75
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ การใชสารเคมี พงษศักดิชัยศิริประเสริฐ ปริศนา สิริอาชา ผูรวบรวมและเรียบเรียง สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี

พงษศักดิ ์ ชัยศิริประเสริฐ ปริศนา สริิอาชา

ผูรวบรวมและเรียบเรียง

สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตรมหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร

Page 2: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

คํานิยมคํานิยม

หนังสือความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมีเลมนี้ ไดรับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนาแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ประจําป 2545 ประเภทโครงการวิจัยและถายทอดเทคโนโลยี ภายใต “โครงการถายทอดงานวิจัยเพื่ออุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษจากปอสา” (รหัสโครงการวิจัย ว-ถ. 19.45) ขอมูลในหนังสือนี้ไดรวบรวมจากเอกสารหลายฉบับ ฉบับที่สําคัญ คือ อันตรายจากสารเคมี โดย สุชาตา ชินะจิตร ซ่ึงจัดพิมพมาตั้งแต พ.ศ. 2523 ไดใหรายละเอียดและความรูที่มีสาระประโยชนมาก

ปจจุบันมีการใชสารเคมีกันเปนจํานวนมาก ทั้งในชีวิตประจําวันที่บานและที่ทํางาน ความรูความเขาใจตอสารเคมีที่ใชจึงมีความจําเปนอยางยิ่ง เพื่อจะใชไดอยางถูกตอง มีประสิทธิภาพ ปลอดภัยตอชีวิตและทรัพยสินของตนเอง ผูอ่ืนและชุมชน รวมทั้งธรรมชาติและสภาพแวดลอมที่จะยังคงอยูตอไปถึงลูกหลาน

ประโยชนใดอันพึงมีจากหนังสือเลมนี้ ขอมอบแดผูเขียนทุกทานตามเอกสารที่อางอิง ณ ที่นี้ ตลอดจนขอขอบคุณ นางสาววราภรณ อภิวัฒนาภิวัต ที่ชวยสืบคนขอมูล และ นางสาวสุมิตรตา ชูไกรไทย ที่ชวยจัดพิมพรูปเลมเอกสารฉบับนี้ใหสําเร็จลุลวง หากมีขอผิดพลาดประการใด ผูรวบรวมขอนอมรับไวแตผูเดียว

พงษศักดิ์ ชัยศิริประเสริฐ ปริศนา สิริอาชา ผูรวบรวมและเรียบเรียง

Page 3: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

สารบัญสารบัญ

เร่ือง หนา คํานิยม [[11]] บทนําบทนํา 11 [[22]] ประเภทของสารเคมีอันตรายประเภทของสารเคมีอันตราย 22

2.1 สารไวไฟ 2 2.2 สารระเบิดได 2 2.3 สารที่เขากันไมได 3 2.4 สารกัดกรอน 3 2.5 สารเปนพิษและกาซพิษ 5 2.6 สารระคายผิวและผงฝุน 6

[[33]] การปองกันโรคที่เกิดจากการทํางานเกีย่วกับสารเคมี การปองกันโรคที่เกิดจากการทํางานเกีย่วกับสารเคมี 66 3.1 การตรวจอันตรายที่อาจเกดิตอสุขภาพ 6 3.2 การตรวจความปลอดภัยในโรงงาน 7

[[44]] การจัดเก็บรักษาสารเคมีใหปลอดภยั การจัดเก็บรักษาสารเคมีใหปลอดภยั 88 4.1 ฉลากปดขวด 9 4.2 เครื่องหมายเตอืนอันตราย 10 4.3 การจัดเก็บสารเคมี 14

4.3.1 ทําเลที่ตั้ง 4.3.2 วัสดุกอสราง 4.3.3 ระบบถายเทอากาศ 4.3.4 แสงสวาง [[55]] การทิ้งตลอดจนการกําจัดสารเคมีและน้ําท้ิงการทิ้งตลอดจนการกําจัดสารเคมีและน้ําท้ิง 1515

5.1 การทิ้ง 15 5.2 การกําจัดสารเคมี 15

5.2.1 วิธีการกําจดัสารเคมี 5.2.2 ขอแนะนําทั่วไปในการกําจดักากสารเคม ี5.2.3 ขั้นตอนการจดัเตรียมของเสยีกอนสงไปกําจัด

5.3 การกําจัดน้ําทิง้ 19

Page 4: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

สารบัญ สารบัญ ((ตอตอ))

เร่ือง หนา [[66]] การใชสารเคมีและการขนสงการใชสารเคมีและการขนสง 2020 6.1 การใชสารเคมี 20

6.1.1 การสูดดมกาซหรือไอระเหย 6.1.2 การตักและเทสารเคมี 6.1.3 การผสมสารละลาย 6.1.4 การรินสาร

6.2 การขนสง 27 [[77]] การแกไขอุบัติเหตุการแกไขอุบัติเหตุ 2929

7.1 การปฐมพยาบาลเบื้องตน 29 7.2 อุบัติเหตุจากไฟไหม 30

7.2.1 ปจจัยใหเกิดไฟและลักษณะของไฟ 7.2.2 สารดับไฟ

7.3 ผิวหนังถูกของรอน 32 7.4 สารหกลงพื้น 32 7.5 สารหกรดผิวหนัง 34 7.6 สารเขาตา 34 7.7 การสูดกาซหรือไอพิษ 34 7.8 การกลืนกินสารเคมี 35

7.8.1 อุบัติเหตุจากการกลืนกินสาร 7.8.2 หลักทั่วไปในการแกพษิ 7.8.3 การสังเกตจากอาการผูปวย 7.8.4 การแกไขผูปวยที่หมดสต ิ

[[88]] การปองกันอันตรายจากสารเคมีการปองกันอันตรายจากสารเคมี 3737 8.1 พฤติกรรมที่แสดงใหเห็นถึงความไมปลอดภัย 37 8.2 หลักการปองกนัอุบัติเหต ุ 38

8.2.1 การวางระเบยีบขอบังคับ 8.2.2 การฝกฝนใหเกิดเปนนิสัย

Page 5: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

สารบัญ สารบัญ ((ตอตอ))

เร่ือง หนา 8.2.3 การรักษาความเปนระเบยีบเรียบรอยและการดูแลรักษา 8.2.4 การใหความรูและฝกอบรม 8.2.5 การจัดเตรยีมอุปกรณที่จําเปน 8.2.6 การวิเคราะหเหตุของอุบัติเหตุ บันทึกเหตุการณและขอเสนอแนะ 8.2.7 การตรวจสุขภาพและปริมาณสารเคมีที่ปนเปอนในบรรยากาศ 8.2.8 การสงเสริมเพื่อใหตระหนักถึงความสําคัญของการปองกัน

8.3 การปองกันพษิจากสารเคมีเขาสูรางกาย 44 8.3.1 การปองกันสารเคมีเขาทางปาก 8.3.2 การปองกันสารเคมีเขาทางจมูก 8.3.3 การปองกันสารเคมีสัมผัสผิวหนัง 8.4 อุปกรณปองกันอันตรายจากสารเคมี 45

8.4.1 อุปกรณความปลอดภัยที่ควรมี 8.4.2 ตูยา

[[99]] แนวทางปฏิบตัิงานในโกดังหรือรานเก็บสารเคมี แนวทางปฏิบตัิงานในโกดังหรือรานเก็บสารเคมี 4646 9.1 หนาที่ของผูจดัการ 46 9.2 การฝกอบรมพนักงาน 47 9.3 การเตรียมพรอมรับเหตุการณฉุกเฉิน 47 9.4 การรับ-จายผลติภัณฑ 47 9.5 การจัดวางผลิตภัณฑ 48 9.6 การจัดการเมื่อเกิดการปนเปอนและการกําจัดของสารเคมี 49

ภาคผนวก 50 ตัวอยางสารเคมีที่เปนอันตรายตออวยัวะของรางกายโดยตรง 51 ตัวอยางสารเคมีที่ผสมกันไมได 56 ตัวอยางสารไวไฟ 62 ตัวอยางสารเคมีบางชนิดที่มสีมบัติกัดกรอนได 65 ตัวอยางสารเคมีที่ใหไอระเหยเปนพษิ 66 ตัวอยางเครื่องหมายเตือนอันตรายจากสารเคมีอันตรายตางๆ 67

เอกสารอางอิงเอกสารอางอิง 6868

Page 6: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

สารบัญภาพสารบัญภาพ รูปท่ี หนา รูปที่ 4.1 ตัวอยางฉลากปดขวดสารเคมี 10 รูปที่ 4.2 เครื่องหมายเตอืนอันตรายจากสารไวไฟ 10 รูปที่ 4.3 เครื่องหมายเตอืนอันตรายจากสารระเบิดได 10 รูปที่ 4.4 เครื่องหมายเตอืนอันตรายจากสารกัดกรอน 11 รูปที่ 4.5 เครื่องหมายเตอืนอันตรายจากสารเปนพิษ 11 รูปที่ 4.6 เครื่องหมายเตอืนอันตรายจากกาซ 11 รูปที่ 4.7 เครื่องหมายเตอืนอันตรายจากกัมมันตรังส ี 11 รูปที่ 4.8 ตัวอยางฉลากของระบบ NFPA (National Fire Protection Association) 12 รูปที่ 6.1 แสดงวิธีการดมกาซ 21 รูปที่ 6.2 การถายเทของแข็ง 21 รูปที่ 6.3 การถายเทของเหลว 23 รูปที่ 6.4 การถายเทของเหลวปริมาณมาก ๆ 25 รูปที่ 6.5 การผสมสายละลายภายขวดรูปกรวย 26 รูปที่ 6.6 การรินสารละลายในกระดาษกรอง 27 รูปที่ 7.1 การเก็บสารปรอทที่หกโดยใชเครื่องดูด 33

สารบัญตารางสารบัญตาราง ตารางที่ หนา

ตารางที่ 5.1 ลักษณะน้ําทิ้งจากโรงงานตาง ๆ 20

Page 7: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

พิมพท่ี สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร จังหวัดกรุงเทพมหานคร

โทรศัพท 02-942-8600-3 ตอ 707, 02-9428599 โทรสาร 02-942-8599

Page 8: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 1

[[11]] บทนําบทนํา สารเคมีทุกชนิดสวนใหญจะมีอันตราย ขึ้นอยูกับชนิดของสารเคมีและปริมาณที่เราไดรับโดยเฉพาะอยางยิ่งสารเคมีที่มีฉลากเขียนขางภาชนะบรรจุวา "อันตราย (HAZARDOUS)" และมีรูปหัวกระโหลกไขวจะมีอันตรายที่รุนแรงมากหากใชไมถูกวิธีหรือขาดการเอาใจใสในการควบคุมดูแล

อันตรายที่เกิดจากการใชสารเคมี แยกออกไดเปน 2 ประเภทหลักๆ คือ การเกิดเพลิงไหม การเกิดเพลิงไหมของสารเคมีไมวาจะอยูในรูปแบบของแข็ง ของเหลวหรือกาซ องคประกอบ

ที่สําคัญ คือ ความรอนและปริมาณกาซออกซิเจนที่ชวยในการติดไฟ และหากสารเคมีอยูในภาชนะที่ปดอาจจะเกิดการระเบิดได ดังนั้นถาเราสามารถกําจัดความรอนและปริมาณกาซออกซิเจนใหต่ํากวาปริมาณที่สามารถทําใหสารเคมีเกิดไฟไดก็จะชวยในการปองกันการเกิดเพลิงไหมจากสารเคมีได สวนสาเหตุอ่ืนๆที่ทําใหเกิดเพลิงไหม ไดแก การเกิดกาซไวไฟเนื่องจากปฏิกิริยาของสารเคมีบางชนิด เชน การเกิดกาซไฮโดรเจนจากปฏิกิริยาทางเคมีของกระบวนการชุบโครเมียม เปนตน ซ่ึงปองกันไดโดยไมใหสารเคมีถูกประกายไฟโดยเด็ดขาด

อันตรายตอรายกายมนุษย อุบัติเหตุอันตรายที่เกิดจากการใชสารเคมี เปนอุบัติเหตุชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นภายในโรงงาน

