะเบียนบานมาท่ีจังหวัดระยอง

4.ขอใหโรงงานจดทะเบียนเปนบริษัทท่ีระยอง รวมท้ัง การใชรถท่ีจดทะเบียนในจังหวัด

ระยอง เพ่ือใหเงินภาษีอยูกับคนระยอง 100% เปนการแสดงความรับผิดชอบตอการพัฒนาสังคมและ

สิ่งแวดลอมของพ้ืนท่ีท่ีประชาชนจังหวัดระยองเปนผูไดรับผลกระทบและเปนผูมีสวนเสียอยางเดียว ขณะท่ี

พ้ืนท่ีอ่ืนๆ ไดประโยชน

5.ขอใหพิจารณาวาโรงงานจะสามารถตอบแทนหรือสรางประโยชนใหกับชุมชนและสวนรวม

อยางไรบาง

6.การรับสมัครพนักงาน ขอใหพิจารณาคนในทองถ่ิน (จังหวัดระยอง)

Page 67: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-23

7.การรับพนักงานของบริษัทฯ ขอใหรับคนระยองเปนลําดับแรก ถาพิจารณาแลวเห็นวามี

ความสามารถท่ีจะทํางานได

(4) การแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (0 ความเห็น)

ไมมี

(5) การใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (11 ความเห็น)

1.สนับสนุนเบี้ยยังชีพใหกับคนชรา

2.ควรมีหนวยงานท่ีรับผิดชอบตามการดําเนินงานเรื่องการศึกษาของเด็กในชุมชน

3.อยากใหมีครูระดับประถมเพ่ือรองรับกลุมเด็กวัยเรียนท่ีมาพรอมกับกลุมประชากรแฝง

4.ขอทุนการศึกษาใหเด็กในชุมชน

5.สนับสนุนทุนการศึกษาใหเด็กนักเรียนในพ้ืนท่ี

6.ตองการให ผอ.นิคมฯ มาเปนกรรมการศึกษาของโรงเรียน

7.ปญหาเชิงโครงสราง เชน การศึกษา สังคม สุขภาพ และบริการสาธารณูปโภค ควรมี

แผนงานแบบบูรณาการในการแกปญหาในภาพรวม จากหนวยงานราชการสวนกลาง ทองถ่ิน ผูประกอบการ

และกนอ.

8.ควรมีการกระจายรายไดสูชุมชน ผลิตภัณฑของกลุมแมบานและชุมชน

9.การพัฒนาระบบคิดขององคกรใหม เชน EHIA ขอใหออกจากกรอบคิดการกําหนด

มาตรการแบบเดิมๆ เชน สงเสริมใหชุมชนพัฒนาวิสาหกิจและใหสามารถคงอยูรวมกันกับโรงงานไดอยางยั่งยืน

ดวย (มีการกําหนดแผนงาน ผูรับผิดชอบท่ีชัดเจน) ปจจุบันในพ้ืนท่ีมาบตาพุดมีโรงไฟฟาขนาดใหญจํานวนมาก

ซ่ึงเคยไดรับทราบวาจะไมมีเพ่ิมข้ึนอีกแลว ดังนั้น การสรางเพ่ิม ตองมี CSR ท่ีเขามาดูแลผลกระทบท่ีเกิดข้ึนตอ

ประชาชนอยางแทจริง มิใชการทําบุญ บริจาคอยางในอดีต

10.ควรมีกิจกรรม CSR ในชุมชนเดือนละครั้ง ควรสงเสริมอาชีพในชุมชน

11.ควรจัดสรรงบประมาณใหกับกรรมการชุมชน เพ่ือใชในการบริหารชุมชนดวย เพราะ

ปจจุบันกรรมการชุมชนไมมีเงินเดือน เสนอใหชุมชนละ 1 หม่ืนบาท/ป

4.4.2 ประเด็นเกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ (15 ความเห็น)

ขอมูลท่ัวไปของผูแสดงความคิดเห็น เปนผูประกอบอาชีพรับราชการ/หนวยงานรัฐ (2 ราย) รับจาง/

พนักงานบริษัท (4 ราย) คาขาย/ธุรกิจสวนตัว (5 ราย) เกษตรกรรม/ประมง (2 ราย) นักวิชาการ/องคกรพัฒนา

เอกชน (1 ราย) และอ่ืนๆ/ไมระบุ (1 ราย) โดยเปนผูท่ีอาศัยอยูในเขตรัศมี 3 กิโลเมตร จากท่ีตั้งโครงการ (3 ราย)

อยูนอกรัศมี 5 กิโลเมตร ในเขตมาบตาพุดและบานฉาง (5 ราย) อยูในพ้ืนท่ีอ่ืนๆ ของจังหวัดระยอง นอกเขตมาบ

ตาพุด/บานฉาง (4 ราย) ไมไดอยูในจังหวัดระยอง (1 ราย) และไมไดระบุ (2 ราย) ประกอบดวย การแสดง

ความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (1 ความเห็น) การแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปน

พิเศษ (13 ความเห็น) และการใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (1 ความเห็น) ดังตอไปนี้

Page 68: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-24

(1) การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (0 ความเห็น)

ไมมี

(2) การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (1 ความเห็น)

1.สถานีตรวจวัดอากาศแบบตอเนื่องจะติดตั้งเพ่ิมอีก 1 สถานี มีหลักการอยางไร แคนี้

เพียงพอหรือไม มีการสื่อสารใหชาวบานทราบหรือไม

(3) การแสดงส่ิงท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (0 ความเห็น)

ไมมี

(4) การแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (13 ความเห็น)

1.โรงไฟฟาถานหินมีมลพิษทางดานอากาศ ฝุนละออง ขอใหหนวยงานพิจารณาใหถ่ีถวน

2.ดูแลการขนถายถานหินใหมีการจัดการท่ีดี ไมใหมีผลกระทบคุณภาพอากาศ (ฝุนละออง)

3.พ้ืนท่ีลานกองถานหินท่ีมีอยูไมนาจะเพียงพอ และจะสงผลกระทบดานอ่ืนๆ

4.พ้ืนท่ีลานกองถานหินควรปองกันกระแสลม 3 ชั้นข้ึนไป

5.การจัดการลานกองถานหิน ควรมีระบบท่ีดีกวาปจจุบันซ่ึงปดดานเดียว ควรมีรอบพ้ืนท่ีลานกอง

6.การจัดเก็บถานหิน ควรทําเปน Warehouse ปดครอบไปเลย จะไดไมมีการฟุงกระจาย

7.ควรปลูกตนไมสูงกวาความสูงของกองถานหิน 4 เมตร เพ่ือเปนแนวกันชน/แนวบังลม ฝง

ถนนไอ 5 หรือโดยรอบกองถานหิน

8.การปลูกตนไมรอบลานกองถานหิน เพ่ือปองกันฝุนละออง ขอใหพิจารณาชนิดตนไมท่ี

เหมาะสม และมีการดูแลในระยะยาวตอเนื่อง การปลูกตองศึกษาทิศทางลมของระยองใหดี เพราะแตละเดือน

มีทิศทางแตกตางกัน

9.ผลกระทบของเถาเบาท่ีฟุงกระจาย อาจสงผลกระทบตอชุมชน ควรมีการติดตั้งสถานี

ตรวจวัดเพ่ิม ปจจุบันสถานีตรวจวัดอากาศ มีแต กนอ. และ คพ. ควรมีเทศบาลเมืองมาบตาพุดรวมดวย

10.จากคาการตรวจวัดฝุนถานหินซ่ึงอยูในคาควบคุม แตบริเวณใกลเคียงโดยรอบมีฝุนจาก

ถานหินปลิวกระจายไปท่ัว

11.กอนอนุมัติ ควรลงพ้ืนท่ีเพ่ือตรวจสอบสภาพปจจุบันจากผูไดรับผลกระทบ เชน บริษัท

ขางเคียง จะทําใหไดรับขอเท็จจริงในมุมมองท่ีหลากหลาย (พนักงานบริษัทขางเคียงวาไดรับผลกระทบทุกวัน

จากโรงงานและลานกองหิน เชน ฝุน ควัน กลิ่น เสียง ละอองน้ําจากการ Spray น้ํา เปนตน)

12.การมีโรงไฟฟาเปนการเพ่ิมปญหาดานมลพิษทางอากาศใหรุนแรงข้ึน โครงการมีมาตรการ

ปองกันและดูแลชุมชนใกลเคียงอยางไร

13.ชุมชนตากวน-อาวประดู ซ่ึงอยูในทิศทางลม จะไดรับผลกระทบจากอากาศรอนเพ่ิมข้ึน

จากท่ีไดรับอยูในปจจุบัน ตองการทราบมาตรการแกไขและชดเชยใหกับชุมชนท่ีไดรับผลกระทบ

(5) การใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (1 ความเห็น)

1.ขอใหปฏิบัติตามแผนลดและขจัดมลพิษใหมากกวาท่ีกําหนดไว

Page 69: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-25

4.4.3 ประเด็นเกี่ยวกับการดําเนินงานของโครงการ (11 ความเห็น)

ขอมูลท่ัวไปของผูแสดงความคิดเห็น เปนผูประกอบอาชีพรับราชการ/หนวยงานรัฐ (2 ราย) รับจาง/

พนักงานบริษัท (2 ราย) คาขาย/ธุรกิจสวนตัว (5 ราย) และอ่ืนๆ/ไมระบุ (2 ราย) โดยเปนผูท่ีอาศัยอยูนอกรัศมี

5 กิโลเมตร ในเขตมาบตาพุดและบานฉาง (9 ราย) และอยูในพ้ืนท่ีอ่ืนๆ ของจังหวัดระยอง นอกเขตมาบตาพุด/

บานฉาง (2 ราย) เปนการแสดงสิ่งท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (11 ความเห็น) ดังตอไปนี้

(1) การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (0 ความเห็น)

ไมมี

(2) การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (0 ความเห็น)

ไมมี

(3) การแสดงส่ิงท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (11 ความเห็น)

1.ขอใหปฏิบัติตามกฎระเบียบท่ีเก่ียวของอยางเครงครัด

2.ปฏิบัติขอบังคับทางกฎหมายอยางเครงครัด ตองคํานึงเสมอวาตองอยูรวมกับประชาชน

3.ตองชวยกันดูแลสุขภาพคนในชุมชน รวมถึง สิ่งแวดลอมภายในชุมชน

4.คํานึงถึงความปลอดภัยของชุมชนโดยรอบอยางสมํ่าเสมอ ใหชุมชนอยูไดโดยไมมีขอกังวล

ในดานความปลอดภัย

5.หากโรงไฟฟาผานอนุมัติก็ขอใหดําเนินการดวยความรอบคอบ ปลอดภัย และคํานึงถึง

สุขภาพ/สิ่งแวดลอมเปนสําคัญ

6.ควบคุมคุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชนตามท่ีนําเสนอตลอดไป

7.เม่ือโรงงานปองกันมลพิษไดดีแลวโรงงานกับชุมชนก็จะอยูดวยกันอยางมีความสุข

8.บริษัทตองจริงใจตอชุมชน โดยคํานึงถึงความปลอดภัยในดานการบริหารจัดการใหดีท่ีสุด

ไมใหเกิดอันตรายตอประชาชนและสิ่งแวดลอม

9.ควรดูแลผลกระทบทางธรรมชาติใหมาก

10.ขอใหโรงไฟฟาปฏิบัติตามแผนการลดและขจัดมลพิษอยางจริงจัง

11.ควบคุมดูแลการปลอยมลพิษใหชัดเจนมากยิ่งข้ึน

(4) การแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (0 ความเห็น)

ไมมี

(5) การใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (0 ความเห็น)

ไมมี

Page 70: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-26

4.4.4 ประเด็นเกี่ยวกับการมีสวนรวม (10 ความเห็น)

ขอมูลท่ัวไปของผูแสดงความคิดเห็น เปนผูประกอบอาชีพรับราชการ/หนวยงานรัฐ (2 ราย) รับจาง/

พนักงานบริษัท (1 ราย) คาขาย/ธุรกิจสวนตัว (3 ราย) เกษตรกรรม/ประมง (2 ราย) และอ่ืนๆ/ไมระบุ (2 ราย)

โดยเปนผูท่ีอาศัยอยูในเขตรัศมี 3 กิโลเมตร จากท่ีตั้งโครงการ (3 ราย) อยูในเขตรัศมี >3-5 กิโลเมตร จากท่ีตั้ง

โครงการ (2 ราย) อยูนอกรัศมี 5 กิโลเมตร ในเขตมาบตาพุดและบานฉาง (4 ราย) และไมไดอยูในจังหวัดระยอง

(1 ราย) ประกอบดวย การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (1 ความเห็น) การแสดงสิ่งท่ีคาดหวังจากการมี

โครงการ (2 ความเห็น) และการใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (7 ความเห็น) ดังตอไปนี้

(1) การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (1 ความเห็น)

1.การแสดงความคิดเห็นครั้งนี้ ไมครอบคลุมพ้ืนท่ีท้ังหมดท่ีไดรับผลกระทบ กลุมชาวประมง

เรือเล็กจังหวัดระยองมีท้ังหมด 30 กลุม ไดรับเชิญเฉพาะ 7 กลุม ท่ีอยูใกลเคียงพ้ืนท่ีโครงการ

(2) การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (0 ความเห็น)

ไมมี

(3) การแสดงส่ิงท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (2 ความเห็น)

1.ควรมีการประชาสัมพันธใหขอมูลเอกสารทางวิชาการกับประชาชน เก่ียวกับขอดี-ขอเสีย

ของโครงการ แนวทางการจัดการแกไข โดยดําเนินการใหท่ัวถึง ท้ังชุมชนชาวประมงหรือผูมีสวนไดสวนเสีย

โดยเฉพาะผูท่ีจะไดรับผลกระทบ เพ่ือใหทราบวาควรจะดําเนินการอยางดี หากโครงการไดรับอนุมัติ

2.จัดประชุมใหความรูกับประชาชนในพ้ืนท่ีรัศมี 5 กิโลเมตร และทีมงานควรลงไปพ้ืนท่ี

มากกวานี้

(4) การแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (0 ความเห็น)

ไมมี

(5) การใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (7 ความเห็น) 1.ควรใหชุมชนตรวจเยี่ยมบริษัทฯ อยางนอยชุมชนละ 12-15 คน ทุก 3-6 เดือน

2.การประชุมรับฟงความคิดเห็นเปนสิ่งท่ีดีซ่ึงจะไดมีการหารือกัน จะไดรับทราบขอมูลเพ่ิมข้ึน

3.การดําเนินการในกระบวนการตางๆ ขอใหมองประชาชนเปนหลัก มิใชเฉพาะประธาน

ชุมชน

4.เนื่องจากชุมชนไมมีความม่ันใจในผลการตรวจวัดท่ีทางบริษัทฯ ดําเนินการ จึงเสนอให

องคการปกครองสวนทองถ่ิน ไดมีสวนรวมในการคัดเลือกบริษัทท่ีมีความเปนกลาง มาเปนผูดําเนินการ

ตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดลอม โดยใหบริษัทฯ เปนผูรับผิดชอบคาใชจาย

5.ควรมีการประชุมและพบปะชุมชนมากกวานี้

Page 71: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-27

6.ขอใหจัดประชุมรับฟงความคิดเห็นของชุมชนบอยๆ

7.อยากใหมีการจัดประชุมบอยๆ เพ่ือใหชาวบานแสดงความคิดเห็น

4.4.5 ประเด็นเกี่ยวกับสุขภาพ (10 ความเห็น)

ขอมูลท่ัวไปของผูแสดงความคิดเห็น เปนผูประกอบอาชีพรับราชการ/หนวยงานรัฐ (5 ราย)

เกษตรกรรม/ประมง (2 ราย) นักวิชาการ/องคกรพัฒนาเอกชน (2 ราย) และอ่ืนๆ/ไมระบุ (1 ราย) โดยเปนผูท่ี

อาศัยอยูในเขตรัศมี >3-5 กิโลเมตร จากท่ีตั้งโครงการ (2 ราย) อยูนอกรัศมี 5 กิโลเมตร ในเขตมาบตาพุดและ

บานฉาง (4 ราย) อยูในพ้ืนท่ีอ่ืนๆ ของจังหวัดระยอง นอกเขตมาบตาพุด/บานฉาง (3 ราย) และไมไดอยูในจังหวัด

ระยอง (1 ราย) ประกอบดวย การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (2 ความเห็น) การแสดงสิ่งท่ีคาดหวังจากการมี

โครงการ (4 ความเห็น) การแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (1 ความเห็น) และการ

ใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (3 ความเห็น) ดังตอไปนี้

(1) การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (2 ความเห็น)

1.โรงงานและชุมชนอยูรวมกันได อาศัยอยูในพ้ืนท่ีมา 67 ป ไมไดรับผลกระทบจากมลพิษ

จากโรงงานอุตสาหกรรมในมาบตาพุด โรงงานมีกฎหมายควบคุมมลพิษ แตชุมชนไมมีการควบคุม เชน การใช

ยาฆาแมลง รวมถึง พฤติกรรมของมนุษยทําใหเจ็บปวย ซ่ึงสวนใหญชาวบานเปนโรคความดันโลหิตสูงและ

เบาหวานมากกวาโรคมะเร็งซ่ึงพบนอย

2.ปจจุบันโรงงานมีการชวยเหลือในการดูแลสุขภาพประชาชนหลายดานดีข้ึน

(2) การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (0 ความเห็น)

ไมมี

(3) การแสดงส่ิงท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (4 ความเห็น)

1.การทําสัญญาจางบริษัทรับเหมา นอกจากเง่ือนไขดานสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย ควร

กําหนดเง่ือนไขดานสุขภาพ โดยใหมีการคัดกรองพนักงานรับเหมาเขาทํางานไวในสัญญาจางดวย เพราะเปน

กลุมท่ีมีความเสี่ยงและการดูแลติดตามตรวจสอบผลกระทบตอเนื่องคอนขางยาก เนื่องจากมีการเปลี่ยน

สถานท่ีทํางานและมีการยายถ่ินฐาน

2.ขอมูลตางๆ ท่ีเปนความเสี่ยงของโครงการ ตองใหขอมูลกับหนวยงานสาธารณสุขในพ้ืนท่ีดวย

3.ขอใหกําหนดมาตรการท่ีชัดเจนในการประสานงานกับภาคสาธารณสุขในการเก็บขอมูล

สุขภาพกับชุมชนท่ีอยูใกลเคียงกับโรงไฟฟา รวมกับการปองกันและดูแลสุขภาพดวย

4.ขอมูลของหนวยงานดานสถิติทางสุขภาพ ผลกระทบในระยะสั้น อาการผิดปกติตางๆ ควร

ใหความสําคัญในการติดตามและเฝาระวัง เชน โรคทางเดินหายใจ โรคผิวหนัง รวมท้ัง สนับสนุนการจาง

นักวิจัยท่ีเปนกลางมาทําการศึกษาวิจัย ติดตามประเมินผลในระยะยาว

Page 72: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-28

(4) การแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (1 ความเห็น)

1.ทางดานสุขภาพและบริการสาธารณสุข ประเด็นท่ี คชก. กําหนด ยังไมมีบริษัทใดในนิคม

อุตสาหกรรมดําเนินการไดอยางครบถวน

(5) การใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (3 ความเห็น)

1.เพ่ิมบุคลากรดานสาธารณสุขรองรับการรักษาท่ีเพ่ิมมากข้ึนใหเพียงพอตอความตองการใช

บริการของประชาชน

2.สนับสนุนอุปกรณการแพทยเบื้องตนกับสถานีอนามัยหรือโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ

ตําบลเพ่ือใหกลุม อสม.ทํางานกันไดสะดวกข้ึน

3.ชุมชนรอบโรงไฟฟาสุขภาพไมคอยดี ขอใหมีการตรวจสุขภาพประจําปใหกับประชาชนดวย

โดยจัดใหมีแพทยประจําในศูนยสุขภาพชุมชน อยางนอยแหงละ 1 คน

4.4.6 ประเด็นเกี่ยวกับภาพรวมของพ้ืนท่ี (7 ความเห็น)

ขอมูลท่ัวไปของผูแสดงความคิดเห็น เปนผูประกอบอาชีพรับราชการ/หนวยงานรัฐ (3 ราย) และ

คาขาย/ธุรกิจสวนตัว ( 4 ราย) โดยเปนผูท่ีอาศัยอยูในเขตรัศมี 3 กิโลเมตร จากท่ีตั้งโครงการ (2 ราย) อยูนอก

รัศมี 5 กิโลเมตร ในเขตมาบตาพุดและบานฉาง (4 ราย) และอยูในพ้ืนท่ีอ่ืนๆ ของจังหวัดระยอง นอกเขตมาบตา

พุด/บานฉาง (1 ราย) ประกอบดวย การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (3 ความเห็น) การแสดงขอหวงกังวล/

ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (2 ความเห็น) และการใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (2 ความเห็น)

ดังตอไปนี้

(1) การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (3 ความเห็น)

1.กลุมบริษัทโกลวอยูในพ้ืนท่ีนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดมีโรงงานมากกวา 200 โรงงาน

ท้ังนี้ มีนิคมอุตสาหกรรมอ่ืน ๆ ใกลเคียงอีก 5 แหง ดังนั้น ขอใหมองภาพรวม การเจาะจงวาผลกระทบเกิดข้ึน

จากโรงงานใดโรงงานหนึ่งไมสามารถระบุได อยากใหทุกโรงงานรวมกันแกไขปญหา เพราะปจจุบันมีท้ังโรงงาน

ท่ีดีและไมดี สวนท่ีไมดีจะทําใหเสียท้ังหมด ดังนั้น ในภาพรวมตองดูแลจัดการใหทุกโรงงานมีมาตรฐานท่ีดี

เหมือนกัน

2.การควบคุมอัตราการระบายมลพิษซ่ึงควบคุมท่ีปลอง แตสภาพปจจุบันในบรรยากาศมี

มลพิษเกินตลอดเวลา ไมสอดคลองกับมาตรการท่ีจะลดมลพิษของเขตควบคุมมลพิษ

3.ปจจุบันชุมชนมีความตื่นตัวในการอยูรวมกับอุตสาหกรรม ไมตองการใหมีการอพยพหนี

มลพิษแบบไมมีทิศทาง ปจจุบันมีการจัดทําแผนบรรเทาสาธารณภัยของชุมชนท้ัง 34 ชุมชน คาดวาจะแลว

เสร็จในปหนา

(2) การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (0 ความเห็น)

ไมมี

Page 73: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-29

(3) การแสดงส่ิงท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (0 ความเห็น)

ไมมี

(4) การแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (2 ความเห็น)

1.ภาวะโลกรอนสงผลใหปจจุบันมีภัยพิบัติท่ีรุนแรงมากข้ึน สําหรับพ้ืนท่ีมาบตาพุดเปนปญหา

เรื่องลม/พายุฝน ฟารองฟาผา หากเกิดภัยพิบัติดังกลาวข้ึน ทางโรงงานจะมีมาตรการอยางไร เนื่องจากหากไฟดับ

ฉุกเฉิน จะมีผลกระทบเปนวงกวางตอกระบวนการผลิตของโรงงานอ่ืนๆ ท้ังพ้ืนท่ี เหมือนท่ีเคยเกิดมาแลว และ

สงผลกระทบกับประชาชนในท่ีสุด

2.เม่ือมีโครงการเกิดข้ึน จะสิ่งอ่ืนๆ ตามมาตอเนื่อง เชน คนงาน โรงงาน ประชากรแฝง เกิดการ

บริโภคทรัพยากรฯ มากข้ึน สงผลกระทบตอบริการพ้ืนฐานของชุมชนท่ีไมเพียงพอ ท้ังดานสาธารณสุข การศึกษา

โดยเฉพาะปญหาการจราจรแออัด มีแผนรองรับหรือไม อยากใหมีการจัดการในภาพรวม ท่ีผานมาไมมีการเสนอ

ขอมูลในภาคสังคมวาท่ีผานมาไดมีการปรับปรุงแกไขไปแลวคืออะไร มีการเปลี่ยนแปลงดีข้ึนมากนอยเทาไร มีแต

การรับรูวามีโรงงานอุตสาหกรรมขยายข้ึนเรื่อย ๆ อยางตอเนื่อง

(5) การใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (2 ความเห็น)

1.โรงไฟฟาควรมีสวนรวมในการแกไขปญหาภาวะโลกรอน

2.การบริหารจัดการของมาบตาพุดมีปญหาอะไรบาง ทุกประเด็นท่ีนําเสนอในวันนี้ ขอใหมี

การสื่อสารตอไปยังหนวยงานท่ีเก่ียวของทุกภาคสวน ไปขยายผลดําเนินงานตอเพ่ือหาขอมูลมาจัดทําแนวทาง

ในการแกไขปญหา ตองการใหมีการผลักดันอยางจริงจังไปสูผูท่ีมีอํานาจในการอนุมัติ/ทําใหเกิดได

Page 74: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-30

4.4.7 ประเด็นเกี่ยวกับการศึกษาและประเมินผลกระทบ (7 ความเห็น)

