80
โครงการ ศึกษาป่าสนธรรมชาติ นาย นิทัศน์ รัตนฉายา รหัสนักศึกษา 5220710029 สานักงาน สงขลาฟอรั่ม เลขที97 ถนน นครใน ตาบล บ่อยาง อาเภอ เมือง จังหวัด สงขลา

โครงการ ศึกษาป่าสนธรรมชาติintra.polsci.pn.psu.ac.th/edu_sha/filesha/17-12-2013_14...ตารางท 4.5 ตารางแสดงสร

  • Upload
    others

  • View
    8

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • โครงการ ศึกษาป่าสนธรรมชาต ิ

    นาย นิทัศน์ รัตนฉายา รหัสนักศึกษา 5220710029

    ส านักงาน สงขลาฟอร่ัม เลขที่ 97 ถนน นครใน ต าบล บ่อยาง

    อ าเภอ เมือง จงัหวดั สงขลา

  • โครงการ ศึกษาป่าสนธรรมชาต ิ

    นาย นิทัศน์ รัตนฉายา รหัสนักศึกษา 5220710029

    ส านักงาน สงขลาฟอร่ัม เลขที่ 97 ถนน นครใน ต าบล บ่อยาง

    อ าเภอ เมือง จงัหวดั สงขลา

  • (1) วนัท่ี 28 เดือน กุมภาพนัธ์ พ.ศ.2556

    เร่ือง ขอส่งรายงานการปฏิบติังานสหกิจศึกษา

    เรียน อาจารยท่ี์ปรึกษาสหกิจศึกษา สาขาวชิา การปกครอง อาจารย ์หน่ึงกมล พิพิธพนัธ์

    ตามท่ีข้าพเจ้านาย นิทัศน์ รัตนฉายา นักศึกษาสาขาวิชา การปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิยาลยัสงขลานครินทร์ ไดไ้ปปฏิบติังานสหกิจศึกษา ระหวา่งวนัท่ี 1 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2555 ถึง วนัท่ี 28 เดือน กุมภาพนัธ์ พ.ศ. 2556 ในต าแหน่ง ผูช่้วยเจา้หนา้ท่ีฝ่ายบริหาร ณ ส านกังานสงขลาฟอร่ัมและไดรั้บมอบหมายจากพนกังานท่ีปรึกษา ใหศึ้กษาและโครงการเร่ือง ศึกษาป่าสนธรรมชาติ บดัน้ี การปฏิบติังานสหกิจศึกษาไดส้ิ้นสุดลงแลว้ ขา้พเจา้จึงขอส่งรายงานดงักล่าวมาพร้อมกนัน้ี จ านวน 1 เล่ม เพื่อขอรับค าปรึกษาต่อไป

    จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา ขอแสดงความนบัถือ ( นายนิทศัน์ รัตนฉายา )

  • (2) ช่ือรายงานการปฏิบัติงานสหกจิศึกษา โครงการ ศึกษาป่าสนอ่อนธรรมชาติ ผู้รายงาน นาย นิทศัน์ รัตนฉายา คณะ รัฐศาสตร์ สาขาวชิา การปกครอง

    ................................................................. (...............................................................)

    อาจารยท่ี์ปรึกษาสหกิจศึกษา

    ................................................................. (...............................................................)

    พนกังานท่ีปรึกษา

    คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิยาลยัสงขลานครินทร์ อนุมติัใหน้บัรายงานการปฏิบติังานสหกิจศึกษาฉบบัน้ี เป็นส่วนหน่ึงของการศึกษา ตามหลกัสูตร คณะรัฐศาสตร์ สาขาวชิา การปกครอง

    ..........................................................................

    (....................................................) คณบดีคณะ.............................

  • (3) ช่ือรายงาน โครงการศึกษาป่าสนธรรมชาติ ช่ือนกัศึกษา นิทศัน์ รัตนฉายา รหสันกัศึกษา 5220710029 สาขาวชิา การปกครอง อาจารยท่ี์ปรึกษา อาจารย ์หน่ึงกมล พิพิธพนัธ์ุ ปีการศึกษา 2555

    บทคดัย่อ

    (Abstract) ป่าสนธรรมชาติบริเวณแหลมสนอ่อนเป็นพื้นท่ีป่าสนท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ผืนสุดทา้ยในตวัเมืองจงัหวดัสงขลา โดยภูมิประเทศบางส่วนในอ าเภอเมืองจงัหวดัสงขลาติดกับชายฝ่ังทะเลจึงท าให้ป่าสนธรรมชาติมีความส าคญัต่อจงัหวดัสงขลา คือ การช่วยรักษาชายฝ่ังทะเลและสร้างสมดุลระหวา่งรอยต่อของทะเลกบัป่าท่ีอยู่บนบก แต่พื้นท่ีป่าสนธรรมชาติบริเวณแหลมสนอ่อนยงัไม่มีชุดขอ้มูลและผูท่ี้ศึกษาอย่างจริงจงั ดงันั้นขา้พเจา้และกลุ่มสมรมจึงไดเ้สนอโครงการศึกษาป่าสนธรรมชาติต่อโครงการพลงัพลเมืองเยาวชนสงขลาภายใตก้ารดูแลของสงขลาฟอร่ัมและมูลนิธิสยามกมัมาจล เพื่อขอการสนบัสนุนงบประมาณในการท าโครงการและท าการส ารวจป่าสนธรรมชาติบริเวณแหลมสนอ่อน โดยใชเ้คร่ืองมือในการส ารวจป่าของศูนยฝึ์กอบรมวนศาสตร์ชุมชนแห่งภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เพื่อส ารวจและประเมินสภาพความสมบูรณ์ของระบบนิเวศป่าสนและน าชุดขอ้มูลท่ีไดจ้ากการส ารวจและประเมินสภาพป่ามารวบรวมเป็นชุดความรู้ ซ่ึงอาจเป็นประโยชน์ต่อประชาชนชาวจงัหวดัสงขลาและผูส้นใจท่ีจะศึกษาเร่ืองป่าสนธรรมชาติบริเวณแหลมสนอ่อนต่อไป

  • (4)

    กติตกิรรมประกาศ

    (Acknowledgment)

    การท่ีขา้พเจา้ไดม้าปฏิบติังานสหกิจศึกษา ณ ส านกังานสงขลาฟอร่ัม ตั้งแต่วนัท่ี 1 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ถึง วนัท่ี 28 เดือน กุมภาพนัธ์ุ พ.ศ. 2556 ส่งผลใหข้า้พเจา้ไดรั้บความรู้และประสบการณ์ต่างๆ ท่ีมีค่ามากมาย ส าหรับรายงานวชิาสหกิจศึกษาฉบบัน้ี ส าเร็จลงไดด้ว้ยดีจากความร่วมมือและสนบัสนุนจากหลายฝ่าย ดงัน้ี 1.นาง พรรณิภา โสตถิพนัธ์ุ ต าแหน่ง ผูอ้ านวยการสงขลาฟอร่ัม 2.นางสาว ดวงแกว้ แกลว้ทนงค ์ ต าแหน่ง เจา้หนา้ท่ีฝ่ายบริหาร 3.นางสาว มนตกานต ์เพช็รฤทธ์ิ ต าแหน่ง เจา้หนา้ท่ีฝ่ายบริหาร 4.นางสาว กรรฑิมา เชาวตะ ต าแหน่ง เจา้หนา้ท่ีฝ่ายวชิาการ 5.นางสาว สุพตัรา แกลว้ทนงค ์ ต าแหน่ง เจา้หนา้ท่ีฝ่ายวชิาการ 6.นางสาว นูรอามีนี สาและ ต าแหน่ง เจา้หนา้ท่ีฝ่ายปฏิบติัการ และบุคคลท่านอ่ืนๆท่ีไม่ไดก้ล่าวนามทุกท่านท่ีไดใ้หค้ าแนะน าช่วยเหลือในการจดัท ารายงาน ขา้พเจา้ใคร่ขอขอบพระคุณผูท่ี้มีส่วนเก่ียวขอ้งทุกท่านท่ีมีส่วนร่วมในการให้ขอ้มูลเป็นท่ีปรึกษาในการท ารายงานฉบบัน้ีจนเสร็จสมบูรณ์ตลอดจนให้การดูแลและให้ความเขา้ใจเก่ียวกบัชีวิตของการท างานจริง ขา้พเจา้ขอขอบคุณไว ้ณ ท่ีน้ี นาย นิทศัน์ รัตนฉายา ผูจ้ดัท ารายงาน 28/ก.พ./2556

  • (5)

    สารบัญ

    รายการ หน้า จดหมายน าส่ง (1) หนา้อนุมติัรายงาน (2) บทคดัยอ่ (3) กิตติกรรมประกาศ (4) สารบญั (5) รายการภาพ (6) รายการตาราง (8) บทท่ี 1 บทน า 1 บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฏีและงานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง 3 บทท่ี 3 วธีิการศึกษา 10 บทท่ี 4 ผลการวเิคราะห์ขอ้มูล 19 บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และขอ้เสนอแนะ 37 บทท่ี 6 รายงานการปฏิบติังาน 42 บรรณานุกรม 69