อุตสาหกรรมโดยทั่วไปไดเนื่องจากการขาดการเอาใจใสตอวิธีการใชหรือการตรวจสอบภาชนะที่บรรจุ ตลอดจนความประมาทและการรูเทาไมถึงการณ พิษของสารเคมีพบได 2 แบบคือ พิษเฉียบพลันจะแสดงอาการทันทีเมื่อไดรับสารเคมี และพิษเรื้อรังคือมีการสะสมทีละนอยจนถึงขนาดหนึ่งแลวจึงแสดงอาการ พิษเฉียบพลันเปนพิษที่คนกลัวเพราะมองเห็นทันตาแตพิษเรื้อรังก็มีอันตรายมากเชนเดียวกันและมักจะรักษาไมหายขาดดวย ดังนั้นบางครั้งกวาจะแสดงอาการผิดปกติก็สายเกินแกเสียแลว สารเคมีเขาสูรางกายเราได 3 ทาง คือ ทางจมูก ดวยการสูดดมไอ ผง หรือละอองของสารเคมี สารเคมีที่ออกฤทธิ์กัดกรอนจะทําใหเยื่อจมูกและหลอดลมอักเสบได สวนสารที่ซึมผานเนื้อเยื่อเขาสูกระแสโลหิตไดอาจจะมีความเปนพิษ เชน ทําใหโลหิตเปนพิษ โดยเฉพาะที่ปอดซ่ึงเต็มไปดวยเสนโลหิตฝอยทําใหสารเคมีสามารถซึมเขาสูกระแสโลหิตไดอยางรวดเร็ว ทางปาก สารเคมีอาจเขาสูปากไดโดยไมรูตัว เชน อาจเปอนมืออยูแลว ใชมือหยิบจับอาหารเขาปาก อาจติดอยูที่บุหร่ี หรือโดยอุบัติเหตุที่มีการหยิบของผิดพลาดใสปาก โดยสารเคมีที่มีฤทธิ์กัดกรอนเมื่อเขาปากจะทําใหปากคอไหมได และทางผิวหนัง นอกจากสารเคมีจะกัดผิวหนังใหไหม พองเปนแผลแลว สารเคมีบางชนิดสามารถซึมเขาผิวหนังไดและเขาไปทําปฏิกิริยาเกิดเปนพิษแกรางกาย สารเคมีพวกนี้สามารถละลายไขมันบนผิวหนังออกทําใหสารเคมีอ่ืนหรือตัวมันเองซึมเขาผิวหนังเขาสูกระแสโลหิตไดงายขึ้น

Page 9: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 2

[[22]] ปประเภทของสารเคมอีันตรายระเภทของสารเคมอีันตราย เมื่อพิจารณาสารเคมีตามความเปนอันตราย และขอควรระมัดระวังในการใชสามารถจําแนกสารเคมีอยางคราวๆได เปน สารไวไฟ สารระเบิดได สารที่เขากันไมได สารกัดกรอน สารเปนพิษและกาซพิษ สารระคายผิวและผงฝุน

2.1 สารไวไฟ อันตรายจากไฟดูจะเปนสิ่งที่นากลัวกวาอันตรายชนิดอื่นๆเพราะทําใหเกิดการสูญเสียทั้ง

ทางดานทรัพยสินและบุคคล โดยมากอันตรายเกิดจากการใชที่ไมถูกวิธี เก็บไมถูกวิธี ความไวไฟของสารเคมีจึงเปนคุณสมบัติที่เราตองใหความสําคัญ เพื่อจะไดใชประโยชนจากสารไวไฟไดโดยมีการสูญเสียหรือบาดเจ็บนอยที่สุด ไฟนั้นจะจุดติดไฟไดตองมีปจจัยครบทั้ง 3 ส่ิง คือ 1). มีเชื้อเพลิงที่จะเลี้ยงไฟอยูไดโดยตัวสารไวไฟจะเปนเชื้อเพลิงเอง 2). มีอากาศหรือออกซิเจนอยางนอยรอยละ 12 ในอากาศที่ชวยในการเผาไหม และ 3). มีความรอนสูงพอที่จะทําใหเกิดการลุกไหมได เมื่อขาดสิ่งหนึ่งสิ่งใดจะไมเกิดไฟ ตราบใดที่มีปจจัยครบและมีแหลงติดไฟ (Ignition source) เชน เปลวไฟ ประกายไฟ ฯลฯ จะทําใหไฟลุกไดทันที แตถาไมมีการจุดจากแหลงติดไฟ ไฟจะลุกไดก็ตอเมื่ออุณหภูมิของสารนั้นสูงถึงจุดลุกติดไฟไดเองของมัน (Auto-ignition temperature)

โดยปกติของแข็งหรือของเหลวไวไฟไมไดลุกติดไฟ แตไอที่สารนั้นใหออกมาเมื่อผสมกับอากาศจนความเขมขนพอเหมาะจะใหสัดสวนของของผสมที่ระเบิดได (Explosive mixture) ซ่ึงจะลุกติดไฟไดเมื่อถูกจุด

จุดวาบไฟ (Flash point) เปนอุณหภูมิต่ําสุดที่สารจะใหไอระเหยออกมาไดมากพอที่จะลุกติดไฟไดเมื่อถูกจดุ แตที่อุณหภมูิของจุดวาบไฟนี้สารจะไมไหมตอเนื่อง จุดไหมไฟ (Fire point) เปนจดุที่สารมีอุณหภูมสูิงพอทีจะทําใหสารเกิดไอระเหยออกมาอยางตอเนื่องจนเกิดการลุกไหมตอเนื่องกนัซึ่งมักจะมีอุณหภมูิสูงกวาจุดวาบไฟประมาณ 10-20 °C และเมื่ออุณหภมูิสูงขึ้นเลยจุดไหมไฟไปอีกจึงจะถึงจุดลุกติดไฟ ซ่ึงเปนอุณหภมูิที่สารจะลุกติดไฟไดโดยไมตองมีการจุด

2.2 สารระเบิดได การระเบิดอาจเกิดขึ้นจาก สารไวไฟลุกไหมหรือกาซเมื่อถูกความรอน ผงหรือฝุนของสารบางชนิดผสมกับอากาศแลวลุกไหม สารที่ไมเสถียรมีการรวมตัวกันเปนโมเลกุลใหญขึ้น สารที่ไมเสถียรมีการสลายตัว สารบางชนิดเมื่อถูกน้ําหรืออากาศ

Page 10: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 3

การผสมกันของสารบางชนิด ส่ิงที่เปนชนวนทําใหเกิดการระเบิดได คือ ความรอน การเสียดสี แรงกระแทก ความดันสูง เชน ไฮโดเจนเปอรออกไซดเปนตัวออกซิไดซใชเปนตัวเรงปฏิกิริยาโพลีเมอรไรซเซชั่น ไวตอการเสียดสีและการสั่นสะเทือน ใหออกซิเจนเมื่อสลายตัวดังนั้นถาผสมกับสิ่งที่เปนเชื้อเพลิงจะทําปฏิกิริยารุนแรง ไฮโดเจนเปอรออกไซดชนิดความเขมขนมากเชนรอยละ 90 (300 Volume) มีอันตรายจากการระเบิดได (Volume หมายถึงปริมาณออกซิเจนที่ 1 หนวยของสารละลายจะใหออกมาได) น้ําใชดับไฟที่เกิดจากสารเปอรออกไซดไมไดเพราะเกิดออกซิเจนควรใชโซดาแอซ (Soda ash or sodium carbonate) หรือทรายแทน 2.3 สารที่เขากันไมได สารที่เขากันไมได หมายถึง สารที่เมื่อผสมกันจะเกิดอันตราย แตถาอยูตามลําพังอาจไมมีอันตราย อันตรายในที่นี้มีไดหลายรูปแบบ เชน อาจเปนอันตรายอันเนื่องมาจากการทําปฏิกิริยากัน เกิดความรอนสูงจนลุกไหมหรือระเบิด อาจใหสารไวไฟหรือกาซพิษออกมา เกิดปฏิกิริยารุนแรง ปฏิกิริยารุนแรงที่เกิดจากการผสมสารเคมีเขาดวยกันจะใหความรอนสูง ทําใหเกิดการเดือดพลานและกระเด็น ถาเปนสารไวไฟก็อาจเกิดไฟลุกได เวลาผสมตองควบคุมอุณหภูมิของปฏิกิริยาและตองเติมสารเคมีที่ละนอยๆ คนใหเขากันตลอดเวลาจะไดชวยกระจายความรอนได ควรใสแวนนิรภัยปองกันไวดวย เชน กรดผสมน้ํา กรดผสมดาง ออกซิเจนกับน้ํามันเปนตน เกิดปฏิกิริยาท่ีใหกาซไวไฟ กาซไวไฟที่ไดมักเปนกาซไฮโดรเจน เชน ปฏิกิริยาการผสมโซเดียมกับ แอลกอฮอล เปนตน เกิดปฏิกิริยาท่ีไดกาซพิษ เชน สารประกอบที่มีคารบอน ถาน ไม กระดาษ เมื่อเผาในที่มีอากาศนอยจะใหกาซคารบอนมอนอกไซดซ่ึงลุกติดไฟไดและยังเปนกาซพิษดวย เกิดปฏิกิริยาท่ีเกิดการระเบิดได เชน คลอรีนกับอะเซทิลิน แอลกอฮอล อีเทอร ไฮโดรคารบอน ไดบอเรน อีเทน หรือผงโลหะ เชน แมกนีเซียม อะลูมิเนียม ซ่ึงจะใหของผสมที่ระเบิดได เปนตน 2.4 สารกัดกรอน สารกัดกรอน หมายถึง สารเคมีที่มีความสามารถในการทําอันตรายตอเนื้อเยื่อของรางกาย เมื่อสัมผัสโดยตรงหรือจากการสูดดมไอและการกลืนกิน ไดแก สารเคมีพวกกรดและดางตางๆ ซ่ึงมีฤทธิ์กัดกรอนมากเมื่อมีความเขมขนสูง

