7
1 หมายเหตุ - ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฎ เป็นข้อมูลที่ได้ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายที่มา และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ เท่านั้น ทั้งนี้ สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน จะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดใด ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มี บุคคลนำา ข้อมูลไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri รายงานพิเศษ - การบริโภคผลไม้เกษตรอินทรีย์ของเยอรมนี สำานักงานส่งเสริมการค้าต่างประเทศ กรุงเบอร์ลิน กรกฎาคม 2559 รายงานพิเศษ - การบริโภคผลไม้เกษตรอินทรีย์ของเยอรมนี สถานการณ์ทั่วไปของธุรกิจเกษตรอินทรีย์ในเยอรมนี ในปี 2015 พื้นที่สำาหรับเพราะปลูกและประกอบธุรกิจเกษตรอินทรีย์ในเยอรมนีอยู่ที่ 23,098 เฮกเตอร์ หรือมีการขยายตัวขึ้นร้อยละ 3.2 นั้นหมายความว่ามีการขยายตัวของพื้นที่มากขึ้น ซึ่งมากกว่า ปี 2014 มากที่มีการขยายตัวขึ้นเพียงร้อยละ 0.6 เท่านั้น ซึ่งสมาคมเกษตรอินทรีย์ต่างเป็นผู้ครอบครอง พื้นที่กว่า 2 ใน 3 ของพื้นที่สำาหรับเกษตรอินทรีย์ทั้งหมด และมากกว่าครึ่งของเกษตรกรเกษตรอินทรีย์ (51.9%) เป็นส่วนหนึ่งของสมาคมเกษตรอินทรีย์ต่างๆ โดยในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาจำานวนฟาร์มที่ผลิต ผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ในเยอรมนีมีการขยายตัวขึ้นร้อยละ 30 ในขณะที่จำานวนฟาร์มปกติลดลงร้อย ละ 32 ในช่วงเวลาเดียวกัน โดยในปี 2015 จำานวนฟาร์มเกษตรอินทรีย์ในเยอรมนีขยายตัวขึ้นร้อยละ 4 หรืออยู่ที่ 24,343 ฟาร์ม หรือมีจำานวนเพิ่มขึ้นถึง 1,000 ฟาร์มโดยประมาณ ทั้งนี้การที่จำานวนฟาร์มดัง กล่าว มีจำานวนมากขึ้นนั้น เพราะนโยบายต่างๆ ด้านการเมืองที่เอื้ออำานวย มีการประกอบธุรกิจเกษตร อินทรีย์มากขึ้น โดยเฉพาะภาคการเมืองท้องถิ่นในรัฐต่างๆ ที่สนับสนุนการประกอบธุรกิจเกษตรอินทรีย์ และท้ายสุดความพยายามของเกษตรกรผู้ผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์นั้นเริ่มออกดอกออกผลให้เห็น ส่งผล ให้เกษตรกรรายอื่นๆเห็นคุณค่าของเกษตรอินทรีย์และหันมาผลิตสินค้าแบบเกษตรอินทรีย์มากขึ้น โดยความต้องการสินค้าจากเกษตรอินทรีย์ในประเทศที่มีความมั่นคงส่งผลให้ สินค้าเกษตรอินทรีย์ไม่ได้ รับผลกระทบในช่วงวิกฤติด้านการเมืองในยุโรปมากเหมือนสินค้าเกษตรทั่วไป และเมื่อดูการพัฒนาด้าน การตลาดแล้วนั้น ความต้องการสินค้าเกษตรอินทรีย์ในประเทศเยอรมนี ยังมีแน้วโน้มและมีศักยภาพใน การขยายตัวอยู่ เพราะอุปทานยังสูงกว่าอุปสงค์อยู่มาก อีกทั้งในปี 2016 เงินสนับสนุนเกษตรกรที่ผลิต สินค้าเกษตรอินทรีย์จากสหภาพยุโรป (EU) ยังคงดำาเนินต่อไป การผลิตสินค้าผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ที่ผลิตในเยอรมนี ในปี 2014 มีไก่ไข่ที่ถูกเลี้ยงดูแบบเกษตรอินทรีย์ในเยอรมนีจำานวน 4.2 ล้านตัว ซึ่งมีจำานวนมาก ขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะในรัฐ Niedersachsen ที่มีจำานวนฟาร์มไก่อินทรีย์เพิ่มขึ้นมาก โดยในปี 2014 ไข่ที

รายงานพิเศษ - MOC...เน อแพะและแกะ ต น 3,530 3,480 3,450 3,250 3,250 3,000 3,030 ส ตว ป ก ต น 8,870 11,870 11,630 11,480

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: รายงานพิเศษ - MOC...เน อแพะและแกะ ต น 3,530 3,480 3,450 3,250 3,250 3,000 3,030 ส ตว ป ก ต น 8,870 11,870 11,630 11,480

