11
1 รายงานสถานการณ์ไฟป่า และหมอกควันรายสัปดาห์ ระหว่างวันที่ 18 – 24 กุมภาพันธ์ 2562 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม สำนักงำนพัฒนำเทคโนโลยีอวกำศและภูมิสำรสนเทศ (องค์กำรมหำชน) : สทอภ. กระทรวงวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี เนื่องจากสถานการณ์ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นกับประเทศไทยในแต่ละปี ส่งผลต่อความเสียหายต่อชีวิต ทรัพย์สิน สุขภาพ ความเป็นอยู่ของประชาชน ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อีกทั้งยังมีผลต่อ เศรษฐกิจ การท่องเที่ยวอีกด้วย การติดตามและประเมินพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติ จึงมีความ จาเป็นและเร่งด่วน เพื่อนามาใช้ป้องกันและฟื้นฟู เยียวยาให้กับผู้ที่ได้รับผลกระทบจากภัยที่เกิดขึ้น ดังนั้น สทอภ. จึงได้นาเทคโนโลยี ภูมิสารสนเทศประกอบไปด้วย ข้อมูลจากดาวเทียม ชั้นข้อมูล GIS และข้อมูล GPS เพื่อใช้ในการติดตามสถานการณ์ภัยแล้ง ไฟป่าและหมอกควัน ที่เกิดขึ้นเป็นประจาทุกปี ดังน1. สถานการณ์ไฟป่าและหมอกควันภาพรวมทั้งประเทศ การติดตามสถานการณ์ไฟป่าและหมอกควันปกคลุมพื้นที่ประเทศไทย รายสัปดาห์ ระหว่างวันที18 - 24 กุมภาพันธ์ 2562 จากข้อมูลดาวเทียม Terra และ Aqua ระบบ MODIS พบจุดความร้อนทั้งประเทศ 1,862 จุด บริเวณพื้นที่ป่าอนุรักษ์ จานวน 613 จุด ป่าสงวนแห่งชาติ จานวน 441 จุด พื้นที่เขต สปก. จานวน 245 จุด พื้นที่เกษตร จานวน 417 จุด พื้นที่ริมทางหลวง ( 50 เมตร) จานวน 18 จุด และพื้นที่ชุมชนและอื่น ๆ จานวน 128 จุด รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 1-1 และภาพที่ 1-1 ตารางที่ 1-1 จานวนจุดความร้อนสะสมทั้งประเทศ วิเคราะห์จากข้อมูลดาวเทียม ( ระหว่างวันที18 – 24 กุมภาพันธ์ 2562 ) วันทีประเภทการใช้ที่ดิน รวม ทั้งหมด ป่า อนุรักษ์ ป่าสงวน แห่งชาติ เขต สปก. พื้นทีเกษตร พื้นที่ริมทางหลวง (50 เมตร) ชุมชน และอื่นๆ 18/2/2019 26 11 28 22 2 6 95 19/2/2019 81 90 42 101 4 23 341 20/2/2019 37 25 24 35 2 11 134 21/2/2019 55 47 33 63 4 15 217 22/2/2019 113 93 29 63 1 18 317 23/2/2019 82 44 37 60 2 24 249 24/2/2019 219 131 52 73 3 31 509 รวมทั้งหมด 613 441 245 417 18 128 1,862 หมายเหตุ : จุดความร้อน ปรับปรุงล่าสุด ณ วันที25 กุมภาพันธ์ 2562

ระหว่างวันที่ 18 – 24 กุมภาพันธ์ 2562 ...fire.gistda.or.th/fire/y2019/FR82_special/reports/pdf/... · 2019-02-25 · พื้นที่ริมทางหลวง

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ระหว่างวันที่ 18 – 24 กุมภาพันธ์ 2562 ...fire.gistda.or.th/fire/y2019/FR82_special/reports/pdf/... · 2019-02-25 · พื้นที่ริมทางหลวง

1

รายงานสถานการณ์ไฟป่า และหมอกควันรายสัปดาห ์

ระหว่างวันที่ 18 – 24 กมุภาพันธ์ 2562 โดยใช้ขอ้มูลจากดาวเทียม

ส ำนักงำนพัฒนำเทคโนโลยีอวกำศและภมูิสำรสนเทศ (องค์กำรมหำชน): สทอภ. กระทรวงวิทยำศำสตร์และเทคโนโลย ี