Page 11: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 4

คําวากรดในภาษาอังกฤษคือ acid การทําใหเจือจางไดโดยเทกรดลงในน้ําชาๆ พรอมทั้งกวนใหเขากันซึ่งจะเกิดความรอนขึ้น ความรอนนี้จะไดแพรกระจายในน้ําได ดางที่มีฤทธิ์กัดกรอนมากจะเปนสารอินทรีย ดางที่เขมขนมากเปนอันตรายตอเนื้อเยื่อ เชน โซดาไฟ(Sodium hydroxide) และ แอมโมเนีย ดางเปนอันตรายตอตามากกวากรดเพราะวากรดสามารถทําใหเกิดชั้นของโปรตีนเปนมานกั้นมิใหสารแทรกซึมผานลึกลงไป แตดางนั้นไมสามารถทําใหเกิดชั้นของโปรตีนกั้นไวไดจึงมีโอกาสทําลายนัยนตาลึกลงไปไดมากกวา กรดกํามะถัน (Sulfuric acid = H2SO4 ) มักขายในรูปของสารละลายกรดกํามะถันในน้ํา หรือ ซัลฟูริคไตรออกไซด (Sulfuric trioxide) ในกรดซัลฟูริค ที่เรียกวา โอเลียม (Oleum) กรดเกลือ (Hydrochloric = HCl) ผลิตขึ้นจากปฏิกิริยาระหวางโซเดียมคลอไรด (Sodium chloride = NaCl) กับกรดซัลฟูริค กรดนี้มีทั้งชนิดที่เปนกาซไฮโดรเจนคลอไรด (Hydrogenchloride) บรรจุถังและชนิดที่เปนสารละลาย ตัวกรดไฮโดรคลอริคไมทําปฏิกิริยากับสารที่เปนเชื้อเพลิงแตถาทํากรดหกจะใหควันของไฮโดรเจนคลอไรดซ่ึงกัดเยื่อจมูก เวลาเปดขวดควรทําใหเย็นเสียกอนมิฉะนั้นถาความดันไอภายในขวดสูงจะทําใหควันพุงออกมาได กรดมด (Formic acid = HCOOH) เปนกรดอินทรียที่ผลิตขึ้นจากปฏิกิริยาระหวาง คารบอนมอนออกไซดกับโซเดียมไฮดรอกไซดที่ 200 0C ภายใตความดันสูงหรือเปนผลพลอยไดจากการผลิตกรดน้ําสมโดยการออกซิไดซแนฟทา กรดมดเจือจางใชฆาเชื้อโรคและเปนตัวริดิวซ (Reducing agent) ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ ฟอกหนัง แตกรดมดเขมขนจะเปนพิษและกัดผิวหนังเปนแผลเจ็บปวดมาก สลายตัวชาๆหรือกับกรดซัลฟูริคเขมขนใหน้ํากับกาซคารบอนมอนอกไซด กรดน้ําสม (Acetic acid = CH3COOH) ในน้ําสมสายชูมีกรดน้ําสมผสมอยูรอยละ 3-6 กรดเกลเซียดอะซิติค (Glacial acetic) คือ กรดน้ําสมที่มีเนื้อกรดอยูรอยละ 99.5 ซ่ึงกัดผิวหนัง กรดนี้แข็งตัวที่อุณหภูมิ 17 0C มีสถานะเหมือนน้ําแข็งจึงสรางปญหาในการจัดเก็บเนื่องจากกรดจะขยายตัวเมื่อแข็งทําใหภาชนะที่ใสแตกได กรดน้ําสมเปนกรดอินทรียที่เกิดจากการออกซิไดซอะซิทัลดิไฮด โดยมี แมกกานีสอะซิเตต เปนตัวเรงปฏิกิริยา (Catalyst) หรือโดยการออกซิไดซสารประกอบพาราฟนที่มีจํานวนคารบอน 5-7 อะตอม เปนตน โซดาไฟ (Sodium hydroxide = NaOH) และ โปแตสเซียมไฮดรอกไซด (Potassium hydroxide = KOH) เปนดางที่ผลิตจากการผานกระแสไฟฟาลงไปในสารละลายของเกลือคลอไรดมีจําหนายในรูปของเม็ดแข็ง ดูดน้ําและความชื้นไดดีมีคุณสมบัติในการละลายไขมันในอุตสาหกรรมกระดาษใชเพื่อแยกลิกนินที่ไมตองการออกจากเยื่อไมได สารละลายที่เขมขนของโซดาไฟและโปแตสเซียมไฮดรอกไซดกัดโลหะบางชนิด เชน อะลูมิเนียม สังกะสีและตะกั่ว ซ่ึงเปนอันตรายตอผิวหนัง เมื่อละลายน้ําใหความรอนสูง

Page 12: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 5

2.5 สารเปนพิษและกาซพิษ สารเปนพิษ หมายถึง สารเคมีที่เขาไปในรางกายเมื่อมากพอจะเปนอันตรายตอรางกาย เราอาจถือไดวาสารเคมีทุกชนิดเปนพิษตอรางกายแตความรุนแรงของพิษนั้นแตกตางกันไป ความรุนแรงของพิษขึ้นกับปจจัย 5 ประการ (Leak, C.D., Journal of the American Medical Association, 1984 130 730) คือ ปริมาณสารเคมีเปนมิลลิกรัมตอน้ําหนักรางกายเปนกิโลกรัม (Dose, D) อัตราการดูดซึมสารเคมีของรางกาย (rA) อัตราการขับถาย (rE) คุณสมบัติของสารเคมี (P) การตอบสนองของแตละบุคคล (s) คน 2 คนอาจมีความทนทานตอสารเคมีชนิดเดียวกันตางกัน ดังนั้นสัดสวน rA/rE จึงเปนเคร่ืองชี้บงถึงความเปนพิษ สวนปริมาณสาร (Dose) นั้นยิ่งมากยิ่งออกฤทธิ์เร็วโดย Lethal dose (LD) คือปริมาณสารที่ทําใหสัตวทดลองตายได สวน LD50 หมายถึง ปริมาณสารที่ทําใหสัตวทดลองตายเปนจํานวน 1/2 ของทั้งหมด นอกจากนี้ยังมีการกําหนดคา Threshold Limit Value (TLV) ซ่ึงเปนคาความเขมขนต่ําสุดของสารที่อนุญาตใหมีไดในอากาศพอที่คนจะทํางานอยูในที่นั้นไดทุกวันๆละ 8 ช่ัวโมงโดยไมเปนอันตราย คานี้กําหนดขึ้นมาเพื่อเปนแนวทางบอกอันตราย สารเคมีท่ีใหไอเปนพิษ เมื่อสูดดมเขาไปทําใหเปนพิษได ไดแก ตัวทําละลายตาง ๆ เชน เบนซิน นอกจากจะไวไฟแลว ไอของเบนซินยังเปนพิษอีกดวย เบนซินใชลางไขมันจากโลหะและใชเปนตัวทําละลาย การใชเบนซินลางมือจะทําใหเบนซินซึมเขาผิวหนังได บางรายอาจทําใหโลหิตเปนพิษแลวกลายเปนมะเร็งในเม็ดเลือดในที่สุด สวน เมทานอล (Methyl alcohol) ใชเปนตัวทําละลายผสมในเชลแลค ทินเนอร ใชเปนเชื้อเพลิง เปนสารไวไฟ เปนพิษทั้งดื่มและดม ปริมาณ 50-60 cc.3 ทําใหตายได เปนอันตรายตอกลุมประสาททําใหตาบอด เปนอันตรายตอตับ ไตและหัวใจ ถาสัมผัสบอย ๆ ทําใหผิวหนังอักเสบได คา TLV (ไอ) 200 ppm กาซพิษ ไดแก คารบอนมอนอกไซด (Carbon monoxide) กาซนี้เกิดจากการเผาไหมไมสมบูรณเพราะวาขาดอากาศ กาซนี้เปนพิษเพราะมันจะเขาไปแทนที่ออกซิเจนในฮีโมโกลบินของเลือดทําใหรางกายขาดออกซิเจนจึงหมดสติ กาซนี้ไมมีกล่ินจึงไมมีสัญญาณเตือนภัย คา TLV 200-500 ppm แตถาจะตองไดรับกาซนี้ทุกวันคา TLV ตองต่ํากวานี้คือ ประมาณ 100 ppm เมื่อสมองขาดออกซิเจนหลอเล้ียงสมองจะพิการ คารบอนมอนอกไซด จึงเปนพิษตอระบบประสาททําใหเกิดอาการวิงเวียนปวดศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน ชีพจรออน หายใจไมสะดวก หัวใจเตนเร็ว หมดสติ ผิวจะเปนสีคลํ้า ถาสูดเขาไปมากๆทีเดียวอาจหมดสติไดโดยไมมีอาการเหลานี้กอน กาซไขเนา ไฮโดรเจนซัลไซด

Page 13: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 6

(Hydrogen sulfide) กาซนี้มีกล่ิน ในกระบวนการเนาเปอยจะใหกาซนี้เนื่องจากกาซนี้หนักกวาอากาศจึงลอยตัวสะสมอยูตามบอน้ําเสีย บอขยะ บอน้ําทิ้งและบอหมัก เชน ตามโรงงานกระดาษ อาจมีปริมาณมากพอที่จะทําใหเปนอันตรายได คนงานที่ลงไปลางบอหมักตองเสียชีวิตไปหลายรายเพราะวาลงไปในบอโดยไมมีเชือกผูกติดตัว เมื่อลงไปหมดสติเนื่องจากสูดกาซ ไฮโดรเจนซัลไฟด ไมสามารถชวยตัวเองได คา TLV ของไฮโดรเจนซัลไฟด คือ 20 ppm แมวากาซนี้จะมีกล่ินเปนสัญญาณเตือนอันตรายแตเมื่อสูดเขาไปพักหนึ่งประสาทจะชาทําใหไมไดกล่ินตอไปจึงนับวาเปนอันตรายมาก เมื่อสูดเขาไปมากทันทีจะตายไดภายใน 2-3 นาที เพราะวาหยุดหายใจ ถาปริมาณนอยจะรูสึกแสบตา น้ําตาไหล แสบจมูก รอนคอ ไอ ปวดศีรษะ ชีพจรเตนเร็ว ความดันลดลง หายใจตื้นแลวหมดสติ ถาชวยแกไขไดทันทีที่หมดสติอาจชวยใหพนขีดอันตราย 2.6 สารระคายผิวและผงฝุน สารระคายผิว เปนสารที่ทําใหเกิดโรคผิวหนังอักเสบไดเมื่อสัมผัสบอยๆ เปนเวลานาน ๆ ไดแก อะซิโตน อีเทอร เอสเทอร ซัลเฟอรไดออกไซด คลอไรด เปอรแมงกาเนต เปนตน ผงฝุน คืออนุภาคเล็ก ๆ ของสารขนาด 150-0.5 ไมครอน อนุภาคเหลานี้เขาสูรางกายทางจมูก การทํางานในบรรยากาศที่มีฝุนไมเพียงแตจะมีฝุนเขาจมูกเทานั้น สวนตาง ๆ ของรางกายก็จะมีฝุนปกคลุมดวย เชน ผม เปลือกตา ซอกเล็บซึ่งสวนใหญไมถูกปกปดหรือปดอยางหลวม ๆ ทําใหมีฝุนเกาะได ดังนั้นผลกระทบจึงมีไดหลายระดับ เชน เกิดอาการคัน ระคายเคือง อักเสบ เปนแผลจนกระทั่งอาจอุดตันรูขุมขนและเกิดการอักเสบขึ้นได สวนผงฝุนของแคลเซียมคารบอเนต แมกนิเซียมคารบอเนต แมกนีเซียมซัลเฟต ไมเปนอันตรายตอปอดถาปริมาณไมมากนักแตผงฝุนของหินพวกซิลิกาจะทําใหเปนโรคปอดแข็งเมื่อสูดเขาไปนานๆ และผงฝุนของพวกโลหะจะมีความเปนพิษ [[33]] การปองกันโรคที่เกิดจากการทํางานการปองกันโรคที่เกิดจากการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีเกี่ยวกับสารเคมี การปองกันโรคที่เกิดจากการทํางานนั้นสามารถทําได และเปนเรื่องที่นักอุตสาหกรรมควรใสใจ การปองกันอยางถูกตองจะชวยประหยัดคาใชจายทั้งของผูวาจางและของลูกจาง บริษัทประกันภัยและประกันชีวิตมักจะมองเห็นแตปญหาเรื่องอุบัติเหตุที่ทําใหเกิดการบาดเจ็บและมองขามโรคที่เกิดเนื่องมาจากการทํางานกับสารเคมีไป ในเรื่องของการปองกันจําเปนตองรวมมือกันตั้งแตนักออกแบบโรงงาน วิศวกรคุมโรงงานและแพทย การรักษาระเบียบของสถานที่เปนการชวยปองกันอันตรายไดอยางดี งานใดที่มีการเสี่ยงตออันตรายก็ควรมีเครื่องปองกันใหคนงาน เชน หนากากกันฝุน ถุงมือ รองเทา ฯลฯ และจําเปนตองการตรวจตราดูแลความเรียบรอยเสมอ 3.1 การตรวจอันตรายที่อาจเกิดตอสุขภาพ

ในการตรวจตราอันตรายที่อาจเกิดตอสุขภาพ มีวิธีปฏิบัติดังนี้

Page 14: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 7

1. สํารวจวัตถุดิบทุกชนิดที่ใชไมวาจะเปนตัวทําละลาย ตัวเติมหรือสารเคมีที่จะใชวามีคุณสมบัติอยางไร มีอันตรายหรือไม จะมีวิธีปองกันไดอยางไร บางครั้งวัตถุดิบที่ใชมีช่ือทางการคาที่พวกเราไมทราบชื่อทางเคมีควรจะสืบถามดูใหรูแนกอน ผูเกี่ยวของควรมีความรูเร่ืองอันตรายของสารเคมีอยางกวาง ๆ เชน มีอันตรายตอสุขภาพหรือไม เขาสูรางกายไดอยางไร ซึมเขาผิวหนังหรือไม