  • (6)

    รายการภาพ

    ภาพที ่ หน้า

    ภาพท่ี 3.1 ภาพแสดงการน าเสนอโครงการศึกษาป่าสนธรรมชาติ 10

    ภาพท่ี 3.2 ภาพแสดงการน าเสนอโครงการศึกษาป่าสนธรรมชาติ 10

    ภาพท่ี 3.3 ภาพแสดงการลงส ารวจพื้นท่ี 11

    ภาพท่ี 3.4 ภาพแสดงการประชุมวางแผนและรวบรวมขอ้มูล 11

    ภาพท่ี 3.5 ภาพแสดงการเรียนรู้เร่ืองการส ารวจและประเมินสภาพป่า 10

    ภาพท่ี 3.6 ภาพแสดงการเรียนรู้เร่ืองการส ารวจและประเมินสภาพป่า 16

    ภาพท่ี 3.7 ภาพแสดงการจดักิจกรรมเรียนรู้เร่ืองความส าคญัของระบบนิเวศป่าสนธรรมชาติและเรียนรู้เร่ืองการส ารวจและประเมินสภาพป่า 18

    ภาพท่ี 3.8 ภาพแสดงการจดักิจกรรมเรียนรู้เร่ืองความส าคญัของระบบนิเวศป่าสนธรรมชาติและเรียนรู้เร่ืองการส ารวจและประเมินสภาพป่า 18

    ภาพท่ี 6.1 ภาพแสดงการลงพื้นท่ีติดตามโครงการ 59

    ภาพท่ี 6.2 ภาพแสดงการลงพื้นท่ีติดตามโครงการ 59

    ภาพท่ี 6.3 ภาพแสดงการจดักิจกรรมประชุมเชิงปฏิบติัการพฒันาโครงการเยาวชน 60

    ภาพท่ี 6.4 ภาพแสดงการจดักิจกรรมประชุมเชิงปฏิบติัการพฒันาโครงการเยาวชน 60

    ภาพท่ี 6.5 ภาพแสดงการร่วมวเิคราะห์โครงการสร้างฝายชะลอน ้ากบัเยาวชน 61

    ภาพท่ี 6.6 ภาพแสดงการอบรมเร่ือง การรายงานผลผา่นเวบ็ไซด ์ 61

    ภาพท่ี 6.7 ภาพแสดงการจดักิจกรรมการแสดงหุ่นละครเงาเร่ืองปลายา่ง 62

    ภาพท่ี 6.8 ภาพแสดงการจดักิจกรรมการแสดงหุ่นละครเงาเร่ืองปลายา่ง 62

  • (7)

    รายการภาพ (ต่อ)

    ภาพที ่ หน้า

    ภาพท่ี 6.9 ภาพแสดงการลงพื้นท่ีตลาดริมน ้าคลองแดน อ.ระโนด จ. สงขลา 63

    ภาพท่ี 6.10 ภาพแสดงการลงพื้นท่ีติดตามโครงการเยาวชน 63

    ภาพท่ี 6.11 ภาพแสดงการลงพื้นท่ีจดักิจกรรมพฒันาทกัษะชีวติ 64

    ภาพท่ี 6.12 ภาพแสดงการลงพื้นท่ีจดักิจกรรมพฒันาทกัษะชีวติ 64

    ภาพท่ี 6.13 ภาพแสดงการติดป้ายไวนิลประชาสัมพนัธ์งานเทศกาลการเรียนรู้ 65

    ภาพท่ี 6.14 ภาพแสดงการประชุมการเตรียมงาน เทศกาลการเรียนรู้ 65

  • (8)

    รายการตาราง

    ตารางที ่ หน้า

    ตารางท่ี 3.1 ตารางแสดงชนิดและขนาดของไมย้นืตน้ 14

    ตารางท่ี 3.2 ตารางแสดงชนิดและจ านวนของไมห้นุ่ม 14

    ตารางท่ี 3.3 ตารางแสดงชนิดและจ านวนของลูกไม ้ 15

    ตารางท่ี 3.4 ตารางแสดงพืชอ่ืนๆท่ีไม่ใช่ไมย้นืตน้ 15

    ตารางท่ี 3.5 ตารางแสดงสัตวป่์าท่ีพบบริเวณในแปลงส ารวจ 15

    ตารางท่ี 4.1 ตารางแสดงการปกคลุมดิน การปกคลุมเรือนยอดและจ านวนชั้นเรือนยอด 31

    ตารางท่ี 4.2 ตารางแสดงสรุปขอ้มูลไมใ้หญ่ 33

    ตารางท่ี 4.3 ตารางแสดงสรุปขอ้มูลความหนาแน่นไมห้นุ่มในแปลง4×4 เมตร 33

    ตารางท่ี 4.4 ตารางแสดงสรุปขอ้มูลความหนาแน่นลูกไมใ้นแปลง4×4 34

    ตารางท่ี 4.5 ตารางแสดงสรุปขอ้มูลพรรณพืชอ่ืนๆ ท่ีพบ 35

    ตารางท่ี 4.6 ตารางแสดงสรุปขอ้มูลสัตวป่์าและแมลงต่างๆท่ีพบ 36

    ตารางท่ี 5.1 ตารางแสดงขอ้มูลสภาพทัว่ไป 37

  • 1

    บทที ่1 บทน า

    โครงการ ศึกษาป่าสนธรรมชาต ิบริเวณแหลมสนอ่อน

    1.หลกัการและเหตุผล

    เน่ืองจากปัจจุบนั พื้นท่ีป่าสนธรรมชาติ บริเวณแหลมสนอ่อน ของจงัหวดัสงขลา เป็นพื้นท่ีป่าสนท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ผืนสุดทา้ยท่ีเหลืออยูใ่นตวัเมืองสงขลา ซ่ึงมีความส าคญัและประโยชน์ต่อคนในจงัหวดัสงขลาเป็นอยา่งมากทั้งเร่ืองของระบบนิเวศน์ในดา้นต่างๆ การช่วยลดการกดัเซาะชายฝ่ังจากคล่ืน เป็นแนวกนัลมพาย ุเป็นท่ีดูดสารคาร์บอนไดออกไซด์ ฯลฯ และอีกไม่นานพื้นท่ีแห่งน้ีจะมีโครงการก่อสร้างสถานท่ีท่องเท่ียวใหม่แห่งในจงัหวดัสงขลา ซ่ึงท าใหพ้ื้นท่ีป่าสนท่ีมีความอุดมสมบูรณ์อาจจะถูกท าลายลง ดงันั้นกลุ่มสมรมซ่ึงประกอบดว้ย

    1. นายนิทศัน์ รัตนฉายา นกัศึกษามหาวทิยาลยัสงขลานครินทร์ วทิยาเขตปัตตานี 2. นายหชัสชยั จนัทรศรี นกัศึกษามหาวทิยาลยัราชภฏั วทิยาเขตสงขลา 3. นางสาวสุจารี บุญยอด นกัศึกษามหาวทิยาลยัราชภฏั วทิยาเขตสงขลา 4. นายนฤพล ไกรนรา นกัศึกษาวทิยาลยัเทคโนโลยสีงขลา 5. นายศิวกร มินอิน นกัศึกษาวทิยาลยัเทคโนโลยสีงขลา ไดต้ระหนกัถึงปัญหาท่ีเกิดข้ึนและมีแนวคิดท่ีจะอนุรักษ์และศึกษารวบรวมความรู้เก่ียวกบัระบบ

    นิเวศน์ป่าสนธรรมชาติบริเวณแหลมสนอ่อน โดยจะสร้างกระบวนการการมีส่วนร่วมของเยาชนกลุ่มเครือข่ายและประชาชน ในการเรียนรู้ถึงความส าคญัและประโยชน์ของระบบนิเวศน์ป่าสนธรรมชาติ รวมถึงการร่วมกนัอนุรักษ์พื้นท่ีแห่งน้ีให้ยงัคงมีอยู่ต่อไป โดยไดรั้บการสนบัสนุนงบประมาณในการด าเนินงานโครงการจ านวน 20,000 บาทจาก โครงการพลงัพลเมือง เยาวชนสงขลา ซ่ึงด าเนินงานโดยสงขลาฟอร่ัมและมูลนิธิสยามกมัมาจล

  • 2

    2.วตัถุประสงค์

    เพื่อศึกษาและรวบรวมองคค์วามรู้ถึงความส าคญัและประโยชน์ของระบบนิเวศน์ป่าสนธรรมชาติ เพื่อสร้างเครือข่ายเยาวชนและประชาชนใหเ้ขา้มามีส่วนร่วมในการเรียนรู้และอนุรักษร์ะบบนิเวศน์

    ป่าสนธรรมชาติ เพื่อเผยแพร่ความรู้ให้กบัชุมชนและสังคมไดท้ราบถึงความส าคญัและประโยชน์ของระบบนิเวศน์

    ป่าสนธรรมชาติ

    3.กลุ่มเป้าหมาย (เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ)

