18
คู่มือ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร

คู่มือ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการเตร ยมความพร อมส าหร บน กศ กษาภาคปกต

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คู่มือ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการเตร ยมความพร อมส าหร บน กศ กษาภาคปกต

คู่มือ

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร

Page 2: คู่มือ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการเตร ยมความพร อมส าหร บน กศ กษาภาคปกต

2

ค าน า

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ เป็นกิจกรรมที่ส าคัญยิ่งในกระบวนการเรียนการสอนวิชาชีพวิชาการ

สาขาต่างๆ เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยงานต่างๆ มุ่งให้นักศึกษาได้ฝึกงาน

ในลักษณะงานที่ตรงตามสาขาวิชาชีพที่ตนเองก าลังศึกษาอยู่ นักศึกษาจะได้พัฒนาความรู้ ความสามารถทั้ง

ภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติควบคู่กันไปในสภาวะแวดล้อมที่เป็นจริง ช่วยให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรง

ด้วยตนเอง ทั้งนี้ต้องรับความเห็นชอบจากหน่วยงานฝึกประสบการณ์ฯ และอาจารย์ผู้รับผิดชอบในโปรแกรม

วิชาที่เก่ียวข้อง

การออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ

ก าแพงเพชรนี้ มุ่งให้นักศึกษาท าความเข้าใจในลักษณะงานของหน่วยงานต่างๆ ที่สอดคล้องกับวิชาการ สาขา

วิชาชีพของตน คุณลักษณะของนักศึกษา

ศูนยฝ์ึกประสบการณ์วิชาชีพ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร

Page 3: คู่มือ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการเตร ยมความพร อมส าหร บน กศ กษาภาคปกต

3

สารบัญ

หน้า ค าน า สารบัญ บทที่ 1 บทน า

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

จุดมุ่งหมายของการเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

ค ขอบข่ายของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

บทที่ 2 การเตรียมความพร้อมก่อนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ การเตรียมความพร้อมส าหรับนักศึกษาภาคปกติ

การเตรียมความพร้อมส าหรับนักศึกษาภาคกศ.บป.

บทที่ 3 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ภาคผนวก

Page 4: คู่มือ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการเตร ยมความพร อมส าหร บน กศ กษาภาคปกต

4

บทที่ 1 บทน า

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ เป็นกิจกรรมที่ส าคัญยิ่งในกระบวนการเรียนการสอนวิชาชีพวิชาการสาขาต่าง ๆ เป็นกิจกรรมที่นักศึกษามีโอกาสเตรียมตัวเพ่ือเข้ารับการฝึกปฏิบัติงานในหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีลักษณะงานตรงตามสาขาวิชาชีพของนักศึกษา เพ่ือจะได้พัฒนาความรู้ ความสามารถทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติควบคู่กันไปในสภาวะแวดล้อมที่เป็นจริง ช่วยให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงด้วยตนเอง จุดมุ่งหมายของการเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1. เพ่ือให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในลักษณะงานของหน่วยงานต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับวิชาการ สาขาวิชาชีพของตน

2. เพ่ือให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน ในสาขาวิชาชีพของตนให้กว้างขวางยิ่งขึ้น

3. เพ่ือให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายให้เกิดผลงานอย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพ่ือให้นักศึกษาฝึกการแก้ปัญหา และพัฒนางานของตนให้ดียิ่งขึ้นไป 5. เพ่ือให้นักศึกษามีความรับผิชอบในหน้าที่การงานที่ได้รับมอบหมาย 6. เพ่ือให้นักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่องานตามสาขาวิชาชีพของตน

ขอบข่ายของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพของนักศึกษา มุ่งให้นักศึกษาได้มีความรู้ ความเข้าใจในลักษณะงานของหน่วยงานต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับวิชาการสาขาวิชาชีพ และมีทัศนคติที่ดีต่องานตามสาขาวิชาชีพของตนทั้งนี้ต้องได้รับความเห็นชอบจากหน่วยงานฝึกประสบการณ์ฯ และอาจารย์ผู้รับผิดชอบในโปรแกรมวิชาที่เก่ียวข้อง

Page 5: คู่มือ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการเตร ยมความพร อมส าหร บน กศ กษาภาคปกต

5

บทที่ 2 การเตรียมความพร้อมก่อนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

การเตรียมความพร้อมส าหรับนักศึกษาภาคปกติ ข้อควรปฏิบัติในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพส าหรับนักศึกษาภาคปกติ 1. ช าระค่าลงทะเบียนให้เป็นปัจจุบัน 2. ควรสมัครสอบวัดมาตรฐานความรู้ทางคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่อยู่ชั้นปีที่ 2 3. ควรเริ่มจัดท าแฟ้มสะสมงานตั้งแต่อยู่ชั้นปีที่ 1 โดยต้องจัดท าให้เรียบร้อย สมบูรณ์ รูปแบบ