2. เมื่อทราบความเปนพิษหรืออันตรายที่เกิดจากสารเคมีแลว ตองหาวิธีปองกัน เชน การปองกันการฟุงกระจายของฝุนอาจจําเปนตองมีการเปลี่ยนวิธีการเพื่อลดอันตราย ถาเปนไปไดอาจเปลี่ยนวัสดุที่ใชเปนวัสดุที่ไมมีอันตรายแทน สําหรับงานที่ไมสามารถปองกันการฟุงกระจายไดทั้งหมดก็ตองมีเครื่องปองกันฝุนและตองตรวจตราเครื่องปองกันเหลานี้ใหใชการไดเสมอ

3. นอกจากสํารวจวัตถุดิบที่ใชแลวควรสํารวจสิ่งแวดลอมรอบ ๆ ในสถานที่ทํางานดวย วาอาจจะมีอะไรแอบแฝงอยูหรือไม เชน ตะกั่วในสีที่ใชทากําแพงและควรตรวจสอบความเขมขนของสารในบรรยากาศสม่ําเสมอ

4. ในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุหรือเกิดสถานการณที่ไมอาจควบคุมได เตรียมพรอมเสมอวาจะทําอยางไร ผลที่เกิดขึ้นจะเปนอยางไร ถาเราไดมองเห็นความเปนไปไดเหลานี้จะทําใหเราไมตั้งอยูในความประมาท

5. วางแผนลวงหนาในกรณีที่เกิดไฟไหม กําหนดตัวบุคคลและหนาท่ีใหชัดเจน 6. คํานึงถึงการใช การเก็บและการทิ้งสารเคมีตาง ๆ เพราะการกระทําที่ไมถูกวิธีจะ

นําไปสูอันตรายได 7. จัดหาอุปกรณสําหรับแกไขสถานการณฉุกเฉินใหพรอมและอยูในที่หยิบฉวยไดงาย

มองเห็นแตไกล ดูแลรักษาใหใชการไดตลอดเวลาและคนที่อยูในที่นั้นตองรูวิธีใช 8. หากมีเหตุรายเกิดขึ้นตองมีการบันทึกเหตุที่เกิด วิเคราะหหาสาเหตุแลวนํามาศึกษา

โดยละเอียดเพื่อหาทางปองกัน 9. จัดใหมีการตรวจสุขภาพของคนงานกอนเขาทํางานควรตรวจดูวาคนงานไมไดเปน

โรคที่เกิดจากงานเกา สอบประวัติการเจ็บปวยเมื่อตรวจดีแลวจึงใหเร่ิมงานและมีการตรวจสุขภาพเปนระยะ เมื่อพบวาคนงานใดมีอาการเจ็บปวยเกิดขึ้นบอยตองตรวจสอบทันทีและยายคนงานไปประจํางานอื่น

3.2 การตรวจสอบความปลอดภัยในโรงงาน สําหรับผูที่มีหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับความปลอดภัยในโรงงาน ควรตรวจสอบตาม

ประเด็นตอไปนี้

Page 15: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 8

1. ไดพยายามขจัดอันตรายที่อาจมีแลวหรือไม เชน การดูแลความเปนระเบียบเรียบรอย ไมมีของวางเกะกะทําใหคนสะดุดหกลมได การถายเทอากาศดีพอหรือยัง แสงสวางเพียงพอหรือไม ในกระบวนการผลิตมีตอนใดที่เปนอันตรายมีการใชสารที่เปนพิษหรือไม

2. คนงานมีเครื่องปองกันเพียงพอหรือไม เครื่องมือเครื่องใชพรอมหรือไม เปนตนวา จัดหาอางลางมือลางหนาหรือหองอาบน้ําในกรณีที่จําเปนไวทําความสะอาดรางกาย

3. มีการปองกันอันตรายจากเครื่องจักรเครื่องกลดีพอแลวหรือยัง 4. อุปกรณปฐมพยาบาลมีพรอมหรือไม ถาจําเปนตองเรียกแพทยสามารถทําไดทันที

หรือไม ในงานที่อาจมีสารเคมีหกรดควรมีฝกบัวสําหรับลางตัวได 5. มีการแกไขขอบกพรองและอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นหรือไม 6. ไดมีการใหการศึกษาเกี่ยวกับความปลอดภัยดีแลวหรือยัง 7. ไดมีการกระตุนเตือนใหรูจักการทํางานดวยความปลอดภัยดีพอหรือยังและมีการ

สงเสริมเพียงใด

[[44]] การจัดเก็บรักษาสารเคมีใหปลอดภัยการจัดเก็บรักษาสารเคมีใหปลอดภัย การเก็บสารเคมี จะทําใหเราใชประโยชนจากสารนั้นไดมากที่สุดและชวยลดอันตรายที่จะเกิดขึ้นได ตามปกติไมควรจะเก็บสารเคมีไวเปนปริมาณมากเกินความจําเปนและควรมีแตสารเคมีที่ใชประจําเทานั้น สําหรับโรงงานที่ตองเก็บสารเคมีในปริมาณมากๆควรมีที่เก็บแยกออกจากโรงงานและจําเปนตองมีการตรวจตราสม่ําเสมอ การจัดเก็บที่ดี คือ ความมีระเบียบ ของหนักไมควรเก็บไวบนช้ันสูงซึ่งไมสะดวกแกการยกขึ้นลง การจัดเก็บควรเปนไปตามหลักวิชาและมีปายฉลากบอกชื่อสารตลอดจนรายละเอียดอื่นๆ การเก็บตองคํานึงถึงคุณสมบัติของสารเคมี พวกที่เปนของเหลวไมควรใสจนเต็มขวด ควรมีที่วางเผ่ือสําหรับการขยายตัวอยางนอย 1/8 ของปริมาตรขวดและไมควรตั้งขวดใหถูกแสงแดดโดยตรงเพราะสารจะเสื่อมคุณภาพ ในบางกรณีอาจเกิดไฟไหมได สารเคมีบางชนิดท่ีไมเสถียร เชน อีเทอรจะตองเก็บในขวดสีชาเพื่อชวยตัดแสงกันการเกิดเปอรออกไซดที่เปนอันตราย สารเคมีท่ีไมอยูตัวเม่ือรอนจะตองเก็บในตูเย็นที่ใชเก็บสารโดยเฉพาะ เชน ไฮโดรเจนเปอรออกไซด สารไวไฟที่เปนของเหลว ควรเลือกเก็บในที่มีอากาศถายเทไดดี หางไกลจากสิ่งที่จะลุกติดไฟงาย สารไวไฟที่เปนของแข็งควรเก็บในที่แหงและเย็นไกลจากความรอนและน้ํา

Page 16: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 9

4.1 ฉลากปดขวด การปดฉลากบนภาชนะที่ใสสารเคมี มีสวนเกี่ยวของกับการปองกันหรือการควบคุมอุบัติเหตุที่

จะเกิดขึ้นได กรณีที่เกิดไฟไหม ฉลากปดภาชนะจะชวยแกไขสถานการณไดอยางรวดเร็ว เพราะเราสามารถแยกสารเคมีออกไดทันทวงที ดังนั้นฉลากปดภาชนะควรจะมีช่ือบอกชัดเจน มีเครื่องหมายที่ทุกคนเขาใจเหมือนกัน ไมใชเฉพาะบางคนเขาใจ เมื่อเกิดไฟไหมจะไดปฏิบัติไดถูกตอง ไมวาจะเปนใครที่ไปพบเขาเปนคนแรก การเขียนชื่อยอไมใชวิธีการท่ีดี นานไปอาจลืมได ฉลากที่ติดมากับขวดสารเคมีจากตางประเทศ จะมีขอความเปนภาษาอังกฤษครบถวนอยูแลว แตสําหรับขวดที่มาถายใสภายหลัง มักจะไมมีขอความอื่น ๆ นอกจากชื่อสารเคมี ฉลากปดภาชนะควรมีขอความตอไปนี้

1. ช่ือทางเคมีและชื่อสามัญ สูตรโมเลกุล คุณสมบัติทางกายภาพเชน จุดเดือด 2. ระบุประเภทของการใชงาน 3. คําเตือนที่อานไดชัดเจน เชน อันตราย DANGER CAUTION 4. ลักษณะของอันตราย เชนไวไฟ (highly flammable) ไอระเหยเปนอันตรายมาก (vapour

extremely harmful) 5. เครื่องหมายเตือนอันตราย 6. คําแนะนําในการใชและประโยชน 7. ส่ิงที่ควรระวังหรือหลีกเลี่ยง เชน ระวังการสูดดมไอ (avoid breathing the vapour) 8. อาการเกิดพิษและคําแนะนําวิธีรักษาเบื้องตน เชน ลางดวยน้ําปริมาณมาก ๆ (wash with

plenty of water) ตลอดจนคําแนะนําสําหรับแพทย 9. คําแนะนําในการเก็บรักษา เชน เก็บในที่เย็น (store in cool place) 10. ปริมาณและน้ําหนักบรรจุ ตลอดจนวันที่ที่ซ้ือสารนั้นมา 11. วันหมดอายุการใชงาน (ถามี) 12. ช่ือและที่อยูของผูผลิตและผูจัดจําหนาย

Page 17: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 10

รูปท่ี 4.1 ตัวอยางฉลากปดขวดสารเคมี

4.2 เคร่ืองหมายเตือนอันตราย เครื่องหมายเตือนอันตรายที่กรมการขนสงของสหรัฐอเมริกากําหนดขึ้น เปนที่ยอมรับใชกันทั่วไป ส่ือความหมายของคําอธิบาย จําไดงาย และมองเห็นไดชัดเจนจากที่ไกล โดยไมจําเปนตองทราบช่ือสาร เพื่องายตอการใช

เครื่องหมายเตือนภัยจากของเหลวไวไฟ มีพื้นสีแดงรูปเปลวไฟสีดํา ถาเปนของแข็งไวไฟหรือสารออก ซิไดซ ใชสีเหลืองแทนสีแดง มีคําวา สารไวไฟ (FLAMMABLE)

รูปท่ี 4.2 เครื่องหมายเตือนอันตรายจากสารไวไฟ

เครื่องหมายสําหรับสารระเบิดได เปนพื้นสีแดงรูป สีดํา มี คําวา สารระเบิดได (EXPLOSIVE)

รูปท่ี 4.3 เครื่องหมายเตือนอันตรายจากสารระเบิดได

Page 18: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 11

เครื่องหมายสําหรับสารกัดกรอน เปนพื้นสีขาว รูปสีดํา มี 2 แบบ ถาเปนสารที่กัดกรอนวัสดุจะเปน รูปสารหยดจากหลอดลงมายังแทงสี่เหล่ียม ถาสารกัดผิวหนังดวยจะมีรูปสารหยดลงมาที่มือดวย มีคําวา สารกัดกรอน (CORROSIVE)

รูปท่ี 4.4 เครื่องหมายเตือนอันตรายจากสารกัดกรอน

เครื่องหมายสําหรับสารเปนพิษ เปนพื้นสีแดง รูปหัวกะโหลก กระดูกไขวสีขาว มีคําวา สารเปนพิษ (POISON)

รูปท่ี 4.5 เครื่องหมายเตือนอันตรายจากสารเปนพิษ

เครื่องหมายสําหรับกาซไมไวไฟ เปนพื้นสีดํา รูปถังกาซสีเขียวมีคําวา สารไมไวไฟ (NON-FLAMMABLE COMPRESSED GAS)

รูปท่ี 4.6 เครื่องหมายเตือนอันตรายจากกาซ

เครื่องหมายสําหรับกัมมันตรังสี เปนพื้นสีเหลืองรูป ใบพัดสีดํา มีคําวา สารกัมมันตรังสี (RADIOACTIVE)

รูปท่ี 4.7 เครื่องหมายเตือนอันตรายจากกัมมันตรังสี

Page 19: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 12

ขวดที่สารเคมีบางครั้งจะพบเครื่องหมายชนิดมีตัวเลข 3 สี ดังตัวอยางในรูปฉลากโทลูอีน ขางลางนี้