ขอมูลท่ัวไปของผูแสดงความคิดเห็น เปนผูประกอบอาชีพรับราชการ/หนวยงานรัฐ (1 ราย) รับจาง/

พนักงานบริษัท (1 ราย) คาขาย/ธุรกิจสวนตัว (1 ราย) เกษตรกรรม/ประมง (2 ราย) และนักวิชาการ/องคกร

พัฒนาเอกชน (2 ราย) โดยเปนผูท่ีอาศัยอยูนอกรัศมี 5 กิโลเมตร ในเขตมาบตาพุดและบานฉาง (4 ราย) และอยู

ในพ้ืนท่ีอ่ืนๆ ของจังหวัดระยอง นอกเขตมาบตาพุด/บานฉาง (3 ราย)ประกอบดวย การแสดงความไมม่ันใจ/

ความไมชัดเจนของขอมูล (5 ความเห็น) และการใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (2 ความเห็น) ดังตอไปนี้

(1) การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (0 ความเห็น)

ไมมี

(2) การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (5 ความเห็น)

1.ขอใหพิจารณาผลกระทบตออาชีพประมง เนื่องจากน้ําหลอเย็นท่ีระบายออกจะทําให

อุณหภูมิน้ําทะเลสูงข้ึน เกิดปะการังฟอกขาว

2.ขาดการประเมินผลกระทบดานมลพิษทางอากาศเนื่องจากการเผาไหมถานหินหลายดาน

เชน โลหะหนัก (ตะก่ัว ปรอท แคดเมียม) สารอินทรียระเหย (VOCs) เบนซีน และคารบอนไดออกไซด

3.ขาดการประเมินเรื่องระบบนิเวศ เนื่องจากโครงการมีการสูบน้ําทะเลมาใชในปริมาณมาก

และตอเนื่อง มีการระบายน้ําท้ิงท่ีมีอุณหภูมิสูง จะสงผลใหสิ่งมีชีวิตในทะเล เชน แพลงคตอนและสัตวน้ําอ่ืนๆ

เปลี่ยนแปลง มีผลตออาชีพประมง

4.ผลกระทบท่ีอาจเกิดข้ึนในอนาคตยังมองไมเห็นเปนรูปธรรม จะม่ันใจไดอยางไรวา

มาตรการของโครงการครอบคลุมผูไดรับผลกระทบอยางครบถวน

5.ขอใหพิจารณาผลกระทบท้ังระยะสั้นและระยะยาว โดยพิจารณาในภาพรวมท้ังโครงการ

และโรงไฟฟาถานหินท่ีมีอยูเดิม

(3) การแสดงส่ิงท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (0 ความเห็น)

ไมมี

(4) การแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (0 ความเห็น)

ไมมี

(5) การใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (2 ความเห็น)

1.การกําหนดขอบเขตการศึกษา (Scoping) ควรมากกวารัศมี 5 กิโลเมตร

2.ตรวจสอบการกระจายของมลภาวะในพ้ืนท่ีท่ีเกินรัศมี 5 กิโลเมตร

Page 75: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-31

4.4.8 ประเด็นเกี่ยวกับการอนุมัติ/อนุญาต (7 ความเห็น)

ขอมูลท่ัวไปของผูแสดงความคิดเห็น เปนผูประกอบอาชีพรับราชการ/หนวยงานรัฐ (1 ราย) รับจาง/

พนักงานบริษัท (3 ราย) คาขาย/ธุรกิจสวนตัว (2 ราย) และนักวิชาการ/องคกรพัฒนาเอกชน (1 ราย) โดยเปนผู

ท่ีอาศัยอยูนอกรัศมี 5 กิโลเมตร ในเขตมาบตาพุดและบานฉาง (2 ราย) และอยูในพ้ืนท่ีอ่ืนๆ ของจังหวัดระยอง

นอกเขตมาบตาพุด/บานฉาง (2 ราย) ประกอบดวย การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (3

ความเห็น) การแสดงสิ่งท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (2 ความเห็น) และการใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไป

พิจารณา (2 ความเห็น) ดังตอไปนี้

(1) การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (0 ความเห็น)

ไมมี

(2) การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (3 ความเห็น)

1.โครงการไดมีกระบวนการผลิตไปแลวกอนไดรับอนุญาต

2.เนื่องจากโครงการกอสรางไปแลว ความคิดเห็นท่ีไดรับจากการจัดประชุมรับฟงความ

คิดเห็นในครั้งนี้ จะนําไปเปนสวนประกอบการในการอนุญาตไดอยางไร

3.ถามีความเห็นท่ีขัดแยงกัน ท้ังฝายท่ีเห็นดวยและไมเห็นดวย หากชุมชนสวนใหญเห็นดวย ก็

ขอใหมีการกํากับดูแลท่ีชัดเจน มีการจัดทําขอมูลวาผลกระทบท่ีเกิดข้ึนนั้นเปนอยางไร และแจงใหชุมชนได

ทราบดวย

(3) การแสดงส่ิงท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (2 ความเห็น)

1.มีการเปดเผยผลการประชุม การพิจารณา และชี้แจงสรุปผลการประชุม ใหประชาชนและผู

ท่ีเขารวมประชุมไดรับทราบอยางโปรงใส เพ่ือในชุมชนกับภาคอุตสาหกรรมอยูดวยกันได

2.ควรมีการชี้แจงข้ันตอนและสถานะปจจุบันของโครงการใหมากข้ึน สําหรับผลการอนุญาต

ควรแสดงเหตุผลประกอบท่ีชัดเจน

(4) การแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (0 ความเห็น)

ไมมี

(5) การใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (2 ความเห็น)

1.เนื่องจากโครงการอยูในเขตควบคุมมลพิษ ซ่ึงมาตรการลดและขจัดมลพิษตางๆ ยัง

ดําเนินการไมแลวเสร็จ ควรรอใหดําเนินการมาตรการตางๆ อยางครบถวนกอน

2.หลังจากสงรายงานฯ ขอใหตั้งเง่ือนไขไววา กอนการอนุญาตใหบริษัทฯ ดําเนินการได ตอง

มีการติดตั้งปะการังเทียม (ตามจํานวนท่ีระบุ) เพ่ือเปนการแสดงความจริงใจตอชุมชน

Page 76: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-32

4.4.9 ประเด็นเกี่ยวกับคุณภาพน้ําทะเล (6 ความเห็น)

ขอมูลท่ัวไปของผูแสดงความคิดเห็น เปนผูประกอบอาชีพรับราชการ/หนวยงานรัฐ (2 ราย) คาขาย/

ธุรกิจสวนตัว (2 ราย) เกษตรกรรม/ประมง (1 ราย) และอ่ืนๆ/ไมระบุ (1 ราย) โดยเปนผูท่ีอาศัยอยูนอกรัศมี 5

กิโลเมตร ในเขตมาบตาพุดและบานฉาง (4 ราย) อยูในพ้ืนท่ีอ่ืนๆ ของจังหวัดระยอง นอกเขตมาบตาพุด/บานฉาง

(1 ราย) และไมไดอยูในจังหวัดระยอง (1 ราย) ประกอบดวย การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (1 ความเห็น)

การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (1 ความเห็น) การแสดงสิ่งท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (2

ความเห็น) การแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (1 ความเห็น) และการแสดงขอหวง

กังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (1 ความเห็น)

(1) การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (1 ความเห็น)

เรือท่ีมาสงวัตถุดิบ ถานหิน ฯลฯสรางปญหาน้ํามันเครื่องรั่วไหลลงทะเลและชายหาด เม่ือ

สอบถาม กนอ. ไมมีคําตอบวามาจากเรือลําไหน จึงอยากใหมีหนวยงานติดตามดูแลเพ่ือปองกันปญหานี้

เชนเดียวกับท่ีทาเรือแหลมฉบัง

(2) การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (1 ความเห็น)

มีประเด็นจาก กอสส. วาปริมาณน้ําเสียเขา-ออกไมสัมพันธกัน และระยะหางของทอน้ําเขา-

น้ําออก ยังไมเหมาะสม

(3) การแสดงส่ิงท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (2 ความเห็น)

1.กําหนดมาตรการและบทลงโทษอยางเด็ดขาด เพ่ือปองกันการลักลอบปลอยน้ําเสีย น้ํา

อับเฉา น้ํามันเครื่อง หรือสิ่งสกปรกอ่ืน ๆ จากเรือลงสูทองทะเล

2.ควบคุมคุณภาพน้ําท้ิงกอนระบายลงสูทะเลอยางจริงจัง

(4) การแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (1 ความเห็น)

เรือขนถานหิน ซ่ึงมีขนาดใหญ จํานวนเท่ียวเยอะ ตองคํานึงถึงผลกระทบดานตาง ๆ ให

รอบคอบ เชน การปลอยน้ํามันเครื่องเรือขนถานหิน ซ่ึงมีขนาดใหญ จํานวนเท่ียวเยอะ ตองคํานึงถึงผลกระทบ

ดานตาง ๆ ใหรอบคอบ เชน การปลอยน้ํามันเครื่อง

(5) การใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (1 ความเห็น)

ขอใหชวยตรวจสอบคุณภาพน้ําทะเลในพ้ืนท่ีใกลกับการนิคมฯ ใหมีสภาพเปนปกติ รวมถึง

สัตวน้ําดวย

Page 77: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-33

4.4.10 ประเด็นเกี่ยวกับการประชาสัมพันธและใหขอมูลขาวสาร (6 ความเห็น)

ขอมูลท่ัวไปของผูแสดงความคิดเห็น เปนผูประกอบอาชีพคาขาย/ธุรกิจสวนตัวท้ังหมด (6 ราย) โดย

เปนผูท่ีอาศัยอยูในเขตรัศมี 3 กิโลเมตร จากท่ีตั้งโครงการ (3 ราย) อยูในเขตรัศมี >3-5 กิโลเมตร จากท่ีตั้ง

โครงการ (1 ราย) และอยูนอกรัศมี 5 กิโลเมตร ในเขตมาบตาพุดและบานฉาง (2 ราย) ประกอบดวย การให

ขอมูล/การสะทอนปญหา (2 ความเห็น) การแสดงสิ่งท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (2 ความเห็น) และการให

ขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (2 ความเห็น) ดังตอไปนี้

(1) การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (2 ความเห็น)

1.ปจจุบันโรงงานในพ้ืนท่ียังไมไดมีการประชาสัมพันธขอมูลขาวสารท่ีใหชาวบานไดทราบ

ท่ัวถึง ยังไมมีความชัดเจนในการกําหนดภารกิจ เรื่อง ขอมูลขาวสารของโรงงานปจจุบันโรงงานในพ้ืนท่ียังไมได

มีการประชาสัมพันธขอมูลขาวสารท่ีใหชาวบานไดทราบท่ัวถึง ยังไมมีความชัดเจนในการกําหนดภารกิจ เรื่อง

ขอมูลขาวสารของโรงงาน

2.การแกไขปญหาภาพรวมของพ้ืน ซ่ึงปจจุบันมี กนอ. เปนผูกํากับดูแล โดยมีการจัดทําแผน

ลดและขจัดมลพิษรวมกับขุมชน มีโครงการธรรมาภิบาลสิ่งแวดลอม จัดตั้งคณะกรรมการไตรภาคีเพ่ือกํากับ

ดูแล ตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการฯ ในรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม ซ่ึงดําเนินการทุกป

เปนสิ่งดีๆ ท่ีปฏิบัติอยูแลว แตยังขาดการประชาสัมพันธใหชุมชนไดรับทราบถึงกระบวนการปองกันและ

ตรวจสอบท่ีมีการดําเนินการอยูแลว เพ่ือจะไดมีการนําขอเสนอแนะเพ่ิมเติมตางๆ มาปรับปรุงตอไป

(2) การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (0 ความเห็น)

ไมมี

(3) การแสดงส่ิงท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (2 ความเห็น)

1.บริษัทฯควรขยายขอบเขตการใหขอมูลขาวสารกับประชาชนเพ่ิมเติม

2.เม่ือบริษัทฯ ปฏิบัติตามมาตรการดานสิ่งแวดลอม ควรมีการประชาสัมพันธใหประชาชน

ไดรับทราบดวย เพ่ือใหประชาชนไดมีการตรวจสอบโรงงานแตละแหงวามีมาตรฐานการดําเนินงานท่ีดีหรือไม

(4) การแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (0 ความเห็น)

ไมมี

(5) การใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (2 ความเห็น)

1.ขอฝากประเด็นดานการประชาสัมพันธผานสื่อตางๆ ท่ีมีในระยอง ซ่ึงปจจุบันสื่อในพ้ืนท่ีไดมี

การพัฒนาไปมากแลว ขณะท่ีภาครัฐ/เอกชนยังตามไมทันในการใชสื่อท่ีมีอยูใหมีประสิทธิภาพ เขาถึง และ

ครอบคลุมประชาชนในพ้ืนท่ี มีการประชาสัมพันธนอยเกินไป ทําใหประชาชนท่ัวไปไมไดรับรูขาวสารการ

ดําเนินงานของภาครัฐและเอกชนในการลดและขจัดมลพิษ รวมท้ัง ความพยายามดานอ่ืนๆ ท่ีกําลังดําเนินการอยู

Page 78: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-34

2.ขอใหตระหนักถึงความสําคัญของสื่อมวลชนในพ้ืนท่ี มีแบบแผนการทํางานดานการ

ประชาสัมพันธท่ีจะเขาถึงประชาชนอยางเปนระบบ ขอใหศึกษาและเลือกใชสื่อท่ีมีศักยภาพในการถายทอด

ขาวสารและเหมาะสมกับชุมชน/กลุมเปาหมาย โดยสื่อทองถ่ินยินดีใหความรวมมือ ซ่ึงจะชวยสรางความเขาใจ

ท่ีถูกตองและฟนฟูภาพลักษณท่ีดีของภาคอุตสาหกรรมใหเกิดข้ึนในความรูสึกของประชาชน และลบลางภาพ

เดิมๆ ของมาบตาพุดท่ีเปนเมืองมลพิษไดในท่ีสุด

4.4.11 ประเด็นเกี่ยวกับกองทุนพัฒนาไฟฟา (6 ความเห็น)

ขอมูลท่ัวไปของผูแสดงความคิดเห็น เปนผูประกอบอาชีพรับราชการ/หนวยงานรัฐ (1 ราย) คาขาย/

ธุรกิจสวนตัว (3 ราย) และเกษตรกรรม/ประมง (2 ราย) โดยเปนผูท่ีอาศัยอยูในเขตรัศมี 3 กิโลเมตร จากท่ีตั้ง

โครงการ (2 ราย) และอยูนอกรัศมี 5 กิโลเมตร ในเขตมาบตาพุดและบานฉาง (4 ราย) ประกอบดวย การให

ขอมูล/การสะทอนปญหา (1 ความเห็น) การแสดงสิ่งท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (1 ความเห็น) และการให

ขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (4 ความเห็น) ดังตอไปนี้

(1) การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (1 ความเห็น)

เห็นดวยกับกองทุนพัฒนาไฟฟาท่ีมีอยูในปจจุบัน เนื่องจากมีประโยชนตอการพัฒนาทองถ่ิน

ตองการใหโรงงานอ่ืนๆ จํานวนมากในพ้ืนท่ี ดําเนินการในลักษณะเดียวกันในการพัฒนากองทุนโรงงาน เพ่ือ

นํางบประมาณมาพัฒนาทองถ่ิน (มาบตาพุดขาดการดูแลจากภาครัฐสวนกลาง) ท่ีผานมาหนวยงานอนุญาต

ไดรับผลประโยชนแตไมไดดูแลชุมชน จึงขอเสนอใหเทศบาลเมืองมาบตาพุดเปนแกนนําในการทําประชาคม

เพ่ือสอบถามความตองการของชุมชน รวมท้ัง หารือรูปแบบการดําเนินงาน

(2) การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (1 ความเห็น)

บริษัทฯ ไดจายเงินเขากองทุนแลวหรือไม

(3) การแสดงส่ิงท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (0 ความเห็น)

ไมมี

(4) การแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (0 ความเห็น)

ไมมี

(5) การใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (4 ความเห็น)

1.กองทุนพัฒนาไฟฟา ปจจุบันยังใชประโยชนไมถูกตอง ควรนํามาใชเพ่ือการฟนฟู หรือ

วิเคราะห/วิจัยโดยนักวิชาการดานพลังงานท่ีเปนกลาง เพ่ือใหชุมชนไดรับทราบขอมูลท่ีเท็จจริงกองทุนพัฒนา

ไฟฟา ปจจุบันยังใชประโยชนไมถูกตอง ควรนํามาใชเพ่ือการฟนฟู หรือวิเคราะห/วิจัยโดยนักวิชาการดาน

พลังงานท่ีเปนกลาง เพ่ือใหชุมชนไดรับทราบขอมูลท่ีเท็จจริง

Page 79: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-35

2.กองทุนไฟฟาตองคิดถึงประชาชนเปนหลัก ขอใหพิจารณาเรื่องการชดเชยใหกับชุมชนท่ี

ไดรับผลกระทบ อยางท่ัวถึง เชน การไดรับสวนลดคาไฟฟา การพัฒนาสุขภาวะของประชาชนในพ้ืนท่ี จะทําให

ประชาชนไดรับประโยชนและมีความสุขมากข้ึน

3.การดําเนินการของกองทุนฯ ขอใหเปนโครงการท่ีเปนความตองการของชุมชนจริงๆ โดย

ชุมชนเปนผูจัดทําโครงการเอง ไมใชกําหนดมาจากสวนกลาง (ชาวบานจะรูวาปญหาและความตองการดีกวา)

4.คณะกรรมการกองทุนโรงไฟฟา ควรมาดูแลในเรื่องการอนุรักษฟนฟูสิ่งแวดลอมในพ้ืนท่ี

ขางเคียงปาชายเลน กองทุนซ้ือคืนบริเวณท่ีเคยเปนปาชายเลนมาฟนฟู

4.4.12 ประเด็นเกี่ยวกับทรัพยากรชีวภาพทางทะเล/ประมง (4 ความเห็น)

ขอมูลท่ัวไปของผูแสดงความคิดเห็น เปนผูประกอบอาชีพรับราชการ/หนวยงานรัฐ (2 ราย) และ

คาขาย/ธุรกิจสวนตัว (2 ราย) โดยเปนผูท่ีอาศัยอยูในเขตรัศมี 3 กิโลเมตร จากท่ีตั้งโครงการ (1 ราย) และอยูนอก

รัศมี 5 กิโลเมตร ในเขตมาบตาพุดและบานฉาง (3 ราย) ประกอบดวย การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจน

ของขอมูล (1 ความเห็น) การแสดงสิ่งท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (2 ความเห็น) และการแสดงขอหวงกังวล/

ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (1 ความเห็น) ดังตอไปนี้

(1) การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (0 ความเห็น)

ไมมี

(2) การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (1 ความเห็น)

อุณหภูมิน้ําหลอเย็นท่ีสูงข้ึน 6 องศาเซลเซียส มีผลกระทบตอสัตวน้ํา มาตรการฯ เรื่อง การ

ปลอยสัตวน้ําลงสูทะเล ควรมีมาตรการติดตามตรวจสอบ ซ่ึงดําเนินการโดยใคร/เม่ือไหร และถาไมมีการ

ดําเนินงานจะมีบทลงโทษหรือไม

(3) การแสดงส่ิงท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (2 ความเห็น)

1.ตรวจสอบระบบนิเวศน้ําทะเล อยางนอยปละ 2 ครั้ง หากพบปญหาใหดําเนินการแกไข

ทันที

2.เสนอใหบริษัทฯ ลงทุนซ้ือเรือทองกระจก เพ่ือใหชุมชนไดรวมสํารวจพ้ืนท่ีทะเลท่ีคาดวาจะ

ไดรับผลกระทบจากการดําเนินงานของโรงไฟฟาเดือนละหนึ่งครั้ง (ตะกอนถานหิน ปะการัง สัตวน้ําฯลฯ)

(4) การแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (1 ความเห็น)

การนําน้ําทะเลมาใชในระบบหลอเย็นอยางตอเนื่อง การระบายความรอนอาจสงผลตอ

แพลงคตอนพืชและสัตว โครงการมีการเฝาระวังระบบนิเวศทางทะเลและชดเชยอยางไร

Page 80: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-36

(5) การใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (0 ความเห็น)

ไมมี

4.4.13 ประเด็นเกี่ยวกับความปลอดภัย (4 ความเห็น)

ขอมูลท่ัวไปของผูแสดงความคิดเห็น เปนผูประกอบอาชีพรับราชการ/หนวยงานรัฐ (2 ราย) คาขาย/

ธุรกิจสวนตัว (1 ราย) และอ่ืนๆ/ไมระบุ (1 ราย) โดยเปนผูท่ีอาศัยอยูนอกรัศมี 5 กิโลเมตร ในเขตมาบตาพุดและ

บานฉาง (2 ราย) และอยูในพ้ืนท่ีอ่ืนๆ ของจังหวัดระยอง นอกเขตมาบตาพุด/บานฉาง (2 ราย) ประกอบดวย

การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (2 ความเห็น) การแสดงสิ่งท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (1

ความเห็น) และการใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (1 ความเห็น) ดังตอไปนี้

(1) การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (0 ความเห็น)

ไมมี

(2) การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (2 ความเห็น)

1.การท่ีมีโรงงานเพ่ิมข้ึนสงผลใหมีมลพิษตางๆ เพ่ิมข้ึน หากมีการควบคุมไมดีจะมีระบบการ

ปองกันแกไขไดทันเวลาหรือไม

2.บริเวณจุดเสี่ยง การกําหนดจุดติดตามตรวจวัดและการแสดงผลทางจอแจงเตือน อาจไม

เพียงพอ ควรมีการวางแผนอยางเปนระบบ โดยกําหนดวาหนวยงานไหนจะตองทําหนาท่ีไปแจงชุมชนไหนบาง

จะตองไปแจงภายในก่ีนาที เชน มีรถเคลื่อนท่ี (หนวยเคลื่อนท่ีเร็ว) ใครทํา การเขาถึงพ้ืนท่ีในเวลาเทาใด เปน

ตน

(3) การแสดงส่ิงท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (1 ความเห็น)

ปญหาระเบิดไฟไหม ขอใหโรงงานตระหนักไวเสมอวาอุบัติเหตุเกิดข้ึนไดเสมอ ขอใหดูแล

โรงไฟฟาใหดีท่ีสุด ในเรื่อง อุบัติเหตุ อุบัติภัย เพราะหากเกิดข้ึนแลวจะสงผลกระทบตอลูกหลานในภายภาค

หนา

(4) การแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (0 ความเห็น)

ไมมี

(5) การใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (1 ความเห็น)

การดําเนินงานบางชวง เชน ชวงทดลองเดินเครื่องจักร หรือกรณีระบบขัดของ การแจงให

ประชาชนทราบลวงหนาอาจไมเพียงพอ เสนอใหมีการแจกจายอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPE) แก

ประชาชนท่ีอาจไดรับผลกระทบ รวมท้ัง ใหความรู/แนะนําวิธีการใชงานดวย

Page 81: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-37

4.4.14 ประเด็นเกี่ยวกับนโยบายพลังงาน (3 ความเห็น)

ขอมูลท่ัวไปของผูแสดงความคิดเห็น เปนผูประกอบอาชีพคาขาย/ธุรกิจสวนตัว (1 ราย) และ

นักวิชาการ/องคกรพัฒนาเอกชน (2 ราย) โดยเปนผูท่ีอาศัยอยูนอกรัศมี 5 กิโลเมตร ในเขตมาบตาพุดและบาน

ฉาง (1 ราย) อยูในพ้ืนท่ีอ่ืนๆ ของจังหวัดระยอง นอกเขตมาบตาพุด/บานฉาง (1 ราย) และไมไดอยูในจังหวัด

ระยอง (1 ราย) ประกอบดวย การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (1 ความเห็น) การแสดงความไมม่ันใจ/ความไม

ชัดเจนของขอมูล (1 ความเห็น) และการแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (1

ความเห็น) ดังตอไปนี้

(1) การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (1 ความเห็น)

ประเทศไทยมีปริมาณการใชไฟฟามาก ปจจุบันการผลิตไฟฟาพ่ึงพากาซธรรมชาติถึงรอยละ

70 ท่ีผานมาเหตุการณท่ีแมเมาะทําใหประเทศสูญเสียโอกาสในการใชถานหินเพ่ือผลิตไฟฟา สวนโรงไฟฟา

นิวเคลียรคงไมสามารถเกิดข้ึนไดในระยะอันใกล ดังนั้น ตองฝากความหวังไวกับถานหิน

(2) การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (1 ความเห็น)

ขอใหคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) และหนวยงานผูอนุญาต พิจารณาทบทวน

นโยบายดานพลังงาน ในการรับซ้ือไฟฟา เนื่องจากท่ีผานมาไมพบปญหาการขาดแคลนไฟฟา และกําลังการ

ผลิตไฟฟาของประเทศสูงกวาความตองการใชไฟฟาคอนขางมากตลอด กําลังการผลิตไฟฟาของโครงการ 700

