28
การจัดทาแผนและตัวชี้วัด ด้านสุขภาพ พญ.มานิตา พรรณวดี รองผู ้อานวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

การจัดท าแผนและตัวชี้วัด ด้าน ...bps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/Planning a...การจ ดท าแผนและต

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

การจัดท าแผนและตัวชี้วัดด้านสุขภาพ

พญ.มานิตา พรรณวดี รองผู้อ านวยการกองยทุธศาสตร์และแผนงาน

ส านกังานปลดักระทรวงสาธารณสขุ

Outline

Measurement

การจัดท าแผน

การสร้าง KPIs

Measurement

Type of basis data analysis Descriptive

Epidemiology

Analytic Epidemiology

1. Counting: (นับจ านวน) Counts cases or health events, and describes them in terms of time, place, and person

2. Dividing: (หาร) Divides the number of cases by an appropriate denominator to calculate “rates”

3. Comparing: (เปรียบเทียบ) Compares these “rates” over time or for different groups of people

*ค ำว่ำ rate ในที่นี้ใช้ในควำมหมำยทั่วไป หมำยถึง กำรหำรตัวเลขหนึ่งด้วยตัวเลขอีกตัวหนึ่ง

Dividing

1. เพื่อแสดงขนาดของปัญหา สะท้อนโอกำส (หรือควำมเสี่ยง) ที่จะเกิดปัญหำ ตัวหำรต้องเป็น “Population at risk” ที่จะเกิดปัญหำนั้นๆ

2. เพื่อแสดงลักษณะของตัวอย่างของตัวอย่างหรือประชากร ตัวหำรอำจเป็น “Population at risk” หรือไม่ก็ได ้

วัตถุประสงค์ของการหาร

Appropriate Denominator for Cervical Carcinoma?

6

Men Women

0-25 years

25-69 years

70+ years

25-69 years

Total population All women (age groups)

Population at risk

Source: Basic Epidemiology, 2nd Ed., R Bonita, 2006

All of them still have cervix?

Ratio vs. Proportion vs. Rate

Ratio (อัตรำส่วน)

Proportion (สัดส่วน)

Rate (อัตรำ)

เท่ำกับ A / B โดยที่ A จะเป็นหรือไม่เป็นส่วนหนึ่งของ B ก็ได้ และไม่จ ำเป็นต้องมีหน่วยเดียวกัน

เช่น อัตรำส่วนจ ำนวนผู้ป่วยเด็กต่อจ ำนวนผู้ป่วยผู้ใหญ่ อัตรำส่วนจ ำนวนเตียงผู้ป่วยต่อจ ำนวนประชำกร

เท่ำกับ A / B โดยที่ A เป็นส่วนหนึ่งของ B และมีหน่วยเดียวกัน มีค่ำอยู่ในช่วงตั้งแต่ 0 ถึง 1 (แต่อำจจะแสดงเป็น ต่อร้อย ต่อหมื่น ต่อแสน ฯลฯ) เช่น สัดส่วนของเพศชำยในประชำกรทั้งหมด สัดส่วนผู้ป่วยเด็ก

ในวิชำคณิตศำสตร์ คือ กำรเปลี่ยนแปลงของปริมำณหนึ่งเทียบกับอีกปริมำณหนึ่ง ในระบำดวิทยำ คือ จ ำนวนผู้ป่วยที่เกิดขึ้น (A) / เวลำที่ท ำกำรสังเกตุ (Time)

Frequency (or Magnitude) of Health Problem

แสดงได้ 2 ลักษณะ

1. จ านวนผู้ป่วย (หรือจ านวนผู้เสยีชีวิต) เข้ำใจง่ำย บอกถึงปริมำณปัญหำที่แท้จริง (ที่ต้องจัดเตรียมทรัพยำกรรองรับ)

แต่ไม่สะท้อนควำมเสี่ยงของปัญหำโดยตรง หำกเปรียบเทียบกับประชำกรอื่นที่ขนำดแตกต่ำงกัน

2. อัตราป่วย (หรืออัตราตาย) ใช้เปรียบเทียบระหว่ำงประชำกรแต่ละกลุ่ม

ตัวตั้ง คือ จ ำนวนผู้ป่วย (หรือตำย)

ตัวหำร คือ จ ำนวน ประชากรผู้มีโอกาสเกิดโรค (Population at risk)