1

หมายเหตุ - ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฎ เป็นข้อมูลที่ได้ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายที่มา และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ

เท่านั้น ทั้งนี้ สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน จะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดใด ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มี

บุคคลนำา ข้อมูลไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานพิเศษ - การบริโภคผลไม้เกษตรอินทรีย์ของเยอรมนี

สำานักงานส่งเสริมการค้าต่างประเทศ กรุงเบอร์ลิน

กรกฎาคม 2559

รายงานพิเศษ - การบริโภคผลไม้เกษตรอินทรีย์ของเยอรมนี

สถานการณ์ทั่วไปของธุรกิจเกษตรอินทรีย์ในเยอรมนี

ในปี 2015 พื้นที่สำาหรับเพราะปลูกและประกอบธุรกิจเกษตรอินทรีย์ในเยอรมนีอยู่ที่ 23,098

เฮกเตอร์ หรือมีการขยายตัวขึ้นร้อยละ 3.2 นั้นหมายความว่ามีการขยายตัวของพื้นที่มากขึ้น ซึ่งมากกว่า

ปี 2014 มากที่มีการขยายตัวขึ้นเพียงร้อยละ 0.6 เท่านั้น ซึ่งสมาคมเกษตรอินทรีย์ต่างเป็นผู้ครอบครอง

พื้นที่กว่า 2 ใน 3 ของพื้นที่สำาหรับเกษตรอินทรีย์ทั้งหมด และมากกว่าครึ่งของเกษตรกรเกษตรอินทรีย์

(51.9%) เป็นส่วนหนึ่งของสมาคมเกษตรอินทรีย์ต่างๆ โดยในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาจำานวนฟาร์มที่ผลิต

ผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ในเยอรมนีมีการขยายตัวขึ้นร้อยละ 30 ในขณะที่จำานวนฟาร์มปกติลดลงร้อย

ละ 32 ในช่วงเวลาเดียวกัน โดยในปี 2015 จำานวนฟาร์มเกษตรอินทรีย์ในเยอรมนีขยายตัวขึ้นร้อยละ 4

หรืออยู่ที่ 24,343 ฟาร์ม หรือมีจำานวนเพิ่มขึ้นถึง 1,000 ฟาร์มโดยประมาณ ทั้งนี้การที่จำานวนฟาร์มดัง

กล่าว มีจำานวนมากขึ้นนั้น เพราะนโยบายต่างๆ ด้านการเมืองที่เอื้ออำานวย มีการประกอบธุรกิจเกษตร

อินทรีย์มากขึ้น โดยเฉพาะภาคการเมืองท้องถิ่นในรัฐต่างๆ ที่สนับสนุนการประกอบธุรกิจเกษตรอินทรีย์

และท้ายสุดความพยายามของเกษตรกรผู้ผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์นั้นเริ่มออกดอกออกผลให้เห็น ส่งผล

ให้เกษตรกรรายอื่นๆเห็นคุณค่าของเกษตรอินทรีย์และหันมาผลิตสินค้าแบบเกษตรอินทรีย์มากขึ้น

โดยความต้องการสินค้าจากเกษตรอินทรีย์ในประเทศที่มีความมั่นคงส่งผลให้ สินค้าเกษตรอินทรีย์ไม่ได้

รับผลกระทบในช่วงวิกฤติด้านการเมืองในยุโรปมากเหมือนสินค้าเกษตรทั่วไป และเมื่อดูการพัฒนาด้าน

การตลาดแล้วนั้น ความต้องการสินค้าเกษตรอินทรีย์ในประเทศเยอรมนี ยังมีแน้วโน้มและมีศักยภาพใน

การขยายตัวอยู่ เพราะอุปทานยังสูงกว่าอุปสงค์อยู่มาก อีกทั้งในปี 2016 เงินสนับสนุนเกษตรกรที่ผลิต

สินค้าเกษตรอินทรีย์จากสหภาพยุโรป (EU) ยังคงดำาเนินต่อไป

การผลิตสินค้าผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ที่ผลิตในเยอรมนี

ในปี 2014 มีไก่ไข่ที่ถูกเลี้ยงดูแบบเกษตรอินทรีย์ในเยอรมนีจำานวน 4.2 ล้านตัว ซึ่งมีจำานวนมาก

ขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะในรัฐ Niedersachsen ที่มีจำานวนฟาร์มไก่อินทรีย์เพิ่มขึ้นมาก โดยในปี 2014 ไข่ที่

Page 2: รายงานพิเศษ - MOC...เน อแพะและแกะ ต น 3,530 3,480 3,450 3,250 3,250 3,000 3,030 ส ตว ป ก ต น 8,870 11,870 11,630 11,480

2

หมายเหตุ - ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฎ เป็นข้อมูลที่ได้ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายที่มา และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ

เท่านั้น ทั้งนี้ สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน จะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดใด ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มี