เมกะวัตต จะเปนการเพ่ิมภาระใหกับภาคประชาชนหรือไม (ตองเสียคาไฟฟาท่ีสูงข้ึน)

(3) การแสดงส่ิงท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (0 ความเห็น)

ไมมี

(4) การแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (1 ความเห็น)

ขอใหชวยพิจารณาวา ถาโรงไฟฟาเกิดไมไดและสงผลกระทบใหแหลงพลังงานไฟฟาของ

ประเทศไมเพียงพอ ใครจะเปนผูรับผิดชอบ (การสรางโรงไฟฟาใชเวลาประมาณ 3-5 ป)

(5) การใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (0 ความเห็น)

ไมมี

4.4.15 ประเด็นเกี่ยวกับการกํากับดูแล (3 ความเห็น)

ขอมูลท่ัวไปของผูแสดงความคิดเห็น เปนผูประกอบอาชีพรับราชการ/หนวยงานรัฐ (1 ราย) คาขาย/

ธุรกิจสวนตัว (1 ราย) และเกษตรกรรม/ประมง (1 ราย) โดยเปนผูท่ีอาศัยอยูนอกรัศมี 5 กิโลเมตร ในเขตมาบตา

พุดและบานฉาง (2 ราย) และอยูในพ้ืนท่ีอ่ืนๆ ของจังหวัดระยอง นอกเขตมาบตาพุด/บานฉาง (1 ราย)

ประกอบดวย การแสดงสิ่งท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (3 ความเห็น) ดังตอไปนี้

Page 82: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-38

(1) การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (0 ความเห็น)

ไมมี

(2) การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (0 ความเห็น)

ไมมี

(3) การแสดงส่ิงท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (3 ความเห็น)

1.โครงการตั้งอยูในนิคมฯ จึงมีหนวยงานกํากับดูแล 2 ชั้น คือ กกพ. และ กนอ. สวน

มาตรการฯ ท่ีเก่ียวกับคณะกรรมการไตรภาคี ซ่ึงตอนนี้ยังไมมีการดําเนินงาน อยากใหคงอยูตลอดไปควบคูกับ

การดําเนินงานของโรงไฟฟา ไมใชแคตอนรับฟงความคิดเห็นเทานั้น

2.มาตรการฯ ตางๆ ท่ีกําหนดไวในรายงานฯ เปนสิ่งท่ีเหมาะสมแลว แตสิ่งท่ีสําคัญคือ การ

ติดตามตรวจสอบวาโครงการมีการปฏิบัติตามมาตรการฯ ท่ีกําหนดอยางเครงครัด ซ่ึงคณะกรรมการไตรภาคีท่ี

กําหนดไวมีความเหมาะสม แตตองมีการเปดเผยใหชุมชนรับทราบดวย

3.โรงไฟฟาสรางความเชื่อม่ันใหกับชุมชนไดอยางไร เพ่ือใหเกิดการยอมรับอยางแทจริง ตอง

สรางกระบวนการใหเกิดข้ึน

(4) การแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (0 ความเห็น)

ไมมี

(5) การใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (0 ความเห็น)

ไมมี

4.4.16 ประเด็นเกี่ยวกับทางเลือกโครงการ (2 ความเห็น)

ขอมูลท่ัวไปของผูแสดงความคิดเห็น เปนผูประกอบอาชีพรับราชการ/หนวยงานรัฐ (1 ราย) และ

เกษตรกรรม/ประมง (1 ราย) โดยเปนผูท่ีอาศัยอยูนอกรัศมี 5 กิโลเมตร ในเขตมาบตาพุดและบานฉางท้ังหมด (2

ราย) ประกอบดวย การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (1 ความเห็น) และการใหขอเสนอแนะ

เพ่ือนําไปพิจารณา (1 ความเห็น) ดังตอไปนี้

(1) การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (0 ความเห็น)

ไมมี

(2) การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (1 ความเห็น)

กังวลวาจะมีผลกระทบจากการใชเชื้อเพลิงถานหินลิกไนต เพราะเคยทราบมาวาการ Start

up จะใชบิทูมินัสอยางเดียวไมได ตองใชลิกไนตดวย ถาเปนไปไดไมควรใชลิกไนต

Page 83: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-39

(3) การแสดงส่ิงท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (0 ความเห็น)

ไมมี

(4) การแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (0 ความเห็น)

ไมมี

(5) การใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (1 ความเห็น)

การผลิตไฟฟาเปนสิ่งจําเปน แตตองการใหพิจารณาทางเลือกเชื้อเพลิงชนิดอ่ืนๆ ท่ีกอใหเกิด

มลพิษนอยกวาทดแทนถานหิน เชน โรงไฟฟากาซธรรมชาติ พลังงานแสงอาทิตยและพลังงานลม เปนตน

4.4.17 ประเด็นเกี่ยวกับกากของเสีย (2 ความเห็น)

ขอมูลท่ัวไปของผูแสดงความคิดเห็น เปนผูประกอบอาชีพรับราชการ/หนวยงานรัฐ (2 ราย) โดยเปน

ผูท่ีอาศัยอยูนอกรัศมี 5 กิโลเมตร ในเขตมาบตาพุดและบานฉาง (2 ราย) ประกอบดวย การแสดงสิ่งท่ีคาดหวัง

จากการมีโครงการ (2 ความเห็น) ดังตอไปนี้

(1) การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (0 ความเห็น)

ไมมี

(2) การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (0 ความเห็น)

ไมมี

(3) การแสดงส่ิงท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (2 ความเห็น)

1.ควรนําเถาจากโครงการไปใชประโยชน เชน การทําอิฐ

2.กอนนําเถามาใชงาน มีการตรวจสอบกอนวาไมมีสารอันตรายเจือปน เพ่ือปองกัน

ผลกระทบท่ีอาจเกิดข้ึนในอนาคตได

(4) การแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (0 ความเห็น)

ไมมี

(5) การใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (0 ความเห็น)

ไมมี

Page 84: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-40

4.4.18 ประเด็นเกี่ยวกับการคมนาคมขนสง (2 ความเห็น)

ขอมูลท่ัวไปของผูแสดงความคิดเห็น เปนผูประกอบอาชีพคาขาย/ธุรกิจสวนตัว (2 ราย) โดยเปนผูท่ี

อาศัยอยูในเขตรัศมี >3-5 กิโลเมตร จากท่ีตั้งโครงการ (1 ราย) และอยูนอกรัศมี 5 กิโลเมตร ในเขตมาบตาพุดและ

บานฉาง (1 ราย) ประกอบดวย การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (1 ความเห็น) และการแสดงขอหวงกังวล/

ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (1 ความเห็น) ดังตอไปนี้

(1) การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (1 ความเห็น)

ถนนสายมาบขา-ปลวกแดง และหวยโปง-หนองบอน มีสภาพท่ีชํารุดทรุดโทรมมาก เปน

อันตรายตอประชาชนท่ีใชเสนทางสัญจรไปมา ตองการใหหนวยงานท่ีเก่ียวของเขามาดูแลแกไขโดยดวน

(2) การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (0 ความเห็น)

ไมมี

(3) การแสดงส่ิงท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (0 ความเห็น)

ไมมี

(4) การแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (1 ความเห็น)

จากการตรวจสอบเอกสารประกอบการรับฟงความคิดเห็นครั้งนี้ พบวาขาดมาตรการฯ ท่ีจะ

แกไข ปญหาดานการคมนาคมขนสง ปริมาณจราจรบนทองถนนท่ีหนาแนนมาก ซ่ึงใหพิจารณาถึงรถท่ัวไปท่ี

สัญจรไมเฉพาะรถขนสงของโรงงานเทานั้น สงผลกระทบตอการใชถนนของประชาชนท่ีสัญจรไปมาและรับสง

บุตรหลานจากโรงเรียน ท้ังในดานความปลอดภัยและเสียเวลา (รถติด) ขอใหพิจารณากําหนดในมาตรการฯ

ดวย

(5) การใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (0 ความเห็น)

ไมมี

Page 85: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-41

4.4.19 ประเด็นเกี่ยวกับพ้ืนท่ีสีเขียว (2 ความเห็น)

ขอมูลท่ัวไปของผูแสดงความคิดเห็น เปนผูประกอบอาชีพรับราชการ/หนวยงานรัฐ (1 ราย) และ

คาขาย/ธุรกิจสวนตัว (1 ราย) โดยเปนผูท่ีอาศัยอยูในเขตรัศมี 3 กิโลเมตร จากท่ีตั้งโครงการ (1 ราย) และอยูนอก

รัศมี 5 กิโลเมตร ในเขตมาบตาพุดและบานฉาง (1 ราย) ประกอบดวย การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจน

ของขอมูล (1 ความเห็น) และการใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (1 ความเห็น) ดังตอไปนี้

(1) การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (0 ความเห็น)

ไมมี

(2) การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (1 ความเห็น)

พ้ืนท่ีสีเขียวของโครงการ ประมาณ 5% กําหนดใหปลูกอโศกอินเดีย 3 แถวรอบกองถานหิน

ตองการทราบพ้ืนท่ีสีเขียวท้ังหมดของโรงงานท้ังพ้ืนท่ีเดิมและโครงการใหมวาเปนไปตามท่ีกฎหมายกําหนด

หรือไม และมีการกําหนด Protection strip หรือไม (ผลจากการประกาศเขตควบคุมมลพิษ)

(3) การแสดงส่ิงท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (0 ความเห็น)

ไมมี

(4) การแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (0 ความเห็น)

ไมมี

(5) การใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (1 ความเห็น)

คณะกรรมการ 4 ฝาย มีการกําหนดแนวกันชนท่ีตองกวาง 2,000 เมตร แตโรงไฟฟาอยูใน

เขตนิคมอุตสาหกรรมและติดตอกับทะเล อาจทําตามท่ีกําหนดไมได จึงควรพิจารณาไปดําเนินการในพ้ืนท่ีอ่ืนๆ

แทน เชน การฟนฟูปาชายเลน หรือพ้ืนท่ีใกลเคียงชายฝงทะเลท่ีเสื่อมโทรม หรือการหาพ้ืนท่ีสาธารณะใน

ชุมชนมาปรับปรุงเปนพ้ืนท่ีสีเขียวทดแทน

4.4.20 ประเด็นเกี่ยวกับการปดโครงการ/หลังดําเนินงาน (1 ความเห็น)

ขอมูลท่ัวไปของผูแสดงความคิดเห็น เปนผูประกอบอาชีพรับราชการ/หนวยงานรัฐ อาศัยอยู อยูใน

พ้ืนท่ีอ่ืนๆ ของจังหวัดระยอง นอกเขตมาบตาพุด/บานฉาง เปนการแสดงสิ่งท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (1

ความเห็น) ดังตอไปนี้

(1) การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (0 ความเห็น)

ไมมี

Page 86: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-42

(2) การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (0 ความเห็น)

ไมมี

(3) การแสดงส่ิงท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (1 ความเห็น)

ขอใหวางแผนระยะยาวในชวงปดโครงการหรือกรณีท่ีโครงการหยุดดําเนินการ จะจัดการ

อยางไรกับพ้ืนท่ีโรงงาน เพ่ือไมใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชน

(4) การแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (0 ความเห็น)

ไมมี

(5) การใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (0 ความเห็น)

ไมมี

4.4.21 ประเด็นเกี่ยวกับมาตรการชดเชย (1 ความเห็น)

ขอมูลท่ัวไปของผูแสดงความคิดเห็น เปนผูประกอบอาชีพรับราชการ/หนวยงานรัฐ อาศัยอยูในพ้ืนท่ี

อ่ืนๆ ของจังหวัดระยอง นอกเขตมาบตาพุด/บานฉาง เปนการใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (1 ความเห็น)

ดังตอไปนี้

(1) การใหขอมูล/การสะทอนปญหา (0 ความเห็น)

ไมมี

(2) การแสดงความไมม่ันใจ/ความไมชัดเจนของขอมูล (0 ความเห็น)

ไมมี

(3) การแสดงส่ิงท่ีคาดหวังจากการมีโครงการ (0 ความเห็น)

ไมมี

(4) การแสดงขอหวงกังวล/ผลกระทบท่ีตองการใหดูแลเปนพิเศษ (0 ความเห็น)

ไมมี

Page 87: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-43

(5) การใหขอเสนอแนะเพ่ือนําไปพิจารณา (1 ความเห็น)

จากการเขาไปเยี่ยมชมท่ีโรงงาน พบวามีการดําเนินงานคอนขางดี อยางไรก็ตาม ในพ้ืนท่ีมี

โรงงานและโรงไฟฟาหลายแหงซ่ึงใชทรัพยากรธรรมชาติท่ีเปนของสวนรวมในปริมาณมากเพ่ือประโยชนในการ

ผลิต เชน การใชน้ําทะเลมาหลอเย็น ซ่ึงไมพบวามีผูประกอบการรายใดท่ีแสดงเจตนารมณ/ริเริ่มท่ีจะ

ดําเนินการในเรื่องการชดเชยหรือแกไขปญหาท่ีเกิดจากการใชทรัพยากรธรรมชาติดังกลาวท่ีเปนของสวนรวม

ดังนั้น ตองการเห็นการกําหนดนโยบายการจัดเก็บภาษีจากการใชทรัพยากรฯ ท่ีเปนรูปธรรม เชน มีการหักเงิน

คาธรรมเนียมตามสัดสวนการใชทรัพยากรฯ เขาสูกองทุนฯ เพ่ือเปนงบประมาณใหทองถ่ินนําไปใชในการ

อนุรักษและฟนฟูทรัพยากรฯ รวมท้ัง การพัฒนาท่ีเปนประโยชนตอสวนรวมตอไป โดยเฉพาะเทศบาลเมือง

มาบตาพุดซ่ึงขาดงบประมาณสําหรับพัฒนาทองถ่ิน เนื่องจากตองใชงบประมาณสวนใหญในการดูแลประชาชน

ปจจุบันมีประชากรท่ีตองดูแลมากกวาประชากรตามทะเบียนราษฎร (ประชากรแฝงไมมีงบประมาณจาก

สวนกลางจัดสรรมาให)

4.5 การแสดงความคิดเห็นของคณะกรรมการองคกรอิสระดานส่ิงแวดลอมและสุขภาพ (กอสส.)

คณะกรรมการองคกรอิสระดานสิ่งแวดลอมและสุขภาพ (กอสส.) ไดแสดงความคิดเห็นเปนลายลักษณ

อักษรโดยการยื่นเอกสารอยางเปนทางการตอคณะกรรมการฯ ดังแสดงใน ภาคผนวก 4-6 ท้ังนี้ สามารถสรุป

ความคิดเห็น ไดดัง ตารางท่ี 4.5-1 ดังนี้

ตารางท่ี 4.5-1

การแสดงความคิดเห็นของคณะกรรมการองคกรอิสระดานส่ิงแวดลอมและสุขภาพ (กอสส.)

ประเด็น รายละเอียด

1.ทรัพยากรชีวภาพ

และระบบนิเวศ

1.1 ควรมีมาตรการในการควบคมุอุณหภูมิบรเิวณจดุระบายนํ้าท้ิงจากคลองระบายนํ้า 500 เมตร

ไมใหเกิน 33.5 องศาเซลเซยีส /นํ้าทะเลมีอุณหภูมิสูงข้ึน

1.2 ขาดการวิเคราะหเรื่องไขและตัวออน/ควรประเมินความสญูเสียทางเศรษฐกิจประมง พรอมระบุ

วิธีการคํานวณและมีขอมูลเชิงวิชาการสนับสนุนท่ีชัดเจน จึงจะกําหนดมาตรการฟนฟูและ

ชดเชยท่ีชอบดวยเหตผุล

1.3 ความคลาดเคลื่อนในการจัดลําดบัอนุกรมวิธาน ทําใหรายงานขาดความนาเช่ือถือ

1.4 ควรเพ่ิมจดุเก็บตัวอยางในทะเล ท่ีระยะ 2, 5, 10 กิโลเมตรจากจุดปลอยนํ้าท้ิง เพ่ือให

ครอบคลมุบริเวณท่ีอาจไดรับผลกระทบจาก SO2/ CO2

1.5 ปริมาณ Residual chlorine ในนํ้าทะเล (โครงการมีการเลือกใชโซเดียมไฮเปอรคลอไรด เพ่ือ

ปองกันการอุดตันในนํ้าหลอเย็น)

1.6 ควรทําการประเมินโดยใชวิธีการวิเคราะหปริมาณผลผลติข้ันต่ํา (primary production) ซึ่งให

คาแนนอนกวาวิธีนับเซลล

1.7 โครงการไมไดทําการประเมินผลกระทบท่ีอาจเกิดข้ึนจากอุณหภูมินํ้าท่ีเพ่ิมข้ึนหรือคลอรีน

Page 88: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-44

ประเด็น รายละเอียด

ตกคางตอทรัพยากรปะการัง ซึ่งมีปะการังท่ีเกาะสะเก็ดเพชร หินโขงหิน พะยูนและหินแหลม

(โครงการมีขอมูลเฉพาะชุมชนปะการังท่ีเกาะสะเก็ดเพชร)

2.คุณภาพอากาศ 2.1 ควรมีหนวยตรวจวัดคณุภาพอากาศดานทิศเหนือท่ีไกลกวา 5 กิโลเมตร โดยเฉพาะในชวงเดือน

มกราคม-มิถุนายน และในทะเลชวงเดือนตุลาคม-มกราคม (อางอิงขอมูลจากผังลมในคาบ 20

ป (2524-2543)

2.2 การประเมินผลกระทบการฟุงกระจายของถานหินต่ํากวาความเปนจริง (ขอมูลในรายงาน:

ความเร็วจากคาเฉลี่ยในป 52 ท่ี 6 น็อต ขอมูลจากการตรวจวัดจริง: ความเร็วลมสูงสุดท่ี 30-61

น็อต)

2.3 ควรมีการตดิตามและเพ่ิมความถ่ีในการเฝาระวัง เชน สารไตรฮาโลมเีทน ฝุนขนาดเล็ก เปนตน

2.4 โครงการกอใหเกิดปญหามลพิษทางอากาศ

2.5 ขาดการประเมินผลกระทบท่ีเกิดจากฝุนละอองขนาด 2.5 ไมครอน ซึ่งเปนปจจัยใหเกิดความ

เสี่ยงมากกวาฝุนละอองขนาดใหญ

2.6 กรณี EP ไมสามารถทํางานไดจะมีแผนซอมบํารุงอยางไร เน่ืองจากโครงการมีเครื่อง EP เพียง

เครื่องเดียว

3.ทรัพยากรปาไมและ

สัตวปา

3.1 ขาดความนาเช่ือถือในรายงาน เน่ืองจากมีการระบุถึงเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤาใน แตไมให

ความสําคญัใดเลย

4.ลานกองถานหินและ

การขนถาย

4.1 มีการสรางกําแพงกันลงไมแลวเสร็จ ซึ่งแสดงถึงการขาดความมุงมั่นในการปองกันปญหาเน

สิ่งแวดลอมและสุขภาพ

4.2 โครงการกําหนดมาตรการใหมีการฉีดพรมนํ้ากองถานหินเพ่ือปองกันการฟุงกระจาย แตไมมีชุด

ตรวจวัดระบบอัตโนมัติในการตรวจสอบความช้ืน มีเพียงใชเจาหนาท่ีเดินตรวจซึ่งอาจเกิดเหตุ

สุดวิสยัข้ึนได

5.สุขภาพ 5.1 ควรประสานหนวยงานสาธารณสุขในพ้ืนท่ีและในสวนกลาง ในการจัดหาผูทรงคณุวุฒิดาน

สาธารณสุขมาทําการออกแบบการเฝาระวังทางสุขภาพ เพ่ือใหสามารถเก็บขอมูลตอเน่ือง โดย

มีการสรุปขอมลูเพ่ือการแปลผล ปละ 2 ครั้ง หรือทุกรอบ 6 เดือน

5.2 จัดทําฐานขอมลูทางสุขภาพเปนการเฉพาะสําหรับประชากรในพ้ืนท่ีเสี่ยง เพ่ิมเตมิจากฐานขอมลู

ปกติในระบบงานของกระทรวงสาธารณสุข

5.3 จัดทําแผนปฏิบัติการปองกันปญหาสุขภาพจากอุบัตเิหต ุและจากผลกระทบในระยะยาว รวมท้ัง

การเยียวยาแกไขปญหาในระยะยาว/จัดสรรงบประมาณเพ่ือการวิจยัระยะยาว

6.ความไมสมบูรณของ

รายงาน EHIA

6.1 ความผดิพลาดในการพิมพและการรายงาน

6.2 ขาดรายละเอียดท่ีแสดงในรายงาน

(1) รายละเอียดอุณหภูมิ ความดัน และสารเคมีในระบบหลอเย็น

(2) ไมระบุรายละเอียดของสารเคมีในกระบวนการผลติวาใชเพ่ืออะไร

Page 89: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-45

ประเด็น รายละเอียด

(3) รายละเอียดฟสิกส เคมีของนํ้าทะเล

(4) การจัดสรรนํ้าควรมีเอกสารอางอิงการรองรับหนาท่ีของอางเก็บนํ้าดอกกราย

(5) ควรกลาวถึงปญหา factor of 2 ของ Air model

(6) ไมมรีายละเอียด radioactive ในตารางท่ี 5.2.5-4

(7) ไมมีการวิเคราะหผลกระทบและการประเมินความเสีย่งจากอุบัติเหต ุการปนเปอนของสารพิษ ตอ

กลุมประมง และการกัดเซาะชายฝงและการทองเท่ียว ซึ่งมีผลมาจากการจราจรทางนํ้า

(8) ควรระวังในการนําเถาลอยและเถาหนักจากโครงการไปทําคอนกรีต เน่ืองจากมีสารพิษปนอยู

(9) ขอมูลไมเพียงพอตอการประเมินผลกระทบ เชน ลมประจําฤด ูกระแสนํ้า รวมถึงระบบนิเวศท่ี

ตอเน่ือง

(10) ขาดการประเมินผลกระทบจากการขุดลอกรองนํ้าสําหรับการขนสงถานหินทางเรือตอทรัพยากร

สัตวหนาดิน หรือทรัพยากรประมงอ่ืนๆ

7.กระบวนการมีสวน

รวมของประชาชน

กลุมเปาหมายท่ีทําการศึกษาไมครอบคลุมและไมตรงกับกลุมท่ีเปนผูไดรับผลกระทบอยางแทจริง

กลไกทางสังคมและการมสีวนรวมมีการใชอิทธิพลและการจัดตั้งในการใหขอมูลท่ีเปนชุดขอมลูจาก

การเตรยีมการมิใชความเห็นประกอบท่ีแทจริงจากชุมชน

โครงการไมไดเปดโอกาสใหชุมชนทองถ่ินเขามามีสวนรวมในการตรวจสอบและเฝาระวังมลพิษอยาง

เปนรูปธรรม

8.กองทุน กลุมประมงเปนผูไดรับผลกระทบจากโครงการ แตไมไดรับการจัดสรรเงินกองทุนฯ

ควรคํานึงถึงกองทุนฯ เพ่ือใชบรรเทา แกไข และเยยีวยา กรณีเกิดผลกระทบ

9.การปฏิบัติตาม

มาตรการปองกันและ

แกไขผลกระทบ

ควรมีการกํากับดูแลและตรวจสอบโดยพนักงานรัฐท่ีเก่ียวของ

4.6 การแสดงความคิดเห็นของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

บริษัท เก็คโค-วัน จํากัด ไดแสดงความคิดเห็นเปนลายลักษณอักษรโดยการยื่นเอกสารอยางเปน

ทางการตอคณะกรรมการฯ ดังแสดงใน ภาคผนวก 4-7 ท้ังนี้ สามารถสรุปความคิดเห็น ไดดัง ตารางท่ี 4.6-1

Page 90: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

4-46

ตารางท่ี 4.6-1

ประเด็นการแสดงความคิดเห็นจาก บริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

ประเด็นจาก กอสส. ชี้แจงเพ่ิมเติม/ขอมลูท่ีเกี่ยวของ ความเห็นเพ่ิมเติม

1. ความไมสมบูรณของรายงานการวิเคราะหผลกระทบดานสิ่งแวดลอมและสุขภาพ (EHIA)

1.1 การวิเคราะหผลกระทบทางดานทรัพยากรธรรมชาติ

ก. ควรมีการประเมินความเสี่ยงจากการระบาย

นํ้าหลอเย็นลงทะเล ในชวงทะเลสงบและนํ้า

ลงต่ํ าสุ ด ซึ่ ง เปนช วง วิกฤต ท่ีอาจจะมี

ผลกระทบกับสิ่งมีชีวิตชายฝงทะเล

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการท่ีไดรับความเห็นชอบจาก สผ. มีการประเมินผลกระทบ

เน่ืองจากการระบายนํ้าหลอเย็นท้ิงลงแหลงนํ้าทะเลโดยอางถึงเน้ือหาในบทท่ี 5 หัวขอ 5.2.5 หนา 5-46 ถึง 5-57

และรายละเอียดการศึกษาในภาคผนวก ฌ ซึ่งเปนศึกษาอุณภูมิของแหลงนํ้าทะเลท่ีเปลี่ยนแปลงไปเน่ืองจากการ