ตัวอักษรเป็นแบบเดียวกัน 4. จัดเก็บสมุดกิจกรรมไว้ให้ดี อย่าให้หาย และตรวจสอบให้เรียบร้อย ว่ายังขาดกิจกรรมใดหรือไม่ 5. ค้นหาสถานที่ฝึกประสบการณ์ให้เหมาะสมกับตนเอง ทั้งในเรื่องของความรู้ สถานที่ตั้ง การเดินทาง

ค่าใช้จ่าย ประสบการณ์ท่ีจะได้รับ 6. เข้าร่วมกิจกรรมรายวิชาการเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพฯ โดยจะต้องมีผลการเรียนไม่ต่ ากว่า

ระดับ C 7. จัดท าเอกสารแบบฟอร์มกรอกข้อมูลครบถ้วน เรียบร้อยสมบูรณ์ ประกอบไปด้วย

7.1 แบบฟอร์มขออนุญาตฝึกประสบการณ์วิชาชีพ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 1

แผ่น

7.2 แบบฟอร์มขอให้ออกหนังสือราชการ 1 แผ่น (ตัวจริงให้อยู่กับนักศึกษาเจ้าของเรื่อง โดย

นักศึกษาคนอ่ืนที่ไปฝึกประสบการณ์ด้วย ให้ถ่ายส าเนาไว้แนบกับเอกสารของตนเอง)

7.3 ประวัตินักศึกษา 2 แผ่น รูปถ่าย 1 นิ้ว จ านวน 2 รูป (ติดตัวจริง 1 รูป และติดส าเนา 1

รูป)

7.4 หนังสือยินยอมจากผู้ปกครอง 1 แผ่น

7.5 ส าเนาบัตรประชาชน 1 แผ่น (รับรองส าเนาถูกต้อง)

7.6 ส าเนาบัตรนักศึกษา 1 แผ่น (รับรองส าเนาถูกต้อง)

7.7 ระเบียนผลการเรียนที่รับรองโดยงานทะเบียน

หมายเหตุ : หากตรวจสอบแล้วพบว่าเอกสารไม่เป็นไปตามเงื่อนไขของศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ นักศึกษาจะไม่ได้รับอนุญาตให้ออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพในภาคการเรียนนั้น

**โดยเอกสารทุกฉบับต้องกรอกข้อมูลให้ครบถ้วนสมบูรณ์ก่อนส่ง**

Page 6: คู่มือ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการเตร ยมความพร อมส าหร บน กศ กษาภาคปกต

6

Page 7: คู่มือ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการเตร ยมความพร อมส าหร บน กศ กษาภาคปกต

7

การเตรียมความพร้อมส าหรับนักศึกษาภาคกศ.บป. ข้อควรปฏิบัติในการออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพส าหรับนักศึกษาภาคกศ.บป. 1. ช าระค่าลงทะเบียนให้เป็นปัจจุบัน 2. ค้นหาสถานที่ฝึกประสบการณ์ให้เหมาะสมกับตนเอง ทั้งในเรื่องของความรู้ สถานที่ตั้ง การ

เดินทาง ค่าใช้จ่าย ประสบการณ์ที่จะได้รับ 3. เข้าร่วมกิจกรรมรายวิชาการเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพฯ โดยจะต้องมีผลการเรียนไม่ต่ ากว่า

ระดับ C 4. จัดท าเอกสารแบบฟอร์มกรอกข้อมูลครบถ้วน เรียบร้อยสมบูรณ์ ประกอบไปด้วย

4.1 แบบฟอร์มขออนุญาตฝึกประสบการณ์วิชาชีพ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 1

แผ่น

4.2 แบบฟอร์มขอให้ออกหนังสือราชการ 1 แผ่น (ตัวจริงให้อยู่กับนักศึกษาเจ้าของเรื่อง โดย

นักศึกษาคนอ่ืนที่ไปฝึกประสบการณ์ด้วย ให้ถ่ายส าเนาไว้แนบกับเอกสารของตนเอง)

4.3 ประวัตินักศึกษา 2 แผ่น รูปถ่าย 1 นิ้ว จ านวน 2 รูป (ติดตัวจริง 1 รูป และติดส าเนา 1

รูป)

4.4 ส าเนาบัตรประชาชน 1 แผ่น (รับรองส าเนาถูกต้อง)