เนื่องจากสถานการณ์ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นกับประเทศไทยในแต่ละปี ส่งผลต่อความเสียหายต่อชีวิต ทรัพย์สิน สุขภาพ ความเป็นอยู่ของประชาชน ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อีกทั้งยังมีผลต่อเศรษฐกิจ การท่องเที่ยวอีกด้วย การติดตามและประเมินพ้ืนที่ที่ได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติ จึงมีความจ าเป็นและเร่งด่วน เพ่ือน ามาใช้ป้องกันและฟ้ืนฟู เยียวยาให้กับผู้ที่ได้รับผลกระทบจากภัยที่เกิดขึ้น ดังนั้น สทอภ. จึงได้น าเทคโนโลยี ภูมิสารสนเทศประกอบไปด้วย ข้อมูลจากดาวเทียม ชั้นข้อมูล GIS และข้อมูล GPS เพ่ือใช้ในการติดตามสถานการณ์ภัยแล้ง ไฟป่าและหมอกควัน ที่เกิดขึ้นเป็นประจ าทุกปี ดังนี้ 1. สถานการณ์ไฟป่าและหมอกควันภาพรวมทั้งประเทศ

การติดตามสถานการณ์ไฟป่าและหมอกควันปกคลุมพ้ืนที่ประเทศไทย รายสัปดาห์ ระหว่างวันที่ 18 - 24 กุมภาพันธ์ 2562 จากข้อมูลดาวเทียม Terra และ Aqua ระบบ MODIS พบจุดความร้อนทั้งประเทศ 1,862 จุด บริเวณพ้ืนที่ป่าอนุรักษ์ จ านวน 613 จุด ป่าสงวนแห่งชาติ จ านวน 441 จุด พื้นที่เขต สปก. จ านวน 245 จุด พ้ืนที่เกษตร จ านวน 417 จุด พ้ืนที่ริมทางหลวง (50 เมตร) จ านวน 18 จุด และพ้ืนที่ชุมชนและอ่ืน ๆ จ านวน 128 จุด รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 1-1 และภาพท่ี 1-1

ตารางท่ี 1-1 จ านวนจุดความร้อนสะสมทั้งประเทศ วิเคราะห์จากข้อมูลดาวเทียม ( ระหว่างวันที่ 18 – 24 กุมภาพันธ์ 2562 )

วันที่ ประเภทการใช้ท่ีดิน

รวมทั้งหมด ป่า

อนุรักษ์ ป่าสงวนแห่งชาติ

เขต สปก.

พื้นที่เกษตร

พื้นที่ริมทางหลวง (50 เมตร)

ชุมชนและอ่ืนๆ

18/2/2019 26 11 28 22 2 6 95 19/2/2019 81 90 42 101 4 23 341 20/2/2019 37 25 24 35 2 11 134 21/2/2019 55 47 33 63 4 15 217 22/2/2019 113 93 29 63 1 18 317 23/2/2019 82 44 37 60 2 24 249 24/2/2019 219 131 52 73 3 31 509 รวมทั้งหมด 613 441 245 417 18 128 1,862

หมายเหตุ : จุดความร้อน ปรับปรุงล่าสดุ ณ วันท่ี 25 กุมภาพันธ ์2562

Page 2: ระหว่างวันที่ 18 – 24 กุมภาพันธ์ 2562 ...fire.gistda.or.th/fire/y2019/FR82_special/reports/pdf/... · 2019-02-25 · พื้นที่ริมทางหลวง

2

ภาพที่ 1-1 แผนที่ต าแหน่งจุดความร้อนสะสม ภาพรวมทั้งประเทศวิเคราะห์จากดาวเทียม ระบบ MODIS ระหว่างวันที่ 18 - 24 กุมภาพันธ์ 2562

Page 3: ระหว่างวันที่ 18 – 24 กุมภาพันธ์ 2562 ...fire.gistda.or.th/fire/y2019/FR82_special/reports/pdf/... · 2019-02-25 · พื้นที่ริมทางหลวง

3

2. สถานการณ์ไฟป่า และหมอกควัน ในพื้นที่ 9 จังหวัดภาคเหนือ การติดตามสถานการณ์ไฟป่าและหมอกควันปกคลุมพ้ืนที่ 9 จังหวัดภาคเหนือ รายสัปดาห์ ระหว่าง