บุคคลนำา ข้อมูลไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

จำาหน่ายในเยอรมนี 1 ใน 10 ฟองเป็นไข่ถูกเลี้ยงดูแบบเกษตรอินทรีย์ทั้งสิ้น ปริมาณน้ำานมวัวที่ถูกเลี้ยง

ดูแบบเกษตรอินทรีย์ในปี 2014 ขยายตัวขึ้นร้อยละ 4 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้านั้น หรืออยู่ที่ 710 ล้าน

กิโลกรัม ซึ่งเป็นเพราะอาหารสัตว์ที่มีคุณภาพดีมาก และในเวลาเดียวกันความต้องการสินค้าที่ผลิตจาก

น้ำานมวัวที่ถูกเลี้ยงดูแบบเกษตรอินทรีย์สูงขึ้นเป็นเหตุให้ต้องนำาเข้าน้ำานมดังกล่าวจาก ประเทศเดนมาร์ค

และออสเตรียอยู่ ส่วนในด้านเนื้อสัตว์นั้น การผลิตเนื้อสุกรที่เลี้ยงดูแบบเกษตรอินทรีย์มีปริมาณลดลง

แต่ปริมาณเนื้อวัวฯขยายตัวขึ้น และสามารถผลิต และส่งมารองรับความต้องการในตลาดได้มากขึ้น ในปี

2014 ร้อยละ 9 ของพื้นที่ในการปลูกผักทั้งประเทศเป็นการปลูกผักอินทรีย์หรืออยู่ที่ 10,392 เฮกเตอร์

สำาหรับการปลูกผักเรือนกระจกสัดส่วนการปลูกผักอินทรีย์อยู่ที่ร้อยละ 20 ของพื้นที่ทั้งหมดเลยทีเดียว

และพื้นที่การปลูกผลไม้แบบมีเมล็ดเกษตรอินทรีย์ปี 2014 ขยายตัวขึ้นเป็น 5,200 เฮกเตอร์ หรือจัดเป็น

ร้อยละ 15 ของพื้นที่ปลูกผลไม้แบบมีเมล็ดทั้งหมดเลยที่เดียว ในส่วนผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ ที่ปลูกแบบ

เกษตรอินทรีย์มีสัดส่วนถึงร้อยละ 24 ของพื้นที่ปลูกผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ทั้งประเทศเลยทีเดียว

พื้นที่และการเกษตรกรรมแบบเกษตรอินทรีย์ของประเทศเยอรมนี

พันธ/์รูปแบบ หน่วย 2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014

พื้นที่สีเขียวสําหรับเลี้ยงสัตว์ เฮกเตอร ์ 490,000 500,000 520,000 535,000 560,000 565,000 565,000

พื้นที่ทําการเกษตร เฮกเตอร ์ 385,000 415,000 435,000 435,000 430,000 440,000 440,000

ธัญพืช เฮกเตอร ์ 188,000 209,000 207,000 204,000 202,000 202,000 199,000

เพาะปลูกอาหารสัตว์ เฮกเตอร ์ 138,000 153,000 151,000 154,000 153,000 153,000 149,000

พืชตะกูลถั่ว มีเปลือก เฮกเตอร ์ 23,800 21,900 27,000 25,500 22,200 25,000 26,000

พืชสําหรับผลิตน้ํามัน เฮกเตอร ์ 5,700 7,200 6,800 5,800 8,200 8,300 7,300

ผัก (รวมสตอเบอร์รี่) เฮกเตอร ์ 10,600 10,520 10,590 10,890 10,470 10,785 10,392

ผลไม้ เฮกเตอร ์ 5,600 5,700 5,700 5,800 8,346 8,485 8,865

ปลูกองุ่นสําหรับไวน์ เฮกเตอร ์ 4,400 4,700 5,400 6,900 7,400 7,100 7,500

เนื้อวัว ตัน 35,800 37,700 38,000 39,500 39,200 38,400 39,300

เนื้อสุกร ตัน 21,900 22,900 22,900 20,800 22,100 22,300 20,800

เนื้อแพะและแกะ ตัน 3,530 3,480 3,450 3,250 3,250 3,000 3,030

สัตว์ปีก ตัน 8,870 11,870 11,630 11,480 13,390 15,180 17,530

ไข ่ ล้านลูก 468 565 621 783 891 1,034 1,134

ผลิตภัณฑ์จากนม ตัน 460,600 545,500 595,300 657,200 670,930 682,100 707,900

การจำาหน่ายสินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ผลิตในเยอรมนี

ยอดจำาหน่ายสินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ผลิตในเยอรมนีปี 2014 ขยายตัวขึ้นร้อยละ 7 หรืออยู่ที่ 1.65

พันล้านยูโร ซึ่งในปีก่อนหน้านี้ยอดจำาหน่ายก็ได้ขยายตัวขึ้นมามากแล้ว โดยสินค้าที่เป็นตัวผลักดันให้ยอด