    เชิงปริมาณ

    เยาวชนกลุ่มแกนน า 5 คน เยาวชนกลุ่มเครือข่าย 40 คน ประชาชนผูส้นใจเขา้ร่วมโครงการ 50 คน

    เชิงคุณภาพ

    เยาวชนแกนน าเกิดกระบวนการจดัการความรู้และมีทกัษะบริหารเวลาและการบริหารการท างานมากยิง่ข้ึน

    เยาวชนกลุ่มเครือข่ายและประชาชนผูเ้ขา้ร่วมโครงการมีความเขา้ใจถึงความส าคญัและประโยชน์ของระบบนิเวศป่าสนป่าสนธรรมชาติ

    4.ประโยชน์ทีค่าดว่าจะได้รับ

    กลุ่มผูจ้ดัไดเ้รียนรู้ถึงลกัษณะส าคญัของระบบนิเวศป่าสนธรรมชาติและพนัธ์ุไมใ้นพื้นท่ี เกิดเครือข่ายเยาวชนและประชาชนท่ีเขา้มามีส่วนร่วมในการเรียนรู้และร่วมกนัอนุรักษร์ะบบนิเวศ

    ป่าสนธรรมชาติ เยาวชนกลุ่มเครือข่ายรวมทั้งประชาชนผูเ้ข้าร่วมโครงการมีองค์ความรู้และมีการตระหนักถึง

    ความส าคญัของระบบนิเวศป่าสนธรรมชาติ ท าใหเ้กิดความรักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยูใ่นพื้นท่ี

  • 3

    บทที ่2

    แนวคดิทฤษฏีและงานวจิยัที่เกีย่วข้อง

    ป่าชายหาด

    มูลนิธิสืบนาคะเสถียรป่าชายหาดเป็นระบบนิเวศแบบหน่ึงซ่ึงประเทศไทยไม่เคยให้ความส าคญั และ

    ละเลยในการอนุรักษ์ รักษาป่าชายหาด แต่เม่ือมีการประกาศอุทยานแห่งชาติทางทะเล ท าให้พื้นท่ีชายหาด

    บางส่วนไดรั้บการอนุรักษ์ไว ้ในขณะเดียวก็ยงัมีพื้นท่ีชายหาดอีกหลายแห่งถูกท าลายและเปล่ียนสภาพไป

    จนสูญ ส้ิน เหมือนกบัระบบนิเวศอ่ืน ๆ เช่นป่าพรุ หรือป่าชายเลน ท่ีพึ่งจะมาเร่ิมอนุรักษก์นัเม่ือใกลจ้ะหมด

    แต่ในทางปฏิบติั ป่าชายหาดในความคิดของภาครัฐ ก็ยงัเป็นเพียงวชัพืชท่ีไร้คุณค่า และไม่ก่อประโยชน์ทาง

    เศรษฐกิจ ดงันั้น เม่ืออุทยานแห่งชาติหรือธุรกิจเอกชนตอ้งการใช้พื้นท่ี เพื่อสร้างส านักงาน หรือพฒันา

    รองรับนกัท่องเท่ียว ป่าชายหาดจึงถูกเลือกเป็นพื้นท่ีเป้าหมายอนัดบัแรก ๆ โดยไม่ค านึงว่าป่าชายหาดเป็น

    พื้นท่ีอนุรักษท่ี์อยูภ่ายใตก้ารดูแลของกฎหมายอุทยานแห่งชาติทางทะเล

    ระบบนิเวศป่าชายหาด

    ชายฝ่ังทะเลหรือตามเกาะแก่ง ท่ีมีดินทรายจดั เป็นสันทราย น ้ าทะเลท่วมไม่ถึง และมีไอเค็มท่ีพดัจาก

    ทะเล นับเป็นปัจจัยท่ีท าให้เกิดป่าชายหาด พืชชายหาดท่ีเกิดและเติบโตข้ึนได้จะต้องปรับตัวให้กับ

    สภาพแวดลอ้มเพื่อให ้สามารถด ารงชีวติอยู ่เช่น การขาดแคลนน ้ าจืดในบางฤดูกาล คล่ืนลมท่ีมีความรุนแรง

    แสงแดดท่ีมีความร้อน เป็นตน้ ตน้ไมส่้วนใหญ่ท่ีพบจึงมีลกัษณะเป็นพุ่ม ล าตน้คดงอ และแตกก่ิงกา้นสาขา

    มาก ก่ิงสั้น ใบหนาแขง็

    ระบบรากถือเป็นส่วนประกอบส าคญัของพรรณไมป่้าชายหาด เน่ืองจากสันทรายหรือชายหาดท่ีพืชเกาะ

    อยูน่ั้น จะมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา รากของพืชประเภทน้ีจึงมีลกัษณะท่ีสามารถงอกไดต้ามขอ้ และ

    งอกรากไดใ้หม่ตามการทบัถมของทรายท่ีพดัเขา้มาพอกพูน เม่ือรากเจริญเติบโตข้ึนก็จะพฒันากลายเป็นล า

    ตน้ยึดเหน่ียวทรายไว ้และจะรุกคืบจนกระทัง่ครอบคลุมชายหาดนั้นแต่ในบางคร้ังท่ีมีพายุหรือลมพดัแรง

    พรรณพืชเหล่าน้ีก็อาจจะถูกทรายทบัถมหรือน ้ าทะเลท่วมถึงจนตายไป แต่เมล็ดพนัธ์ุของหญา้หรือผกับุง้ท่ี

    อาจลอยอยูใ่นทะเลก็จะถูกพดัข้ึนสู่ฝ่ัง งอกเงยข้ึนเป็นพรรณพืชชายหาดข้ึนมาอีกคร้ัง

  • 4

    พรรณพชืป่าชายหาด

    หญา้เป็นพืชเบิกน าของป่าชายหาดรุ่นแรก ๆ มีระบบรากท่ีสานกนัเป็นร่างแห ยึดหนา้ทรายเอาไว้

    เช่น หญา้ลิงลม ผกับุง้ทะเล เม่ือรากเจริญเติบโตจนเป็นเถาก็จะช่วยยึดทรายให้มัน่คงมากข้ึน ผกับุง้ทะเล

    สามารถท่ีจะเล้ือยครอบคลุมพื้นท่ีออกไปไดไ้กลมาก ตามเถาของผกับุง้ทะเลสามารถเป็นท่ียึดเหน่ียวของ

    เมล็ดหญา้และไมใ้หญ่บางชนิด เช่น สนทะเล ล าเจียก เอนอา้ ฯลฯ

    ลกัษณะของพืชชายหาด เช่น ตน้พลบัพลึง รักทะเล ปอทะเล จะชอบข้ึนกลุ่ม ๆ จึงเปรียบเสมือน

    ก าแพงกนัคล่ืนลม ใหก้บัพืชชายหาดชนิดอ่ืน ๆ ท่ีทนเคม็และลมไดน้อ้ยกวา่ไดมี้โอกาสเจริญเติบโต

    ป่าชายหาดบางแห่งท่ีชายฝ่ังเป็นหิน จะเป็นบริเวณท่ีของพืชท่ีมีล าต้นสูงไม่มากและคดงอ ด้วย

    แรงลม แต่จะมีเรือนยอดท่ีต่อเน่ืองกนัโดยตลอดและแน่นทึบจนถึงดิน เช่น ตน้หูกวาง โพธ์ิทะเล โพธ์ิกร่ิง

    และกระทิง เป็นตน้

    ถดัจากพืชท่ีอยู่ติดกบัชายทะเล อาจมีพืชบางชนิดท่ีเกิดข้ึนเป็นสังคมพืช "ป่าบึงน ้ าเค็ม" โดยจะ

    ข้ึนอยูเ่ป็นกลุ่ม ๆ พรรณพืชส่วนใหญ่ เป็นการผสมกนัระหวา่งป่าชายหาดกบัป่าชายเลน

    เม่ือพื้นดินยกสูงข้ึน หรือมีอินทรียวตัถุทบัถมมากข้ึนก็จะพฒันาเขา้สู่สังคมป่าชายหาดท่ีสมบูรณ์

    และอาจพฒันาต่อไปเป็นป่าประเภทอ่ืนตามลกัษณะภูมิประเทศแต่ละแห่งซ่ึงอาจใชเ้วลาในการวิวฒันาการ

    นบัสิบหรือร้อยปี

    การก่อเกิดป่าชายหาดจึงมีววิฒันาการท่ีต่อเน่ืองยาวนาน มีคุณประโยชน์ และหนา้ท่ีของระบบนิเวศ

    ท่ีส าคญัในการยดึเหน่ียวสันทราย และรักษาชายฝ่ังทะเล เปรียบเสมือนตวัท่ีรักษาสมดุลระหวา่งรอยต่อของ

    ทะเลกบัป่าบนบก

    ท่ีมา : มูลนิธิสืบนาคะเสถียร

    (http://www.seub.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=191:libery&catid=6