นิยมแสดงเป็นจ ำนวน ต่อ 100,000 ประชำกร

Types of Measures of Frequency

Prevalence (ความชุก):

Incidence (อุบัติการณ์):

การวัดขนาดของโรคหรือสภาวะที่ “มีอยู”่ ใน ณ จุดหรือช่วงเวลาที่ก าหนด

นับรวมทั้งรายใหม่และรายเก่า

การวัดขนาดของโรคหรือสภาวะที่ “เกิดขึ้นใหม”่ ในช่วงเวลาที่ก าหนด

สนใจเฉพาะรายใหม่

ความส าคัญของความชุก (Prevalence)

1. เป็นกำรบอกสภาวะสุขภาพของชุมชนในขณะนั้น เพื่อกำรวำง แผนกำรจัดสรรทรัพยำกรหรือกำรจัดบริกำรทำงกำรแพทย์แก่ ชุมชนได้ถูกต้อง

2. นิยมใช้กับโรคเรื้อรัง หรือโรคที่ไม่สำมำรถระบุเวลำที่เริ่มเป็นโรคได้ อย่ำงชัดเจน 3. ไม่เหมาะสมที่จะใช้ในกำรศึกษำเพื่อหำสำเหตุของกำรเกิดโรค (Etiologic study)

ความส าคัญของอุบัติการณ์ (Incidence)

1. ท ำให้ทรำบถึงความเสี่ยง (risk) หรือความเร็ว (rate) ของการเกิดโรค ของคนในชุมชนที่จะเกิดโรคในช่วงเวลำหนึ่ง 2. นิยมใช้กับโรคเฉียบพลัน หรือโรคเรื้อรังที่สำมำรถระบุเวลำที่เริ่ม เป็นโรคได ้ 3. เหมำะสมที่จะใช้ในกำรศึกษำเพื่อหำสำเหตุของกำรเกิดโรค (Etiologic study) หรือประเมินผลของมำตรกำรควบคุมป้องกันโรค

การจัดท าแผน

แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)

A Roadmap to Value-based Health Care 4.0

เกริ่นน า

• กระบวนการ –Workshop 15 ครั้ง

–รับฟังความเห็น 4 ภาค และประชุม สป. สัญจร

–นักยุทธ์ทั่วประเทศ วิเคราะห์ตัวชี้วัด และ template

ความเป็น สังคมเมือง

สังคมผู้สูงอาย ุ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

โลกเชื่อมต่อ การค้าการลงทุน

ความก้าวหน้า Technology

บริบทสุขภาพคนไทย

71.95 71.85 70.13 70.25 70.52 70.54 70.93 70.97 71.46 72.00 72.37 72.66 73.28 73.23 73.68 73.25 74.60 74.75

59.7 60.1 66.5

0.00

10.00

20.00

30.00

40.00

50.00

60.00

70.00

80.00

2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557

LE HALE Expon. (HALE)

อายคุาดเฉล่ียและการมีสขุภาพดีเม่ือแรกเกิด

(รวมชาย-หญิง)

ที่มา: LE - สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล HALE - ส านักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ

Japan 84.0 Singapore 83.0 Malaysia 75.0 Thailand 74.75

บริบทสุขภาพคนไทย

World bank 2014

100.00 90.00

17

บริบทสุขภาพคนไทย ท่ีมา: Berden of Disease Thailand

2013

Future Scenarios

ประชาชน

ทุกกลุ่มวัยได้รับ การพัฒนาตามวัย

อายุขัยเฉลี่ยและมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น

ประชาชนได้รับ การส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรค รักษาพยาบาล และฟ้ืนฟูสุขภาพ อย่างเท่าเทียม

ระบบบริการ

ระบบการส่งต่อ คุณภาพ

ลดความเหลื่อมล้ า

ลดความแออัด

ระบบบริการ ที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ

ครอบคลุม ทั่วถึง

ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพลดลงและยั่งยืน

มีระบบตอบสนองต่อภัยสุขภาพต่าง ๆ

ระบบบริหารจัดการที่โปร่งใส ประเทศ

18

เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม

เพื่อประชาชนสุขภาพดี

พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน

H umility O riginality

P eople centered approach M astery

MOPH

ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน

เป้าหมาย

Retreat MOPH

ทิศทางการวางแผน 20 ปี (4 Phase)

กรอบแนวคิด

นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ

ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564)

ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และปฏิรูปประเทศไทย

ด้านสาธารณสุข

ปฏิรูประบบ

Phase 1 (2560-2564)

สู่ความยั่งยืน

Phase3 (2570-2574)

สร้างความเข้มแข็ง

Phase 2 (2565-2569)

เป็น 1 ใน 3 ของเอเชีย

Phase 4 (2575-2579)

ประเทศไทย 4.0

แผน 20 ปี กสธ.