รูปสี่เหล่ียมแบงออกเปน 4 สวน วางตั้งตามแนว เสนทะแยงมุม รูปสี่เหล่ียมบนจะมีตัวเลขหรือพื้นสีแดง ส่ี เหล่ียมขางซายมีตัวเลขหรือพื้นสีน้ํา เงิน ส่ีเหล่ียมขวาสีเหลือง ส่ีเหล่ียมลางมีเครื่องหมายเตือนอันตราย

รูปท่ี 4.8 ตัวอยางฉลากของระบบ NFPA

ตัวอยางนี้เปนเครื่องหมายอีกระบบหนึ่งที่เราควรจะทําความเขาใจไว เปนเครื่องหมายที่

National Fire Protection Association (NFPA) ของอเมริกาแนะนําใหใช เพื่อส่ือความหมายเดียวกัน หนังสือคูมือที่ NFPA จัดพิมพช่ือ Fire Protection Guide on Hazardous Material จะอธิบายวิธีการดับไฟเมื่อมีสารเคมีเกี่ยวของอยูดวย ระบบฉลากนี้มีผูนําไปใชมากทั้งทางดานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล ผูผลิต ฉลากของระบบนี้จะบอกทั้งอันตรายตอสุขภาพ อันตรายจากไฟ และความไวตอปฏิกิริยาของสาร โดยใชหมายเลขบอกถึงอันตรายมากนอยตั้งแต 0 – 4 เลข 0 แปลวาไมมีอันตราย และเลข 4 แปลวาอันตรายมากที่สุด สีน้ําเงินบอกถึงอันตรายตอรางกาย สีแดงบอกถึงอันตรายจากไฟ และสีเหลืองบอกถึงความไมเสถียรหรือความไวตอปฏิกิริยา

อันตรายตอรางกาย - สีน้ําเงิน 4 – ไดแกพวกสารที่เมื่อไดรับ ไมวาจะเปนการสูดดม ถูกผิวหนังเพียงเล็กนอย จะ

เปนอันตรายถึงตาย หรือรุนแรงมาก รวมถึงสารที่สามารถไชทะลุถุงมือยางและผาได 3 – อันตรายนอยกวา 4 แตก็ยังเปนอันตรายมากถาชวยเหลือไมทัน ดังนั้นผูที่จะเขา

ไปชวยเหลือตองปองกันตัวเองกอน อยาใหสารถูกผิวหนังหรือสูดไอเขาไป 2 – อันตรายเมื่อไดรับนาน

1 – เปนสารที่ทําใหระคายเคือง รวมทั้งสารที่ใชไอระคายเมื่อเกิดไฟไหมดวย สารที่ถูกผิวหนังแลวทําใหเกิดการระคาย แตไมกัดผิวหนัง

0 – หมายถึงสารที่ไมมีอันตรายอื่นใดนอกจากลุกไหมเวลาเกิดไฟไหม

Page 20: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 13

อันตรายจากไฟ - สีแดง 4 – เปนสารที่ไวไฟมาก สวนมากเปนตัวทําละลาย สารที่ใหไอหรือฝุนที่เมื่อผสมกับ

อากาศจะระเบิดได เมื่อเกิดไฟไหมตองรีบปดภาชนะ แยกสารเหลานี้ออกจากที่เกิดเหตุ ใชน้ําฉีกกันไว

3 – เปนของ เหลวที่สามารถลุกติดไฟไดภายใตอุณหภูมิธรรมดา ใชน้ําดับไมได ของแข็งที่ลุกไหมไดเร็วมักเปนพวกที่มี oxygen เปนองคประกอบ

2 – ของเหลวที่ลุกติดไฟไดที่อุณหภูมิสูง ตองรอนจึงจะลุกติดไฟ มีจุดวาบไฟสูงกวา 38 °ซ ของแข็งที่ใหไอไวไฟก็จัดอยูในกลุมนี้ อาจใชน้ําดับได เพราะน้ําชวยทําใหเย็น

1 – พวกนี้มีจุดวาบไฟสูงมาก ประมาณ 93 °ซ ตองรอนจัดจึงจะลุกติดไฟ 0 – เปนสารที่ไมลุกไหมในอากาศเมื่อรอนถึง 815 °ซ อยู 5 นาที หมายถึงพวกที่

ไหมไฟยาก อันตรายจากความไมเสถียร - สีเหลือง

4 – หมายถึงสารที่ระเบิดไดดวยตัวของมันเอง อาจเปนเพราะการสลายตัวภายใตสภาวะธรรมดา คืออุณหภูมิและความดันปกติ รวมถึงสารที่ระเบิดไดเมื่อถูกความรอนเพียงเล็กนอย หรือถูกระแทก ถาเกิดมีไฟไหมในบริเวณใกลเคียงตองรีบนําสารพวกนี้ออกใหหางมากที่สุด

3 – สารพวกนี้จะระเบิดเมื่อรอน หรือถูกกระแทกแรง ๆ รวมทั้งพวกที่ระเบิดไดเมื่อถูกน้ํา เมื่อมีไฟไหมตองหาที่กําบัง

2 – สารพวกนี้ไมเสถียร เกิดปฏิกิริยาไดรุนแรงที่อุณหภูมิและความกดดันปกติ แตไมระเบิด รวมทั้งสารที่ทําปฏิกิริยากับน้ําอยางรุนแรง หรืออาจเกิดสารที่ระเบิดได

1 – สารพวกนี้มีความเสถียร ไมระเบิดแตจะไมอยูตัวเมื่ออุณหภูมิหรือความกดดันเพิ่ม รวมทั้งพวกที่ทําปฏิกิริยากับน้ํา ใหความรอนแตไมรุนแรงนัก

0 – สารที่มีความเสถียรแมแตเมื่อไดรับความรอน และไมทําปฏิกิริยากับน้ํา นอกจากนั้นไดมีการพยายามใชสีของถังกาซ เพื่อบอกชนิดของกาซในถังนั้น เพื่อจะได

มองเห็นไดจากที่ไกลโดยไมตองอานชื่อสาร คือ สีเทา เปนกาซ carbon dioxide

สีเขียว เปนกาซ oxygen สีน้ําตาล เปนกาซ inert

ตามโรงงานที่มีระบบรักษาความปลอดภัยจะมีการทาสีทอเพื่อบอกชนิดของสารที่ผานทอนั้น เขาใชสีเหลืองหรือสีสมสําหรับทอที่มีสารอันตราย เชน สารที่ลุกติดไฟได สารเปนพิษหรือสารกัด

Page 21: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 14

กรอน สีแดงใชสําหรับเครื่องมือที่เกี่ยวกับไฟ เชน กร่ิงไฟไหม ประตูหนีไฟ หัวสูบ สีน้ําเงินสําหรับเครื่องปองกันตางๆเชน หนากาก การเก็บสารเคมีในโรงงานใชหลักปฏิบัติเดียวกัน ที่จะแตกตางออกไปคือปริมาณสารที่ใชมาก ตองคํานึงถึงขนาดภาชนะบรรจุและควรมีที่บอกระดับของเหลวภายในใหเห็น

4.3 การจัดเก็บสารเคมี 4.3.1 ทําเลที่ตั้ง โกดังเก็บสารเคมีควรปลูกสรางอยูหางจากอาคารที่อยูอาศัย โรงเรียน โรงพยาบาล

แหลงชุมชนหนาแนน หรือสถานที่ประกอบการอาหาร นอกจากนั้นยังไมควรอยูติดกับแหลงน้ําสาธารณะอีกดวย อาคารควรอยูในบริเวณที่รถขนสงเขาออกไดสะดวก ถาเปนไปไดควรมีทางรถฉุกเฉินดวย ทอน้ําทิ้งของโกดังควรแยกจากทอน้ําทิ้งของชุมชน ทั้งนี้เพื่อจํากัดบริเวณปนเปอน กรณีสารเคมีหกแลวมีการชะลาง

4.3.2 วัสดุกอสราง ควรเลือกใชวัสดุที่ติดไฟยาก และไมอํานวยใหไฟไหมแพรกระจายไดเร็ว วัสดุที่

แนะนําใหใช คือ คอนกรีตเสริมเหล็ก พื้นตองเรียบทําความสะอาดงายไมซึมซับความสกปรก หลังคาอาจมีโครงสรางทําดวยไม วัสดุที่ใชมุงหลังคาควรเปนวัสดุทนไฟ ควรออกแบบใหหลังคาลมพังไดเมื่อเกิดไฟไหม เพื่อใหเกิดการถายเทอากาศที่ดี มีควันนอย และลดการขยายบริเวณไหมดานขางและสามารถแลเห็นบริเวณติดไฟไดถนัดและผจญเพลิงไดรวดเร็ว หรืออาจใชหลังคาที่แข็งแรงแตตองมีชองระบายอากาศที่เปดไดเมื่อตองการเปด และเนื้อที่ของชองระบายอากาศควรมีไมต่ํากวา 2% ของพื้นที่โกดัง

4.3.3 ระบบถายเทอากาศ สถานที่เก็บสารเคมีที่ปลอดภัยควรมีระบบถายเทอากาศที่ดีเพื่อความปลอดภัยของผูปฏิบัติการที่จะไมสูดดมกลิ่นของสารเคมีซ่ึงจะสะสมกันมากขึ้น เมื่อไมมีการระบายอากาศที่เหมาะสมควรจัดใหมีชองอากาศถายเท 3 ระดับ คือ พื้น เหนือหนาตางและบนเพดานหรือหลังคา ดวยการจัดการเพียงเทานี้และจากธรรมชาติของการไหลของอากาศ ก็จะทําใหถายเทอากาศภายในโกดังไดมีประสิทธิภาพดี ถาจําเปนอาจจัดทําพัดลมดูดอากาศเพิ่มเติมอีกตามความเหมาะสม

4.3.4 แสงสวาง ภายในโกดังหรือรานคา ควรมีแสงสวางเพียงพอใหอานฉลากเห็นไดชัด สายไฟฟาที่

ใชควรไดมาตรฐานและควรตออยางถูกวิธี ปลอดภัยตอการใชงาน

Page 22: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 15

[[55]] การทิ้งตลอดจน การทิ้งตลอดจนการกําจัการกําจัดสารเคมีและน้ําทิ้งดสารเคมีและน้ําทิ้ง 5.1 การทิ้ง หมายถึงการขจัดสารเคมีที่ไมตองการแลว อาจจะมีวิธีการเผาทิ้ง ฝง ทิ้งทะเลลึก หรือเปลี่ยนให

เปนสารที่ไมเปนอันตรายกอนทิ้ง การเผาทิ้งตองคํานึงถึงอันตรายจากไฟไวใหมาก จะตองนําไปเผาในที่หางไกลชุมชน หางจากตัวอาคาร และสารนั้นจะตองไมระเบิด หรือไมใหกาซพิษเมื่อเผา ควรจะตองมีเครื่องปองกันและอุปกรณดับไฟเตรียมพรอมไวเสมอ การฝงไมสูจะปลอดภัยนัก เพราะสารอาจสลายชาและมีผลกระทบตอระบบนิเวศน เชนน้ําฝนอาจชะลางลงสูบอน้ํา จะกอใหเกิดอันตรายตอไป การเปลี่ยนเปนสารที่ไมมีอันตราย เปนวิธีที่ใชกันมาก แตตองอาศัยความรูทางเคมีเขาชวย สําหรับสารที่จะทิ้งจากหองปฏิบัติการ มีหลักในการปฏิบัติดังนี้

1. ตองไมเทสารที่เขากันไมได หรือทําปฏิกิริยารุนแรง ลงไปดวยกันในอานน้ําทิ้ง 2. ตองไมเทสารที่ไมผสมกับน้ํา หรือทําปฏิกิริยากับน้ําลงอางน้ําทิ้ง เชน ether หรือ

sodium 3. การเทกรดหรือดางลงอางน้ําทิ้ง ตองไมเกิน 500 ลบ.ซม. แลวชะลางดวยน้ํามาก ๆ อาจ