    2:2009-11-12-08-41-46&Itemid=77)

    http://www.seub.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=191:libery&catid=62:2009-11-12-08-41-46&Itemid=77http://www.seub.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=191:libery&catid=62:2009-11-12-08-41-46&Itemid=77

  • 5

    ป่าชายหาด ป่าชายหาด ป่าท่ีอยู่ระหว่างทะเลกับแผ่นดิน มีลักษณะใกล้เคียงกับป่าพรุและป่าชายเลน แต่ค่อนขา้งโปร่ง และอยูลึ่กเขา้มาในแผ่นดินมากกว่าป่าชายเลน จนน ้ าทะเลท่วมไม่ถึง มีพืชนานาชนิดข้ึนปกคลุม โดยพืชสามารถปรับตวัใหรั้บกบัแรงลมทนต่อความเค็มของไอทะเล และตา้นทานต่อความแห้งแลง้ได้ดี พนัธ์ุไมท่ี้ส าคญัไดแ้ก่ สนทะเล หูกวาง ปอทะเล กระทิง ตีนเป็ดทะเล ปรงทะเล หยีน ้ า เตย ผกับุง้ทะเล หญา้ต่างๆ นอกจากน้ียงัพบ ไมเ้กต ล าบิด มะค่าแต ้เสมา และไมห้นามชนิดต่างๆ เช่น ชิงช่ี หนามหนั ฯลฯ

    ระบบนิเวศของป่าชายหาด บริเวณชายฝ่ังทะเลหรือตามเกาะแก่งท่ีมีดินทรายจดัเป็นสันทรายท่ีน ้ าทะเลท่วมไม่ถึง และมีไอเค็มท่ีพดัจากทะเล ลกัษณะท่ีกล่าวน้ี เป็นปัจจยัส าคญัของป่าชายหาด เป็นสภาวะท่ีพืชชายหาดเกิดและเติบโต พืชจึงจ าเป็นตอ้งปรับตวัใหส้ามารถด ารงชีวติอยูไ่ดใ้นสภาพแวดลอ้มท่ีเฉพาะ เช่น สภาพความขาดแคลนน ้ าจืดในบางฤดูกาล สภาพคล่ืนลมท่ีมีความรุนแรง และสภาพแสงแดดท่ีมีความร้อน เป็นตน้ ตน้ไมส่้วนใหญ่ท่ีเจริญเติบโตในพื้นท่ีป่าชายหาดจึงมีลกัษณะเป็นพุ่ม ล าตน้คดงอ และก่ิงกา้นแตกสาขามาก ก่ิงสั้ น และใบหนาแขง็ ระบบราก ถือเป็นส่วนประกอบส าคญัของพรรณไมป่้าชายหาด เน่ืองจากสันทรายหรือชายหาดท่ีพืชเกาะอยู่นั้นมีการเปล่ียนแปลงอยูต่ลอดเวลา รากของพืชในป่าชายหาดจึงมีลกัษณะท่ีรากสามารถงอกได้ตามขอ้ และสามารถงอกรากไดใ้หม่ในสภาพการทบัถมของทรายท่ีพดัเขา้มาพอกพูน เม่ือรากเจริญเติบโตก็มีการพฒันากลายเป็นล าตน้ยึดเหน่ียวทรายไว ้และรุกคืบจนกระทัง่ครอบคลุมชายหาดนั้น แต่ในบางคร้ังท่ีตอ้งเผชิญกบัพายหุรือลมพดัแรง พรรณพืชเหล่าน้ีอาจตายไปไดเ้น่ืองจากถูกทรายทบัถมหรือน ้ าทะเลท่วมถึง แต่ทั้งน้ีเมล็ดพนัธ์ุของหญา้ทะเลหรือผกับุง้ทะเลท่ีลอยอยูใ่นทะเลอาจถูกพดัข้ึนสู่ฝ่ัง งอกข้ึนและเจริญเป็นพรรณพืชชายหาดข้ึนมาอีกคร้ัง ป่าชายหาดในแต่ละแห่งมีความแตกต่างกนั จ าแนกไดโ้ดยลกัษณะภูมิอากาศ สภาพดิน และพนัธ์ุพืชท่ีข้ึนปกคลุมดิน เช่น ป่าชายหาดบริเวณชายฝ่ังทะเลท่ีเป็นดินทรายหรือหาดทรายเก่าท่ียกตวัสูงข้ึน ป่าชายหาดบริเวณชายฝ่ังทะเลท่ีเป็นหินกระจายอยู่ทั่วไป ป่าชายหาดบริเวณชายหาดสลับกับป่าชายเลน ตวัอยา่งป่าชายหาดท่ีเด่นชดั เช่น ป่าชายหาดบริเวณจงัหวดัชลบุรี ระยอง ประจวบคีรีขนัธ์ สงขลา และพงังา

  • 6 ลกัษณะโครงสร้างของป่าชายหาดแปรผนัไปตามลกัษณะของดินและหิน ท่ีส าคญัป่าชายหาดไดรั้บไอเค็มจากทะเล บริเวณชายฝ่ังท่ีเป็นดินทรายจดัจะพบป่าสนทะเล โดยเฉพาะในจงัหวดัสงขลา พงังา และภูเก็ต ป่าสนทะเลมีสนทะเล เป็นไมเ้ด่นแต่เพียงอยา่งเดียวไม่มีไมอ่ื้นเขา้มาผสม โดยมีไมพ้ื้นล่างเพียงนอ้ยชนิด เช่น ดินสอทะเล ผกับุง้ทะเล หนาดผา หญา้ลอยลม และถัว่คลา้ พืชเหล่าน้ีเป็นพืชเล้ือยชิดดิน ท่ีแสดงให้เห็นถึงการรุกล ้าเขา้ยึดหาดทรายเพื่อการทดแทนขั้นต่อไป ในบางพื้นท่ีอาจพบไมพุ้่มข้ึนผสมอยูบ่า้ง เช่น รักทะเล และครามป่า บริเวณชายฝ่ังทะเลท่ีเป็นหินโดยเฉพาะตามเกาะต่างๆ จะเป็นถ่ินของ รังกะแท้ ตะบูน โพกร่ิง หลุมพอทะเล กระหนาน หูกวาง เมา โพทะเล และกระทิง ไมเ้หล่าน้ีมีความสูงไม่มากนกั และล าตน้มกัคดงอ เน่ืองจากแรงลม แต่เรือนยอดต่อเน่ืองกนัโดยตลอด เรือนยอดชั้นล่างต่อเน่ืองกนัหนาแน่นจรดดิน ไมส้ าคญัในชั้นน้ีไดแก่ พลองข้ีนก ชะแมบ ปอทะเล การะเกด และปรงทะเล

    พรรณพชืป่าชายหาด หญา้เป็นพืชเบิกน าของป่าชายหาดรุ่นแรกๆ โดยหญา้มีระบบรากท่ีสานกนัเป็นร่างแหช่วยยึดหน้าทรายเอาไว ้เช่น หญา้ลิงลม ผกับุง้ทะเล เม่ือรากเจริญเติบโตจนเป็นเถาก็ยิ่งช่วยยึดทรายให้มัน่คงมากข้ึน ผกับุง้ทะเลจึงสามารถเล้ือยครอบคลุมพื้นท่ีออกไปได้ไกลมาก และผกับุง้ทะเลมีเถาท่ีสามารถเป็นท่ียึดเหน่ียวของเมล็ดหญา้และไมใ้หญ่บางชนิด เช่น สนทะเล ล าเจียก เอนอา้ ฯลฯ ลกัษณะอนัหน่ึงของพืชชายหาด คือ การเจริญเติบโตเป็นกลุ่ม เช่น ตน้พลบัพลึง รักทะเล ปอทะเล จะชอบข้ึนเป็นกลุ่มๆ จึงท าหนา้ท่ีเปรียบเสมือนเป็นก าแพงกนัคล่ืนลมให้กบัพืชชายหาดชนิดอ่ืนๆ ท่ีทนเค็มและลมไดน้อ้ยกวา่เพื่อใหมี้โอกาสเจริญเติบโตได ้ ป่าชายหาดบางแห่งท่ีชายฝ่ังเป็นหิน ป่าบริเวณน้ีจะมีพืชท่ีมีล าตน้สูงไม่มากและล าตน้จะคดงอ ดว้ยมีแรงลม แต่พืชบริเวณน้ีจะมีเรือนยอดท่ีต่อเน่ืองกนัโดยตลอดและข้ึนแน่นทึบ เช่น ตน้หูกวาง โพทะล โพกร่ิง และกระทิง ถดัจากบริเวณพืชท่ีอยู่ติดกบัชายทะเล อาจพบพืชบางชนิดท่ีเกิดข้ึนเป็นสังคมพืช “ป่าบึงน ้ าเค็ม” โดยข้ึนอยู่กนัเป็นกลุ่มๆ พรรณพืชส่วนใหญ่เป็นการผสมผสานกนัระหวา่งป่าชายหาดกบัป่าชายเลน เม่ือพื้นดินยกระดบัสูงข้ึนหรือมีอินทรียวตัถุทบัถมมากข้ึนสังคมพืชน้ีก็จะพฒันาสู่สังคมป่าชายหาดท่ีสมบูรณ์ และอาจพฒันาต่อไปเป็นป่าประเภทอ่ืนได้ ตามลักษณะภูมิประเทศแต่ละแห่ง ซ่ึงอาจใช้เวลาในการววิฒันาการนบัสิบปีร้อยปี การก่อเกิดป่าชายหาดมีวิวฒันาการท่ีต่อเน่ืองยาวนาน สร้างคุณประโยชน์ และระบบนิเวศท่ีส าคญัในการยึดเหน่ียวสันทรายและรักษาชายฝ่ังทะเล เปรียบเสมือนเป็นผูท่ี้รักษาสมดุลระหวา่งรอยต่อของทะเลปับป่าบนบก