จำาหน่ายขยายตัวขึ้นก็คือ ผลิตภัณฑ์สินค้าที่ประกอบไปด้วยเนื้อสัตว์ อีกทั้งราคา น้ำานมเกษตรอินทรีย์ที่

ขยายตัวขึ้น และปริมาณการผลิตไข่ สัตว์ปีก และราคาธัญพืชก็สูงขึ้นตาม ในทางตรงกันข้ามราคาพืช

เกษตรอินทรีย์กลับลดตัวลง เนื่องจากปริมาณที่ผลิตสูงมากเป็นพิเศษ โดยส่วนแบ่งตลาดด้านราคาของ

สินค้าเกษตรอินทรีย์ในเยอรมนียังคงที่อยู่ที่ร้อยละ 3.4

Page 3: รายงานพิเศษ - MOC...เน อแพะและแกะ ต น 3,530 3,480 3,450 3,250 3,250 3,000 3,030 ส ตว ป ก ต น 8,870 11,870 11,630 11,480

3

หมายเหตุ - ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฎ เป็นข้อมูลที่ได้ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายที่มา และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ

เท่านั้น ทั้งนี้ สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน จะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดใด ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มี

บุคคลนำา ข้อมูลไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

สินค้าเกษตรอินทรีย์ไทยในเยอรมนี

จากข้อมูล และรายละเอียดจากผู้นำาเข้าสินค้าบริโภครายใหญ่ในเยอรมนี ทำาให้เห็นว่าผู้บริโภค

ที่เป็นคนเอเชียยังไม่ได้มีความตื่นตัว และต้องการที่จะบริโภคสินค้าเอเชียที่เป็นสินค้าเกษตรอินทรีย์

เป็นพิเศษ เพราะสินค้าจำาพวกเนื้อสัตว์ ไข่อินทรีย์ หรือจำาพวกผักหรือผลไม้สามารถหาซื้อได้ในร้านค้า

ทั่วไป จึงไม่มีการนำาเข้าสินค้าเกษตรอินทรีย์จำาพวกผักหรือผลไม้เป็นพิเศษ โดยสินค้าเกษตรอินทรีย์ไทย

ที่จำาหน่ายในเยอรมนีสูงที่สุด และได้รับความนิยมมากที่สุดก็คือ กะทิ ซึ่งได้รับความนิยมมากในหมู่ผู้

บริโภคชาวเยอรมัน โดยเฉพาะกลุ่มผู้บริโภคอาหารเจที่มักจะนำากะทิมาใช้ขนมแทน วิปปิ้งครีมที่มีส่วน

ผสมของนมวัว ซึ่งผู้บริโภคกลุ่มนี้ค่อนข้างเปิดกว้าง ในการลองบริโภคสินค้าใหม่ๆ

การบริโภคผลไม้ในเยอรมนี

ผู้บริโภคส่วนใหญ่นั้นนิยมบริโภคผลไม้ แต่ส่วนใหญ่เป็นผลไม้ในท้องถิ่นอย่างแอปเปิ้ล หรือผล

ไม้ที่มีการ จำาหน่ายมานานในเยอรมนีอย่างเช่น กล้วย ส้ม หรือกีวี่ เป็นต้น ในส่วนผลไม้ไทยยังจัดว่าเป็น

ผลไม้ที่แปลก และมีราคาสูง แม้ว่าจะมีการนำาเข้าผลไม้ เช่น ลิ้นจี ซึ่งจัดว่าเป็นผลไม้หายาก excotic ใน

เยอรมนี เยอรมนีนำาเข้าลี้นจี่ราคาถูกจากจีนมาจำาหน่ายในร้าน Discounter อย่าง Aldi หรือ Lidl ในบาง

ครั้ง แต่ก็เป็นลิ้นจี่ที่ไม่ได้มีคุณภาพสูงมากนัก จนทำาให้ผู้บริโภคชาวเยอรมันที่ไม่เคยบริโภคผลไม้เอเชีย

คิดไปเองว่า ผลไม้ที่มีความแปลกรสชาติจะไม่ดีตามไปด้วย และเมื่อผู้บริโภคไปเจอสินค้าที่คุณภาพดีที่

มีการจำาหน่ายในห้างสรรพสินค้าชั้นนำาก็มีราคาที่แพงกว่าผลไม้ท้องถิ่น รวมไปถึงก็กลัวว่ารสชาติจะไม่

ถูกปากเหมือนกับที่เคยบริโภคสินค้าคุณภาพแย่บางประเภทในร้าน Discounter เป็นต้น

อย่างไรก็ตามเทรนด์การรับประทานอาหาร และผลไม้ที่มีประโยชน์ และเพื่อรักษาสุขภาพก็

เริ่มที่จะแพร่กระจ่ายเข้าสู่ประเทศเยอรมนี และกำาลังได้รับความนิยมมากขึ้น ถ้านำาเทรนด์รักษาสุขภาพ