ระบายนํ้าหลอเย็นของโครงการโดยการใชแบบจําลองคณิตศาสตรเปนเครื่องมือ สําหรับการทํานายผลกระทบดวย

แบบจําลองคณิตศาสตรขางตนไดคํานึงถึงขอมูลกระแสนํ้าและขอมูล profile ของพ้ืนท่ีศึกษา รวมถึงศึกษา

ครอบคลุมกรณีระดับนํ้าต่ําสุดดวย นอกจากน้ี ไดศึกษาครอบคลุมผลกระทบในภาพรวมท่ีเกิดข้ึนเน่ืองจากโครงการ

อ่ืนรวมดวย กลาวคือเปนการศึกษาผลกระทบเน่ืองจากโครงการท่ีมีการระบายนํ้าท้ิงจากการหลอเย็น 42 m3/s

รวมถึงการระบายนํ้าท้ิงจากการหลอเย็นของโรงไฟฟาเดิมท่ีเปดดําเนินการแลวในปจจุบัน (บริษัท โกลว เอสพีพี 3

จํากัด) 30 m3/s และรวมถึงการระบายนํ้าท้ิงจากการหลอเย็นจากโรงไฟฟาของบริษัท โกลว พลังงาน จํากัด

(มหาชน) ท่ีตั้งอยูในพ้ืนท่ีของโรงไฟฟาเดิมเชนกันอีก 10 m3/s ท้ังน้ีผลการศึกษาดวยแบบจําลองคณิตศาสตรพบวา

การระบายนํ้าหลอเย็นท้ิงลงแหลงนํ้าทะเลของโครงการและโครงการอ่ืนๆ ท่ีอยูพ้ืนท่ีเดียวกันมีผลกระทบทําให

แหลงรับนํ้าท้ิงจากการหลอเย็นบริเวณหางจากจุดระบายท้ิง 1,000 เมตรดานทิศใตมีอุณหภูมิเพ่ิมข้ึนสูงสุด

1.1+0.32 องศาเซลเซียส ในขณะท่ีบริเวณหางจากจุดระบายท้ิง 1,000 เมตร ดานทิศตะวันตกเฉียงใตมีอุณหภูมิ

เพ่ิมข้ึนสูงสุด 0.63+0.17 องศาเซลเซียส ซึ่งสอดคลองตามมาตรฐานของแหลงนํ้าทะเล (มาตรฐานคุณภาพนํ้าทะเล

ระบุวาตองทําใหอุณหภูมิของนํ้าทะเลเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมหรือธรรมชาติไมเกิน 2 องศาเซลเซียส) นอกจากน้ี

เมื่อพิจารณาผลการตรวจวัดอุณหภูมินํ้าของแหลงนํ้าทะเลบริเวณพ้ืนท่ีศึกษาในรอบ 3 ปท่ีผานมา (อางถึงตารางท่ี

3.2.6-1 หนา 3-34 ในรายงานฯ) ซึ่งปจจุบันแหลงนํ้าทะเลดังกลาวรองรับนํ้าท้ิงจากการหลอเย็นจากโรงไฟฟาเดิม

Page 91: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

4-47

ประเด็นจาก กอสส. ชี้แจงเพ่ิมเติม/ขอมลูท่ีเกี่ยวของ ความเห็นเพ่ิมเติม

(บริษัท โกลว เอสพีพี 3 จํากัด) ประมาณ 30 m3/s พบวาอุณหภูมิของแหลงนํ้าทะเลบริเวณดังกลาวในแตละปไมมี

ความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ หรือไมเกิดผลกระทบเน่ืองจากการสะสมของอุณหภูมิของบริเวณดังกลาว

สําหรับผลการศึกษาตามขอมูลขางตนแสดงใหเห็นวาการดําเนินโครงการสงผลกระทบตอแหลงนํ้าทะเลในขอบเขต

จํากัดโดยไมเกินรัศมี 1,000 เมตร จากจุดระบายท้ิงจากการหลอเย็น ท้ังน้ีโครงการไดมาตรการปองกันและแกไข

ผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการตรวจติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการ (อางอิงตาม

รายงานวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการ) มีรายละเอียดดังน้ี

- ควบคุมปริมาณการสูบนํ้าทะเลเพ่ือใชในระบบหลอเย็นของโครงการใหเหมาะสม โดยปริมาณสูงสุดท่ี

ใชไมเกิน 42 ลูกบาศกเมตร/วินาที

- ควบคุมผลตางของอุณหภูมินํ้าหลอเย็นกอนและหลังผานคอนเดนเซอรและ SW-FGD ของโครงการ

ใหสูงข้ึนไมเกิน 6 องศาเซลเซียส โดยดําเนินการดังน้ี

* ติดตั้งเครื่องตรวจวัดอุณหภูมิของนํ้าหลอเย็นแบบตอเน่ืองบริเวณจุดสูบนํ้าและหลังผาน

คอนเดนเซอรและ SW-FGD ของโครงการ คาท่ีตรวจวัดไดและผลตางของคาดังกลาวจะแสดงท่ีหองควบคุม

สวนกลาง

* พนักงานปฏิบัติการท่ีอยูในหองควบคุมจะควบคุมปริมาณนํ้าหลอเย็นท่ีใชใหสัมพันธกับผลตาง

อุณหภูมินํ้าหลอเย็นกอนและหลังผานคอนเดนเซอรและ SW-FGD รวมท้ังกําลังการผลิต ท้ังน้ี หากผลตาง

อุณหภูมินํ้าท่ีผานระบบหลอเย็นมีแนวโนมท่ีจะสูงข้ึนเกิน 6 องศาเซลเซียส โครงการจะเพ่ิมปริมาณนํ้าหลอเย็น

ท่ีใช (แตไมเกิน 42 ลูกบาศกเมตร/วินาที) และจะปรับแผนการผลิตหากปริมาณนํ้าท่ีใชถึงจุดสูงสุดแลว - ควบคุมความเขมขนคลอรีนในนํ้าท้ิงของโครงการไมใหเกิน 0.1 มิลลิกรัม/ลิตร โดยดําเนินการดังน้ี

* ติดตั้งเครื่องตรวจวัดความเขมขนของคลอรีนแบบตอเน่ืองเพ่ือตรวจวัดนํ้าทะเลท่ีผานการหลอ

เย็นของโครงการ ท้ังน้ีคาท่ีตรวจวัดสามารถแสดงผลไดท่ีหองควบคุมสวนกลาง

* พนักงานปฏิบัติการท่ีอยูในหองควบคุมจะควบคุมอัตราการเติมโซเดียมไฮโปคลอไรตอยาง

Page 92: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

4-48

ประเด็นจาก กอสส. ชี้แจงเพ่ิมเติม/ขอมลูท่ีเกี่ยวของ ความเห็นเพ่ิมเติม

เหมาะสมตามคาตรวจวัดท่ีแสดง โดยตองมีความเขมขนเพียงพอในการควบคุมจุลชีพ ท้ังน้ีหากพบวานํ้าท้ิงจากการหลอ

เย็นมีแนวโนมท่ีความเขมขนคลอรีนจะเพ่ิมสูงกวา 0.1 มิลลิกรัม/ลิตร จะทําการปรับวาลวควบคุมเพ่ือลดอัตราการ

เติมโซเดียมไฮโปคลอไรตลงเพ่ือใหความเขมขนอยูในคาท่ีกําหนด - ติดตั้ง bio boxes เพ่ือตรวจสอบการเกิด micro fouling ในระบบหลอเย็น ทําใหสามารถปรับลด

ปริมาณการใชคลอรีนใหเหมาะสมตามฤดูกาล โดยไมกอใหเกิดความเสียหายกับอุปกรณ

- ตรวจวัดคุณภาพนํ้าท้ิงจากการหลอเย็น (กอนระบายท้ิงลงแหลงนํ้าทะเล) โดยตรวจวัดอุณหภูมิ พี

เอช (pH) ความเค็ม การนําไฟฟา ของแข็งละลายท้ังหมด (ทีดีเอส) ความขุน และออกซิเจนละลาย

(DO) ดวยความถ่ีสัปดาหละ 1 ครั้ง รวมถึงตรวจวัดบีโอดี (BOD) และของแข็งแขวนลอย (SS) เดือน

ละ 1 ครั้ง และตรวจวัดปโตรเลียมไฮโดรคารบอน โลหะหนัก (สารหนู แคดเมียม ปรอท และตะก่ัว)

ซัลเฟตและซลัไฟต ปละ 3 ครั้ง

- ตรวจวัดคุณภาพนํ้าทะเล (บริเวณแหลงรองรับนํ้าท้ิงของโครงการ) 7 จุด ไดแก ตําแหนงสูบนํ้า 1 จุด

ตําแหนงบริเวณมีการระบายนํ้าท้ิง 1 จุด ตําแหนงท่ีหางจากจุดระบายนํ้าท้ิง 500 เมตร 3 จุด และ

ตําแหนงท่ีหางจุดระบายท้ิง 1,000 เมตร 2 จุด โดยตรวจวัดอุณหภูมิ พีเอช ความเค็ม การนําไฟฟา

ของแข็งละลายท้ังหมด (ทีดีเอส) ความขุน ออกซิเจนละลาย ความโปรงใส บีโอดี (BOD) ของแข็ง

แขวนลอย (SS) และคลอรีนคงเหลือเดือนละ 1 ครั้ง รวมถึงตรวจวัดปโตรเลียมไฮโดรคารบอน และ

โลหะหนัก (สารหนู แคดเมียม ปรอท และตะก่ัว) ปละ 3 ครั้ง

- ตรวจวัดการปนเปอนของโลหะหนักในตะกอนดินและเน้ือเยื่อสัตวนํ้าปละ 1 ครั้ง

- ตรวจวัดปริมาณ ชนิด ความหลากหลายและความชุกชุมของแพลงกตอนพืช แพลงกตอนสัตวและสัตว

หนาดิน บริเวณแหลงนํ้าทะเล 6 จุด (ตําแหนงสูบนํ้า 1 จุด ตําแหนงท่ีหางจากจุดระบายนํ้าท้ิง 500

เมตร 3 จุด และตําแหนงท่ีหางจุดระบายท้ิง 1,000 เมตร 2 จุด) ปละ 3 ครั้ง

- ตรวจวัดปริมาณ ชนิด ความหลากหลายและความชุกชุมของสัตวนํ้าวัยออน บริเวณแหลงนํ้าทะเล 2 จุด

(ตําแหนงสูบนํ้า 1 จุดและตําแหนงท่ีหางจุดระบายท้ิง 1,000 เมตร 1 จุด จุด) ปละ 3 ครั้ง

Page 93: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

4-49

ประเด็นจาก กอสส. ชี้แจงเพ่ิมเติม/ขอมลูท่ีเกี่ยวของ ความเห็นเพ่ิมเติม

ข. ควรมีการตรวจสอบขอมูลทรัพยากร

สิ่งมี ชีวิตในทะเล ท่ีใช เปนขอมูลในการ

ประเมินความเสียหายจากการสูบนํ้าทะเล

ไปใชในโครงการ

รายงานการวิเคราะหผลกระทบจากโครงการมีการรวบรวมขอมูลทรัพยากรสิ่งมีชีวิตในทะเลในชวงป 2550-2552

เพ่ือใชเปนขอมูลพ้ืนฐานกอนเปดดําเนินการโครงการและใชเปนขอมูลสําหรับในทํานายผลกระทบจาก (อางถึง

หัวขอ 3.3.2 หนา 3-48 ถึง 3-61) รวมถึงมีการประเมินผลกระทบท่ีอาจเกิดข้ึนจากการสูบนํ้าทะเลในใชในโครงการ

(อางถึงหัวขอ 5.33 หนา 5-61 ถึง 5-69) ท้ังน้ีโครงการไดกําหนดในมาตรการใหมีการประเมินผลการดําเนินการ

ตามมาตรการฟนฟู/ทดแทนทรัพยากรชีวภาพทางทะเลโดยหนวยงานดานวิชาการ พรอมท้ังใหมีการเก็บรวบรวม

ขอมูล สถิติและความอุดมสมบูรณของสัตวนํ้า เพ่ือจะไดนํามาปรับปรุงแผนงานใหเหมาะสม

สําหรับมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการตรวจติดตามตรวจสอบผลกระทบ

สิ่งแวดลอมของโครงการอางอิงตามรายงานวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการ มีรายละเอียดดังน้ี

- กําหนดขนาดของตะแกรง (traveling screen) บริเวณจุดสูบใหมีขนาดไมเกิน 1 ตารางเซนติเมตร

- ควบคุมความเร็วของนํ้าทะเลบริเวณปากทางเขาอุโมงคนํ้าไมใหเกิน 0.3 เมตร/วินาที ซึ่งเปน

ความเร็วท่ีสัตวนํ้าสวนใหญสามารถวายหนีได

- อุโมงคนํานํ้าเขาเครื่องสูบนํ้าจะติดตั้งอยูท่ีระดับความลึกมากกวา 2.0 เมตรจากผิวนํ้า เพ่ือลดการ

สูญเสียแพลงกตอนท่ีอาศัยอยูอยางหนาแนนในระดับความลึกตั้งแต 30 ซม. ถึง 2 เมตรจากผิวนํ้า

- ประสานงานกับชุมชนและหนวยงานวิชาการท่ีเก่ียวของเพ่ือกําหนดแนวทางท่ีเหมาะสมในการ

สนับสนุนพันธุสัตวนํ้าเพ่ือปลอยทดแทนในทะเล เชน ชนิดพันธุสัตวนํ้า พ้ืนท่ีปลอยพันธุสัตวนํ้า โดย

ในเบ้ืองตน โครงการจะปลอยพันธุสัตวนํ้าจํานวน 1 ลานตัว/ป ในชวงปท่ี 1-3 ของการดําเนิน

โครงการ

- ติดตามตรวจสอบผลในการดําเนินการปลอยพันธุสัตวนํ้าเพ่ือทดแทนลงทะเล โดยการสัมภาษณ

ชาวประมงในทองถ่ินเก่ียวกับปริมาณผลผลิตและรายไดจากการประมง หรือวิธีอ่ืนๆ รวมกัน เพ่ือนํา

ขอมูลเบ้ืองตนมาวิเคราะหกอนปรับปรุงแผนการดําเนินการปลอยพันธุสัตวนํ้าใหเหมาะสมเพ่ือ

ดําเนินการในอนาคต และมีการปรับปรุงแผนดังกลาวทุกๆ 2-3 ป

- วิเคราะหผลจากตารางติดตามปริมาณสัตวนํ้าวัยออนบริเวณจุดสูบนํ้าทะเล เพ่ือประเมินปริมาณการ

ปลอยพันธุสัตวนํ้าทดแทนท่ีเหมาะสม

- สนับสนุนชาวประมงพ้ืนบานเพ่ือจัดตั้งธนาคารปูมา เพ่ือใหสามารถนําปูไขแกมาปลอยใหออกไขและ

เจริญเปนตัวออนปูเพ่ือเพ่ิมผลผลิตปูมาในธรรมชาติตอไป

Page 94: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

4-50

ประเด็นจาก กอสส. ชี้แจงเพ่ิมเติม/ขอมลูท่ีเกี่ยวของ ความเห็นเพ่ิมเติม

- สัมภาษณชาวประมงและชาวบานในทองถ่ินเก่ียวกับผลบวก ผลลบ อุปสรรค และความสําเร็จ

สําหรับโครงการการสนับสนุนธนาคารปูมา และการปลอยพันธุปลาทะเลเพ่ือนําไปปรับปรุงแนวทาง

ในการสงเสริมใหมีความเหมาะสมและมีประสิทธิผลมากข้ึน

- สัมภาษณชาวบานในรัศมี 5 กิโลเมตรโดยรอบโรงไฟฟา โดยเนนหมูบานท่ีทําการเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าและ

ประมงชายฝงเพ่ือทราบขอมูลเก่ียวกับ ผลผลิตจากการเพาะเลี้ยง บริเวณท่ีทําการเพาะเลี้ยง สถิติการ

ประมง บริเวณท่ีทําการประมง ฤดูกาล ปริมาณและชนิดสัตวนํ้าท่ีกอใหเกิดรายไดจากการทําประมง

ความอุดมสมบูรณของสัตวนํ้า และปญหาอุปสรรคในการทําประมงโดยเปรียบเทียบอดีตและปจจุบัน

- สนับสนุนการศึกษางานวิจัยในการเฝาระวังการปนเปอนโลหะหนักของสัตวนํ้าทะเล

- สนับสนุนและประสานงานกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ เชน กรมประมง กรมทรัพยากรทางทะเลและ

ชายฝง สถาบันวิจัยหรือสถานศึกษาท่ีเก่ียวของ เปนตน ในการฟนฟูหรืออนุรักษปะการังในพ้ืนท่ี

จังหวัดระยอง เชน สนับสนุนกิจกรรมการปลูกปะการัง หรือ การปลูกปะการังเทียม เปนตน โดย

พิจารณาใหเหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ี

ค. ควรมีการติดตั้งราวกันตกบริเวณจุดสูบนํ้า

ตะแกรงปองกันสัตวนํ้าขนาดใหญเขาท่ีจุด

สูบนํ้า รวมท้ังติดตั้งทุนเพ่ือบงบอกวาเปน

พ้ืนท่ีอันตราย

โครงการไดมีการติดตั้งตะแกรงขนาด 1 ตารางเซนติเมตรเพ่ือปองกันสัตวนํ้าขนาดใหญอยูแลว สวนราวกันตก

รวมถึงทุนเพ่ือบอกวาเปนพ้ืนท่ีอันตราย โครงการจะตองหารือกับ กนอ. ท่ีเปนเจาของพ้ืนท่ีวาสามารถทําไดหรือไม

เน่ืองจากเปนพ้ืนท่ีเขตทาเรือ

ง. ขอมูลลักษณะสมบัติของถานหินมีความ

คลาดเคลื่อนคอนขางมาก เชนปริมาณ

ปรอทในเถาถานหิน ซึ่งหากไมถูกตองจะ

สงผลใหระดับและชนิดของความเสื่ยงท่ีได

จากการวิเคราะหไมสอดคลองกับความเปน

จริง

เมื่อพิจารณาขอกําหนดเก่ียวกับปรอทหรือโลหะหนักอ่ืนๆ ในถานหินท่ีจะนํามาใชในโครงการ (ขอกําหนดระหวาง

โครงการกับผูจัดจําหนายถานหินใหกับโครงการ) พบวาไดกําหนดในรูปขององคประกอบปรอทในเถาถานหินท่ีรอย

ละ 0.2 และ 0.5 ข้ึนอยูกับแตละแหลงถานหินหรือผูจัดจําหนาย ในขณะท่ีขอกําหนดเก่ียวกับเถาในถานหินระบุวามี

เถาเปนองคประกอบในถานหินไมเกินรอยละ 8.0 ดังน้ัน เมื่อคํานวณในรูปของสัดสวนปรอทในถานหินพบวา

ขอกําหนดดังกลาวจะทําใหมีปรอทในถานหินท่ีรับจากผูจําหนายถานหินใหกับโครงการไดไมเกินรอยละ 0.04 ท้ังน้ี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมไดประเมินผลกระทบโดยสมมติใหถานหินท่ีนํามาใชในโครงการมี

Page 95: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

4-51

ประเด็นจาก กอสส. ชี้แจงเพ่ิมเติม/ขอมลูท่ีเกี่ยวของ ความเห็นเพ่ิมเติม

องคประกอบของปรอทในถานหินรอยละ 0.1 ดังน้ัน การศึกษาผลกระทบจากโลหะหนักเน่ืองจากการดําเนิน

โครงการจึงครอบคลุมถึงขอกําหนดดังกลาวแลว

จ. ควรมีการสอบทานและพิจารณาวิเคราะห

ผลกระทบจากการระบายนํ้าหลอเย็นลง

ทะเล ในชวงฤดูรอน และนํ้าลงต่ําสุด ซึ่ง

เปนชวงวิกฤตท่ีจะมีผลกระทบกับสิ่งมีชีวิต

ชายฝงทะเล รวมท้ังพิจารณาหาแนวทาง

ปองกันผลกระทบ

เชนเดียวกับขอ 1.1 ก.

ฉ. การใชโซเดียมไฮโปคลอไรดจะสงผลใหเกิด

ความเปลี่ยนแปลงลักษณะสมบัติทาง

กายภาพและเคมีของ นํ้าทะ เล ดั ง น้ัน

โครงการจะตองมี ความ ชัดเจนและมี

การศึกษาขอมูลในเชิงความหลากหลายทาง

ชีวภาพทางทะเลอยางละเอียด เพ่ือใชเปน

ขอมูลพ้ืนฐานในการวิเคราะหผลกระทบฯ

จากโครงการ

เชนเดียวกับขอ 1.1 ข.

ช. โครงการตองคํานึงถึงเรื่องกระแสนํ้าบริเวณ

ทาเรือและการแพรกระจายของมลพิษท่ี

ปนเปอนในทะเลและผลกระทบท่ีเกิดข้ึนกับ

การประมงในพ้ืนท่ีใกลเคียง

เชนเดียวกับขอ 1.1 ข.

Page 96: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

4-52

ประเด็นจาก กอสส. ชี้แจงเพ่ิมเติม/ขอมลูท่ีเกี่ยวของ ความเห็นเพ่ิมเติม

1.2 การวิเคราะหผลกระทบทางดานมลพิษทางอากาศ

ไมไดระบุเรื่องการจัดการเก่ียวกับกาซ

คารบอนไดออกไซด และ VOCs ท่ีระบาย

ออกจากปลองของโครงการ ควรมมีาตรการ

ลดหรือชดเชยดวย

การตรวจวัด PM-10 ในบางสถานีมีคาเกิน

มาตรฐาน ควรมีการพิจารณาและเพ่ิม

ความถ่ีในการตรวจวัดและเฝาระวังคา TSP

ในชุมชนดวย

การผลิตไฟฟาจากเช้ือเพลิงประเภท Fossil จะกอใหเกิดกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) ปจจุบันมีการพัฒนา

เทคโนโลยีในการลดและกําจัดกาซคารบอนไดออกไซดจากโรงไฟฟา แตยังคงมีขอจํากัดและตองไดรับการทดสอบ

อีกระยะเวลาหน่ึง ตัวอยางเชน การแยก CO2 ออกมาและฝงลงสูใตดิน อีกท้ังยังเปนเทคโนโลยีท่ีมีราคาสูง ตองการ

พ้ืนท่ีท่ีเหมาะสม และยังไมใชวิธีกําจัดอยางถาวร ซึ่งหากมีการพัฒนาเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมและไดรับการยอมรับ

บริษัทฯ ยินดีท่ีจะพิจารณาและปรับปรุงโรงไฟฟาใหเหมาะสมตอไปในอนาคต ท้ังน้ีท่ีผานมาโครงการเลือกใช

เทคโนโลยีการใชหมอไอนํ้าแบบ Super-Critical ทําใหประสิทธิภาพสูงข้ึนเมื่อเปรียบเทียบกับโรงไฟฟาแบบเดิม

ประมาณ 2-3% ทําใหการใชเช้ือเพลิงลดลงประมาณ 25,000 ตัน/ป และมีการปลอย CO2 ต่ํากวาเมื่อเทียบกับ

ปริมาณพลังงานไฟฟาท่ีผลิตไดเทากัน

โครงการไดกําหนดมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบโดยกําหนดใหมีการประเมินการระบายกาซเรือนกระจก

หรือ CO2 โดยอางอิงตามแนวทางการประเมินของ UNFCCC นอกจากน้ี บริษัทฯ มีแผนในการปลูกปาเพ่ิมข้ึนเพ่ือ

ชวยดูดซับกาซคารบอนไดออกไซด และทําแผนการปลูกปารวมกับหนวยงานภาครัฐและชุมชนท่ีสนใจตอไป

นอกจากน้ีบริษัทฯ ยังเห็นวาการลดกาซคารบอนไดออกไซดเปนสิ่งท่ีจําเปนและควรจัดเปนเปาหมายระดับชาติ

เพ่ือใหทุกภาคสวนมีจุดยืนและรวมมือประสานงานไปในทิศทางเดียวกัน เชน กรมควบคุมมลพิษควรออกมาตรฐาน

กําหนดการปลอย CO2 สําหรับอุตสาหกรรมประเภทตางๆ กระทรวงพลังงานควรกําหนดมาตรฐานการปลอย CO2

สําหรับโรงไฟฟาใหม เพ่ือใหการประมูลกอสรางโรงไฟฟาในอนาคตมีการเพ่ิมเติมระบบการจัดการ CO2 ท่ีเหมาะสม

และอยูบนพ้ืนฐานเดียวกัน

สําหรับการประเมินผลกระทบในแงของ VOCs ไดกลาวแลวในรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมของ

โครงการ (บทท่ี 5 หัวขอ 5.2.3 หนา 5-7 ถึง 5-35 และรายละเอียดในภาคผนวก ซ) ซึ่งไดนําเสนอผลการตรวจวัด

VOCs ท่ีระบายออกจากปลองของโครงการโรงไฟฟาพลังความรอนรวม 640 เมกะวัตต ของบริษัท โกลว เอสพีพี