4.5 ส าเนาบัตรนักศึกษา 1 แผ่น (รับรองส าเนาถูกต้อง)

4.6 ระเบียนผลการเรียนที่รับรองโดยงานทะเบียน

หมายเหตุ : หากตรวจสอบแล้วพบว่าเอกสารไม่เป็นไปตามเงื่อนไขของศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ นักศึกษาจะไม่ได้รับอนุญาตให้ออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพในภาคการเรียนนั้น

**โดยเอกสารทุกฉบับต้องกรอกข้อมูลให้ครบถ้วนสมบูรณ์ก่อนส่ง**

Page 8: คู่มือ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการเตร ยมความพร อมส าหร บน กศ กษาภาคปกต

8

Page 9: คู่มือ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการเตร ยมความพร อมส าหร บน กศ กษาภาคปกต

9

บทที่ 3 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

การนิเทศงาน การนิเทศงาน เป็นกระบวนการ การแนะน าช่วยเหลือการเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพแก่นักศึกษา เพ่ือให้ปฏิบัติหน้าที่ให้ดีที่สุด และมีประสิทธิภาพมากที่สุด ลักษณะของการนิเทศ

การนิเทศงานมีหลายลักษณะ ตั้งแต่การเตรียมตัวนักศึกษาจากโปรแกรม การปฐมนิเทศก่อนการ เตรียมฝึกประสบการณ์ การประชุมแนะน าเป็นกลุ่ม การซักถามพูดคุยเป็นรายบุคคล การแนะน าเอกสารและการเสาะแสวงหาความรู้ ความสามารถเพ่ิมเติม การสัมมนาระหว่างการเตรียมฝึกประสบการณ์ฯ การปัจฉิมนิเทศ รวมทั้งวิธีการอ่ืน ๆ ที่จะช่วยเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษาให้ดียิ่งขึ้น ผู้นิเทศนักศึกษา

ผู้ท าหน้าที่นิเทศงานแก่นักศึกษา เรียกว่า “ผู้นิเทศ” ซึ่งมีอยู่ 2 ฝ่าย คือ 1. ผู้นิเทศฝ่ายหน่วยงานเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หมายถึง หัวหน้าหน่วยงานที่นักศึกษา

เข้ารับการเตรียมฝึกประสบการณ์ฯ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากหน่วยงาน 2. ผู้นิเทศฝ่ายโปรแกรมวิชา หมายถึง อาจารย์จากโปรแกรมวิชา ที่ส่งนักศึกษาออกเตรียมฝึก

ประสบการณ์ฯ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากโปรแกรมวิชา จ านวนครั้งในการนิเทศ

จ านวนครั้งในการนิเทศนักศึกษา อยู่ในดุลยพินิจของผู้นิเทศฝ่ายโปรแกรมวิชา และผู้นิเทศฝ่ายหน่วยงานจะก าหนดขึ้น ทั้งนี้ควรจะได้รับการติดต่อประสานงานกันโดยตลอด การบันทึกการนิเทศ

ผู้นิเทศการเตรียมฝึกประสบการณ์ฯ ทั้งสองฝ่ายควรบันทึกการนิเทศงาน หรือแสดงข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของนักศึกษา ในแบบบันทึกการเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพประจ าวันของนักศึกษา ซึ่งนักศึกษาทุกคนจะต้องมีแบบบันทึกประจ าวัน การประเมินผล เมื่อสิ้นสุดกระบวนการเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพของนักศึกษา ผู้นิเทศทั้งสองฝ่าย จะประเมินผลการเตรียมฝึกประสบการณ์ ฯ ของนักศึกษา

- ผู้นิเทศฝ่ายหน่วยงาน บันทึกข้อมูลการประเมินผลลงในแบบประเมินผลตามตัวอย่างแบบฟอร์มในเอกสารนี้

- ผู้นิเทศฝ่ายโปรแกรมวิชา บันทึกข้อมูลการประเมินผลในแบบประเมินผล

Page 10: คู่มือ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการเตร ยมความพร อมส าหร บน กศ กษาภาคปกต

10

หลักเกณฑ์การประเมินผล อัตราการวัดผล 100 คะแนน แบ่งเป็น

1. คะแนนจากหน่วยงานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 50 คะแนน 2. คะแนนจากโปรแกรมวิชา 30 คะแนน 3. คะแนนจากศูนย์ฝึกประสบการณ์ฯ 20 คะแนน