18 20 30 34 36 

66 106 108 

142 208 

227 227 

346 

เนื้อแกะ 

ต้มไม้เพาะเลี้ยง 

พืชตะกูลถั่ว มีเปลือก 

มันฝรั่ง 

เนื้อสัตว์ปีก 

เนื้อสุกร 

ผลไม้ 

ไวน์ 

เนื้อวัว 

ผัก 

ไข่ไก่ 

ธัญพืช 

นม 

สินค้าเกษตรอินทรีย์ 1,646 ล้านยูโร 

160 864 

57 968 

2018 6127 

872 1463 

4562 2440 

764 8552 

12723 

สินค้าเกษตรทั่วไป 48,135 ล้านยูโร 

Page 4: รายงานพิเศษ - MOC...เน อแพะและแกะ ต น 3,530 3,480 3,450 3,250 3,250 3,000 3,030 ส ตว ป ก ต น 8,870 11,870 11,630 11,480

4

หมายเหตุ - ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฎ เป็นข้อมูลที่ได้ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายที่มา และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ

เท่านั้น ทั้งนี้ สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน จะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดใด ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มี

บุคคลนำา ข้อมูลไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

Germany Import Statistics

Commodity: 081090, Fruit, Nesoi, Fresh

Calendar Year: 2014 - 2016

Partner Country United States Dollars % Share % Change

2014 2015 2016 2014 2015 2016 2016/2015

World 129688401 113534619 109134199 100.00 100.00 100.00 - 3.88

Netherlands 60029524 56530420 51841738 46.29 49.79 47.50 - 8.29

Spain 18332323 20762899 11960507 14.14 18.29 10.96 - 42.39

Belgium 8733350 7672034 9336877 6.73 6.76 8.56 21.70

Austria 6211805 4567748 7081586 4.79 4.02 6.49 55.03

Turkey 5566826 5534657 6005711 4.29 4.87 5.50 8.51

France 16455538 4485843 5219585 12.69 3.95 4.78 16.36

Italy 1264112 1922347 4401395 0.97 1.69 4.03 128.96

South Africa 736227 898243 2559174 0.57 0.79 2.34 184.91

Hungary 2858402 1879642 2261081 2.20 1.66 2.07 20.29

Colombia 1326319 1717856 1613819 1.02 1.51 1.48 - 6.06

Vietnam 1827167 933606 1189513 1.41 0.82 1.09 27.41

Poland 646992 1573277 1049329 0.50 1.39 0.96 - 33.30

Portugal 135674 699820 873127 0.10 0.62 0.80 24.76

Thailand 738965 747302 796843 0.57 0.66 0.73 6.63

ข้อมูลจาก Global Trade Atlas

และผลไม้ที่มีประโยชน์ต่อผู้รับประทาน มาผูกเรื่องเข้ากับผลไม้ไทยที่มีราคาไม่แพงมากเกินไปก็อาจจะ

สามารถทำาให้มีการบริโภคสินค้าผลไม้สูงขึ้นตาม

ตัวเลขการนำาเข้าผลไม้ไทยบางชนิด

ชมพู่ - ในเยอรมนีไม่ได้แยกพิกัดศุลกากร (HS-Code) ว่าเป็นสินค้าชมพู่เพียงอย่างเดียว อีกทั้งไม่มีการ

แยกว่าสินค้านั้นเป็นสินค้าธรรมดา หรือเป็นสินค้าเกษตรอินทรีย์ โดยเยอรมนีนำาเข้าผลไม้อื่นๆสด (HS-

Code 081090) ในปี 2016 จำานวน 109 ล้านเหรียญสหรัฐโดยประมาณ ภายใต้ HS-Code นี้รวมผลไม้

จำาพวก กีวี และสตอร์เบอร์รี่ไว้ด้วย ซึ่งน่าจะเป็นผลไม้ที่มีการนำาเข้าสูงสุด

Page 5: รายงานพิเศษ - MOC...เน อแพะและแกะ ต น 3,530 3,480 3,450 3,250 3,250 3,000 3,030 ส ตว ป ก ต น 8,870 11,870 11,630 11,480

5

หมายเหตุ - ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฎ เป็นข้อมูลที่ได้ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายที่มา และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ

เท่านั้น ทั้งนี้ สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน จะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดใด ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มี

บุคคลนำา ข้อมูลไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

Germany Import Statistics

Commodity: 200820, Pineapples, Prepared Or Preserved, Whether Or Not Containing Added Sweetening Or Spirit, Nesoi