วันที่ 18 - 24 กุมภาพันธ์ 2562 พบว่ามีจ านวนจุดความร้อน (Hotspot) รวมทั้งสิ้น 684 จุด เกิดในพ้ืนที่ป่าอนุรักษ์ จ านวน 337 จุด ป่าสงวนแห่งชาติจ านวน 304 จุด เขต สปก. จ านวน 17 จุด พ้ืนที่เกษตรจ านวน 6 จุด พ้ืนที่ริมทางหลวง (50 เมตร) จ านวน 0 จุด และพ้ืนที่ชุมชนและอ่ืนๆ จ านวน 21 จุด รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 2-1 และภาพท่ี 2-1 ตารางที่ 2-1 จ านวนจุดความร้อน 9 จังหวัดภาคเหนือ ระหว่างวันที่ 18 - 24 กุมภาพันธ์ 2562

จังหวัด ประเภทการใช้ท่ีดิน

รวมทั้งหมด

ป่าอนุรักษ์

ป่าสงวนแห่งชาติ

เขต สปก.

พื้นที่เกษตร

พื้นที่ริมทางหลวง (50 เมตร)

ชุมชนและอ่ืนๆ

เชียงราย 0 0 1 0 0 0 1 เชียงใหม่ 74 97 4 1 0 5 181 ตาก 46 17 3 0 0 1 67 น่าน 48 41 0 0 0 5 94 พะเยา 10 8 1 0 0 2 21 แพร่ 11 15 0 0 0 3 29 แม่ฮ่องสอน 50 11 0 0 0 0 61 ล าปาง 42 83 7 4 0 3 139 ล าพูน 56 32 1 0 0 2 91 รวมทั้งหมด 337 304 17 5 0 21 684

หมายเหตุ - จุดความร้อน ปรับปรุงล่าสุด ณ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2562

Page 4: ระหว่างวันที่ 18 – 24 กุมภาพันธ์ 2562 ...fire.gistda.or.th/fire/y2019/FR82_special/reports/pdf/... · 2019-02-25 · พื้นที่ริมทางหลวง

4

ภาพที่ 2-1 แผนที่ต าแหน่งจุดความร้อนสะสม ในพ้ืนที่ 9 จังหวัดภาคเหนือ วิเคราะห์จากดาวเทียม ระบบ MODIS ระหว่างวันที่ 18 - 24 กุมภาพันธ์ 2562

Page 5: ระหว่างวันที่ 18 – 24 กุมภาพันธ์ 2562 ...fire.gistda.or.th/fire/y2019/FR82_special/reports/pdf/... · 2019-02-25 · พื้นที่ริมทางหลวง

5

3. การคาดการณ์พื้นที่เสี่ยงเกิดไฟป่า

3.1 พื้นที่เสี่ยงเกิดไฟป่าบริเวณประเทศไทย รายเดือน

สทอภ. ได้จัดท าแผนที่คาดการณ์พ้ืนที่เสี่ยงเกิดไฟป่า โดยการประเมินด้วยแบบจ าลองทางคณิตศาสตร์ โดยใช้ข้อมูลจุดความร้อนสะสมย้อนหลัง 10 ปี ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ข้อมูลดัชนีความแตกต่างของความชื้น (NDWI) ย้อนหลัง 1 เดือนจากข้อมูล MODIS ข้อมูลความถี่พ้ืนที่เผาไหม้ รอบ 10 ปี ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ข้อมูลประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน และข้อมูลอุณหภมิ และปริมาณน้ าฝนคาดการณ์รายเดือน เพ่ือจัดท าข้อมูลแผนที่คาดการณ์พ้ืนที่เสี่ยงเกิดไฟป่าบริเวณประเทศไทยสามารถน าไปใช้ในการเฝ้าระวังเป็นพิเศษบริเวณพ้ืนที่ภาคกลางและอีสาน ที่มีการเผาในที่โล่ง โดยเฉพาะพ้ืนที่เกษตร ส่วนภาคเหนือ พบการเผาในพ้ืนที่ที่เป็นภูเขาโดยเฉพาะในพ้ืนที่ป่าไม้ ซึ่งข้อมูลจากแบบจ าลองนี้ แบ่งระดับพื้นท่ีเสี่ยงเกิดไฟป่าเป็น 4 ระดับ คือ

1. พ้ืนที่ไม่เสี่ยงต่อการเผาไหม้ 2. พ้ืนที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่าต่ า 3. พ้ืนที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่าปานกลาง 4. พ้ืนที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่าสูง