    (www.dnp.go.th/.../ความรู้เบ้ืองตน้เก่ียวกบัป่าชายหาด)

    http://www.dnp.go.th/.../ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับป่าชายหาด

  • 7

    วธิีการส ารวจป่า

    โดยกลุ่ม RECOFTC

    ( ศูนยฝึ์กอบรมวนศาสตร์ ชุมชนแห่งภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก หรือศูนยว์นศาสตร์ชุมชนเพื่อคนกบัป่า )

  • 8

  • 9

  • 10

    บทที ่3

    วธีิการศึกษา

    ใชว้ธีิการศึกษาผา่นการท าโครงการศึกษาป่าสนธรรมชาติบริเวณแหลมสนอ่อน โดยผา่นขั้นตอนการด าเนินงานดงัต่อไปน้ี

    ขั้นตอนที ่1 น าเสนอโครงการศึกษาป่าสนธรรมชาติ

    วนัท่ี 29 พ.ย. 2555 สมาชิกกลุ่มสมรมน าเสนอโครงการศึกษาป่าสนธรรมชาติ แก่ผูอ้ านวยการสงขลาฟอร่ัมไดรั้บทราบถึงรายละเอียดของโครงการ แผนการด าเนินงาน และขอขอ้เสนอแนะเก่ียวกบัการด าเนินงานโครงการ

    ภาพท่ี 3.1 ภาพแสดงการน าเสนอโครงการศึกษาป่าสนธรรมชาติ

    ภาพท่ี 3.2 ภาพแสดงการน าเสนอโครงการศึกษาป่าสนธรรมชาติ

  • 11

    ขั้นตอนที ่2 ลงส ารวจพืน้ที่ วนัท่ี 3 ธ.ค. 55 สมาชิกกลุ่มสมรมลงพื้นท่ีส ารวจแหลมสนอ่อนเพื่อศึกษาขอ้มูลระบบนิเวศป่าสน

    ธรรมชาติร่วมกบัสงขลาฟอร่ัม

    ภาพท่ี 3.3 ภาพแสดงการลงส ารวจพื้นท่ี

    ขั้นตอนที ่3 ประชุมวางแผนและรวบรวมข้อมูล วนัท่ี 11 ธ.ค. 55 สมาชิกกลุ่มสมรมประชุมวางแผนและรวบรวมขอ้มูลท่ีไดจ้ากการลงส ารวจ

    ภาพท่ี 3.4 ภาพแสดงการประชุมวางแผนและรวบรวมขอ้มูล

  • 12

    ขั้นตอนที ่4 เรียนรู้เร่ืองการส ารวจและประเมนิสภาพป่า วนัท่ี 4 ก.พ 56 กลุ่มสมรมไดเ้รียนรู้วธีิการส ารวจและประเมินสภาพป่าร่วมกบั

    - กลุ่ม RECOFTC ( ศูนยฝึ์กอบรมวนศาสตร์ ชุมชนแห่งภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก หรือ ศูนย์

    วนศาสตร์ชุมชนเพื่อคนกบัป่า ) คุณ สุภาภรณ์ ปันวารี

    - มูลนิธิกองทุนไทย คุณ ลดัดา วไิลศรี และ คุณรัตนติกา เพรชทองมา

    - เจา้หนา้ท่ีมูลนิธิสยามกมัมาจล คุณ อุบลวรรณ เสือเดช และ คุณ กิตติรัตน์ ปล้ืมจิตร

    โดยมีขั้นตอนดังนี ้

    1. ตรียมอุปกรณ์ทีจ่ะต้องใช้ในการลงศึกษาส ารวจและประเมินสภาพป่า ส่ิงทีต้่องเตรียมคือ

    (1.1) เชือกสีมองมองเห็นไดช้ดัเจน 40 เมตร เผื่อหวัทา้ยไว ้1 เมตร และท าเคร่ืองหมายทุก 10

    เมตร เพื่อใชก้ั้นบอกอาณาเขตในการวางแปลงตวัอยา่ง

    (1.2) ไมห้ลกั ใชส้ าหรับปักบอกขนาดของพื้นท่ีทั้ง 4 มุม

    (1.3) สายวดัความโต ใชใ้นการวดัรอบความโต หรือขนาดของตน้ไม ้

    (1.4) เทปวดัระยะ,ตลบัเมตร ใชว้ดัขนาดของพื้นท่ี ก่อนท่ีจะท าการวางแปลง

    (1.5) แบบฟอร์มเก็บขอ้มูล ใชใ้นการบนัทึกขอ้มูล ท่ีไดจ้ากการลงไปศึกษาในแปลงท่ีวางไว ้เพื่อ

    ท าใหท้ราบถึงความหลากหลาย ท่ีมีอยูใ่นพื้นท่ีป่า

    (1.6) แผนท่ีแสดงพื้นท่ีส ารวจ ใชใ้นการท่ีจะวางขอบเขตการศึกษา เพื่อท่ีจะท าใหเ้ก็บขอ้มูลได้

    หลากหลายยิง่ข้ึน

    2. ท าแผนทีส่ ารวจป่า ซ่ึงในแผนทีจ่ะประกอบด้วยส่ิงต่างๆ ดังนี้

    (2.1) ความสมบูรณ์ของป่า คือ ป่าสมบูรณ์ และ ป่าเส่ือมโทรม

    (2.2) ประเภทของป่า คือ ป่าสน ป่าไผ ่ป่าเบญจพรรณ ฯลฯ เป็นตน้

    (2.3) แปลงตวัอยา่งในการส ารวจป่า

  • 13

    3. แบ่งกลุ่มส ารวจ โดยมีการแบ่งหน้าทีก่นัดังนี้

    (3.1) ผูช้ านาญพื้นท่ี

    (3.2) ผูว้างแปลง

    (3.3) ผูว้ดัรอบความโต และ ประเมินความสูงของตน้ไม ้

    (3.4) ผูจ้ดบนัทึกขอ้มูล

    (3.5) ผูท่ี้ใชป้ระโยชน์จากป่า

    4. ลงพืน้ทีส่ ารวจและเกบ็ข้อมูลภาคสนาม

    (4.1) การเก็บขอ้มูลทางกายภาพ และส่ิงแวดลอ้มพื้นท่ี ใชว้ธีิการเก็บตวัอยา่งโดยการวางแปลง

    ตวัอยา่งขนาด 10 x 10 เมตร เป็นแนว (transect line) ตามเส้นแนวส ารวจ (base line) 2 แนว ตั้งฉากจากริมฝ่ัง

    แม่นา้ คลอง หรือทะเล ลึกเขา้ไปจนสุดแนวดา้นในของป่าสนธรรมชาติแต่ละแปลงห่างกนั 50 เมตร โดยแต่

    ละแนวมีจ านวนแปลงส ารวจ 3 แปลง รวมทั้งหมดมีจานวนแปลงส ารวจ เท่ากบั 6 แปลง เก็บขอ้มูลไมใ้หญ่

    (tree) ท่ีมีความสูงมากกวา่ 1.3 เมตร มีเส้นผา่นศูนยก์ลางตั้งแต่ 4 เซนติเมตรข้ึนไป จ าแนกชนิด วดัเส้นรอ

    บวงท่ีระดบัความสูง 1.3 เมตร และวดัความสูงของตน้ไม ้และ วางแปลง 4×4 เมตร ภายในพื้นท่ีแปลง 10 x

    10 เมตร เป็นแนวทแยงมุมกนั 2 แปลงยอ่ย เพื่อเก็บขอ้มูลของไมห้นุ่ม คือไมท่ี้มีความสูงเกิน 2 เมตร แต่

    เส้นรอบวงไม่ถึง 15 เซนติเมตร และ ความหนาแน่นของลูกไม ้คือตน้ไมท่ี้ความสูงไม่ถึง 2 เมตร ในส่วน