Calendar Year: 2014 - 2016

Partner Country United States Dollars % Share % Change

2014 2015 2016 2014 2015 2016 2016/2015

World 93790382 103037441 107593071 100.00 100.00 100.00 4.42

Thailand 34967156 42804699 46975244 37.28 41.54 43.66 9.74

Kenya 20753790 26835532 26548587 22.13 26.04 24.67 - 1.07

Netherlands 12718690 12514083 14248560 13.56 12.15 13.24 13.86

Indonesia 8304085 10760356 9674746 8.85 10.44 8.99 - 10.09

France 9499425 2728946 2987185 10.13 2.65 2.78 9.46

Philippines 2390348 2856668 2560338 2.55 2.77 2.38 - 10.37

Vietnam 137242 1602271 1350831 0.15 1.56 1.26 - 15.69

United Kingdom 4794 1461459 1175015 0.01 1.42 1.09 - 19.60

Sri Lanka 938615 760997 823025 1.00 0.74 0.76 8.15

ข้อมูลจาก Global Trade Atlas

สับปะรดกระป๋อง - สับประรดกระป๋อง (HS-Code 200820) สามารถหาซื้อได้ในทุกช่องทางการตลาด

ในเยอรมนี เช่น ร้านค้าส่ง ร้านค้าปลีก และ Discounter ต่างๆได้ ซึ่งไม่ได้เป็นสินค้าที่มีความเฉพาะ

พิเศษแต่อย่างใด อีกทั้งสับปะรดกระป๋องจัดว่าเป็นสินค้าราคาประหยัดซึ่งผู้บริโภคชาวเยอรมัน มักจะซื้อ

ใน Discounter ทั่วไป ในราคา 1.16 ยูโรต่อ 1 กิโลกรัม โดยประมาณ อีกทั้งผู้บริโภคชาวเยอรมันส่วน

ใหญ่นำาสับปะรดกระป๋องไปเป็นส่วนผสมของผลไม้รวม เช่น ฟรุ๊ตสลัด เป็นหลัก อีกทั้งไม่มีการแยกว่า

สินค้านั้นเป็นสินค้าธรรมดา หรือเป็นสินค้าเกษตรอินทรีย์เช่นกัน โดยเยอรมนีนำาเข้าสับประรดกระป๋อง

107 ล้านเหรียญสหรัฐโดยประมาณ โดยประเทศไทยมีส่วนแบ่งตลาดอยู่ที่ร้อยะล 9.74 หรือเป็นอันดับ

หนึ่งนั้นเอง

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการนำาเข้าผักและผลไม้ในเยอรมนีลําดับ

ที่

ชื่อหน่วยงาน คําอธิบาย

1 Zoll

www.zoll.de/EN/

ศุลกากรเยอรมนี

2 Bundesverband Grosshandel (BGA)

www.globalgap.org/uk_en/

สมาคมค้าส่งเยอรมนี

3 Bund für Lebensmittelrecht und Lebensmittelkunde e.V.

https://www.bll.de/en/home

สหภาพกฎหมายด้านการบริโภคและวิทยาศาตร์

4 Deutsch Gesellschaft für Verbandsmanagement e.V.

(DGVM)

https://www.dgvm.de/

หน่วยงานบริหารสมาคมแห่งประเทศเยอรมนี

5 European Qualification Alliance SCE (EQA)

http://www.eqasce.eu/en/

สหพันธ์การศึกษาเพื่อสร้างคุณวุติประจํายุโรบ

6 Gemeinschaft zur Förderung der Interessen der

Deutschen Frischemärkte e.V. (GFI Deutsche

Frischemärkte)

http://www.frischemaerkte.org/

สหกรณ์เพื่อการพัฒนาความสนใจในตลาดสินค้าสดในเยอรมนี

7 Global Gute Agrarpraxis (GlobalG.A.P.)

http://www.globalgap.org/uk_en/index.html

หน่วยงานตรวจสอบการปฏิบัติงานด้านเกษตรกรรม

8 Import Promotion Desk (IPD)

http://importpromotiondesk.com/en/

หน่วยงานส่งเสริมการนําเข้าประเทศเยอรมนี

9 Internationales Schiedsgericht für Obst und Gemüse

(CAIFL)

อนุญาโตตุลาการนานาชาติด้านผักและผลไม้

10 Qs Fachgesellschaft Obst-Gemüse-Kartoffeln GMBH (QS)

https://www.q-s.de/en/

หน่วยงานตรวจสอบคุณภาพและความปลอดภัยสินค้าสด

11 ZLG - Zentralstelle der Länder für Gesundheitsschutz

bei Arzneimitteln und Medizinprodukten

https://www.zlg.de/arzneimittel/deutschland/laenderbeh

oerden.html

ศูนย์กลางการดูแลสุขภาพระหว่างรัฐด้านเวชภัณฑ์

และผลิตภัณฑ์ดูแลสุขภาพ

12 Bundesministerium für Gesundheit (BMG)

http://www.bundesgesundheitsministerium.de/

กระทรวงสาธารณสุข

13 Paul-Ehrlich-Institut

http://www.pei.de/DE/home/de-node.html

สถาบัน Paul-Ehrlich ดูแลเรื่อง การฉีดวักซีน และเวชภัณฑ์จากธรรมชาต ิ

14 EMA – European Medicines Agency

http://www.ema.europa.eu/ema/

หน่วยงานเวชภัณฑ์ยุโรป

15 BfArM – Bundesinstitut für Arzneimittel und

Medizinprodukte

http://www.bfarm.de/DE/Home/home_node.html

สถาบันการใช้เวชภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยงข้องแห่งชาติ ดูแลเรื่อง