เกณฑ์การให้คะแนน การตัดเกรดอิงเกณฑ์เป็นหลัก ดังนี้

85-100 คะแนน A 75-79 คะแนน B+ 70-74 คะแนน B 65-69 คะแนน C+ 60-64 คะแนน C 55-59 คะแนน D+ 50-54 คะแนน D 0-49 คะแนน E หมายเหตุ: นักศึกษาต้องได้ระดับคะแนน 60 คะแนนขึ้นไปจึงจะผ่านวิชาการประสบการณ์วิชาชีพ

บทบาทหน้าที่ของบุคคลที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ บทบาทหน้าที่ของผู้นิเทศฝ่ายหน่วยงานฯ

1. ปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนเริ่มฝึกประสบการณ์ฯ ในหน่วยงาน เพ่ือชี้แจงให้นักศึกษาทราบถึงลักษณะงาน การบริหารงานในหน่วยงาน และระเบียบหรือข้อปฏิบัติต่างๆ ที่นักศึกษาจะต้องยึดถือปฏิบัติ

2. ท าการนิเทศงานแก่นักศึกษาโดยการให้ค าแนะน าและปรึกษาในหน่วยงานที่นักศึกษาได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติ ชี้แจงข้อบกพร่องของนักศึกษา และช่วยแก้ไขปัญหาอันอาจจะเกิดข้ึน

3. ควบคุมดูแลความประพฤติของนักศึกษา และให้ความคุ้มครองรักษาความปลอดภัยแก่นักศึกษาตามสมควร

4. ประเมินผลการฝึกประสบการณฯ์ ของนักศึกษา 5. ประสานงานกับสถาบันฯ และผู้นิเทศฝ่ายมหาวิทยาลัยฯ 6. ช่วยเสนอแนวทางการเตรียมฝึกประสบการณ์ฯ หรือวิธีการปรับปรุงแก้ไขการเตรียมฝึก

ประสบการณ์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น บทบาทหน้าที่ของผู้นิเทศฝ่ายโปรแกรมวิชา

1. ปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนจะออกเตรียมฝึกประสบการณ์ เพ่ือชี้แจงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามสาขาวิชาชีพ

2. ท าการนิเทศนักศึกษา โดยไปเยี่ยมนักศึกษายังหน่วยงานเตรียมฝึกประสบการณ์ฯ เป็นครั้งคราวตามความเหมาะสม เพ่ือให้ค าแนะน าปรึกษาแก่นักศึกษา ติดตามผลการฝึกปฏิบัติงานและควบคุมดูแลความประพฤติของนักศึกษา รวมทั้งช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น

Page 11: คู่มือ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการเตร ยมความพร อมส าหร บน กศ กษาภาคปกต

11

3. ไปเยี่ยมผู้นิเทศฝ่ายหน่วยงาน เป็นครั้งคราวตามความเหมาะสมเพ่ือรับทราบถึงพฤติกรรมต่างๆ ของนักศึกษา และข้อเสนอแนะต่างๆ จากหน่วยงาน

4. ประชุมสัมมนานักศึกษาระหว่างการเตรียมฝึกประสบการณ์ฯ ตามความเหมาะสม 5. ประเมินผลการเตรียมฝึกประสบการณ์ฯ ของนักศึกษา 6. ประสานงานระหว่างสถาบันฯ หน่วยงานฝึกประสบการณ์ฯ 7. รวบรวมข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับการฝึกประสบการณ์ฯ 8. หาแนวทางพัฒนาการเตรียมฝึกประสบการณ์ฯ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

บทบาทหน้าที่ของนักศึกษา 1. เข้ารับการปฐมนิเทศ ปัจฉิมนิเทศ และการสัมมนาทุกครั้ง 2. ต้องฝึกปฏิบัติงานที่ ได้รับมอบหมาย เพ่ือให้ เกิดความรู้ ความสามารถ และสร้างเสริม

ประสบการณ์แก่ตนเอง 3. ต้องบันทึกการฝึกงานประสบการณ์วิชาชีพของตนเองเป็นประจ าทุกวัน ลงในแบบบันทึกการฝึก

ประสบการณ์ฯประจ าวัน 4. มีความสนใจ ตั้งใจปฏิบัติงาน และมีความรับผิดชอบในหน้าที่การงานที่ได้รับมอบหมาย 5. สร้างความสัมพันธ์อันดีกับบุคลากรในหน่วยงานฝึกประสบการณ์ฯ และผู้ที่เก่ียวข้อง 6. มีความร่วมมือที่ดีกับหน่วยงานในประสบการณ์ฯ 7. ประพฤติตนอยู่ในระเบียบข้อบังคับของหน่วยงานฝึกประสบการณ์ฯ 8. ประพฤติตนอยู่ในระเบียบวินัยของมหาวิทยาลัยฯ

บทบาทคณะกรรมการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 1. ติดตามประสานงานระหว่างหน่วยงานฝึกประสบการณ์ฯ กับคณะและโปรแกรมวิชารวมทั้งงาน

ด้านธุรกิจที่เก่ียวข้อง เช่น หนังสือ ติดต่อหน่วยงานต่างๆ 2. จัดท าเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกประสบการณ์ เช่น คู่มือ แบบบันทึก แบบประเมินผล

ฯลฯ 3. จัดก าหนดการด าเนินงานการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 4. จัดปฐมนิเทศ สัมมนา ปัจฉิมนิเทศ ให้แก่นักศึกษา โดยประสานงานกับคณะและโปรแกรมวิชา 5. ให้บริการเกี่ยวกับการเดินทางยานพาหนะที่ใช้ในการปัจฉิมนิเทศงาน 6. ให้บริการข้อมูลที่เก่ียวข้องกับการฝึกประสบการณ์ฯ 7. ประเมินผลรูปแบบและกระบวนการฝึกประสบการณ์ฯ 8. แสวงหาแนวทางจัดด าเนินการฝึกประสบการณ์ฯ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

Page 12: คู่มือ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการเตร ยมความพร อมส าหร บน กศ กษาภาคปกต

12

ระเบียบปฏิบัติของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ระเบียบการฝึกประสบการณ์

1. ต้องเข้าประชุม อบรม ปฐมนิเทศ ปัจฉิมนิเทศ และสัมมนา ตามที่โปรแกรมวิชาและส านักงานประสานงานการฝึกประสบการณ์วิชาชีพก าหนดไว้

2. ต้องมีเวลาฝึกประสบการณ์ฯ 450 ชั่วโมง 3. นักศึกษาที่ผ่านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ต้องผ่านการวัดผล ประเมินผลการฝึกประสบการณ์ฯ

ทีโ่ปรแกรมวิชาฯ ก าหนด 4. ต้องปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับของหน่วยงานที่นักศึกษาเข้าร่วมรับการฝึกประสบการณ์ฯ 5. ต้องปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับของโปรแกรมวิชาและมหาวิทยาลัยฯ 6. ต้องไม่มีความผิดตามก าหนดส าหรับนักศึกษาฝึกประสบการณ์ฯ ที่ก าหนดไว้เป็นพิเศษซึ่งถือว่า

จะไม่ให้ผ่านการเตรียมฝึกประสบการณ์ฯ หรือส่งตัวกลับโปรแกรมวิชาฯ 1) ประพฤติเสื่อมเสียด้านชู้สาว 2) ยักยอก ขโมย ท าลายทรัพย์สินของผู้อื่น 3) ดื่มสุรา เสพยาเสพติด 4) เล่นการพนันในหน่วยงาน 5) ยุยง ปลุกปั่นทางการเมือง ก่อให้เกิดความไม่สงบทางการเมือง

การลงเวลาปฏิบัติงาน

1. นักศึกษาต้องปฏิบัติงานให้ทันตามเวลาที่หน่วยงานฝึกประสบการณ์ฯ ก าหนดและไม่กลับก่อนเวลาที่หน่วยงานฝึกประสบการณ์ฯ ก าหนด

2. นักศึกษาต้องเซ็นชื่อลงเวลามาและกลับ ในบัญชีลงเวลาปฏิบัติงานตามที่ส านักงานฝึกประสบการณ์ก าหนดไว้ หรือปฏิบัติตามวิธีการลงเวลามาและกลับ ตามท่ีหน่วยงานที่นักศึกษาเข้ารับการฝึกประสบการณ์ฯ ก าหนดให้ปฏิบัติ

3. หากมีเหตุจ าเป็นต้องลาหยุดการฝึกประสบการณ์ฯ ต้องชี้แจงเหตุผลและใช้แบบที่โปรแกรมวิชาฯ ก าหนดให้เท่านั้น

การแต่งกายของนักศึกษา ต้องแต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ หรือตามท่ีหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพก าหนด

Page 13: คู่มือ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการเตร ยมความพร อมส าหร บน กศ กษาภาคปกต

13

ภาคผนวก

Page 14: คู่มือ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการเตร ยมความพร อมส าหร บน กศ กษาภาคปกต

14

Page 15: คู่มือ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการเตร ยมความพร อมส าหร บน กศ กษาภาคปกต

15

Page 16: คู่มือ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการเตร ยมความพร อมส าหร บน กศ กษาภาคปกต

16

Page 17: คู่มือ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการเตร ยมความพร อมส าหร บน กศ กษาภาคปกต

17

Page 18: คู่มือ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการเตร ยมความพร อมส าหร บน กศ กษาภาคปกต

18