การคาดการณ์ พ้ืนที่ เ สี่ ย ง เกิด ไฟป่ าราย เดือน ระหว่ างวันที่ 1 – 28 กุมภาพันธ์ 2562 ดังภาพที่ 3-1

3.2 พื้นที่เสี่ยงเกิดไฟป่าบริเวณ 10 จังหวัดภาคเหนือ รายสัปดาห์

สทอภ. ได้จัดท าแผนที่คาดการณ์พ้ืนที่เสี่ยงเกิดไฟป่า โดยการประเมินด้วยแบบจ าลองทางคณิตศาสตร์ โดยใช้ข้อมูลจุดความร้อนสะสมย้อนหลัง 10 ปี ข้อมูลจุดความร้อนสะสมปัจจุบัน ย้อนหลัง 7 วัน ข้อมูลดัชนีความแตกต่างของความชื้น (NDWI) ย้อนหลัง 7 วัน จากข้อมูล MODIS ข้อมูลความถี่พ้ืนที่เผาไหม้ รอบ 10 ปี ข้อมูลจุดพ้ืนที่เผาไหม้ย้อนหลัง 7 วัน ที่ผ่านมา ข้อมูลประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน และข้อมูลด้านภูมิอากาศ ได้แก่ อุณหภูมิ ปริมาณน้ าฝน ความชื้นสัมพัทธ์ เพ่ือจัดท าข้อมูลแผนที่คาดการณ์พ้ืนที่เสี่ยงเกิดไฟป่า (ล่วงหน้า 7 วัน) บริเวณ 10 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ได้แก่ จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน พะเยา แพร่ น่าน ล าปาง ล าพูน อุตรดิตถ์ และตาก ข้อมูลคาดการณ์พ้ืนที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่านี้เป็นข้อมูลที่ใช้ในการเฝ้าระวังเป็นพิเศษบริเวณพ้ืนที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่ามาก ซึ่งข้อมูลจากแบบจ าลองนี้ แบ่งระดับพ้ืนที่เสี่ยงเกิดไฟป่าเป็น 4 ระดับ คือ

1. พ้ืนที่ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดไฟ (ความเป็นไปได้ของการเกิดไฟ 0 %) 2. พ้ืนที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่าต่ า (ความเป็นไปได้ของการเกิดไฟน้อยกว่า 1 - 40%) 3. พ้ืนที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่าสูง (ความเป็นไปได้ของการเกิดไฟน้อยกว่า 41- 100%) 4. พ้ืนที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่าสูง (อ้อย ข้าวโพด)

การคาดการณ์ พ้ืนที่ เสี่ยงเกิดไฟป่า รายสัปดาห์ ระหว่างวันที่ 18 - 24 กุมภาพันธ์ 2562 ดังภาพที่ 3-2

Page 6: ระหว่างวันที่ 18 – 24 กุมภาพันธ์ 2562 ...fire.gistda.or.th/fire/y2019/FR82_special/reports/pdf/... · 2019-02-25 · พื้นที่ริมทางหลวง

6

ภาพที่ 3-1 แผนที่เสี่ยงเกิดไฟป่าประเทศไทย ประจ าเดือน กุมภาพันธ์ 2562

Page 7: ระหว่างวันที่ 18 – 24 กุมภาพันธ์ 2562 ...fire.gistda.or.th/fire/y2019/FR82_special/reports/pdf/... · 2019-02-25 · พื้นที่ริมทางหลวง

7

ภาพที่ 3-2 แผนที่เสี่ยงเกิดไฟป่า 10 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ระหว่างวันที่ 18 - 24 กุมภาพันธ์ 2562

Page 8: ระหว่างวันที่ 18 – 24 กุมภาพันธ์ 2562 ...fire.gistda.or.th/fire/y2019/FR82_special/reports/pdf/... · 2019-02-25 · พื้นที่ริมทางหลวง