การออกใบรับรอง และแสดงความชัดเจนว่า สมุนไพรใด

สามารถใช้ได้ขนาดไหน และจัดเป็นเวชภัณฑ์หรือยัง

16 Bundeamt für Verbraucherschutz und

Lebensmittelsicherheit (BVL)

http://www.bvl.bund.de/DE/Home/homepage_node.html

กรมรักษาสิทธิผู้บริโภคและความปลอดภัยของ

17 Bundesministerium für Umwelt, Naturschutz, Bau und กระทรวงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม รักษาธรรมชาติ

Page 6: รายงานพิเศษ - MOC...เน อแพะและแกะ ต น 3,530 3,480 3,450 3,250 3,250 3,000 3,030 ส ตว ป ก ต น 8,870 11,870 11,630 11,480

6

หมายเหตุ - ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฎ เป็นข้อมูลที่ได้ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายที่มา และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ

เท่านั้น ทั้งนี้ สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน จะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดใด ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มี

บุคคลนำา ข้อมูลไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

ลําดับ

ที่

ชื่อหน่วยงาน คําอธิบาย

1 Zoll

www.zoll.de/EN/

ศุลกากรเยอรมนี

2 Bundesverband Grosshandel (BGA)

www.globalgap.org/uk_en/

สมาคมค้าส่งเยอรมนี

3 Bund für Lebensmittelrecht und Lebensmittelkunde e.V.

https://www.bll.de/en/home

สหภาพกฎหมายด้านการบริโภคและวิทยาศาตร์

4 Deutsch Gesellschaft für Verbandsmanagement e.V.

(DGVM)

https://www.dgvm.de/

หน่วยงานบริหารสมาคมแห่งประเทศเยอรมนี

5 European Qualification Alliance SCE (EQA)

http://www.eqasce.eu/en/

สหพันธ์การศึกษาเพื่อสร้างคุณวุติประจํายุโรบ

6 Gemeinschaft zur Förderung der Interessen der

Deutschen Frischemärkte e.V. (GFI Deutsche

Frischemärkte)

http://www.frischemaerkte.org/

สหกรณ์เพื่อการพัฒนาความสนใจในตลาดสินค้าสดในเยอรมนี

7 Global Gute Agrarpraxis (GlobalG.A.P.)

http://www.globalgap.org/uk_en/index.html

หน่วยงานตรวจสอบการปฏิบัติงานด้านเกษตรกรรม

8 Import Promotion Desk (IPD)

http://importpromotiondesk.com/en/

หน่วยงานส่งเสริมการนําเข้าประเทศเยอรมนี

9 Internationales Schiedsgericht für Obst und Gemüse

(CAIFL)

อนุญาโตตุลาการนานาชาติด้านผักและผลไม้

10 Qs Fachgesellschaft Obst-Gemüse-Kartoffeln GMBH (QS)

https://www.q-s.de/en/

หน่วยงานตรวจสอบคุณภาพและความปลอดภัยสินค้าสด

11 ZLG - Zentralstelle der Länder für Gesundheitsschutz

bei Arzneimitteln und Medizinprodukten

https://www.zlg.de/arzneimittel/deutschland/laenderbeh

oerden.html

ศูนย์กลางการดูแลสุขภาพระหว่างรัฐด้านเวชภัณฑ์

และผลิตภัณฑ์ดูแลสุขภาพ

12 Bundesministerium für Gesundheit (BMG)

http://www.bundesgesundheitsministerium.de/

กระทรวงสาธารณสุข

13 Paul-Ehrlich-Institut

http://www.pei.de/DE/home/de-node.html

สถาบัน Paul-Ehrlich ดูแลเรื่อง การฉีดวักซีน และเวชภัณฑ์จากธรรมชาต ิ

14 EMA – European Medicines Agency

http://www.ema.europa.eu/ema/

หน่วยงานเวชภัณฑ์ยุโรป

15 BfArM – Bundesinstitut für Arzneimittel und

Medizinprodukte

http://www.bfarm.de/DE/Home/home_node.html

สถาบันการใช้เวชภัณฑ์และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยงข้องแห่งชาติ ดูแลเรื่อง

การออกใบรับรอง และแสดงความชัดเจนว่า สมุนไพรใด

สามารถใช้ได้ขนาดไหน และจัดเป็นเวชภัณฑ์หรือยัง

16 Bundeamt für Verbraucherschutz und

Lebensmittelsicherheit (BVL)

http://www.bvl.bund.de/DE/Home/homepage_node.html

กรมรักษาสิทธิผู้บริโภคและความปลอดภัยของ

17 Bundesministerium für Umwelt, Naturschutz, Bau und กระทรวงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม รักษาธรรมชาติ