ทําใหกรดหรือดางสะเทินกอนทิ้ง 4. สารเปนพิษเชน cyanide ไมควรทิ้งลงทอ ควรเก็บใสขวดแยกไวตางหาก 5. ไมเทสารขนเหนียว ของแข็ง หรือไวไฟลงอางน้ําทิ้ง 6. ถามีสารปริมาณมาก ควรรวบรวมเก็บไว แลวหาวิธีเอากลับคืนมาใชตอ 7. ถาเปนสารที่มีอันตรายตอระบบนิเวศน ควรเปลี่ยนเปนสารไมอันตรายกอนทิ้ง

5.2 การกําจัดสารเคมี

5.2.1 วิธีการกําจัดสารเคมี วิธีการกําจัดสารเคมีมีหลายวิธี เชน การทําใหระเหยกลายเปนไอ การทําใหอยูใน

สภาพเปนกลาง การเจือจาง การฝงกลบ การจัดเก็บ และการเผาไหม เปนตน รายละเอยีดในการกําจัดของเสียสารเคมีแตละวิธีมีดังนี้

• การทําใหระเหยกลายเปนไอ จะตองเปนสารเคมีที่ไมทําใหเกิดการเผาไหมหรือเกิดประกายไฟกับอากาศ จึงจะสามารถกําจัดโดยการทําใหระเหยกลายเปนไอได แตตองแนใจวาไอระเหยนั้นจะไมกอใหเกิดปญหาตามมาในภายหลัง

• การทําใหเปนกลางและการเจือจาง ใชกําจัดของเสียสารเคมีประเภทที่เปนกรดหรือดาง สามารถทําใหอยูในสภาพที่ เปนกลางได สารเคมีที่อยูในรูปสารละลายก็สามารถทําใหเจือจางดวยน้ําได ซ่ึงวิธีการนี้ไมไดเปนการทําลาย

Page 23: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 16

หรือกําจัดสารเคมีโดยตรง แตของเสียสารเคมีที่ผานขั้นตอนนี้จะถูกนําไปผานวิธีการกําจัดในขั้นตอนอื่น ๆ ตอไป

• การฝงกลบ (burial) เปนวิธีที่งายในการกําจัดของเสียสารเคมี แตวิธีนี้อาจทําใหเกิดการแพรกระจายของ ของเสียสารเคมีไปยังสิ่งแวดลอมตาง ๆ และอาจทําใหเกิดปญหาตอไปได สารเคมีบางประเภทจะฝงกลบในบอคอนกรีตหรือใสในภาชนะอีกครั้ง แตควรระวังสิ่งตอไปนี้

1. สารเคมีที่จะฝงกลบตองมีปริมาณไมมากเกินไป และไมสามารถแพรกระจายไปยังน้ําผิวดินหรือน้ําใตดินได

2. ตองปองกันไมใหสารเคมีถูกดูดซึม หรือปนเปอนไปยังพืชที่เจริญเติบโตอยูเหนือหรือบริเวณใกลหลุมฝงกลบได

3. ตองบันทึกที่ตั้งของหลุมฝงกลบของเสียไวดวย เพื่อที่จะไดไมเกิดการผิดพลาดที่จะทําการขุดหลุมใหมในบริเวณนั้นอีก

4. ตองมีการคลุมดินในบริเวณที่ฝงกลบอยางดี เพื่อปองกันไมใหสัตวขุดเขี่ย ซ่ึงอาจทําใหสารเคมีนั้น แพรกระจายไปบริเวณอื่น ๆ ได

• การเก็บสารเคมี (Storage) เปนการกําจัดสารเคมีประเภทกัมมันตภาพรังสี (radioactive waste) คือจะนําไปเก็บรวบรวมไวในบริเวณที่สําหรับเก็บสารนี้โดยเฉพาะ

• การเผา (Burning) ในกรณีที่สารเคมีมีนอย หรือเปนสารประเภทที่สามารถติดไฟได ควรเผาในภาชนะที่ทําจากวัสดุพวกโลหะ และทําการเผาในบริเวณที่อยูหางไกลจากชุมชน ตองระวังไมใหมีกระแสลมพัดควันพิษที่เกิดจากการเผายอนกลับมายังชุมชนได แตหากของเสียสารเคมีมีปริมาณมากจะตองพิจารณาถึงวิธีกําจัดวิธีอ่ืน ๆ ตอไป

5.2.2 ขอแนะนําท่ัวไปในการกําจัดกากสารพิษ ทุกอาคารและสถานที่ทํางานตาง ๆ ควรมีการออกแบบใหมีระบบการระบายของเสีย ซ่ึงควรเปนไปตามแผนการกําจัดของเสียของกรมควบคุมมลพิษ ดังนั้นหากตองการกําจัดของเสียควรติดตอกับหัวหนาฝายกําจัดขยะของทองถ่ินนั้น ๆ โดยตรง เพราะหนวยงานนี้จะใหขอมูลและแผนการดําเนินงาน พรอมทั้งชวยจัดหาภาชนะและฉลากปดภาชนะที่ถูกตองใหดวย

การปดฉลากภาชนะและการบรรจุของเสียตามระเบียบของกรมควบคมุมลพิษ • ภาชนะที่บรรจุของเสียทุกใบ ตองปดฉลากใหชัดเจน มีขอมูลครบถวน ซ่ึงขอ

แบบฟอรมฉลากไดจากผูจัดการฝายกําจัดขยะของทองถ่ิน

Page 24: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 17

• หากฉลากปดภาชนะไมครบถวน จะไมถูกรับไปกําจัด • ภาชนะทุกใบที่ใชบรรจุของเสีย จะตองไดรับการอนุมัติจากฝายวางแผนการ

กําจัดขยะ วามีคุณภาพที่ใชได • ภาชนะบรรจุของเสียที่บรรจุจนลน หรือมีการรั่วไหลจะไมถูกรับไปกําจัด

5.2.3 ขั้นตอนการจัดเตรียมของเสียกอนสงไปกําจัด 5.2.3.1 ของเสียจากสารเคมี

ก. สารละลายอินทรียและน้ํามัน • ใชภาชนะพลาสติกในการบรรจุ • ระบุสวนประกอบของของเสียในภาชนะโดยละเอียด ที่ฉลากปดขาง

ขวด ข. สารเคมีที่ไมรูสวนประกอบ • หนวยงานที่รับกําจัด ของเสียไมสามารถรับไปกําจัดได • ใหทําการตรวจสอบหรือแจงผูจัดการฝายกําจัดขยะ เพื่อวางแผนการ

วิเคราะหหาสวนประกอบของของเสียในภาชนะ (โดยใชคาใชจายสวนของการกําจัดของเสีย)

ค. สารเคมีที่ทําปฏิกิริยากับเปอรออกไซด (เชน ether) และสารเคมีที่อาจ ระเบิดได (เชน dry pipric acid) • หามนําไปผสมกับสารละลายหรือของเสียประเภทอื่น • หากสารเคมีเก็บไวนานเกิน 1 ป หามเปดหรือเคลื่อนยายภาชนะบรรจุ

ใหแจงผูจัดการฝายกําจัดขยะเพื่อขอคําแนะนํา ง. สารเคมีที่มีฤทธิ์กัดกรอน (กรดหรือดาง) • เก็บกรด (pH ต่ํากวา 7) และดาง (pH สูงกวา 7) แยกออกจากกัน

โดยเก็บใน ภาชนะพลาสติก อยานํากรดไปเก็บรวมกับดาง • ฉลากปดขางภาชนะควรระบุสวนประกอบของของเสียโดยละเอียด

5.2.3.2 ของเสียทางชีวภาพ (Biomedical waste) ก. ซากสัตว • ใหทิ้งในภาชนะพลาสติกสําหรับบรรจุของเสียทางชีวภาพ • น้ําหนักของของเสียแตละถุงตองไมเกิน 20 กิโลกรัม • นําไปแชเย็น

ข. ของเสียในหองปฏิบัติการที่มีเชื้อโรคติดตอ

Page 25: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 18

• นําไปอบฆาเชื้อกอนนําไปกําจัด • นําไปทิ้งในภาชนะพลาสติกสําหรับบรรจุของเสียทางชีวภาพ

ค. ของมีคมที่มีอันตรายตอพันธุกรรม (เชน เข็มฉีดยา, มีดโกน และปเปตต • ดูรายละเอียดเรื่อง “ของมีคม”

ง. เลือดและวัสดุที่เปอนเลือด • ลางเลือดทิ้งไปตามทอระบายน้ําไดเลย • ติดตั้งอางน้ําไวสําหรับลางเลือดโดยเฉพาะ และหลังลางเลือดใหเปด

น้ําทิ้งไวสักครูเพื่อลางอาง • หลังจากมีการลางเลือดใหใชสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรตในการ

ทําความสะอาดอางน้ํา เพื่อปองกันการปนเปอน • วัสดุที่เปอนเลือด ควรนําไปกําจัดดวยวิธีเดียวกันกับการกําจัดของ

เสียในหองปฏิบัติการที่มีเชื้อโรคติดตอ 5.2.3.3 เคร่ืองแกวและของมีคม

ก. เข็มฉีดยา • เพื่อความปลอดภัย ไมควรนําเข็มฉีดยากลับมาใชอีก ควรใชคร้ังเดียว

แลวทิ้ง • ใชภาชนะพลาสติกปากกวาง (เชน ขวดเปลากลม ๆ ) ใสเข็มฉีดยาที่

ทิ้งแลว และปดฉลากวา “ของมีคม) ระบุดวยวามีอันตรายอยางไร ( เชน ปนเปอนสารที่มีฤทธิ์ เปลี่ยนแปลงพันธุกรรม หรือสารกัมมันตภาพรังสี เปนตน) และระบุช่ือผูใชดวย

• กระบอกฉีดยาที่ปนเปอนสารที่มีเชื้อโรค ควรจะนําไปทิ้งในภาชนะบรรจุขยะทางชีวภาพ และมีขั้นตอนการกําจัดเชนเดียวกับขยะที่มีเชื้อโรคจากหองปฏิบัติการ

• กระบอกฉีดยาที่ปนเปอนสารกัมมันตภาพรังสี ควรจะกําจัดดวยวิธีเดียวกับขยะประเภทผลึกสารกัมมันตภาพรังสี

ข. เศษเครื่องแกว • จัดหาภาชนะรองรับเศษแกวที่แตกและปดฉลากใหเรียบรอย โดย

แยกออกจากถังขยะอื่น ๆ หองปฏิบัติการแตละแหงควรจะมีเจาหนาที่คอยบริการเทขยะอยูเสมอ

Page 26: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 19

ค. ภาชนะบรรจุสารเคมีที่ใชหมดแลว • เปดฝาขวดออก แลวปลอยใหสารเคมีที่เหลือในขวดระเหยออกให

หมดในตูควัน • ลางขวดดวยน้ําประปา 3 คร้ัง แลวปลอยทิ้งไวใหแหง • แกะหรือลางฉลากปดขวดออก นําขวดที่ไมมีฝาปดไปทิ้งในขยะที่

จัดเตรียมไว ง. ของมีคมอื่น ๆ (เชน ใบมีด มีดโกน หลอดคาปลลารี และปเปตต เปน

ตน) • ใหปดฉลากภาชนะที่ใชทิ้งของมีคม ( ซ่ึงอาจเปนขวดพลาสติก

ปากกวาง หรือกลองกระดาษที่แบงเปนชอง ๆ ดวยแผนพลาสติก) วา “ของมีคม” และระบุช่ือผูใช

• ของมีคมที่ปนเปอนเชื้อโรคใหนําไปฆาเชื้อกอน • เก็บรวบรวมไวในภาชนะที่จัดเตรียมไว • เมื่อภาชนะเต็มใหปดภาชนะและพันรอบปากขวดใหแนน แลวนําไป

ทิ้งในถังขยะที่จัดไวให (ยกเวนในกรณีที่คาดวาของมีคมนั้นมีสารปนเปอนอื่น ๆ ใหแจงหัวหนาฝายกําจัดขยะเพื่อขอคําแนะนํา)

5.3 การกําจัดน้ําท้ิง สําหรับน้ําทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมหรือสถานประกอบการมีลักษณะแตกตางกันออกไป