Page 97: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

4-53

ประเด็นจาก กอสส. ชี้แจงเพ่ิมเติม/ขอมลูท่ีเกี่ยวของ ความเห็นเพ่ิมเติม

3 จํากัด ซึ่งถานหินบิทูมินัสแหลงเดียวกับโครงการ ซึ่งตรวจพบสารอินทรียต่ํามาก อยางไรก็ดี โครงการไดกําหนด

มาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบโดยกําหนดใหตรวจวัดคา VOCs จากปลองระบายของโครงการปละ 2 ครั้ง

เพ่ือใหมั่นใจวา VOCs จากปลองของโรงไฟฟาไมมีนัยสําคัญ

ช้ีแจงเพ่ิมเติมตามขอ 6.4 และ 6.5

การใชคาเฉลี่ยความเร็วลมท่ี 6 น็อต มา

ทํานายการฟุงกระจาย แทนความเร็วลม

สู งสุ ด ท่ี 30-61 นอต จะส งผลให การ

ประเมินมีความผิดพลาดได

ขอมูลความเร็วลมท่ีนํามาศึกษาและประเมินผลกระทบจากฝุนละอองท่ีอาจเกิดจากลานกองถานหินไดอางอิงขอมูล

ท่ีไดจากการตรวจวัดของสถานีตรวจวัดสัตหีบ (กรมอุตุนิยมวิทยา) ในรอบ 30 ป ท้ังน้ีขอมูลความเร็วสูงสุดจึง

หมายถึงความเร็วสูงสุดท่ีเกิดข้ึนเพียงบางครั้งและบางชวงในรอบ 30 ป ในขณะท่ีการศึกษาผลกระทบจากฝุน

ละอองจะอางอิงตามมาตรฐานคือฝุนละอองเฉลี่ย 24 ช่ัวโมง อีกท้ังผลกระทบจากฝุนละอองเปนแบบเรื้อรัง คณะผู

ศึกษาจึงตัดสินใจนําความเร็วลมเฉลี่ยมาใชในศึกษาและประเมินผลกระทบ ยกตัวอยางการศึกษาขอมูลความเร็ว

ลมท่ีมีการตรวจวัดโดยสถานีตรวจวัดอากาศสัตหีบ ป 2552 พบวามีความเร็วลมสูงสุด 47 น็อต และมีความเร็วลม

เฉลี่ยเทากับ 4.1 น็อต ในขณะท่ีคาความเร็วลมท่ี percentile 99 เทากับ 10 น็อต และคาความเร็วลมท่ี

percentile 80 ท่ี 6 น็อต

ท้ังน้ีโครงการไดใหความสําคัญและคํานึงถึงผลกระทบท่ีอาจเกิดข้ึนจากลานกองถานหิน จึงกําหนดมาตรการ

ปองกันตางๆ ดังน้ี

- ใชสายพานลําเลยีงถานหินแบบระบบปด และมหีัวฉีดพนนํ้าบรเิวณสายพานโปรยถานหินลงสูกองถาน

หิน

- บดอัดกองถานหินใหมีความหนาแนนเหมาะสม (ประมาณ 1.2 ตนั/ลูกบาศกเมตร)

- ติดตั้งหัวพนนํ้า (sprinkler) โดยรอบเพ่ือฉีดพนนํ้าใหท่ัวบริเวณกองถานหินเพ่ือเปนการปองกันการลุก

ไหมของถานหินและปองกันการฟุงกระจายของฝุนถานหิน

- ปลูกไมยืนตนชนิดท่ีไมผลดัใบบริเวณรอบลานกองถานหิน สาํหรบัตนไมท่ีปลูกตองเปนชนิดท่ีมีความสูง

เหมาะสมกับความสูงในการกองถานหิน

- ติดตั้งกําแพงกันลมบรเิวณทิศใตและทิศตะวันตกของพ้ืนท่ีลานกองถานหิน มีความสูงประมาณ 15

เมตร (สําหรับในทางปฏิบัติจริงในปจจุบันโครงการไดพิจารณาใหมีการติดตั้งกําแพงกันลมเพ่ิมเติม

Page 98: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

4-54

ประเด็นจาก กอสส. ชี้แจงเพ่ิมเติม/ขอมลูท่ีเกี่ยวของ ความเห็นเพ่ิมเติม

บริเวณทิศตะวันออกของกองลานกองถานหินดวย)

1.3 การวิเคราะหผลกระทบทางดานมลพิษน้ํา

ทําการตรวจสอบความสามารถของระบบ

การจัดการนํ้าเสียจากลานกองถานหิน วา

เพียงพอกับการบําบัดนํ้าฝนปนเปอนจาก

ลานกองถานหินหรือไม

การออกแบบขนาดบอพักนํ้าชะลานกองถานหินของโครงการอางอิงท่ีปริมาณนํ้าฝนสูงสุดในรอบ 30 ป โดยปกติจะ

ไมมีการระบายนํ้าชะออกสูภายนอกซึ่งจะนํานํ้าในบอกลับไปฉีดพรมท่ีลานกองถานหิน อยางไรก็ตาม โครงการได

เตรียมระบบบําบัดนํ้าเสียแบบเคมีขนาด 100 ลูกบาศกเมตรตอช่ัวโมง เพ่ือบําบัดนํ้าชะขางตนหากมีความ

จําเปนตองระบายออกสูภายนอก

เมื่อพิจารณาการคํานวณปริมาณนํ้าไหลนอง (run off) ท่ีเกิดจากลานกองถานหิน พบวาบอพักนํ้าชะของโครงการมี

ขนาดเพียงพอท่ีจะรองรับปริมาณนํ้าไหลนองสูงสุดท่ีเกิดข้ึน มีรายละเอียดดังน้ี

- อางอิงขอมูลนํ้าฝนในรอบ 30 ป ของสถานีตรวจวัดอากาศสัตหีบ (อางถึงขอมูลในรายงานการวิเคราะห

ผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการบทท่ี 3 หนา 3-11) พบวามีปริมาณสูงสุด 208.8 มิลลิเมตร/วัน

- ขนาดของลานกองถานหินประมาณ 58,000 ตารางเมตร

- กําหนดคาสัมประสิทธ์ิการเกิดปริมาณนํ้าไหลนองเทากับ 0.8

- ปริมาณนํ้าไหลนองท่ีเกิดข้ึนสูงสุด (58,000 x 208.8 x 0.8)/1,000 = 9,689 ล ูกบาศกเมตร

- มาตรการปองกันผลกระทบฯ จึงกําหนดใหจัดเตรียมบอพักนํ้าชะลานกองถานหินประมาณ 12,000

ล ูกบาศกเมตร แตปจจุบันมีการกอสรางบอพักนํ้าชะลานกองถานหินเปนบอคอนกรีตเสริมเหล็กมีความลึก 5.6

เมตร มีความกวาง 27 เมตร ยาว 130 เมตร ซึ่งมีปริมาตรท่ีสามารถรองรับนํ้าชะจากลานกองถานหินไดมากถึง

18,000 ล ูกบาศกเมตร

เมื่อพิจารณาการดําเนินงานของโครงการโรงไฟฟาพลังความรอนรวม 640 เมกะวัตต ของบริษัท โกลว เอสพีพี 3

จํากัด ท่ีมีหลักการออกแบบบอพักนํ้าชะไมแตกตางจากโครงการ พบวาจากการดําเนินงานผลิตมามากวา 10 ป ยัง

ไมเคยระบายนํ้าชะจากบอพักนํ้าชะออกจากภายนอก โครงการจึงมีความมั่นใจวาบอพักนํ้าชะของโครงการสามารถ

เก็บรวบรวมนํ้าชะจากลานกองถานหินไดอยางเพียงพอ

Page 99: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

4-55

ประเด็นจาก กอสส. ชี้แจงเพ่ิมเติม/ขอมลูท่ีเกี่ยวของ ความเห็นเพ่ิมเติม

การใชแบบจําลองทางคณิตศาสตรในการ

ประเมินการแพรกระจายของนํ้าท้ิง ควร

ประเมินท่ีสภาวะระดับนํ้าทะเลต่าํสุด ไมใช

ท่ีระดับนํ้าทะเลเฉลี่ย

ช้ีแจงแลวตามขอ 1.1 ก.

1.4 การวิเคราะหผลกระทบทางดานของเสียอันตราย

นอกจากบริษัท GENCO ท่ีรับกําจัดของเสีย

อันตรายของโครงการแลว มีท่ีอ่ืนอีกหรือไม

และมีวิธีการจัดการของเสียอันตรายใน

โครงการอยางไร

ปจจุบันทางโครงการและโครงการเดิมไดมีสัญญากับบริษัท เวสท แมเนจเมนท สยาม จํากัด นอกจากน้ีทาง

โครงการไดพิจารณาใชบริการกับ บริษัท อัคคีปราการ จํากัด เพ่ิมอีกทางเลือกหน่ึง ซึงบริษัทดังกลาวสามารถรับ

กําจัดขยะอันตรายดวยวิธีการเผา (“ศูนยบริหารจัดการวัสดุเหลือใชอุตสาหกรรม (เตาเผาขยะอุตสาหกรรม) บางปู

จังหวัดสมุทรปราการ” เดิมบริหารจัดการโดยกรมโรงงาน)

วิธีการจัดการของเสียอันตรายในโครงการ

Page 100: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

4-56

ประเด็นจาก กอสส. ชี้แจงเพ่ิมเติม/ขอมลูท่ีเกี่ยวของ ความเห็นเพ่ิมเติม

1.5 การวิเคราะหผลกระทบทางดานสุขภาพ

ก. ควรมีการประเมินความเสี่ยงดานสุขภาพให

ครอบคลมุ โดยเฉพาะ VOCs ควรจะให

ครอบคลมุท้ังชนิดและปรมิาณ

ช้ีแจงแลวตามขอ 1.2

Page 101: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

4-57

ประเด็นจาก กอสส. ชี้แจงเพ่ิมเติม/ขอมลูท่ีเกี่ยวของ ความเห็นเพ่ิมเติม

ข. ควรมีการประเมินและทํานายผลกระทบ

ตามความเสี่ยงตอสุขภาพของประชากร

เสี่ยง โดยเฉพาะผลกระทบของสารเคมตีอ

ระบบการเจรญิพันธุของประชากรกลุมเสี่ยง

การประเมินผลกระทบตอสุขภาพดําเนินการในภาพรวมของประชากรทุกกลุมอายุ โดยแบงกลุมประชากรเพ่ือทํา

การประเมินผลกระทบตอสุขภาพออกเปน 2 กลุม ไดแก กลุมคนงาน/พนักงาน และกลุมประชาชนท่ัวไป ซึ่งรวมถึง

กลุมเปราะบาง (เด็กอายุต่ํากวา 5 ป เด็กอายุต่ํากวา 5 ป สตรีมีครรภ ผูสูงอายุ ตั้งแต 60 ป ข้ึนไป ผูมีโรคประจําตัว

เชน โรคหัวใจ หอบหืด ผูพิการ

ในสวนของสารเคมีท่ีใชในโครงการ จากการทบทวนเอกสาร ไมมีสารเคมตีัวใดท่ีกอใหเกิดผลกระทบตอระบบเจริญ

พันธุของประชากรกลุมเสี่ยงจึงไมไดทําการประเมินผลกระทบในประเด็นดังกลาว

ค.

ง.

ควรมีการประเมินความเสี่ยงและทํานาย

อัตราการเพ่ิมข้ึนของผูปวยโรคตางๆ (โรค

ทางเดินหายใจ, โรคมะเร็ง)

ควรมีมาตรการปองกันไมใหมีการเจ็บปวย

เพ่ิมข้ึนและมีการสงเสริมสุขภาพมากกวา

การเพ่ิมระบบรองรับ

โรคทางเดินหายใจอันเน่ืองมาจากมลพิษหลัก เชน SO2, NOx และฝุน น้ัน ไมสามารถระบุหรือแยกความ

แตกตางของอาการจากโรคระบบทางเดินหายใจอ่ืนๆ ได อยางไรก็ดี ในรายงานการวิเคราะหผลกระทบของ

โครงการมีการทํานายผลกระทบของการเกิดโรคทางเดินหายใจจากมลพิษหลัก เชน ฝุนละอองขนาดเล็กกวา 10

ไมครอน ซัลเฟอรไดออกไซด ดวยวิธีการในเชิงปริมาณดวยคา Hazard Quotient (HQ) (อางถึงหัวขอ 6.8.2 หนา

6-28 ถึง 6-34) สรุปวาคาความเสี่ยง (HQ) ท่ีไดรับผลกระทบจากโครงการมีคานอยกวา 1 มาก กลาวคือมี

ผลกระทบตอสุขภาพในระดับต่ําหรืออยูในเกณฑท่ียอมรับได ดังน้ี

- คาความเสี่ยง (HQ) ท่ีไดรับผลกระทบฝุนละอองขนาดเล็กกวา 10 ไมครอนจากโครงการ พบวาบริเวณเขา

หวยมะหาดมีคาความเสี่ยงสูงสุด 0.0160 สวนท่ีชุมชนตางๆ มีคาความเสี่ยงอยูในชวง 0.002-0.004

- คาความเสี่ยง (HQ) ท่ีไดรับผลกระทบจากกาซซัลเฟอรไดออกไซดจากโครงการ พบวาบริเวณเขาหวย

มะหาดมีคาความเสี่ยงสูงสุด 0.02 สวนท่ีชุมชนตางๆ มีคาความเสี่ยงอยูในชวง 0.001-0.006

- คาความเสี่ยงท่ีไดรับผลกระทบจากกาซไนโตรเจนไดออกไซดจากโครงการ พบวาบริเวณเขาเนินกระปรอก

มีคาความเสี่ยงสูงสุด 0.0351 สวนท่ีชุมชนตางๆ มีคาความเสี่ยงอยูในชวง 0-0.004 การประเมินความ

เสี่ยงตอผลกระทบของการเกิดโรคทางเดินหายใจไดช้ีแจงแลวตามขอ 6.3

นอกจากน้ี มีการประเมินความเสี่ยงของการเกิดมะเร็งจากการไดรับโลหะหนักไวแลวดวย (อางถึงหัวขอ 2.6.8 หนา

6-35 ถึง 6-46) สรุปผลไดดังน้ี

- คาความเสี่ยงในรูป Cancer Risk ท่ีอาจไดรับผลกระทบจากสารหนูจากโครงการพบวาบริเวณเขาเนิน

Page 102: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

4-58

ประเด็นจาก กอสส. ชี้แจงเพ่ิมเติม/ขอมลูท่ีเกี่ยวของ ความเห็นเพ่ิมเติม

กระปรอกมีคาความเสี่ยงหรือ Cancer Risk สูงสุด 1 x 10-7 (นอยกวา 1 คนตอประชากร 1 ลานคน)

สวนท่ีชุมชนตางๆ มีคาความเสี่ยง 3 x 10-8 จึงกลาวไดวาไมมีความเสี่ยงตอการเกิดมะเร็ง

- คาความเสี่ยงในรูป Cancer Risk ท่ีอาจไดรับผลกระทบจากตะก่ัวจากโครงการ พบวาบริเวณเขาเนิน

กระปรอกมีคาความเสี่ยงหรือ Cancer Risk สูงสุด 4 x 10-9 (มีความเสี่ยงตอการเกิดมะเร็ง 4 คนใน

ประชากร 1,000 ลานคน) ซึ่งเปนคาท่ีถือวาไมมีความเสี่ยง (นอยกวา 1 คนตอประชากร 1 ลานคน) สวน

ท่ีชุมชนตางๆ มีคาความเสี่ยงอยูในชวง 1 x 10-10 – 9 x 10-10 จึงกลาวไดวาไมมีความเสี่ยงตอการเกิด

มะเร็งจากสารตะก่ัว

- คาความเสี่ยงในรูป Cancer Risk ท่ีอาจไดรับผลกระทบจากแคดเมียมจากโครงการ พบวาบริเวณเขาเนิน

กระปรอกมีคาความเสี่ยงหรือ Cancer Risk สูงสุด 3 x 10-7 (นอยกวา 1 คนตอประชากร 1 ลานคน) สวน

ท่ีชุมชนตางๆ มีคาความเสี่ยงอยูในชวง 1 x 10-8 – 5 x 10-8 จึงกลาวไดวาไมมีความเสี่ยงตอการเกิด

มะเร็งจากแคดเมียม

สําหรับรายละเอียดในการกําหนดมาตรการสงเสริมสุขภาพไดกลาวไวแลวในรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม

ของโครงการอางถึงหัวขอ 6.9.5 หนา 6-76 ถึง 6-88

จ. ใหมีการปรับปรุงความถ่ีและจุดท่ีทําการ

ตรวจวัดและเฝาระวังของ PM-10, VOCs

และโลหะหนัก

ช้ีแจงแลวตามขอ 6.4 และ 6.5 โดยทางโครงการจะนําไปพิจารณาและปรับปรุงใหเหมาะสมในระหวางชวง

ดําเนินการ

1.6 ขาดผลการวิเคราะหผลกระทบดานการกัด

เซาะชายฝงและการทองเท่ียว

เมื่อพิจารณาขอมูลแผนปฏิบัติการเพ่ือลดและขจัดมลพิษจังหวัดระยอง ป พ.ศ. 2553-2556 ระบุวาบริเวณชายหาด

นํ้ารินและชายหาดพยูนไดรับผลกระทบจากการถมทะเลของภาคอุตสาหกรรม ทําใหระบบนิเวศเปลี่ยนแปลง

ชายหาดไดรับผลกระทบจากนํ้าทะเลกัดเซาะชายฝง และแหลงทองเท่ียวไดรับความเสียหาย จึงกําหนดแผน

ดําเนินการโครงการอยางเรงดวนคือการกอสรางแนวกําแพงกันดินคอนกรีตเสริมเหล็กกันคลื่นท่ีบริเวณชายหาดนํ้า

รินและชายหาดพยูน โดยมีการใชงบประมาณในการดําเนินโครงการ 9.09 และ 17.36 ลานบาท

Page 103: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

4-59

ประเด็นจาก กอสส. ชี้แจงเพ่ิมเติม/ขอมลูท่ีเกี่ยวของ ความเห็นเพ่ิมเติม

โครงการตั้งอยูบนพ้ืนท่ีวางของโรงไฟฟาพลังความรอนรวม 640 เมกะวัตต ของบริษัท โกลว เอสพีพี 3 จํากัด (พ้ืนท่ี

โรงไฟฟาเดิม) ซึ่งพ้ืนท่ีดังกลาวเปนพ้ืนท่ีท่ีเกิดจากการถมทะเลของการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ซึ่งการ

ดําเนินโครงการน้ีไมมีผลทําใหมีการถมทะเลเพ่ิม

การสูบและระบายนํ้าทะเลเพ่ือนําไปใชในการหลอเย็นเพ่ิมข้ึนของโครงการ ทําใหมีการระบายนํ้าหลอเย็นใน

ภาพรวมท่ีระบายออกจากคลองระบายนํ้ายาว 500 เมตรของโรงไฟฟาเดิม ประมาณ 83 ลูกบาศกเมตร/วินาที เมื่อ

พิจารณาประเด็นการกัดเซาะชายฝงจากการตรวจวัดกระแสนํ้าพบวาปริมาณนํ้าจากการหลอเย็นท่ีระบายออกสู

ทะเลตอมวลนํ้าทะเลในบรเิวณจุดระบายซึ่งมปีริมาณมาก จึงมีผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงความเรว็นํ้าตอการ

กัดเซาะชายฝงในระดับต่ํา

2. ปญหาเร่ืองทรัพยากรธรรมชาติ

โครงการควรมีมาตรการฟนฟูทรัพยากรทาง

ทะเล เชน การสนับสนุนการสรางปะการัง

เทียมและปลูกปาชายเลน

ช้ีแจงแลวตามขอ 1.1 ก. และ 1.1 ข.

3. ปญหาเร่ืองมลพิษและระบบควบคุมและบําบัดมลพิษ

3.1 ควรมีการคาํนวณขนาดบอเก็บกักนํ้าชะกอง

ถานหินและระบบบําบัดนํ้าเสีย

ช้ีแจงแลวตามขอ 1.3

3.2 ควรมีการประเมินผลกระทบจากการ

เปลี่ยนแปลง Buffering system ของนํ้า

ทะเล และมีการเฝาระวังอยางรอบคอบ

ช้ีแจงแลวตามขอ 1.1 ก. และ 1.1 ข.

3.3 ควรเพ่ิมความถ่ีในการตรวจวัดคุณภาพนํ้า

ทะเลโดยเฉพาะอุณหภูมิ ความเปนกรด-

ดาง คาคลอรีนตกคาง รวมท้ังมีการตรวจวัด

ช้ีแจงแลวตามขอ 1.1 ก. และ 1.1 ข. นอกจากน้ี โครงการมีการตรวจวัดอุณหภูมิและคลอรีนคงเหลอืในนํ้าทะเลท่ี

จุดปลอยในระบบตอเน่ือง รวมท้ังมีการตรวจวัดปริมาณของแข็งแขวนลอยในทะเลทุกเดือน

Page 104: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

4-60

ประเด็นจาก กอสส. ชี้แจงเพ่ิมเติม/ขอมลูท่ีเกี่ยวของ ความเห็นเพ่ิมเติม

ปริมาณของแข็งแขวนลอยในทะเล

3.4 ควรเพ่ิมความถ่ีในการตรวจวัดโลหะหนักท่ี

สะสมในสิ่งแวดลอม

โครงการมีการตรวจวัดการปนเปอนของโลหะหนักในตะกอนดินและเน้ือเยื่อสัตวนํ้าปละ 1 ครั้ง ซึ่งมีความเหมาะสม

แลว

4. กระบวนการผลิต

4.1 โครงการมีการใชลานกองถานหินรวมกับ

โรงไฟฟาเดิม

โครงการยังกอสรางกําแพงกันลมไมแลว

เสร็จ

ลานกองถานหินของโรงไฟฟาท้ังสองแหงมีการแยกกันอยางเด็ดขาด มีเพียงสายพานลําเลียงถานหินบางสวนท่ีใช

รวมกัน

โครงการไดกอสรางกําแพงกันลมท้ังสองดานแลวเสร็จตามแผนในรายงานฯแลว อยางไรก็ดีโครงการกําลังพิจารณา

ท่ีจะติดตั้งกําแพงกันลมเพ่ิมเติมบริเวณลานกองถานหินในสวนท่ีอยูนอกเหนือจากแผนเดิมเพ่ือลดความเสี่ยงจาก

การฟุงกระจายของฝุนจากกองถานหิน

4.2 ควรมีการประเมินความเสี่ยงจากการฟุง

กระจายของเถาถานหินขณะทําการขนถาย

และอบรมใหความรูแกพนักงานขับรถและ

ผูปฏิบัติงานบริเวณดังกลาว รวมถึงการ

แกปญหาในการขนสงภายในนิคมฯท่ีมี

การจราจรคับคั่ง

โครงการมีข้ันตอนการปฏิบัติงานในการขนถายเถาถานหินเพ่ือลดการฟุงกระจายของเถาถานหินขณะทําการขนถาย

ตามเอกสารแนบ ซึ่งจะมีการพิจารณาปรับปรุงใหมีความเหมาะสมเปนระยะๆ

ในดานการคมนาคมขนสงภายในนิคมฯโครงการไดกําหนดใหมีมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

(อางอิงตามรายงานวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการ) เชน

• รวมมือกับนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดกวดขันใหพนักงานขับรถใชความระมัดระวังและปฏิบัติตามกฎ

จราจรอยางเครงครัดเพ่ือเปนการปองกันอุบัติเหตุท่ีอาจจะเกิดข้ึน

• หลีกเลี่ยงการขนสงสารเคมีในชวงช่ัวโมงเรงดวน

• ควบคุมนํ้าหนักรถบรรทุกสารเคมีหรือกากของเสียใหเปนไปตามมาตรฐานหรือกฎหมายเพ่ือปองกันความ

เสียหายของพ้ืนผิวจราจร

• จัดรถรับสงพนักงาน ใหเพียงพอเพ่ือลดปริมาณยานพาหนะในทองถนน ท้ังน้ีใหกําหนดจุดรับสงพนักงาน

โดยหลีกเลี่ยงบริเวณท่ีมีการจราจรติดขัด

• จัดใหมีขอมูลการจัดการในกรณีรถขนสงสารเคมีเกิดอุบัติเหตุ เชน เอกสารขอมูลความปลอดภัย แนว

Page 105: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

4-61

ประเด็นจาก กอสส. ชี้แจงเพ่ิมเติม/ขอมลูท่ีเกี่ยวของ ความเห็นเพ่ิมเติม

ทางการระงับเหตุฉุกเฉิน แนวทางการปฐมพยาบาล หรืออาจใชเอกสาร “คูมือปองกันอุบัติภัย” ท่ีกรม

โรงงานอุตสาหกรรมจัดทําข้ึนขอมูลเหลาน้ีตองเก็บแยกจากหีบหอบรรจุสินคาอันตราย

• รถบรรทุกสารเคมีจะตองมีปายแสดงความเสี่ยงภัยท่ีเกิดข้ึนท่ีตัวรถตามขอกําหนดท่ีเก่ียวของและผูขับรถ

ตองไดรับใบอนุญาตขับรถชนิดท่ี 4

4.3 ควรแสดงรายละเอียดการทํางานและ

ประสิทธิภาพของระบบเตาเผา การจัดการ

ในกรณีเครื่องดักฝุน ESP ชํารุด รวมถึง

ประเมินความเสี่ยงของระบบแอมโมเนีย

หมอไอนํ้าของโครงการเปนชนิด Wall Fixed one-through boiler ใชหัวเผาชนิด Low Nox Axial Swirl

Pulverized Coal Burners โดยมีหัวเผาท้ังหมด 30 หัว โดยท่ีอุณหภูมิภายในหองเผาไหมถูกควบคุมอยูท่ีประมาณ

1050 – 1100 8C นอกจากการใชหัวเผาแบบ Low NOx Burners แลว ยังกําหนดใหมีการเผาไหมแบบ Two-

stage combustion (Burner Levels and Over Fired Air Level) เพ่ือใหการเผาไหมเปนไปอยางสมบูรณและ

เกิด NOx ต่ํา (ประมาณ < 177 ppm) โดยท่ีประสิทธิภาพของหมอไอนํ้าสูงถึง 94%

ในกรณีท่ีระบบบําบัดมลพิษอยางใดอยางหน่ึง ไมวาจะเปน ESP, CSR หรือ SWFGD ชํารุด โครงการจะตองหยุด

เดินเครื่องโรงไฟฟาเพ่ือซอมแซมแกไขใหแลวเสร็จกอนเปดดําเนินการตอไป

ในสวนการประเมินความเสี่ยงของระบบแอมโมเนีย ไดมีการประเมินแลวตามเอกสารในภาคผนวก ฎ ของรายงาน

EHIA

5. มาตรการชดเชยทรัพยากรทางทะเล

5.1 ควรทําการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ

ในทะเลอยางรอบคอบ ถูกตอง แมนยําและ

ครอบคลุม โดยผูชํานาญการหรือสถาบันท่ีมี

ความเช่ียวชาญ เพ่ือใหการประเมินผลกระทบ

ฯและการวางแผนชดเชยทรัพยากรทางทะเล

มีความถูกตองและเปนธรรม

ช้ีแจงแลวตามขอ 1.1 ก. และ 1.1 ข.