    ความสมบูรณ์ของป่าสามารถสังเกตไดจ้ากส่ิงท่ีมองเห็นดงัน้ี

    - โครงสร้างของป่า คือ จ านวนชั้นเรือนยอด,การปกคลุมเรือยอด,การปกคลุมผวิดิน

    - องคป์ระกอบของป่า คือ จ านวนชนิดและความหลากหลายของตน้ไม ,้ พรรณพืช , พรรณสัตว,์

    แมลงต่างๆ ฯลฯ

    - การสืบพนัธ์ุของป่า คือ การทดแทนของลูกไม ้หรือกลา้ไม ้

    (4.2) การบนัทึกขอ้มูลลงในแบบฟอร์ม แบ่งออกเป็น 6 ส่วนดงัน้ี

  • 14

    - ส่วนที ่1 ลกัษะทางกายภาพ ส่ิงท่ีจะตอ้งบนัทึกประกอบดว้ย กลุ่มท่ีส ารวจ , วนัท่ีส ารวจ,ช่ือพื้นท่ี,

    แปลงท่ี,จ านวนชั้นเรือนยอด,เปอร์เซ็นตก์ารปกคลุมชั้นเรือยอดของตน้ไม,้การปกคลุมของผดิดิน,ชนิดดิน,สี

    ของดิน,และความลาดชนัของพื้นท่ี เป็นตน้

    - ส่วนที ่2 ไม้ยนืต้น (สูงเกิน 2 เมตร) รอบความโตของตน้ไม ้จะวดัท่ีระดบัความสูง 1.30 เมตร หรือ

    บริเวณหนา้อก ส่วนความสูงของตน้ไมจ้ะใชก้ารคาดคะเนดว้ยสายตา เม่ือท าการวดัเสร็จส้ินก็กรอกขอ้มูลลง

    ในตาราง ดงักล่าว

    ชนิด ความโตวดัรอบ (ซ.ม.) ความสูง (ม.)

    ตารางท่ี 3.1 ตารางแสดงชนิดและขนาดของไมย้นืตน้

    - ส่วนที ่3 ไม้หนุ่ม คือตน้ไมท่ี้มีความโตนอ้ยกวา่ 15 เซนติเมตร ในแปลงขนาด 4 ×4 โดยมีช่องให้

    กรอกขอ้มูลดงัตาราง

    ช่ือ/ชนิด จ านวน

    ตารางท่ี 3.2 ตารางแสดงชนิดและจ านวนของไมห้นุ่ม

  • 15

    - ส่วนที่ 4 ลูกไม้ คือตน้ไมท่ี้สูงไม่เกิน 2 เมตร ในแปลง 4×4 เช่น สนทะเล ,หูกวาง ,โพธ์ิทะเล ฯลฯ เป็นตน้

    สามารถบนัทึกขอ้มูลไดด้งัตาราง

    ชนิด จ านวน

    ตารางท่ี 3.3 ตารางแสดงชนิดและจ านวนของลูกไม ้

    - ส่วนที ่5 พนัธ์ุพชือืน่ๆ ท่ีไม่ใช่ไมย้นืตน้ ท่ีพบในบริเวณในแปลงศึกษาท่ีไดว้างไว ้เช่น ผกับุง้ทะเล, หญา้,

    กระทกรก ฯลฯ เป็นตน้ สามารถบนัทึกขอ้มูลไดด้งัตาราง

    ช่ือ รูปชีวติ ประมาณความมากน้อย

    มาก ปานกลาง น้อย หายากมาก

    ตารางท่ี 3.4 ตารางแสดงพืชอ่ืนๆท่ีไม่ใช่ไมย้นืตน้

    - ส่วนที่6 สัตว์ป่าทีพ่บ (บริเวณภายในแปลงส ารวจ)

    ช่ือสัตว์ ส่ิงทีพ่บ

    ตัว เสียง รอยตีน มูล อืน่ๆ (ระบุ)

    ตารางท่ี 3.5 ตารางแสดงสัตวป่์าท่ีพบบริเวณในแปลงส ารวจ

  • 16

    5. ประมวลข้อมูลและวเิคราะห์สภาพป่า สามารถวเิคราะห์ข้อมูลทีไ่ด้ดังนี้

    (5.1) การปกคลุมของผวิดิน คือการปกคลุมของสังคมพืชชั้นล่าง เศษใบไม ้ใบหญา้ เศษซากพืช

    ซากสัตว ์อินทรียวตัถุ ต่างๆท่ีปกคลุมผดิดินของผืนป่า โดยพิจารณาจากค่าเฉล่ีย

    (5.2) การปกคลุมชั้นเรือนยอด คือการสังเกตความหนาแน่นของตน้ไม ้วา่บริเวณนั้นสามารถมี

    แสงส่องถึงพื้นดินประมาณไหนของพื้นท่ีแปลงท่ีวางไว ้โดยพิจารณาจาก ค่าเฉล่ีย

    (5.3) การค านวณความหนาแน่น โดยใชสู้ตร

    ภาพท่ี 3.5 ภาพแสดงการเรียนรู้เร่ืองการส ารวจและประเมินสภาพป่า

    ภาพท่ี 3.6 ภาพแสดงการเรียนรู้เร่ืองการส ารวจและประเมินสภาพป่า

    ความหนาแน่นของต้นไม้ต่อไร่ = จ านวนตน้ไมท่ี้พบจากการส ารวจ x 1,600

    พื้นท่ีรวมของแปลงส ารวจ

  • 17

    ขั้นตอนที ่5 การจัดกจิกรรมเรียนรู้เร่ืองความส าคญัของระบบนิเวศป่าสนธรรมชาติและเรียนรู้

    เร่ืองการส ารวจและประเมนิสภาพป่า

    วนัท่ี 17 ก.พ. 56 สมาชิกกลุ่มสมรมไดจ้ดักิจกรรมเรียนรู้เร่ืองความส าคญัของระบบนิเวศป่าสน

    ธรรมชาติและเรียนรู้เร่ืองการส ารวจและประเมินสภาพป่า โดยมีรายละเอียดดงัน้ี

    วตัถุประสงค์ในการจัดกจิกรรม

    1. เพื่อให้เยาวชนกลุ่มเครือข่ายศึกษาเรียนรู้ถึงลกัษณะส าคญัของระบบนิเวศน์ป่าสนธรรมชาติ และพนัธ์ุไม ้รวมถึงเรียนรู้วธีิการส ารวจและการประเมินสภาพป่า

    2. เพื่อตอ้งการให้เกิดเครือข่ายเยาวชนและประชาชนท่ีเขา้มามีส่วนร่วมในการเรียนรู้และร่วมกันอนุรักษร์ะบบนิเวศป่าสนธรรมชาติ

    ก าหนดการ

    ภาคเช้า

    08.00 - 09.00 น. 1. พร้อมกนัท่ีจุดนดัหมาย (หนา้ศาลกรมหลวงชุมพรฯ)/ลงทะเบียน

    09.00 - 12.00 น. 2. เกร่ินน าถึงความส าคญัของระบบนิเวศป่าสน

    3. เรียนรู้เคร่ืองมือ และอุปกรณ์ท่ีจะใชใ้นการส ารวจป่าสน

    4. เรียนรู้วธีิการวางแปลงในการศึกษาป่าสน

    12.00 - 13.00 น. 5. รับประทานอาหารเท่ียง

    ภาคบ่าย

    13.00 - 14.00 น. 6. ลงศึกษาแปลง (แบ่งเป็นกลุ่มยอ่ย)

    14.00 -15.00 น. 7. รวบรวมขอ้มูลท่ีไดจ้ากการส ารวจป่าสน (วงเสวนา)

    14.00 - 16.00 น. 8. สรุปขอ้มูลการประเมินสภาพป่าสน เดินทางกลบับา้นโดยสวสัดีภาพ

    ……………………………………………………………………………………………………………….. หมายเหตุ : ก าหนดการอาจมีการเปล่ียนแปลงไดต้ามความเหมาะสม

  • 18

    ภาพท่ี 3.7 ภาพแสดงการจดักิจกรรมเรียนรู้เร่ืองความส าคญัของระบบนิเวศป่าสนธรรมชาติและเรียนรู้เร่ืองการส ารวจและประเมินสภาพป่า

    ภาพท่ี 3.8 ภาพแสดงการจดักิจกรรมเรียนรู้เร่ืองความส าคญัของระบบนิเวศป่าสนธรรมชาติและเรียนรู้เร่ืองการส ารวจและประเมินสภาพป่า

  • 19

    บทที ่4 ผลการวเิคราะห์ข้อมูล

    จากการจดักิจกรรมเรียนรู้ระบบนิเวศป่าสนธรรมชาติและการส ารวจประเมินสภาพป่า ท าใหไ้ดชุ้ด

    ขอ้มูลการส ารวจและประเมินสภาพป่าทั้งหมด 5 ชุด มีรายละเอียดดงัต่อไปน้ี

    ข้อมูลชุดที ่1

    ตารางบันทกึข้อมูลการส ารวจป่า และทรัพยากรชีวภาพอย่างง่าย

    ส่วนที ่1 ลกัษณะทางกายภาพของแปลง

    กลุ่มท่ี 1 วนัท่ีส ารวจ 17 ก.พ. 56 ช่ือพื้นท่ี ป่าสนธรรมชาติ แปลงท่ี 1 จ านวนชั้นเรือนยอด

    2 ชั้น เปอร์เซ็นตก์ารปกคลุมเรือนยอด 20 % เปอร์เซ็นตก์ารปกคลุมผวิดิน 80 %ชนิดดิน (ดินทราย/ดิน

    ร่วน/ดินเหนียว) ทราย สีดิน ขาวอมเหลือง ความลาดชนั (มาก/ปานกลาง/นอ้ย) ระบุ นอ้ย

    ส่วนที่ 2 ไมย้นืตน้ (สูงเกิน 2 เมตร) ในแปลงขนาด 10x10 เมตร

    ล าดับ ช่ือต้นไม้ ความโตวดัรอบ(ซ.ม.) ความสูง(ม.)