8

4. คาดการณ์จุดสะสมความร้อนปี 2562

สทอภ. ด าเนินการวิเคราะห์คาดการณ์จุดความร้อนสะสม โดยใช้สถิติข้อมูลจุดความร้อนสะสมย้อนหลัง ระหว่างปี 2558 – 2561 บริเวณ 9 จังหวัดภาคเหนือ ในช่วงวันที่ 1 มกราคม – 31 พฤษภาคม 2562 ดังตารางที่ 4-1 และภาพที่ 4-1 ซึ่งคาดว่าจะมีจุดความร้อนสะสมในปี 2562 เฉลี่ยประมาณ 4,323 จุด ลดลงประมาณ 400 จุด หรือเพียง 8 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบกับปี 2561 อย่างไรก็ตามแนวโน้มของจุดความร้อนสะสมใน 9 จังหวัดภาคเหนือ สูงสุดได้ถึง 4,920 จุด และลดลงได้ต่ าสุด 3,280 จุด โดยมุ่งเน้นการบริหารจัดการไฟป่าและหมอกควันในช่วงก่อนและหลังวันประกาศห้ามเผาของแต่ละจังหวัด

ตารางท่ี 4-1 คาดการณ์จ านวนจุดความร้อนสะสม ปี 2562 จากข้อมูลสถิติจุดความร้อนย้อนหลัง 4 ป ี

จังหวัด จ านวนจุดความร้อนสะสม (จุด)

ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 คาดการณ์ปี 2562

เกิดจริง ปี 2562

ตาก 1,475 1,649 1,098 1,377 1,261 333 แม่ฮ่องสอน 2,349 1,401 1,188 915 838 96 เชียงใหม่ 2,068 2,083 904 650 595 411 น่าน 1,381 1,177 597 546 500 290 ล าปาง 780 857 663 429 393 321 ล าพูน 359 258 333 258 236 177 แพร่ 457 802 310 235 215 100 เชียงราย 872 1,487 210 226 207 185 พะเยา 246 419 115 86 79 47

รวมทั้งหมด 9,987 10,133 5,418 4,722 4,323 1,960

หมายเหตุ : ปี 2562 นับข้อมูลสะสม ตั้งแตส่ัปดาห์ที่ 1 ของเดือน มกราคม จนถึง สัปดาห์ ปัจจุบันที่สรุปรายงาน

ภาพที่ 4-1 กราฟแสดงจุดความร้อนสะสม 9 จังหวัดภาคเหนือ ระหว่างปี 2558 - 2562

Page 9: ระหว่างวันที่ 18 – 24 กุมภาพันธ์ 2562 ...fire.gistda.or.th/fire/y2019/FR82_special/reports/pdf/... · 2019-02-25 · พื้นที่ริมทางหลวง

9

5. พื้นที่เผาไหม้ 9 จังหวัดภาคเหนือ ระหว่างวันที่ 1 - 31 มกราคม 2562

สทอภ. ได้วิเคราะห์และค านวณพ้ืนที่เผาไหม้ (burnt scar) จากภาพดาวเทียม LANDSAT-8 ปรับปรุงทุก 2 สัปดาห์ ด้วยการใช้ค่าความแตกต่าง ดัชนีการเผาไหม้ (Difference Normalized Burn Ratio; DifNBR) และการวิธี Object Oriented พร้อมกับตรวจสอบความถูกต้องของผลการวิเคราะห์ด้วยสายตา (Visualize) ผลการวิเคราะห์พ้ืนที่เผาไหม้จากข้อมูลดาวเทียม พบว่ามีพ้ืนที่เผาไหม้ ระหว่างวันที่ 1 – 31 มกราคม 2562รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 5-1 และภาพที่ 5-1 ตารางท่ี 5-1 พ้ืนที่เผาไหม้ ในพ้ืนที่ 9 จังหวัดภาคเหนือ ปี 2562 (ระหว่างวันที่ 1 – 31 มกราคม 2562)

จังหวัด ป่า

อนุรักษ์ เขตสปก.

ป่าสงวน

แห่งชาติ

พื้นที่ริม

ทางหลวง

พื้นที่

เกษตร

ชุมชนและ

อ่ืนๆ

รวม

ทั้งหมด

(ไร่)

เชียงราย 0 1,365 14,614 62 13,910 544 30,493

เชียงใหม่ 97 217 27,451 153 5,649 2,752 36,319

ตาก 929 249 32,103 138 7,624 1,389 42,433

น่าน 256 0 16,350 61 3,999 393 21,059

พะเยา 0 134 1,243 122 9,027 96 10,622

แพร่ 70 134 1,559 77 1,547 256 3,644

แม่ฮ่องสอน 13,064 82 13,533 40 2,491 1,161 30,371

ล าปาง 36 133 13,914 143 3,143 924 18,293

ล าพูน 34 129 4,873 86 1,854 2,889 9,865

รวมทั้งหมด 14,486 2,444 125,639 882 49,243 10,405 203,099

Page 10: ระหว่างวันที่ 18 – 24 กุมภาพันธ์ 2562 ...fire.gistda.or.th/fire/y2019/FR82_special/reports/pdf/... · 2019-02-25 · พื้นที่ริมทางหลวง