ตามประเภทของอุตสาหกรรมซึ่งขึ้นอยูกับขบวนการและสารเคมีที่เขาไปเกี่ยวของ น้ําทิ้งแบงไดเปน 2 กลุมตามลักษณะของน้ําทิ้ง ไดแก พวกที่เปนสารอนินทรีย เชน น้ําทิ้งจากเหมือง โรงงานชุบโลหะ จากหมอน้ํา จากอุตสาหกรรมเคมีที่ผลิตสารอนินทรีย จากการลางรูป สวนน้ําทิ้งที่เปนอินทรีย เชน น้ําทิ้งจากโรงกลั่นน้ํามัน จากอูซอมรถและปมน้ํามัน จากโรงงานอุตสาหกรรมเคมีผลิตสารอินทรีย โรงงานสี ยา การซักลางและโรงงานสิ่งทอ โรงงานพลาสติก โรงงานอาหารกระปอง โรงงานสุรา ลักษณะน้ําทิ้งจากโรงงานตาง ๆ รวบรวมไดดับตารางที่ 5.1

การกําจัดน้ําทิ้งตองศึกษารายละเอียดของลักษณะน้ําทิ้งจึงจะทราบวิธีเหมาะที่สุด สวนใหญการกําจัดน้ําทิ้งจะใชวิธีกรอง ตกตะกอนอาจจะตองมีการปรับ pH เพื่อตกตะกอนสารบางตัวที่ยังอาจเปนประโยชนตอไปได หรือใชวิธีฉีดพนเพื่อรับอากาศแลวปลอยใหเปนไปตามขบวนการตามธรรมชาติ

Page 27: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 20

ตารางที่ 5.1 ลักษณะน้ําทิ้งจากโรงงานตาง ๆ ชนิดของอตุสาหกรรม ลักษณะน้ําท้ิง

อาหารกระปอง มีอนุภาคแขวนลอยมาก และมีสารอินทรียละลายอยู นมและผลิตภัณฑนม มีสารอินทรียละลาย สุรา มีสารอินทรียและแปงหมัก ฆาสัตว มีสารอินทรียละลายและไมละลาย เลือด โปรตีน ไขมัน ยา สารอินทรียละลายและไมละลาย น้ําอัดลม คา pH สูง มีอนุภาคแขวนลอย ส่ิงทอ เปนดาง คา BOD สูง อุณหภูมิสูง มีตะกอนแขวนลอย ฟอกหนัง มีตะกอนมาก มีเกลือซัลไฟด โลหะโครเมียม คา BOD

สูง pH สูง ซักลาง เปน ดาง ขุน มีสารอินทรีย กระดาษ pH อาจสูงหรือต่ําขึ้นอยูกับกระบวนการที่ใช มีตะกอน

แขวนลอย สารอนินทรีย มีกล่ินของ mercaptan ลางรูป เปนดาง มี reducing agent ทั้งอนินทรียและอินทรีย เหล็กกลา pH ต่ํา มีตะกอนของแรเหล็ก หินปูนและ cyanogen ชุบโลหะ pH ต่ํา มีโลหะและ cyanide แกว เปนดาง มีตะกอน

[[66]] การใชสารเคมีและ การใชสารเคมีและการขนสงการขนสง

6.1 การใชสารเคมี การใชสารเคมีเปนหรือถูกตอง หมายถึง การรูจักวิธีใชไดอยางปลอดภัย อันตรายจะลดนอยลง

หรือไมมีเลยถารูจักวิธีใช จําไวเสมอวาความเคยชินกับสารเคมีจะทําใหมีความระมัดระวังนอยลง กอนที่จะเริ่มใชสารเคมีใดก็ตาม ควรศึกษาคุณสมบัติและอันตรายของสารนั้นๆไวกอนเพื่อหาทางปองกัน สําหรับงานที่ยังไมเคยทําควรเร่ิมจากปริมาณนอยๆกอนและตองควบคุมอุณหภูมิ ตองรูเสมอวาตนกําลังทําอะไรอยูและคิดคําตอบไวดวยวา ถาไมเปนไปตามที่คิด เชน ถาเกิดไฟลุกไหม ถาเดือดมาก ถาภาชนะแตก จะแกไขสถานการณไดอยางไร ความเปนระเบียบยอมชวยใหเกิดบรรยากาศของการทํางานที่ดีและเทคนิคที่ดีเปนวิธีทํางานดวยความปลอดภัย จึงควรฝกฝนเทคนิคที่ดีใหเกิดเปนนิสัย

Page 28: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 21

6.1.1 การสูดดมกาซหรือไอระเหย หากประสงคจะดมกาซที่เกิดจากปฏิกิริยาหรือดมไอ หรือควันที่ระเหยออกมา

จากภาชนะบรรจุ อยาใหปากภาชนะบรรจุอยูใกลชิดหรือติดกับจมูกโดยเด็ดขาด ควรใหปากของภาชนะบรรจุอยูหางจากจมูกพอสมควร แลวใชมือโบกกาซหรือควันเขาหาจมูกดังรูป

รูปท่ี 6.1 แสดงวิธีการดมกาซ ซ่ึงใชมือโบกกาซจากปากหลอดทดลองเขาหาจมูก และใหหลอดทดลองอยูหางจากจมูกพอสมควร

6.1.2 การตักและเทสารเคมี

ของแข็ง สารที่เปนของแข็งมักบรรจุอยูในขวดปากกวาง กอนทําการหยิบสารใชควรตรวจดูช่ือที่ฉลากใหดีเสียกอน ใชชอนตักที่สะอาดและไมทําปฏิกิริยากับสารที่จะตัก ควรตักสารออกมาเทาที่จะใช อยาเอาออกมามากเกินไปเพราะสารที่เหลือที่จะเทคืนขวดอาจสกปรกและหลีกเลี่ยงจากการเทสารคืนผิดขวดดวย เมื่อเปดจุกใหวางจุกหงายลงบนพื้นเพื่อวาจุกจะไดไมเปรอะเปอน ในกรณีที่เปนจุกแกวอาจใชนิ้วคีบไวขณะตักสารดังรูปที่ 6.2

รูปท่ี 6.2 การถายเทของแข็ง

Page 29: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 22

ถามีสารปริมาณไมมากอาจใชกระดาษกรองเปนภาชนะใสแตควรระวังลมพัดปลิว ถามีสารมากควรตักสารใสขวดชั่งหรือกระจกนาฬิกา เมื่อตักใชเสร็จแลวตองปดจุกใหแนนเพื่อปองกันความชื้นและฝุนละอองไมใหเขาไปในขวดแลวนําขวดกลับไปคืนที่เดิม วิธีตักสารเคมีที่เปนของแข็งใหปฏิบัติดังรูป

วิธีท่ีหนึ่ง

ขั้นท่ีหนึ่ง หมุนและเอียงขวดจนกระทั่งสารบางสวนมารวมอยูในฝาจุก

ขั้นท่ีสอง คอยเปดจุกอยางระมัดระวัง อยาใหสารหก

ขั้นท่ีสาม ใชดินสอหรือแทงแกวเคาะฝาจุกจนกระทั่งไดสารตามปริมาณที่ตองการ

วิธีท่ีสอง

ใชพายตักสารโดยตรงตามจํานวนที่ตองการ

Page 30: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 23

ใชดินสอเคาะพายที่ตักจนไดสารตามปริมาณที่ตองการ

วิธีท่ีสาม

เปดจุกขวด หมุนและเอียงขวดจนกระทั่งไดสารตามปริมาณที่ตองการ

ของเหลว สารที่ เปนของเหลวมักบรรจุอยูในขวดปากแคบ ถาใชบรรจุสารละลายที่เปนเบสควรอุดดวยจุกยางไมควรใชจุกแกวเพราะสารละลายเบสจะทําใหจุกแกวติดแนนกับปากขวด เวลาเทของเหลวออกจากขวดใหหงายฉลากขึ้นเพื่อมิใหเปรอะเปอนเวลาสารหยดไหลลงขางขวด ถาจะตวงของเหลวจากขวดใหญควรเทใสภาชนะท่ีเล็กกวากอนแลวจึงตวงจากภาชนะนั้นอีกที การเทของเหลวจากขวดแกวหรือภาชนะบรรจุอาจใชแทงแกวชวย โดยแตะแทงแกวไวที่ปากขวดที่จะเทแลวเอียงขวดใหของเหลวไหลลงตามแทงแกว เมื่อจะหยุดก็ใหเอียงขวดตั้งขึ้นโดยใหหยดสุดทายไหลลงไปตามแทงแกว ดังรูปที่ 6.3

รูปท่ี 6.3 การถายเทของเหลว

Page 31: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 24

วิธีเทสารที่เปนของเหลว

ขั้นท่ีหนึ่ง อานฉลากที่ปดขางขวดใหแนใจกอนจะใช

ขั้นท่ีสอง ดึงจุกออกจากขวด ใชมือจับขวดทางดานที่มีฉลาก และใชนิ้วคีบจุกไว อยาวางจุกบนโตะ

เทของเหลวออกทางดานตรงขามฉลาก ใหของเหลวไหลไปตามแทงแกว

ขั้นท่ีสาม เทสารละลายออกทางดานตรงขามฉลากลงในภาชนะที่ตองการโดยไมใชแทงแกว

เมื่อเทของเหลวจากบีกเกอร ใหทําตามรูปนี้ก็ได

Page 32: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 25

สําหรับการถายเทสารเคมีที่เปนของแข็งและของเหลวปริมาณมากๆ ควรจะตองคํานึงถึงความปลอดภัยใหมาก ในกรณีที่เปนของแข็งวิธีการจะไมมากเหมือนของเหลว เพียงแตตองระวังการฟุงกระจายของฝุนเทานั้น เมื่อเปนของเหลวถาเปนไปไดควรยึดภาชนะที่ใสไวแลวหาวิธีการที่จะทําใหเกิดการหกรดหรือกระเด็นนอยที่สุด เปนตนวา แทนที่จะใชวิธีตะแคงถังเพื่อเทของเหลวออกอาจทําถังชนิดที่มีกอกตอออกมาจะไดไขเอาของเหลวไดสะดวก หรืออาจยึดตังถังแตใหหมุนตัวถังไดรอบแกนดังรูปที่ 6.4 เมื่อเวลาเทสารออกก็เพียงแตใชมือผลักประคองใหเอียงลงมา

รูปท่ี 6.4 การถายเทของเหลวปริมาณมาก ๆ

ในกรณีที่เปนสารไวไฟอาจเดินสายดินตอกับตัวถังบรรจุลงสูดินไวเลยก็ไดเพื่อชวยกระจายประจุไฟฟาที่อาจเกิดขึ้น และเวลาถายเทสารไวไฟอยาลืมตรวจตราใหแนใจวาไมมีแหลงติดไฟอยูใกลๆ สวนสารที่มีฤทธิ์กัดกรอนก็ควรสวมเครื่องปองกันใหดี เชน มีผากันเปอน ใสแวนตากันการกระเด็น ใสถุงมือ เมื่อมีสารหกตองรีบทําความสะอาดทันทีและลางดวยน้ํามากๆ

การเปดจุกขวดสารที่เปนไอระเหยไดงาย เชน แอมโมเนียหรือตัวทําละลายที่มีจุดเดือดต่ํา ควรเปดในตูควันดวยความระมัดระวังโดยแชขวดในน้ําเย็นกอน ใชผาจับจุกขวดแลวคลายเกลียวชาๆเพื่อลดความดันลงทีละนอยเพราะถาในขวดมีความดันสูงอาจจะดันใหของเหลวกระเด็นออกมาและหากมีการกระเด็นออกมาผาที่ใชจับจะชวยดูดซับไวได เวลายกขวดหนักๆอยาจับที่คอเด็ดขาดควรอุมไปจะปลอดภัยกวา

6.1.3 การผสมสารละลาย เมื่อเทสารละลายรวมกนั จําเปนตองใหสารละลายผสมรวมกันเปนเนื้อเดียวอยาง