    1 ตน้สนทะเล 15 4

    2 ตน้สนทะเล 19 4.5

    3 ตน้สนทะเล 19 3.5

    4 ตน้สนทะเล 17 4

    5 ตน้สนทะเล 15 3.8

    6 ตน้สนทะเล 18 4

    7 ตน้สนทะเล 16.5 3

    8 ตน้สนทะเล 15 3

  • 20

    ส่วนที ่3 ไมห้นุ่ม ในแปลงท่ี 1 ขนาด 4x4 เมตร

    ช่ือ/ชนิด จ านวนต้น

    ตน้สนทะเล 18

    ส่วนที ่3 ไมห้นุ่ม ในแปลงท่ี 2ขนาด 4x4 เมตร

    ช่ือ/ชนิด จ านวนต้น

    - -

    ส่วนที ่4 ลูกไม ้ ในแปลงท่ี 1 ขนาด 4x4 เมตร

    ช่ือ/ชนิด จ านวนต้น

    ตน้โพธ์ิทะเล 23

    ตน้หูกวาง 5

    ส่วนที ่4 (ต่อ) ลูกไม ้ ในแปลงท่ี 2 ขนาด 4x4 เมตร

    ช่ือ/ชนิด จ านวนต้น

    - -

  • 21

    ส่วนที ่5 พนัธ์ุพืชอ่ืนๆท่ีไม่ใช่ไมย้นืตน้ (พบในแปลงและบริเวณรอบๆแปลง) เช่น เถาวลัย ์พืชลม้ลุก

    กลว้ยไม ้กาฝาก หวาย สมุนไพร ฯลฯ

    ส่วนที ่6 สัตวป่์า (พบในแปลงและบริเวณรอบๆแปลง)

    ข้อมูลชุดที ่2

    ตารางบันทกึข้อมูลการส ารวจป่า และทรัพยากรชีวภาพอย่างง่าย

    ส่วนที ่1 ลกัษณะทางกายภาพของแปลง

    กลุ่มท่ี 2 วนัท่ีส ารวจ 17 ก.พ. 56 ช่ือพื้นท่ี ป่าสนธรรมชาติ แปลงท่ี 2 จ านวนชั้นเรือนยอด 2

    ชั้น เปอร์เซ็นตก์ารปกคลุมเรือนยอด 40 % เปอร์เซ็นตก์ารปกคลุมผวิดิน 90 % ชนิดดิน (ดินทราย/ดินร่วน/

    ดินเหนียว) ทราย สีดิน ขาวอมเหลือง ความลาดชนั (มาก/ปานกลาง/นอ้ย) ระบุ นอ้ย

    ช่ือ รูปชีวติ ประมาณความมากน้อย (ใส่เคร่ืองหมาย / ในช่องทีพ่บ)

    มาก ปานกลาง น้อย หายากมาก

    ผกับุง้ทะเล เถา

    หญา้ (Un know 1) กอ

    หญา้ (Un know 2) เถา

    หญา้ (Un know 3) กอ

    ดอกหญา้ (Un know4) เถา

    ชนิดสัตว์ป่า ส่ิงทีพ่บ (ใส่เคร่ืองหมาย / ในช่องทีพ่บ)

    พบตัว ได้ยนิเสียง รอยเท้า มูล อืน่ๆ (ระบุ)

    มด

    หนอน

    งู

  • 22

    ส่วนที่ 2 ไมย้นืตน้ (สูงเกิน 2 เมตร) ในแปลงขนาด 10x10 เมตร

    ส่วนที ่3 ไมห้นุ่ม ในแปลงท่ี 1 ขนาด 4x4 เมตร

    ช่ือ/ชนิด จ านวนต้น

    ตน้สนทะเล 2

    ส่วนที ่3 ไมห้นุ่ม ในแปลงท่ี 2ขนาด 4x4 เมตร

    ช่ือ/ชนิด จ านวนต้น

    - -

    ส่วนที ่4 ลูกไม ้ ในแปลงท่ี 1 ขนาด 4x4 เมตร

    ช่ือ/ชนิด จ านวนต้น

    - -

    ล าดับ ช่ือต้นไม้ ความโตวดัรอบ(ซ.ม.) ความสูง(ม.) 1 ตน้สนทะเล 31 10 2 ตน้สนทะเล 29 10 3 ตน้สนทะเล 39 10 4 ตน้สนทะเล 39.5 11 5 ตน้สนทะเล 49.5 11 6 ตน้สนทะเล 56 13 7 ตน้สนทะเล 73.5 13.5

  • 23

    ส่วนที ่4 (ต่อ) ลูกไม ้ ในแปลงท่ี 2 ขนาด 4x4 เมตร

    ช่ือ/ชนิด จ านวนต้น

    - -

    ส่วนที ่5 พนัธ์ุพืชอ่ืนๆท่ีไม่ใช่ไมย้นืตน้ (พบในแปลงและบริเวณรอบๆแปลง) เช่น เถาวลัย ์พืชลม้ลุก

    กลว้ยไม ้กาฝาก หวาย สมุนไพร ฯลฯ

    ส่วนที ่6 สัตวป่์า (พบในแปลงและบริเวณรอบๆแปลง)

    ช่ือ รูปชีวติ ประมาณความมากน้อย (ใส่เคร่ืองหมาย / ในช่องทีพ่บ)

    มาก ปานกลาง น้อย หายากมาก

    ผกับุง้ทะเล เถา

    ผกากรอง ไมพุ้ม่

    ต าลึง เถา

    กระทกรก ไมเ้ล้ือย

    หญา้ (Un know 5) กอ

    ชนิดสัตว์ป่า ส่ิงทีพ่บ (ใส่เคร่ืองหมาย / ในช่องทีพ่บ)

    พบตัว ได้ยนิเสียง รอยเท้า มูล อืน่ๆ (ระบุ)

    มดแดง

    มดตะนอย

  • 24

    ข้อมูลชุดที ่3

    ตารางบันทกึข้อมูลการส ารวจป่า และทรัพยากรชีวภาพอย่างง่าย

    ส่วนที ่1 ลกัษณะทางกายภาพของแปลง

    กลุ่มท่ี 3 วนัท่ีส ารวจ 17 ก.พ. 56 ช่ือพื้นท่ี ป่าสนธรรมชาติ แปลงท่ี 3 จ านวนชั้นเรือนยอด 2

    ชั้น เปอร์เซ็นตก์ารปกคลุมเรือนยอด 20 % เปอร์เซ็นตก์ารปกคลุมผวิดิน 70 %ชนิดดิน (ดินทราย/ดินร่วน/

    ดินเหนียว ) ทราย สีดิน เทา ความลาดชนั (มาก/ปานกลาง/นอ้ย) ระบุ นอ้ย

    ส่วนที่ 2 ไมย้นืตน้ (สูงเกิน 2 เมตร) ในแปลงขนาด 10x10 เมตร

    ส่วนที ่3 ไมห้นุ่ม ในแปลงท่ี 1 ขนาด 4x4 เมตร

    ช่ือ/ชนิด จ านวนต้น

    - -

    ส่วนที ่3 ไมห้นุ่ม ในแปลงท่ี 2ขนาด 4x4 เมตร

    ช่ือ/ชนิด จ านวนต้น

    - -

    ล าดับ ช่ือต้นไม้ ความโตวดัรอบ(ซ.ม.) ความสูง(ม.) 1 ตน้สนทะเล 66 10 2 ตน้สนทะเล 107 12 3 ตน้สนทะเล 67 11

  • 25

    ส่วนที ่4 ลูกไม ้ ในแปลงท่ี 1 ขนาด 4x4 เมตร

    ช่ือ/ชนิด จ านวนต้น

    - -

    ส่วนที ่4 (ต่อ) ลูกไม ้ ในแปลงท่ี 2 ขนาด 4x4 เมตร

    ช่ือ/ชนิด จ านวนต้น

    - -

    ส่วนที ่5 พนัธ์ุพืชอ่ืนๆท่ีไม่ใช่ไมย้นืตน้ (พบในแปลงและบริเวณรอบๆแปลง) เช่น เถาวลัย ์พืชลม้ลุก

    กลว้ยไม ้กาฝาก หวาย สมุนไพร ฯลฯ

    ช่ือ รูปชีวติ ประมาณความมากน้อย (ใส่เคร่ืองหมาย / ในช่องทีพ่บ)

    มาก ปานกลาง น้อย หายากมาก

    ผกับุง้ทะเล เถา

    ตน้หญา้ ลม้ลุก

    ต าลึง ไมเ้ล้ือย

  • 26

    ส่วนที ่6 สัตวป่์า (พบในแปลงและบริเวณรอบๆแปลง)