6. ปญหาเร่ืองสุขภาพ

6.1 ตองมีความชัดเจนในสวนของอุปกรณ ในสวนของอุปกรณปองกันมลพิษสําหรับผูปฏิบัติงานน้ัน การใชอุปกรณปองกันชนิดใดจะข้ึนอยู กับลักษณะ

Page 106: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

4-62

ประเด็นจาก กอสส. ชี้แจงเพ่ิมเติม/ขอมลูท่ีเกี่ยวของ ความเห็นเพ่ิมเติม

ปองกันมลพิษสําหรบัผูปฏิบัติงานท่ีถูก

สุขลักษณะ

งานของผูปฏิบัติงาน ทางโครงการไดคํานึงถึงความปลอดภัยของพนักงานเปนสําคัญ โดยทางโครงการไดกําหนด

มาตรฐานการปฏิบัติงานเก่ียวกับอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (อางอิงตามเอกสารดานอาชีวอนามัย และความ

ปลอดภัยฉบับท่ี 013 เชน ในพ้ืนท่ีหนวยผลิตท่ีมีเสียงดังเกินกวา 85 เดซิเบลเอ ทางโครงการจะติดตั้งปายเตือนและ

ปายบังคับเพ่ือใหผูปฏิบัติงานท่ีเขาในพ้ืนท่ีดังกลาวตองใสอุปกรณครอบหู เพ่ือลดเสียงกับผูปฏิบัติงาน เปนตน

6.2 ใหระบุพารามิเตอรและมาตรการท่ีทําการ

ตรวจสุขภาพพนักงาน รวมท้ังมีการตรวจ

สุขภาพตามความเสี่ยงตามกฎหมาย

ตรวจสุขภาพกอนเขาทํางานในโครงการ

1. ตรวจสุขภาพท่ัวไป และตรวจสมรรถภาพปอด

ตรวจสุขภาพระหวางท่ีปฏิบัติงาน

1. ตรวจสุขภาพท่ัวไป และตรวจสมรรถภาพปอด

2. ตรวจสุขภาพตามปจจัยเสี่ยง

a. ตรวจสมรรถภาพการไดยิน สําหรับพนักงานท่ีทํางานในพ้ืนท่ีท่ีมีเสียงดังเกิน 85 dB(A)

b. ตรวจสมรรถภาพการมองเห็นและการทํางานของปอด สําหรับพนักงานท่ีทํางานเช่ือม

หรือทํางานกับความรอน

6.3 ขาดความชัดเจนของผลกระทบของ SO2,

NOx และฝุน ท่ีเปนสาเหตุของโรคทางเดิน

หายใจ

ช้ีแจงแลวตามหัวขอ 1.5 ค.

6.4 ควรมีการติดตามตรวจวัด VOCs ในพ้ืนท่ี

มาบตาพุดอยางตอเน่ือง

ถึงแม VOCs ไมใชมลพิษหลักของโครงการ แตโครงการไดกําหนดใหมีมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบ

สิ่งแวดลอมโดยกําหนดใหมีการตรวจวัด VOCs ท่ีระบายออกจากปลองระบายปละ 2 ครั้ง นอกจากน้ี ปจจุบันกรม

ควบคุมมลพิษมีการตรวจติดตาม VOCs ในพ้ืนท่ีมาบตาพุดอยางตอเน่ืองในพ้ืนท่ีมาบตาพุด โดยท่ีในรายงานการ

วิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการไดรวบรวมและนําเสนอผลการตรวจวัด VOCs ท่ีสถานีตางๆ ของกรม

ควบคุมมลพิษไวแลวในชวงป พ.ศ.2550-2552 (บทท่ี 3 หนา 3-28) เพ่ือเปนขอมูลพ้ืนฐานกอนเปดดําเนินโครงการ

6.5 ขาดความชัดเจนในการตดิตามตรวจสอบ

VOCs และ PM-10 ในพ้ืนท่ีมาบตาพุด รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการไดกําหนดมาตรการตรวจติดตามตรวจสอบผลกระทบตอ

คุณภาพอากาศในพ้ืนท่ีมาบตาพุดดังน้ี

- ตรวจวัดกาซออกไซดของไนโตรเจน (NOx), กาซซัลเฟอรไดออกไซด (SO2), ฝุนละอองรวม (TSP) ฝุนละอองท่ีมีขนาดไม

Page 107: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

4-63

ประเด็นจาก กอสส. ชี้แจงเพ่ิมเติม/ขอมลูท่ีเกี่ยวของ ความเห็นเพ่ิมเติม

เกิน 10 ไมครอน (PM-10) และสารอินทรียระเหยVOCs ท่ีระบายออกจากปลองระบายของโครงการปละ 2 ครั้ง

- ตรวจวัดกาซออกไซดของไนโตรเจน (NOx),กาซซัลเฟอรไดออกไซด (SO2), ฝุนละอองรวม (TSP) ท่ีระบายออกจาก

ปลองระบายดวยเครื่องวัดท่ีสามารถวัดไดอยางตอเน่ืองหรือระบบ CEMs ตรวจวัดกาซออกไซดของไนโตรเจน

(NOx) (1 ชม.), กาซซัลเฟอรไดออกไซด (SO2 ) (1 และ24 ชม.), ฝุนละอองรวม (TSP) (24 ชม.) และฝุนละอองท่ีมี

ขนาดไมเกิน 10 ไมครอน (PM-10) ในบรรยากาศจํานวน 6 สถานี ในพ้ืนท่ีมาบตาพุด ปละ 2 ครั้ง ครั้งละ 7 วัน

ตอเน่ืองกัน ท้ังน้ีการกําหนดสถานีตรวจวัดคุณภาพในบรรยากาศอางอิงจากบริเวณท่ีไดรับผลกระทบจากโครงการ

ซึ่งเปนผลจากการประเมินผลกระทบดวยแบบจําลองคณิตศาสตร (อางอิงขอมูลในรายงานฯ บทท่ี 5 หนา 5-24

ถึง 5-26)

- ติดตั้งสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศแบบตอเน่ือง (Ambient Air Quality Monitoring Station;

AAQMS) เพ่ิมเติมบริเวณชุมชนรอบพ้ืนท่ีโครงการจํานวน 1 สถานี เพ่ือใชเปนขอมูลสําหรับศูนยเฝาระวัง

คุณภาพสิ่งแวดลอมภายใตการดูแลของการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย โดยตําแหนงท่ี ติดตั้งให

พิจารณารวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ ไดแก กรมควบคุมมลพิษ และการนิคมฯ

นอกจากน้ี ปจจุบันการนิคมอุตสาหกรรม (กนอ.) และกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) ไดติดตั้งสถานีตรวจวัดคุณภาพ

อากาศในบรรยากาศแบบตอเน่ือง (Ambient Air Quality Monitoring Station; AAQMS) ครอบคลุมท่ัวบริเวณ

มาบตาพุดแลวสวนหน่ึง อีกท้ังปจจุบันกรมควบคุมมลพิษมีการตรวจวัดสารอินทรียระเหยVOCs บริเวณพ้ืนท่ีมาบตา

พุดอยางตอเน่ือง (เดือนละ 1 ครั้ง) โดยท่ีรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการไดรวบรวมและ

นําเสนอผลการตรวจวัด PM-10 และ VOCs ท่ีสถานีตางๆ ของกรมควบคุมมลพิษและการนิคมอุตสาหกรรมแหง

ประเทศไทยไวแลวในชวงป พ.ศ.2550-2552 (บทท่ี 3 หนา 3-19 และ3-28) เพ่ือเปนขอมูลพ้ืนฐานกอนเปดดําเนิน

โครงการ

7. การมีสวนรวมของชุมชนรอบโครงการและขางเคียง

7.1 การชดเชยโดยการเลี้ยงหอยแมลงภู

ธนาคารปูและการปลอยลูกปลา ไม

ช้ีแจงแลวตามขอ 1.1 ก. และ 1.1 ข. โดยโครงการจะใหมีการประเมินผลโดยหนวยงานวิชาการและอาจมีการ

ปรับปรุงมาตรการใหเหมาะสมตอไป

Page 108: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

4-64

ประเด็นจาก กอสส. ชี้แจงเพ่ิมเติม/ขอมลูท่ีเกี่ยวของ ความเห็นเพ่ิมเติม

ตอบสนองความตองการในพ้ืนท่ี

7.2 ควรทําเข่ือนปองกันแนวชายฝงเปนรูปตัว T

เพ่ือปองกันการกัดเซาะชายฝง

โครงการจะประสานงานกับหนวยงานท่ีเก่ียวของเพ่ือพิจารณาและกําหนดแนวทางท่ีเหมาะสมตอไป

7.3 ขาดมาตรการปองกันความเสื่อมโทรมของ

ทะเล การกัดเซาะชายหาด การทํา buffer

zone และการชะลอกระแสนํ้า

โครงการจะประสานงานกับหนวยงานท่ีเก่ียวของเพ่ือพิจารณาและกําหนดแนวทางท่ีเหมาะสมตอไป

7.4 โครงการควรทําการฟนฟู

ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลกอนเริ่มเปด

ดําเนินโครงการ

โครงการไดเริ่มดําเนินการตามมาตรการฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลแลว เชน

• การปลอยพันธุสัตวนํ้าในพ้ืนท่ี

• การสนับสนุนชาวประมงพ้ืนบานเพ่ือจัดตั้งธนาคารปูมา เพ่ือใหสามารถนําปูไขแกมาปลอยให

ออกไขและเจริญเปนตัวออนปูเพ่ือเพ่ิมผลผลิตปูมาในธรรมชาติตอไป

ซึ่งโครงการจะประสานงานกับชุมชนและหนวยงานวิชาการท่ีเก่ียวของเพ่ือกําหนดแนวทางท่ีเหมาะสมในการ

สนับสนุนพันธุสัตวนํ้า ฟนฟูและทดแทนทรัพยากรชีวภาพทางทะเลใหเปนไปอยางถูกตอง ตอเน่ือง และสอดคลอง

กับสภาพพ้ืนท่ีตอไป

7.5 ความคิดเห็นในการจัดการมสีวนรวมของ

โครงการฯ ควรครอบคลุมถึงผูท่ีไดรับ

ผลกระทบอยางแทจริง

รายละเอียดการจัดใหมีกิจกรรมการมีสวนรวมของประชาชนและผูมีสวนไดเสียในกระบวนการวิเคราะหผลกระทบ

สิ่งแวดลอมของโครงการแสดงไวในบทท่ี 4 ของรายงานการวิเคราะหกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการ ซึ่งกําหนด

ดําเนินตางๆ รวมถึงการกําหนดกลุมเปาหมายไดอางอิงตามแนวทางตางๆ ดังน้ี

(1) ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และ

แนวทางในการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมสําหรับโครงการหรือกิจการท่ีอาจ

กอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงท้ังทางดานสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ

(ประกาศวันท่ี 29 ธันวาคม พ.ศ. 2552)

(2) แนวทางการมีสวนรวมของประชาชนและการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมในการวิเคราะห

Page 109: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

4-65

ประเด็นจาก กอสส. ชี้แจงเพ่ิมเติม/ขอมลูท่ีเกี่ยวของ ความเห็นเพ่ิมเติม

ผลกระทบสิ่งแวดลอม โดยสํานักวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผน

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (พ.ศ. 2549)

(3) แนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบาย

และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ธันวาคม พ.ศ.

2552)

อน่ึง ในการจัดรับฟงความคิดเห็นของโครงการฯท่ีผานมาไดมีการเชิญกลุมผูมีสวนไดเสียเขารวมรับฟงความคิดเห็น

ผานชองทางการสื่อสารตางๆ ท้ังจดหมายเชิญ ประชาสัมพันธผานทางเว็บไซต สถานีวิทยุชุมชน จังหวัดระยอง

หนังสือพิมพทองถ่ินและปายประชาสัมพันธ เฉพาะการเชิญดวยจดหมาย มีดังน้ี 1. ชุมชนซึ่งอยูบริเวณใกลเคยีงโครงการซึ่งอาจไดรับผลกระทบ จํานวน 72 ชุมชน

2. หนวยงานท่ีรับผิดชอบจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ จํานวน 3 หนวยงาน

3. สํานักงานนโยบายและแผนทรพัยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สผ.)

4. หนวยงานราชการในระดับตางๆ และรัฐวิสาหกิจท่ีเก่ียวของ จํานวน 46 หนวยงาน

5. องคการเอกชนดานสิ่งแวดลอม องคกรพัฒนาเอกชน สถาบันการศึกษา และนักวิชาการอิสระ จํานวน 29

หนวยงาน

6. สื่อมวลชน จํานวน 40 แหง

7.6 ควรใหกลุมประมงไดเขารวมใน

คณะกรรมการกองทุนโรงไฟฟา

คณะกรรมการกองทุนโรงไฟฟาไดมีการคัดเลือกตามระเบียบของสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานโดย

มีผูแทนของแตละชุมชนรวมถึงกลุมประมงเขามามีสวนรวม

8. การชดเชยใหกลุมผูไดรับผลกระทบ

8.1 ใหมีการสรางปะการังเทียม มีการชดเชยใน

กรณีเกิดภัยพิบัติและสนับสนุนการจัดตั้ง

สหกรณเพ่ือกลุมประมง

โครงการมีแผนสนับสนุนการฟนฟู/ทดแทนทรัพยากรชีวภาพทางทะเลโดยกําหนดไวในมาตรการปองกันและแกไข

ผลกระทบสิ่งแวดลอม ของโครงการอางอิงตามรายงานวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการ เชน

• สนับสนุนชาวประมงพ้ืนบานเพ่ือจัดตั้งธนาคารปูมา เพ่ือใหสามารถนําปูไขแกมาปลอยใหออกไขและ

เจริญเปนตัวออนปูเพ่ือเพ่ิมผลผลิตปูมาในธรรมชาติตอไป

Page 110: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

4-66

ประเด็นจาก กอสส. ชี้แจงเพ่ิมเติม/ขอมลูท่ีเกี่ยวของ ความเห็นเพ่ิมเติม

• สัมภาษณชาวประมงและชาวบานในทองถ่ินเก่ียวกับผลบวก ผลลบ อุปสรรค และความสําเร็จสําหรับ

โครงการการสนับสนุนธนาคารปูมา และการปลอยพันธุปลาทะเลเพ่ือนําไปปรับปรุงแนวทางในการ

สงเสริมใหมีความเหมาะสมและมีประสิทธิผลมากข้ึน

• สัมภาษณชาวบานในรัศมี 5 กิโลเมตรโดยรอบโรงไฟฟา โดยเนนหมูบานท่ีทําการเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าและ

ประมงชายฝงเพ่ือทราบขอมูลเก่ียวกับ ผลผลิตจากการเพาะเลี้ยง บริเวณท่ีทําการเพาะเลี้ยง สถิติการประมง

บริเวณท่ีทําการประมง ฤดูกาล ปริมาณและชนิดสัตวนํ้าท่ีกอใหเกิดรายไดจากการทําประมง ความอุดม

สมบูรณของสัตวนํ้า และปญหาอุปสรรคในการทําประมงโดยเปรียบเทียบอดีตและปจจุบัน

• สนับสนุนและประสานงานกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ เชน กรมประมง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง

สถาบันวิจัยหรือสถานศึกษาท่ีเก่ียวของ เปนตน ในการฟนฟูหรืออนุรักษปะการังในพ้ืนท่ีจังหวัดระยอง

เชน สนับสนุนกิจกรรมการปลูกปะการัง หรือ การปลูกปะการังเทียม เปนตน โดยพิจารณาใหเหมาะสม

กับสภาพพ้ืนท่ี

9. ความไมเชื่อมั่นในการรายงานผลเกี่ยวกับคา

มลพิษโดยโครงการ

9.1 ควรหาคนกลางหรือหนวยงานท่ีเปนกลาง

มาควบคุมและตดิตามตรวจสอบการระบาย

มลพิษ

โครงการนําเสนอขอมูลอัตราการระบายมลพิษทางอากาศผานปายแสดงผลการตรวจวัดบริเวณดานหนาโรงไฟฟา

และทําการสงขอมูลไปยังศูนยเฝาระวังคุณภาพสิ่งแวดลอมภายใตการดูแลของการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศ

ไทย รวมถึงมีการ audit CEMs ตามหลักวิชาการโดยหนวยงาน third party

นอกจากน้ี มีการจัดตั้งคณะกรรมการไตรภาคีท้ังชุดกํากับและชุดตรวจสอบ โดยมีตัวแทนจากชุมชนเปนเสียงสวน

ใหญในคณะกรรมการท้ัง 2 ชุด จะมีการจัดประชุมไตรภาคีชุดกํากับทุกๆ 3 เดือนและชุดตรวจสอบทุกเดือน เพ่ือทํา

การช้ีแจงผลการดําเนินงานและการปฏิบัติตามมาตรการลดผลกระทบ อีกท้ังยังเปนการเปดรับฟงความคิดเห็น

เพ่ิมเติม เพ่ือใชในการปรับแผนการปฏิบัติงานตอไป รวมถึงการประชาสัมพันธการจัดการดานสิ่งแวดลอมผาน

ชองทางอ่ืนๆอีกหลายชองทาง อาทิ สื่อโฆษณา โครงการเปดบาน การประชุมกลุมยอย และช้ีแจงในพ้ืนท่ีชุมชน

เปนระยะๆ

Page 111: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-67

4.7 การประเมินผลกระบวนการรับฟงความคิดเห็น

คณะกรรมการฯ ไดมีการประเมินผลกระบวนการรับฟงความคิดเห็นโดยใชแบบประเมินผลภายหลัง

การประชุม และวิเคราะหขอมูล ดังรายละเอียดปรากฏใน ภาคผนวก 4-8 สรุปไดดังแสดงใน ตารางท่ี 4.7-1

ตารางท่ี 4.7-1

แบบประเมินผลหลังการประชุม

คําถาม จํานวน รอยละ

ตอนท่ี 1 ขอมลูผูตอบประเมิน

1.1 อายุ

- ต่ํากวา 18 ป 6 2.6

- 18-30 ป 34 14.5

- 31-40 ป 44 18.8

- 41-50 ป 54 23.1

- 51-60 ป 54 23.1

- 60 ปข้ึนไป 32 13.7

- ไมระบุ 10 4.3

รวม 234 100.0

อายุเฉลี่ย 44

อายุสูงสุด 77

อายุตํ่าสุด 10

1.2 อาชีพ

- ขาราชการ 34 14.5

- รัฐวิสาหกิจ 5 2.1

- ลูกจางหนวยงานของรัฐ 9 3.8

- คาขาย 25 10.7

- ประกอบธุรกิจสวนตัว 37 15.8

- พนักงานบริษัท 23 9.8

- รับจางท่ัวไป 39 16.7

- รับจางโรงงาน 2 0.9

- รับจางภาคเกษตร/รับจางประมง 1 0.4

- เกษตรกรรม 12 5.1

Page 112: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-68

คําถาม จํานวน รอยละ

- ประมง 2 0.9

- อ่ืนๆ เชน แมบาน นักเรียน นักศึกษา และคนชรา เปนตน 40 17.1

- ไมระบุ 5 2.1

รวม 234 100.0

1.3 ขอมูลท่ีอยูอาศัย/ท่ีทํางานของทาน

- ชุมชนหนองแฟบ, ชุมชนตากวน-อาวประดู 18 7.7

- ชุมชนมาบชลูด, ชุมชนวัดโสภณ, ชุมชนซอยรวมพัฒนา, ชุมชนหนองนํ้าเย็น, ชุมชน

เกาะกก-หนองแตงเม, ชุมชนกรอกยายชา, ชุมชนพยูน

30 12.8

- ชุมชนอ่ืนๆ (นอกเหนือจากชุมชนขางตน) แตอยูในเขตมาบตาพุดและบานฉาง 98 41.9

- ชุมชนอ่ืนๆ ในจังหวัดระยอง (นอกเขตมาบตาพุดและบานฉาง) 31 13.2

- ไมไดอยูในจังหวัดระยอง ไดแก 28 12.0

กรุงเทพฯ 17 7.3

ขอนแกน 1 0.4

ฉะเชิงเทรา 1 0.4

ชลบุรี 2 0.9

นนทบุรี 1 0.4

ปทุมธานี 1 0.4

ปราจีนบุร ี 3 1.3

สระแกว 1 0.4

ไมระบุจังหวัด 1 0.4

- ไมระบุ 29 12.4

รวม 234 100.0

ตอนท่ี 2 การรับการรับรูขาวสารเกี่ยวกับการรับฟงความคิดเห็นฯ คร้ังนี้

ทานรับทราบขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการประชุมคร้ังนี ้จากชองทางใด

- หนังสือพิมพไทยรัฐ 9 2.8

- หนังสือพิมพทองถ่ิน 9 2.8

- วิทยุทองถ่ิน 19 5.9

- หอกระจายขาวชุมชน 19 5.9

- เคเบิลทีวี 1 0.3

- ปายประกาศขางถนน ตามแยกตางๆ 19 5.9

Page 113: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-69

คําถาม จํานวน รอยละ

- ปายประกาศในชุมชน 40 12.3

- ประธาน/ผูนําชุมชน 141 43.5

- อ่ืนๆ เชน หนังสือเชิญจากหนวยงานราชการ อินเตอรเน็ต อีเมล และบริษัทฯ 67 20.7

รวม 324 100.0

ตอนท่ี 3 ระดับความรูความเขาใจในเร่ืองท่ีเกี่ยวของกับการรับฟงความคิดเห็นฯ

3.1 การรับฟงความคิดเห็นคร้ังนี้เปนไปตามกฎหมายตามมาตร 67 วรรค 2 และหลกัเกณฑตามประกาศกระทรวง

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 29 ธ.ค.2552

- ใช 201 85.9

- ไมใช 18 7.7

- ไมระบุ 15 6.4

รวม 234 100.0

3.2

การรับฟงความคิดเห็นในคร้ังนี้เปนการรับฟงคร้ังสุดทายประกอบการพิจารณาอนุมัติ

อนุญาต

- ใช 166 70.9

- ไมใช 50 21.4

- ไมระบุ 18 7.7

รวม 234 100.0

3.3 ความเห็นของทาน คณะกรรมการฯ จะรวบรวมและจัดทําสรุป เสนอตอคณะกรรมการกํากับกจิการพลังงาน (กกพ.)