ข้อคิดเห็น/เสนอแนะของสคต. - ผลไม้ไทยที่เป็นที่รู้จักในกลุ่มผู้บริโภคชาวเยอรมันมากที่สุดก็คือ มะม่วง

และมะพร้าว โดยมะม่วงไทยเป็นผลไม้ที่มีราคาสูงเพราะต้องนำาเข้าทางอากาศ ราคาสินค้าจึงสูงเป็น

พิเศษ โดยผู้บริโภคมักจะนำามาเป็นของหวาน และรับรองแขกพิเศษ เป็นต้น ในส่วนผู้บริโภคชาวเอเซียใน

Page 7: รายงานพิเศษ - MOC...เน อแพะและแกะ ต น 3,530 3,480 3,450 3,250 3,250 3,000 3,030 ส ตว ป ก ต น 8,870 11,870 11,630 11,480

7

หมายเหตุ - ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฎ เป็นข้อมูลที่ได้ จากแหล่งข้อมูลหลากหลายที่มา และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ

เท่านั้น ทั้งนี้ สำานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเบอร์ลิน จะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดใด ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มี

บุคคลนำา ข้อมูลไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

รายงานโดยนาย ธนิต หิรัญกิจรังษี / von Herr Thanit Hirungitrungsri

Office of Commercial Affairs - Royal Thai EmbassyPetzowerstr. 1, 14109 Berlin, Germanyemail - [email protected]

เยอรมนีนั้น นิยมบริโภคทุเรียนมากเป็นพิเศษ จากการหารือกับผู้นำาเข้าสินค้าเอเซียรายใหญ่ของเยอรมนี

ทำาให้ทราบว่า มีการนำาเข้าทุเรียนสดเข้ามาในเยอรมนีเองป็นจำานวนมาก ในส่วนมะพร้าว ผู้บริโภคชาว

เยอรมันนิยมบริโภค น้ำามะพร้าวมาก เพราะเป็นสินค้าที่มาตอบสนองเทรนด์รักษาสุขภาพ แต่น้ำามะพร้าว

ส่วนใหญ่เป็นน้ำามะพร้าว ที่บรรจุอยู่ในบรรจุภัณฑ์เรียบร้อยแล้ว มะพร้าวสด มีการบริโภคน้อยอยู่เพราะ

มีราคาแพง ซึ่งส่วนใหญ่ มีการจำาหน่ายในร้านอาหารไทยเป็นหลัก อย่างไรก็ตามในเดือนที่ผ่านมา เริ่มมี

การจำาหน่ายมะพร้าวสด เป็นลูกในร้าน Discounter Aldi ในประเทศเยอรมนี โดยเน้นสาขาที่ทำากำาไร

ได้สูง และอยู่ในย่านที่ผู้อยู่อาศัยมีกำาลังในการบริโภคสูงเป็นหลัก แต่มะพร้าวสดดังกล่าวเป็นมะพร้าวลูก

เล็กมาก และนำาเข้าจากประเทศเวียดนาม ซึ่งราคาส่งน่าจะถูกมาก มิฉะนั้นร้าน Aldi จะไม่นำามาจำาหน่าย

ในร้านเด็ดขาด

โดยปัญหาใหญ่ที่ทำาให้ผลไม้ไทยไม่เป็นที่รู้จักในประเทศเยอรมนีมากนั้นก็คือ ราคา เพราะผู้

บริโภคชาวเยอรมันคุณเคยกับสินค้าดี แต่มีราคาถูก ถ้าสินค้ามีราคาถูกก็มีความพร้อมที่จะทดลอง ชิม

หรือซื้อหาไปทดลองรับประทานที่บ้าน โดยกลุ่มผู้บริโภคที่เน้นสินค้าราคาประหยัดก็คือ ผู้บริโภคทั่วไปที่

มีครอบครัว อย่างไรก็ตามยังมีผู้บริโภคกลุ่มหนุ่มสาวในเมืองใหญ่ที่พร้อมที่จะชำาระค่าสินค้าในราคาสูงได้

ถ้าสินค้าดังกล่าวถูกใจตน เช่น เป็นสินค้าเกษตรอินทรีย์ เป็นสินค้า FairTrade เป็นต้น โดยผู้ประกอบ

การที่มีความสนใจในเรื่องดังกล่าว อาจใช้ปัจจัยที่กล่าวข้างต้นมาสร้างจุดแข็งในการบุกตลาดเยอรมัน

ข้อมูลจาก: กระทรวงเกษตรเยอรมนี, สมาคมเศรษฐกิจสินค้าบริโภคแบบอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (BOLW –

Bund Ökologische Lebensmittelwirtschaft)