    ข้อมูลชุดที ่4

    ตารางบันทกึข้อมูลการส ารวจป่า และทรัพยากรชีวภาพอย่างง่าย

    ส่วนที ่1 ลกัษณะทางกายภาพของแปลง

    กลุ่มท่ี 4 วนัท่ีส ารวจ 17 ก.พ. 56 ช่ือพื้นท่ี ป่าสนธรรมชาติ แปลงท่ี 4 จ านวนชั้นเรือนยอด 2 ชั้น

    เปอร์เซ็นตก์ารปกคลุมเรือนยอด 20 % เปอร์เซ็นตก์ารปกคลุมผวิดิน 80 %ชนิดดิน (ดินทราย/ดินร่วน/ดิน

    เหนียว) ทราย สีดิน เทาอมน ้าตาล ความลาดชนั (มาก/ปานกลาง/นอ้ย) ระบุ นอ้ย

    ส่วนที่ 2 ไมย้นืตน้ (สูงเกิน 2 เมตร) ในแปลงขนาด 10x10 เมตร

    ชนิดสัตว์ป่า ส่ิงทีพ่บ (ใส่เคร่ืองหมาย / ในช่องทีพ่บ)

    พบตัว ได้ยนิเสียง รอยเท้า มูล อืน่ๆ (ระบุ)

    มด

    แมลงสาบ

    แมงมุม

    นก

    ผเีส้ือ

    ตัก๊แตน

    ล าดับ ช่ือต้นไม้ ความโตวดัรอบ(ซ.ม.) ความสูง(ม.)

    1 ตน้สนทะเล 111 16

    2 ตน้สนทะเล 67 14

    3 ตน้สนทะเล 68 13

    4 ตน้สนทะเล 69 15

    5 ตน้สนทะเล 74.5 11

  • 27

    ส่วนที ่3 ไมห้นุ่ม ในแปลงท่ี 1 ขนาด 4x4 เมตร

    ช่ือ/ชนิด จ านวนต้น

    - -

    ส่วนที ่3 (ต่อ)ไมห้นุ่ม ในแปลงท่ี 2ขนาด 4x4 เมตร

    ช่ือ/ชนิด จ านวนต้น

    โพธ์ิทะเล 2

    ส่วนที ่4 ลูกไม ้ ในแปลงท่ี 1 ขนาด 4x4 เมตร

    ช่ือ/ชนิด จ านวนต้น

    สนทะเล 4

    ส่วนที ่4 (ต่อ) ลูกไม ้ ในแปลงท่ี 2 ขนาด 4x4 เมตร

    ช่ือ/ชนิด จ านวนต้น

    โพธ์ิทะเล 30

    ส่วนที ่5 พนัธ์ุพืชอ่ืนๆท่ีไม่ใช่ไมย้นืตน้ (พบในแปลงและบริเวณรอบๆแปลง) เช่น เถาวลัย ์พืชลม้ลุก

    กลว้ยไม ้กาฝาก หวาย สมุนไพร ฯลฯ

    ช่ือ รูปชีวติ ประมาณความมากน้อย (ใส่เคร่ืองหมาย / ในช่องทีพ่บ)

    มาก ปานกลาง น้อย หายากมาก

    สาบเสือ ไมล้ม้ลุก

    ลูกหวา้ ไมพุ้ม่

  • 28

    ส่วนที ่6 สัตวป่์า (พบในแปลงและบริเวณรอบๆแปลง)

    ข้อมูลชุดที ่5

    ตารางบันทกึข้อมูลการส ารวจป่า และทรัพยากรชีวภาพอย่างง่าย

    ส่วนที ่1 ลกัษณะทางกายภาพของแปลง

    กลุ่มท่ี 1-4 วนัท่ีส ารวจ 17 ก.พ. 56 ช่ือพื้นท่ี ป่าสนธรรมชาติ แปลงท่ี 5 จ านวนชั้นเรือนยอด 2

    ชั้น เปอร์เซ็นตก์ารปกคลุมเรือนยอด 60 % เปอร์เซ็นตก์ารปกคลุมผวิดิน 98 %ชนิดดิน (ดินทราย/ดินร่วน/

    ดินเหนียว) ทราย สีดิน น ้าตาล ความลาดชนั (มาก/ปานกลาง/นอ้ย) ระบุ นอ้ย

    ส่วนที่ 2 ไมย้นืตน้ (สูงเกิน 2 เมตร) ในแปลงขนาด 10x10 เมตร

    ชนิดสัตว์ป่า ส่ิงทีพ่บ (ใส่เคร่ืองหมาย / ในช่องทีพ่บ)

    พบตัว ได้ยนิเสียง รอยเท้า มูล อืน่ๆ (ระบุ)

    มดแดง

    คางคก

    ล าดับ ช่ือต้นไม้ ความโตวดัรอบ(ซ.ม.) ความสูง(ม.)

    1 ตน้สนทะเล 41 7

    2 ตน้สนทะเล 59.5 7.5

    3 ตน้สนทะเล 58 8

    4 ตน้สนทะเล 21.5 3.5

    5 ตน้สนทะเล 36.5 6

    6 ตน้สนทะเล 31 6

    7 ตน้สนทะเล 19 4.5

    8 ตน้สนทะเล 13.5 3.2

  • 29

    ส่วนที ่3 ไมห้นุ่ม ในแปลงท่ี 1 ขนาด 4x4 เมตร

    ช่ือ/ชนิด จ านวนต้น

    - -

    ส่วนที ่3 ไม้หนุ่ม ในแปลงที ่2ขนาด 4x4 เมตร

    ช่ือ/ชนิด จ านวนต้น

    สนทะเล 1

    ส่วนที ่4 ลูกไม ้ ในแปลงท่ี 1 ขนาด 4x4 เมตร

    ช่ือ/ชนิด จ านวนต้น

    - -

    ส่วนที ่4 ลูกไม ้ ในแปลงท่ี 2 ขนาด 4x4 เมตร

    ช่ือ/ชนิด จ านวนต้น

    - -

  • 30

    ส่วนที ่5 พนัธ์ุพืชอ่ืนๆท่ีไม่ใช่ไมย้นืตน้ (พบในแปลงและบริเวณรอบๆแปลง) เช่น เถาวลัย ์พืชลม้ลุก

    กลว้ยไม ้กาฝาก หวาย สมุนไพร ฯลฯ

    ส่วนที ่6 สัตวป่์า (พบในแปลงและบริเวณรอบๆแปลง)

    ช่ือ รูปชีวติ ประมาณความมากน้อย (ใส่เคร่ืองหมาย / ในช่องทีพ่บ)

    มาก ปานกลาง น้อย หายากมาก

    ผกากรอง

    ผกับุง้ทะเล

    กระทกรก

    หญา้ชนิดต่างๆ

    ชนิดสัตว์ป่า ส่ิงทีพ่บ (ใส่เคร่ืองหมาย / ในช่องทีพ่บ)

    พบตัว ได้ยนิเสียง รอยเท้า มูล อืน่ๆ (ระบุ)

    มดแดง

    หนอน

    มดตะนอย

    ตัก๊แตน

  • 31

    การสรุปข้อมูลจากการส ารวจและประเมนิสภาพป่า

    1. สรุปสภาพทางกายภาพ และส่ิงแวดล้อมพืน้ที ่ป่าสนธรรมชาติ บริเวณ แหลมสนอ่อน จากแบบบันทกึ

    ข้อมูลทั้ง 5 ชุด

    แปลงที่ % การปกคลุมดิน % การปกคลุมเรือนยอด จ านวนช้ันเรือนยอด

    1 90 20 2 2 80 40 2 3 70 20 2 4 80 20 2 5 98 60 2

    เฉลีย่ 83.6 32 2

    ตารางท่ี 4.1 ตารางแสดงการปกคลุมดิน การปกคลุมเรือนยอดและจ านวนชั้นเรือนยอด

    เกณฑ์ในการวเิคราะห์ ตีความ การปกคลุมผวิดิน และการปกคลุมเรือนยอด ดีหรือไม่ พิจารณาจาก

    ค่าเฉล่ียดงัน้ี (1 )การปกคลุมผวิดินดี มากกวา่ 70 เปอร์เซ็นต ์ (2 )การปกคลุมผวิดินดีปานกลางอยูร่ะหวา่ง

    50-70 เปอร์เซ็นต ์(3 )การปกคลุมผวิดินไม่ดี นอ้ยกวา่ 50เปอร์เซ็นต ์

    สรุปได้ว่าการปกคลุมผวิดินป่าสนธรรมชาติ ดี อยูร่ะหวา่ง 70-98 เปอร์เซ็นต ์มีค่าเฉล่ียอยูท่ี่ 83.6

    เปอร์เซ็นต ์ซ่ึงถือวา่มีการปกคลุมผวิดิน ดี และ การปกคลุมเรือนยอดอยูใ่นเกณฑ ์ น้อย โดยมีการปกคลุม

    เรือ