พิจารณาอนุมัติ/อนุญาตตอไป

- ใช 189 80.8

- ไมใช 20 8.5

- ไมระบุ 25 10.7

รวม 234 100.0

3.4 คณะกรรมการไดมีการประชาสัมพันธเชิญชวนการเขารวมประชมุคร้ังนี้อยางกวางขวาง

- ใช 193 82.5

- ไมใช 24 10.3

- ไมระบุ 17 7.3

รวม 234 100.0

3.5 คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ มีความเปนกลางและดําเนินการโดยอิสระ

- ใช 185 79.1

- ไมใช 26 11.1

Page 114: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-70

คําถาม จํานวน รอยละ

- ไมระบุ 23 9.8

รวม 234 100.0

3.6 ขาพเจาเขาใจวัตถุประสงคของการประชุมรับฟงความคิดเห็นฯ คร้ังนี้ และไมไดแสดงความคิดเห็นในท่ีประชุม

- ใช 169 72.2

- ไมใช 48 20.5

- ไมระบุ 17 7.3

รวม 234 100.0

3.7 ขาพเจาทราบดีวา ยังสามารถแสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติมไดจนถึงวันท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๕๔ ท่ีสํานักงานคณะกรรมการ

กํากับกจิการพลังงาน (สกพ.) 1.ทางเวปไซต www.erc.or.th/EHIA 2.จดหมาย/ ไปรษณียบัตร 3.โทรศัพท 02-207-

3599 ตอ771, 772 4.โทรสาร 02-207-3599 ตอ 728 5. กลองรับฟงความคิดเห็น ณ สํานักงานเทศบาลเมืองมาบตา

พุด และสํานักงานเทศบาลบานฉาง

- ใช 191 81.6

- ไมใช 6 2.6

- ไมระบุ 37 15.8

รวม 234 100.0

ตอนท่ี 4 ระดับความพึงพอใจในการจัดกระบวนการรับฟงความคิดเห็นคร้ังนี้

4.1 มีการใหขอมูลกระบวนการรับฟงความคิดเห็นฯ ในคร้ังนี้แกประชาชนลวงหนาอยางเพียงพอ

- นอย 37 15.8

- ปานกลาง 142 60.7

- มาก 47 20.1

- ไมระบุ 8 3.4

รวม 234 100.0

คาเฉลี่ย (X) 2.0

สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (SD) 0.7

4.2 มีชองทางการลงทะเบียนลวงหนาท่ีสะดวก

- นอย 36 15.4

- ปานกลาง 99 42.3

- มาก 89 38.0

- ไมระบุ 10 4.3

รวม 234 100.0

Page 115: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-71

คําถาม จํานวน รอยละ

คาเฉลี่ย (X) 2.2

สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (SD) 0.8

4.3 มีกติกาและการจัดลําดับใหแสดงความเห็นในท่ีประชุมอยางเหมาะสมและยุติธรรม

- นอย 18 7.7

- ปานกลาง 116 49.6

- มาก 92 39.3

- ไมระบุ 8 3.4

รวม 234 100.0

คาเฉลี่ย (X) 2.3

สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (SD) 0.7

4.4 ความเปนกลางและความยืดหยุนในกระบวนการรับฟงความขอคิดเห็น

- นอย 21 9.0

- ปานกลาง 126 53.8

- มาก 76 32.5

- ไมระบุ 11 4.7

รวม 234 100.0

คาเฉลี่ย (X) 2.2

สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (SD) 0.8

4.5 เปดโอกาสใหทุกภาคสวนไดมีการแสดงความคิดเห็นอยางอิสระ

- นอย 21 9.0

- ปานกลาง 79 33.8

- มาก 128 54.7

- ไมระบุ 6 2.6

รวม 234 100.0

คาเฉลี่ย (X) 2.5

สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (SD) 0.8

4.6 กําหนดระยะเวลาแสดงขอคิดเห็นของแตละบุคคลอยางเหมาะสม

- นอย 22 9.4

- ปานกลาง 115 49.1

- มาก 87 37.2

Page 116: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-72

คําถาม จํานวน รอยละ

- ไมระบุ 10 4.3

รวม 234 100.0

คาเฉลี่ย (X) 2.3

สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (SD) 0.8

4.7 สิ่งท่ีไดรับจากกระบวนการรับฟงความคิดเห็นคร้ังนี้ จะเปนประโยชนตอการบริหารจัดการเพ่ือการคุมครองสิ่งแวดลอม

และคุณภาพชีวิตของประชาชนไดดีย่ิงขึ้น

- นอย 28 12.0

- ปานกลาง 103 44.0

- มาก 97 41.5

- ไมระบุ 6 2.6

รวม 234 100.0

คาเฉลี่ย (X) 2.3

สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (SD) 0.8

4.8 ความเชื่อมั่นในหนวยงานอนุมัติ/อนุญาต ท่ีจะนําขอมูลจากการรับฟงความคิดเห็นคร้ังนี้ไปพิจารณาอยาครบถวน

- นอย 31 13.2

- ปานกลาง 117 50.0

- มาก 76 32.5

- ไมระบุ 10 4.3

รวม 234 100.0

คาเฉลี่ย (X) 2.2

สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (SD) 0.8

4.9 สรุปโดยภาพรวม ทานมีความพึงพอใจกระบวนการรับฟงความคิดเห็นในคร้ังนี้เพียงใด

- นอย 19 8.1

- ปานกลาง 137 58.5

- มาก 67 28.6

- ไมระบุ 11 4.7

รวม 234 100.0

คาเฉลี่ย (X) 2.2

สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (SD)

0.7

Page 117: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-73

คําถาม จํานวน รอยละ

ตอนท่ี 5 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะ

ไมมีขอเสนอแนะและความคิดเห็น 188 80.3

มีขอเสนอแนะและความคิดเห็น 46 19.7

- ขาราชการ 9 3.8

- ลูกจางหนวยงานของรัฐ 4 1.7

- คาขาย 6 2.6

- ประกอบธุรกิจสวนตัว 6 2.6

- พนักงานบริษัท 7 3.0

- รับจางท่ัวไป 3 1.3

- รับจางโรงงาน 1 0.4

- เกษตรกรรม 2 0.9

- ประมง 1 0.4

- อ่ืนๆ เชน แมบาน นักเรียน นักศึกษา และคนชรา เปนตน 5 2.1

- ไมระบุ 2 0.9

รวม 234 100.0

การมีสวนรวมในการรับฟงความคิดเห็นครั้งนี้ มีผูแสดงความคิดเห็นผานแบบประเมินกระบวนการจัด

ประชุมท้ังหมดจํานวน 234 คน จากผูเขารวมประชุมท้ังหมด 398 คน หรือคิดเปนรอยละ 58.8 ของผูเขารวม

ประชุมฯ ท้ังหมด ผูแสดงความคิดเห็นผานแบบประเมินมีอายุเฉลี่ยอยูในชวง 44 ป สวนใหญมีอายุอยูในชวง

41-50 ป และ 51-60 ป คิดเปนรอยละ 23.1 เทากัน รองลงมามีอายุอยูในชวง 31-40 ป คิดเปนรอยละ 14.5

และอยูระหวาง 18-30 ป คิดเปนรอยละ 14.5 ท้ังนี้มีผูสูงอายุ (อายุ 60 ปข้ึนไป) รวมแสดงความคิดเห็นผาน

แบบประเมินรอยละ 13.7 อายุสูงสุดท่ีพบคือ 77 ป ท้ังนี้อายุนอยสุดท่ีรวมแสดงความคิดเห็นผานแบบประเมิน

คือ 10 ป ผูแสดงความคิดเห็นผานแบบประเมินสวนใหญประกอบอาชีพรับจางท่ัวไป คิดเปนรอยละ 16.7

รองลงมาประกอบธุรกิจสวนตัว คิดเปนรอยละ 15.8 ขาราชการ รอยละ 14.5 และอาชีพคาขายรอยละ 10.7

Page 118: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-74

ผูตอบแบบประเมินสวนใหญ (รอยละ 43.5) รับทราบขอมูลขาวสารเก่ียวกับการจัดประชุมรับฟงความ

คิดเห็นฯ ครั้งนี้ผานประธานชุมชน/ผูนําชุมชน รองลงมารับทราบจากปายประกาศในชุมชน คิดเปนรอยละ

12.3 สวนวิทยุทองถ่ิน หอกระจายขาวชุมชน และปายประกาศขางถนนตาง ๆ สามารถเขาถึงไดเทา ๆ กัน

เพียงรอยละ 5.9 สวนวิธีการอ่ืน ๆ เชน หนังสือเชิญจากหนวยงานราชการ อินเตอรเน็ต อีเมล และจากเอกสาร

บริษัท เปนตน สามารถทําใหเกิดการรับทราบขอมูลไดรอยละ 20.7

(1) การรับรูขอมูล

เม่ือพิจารณากลุมยอยของแตละแหลงการรับทราบขาวสารเก่ียวกับการรับฟงความคิดเห็นฯ

พบวา ความสัมพันธระหวางท่ีตั้งของท่ีอยูอาศัย/ท่ีทํางานกับแหลงการรับทราบขาวสารไมมีความแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 โดยสวนใหญรับทราบผานประธานชุมชน/ผูนํา จะเห็นวา กลุมท่ี 1

ไดแก ชุมชนหนองแฟบ ชุมชนตากวนอาวประดู สวนใหญรับทราบจากประธานชุมชน (รอยละ 6) สวนกลุมท่ี

2 ไดแก ชุมชนมาบชะลูด ชุมชนวัดโสภณ ชุมชนซอยรวมพัฒนา ชุมชนหนองน้ําเย็น ชุมชนเกาะกก-หนอง

แตงเม ชุมชนกรอกยายชา ชุมชนพยูน สวนใหญรับทราบจากประธานชุมชนเชนกัน (รอยละ 9) และกลุมท่ี 3

ไดแก ชุมชนอ่ืน ๆ ท่ีอยูในเขตมาบตาพุดและบานฉาง สวนใหญรับทราบจากประธานชุมชนมากท่ีสุดคิดเปน

รอยละ 29.9 นอกจากนี้ชุมชนอ่ืน ๆ ท่ีอยูในจังหวัดระยอง นอกเขตจังหวัดระยองและบานฉางรับทราบขอมูล

ผานประธานชุมชนรอยละ 7.3

(2) ระดับความรูความเขาใจในเรื่องท่ีเกี่ยวของกับการรับฟงความคิดเห็นฯ

ความรูความเขาใจในเรื่องท่ีเก่ียวของกับการรับฟงความคิดเห็นฯ พบวาสวนใหญมีความรู

ความเขาใจในกระบวนการไดถูกตอง โดยทราบวาการรับฟงความคิดเห็นครั้งนี้เปนไปตามกฎหมายตามมาตร

67 วรรค 2 และหลักเกณฑตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 29 ธ.ค.2552 คิดเปน

รอยละ 85.9 และเขาวาการรับฟงความคิดเห็นในครั้งนี้เปนการรับฟงครั้งสุดทายประกอบการพิจารณาอนุมัติ

อนุญาต คิดเปนรอยละ 70.9 นอกจากนี้ยังเขาใจไดถูกตองวาความเห็นของทาน คณะกรรมการฯ จะรวบรวม

และจัดทําสรุป เสนอตอ กกพ. พิจารณาอนุมัติ/อนุญาตตอไป คิดเปนรอยละ 80.8

สําหรับความคิดเห็นของผูตอบแบบประเมินตอคณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ครั้งนี้ มี

ความเห็นวา คณะกรรมการไดมีการประชาสัมพันธเชิญชวนการเขารวมประชุมครั้งนี้อยางกวางขวาง (รอยละ

82.5) ไมเห็นดวยมีเพียงรอยละ 10.3 ไมแสดงความคิดเห็นรอยละ 7.3 สวนความเห็นวา คณะกรรมการรับฟง

Page 119: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 4-75

ความคิดเห็นฯ มีความเปนกลางและดําเนินการโดยอิสระ (รอยละ 79.1) แตมีผูมีความเห็นตรงขามรอยละ

11.1 และไมแสดงความคิดเห็นรอยละ 9.8

ผูตอบแบบประเมินสวนใหญมีความเขาใจในวัตถุประสงคของการมารวมประชุมฯ ครั้งนี้แต

ไมไดรวมแสดงความคิดเห็นในท่ีประชุม คิดเปนรอยละ 72.2 สวนท่ีรวมแสดงความคิดเห็นในท่ีประชุมคิดเปน

รอยละ 20.5 ไมระบุรอยละ 7.3

นอกจากนี้ผูตอบแบบประเมินสวนใหญ (รอยละ 81.6) ทราบดีวายังสามารถแสดงความ

คิดเห็นเพ่ิมเติมไดจนถึงวันท่ี 4 ธันวาคม 2554 ท่ี สกพ. 1.ทางเวปไซต 2.จดหมาย/ไปรษณียบัตร 3.โทรศัพท

4.โทรสาร 5. กลองรับฟงความคิดเห็น ณ สํานักงานเทศบาลเมืองมาบตาพุดและสํานักงานเทศบาลบานฉาง

(3) ระดับความพึงพอใจในการจัดกระบวนการรับฟงความคิดเห็นครั้งนี้

ผูตอบแบบประเมินมีความพึงพอใจในระดับมากตอการเปดโอกาสใหทุกภาคสวนไดมีการ

แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ ท้ังนี้สวนใหญมีความคิดเห็นในระดับปานกลางตอการท่ีมีการใหขอมูล

กระบวนการรับฟงความคิดเห็นฯ ในครั้งนี้แกประชาชนลวงหนาอยางเพียงพอ (รอยละ 60.7) มีชองทางการ

ลงทะเบียนลวงหนาท่ีสะดวก (รอยละ 42.3) มีกติกาและการจัดลําดับใหแสดงความเห็นในท่ีประชุมอยาง

เหมาะสมและยุติธรรม (รอยละ 49.6) ความเปนกลางและความยืดหยุนในกระบวนการรับฟงความขอคิดเห็น

(รอยละ 53.8) กําหนดระยะเวลาแสดงขอคิดเห็นของแตละบุคคลอยางเหมาะสม (รอยละ 49.1) สิ่งท่ีไดรับจาก

กระบวนการรับฟงความคิดเห็นครั้งนี้ จะเปนประโยชนตอการบริหารจัดการเพ่ือการคุมครองสิ่งแวดลอมและ

คุณภาพชีวิตของประชาชนไดดียิ่งข้ึน (รอยละ 44.0) ความเชื่อม่ันในหนวยงานอนุมัติ/อนุญาต ท่ีจะนําขอมูล

จากการรับฟงความคิดเห็นครั้งนี้ไปพิจารณาอยาครบถวน (รอยละ 50.0)

สรุปโดยภาพรวม ผูตอบแบบประเมินมีความพึงพอใจกระบวนการรับฟงความคิดเห็นในครั้งนี้

ในระดับปานกลาง คิดเปนรอยละ 58.5 ระดับมากรอยละ 28.6 และพึงพอใจในระดับนอยรอยละ 8.1 สวนท่ี

ไมระบุรอยละ 4.7

-------------------------------------------------------------------

Page 120: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 5-1

บทที่ 5 บทสรุป

โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด ขนาดกําลังการผลิต

กระแสไฟฟารวม 700 เมกะวัตต ซ่ึงใชถานหินเปนเชื้อเพลิง เปนโครงการท่ีเขาขายวาอาจกอใหเกิด

ผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง ท้ังทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ไดมี

การศึกษาและจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพตามประกาศกระทรวง

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ลงวันท่ี 29 ธันวาคม 2552 และโครงการฯ ไดจัดสงรายงาน

ดังกลาวใหกับสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมพิจารณา โดย

คณะกรรมการผูชํานาญการ (คชก.) ผูพิจารณารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมฯ ของโครงการ

ไดมีมติเห็นชอบรายงานฯ ตามหนังสือ สผ. ท่ี ทส 1009.7/7596 ลงวันท่ี 22 สิงหาคม 2554 และ สผ. ได

จัดสงใหสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (สกพ.) เม่ือวันท่ี 8 กันยายน 2554 เพ่ือดําเนินการ

ตามประกาศ ทส.29 ธันวาคม 2552

กกพ. ไดมีคําสั่งท่ี 048/2554 ลงวันท่ี 13 กันยายน 2554 เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการรับฟง

ความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย สําหรับโครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน

จํากัด ในการนี้ คณะกรรมการฯ ไดมีการศึกษารายละเอียดเก่ียวกับโครงการ เพ่ือประกอบการรับฟงความ

คิดเห็น ดังรายละเอียดปรากฏใน บทท่ี 2 และดําเนินการจัดใหมีกระบวนการรับฟงความเห็นตามประกาศ

ขางตนแลว โดยคํานึงขอโตแยงของทุกฝายตลอดจนผลกระทบในดานตางๆ และดําเนินการดวยความ

โปรงใส ยืดหยุน สุจริต เปนธรรม และใหทุกภาคสวนไดเขามามีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นอยาง

กวางขวางและเปนอิสระ ดังรายละเอียดปรากฏใน บทท่ี 3 ท้ังนี้ จากการประมวลความคิดเห็นของ

ประชาชนและผูมีสวนไดสวนเสียท้ังหมดท่ีคณะกรรมการฯ ไดรับจากกระบวนการรับฟงความคิดเห็น

ของโครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด พบวามีการแสดงความคิดเห็นท่ี

หลากหลาย และไดบันทึกความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสียทุกความเห็นเปนลายลักษณ

อักษร ดังรายละเอียดปรากฏในบทท่ี 4 ซ่ึงสามารถสรุปประเด็นสําคัญท่ีไดจากการรับฟงความคิดเห็นฯ

ในดานความเหมาะสม ผลกระทบ ทางเลือก และขอเสนอแนะอ่ืน ๆ ไดโดยสรุปดังตอไปนี้

5.1 การประมวลผลการรับฟงความคิดเห็นฯ

คณะกรรมการฯ ไดประมวลผลความคิดเห็นท่ีไดรับจากทุกภาคสวนในกระบวนการรับฟง

ความคิดเห็นครั้งนี้ โดยมีการศึกษารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมฯ ของโครงการมา

ประกอบการประมวลความเห็น ดังนี้

Page 121: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 5-2

5.1.1 ประเด็นดานความเหมาะสมและทางเลือกของโครงการ

(1) ความจําเปนท่ีตองมีโรงไฟฟาเพ่ิมข้ึน

มีการแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับนโยบายการจัดหาพลังงานไฟฟาของประเทศ วาการ

สรางโรงไฟฟาเพ่ิมข้ึนเพ่ือใหมีสัดสวนปริมาณไฟฟาสํารองเพ่ิมข้ึนและมากเกินกวาปริมาณการใช

พลังงานไฟฟาของประเทศ จะเปนการเพ่ิมภาระใหกับประชาชนท่ีตองแบกรับคาไฟฟาเพ่ิมข้ึน อยางไรก็ตาม

ไดมีความคิดเห็นเชิงบวกในประเด็นเดียวกันนี้วา การจัดหาแหลงพลังงานไฟฟาสํารองและความม่ันคง

ทางพลังงานของประเทศเปนสิ่งท่ีจําเปน เนื่องจากการสรางโรงไฟฟาไมสามารถสรางไดทันทีเม่ือ

ตองการใชงานและมีระยะเวลาในการพัฒนากอสรางหลายป ดังนั้น หากเกิดภาวะวิกฤติในการจัดหา

และผลิตพลังงานไฟฟาในประเทศ จะสงผลกระทบตอภาคสวนตาง ๆ เปนวงกวาง

(2) ทางเลือกเช้ือเพลิง

มีผูแสดงความหวงกังวลเก่ียวกับการท่ีโครงการเลือกใชเชื้อเพลิงถานหินเปนเชื้อเพลิง

เนื่องจากมีทางเลือกเชื้อเพลิงหรือพลังงานอ่ืน ๆ ท่ีสะอาดและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมมากกวา เชน กาซ

ธรรมชาติ พลังงานแสงอาทิตย และพลังงานลม เปนตน ท้ังนี้ ไดมีความคิดเห็นเชิงบวกในประเด็น

เดียวกันนี้วา ถานหินบิทูมินัสท่ีโครงการนํามาใชถือวามีคุณภาพดี และปจจุบันการผลิตไฟฟาของประเทศ

ไทยพ่ึงพากาซธรรมชาติมากเกินไป มากกวารอยละ 70 หากไมมีแหลงกาซธรรมชาติจะเกิดปญหาท้ัง

ประเทศ ปจจุบันการสรางโรงไฟฟานิวเคลียรอยูระหวางการศึกษาจากหนวยงานตางๆ ท่ีเก่ียวของ ซ่ึงคงไม

สามารถเกิดข้ึนไดในระยะเวลาอันใกล การสรางเข่ือนเพ่ือผลิตไฟฟาพลังน้ําและโรงไฟฟาถานหินก็ถูก

ตอตานจากมวลชนท้ังยังไมมีขอยุติของแหลงตนน้ําท่ีเหมาะสมในประเทศ ดังนั้น ในประเด็นความม่ันคง

ดานพลังงานตองมีการกระจายชนิดเชื้อเพลิงสําหรับผลิตกระแสไฟฟาใหหลากหลายไมพ่ึงพาเชื้อเพลิง

อยางใดอยางหนึ่งมากเกินไป หากโรงไฟฟาถานหินแหงนี้เกิดข้ึนไดและมีการดําเนินงานท่ีดี จะเปน

ประโยชนตอประเทศ

(3) ความเหมาะสมของท่ีตั้งโครงการ

มีผูแสดงความคิดเห็นวาโครงการพ้ืนท่ีนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด อยูในเขตควบคุม

มลพิษ ปจจุบันประชาชนในพ้ืนท่ีไดรับมลพิษและผลกระทบดานตางๆ จากการดําเนินงานของโรงงาน

อุตสาหกรรมอยูแลว ท้ังนี้ การดําเนินการตามแผนลดและขจัดมลพิษก็ยังไมแลวเสร็จ การแกไขปญหา

ตาง ๆ ในภาพรวมยังไมเห็นชัดเจนเปนรูปธรรม ดังนั้น การมีโครงการแมจะทําใหเศรษฐกิจของพ้ืนท่ี

และชุมชนดีข้ึน แตก็จะเปนการเพ่ิมปญหาท่ีมีอยู เดิมของพ้ืนท่ีจนเกินกวาศักยภาพของระบบ

สาธารณูปโภคตางๆ ท่ีมีอยูของพ้ืนท่ีท่ีจะรองรับได รวมถึง ขีดความสามารถและความพรอมของ

หนวยงานตางๆ ท่ีตองใหบริการประชาชน แตในประเด็นนี้ ไดมีการพิจารณาไวในรายงานการวิเคราะห

ผลกระทบสิ่งแวดลอมฯ ของโครงการ คณะกรรมการผูชํานาญการไดพิจารณาแลววาโครงการมีการ

ดําเนินงานสอดคลองตามมติคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ท้ังในเรื่องการปรับลดมลพิษท่ีมีอยูใน

ปจจุบันเพ่ือนํามาใชในการพัฒนาโครงการนี้ และมีการกําหนดมาตรการตางๆ เพ่ือแบงเบาภาระของ

Page 122: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 5-3

ภาครัฐในการแกไขปญหาภาพรวมของพ้ืนท่ี เชน การสนับสนุนการดําเนินงานของหนวยงานสาธารณสุข

ในพ้ืนท่ี เปนตน

5.1.2 ประเด็นท่ีอาจสงผลกระทบดานคุณภาพส่ิงแวดลอม

(1) คุณภาพถานหิน

การท่ีโครงการใชถานหินชนิดบิทูมินัส ผลจากการรับฟงความคิดเห็นฯ ไมมีความเห็น

ในเชิงกังวลเก่ียวกับคุณภาพของถานหิน ซ่ึงเปนท่ียอมรับวามีคุณภาพดีและจะสามารถควบคุม

ผลกระทบท่ีเกิดจากการใชถานหินดังกลาวใหเปนไปตามท่ีโครงการชี้แจงได อยางไรก็ตาม ประเด็น

เก่ียวกับคุณภาพถานหินท่ีไดรับจากการรับฟงความคิดเห็นในครั้งนี้ คือ ความกังวลวาโครงการจะมีการ

นําถานหินท่ีมีคุณภาพต่ํากวามาใช เนื่องจากไมมีความม่ันใจในกระบวนการติดตามตรวจสอบ แมวา

โครงการไดมีการกําหนดมาตรการท่ีเก่ียวของไวแลว อาทิ (1) การจัดทําระบบขอมูลของถานหิน ท้ังชนิด

ปริมาณ คุณสมบัติ (กายภาพและเคมี) แหลงท่ีมา และการขนสง เพ่ือเปนขอมูลใหหนวยงานท่ีเก่ียวของ

ทําการตรวจสอบ (2) มีการกําหนดในสัญญาซ้ือขาย โดยใชถานหินบิทูมินัสท่ีมีองคประกอบของ

ซัลเฟอรสูงสุดไมเกินรอยละ 1 และ (3) การจัดเก็บขอมูลคุณภาพของถานหิน 2 สวน คือ สวนแรกได

จากเอกสารแนบทายของการจัดทําศุลกากร และสวนท่ีสองเปนผลวิเคราะหคุณภาพของบริษัท เก็ค

โค-วัน จํากัด มีขอคิดเห็นท่ีสะทอนถึงความกังวลวา มาตรการท่ีกําหนดยังไมมีความชัดเจนวาถานหินท่ี

นํามาใชมีการตรวจสอบทุกครั้งท่ีมีการสงมอบ (ไมมีการสุมตรวจ) และประเด็นท่ีสําคัญคือ เจาของ