ประชารัฐ แผนปฏิรูป

กรอบการวิเคราะห์

• % เสียฟันทั้งปาก (7.2%)

เป้าหมายที่ 1 : ประชาชนสุขภาพดี

2) การฆ่าตัวตายส าเร็จ ผู้เสียชีวิต: 4,179 ราย

3) การจมน้ า ผู้เสียชีวิต : 3,245 ราย

4) การถูกท าร้าย ผู้เสียชีวิต : 2,162 ราย

1) เบาหวาน ผู้เสียชีวิต : 28,260 ราย

1) การบาดเจ็บจากการจราจร

ผู้เสียชีวิต : 14,483 ราย 2) หลอดเลือดสมอง ผู้เสียชีวิต: 27,521 ราย

3) หัวใจขาดเลือด ผู้เสียชีวิต : 19,151 ราย

4) มะเร็งตับ ผู้เสียชีวิต : 16,116 ราย

5) มะเร็งปอด ผู้เสียชีวิต : 12,867 ราย

6) วัณโรค ผู้เสียชีวิต : 12,000 ราย

8) ปอดอุดกั้นเรื้อรัง ผู้เสียชีวิต : 4,647 ราย

7) โรคเอดส์ ผู้เสียชีวิต : *11,930 ราย

* ข้อมูลจากการคาดประมาณ AEM (AIDS Epidemic Model) 2015

ลดปัจจัยเสี่ยง/เจ็บป่วยของคนไทย เพื่อเพิ่ม (HALE) ให้แข็งแรงถึงอายุ 75 ปี

ลด Premature Mortality เพื่อเพิ่ม (LE) ให้อายุยืน 85 ปีจ านวนผู้เสียชีวิตรวม 156,561 ราย

External causes ผู้เสียชีวิตรวม 24,069 รำย

Chronic diseases ผู้เสียชีวิตรวม 132,492 รำย

1 2

ลดปัจจัยเสี่ยง+เจ็บป่วย ส่งเสริมสุขภาพคนไทย

1) สิ่งเสพติด (ความชุก)

• ผู้บริโภค Alcohol 32%

• ผู้บริโภคบุหรี่ 21% • ผู้บริโภคยาเสพติด/บ าบัด 78,153 คน

2) ความดันโลหิตสูง • ความชุก : 25% • อัตราป่วยท่ีคุมได้ : 26%

3) อ้วน/น้ าหนักเกิน • % BMI ปกติ (ญ<55/ ช<42) • % (<18 ปี) สูงดีสมส่วน

4) Reproduct & Sex Health

• % ตั้งครรภ์ซ้ า ญ<20ปี 48:1000 • อัตราคลอดมีชีพวัยรุ่น 12.8:1,000

5) Mental/Emotion well-Being

• % เด็กไทย (EQ) (45%)

• % Pt. ซึมเศร้าเข้าถึงบริการ สุขภาพจิต (45%)

6) Active Living • % ปชช.มีพฤติกรรมที่ดี

7) Healthy Consuming • % ปชช.บริโภคเหมาะสม • % ปชช.บริโภคถูกต้อง

8) Environment Health • % ปชช.มีสุขลักษณะท่ีดี • %ปชช.ได้จัดการขยะท่ีดี

• >6 ปีหลับพอต่อสุขภาพ

9) Oral Health

• ดัชนีความสุขของคนท างาน (Happinometer)

Accessibility

ผลิตและพัฒนาก าลังคนเพียงพอ

• อัตราส่วนของบุคลากรด้านสุขภาพตอ่ประชากร (สบช.)

บริหารก าลังคนให้เกิดประโยชน์สูงสุด

• สัดส่วนการกระจายบุคลากรสขุภาพ (เมือง/ชนบท) (บค.)

สร้างความพร้อมก าลังคนด้านสุขภาพเชิงกลยุทธ์

• % หน่วยบริการมีอัตราก าลังสอดคล้องกบัแผนก าลังคน (สนย.)