10

ภาพที่ 5-1 พ้ืนที่เผาไหม้ ในพ้ืนที่ 9 จังหวัดภาคเหนือ ปี 2562 (ระหว่างวันที่ 1 – 31 มกราคม 2562)

Page 11: ระหว่างวันที่ 18 – 24 กุมภาพันธ์ 2562 ...fire.gistda.or.th/fire/y2019/FR82_special/reports/pdf/... · 2019-02-25 · พื้นที่ริมทางหลวง

11

6. ข้อมูลคุณภาพอากาศพ้ืนที่ 9 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ในรอบ 7 วัน

สทอภ. ได้รวมรวมข้อมูลคุณภาพอากาศรายวัน ซึ่งเป็นข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบเบื้องต้น โดยส่วนคุณภาพอากาศ กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ ในช่วงเวลา 7 วัน มาประมวลผล วิเคราะห์ เพ่ือหาค่าเฉลี่ย และสรุปสถานการณ์คุณภาพอากาศโดยรวมในช่วง 7 วันที่ผ่านมาพบว่า ในพ้ืนที่ภาคเหนือ ระหว่างวันที่ 18 – 24 กุมภาพันธ์ 2562 คุณภาพอากาศ ดังแสดงในตารางที่ 6-1

ตารางที่ 6-1 สถานการณ์คุณภาพอากาศโดยรวม ระหว่าง วันที่ 18 – 24 กุมภาพันธ์ 2562

พ้ืนที ่

PM2.5 PM10 O3 CO

AQI คุณภาพอากาศ (ug/m3) (ug/m3) (ppb) (ppm) NO2 SO2

Avg Avg Avg Avg (ppb) (ppb)

24Hr 24Hr 8Hr 8Hr

เชียงราย ต.เวียง อ.เมอืง 37 59 19 0.45 11 56 ปานกลาง

ต.เวียงพางค า อ.แม่สาย 42 64 22 0.73 67 ปานกลาง

เชียงใหม่

ต.ช้างเผอืก อ.เมือง 58 84 20 16 1 117 เริ่มมีผลกระทบ

ต่อสุขภาพ

ต.ศรีภูมิ อ.เมือง 54 71 1.00 20 1 106 เริ่มมีผลกระทบ

ต่อสุขภาพ

ต.สุเทพ อ.เมือง 47 53 46 คุณภาพด ี

ต.ช่างเคิ่ง อ.แม่แจม่ 62 80 124 เริ่มมีผลกระทบ

ต่อสุขภาพ

ล าปาง

อ.พระบาท อ.เมอืง 66 89 15 0.74 9 2 134 เริ่มมีผลกระทบ

ต่อสุขภาพ

ต.สบป้าด อ.แม่เมาะ 38 55 14 1.47 4 1 62 ปานกลาง

ต.บ้านดง อ.แมเ่มาะ 63 75 13 11 2 126 เริ่มมีผลกระทบ

ต่อสุขภาพ

ต.แม่เมาะ อ.แม่เมาะ 57 79 27 12 2 111 เริ่มมีผลกระทบ

ต่อสุขภาพ

ล าพูน ต.บ้านกลาง อ.เมือง 68 98 7 0.68 27 3 143 เริ่มมีผลกระทบ

ต่อสุขภาพ

แม่ฮ่องสอน ต.จองค่า อ.เมือง 52 68 10 0.48 5 100 ปานกลาง

น่าน ต.ในเวียง อ.เมือง 50 72 15 0.28 5 1 93 ปานกลาง

ต.ห้วยโก๋น อ.เฉลมิพระเกียรติ ์ 39 54 9 0.37 2 0 63 ปานกลาง

แพร ่ ต.นาจกัร อ.เมือง 49 63 14.71 1 0 2 87 ปานกลาง

พะเยา ต.เวียง อ.เมอืง 55 87 0 10 1 110 เริ่มมีผลกระทบ

ต่อสุขภาพ

ตาก ต.แม่ปะ อ.แม่สอด 48 83 13.71 0 9 92 ปานกลาง

ที่มา : ส่วนคุณภาพอากาศ กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