โครงการเปนผูตรวจสอบเอง จึงไมมีความม่ันใจ และไดใหขอเสนอแนะวา ควรมีการเพ่ิมเติมการ

ตรวจสอบคุณภาพถานหิน โดยใหมีตัวแทนหนวยงานทองถ่ินหรือภาคประชาชนเขามารวมสุมตัวอยาง

รวมท้ัง มีสวนรวมในการจัดหาหนวยงานวิเคราะหท่ีมีความนาเชื่อถือและยอมรับจากชุมชน

(2) มลพิษทางอากาศ

ประเด็นความคิดเห็นในดานมลพิษทางอากาศ มีความเห็นวานอกจากโครงการมีการ

จัดการและควบคุมการระบายมลพิษทางอากาศจากปลองไมเกินคาท่ีกําหนดท้ังความเขมขนและคา

อัตราการระบายตามท่ีกําหนดซ่ึงดีกวามาตรฐานท้ังของประเทศไทยและกลุมประเทศยุโรป แตก็เปน

การเพ่ิมมลพิษตาง ๆ ในอากาศท่ีปจจุบันมีอยูสูงแลวใหเพ่ิมมากข้ึน ดังนั้น โครงการควรจะตองมีการ

ปรับปรุงใหดีข้ึนเรื่อย ๆ และปฏิบัติตามแผนลดและขจัดมลพิษอยางจริงจัง โดยเฉพาะมาตรการท่ี

กําหนดใหมีการระบายมลพิษทางอากาศจากโครงการไดก็ตอเม่ือโรงไฟฟาเดิมปรับลดอัตราการระบาย

กอน ท้ังนี้ ไดแสดงความเห็นในเรื่องมาตรการท่ีควรกําหนดใหเห็นเปนรูปธรรมโดยยึดประชาชนผูไดรับ

ผลกระทบเปนศูนยกลาง เชน มีการรายงานผลการระบายมลพิษทางอากาศใหเห็นชัดเจนทางปาย

แสดงผลดานหนาโครงการ รวมถึง การนําขอมูลขอเท็จจริงมาชี้แจงใหชุมชนไดรับทราบ ท้ังนี้ ในอดีตท่ี

ผานมาเม่ือโรงไฟฟาในพ้ืนท่ีมีปญหาจะสงผลกระทบตอเนื่องไปยังโรงงานอ่ืน ๆ กลาวคือ เม่ือไฟฟาท่ีใช

ในกระบวนการผลิตขัดของ โรงงานจะมีการระบายมลพิษออกสูบรรยากาศและสงผลกระทบตอชุมชน

ในท่ีสุด ดังนั้น จึงไดมีขอเสนอแนะใหมีการกําหนดมาตรการเพ่ือรับผิดชอบตอความเสียหายท่ีเกิดข้ึน

Page 123: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 5-4

จากการดําเนินงานแตละครั้ง เชน หากมีการหยุดเดินเครื่องมากกวา 1 ครั้ง จะตองมีการจายคาปรับ

หรือเงินชดเชยเขาสูกองทุน เพ่ือนําไปใชในกิจกรรมท่ีเปนประโยชนตอชุมชนตอไป นอกจากนี้ มี

ขอเสนอแนะเก่ียวกับสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศแบบตอเนื่องท่ีจะติดตั้งอยางถาวรในชุมชนอีก 1 แหง

ขอใหพิจารณาโดยใชหลักวิชาการท่ีเหมาะสม โดยพิจารณารวมกับสถานีอ่ืน ๆ ท่ีมีอยูในปจจุบันของ

การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (กนอ.) และกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) รวมถึงการเชื่อมโยงขอมูล

ตาง ๆ และการสื่อสารใหประชาชนไดรับทราบ เพ่ือใหเกิดประโยชนกับชุมชนมากท่ีสุด สําหรับประเด็นดานคุณภาพอากาศ ยังมีความเห็นเก่ียวกับลานกองถานหินซ่ึงเปนแหลงกําเนิดมลพิษทางอากาศท่ีสําคัญ โดยถานหินท่ีฟุงกระจายในบรรยากาศจะสงผลกระทบโดยตรง

ตอพนักงานในโรงงานท่ีอยูใกลเคียงพ้ืนท่ีลานกองถานหิน มีการแสดงความคิดเห็นวาระบบปองกันการฟุงกระจายของถานหินจากลานกองยังไมเพียงพอโดยเฉพาะกําแพงกันลมซ่ึงไมไดดําเนินการโดยรอบพ้ืนท่ี และการปลูกตนไมตองพิจารณาถึงพันธุไมท่ีเหมาะสมและมีการบํารุงรักษา เพ่ือใหมีประสิทธิภาพใน

การปองกันฝุนละอองไดดีท่ีสุด (3) การจัดการเถา ในประเด็นเรื่องเถาซ่ึงเกิดข้ึนจาการเผาไหมถานหิน เปนประเด็นในเชิงขอเสนอแนะให

โครงการไดพิจารณาสรางมูลคาจากเถาดังกลาวโดยการสรางอาชีพใหกับชุมชน เชน การผลิตวัสดุกอสราง เปนตน ซ่ึงประเด็นดังกลาวไดถูกกําหนดไวในมาตรการฯ ของโครงการในดานการสงเสริมอาชีพของชุมชนเปนท่ีเรียบรอยแลว สําหรับความหวงกังวลในการจัดการเถา ประกอบดวย 2 ประเด็น

คือ (1) สารอันตรายท่ีเจือปนอยูในเถา เชน โลหะหนัก เปนตน และ (2) การขนสงเถาโดยรถบรรทุกไปยังผูรับกําจัด ซ่ึงมีขอเสนอแนะใหพิจารณาถึงผลกระทบตอเสนทางท่ีชุมชนใชในการสัญจร ท้ังในดานปริมาณการจราจรในชวงเรงดวนและสภาพถนนท่ีชํารุดซ่ึงจะเปนอันตรายตอประชาชนท่ีใชเสนทาง

ดังกลาว 5.1.3 ประเด็นท่ีอาจสงผลกระทบดานทรัพยากรธรรมชาติ

มีการแสดงความคิดเห็นและหวงกังวลเก่ียวกับการดําเนินงานของโครงการท่ีสงผลกระทบตอน้ําทะเล 3 ปจจัย ไดแก (1) การสูบน้ําทะเลมาใชในกระบวนการหลอเย็นปริมาณ 3.6 ลานลูกบาศกเมตร/วัน จะทําใหเกิดการสูญเสียแพลงคตอนและสัตวน้ําขนาดเล็กท่ีติดเขาไป (2) การระบายน้ําทะเลท่ีผาน

การใชงานซ่ึงมีอุณหภูมิสูงกวาปกติลงสูทะเลจะทําใหเกิดความรอนสะสมในน้ําทะเลบริเวณชายฝงซ่ึงเปนแหลงท่ีอยูอาศัยของสัตวน้ําและอุณหภูมิท่ีสูงกวาปกติจะมีผลตอการเติบโตของสัตวน้ํา และ (3) การขนถายถานหิน มีผูแสดงความคิดเห็นวาปจจุบันมีปริมาณตะกอนถานหินจํานวนมากในทองทะเล

และบางชวงจะพบบริเวณชายหาดดวย ซ่ึงถานหินท่ีแขวนลอยอยูในน้ําจะสงผลตอการอุดตันอวัยวะในการหายใจของสัตวน้ํา (เหงือก) นอกจากนี้ ยังมีความเห็นเก่ียวกับปริมาณโลหะหนักในถานหินท่ีจะอยูในน้ําทะเล เขาสูสัตวน้ําและตอเนื่องตามหวงโซอาหาร จากปจจัยการดําเนินงานของโครงการท่ีกลาวไป

แลวท้ัง 3 สวน จะสงผลกระทบตอความอุดมสมบูรณของทรัพยากรชีวภาพทางทะเลในพ้ืนท่ี อันจะสงผลกระทบตอเนื่องถึงกลุมอาชีพประมงชายฝงท่ีตองพ่ึงพิงทรัพยากรทางทะเลจากแหลงเดียวกัน

Page 124: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 5-5

ท้ังนี้ โครงการมีมาตรการในเรื่องการควบคุมปริมาณการสูบน้ําทะเลใหเหมาะสม กําหนดขนาดของตะแกรง ควบคุมความเร็วของน้ําทะเลท่ีสูบใหสัตวน้ําสวนใหญสามารถวายหนีได กําหนด

ตําแหนงของการสูบน้ําบริเวณท่ีไมมีแพลงกตอนอาศัยอยูหนาแนน มีการควบคุมผลตางอุณหภูมิของน้ําหลอเย็นกอนและหลังผานการใชงาน ไมเกิน 6 องศาเซลเซียส รวมท้ัง ติดตั้งเครื่องตรวจวัดอุณหภูมิแบบตอเนื่องไปแสดงท่ีหองควบคุมสวนกลาง แตอยางใดก็ตาม ยังไมมีความชัดเจนในการบริหารจัดการ

หากเกิดความผิดปกติและไมสามารถควบคุมใหเปนไปตามท่ีออกแบบ นอกจากนี้ จากการพิจารณามาตรการท่ีโครงการกําหนด พบวาโครงการไดใหความสําคัญในประเด็นนี้ โดยพบวามีมาตรการฯ ท่ีจําเพาะเจาะจงในเรื่องนี้หลายเรื่องท่ีแสดงถึงเจตนาท่ีจะปรับปรุงแกไขผลกระทบดานนี้ใหลดลงใน

อนาคต เชน การจัดทําระบบขอมูลปริมาณการสูบน้ําทะเลและจัดทําแผนลดปริมาณการสูบน้ําทะเลมาใชรวมท้ัง การใหความสําคัญในมาตรการดานการชดเชยกับกลุมอาชีพประมง ซ่ึงจัดเปนผูมีสวนเสียโดยตรงจากการดําเนินงานของโครงการ เชน การสนับสนุนและสงเสริมหนวยงานฟนฟู พัฒนาและเพ่ิม

ผลผลิตทะเล สนับสนุนพันธุสัตวน้ําเพ่ือปลอยทดแทนในทะเล ติดตามผลการปลอยพันธุสัตวน้ําเพ่ือทดแทนลงทะเล (สัมภาษณชาวประมงในทองถ่ิน โดยมีการปรับปรุงแผนดังกลาวทุก ๆ 2-3 ป) สนับสนุนชาวประมงพ้ืนบานเพ่ือจัดตั้งธนาคารปูมา และประเมินผล สนับสนุนการศึกษางานวิจัยในการ

เฝาระวังการปนเปอนโลหะหนักของสัตวน้ําทะเล สนับสนุนและประสานงานกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ ในการฟนฟูหรืออนุรักษปะการังในพ้ืนท่ีจังหวัดระยอง เปนตน

นอกจากนี้ ไดมีความคิดเห็นท่ีหลากหลายในการรับฟงความคิดเห็นครั้งนี้ในเรื่องของการ

กําหนดมาตรการท่ีเห็นเปนรูปธรรมและประชาชนสามารถประเมินผลและรับรูไดอยางชัดเจนดวย

ตนเองมากกวามาตรการท่ัว ๆ ไปท่ีกําหนดไวในรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมฯ โดยมี

ขอเสนอแนะตอการดําเนินงานท่ีเปนประโยชน เชน การจัดซ้ือเรือทองกระจกและเปดโอกาสใหชุมชน

ไดเขารวมติดตามการเปลี่ยนแปลงของสภาพทองทะเลในบริเวณท่ีอาจไดรับผลกระทบ การกําหนด

มาตรการฯ ใหโครงการมีการดําเนินงานดานการฟนฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝง (การปลูกปะการัง

เทียม การฟนฟูปาชายเลนเสื่อมโทรมและดูแลอยางตอเนื่อง การปลอยพันธสัตวน้ํา ฯลฯ) โดยตองการ

ใหนําผลการดําเนินงานมาพิจารณาประกอบกอนใหการอนุญาต เปนตน หรือพิจารณาจัดเก็บภาษีจาก

การใชทรัพยากรน้ําเขาสูกองทุนเพ่ือใหทองถ่ินนําไปอนุรักษฟนฟูและสงเสริมพัฒนาอาชีพประมงหรือ

การพัฒนาดานอ่ืน ๆ ท่ีเปนประโยชนตอชุมชนตอไป

5.1.4 ประเด็นท่ีอาจสงผลกระทบดานสุขภาพ

สําหรับประเด็นดานสุขภาพ ไดมีความคิดเห็นจากเจาหนาท่ีสาธารณสุขในพ้ืนท่ีเก่ียวกับการ

ดูแลดานสุขภาพของพนักงานขอใหครอบคลุมถึงพนักงานจากบริษัทผูรับเหมา และควรเพ่ิมเติมเง่ือนไข

ดานสุขภาพไวในสัญญาดวย เพราะเปนกลุมท่ีมีความเสี่ยงและการดูแลติดตามตรวจสอบผลกระทบ

ตอเนื่องคอนขางยาก เนื่องจากมีการเปลี่ยนสถานท่ีทํางานและมีการยายถ่ินฐาน นอกจากนี้ ไดมี

ขอเสนอแนะท่ีเก่ียวของกับการเตรียมความพรอมของหนวยงาน เชน การใหขอมูลตาง ๆ ท่ีเปนความ

เสี่ยงของโครงการกับหนวยงานสาธารณสุขในพ้ืนท่ีดวย เพ่ือท่ีจะไดนําขอมูลดานสถิติทางสุขภาพของ

หนวยงานสาธารณสุขมาพิจารณาผลกระทบในระยะสั้น ใหความรูกับประชาชนในการสังเกตอาการ

Page 125: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 5-6

ผิดปกติตาง ๆ ดวยตนเอง รวมท้ัง สนับสนุนการจางนักวิจัยท่ีเปนกลางมาทําการศึกษาวิจัย ติดตาม

ประเมินผลในระยะยาว 5.1.5 ประเด็นดานความเช่ือม่ัน

มีความคิดเห็นท่ีแสดงถึงความไมม่ันใจและขาดความเชื่อม่ันตอการดําเนินงานของภาคสวน

ตาง ๆ วาจะมุงม่ันดําเนินงานเพ่ือปองกันและแกไขผลกระทบดานตาง ๆ ใหกับประชาชนโดยรอบอยาง

แทจริง กลาวคือไมม่ันใจในผูประกอบการ (บริษัท เก็คโค-วัน จํากัด) วาจะสามารถดําเนินการไดตามท่ี

นําเสนอในการประชุมตาง ๆ ในวีดีทัศนและเอกสารเผยแพรของบริษัทฯ รวมถึง มาตรการ/การจัดการ

ดานสิ่งแวดลอมและความปลอดภัยตาง ๆ ท่ีไดเคยชี้แจงตอประชาชน รวมท้ัง ไมม่ันใจวาหนวยงานผู

อนุญาตและหนวยงานกํากับดูแล รวมถึง หนวยงานทองถ่ินท่ีจะทําหนาท่ีเปนตัวแทนของประชาชนใน

การติดตามตรวจสอบผูประกอบการใหดําเนินการตามมาตรการตาง ๆ ไดอยางครบถวน ซ่ึงสงผล

กระทบถึงความไมเชื่อม่ันวาการแสดงความคิดเห็นในกระบวนการรับฟงความคิดเห็นตาง ๆ ท่ีนําเสนอ

ไปจะถูกหนวยงานผูรับผิดชอบนําไปสูการติดตามตรวจสอบและบังคับใชกับผูประกอบการหรือไม หรือ

อาจเปนเพียงเครื่องมือในการดําเนินงานใหครบถวนตามข้ันตอนตามกฎหมายและโครงการสามารถเปด

ดําเนินการไดเทานั้น ประกอบกับปจจุบันยังไมมีความรวมมือท่ีเปนรูปธรรมท่ีชัดเจนระหวาง

ผูประกอบการ หนวยงานกํากับดูแล หนวยงานทองถ่ิน ท่ีจะสื่อสารและแลกเปลี่ยนขอมูลตางๆ ให

เขาถึงภาคประชาชน ดังนั้น จึงมีการแสดงความคิดเห็นท่ีตองการใหภาคประชาชนไดมีสวนรวมใน

กระบวนการติดตามตรวจสอบการดําเนินงานของผูประกอบการ ซ่ึงสอดคลองกับแนวคิดการจัดตั้ง

คณะกรรมการไตรภาคีของโครงการท่ีถูกกําหนดไวในมาตรการฯ แลว อยางไรก็ตาม การนําไปสูการ

ปฏิบัติเปนสิ่งท่ีตองใหความสําคัญในรายละเอียดตั้งแต กระบวนการคัดเลือกคณะกรรมการท่ีตองเปน

ตัวแทนภาคประชาชนอยางแทจริงและสามารถสื่อสารขอมูลลงสูสมาชิกในชุมชนได รวมถึง การ

ดําเนินงานของคณะกรรมการฯ ท่ีแตงตั้งข้ึนจะตองเปนท่ียอมรับวาทํางานไดโดยอิสระ และคงอยูคู

ตลอดอายุการดําเนินงานของโครงการ เพ่ือเปนศูนยกลางในการเชื่อมโยงขอมูลและสรางแนวทางการ

อยูรวมกันระหวางโรงไฟฟาและชุมชนตลอดไป

จากประเด็นความไมเชื่อม่ันการดําเนินงานของโครงการขางตน และท่ีผานมาประชาชน

ท่ัวไปซ่ึงอาศัยอยูในชุมชนไมไดรับการสื่อสารขอมูลและขาวสารท่ีจําเปนเก่ียวกับโรงงานในพ้ืนท่ี โดย

ทางผูประกอบการมักจะสื่อสารผานเฉพาะผูนําชุมชนหรือรับรูรับทราบเฉพาะกลุมคณะทํางาน จึงไดมี

ความคิดเห็นจํานวนมากท่ีตองการใหโครงการเขามาชี้แจงและใหขอมูลขาวสารโดยตรงกับประชาชนใน

พ้ืนท่ี โดยนําขอมูลตาง ๆ มาเผยแพรใหรับทราบ ซ่ึงจากการทบทวนมาตรการฯ ของโครงการ พบวามี

การกําหนดไวเปนท่ีเรียบรอยแลว เชน การรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการฯ ดานสิ่งแวดลอมให

ชุมชนรับทราบ การเปดใหชุมชนเขาเยี่ยมชมโครงการ การแสดงผลขอมูลการะบายมลพิษทางอากาศ

บริเวณดานหนาโรงงาน การเผยแพรขอมูลโครงการผานชองทางตาง ๆ เชน ศูนยเฝาระวังคุณภาพ

สิ่งแวดลอมของการนิคมฯ จดหมายขาว รายงานสิ่งแวดลอมประจําป หรือเวปไซตของบริษัท เปนตน

รวมท้ัง กําหนดใหโครงการจัดทําแผนประชาสัมพันธใหขอมูลการดําเนินงานโครงการตอประชาชน

Page 126: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 5-7

ใกลเคียงไวเปนท่ีเรียบรอยแลว อยางไรก็ตาม สิ่งท่ีสําคัญคือการปฏิบัติตามมาตรการท่ีกลาวไปแลว

อยางจริงจัง ซ่ึงตองมีการประเมินและรายงานผลการดําเนินการดังกลาวดวย

5.2 บทสรุปและขอเสนอแนะ

5.2.1 บทสรุปสําหรับความคิดเห็นฯ

โดยสรุปแลวขอคิดเห็นท่ีประมวลไว สวนใหญเกือบท้ังหมดตรงกับขอบขายการพิจารณา

ศึกษาของ คชก. และไดมีการกําหนดเปนมาตรการใหโครงการตองดําเนินการเพ่ือลดผลกระทบดาน

สิ่งแวดลอมและสุขภาพ มีความเห็นปลีกยอยบางสวนของชุมชนบางสวนท่ีไดรับผลกระทบท่ีเปน

ขอเสนอแนะท่ีนาสนใจนอกเหนือจากการกําหนดขอบเขตและการทบทวนจากการทําการศึกษา

ผลกระทบฯ รวมท้ังความเห็นบางสวนของ กอสส. ซ่ึงถือวาเปนความเห็นของนักวิชาการท่ีมีน้ําหนักควร

แกการพิจารณาและอยูนอกเหนือขอบเขตรายงานการศึกษาผลกระทบดานสิ่งแวดลอม สําหรับ

โครงการหรือกิจการท่ีอาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงท้ังทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม

ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ และความเห็นชอบของ คชก. ของ สผ. ดังกลาว ซ่ึงคณะกรรมการฯ

เห็นวา หนวยงานผูท่ีดําเนินการอนุมัติ/อนุญาต ควรจะนําไปประกอบการพิจารณาตามอํานาจหนาท่ี

ตอไป

5.2.2 ขอเสนอแนะเกี่ยวกับกระบวนการรับฟงความคิดเห็นฯ

คณะกรรมการฯ มีขอเสนอแนะเก่ียวกับกระบวนการจัดรับฟงความคิดเห็นของประชาชน

และผูมีสวนไดเสียในข้ันตอนพิจารณาอนุมัติอนุญาต ซ่ึงไดรับจากการดําเนินงานในครั้งนี้ เพ่ือเปน

ประโยชนตอ สกพ. สําหรับการดําเนินงานตอไปในอนาคต ดังนี้

(1) การประชาสัมพันธกระบวนการรับฟงความคิดเห็นฯ ในครั้งนี้ไดมีการใชสื่อและ

ชองทางการประชาสัมพันธหลากหลายรูปแบบอยางกวางขวาง เพ่ือใหครอบคลุมประชาชนและผูมีสวน

ไดเสียทุกกลุม อยางไรก็ตาม พบวาชองทางการประชาสัมพันธท่ีเขาถึงผูเขารวมประชุมในพ้ืนท่ีมากท่ีสุด

ไดแก การแจงเชิญโดยตรงผานผูนําชุมชน การสงจดหมายเชิญอยางเปนทางการ ทางเวปไซต ปาย

ประกาศในชุมชน และวิทยุทองถ่ิน สําหรับสื่อท่ีมีประสิทธิภาพในการสื่อสารนอยท่ีสุด คือ หนังสือพิมพ

(2) ผูเขารวมแสดงความคิดเห็นตอโครงการในครั้งนี้ครอบคลุมกลุมเปาหมายท่ีวางไว โดย

มีสัดสวนของประชาชนภายในขอบเขตรัศมี 5 กิโลเมตรจากท่ีตั้งโครงการ ซ่ึงเปนพ้ืนท่ีท่ีอาจไดรับ

ผลกระทบจากการดําเนินงานของโครงการ เขารวมกิจกรรมครั้งนี้ประมาณรอยละ 53 ของผูเขารวม

ประชุมท้ังหมด 398 คน

Page 127: รายงานการรับฟ งความคิดเห็นของประชาชนและผู มีส วนได เสียapp04.erc.or.th/EHIA/Upload/Document/Project/2_โครงการ... ·

รายงานการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสีย โครงการโรงไฟฟาพลังความรอน ของบริษัท เก็คโค-วัน จํากัด

จัดทําโดย คณะกรรมการรับฟงความคิดเห็นฯ ตามคําส่ังคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ 048/2554 (13 กันยายน 54) หนา 5-8

(3) วิธีการ รูปแบบกระบวนการ สถานท่ี เวลา และกติกาท่ีใชในการกระบวนการแสดง

ความคิดเห็นครั้งนี้ไดรับผลการประเมินอยูในระดับปานกลางถึงระดับมากในทุกเรื่อง รวมท้ัง ไดรับ

ความคิดเห็นอยางครบถวน ดังนั้น สามารถใชรูปแบบการดําเนินงานในครั้งนี้ ขยายผลสําหรับการ

ดําเนินงานในอนาคต โดยหาเทคนิคท่ีเหมาะสมเขามาเสริมเพ่ิมประสิทธิภาพในประเด็นท่ีมีผลการ

ประเมินอยูในระดับปานกลาง เชน การใหขอมูลลวงหนา ความสะดวกของการลงทะเบียนลวงหนา เปนตน

(4) ความเห็นท่ีไดรับในครั้งนี้มีลักษณะท่ีจําเพาะเจาะจงสําหรับโครงการคอนขางมาก

และมีหลายความเห็นท่ีมีความชัดเจนเปนรูปธรรม เปนเครื่องบงชี้วาประชาชนผูใหความเห็นมีความ

เขาใจในรายละเอียดโครงการอยางเพียงพอ และเปนประโยชนตอผู ท่ีจะนําความเห็นเหลานี้ไป

ประกอบการพิจารณาตอไป ท้ังนี้ ปจจัยท่ีผลตอความสําเร็จ ข้ึนอยูกับศักยภาพของผูประกอบการใน

การนําเสนอขอมูลโครงการใหกับประชาชนกอนรับฟงความคิดเห็นใหเกิดความเขาใจไดมากนอย

เพียงใด และกระบวนการเผยแพรขอมูลของคณะกรรมการฯ ท่ีจะชวยเพ่ิมประสิทธิภาพในการให

ความเห็นใหดียิ่งข้ึน

(5) การดําเนินโครงการท่ีอาจมีผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรงฯ ควรไดรับความรวมมือ

จากภาคสวนตางๆ ท่ีเก่ียวของ รวมท้ังมีการปฏิบัติดวยวิธีการท่ีเหมาะสมรวมกันอยางจริงจังและ

ตอเนื่อง อันจะนําไปสูการพัฒนาอยางยั่งยืน ตอไป

-----------------------------------------------