ดึงดูดและธ ารงรักษาก าลังคนคุณภาพ

• ดัชนีความผาสุกขององค์กร (Happy Public Organization Index)

เป้าหมายที่ 2 : เจ้าหน้าที่มีความสุข

Availability

Acceptability Quality

3

4

กรอบการวิเคราะห์

22

Access

เป้าหมายที่ 3 : ระบบสุขภาพยั่งยืน

Coverage Quality Governance

1) เพิ่มแพทย์ใน รพ.เขตเมืองและชนบท

แพทย์ต่อปชก. เพ่ิมขึ้น

2) เพิ่มบุคลากรสหสาขาวิชาชีพ อัตราตามมาตรฐานที่ก าหนดหน่วย

บริการทุกระดับ

3) เพิ่มเตียงสถาน พยาบาลให้เพียงพอต่อความต้องการ

1) ความครอบคลุมของปชช. ได้รับวัคซีนครบตาม EPI

% การได้รับวัคซีนกลุ่มเป้าหมาย

2) อัตราการคัดกรองผู้ป่วย

3) พัฒนามาตรฐานยา วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์

4) มีบริการแผนไทยและใช้ยาสมุนไพรในสถานบรกิารทุกระดับ • จ านวนสถานบริการมีบริการการ

แผนไทยและทางเลือก

1) HA % หน่วยงานที่ผ่าน HA

2) ลดเวลาที่ปชช.รอคอยรับบริการ (WaitingTime)

3) อัตราเข้ารับบริการผู้ ป่วยในซ้ า (Re-admission Rate)

4) Satisfaction Index

1) ITA (Integrity and Transparency Assessment )

ร้อยละของหน่วยงานที่ผ่าน ITA

2) Expenditure of GDP • รายจ่ายด้านสุขภาพต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ

3) IT one system • พัฒนา/เชื่อมโยงระบบข้อมูลเพ่ือวิเคราะห์สถานภาพของประชาชน • มีคลังข้อมูลสุขภาพระดับเขต • จัดเก็บข้อมูลสุขภาพที่เป็นมาตรฐานระดับประเทศ

4) Restructuring (structure & finance)

• ลดเหลื่อมล้ าบริการทุกสิทธิฯ

5 6 7 8

กรอบการวิเคราะห ์

ความเชื่อมโยงเป้าหมาย-ยุทธศาสตร์-แผนงานโครงการ-ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข

ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน

อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 75 ปี (HALE)

ดัชนีวัดความสุขด้วยตนเอง ของคนในองค์กร

(Happinometer)

ดัชนีสุขภาวะองค์กร (Happy public organization Index)

Access

Coverage

Quality

Governance

External causes

ลดปัจจัยเสี่ยงและการเจ็บป่วย

Chronic diseases

ส่งเสริมสุขภาพของคนไทย

หมายเหตุ: ตัวชี้วัดระดับองค์กร (Corperate KPIs) 8 ตัว ตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน (Functional PIs) 80 ตัว

อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด(LE) ไม่น้อยกว่า 85 ปี

4 Excellence Strategies (15 แผนงาน 45 โครงการ)

1.พัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ 2.พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ 3.การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ 4.การพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมด้านสุขภาพ 5.การปรับโครงสร้างและพัฒนากฎหมายด้านสุขภาพ

1. พัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทกุกลุ่มวัย 2. การพัฒนาคุณภาพชวีิตระดบัอ าเภอ 3. การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม

P&P Excellence Service Excellence

People Excellence

Governance Excellence

1. การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ 2. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 3. ระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและการส่งต่อ 4. การพัฒนาตามโครงการเฉลิมพระเกียรติและพื้นที่เฉพาะ 5. อุตสาหกรรมทางการแพทย์

1. พัฒนาระบบบริหารจัดการ ก าลังคนด้านสุขภาพ

80 KPIs

25

แผน 20 ปี กสธ.

การสร้าง KPIs

สอดคล้องกับงำนหรือเนื้อหำโครงกำรที่ท ำ

Impact, outcome, output, process, input

มีแหล่งข้อมูลและมีวิธีกำรจัดเก็บข้อมูล

ก ำหนดเป้ำหมำยของตัวชี้วัดโดยอ้ำงอิงจำก • เกณฑ์มำตรฐำน • ผลงำนที่ผ่ำนมำ • ผลงำนระยะเวลำเดียวกัน องค์กรใกล้เคียงกัน ภูมิภำคเดียวกัน

(benchmark)

คุณสมบัติ KPIs