สม่ําเสมอหรือถาสารละลายนั้นทําปฏิกิริยากัน ก็ตองใหเกดิปฏิกิริยาโดยทั่วกันทั้งหมด เพื่อใหเกิดผลดังกลาว จําเปนตองปฏิบัติดังตอไปนี ้

1. ถาผสมสารละลายในบีกเกอรใหใชแทงแกวคน อยาใชหลอดแกวคนเปนอันขาด การคนตองคนใหทัว่เพือ่ใหสารละลายผสมกันสม่ําเสมอ อยาคนแตเพียงตอนบนของสารละลาย ควรคนจนถึงกนของบีกเกอร ควรคนให

Page 33: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 26

สารละลายหมุนวนไปทางเดยีวกัน และอยาใหแทงแกวกระทบหรือขูดกับขาง ๆ ของบีกเกอร เพราะจะทําใหบกีเกอรเปนรอย

2. ถาผสมสารละลายในขวดรูปกรวย จะใชแทงแกวคนเหมอืนในบีกเกอรนั้นไมสะดวกและหามเขยา ควรใชวิธีหมุนขวด คือใชมือจบัขวดแลวหมนุขอมือ และใหสารละลายในขวดไหลวนไปทางเดียวกนั (ดังรูปที่ 6.5)

รูปท่ี 6.5 แสดงการผสมสารละลายภายในขวด รูปกรวย หามเขยา แตใชมือจับขวดรูปกรวยแลวหมุนขอมือใหสารละลายไหลวนไปทางเดียวกัน

3. การผสมสารละลายในหลอดทดลอง ใหคนดวยแทงแกวหรือสลัดหลอด

อยางเบา ๆ เมือ่จะทําการผสมสารละลายกรดกับน้ําตองระวังใหมากและจําไววาตองเทกรดลงในน้ําอยาเทน้ําลงในกรดเปนอันขาด โดยเฉพาะอยางยิ่งกรดซัลฟวริกกับน้าํ

การผสมสารละลายแอมโมเนียมไฮดรอกไซดกับน้ําก็เชนกัน สารละลายแอมโมเนยีมไฮดรอกไซดอยางขน จะมีแกสแอมโมเนียระเหยออกมาเสมอ ฉะนั้นเวลาใชไมวากรณใีด ๆ ควรใหจมูกอยูต่ํากวาปากขวดของสารละลายนี้ มิฉะนั้นจะสูดแกสแอมโมเนียเขาไปเมือ่หายใจ

6.1.4 การรินสาร (Decantation) การรินเปนเทคนิคอันหนึ่งทีจ่ะทําใหการกรองมีประสิทธิภาพดี การรนิหมายถึงการเท

ของเหลวใสทีอ่ยูตอนบน ของตะกอนออกจากตะกอน โดยพยายามใหตะกอนทั้งหมดเหลืออยูในบีกเกอร อยาใหตะกอนไหลตามสารละลายออกไป การรินใหเอาปากบกีเกอรแตะแทงแกว แลวใหสารละลายใสไหลไปตามแทงแกว

Page 34: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 27

รูปท่ี 6.6 แสดงการรินสารละลายในกระดาษกรอง

6.2 การขนสง แมวาอัตราการเกิดอันตรายจากการไดรับพิษของสารเคมีสืบเนื่องจากอุบัติเหตุจากการขนสงจะมีนอย เมื่อเทียบกับการใชสารเคมีเหลานี้อยางผิดวิธีและไมระมัดระวังของผูใช แตผลของอันตรายที่เกดิจากอุบัติเหตุในการขนสงนั้น มักเปนอันตรายที่รายแรงมาก

นอกจากนี้การขนสงยังมีผูเขามาเกี่ยวของมากกวา เพราะจะมีตั้งแตผูผลิต ผูขนสง คนขับรถ คนเก็บ คนใชสาร รวมถึงประชาชนตามทองถนนดวย ดังนั้นการขนสงจําเปนที่จะตองหลีกเลี่ยงการผานชุมนุมชนใหมากที่สุด การระวังเกี่ยวกับสารเคมี คนขับรถควรรับทราบเชนเดียวกับคนงานในโรงงาน โดยใหรับทราบเพิ่มเติมวา ถาเกิดเหตุสารเคมีร่ัวไหลจะทําอยางไร ตองมีอุปกรณดับไฟติดรถไว ตัวถังรถตองมีปายติด เตือนอันตรายใหเห็นชัดเจน จัดหาอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลใหผูที่ทําหนาที่เคลื่อนยายหรือขนสงสารเคมี อันตรายจากการขนยายสารเคมีจะลดลงไดถาจัดการเรื่องการขนสงเคล่ือนยายใหถูกวิธีอยางปลอดภัย โดยมีหลักปฏิบัติดังตอไปนี้

1. ไมควรบรรทุกสารเคมีและผลิตภัณฑอาหารสัตวเล้ียงภายในยานพาหนะคันเดียวกัน ถาจําเปนตองทําเชนนั้นควรแยกบริเวณบรรทุกใหเปนสัดสวนไมปะปนกัน และควรเพิ่มความระมัดระวังเรื่องการหกปนเปอนเปนพิเศษยิ่งขึ้น

2. ไมควรนํายานพาหนะที่ปกติใชขนยายอาหารมาใชบรรทุกผลิตภัณฑสารเคมี 3. ถาเลือกเสนทางการเดินทางได ควรเลือกเสนทางที่ผิวจราจรดี มีความปลอดภัยสูงแม

เสนทางอาจไกลกวา แตหนทางเสี่ยงอันตรายอาจมีอุบัติเหตุงาย

Page 35: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 28

4. อยาวางสารเคมีซอนสูงจนเกินไป เพราะอาจลมเสียหายได ควรกระจายน้ําหนักใหสม่ําเสมอ และผูกมัดใหแนติดกับพื้นรถไมใหมีการเคลื่อนไปมาระหวางการขนยาย

5. การขนยายผลิตภัณฑอยาโยนถังลงจากรถเพราะถังอาจแตกเสียหายและสารเคมีหกเปอนเลอะเทอะได ควรใชไมกระดานพาดกับรถแลวใชเชือกผูกโยงถังลงรถโดยปลอดภัย

6. อย าจอดรถขนสาร เคมีและ เปดรถทิ้ ง ไว โดยไมมี ก ารดูแล เพราะอาจมี ผูรูเทาไมถึงการณ เชน เด็กเล็กๆ นําเอาสารเคมีเหลานั้นไปเลน

7. ควรมีการอบรม พูดคุยย้ําเตือนผูมีหนาที่ประกอบการขนสงใหระลึกถึงความปลอดภัยอยูเสมอ

8. สําหรับการขนสงปริมาณนอย ๆ เชน เกษตรกร เมื่อซ้ือผลิตภัณฑจากรานคาควรใสถุงพลาสติกใหมิดชิด ไมควรถือขวดกลับหัวเพราะฝาจุกอาจร่ัวทําใหสารเคมีไหลซึมออกมาได ถามีการขนยายปริมาณมากควรหาลังหรือภาชนะบรรจุอีกชั้นหนึ่ง เพือ่รวมผลิตภัณฑไวดวยกันอยางเปนระเบียบและปลอดภัย

9. รถคันใดที่ใชขนสงสารเคมีเปนประจําควรจัดหาอุปกรณที่จําเปนตองใชเมื่อมีการหก ไวประจํารถ อุปกรณที่จําเปน เชน ถุงมือยาง ผาขี้ร้ิว ถังน้ํา ผงซักฟอก แปรงหรือไมกวาด เปนตน

10. เมื่อสารเคมีหกอยาลางดวยน้ําทันทีใหใชผา ฟองน้ํา ทรายหรือขี้เล่ือยซับเสียทีหนึ่งกอน แลวจึงลางดวยน้ําปริมาณนอย ๆ แตหลาย ๆ คร้ัง ส่ิงปนเปอนที่ไมใชควรเก็บรวมกันไวเพื่อทําลายโดยการเผาหรือฝง

11. พึงระลึกเสมอวาสารเคมี หลายชนิดเปนสารไวไฟมีพิษทั้งเมื่อไมไหมและเมื่อไหมไฟแลว ควันและไอที่เกิดขึ้นเมื่อเกิดไฟไหมมีอันตรายมากดังนั้นเมื่อเกิดอุบัติเหตุระหวางการขนสงตองระวังไมใหสารเหลานี้เกิดไหมขึ้นมาไดถาไฟไหมบริเวณแคบ ๆ อาจรีบใชน้ําดับโดยเร็ว แตถาไฟไหมเปนบริเวณกวาง อยาเสี่ยงชีวิตเพื่อพยายามจัดการดับไฟ แตควรรีบออกจากบริเวณและกันมิใหบุคคลอื่นเขาไปใกล และหลีกเลี่ยงการสูดดมไอหรือควันจากการไหมนั้นดวย แตตองคํานึงดวยวาสารเคมีบางชนิดใชน้ําดับไฟไมได

Page 36: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 29

[[77]] การแกไขอุบัติเหตุการแกไขอุบัติเหตุ 7.1 การปฐมพยาบาลเบื้องตน

การปฐมพยาบาลอยางงายๆ เมื่อผูปฏิบัติงานไดรับอุบัติเหตุเล็กๆนอยๆสามารถทําการปฐมพยาบาลไดดังนี้

• การทําความสะอาด ตองลางบริเวณที่ถูกสารเคมีดวยน้ํากอกจํานวนมากๆเพื่อชะสารเคมีจากบาดแผลหรือผิวหนังออกใหมากที่สุด หรืออาจจะลางดวยน้ําและสบูกอน แลวจึงลางดวยน้ํามากๆอยางตอเนื่องเปนเวลาอยางนอย 15 นาที น้ําเย็นจะชวยลดความเจ็บปวดและลดอุณหภูมิของสวนที่ถูกไหมลงได ซ่ึงจะเปนผลทําใหการบาดเจ็บนอยลง

• การใชน้ํามันตางๆ ตองใชใหเหมาะสมวาใชครีมหรือน้ํามันประเภทใดกับแผลชนิดใด หรือสารเคมีอะไรหกใส ซ่ึงน้ํามันเหลานี้จะชวยใหแผลหายเร็วขึ้นและชวยทําใหอาการปวดนอยลง

• หลังจากนั้นควรปดแผลไว เพื่อปองกันไมใหส่ิงแปลกปลอมเขาไปสูแผล ทําใหไมเกิดการติดเชื้อและไมเกิดการอักเสบ แตไมไดเปนการชวยปองกันสารเคมี ตองนําผาปดแผลออกทันทีหากเกิดการปนเปอน หากปากแผลยังเปดอยูควรจะใชผาปดแผลเพื่อปองกันไมใหสารเคมีเขาสูแผลไดโดยงาย แตบางกรณีก็อาจไมจําเปนตองใชผาปดแผลขึ้นอยูกับชนิดของบาดแผลและวิจารณญาณของผูปฐมพยาบาล

• ตองสํารวจชุดปฐมพยาบาลในที่ปฏิบัติงานใหอยูในสภาพที่ใชงานไดทันทีและเก็บใหเปนที่ ควรทําความคุนเคยกับชุดปฐมพยาบาลที่มีอยู และตองรูวาเก็บไวที่ไหนและมีวิธีใชอยางไร

การใหความชวยเหลือเบื้องตนควรดําเนินการทันทีเมื่อพบผูบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ จนกระทั่งนําสงยังแพทยหรือผูเชี่ยวชาญในการรักษาตอไป จุดประสงคหลักของการปฐมพยาบาลเบื้องตนคือการรักษาชีวิตของผูบาดเจ็บเอาไวกอน โดยการปฏิบัติดังนี้

• ปองกันไมใหผูบาดเจ็บหรือผูปวยเสียเลือดมาก • ชวยผูปวยใหสามารถหายใจไดโดยสะดวก • ปองกันการเจ็บปวดมากๆ • ปองกันไมใหผูปวยเกิดอาการชอคหรือหมดสติ

ตัวอยางของการปฐมพยาบาลเบื้องตนเมื่อเกิดอุบัติเหตุในที่ปฏิบัติงาน เชน การไดรับสารพิษ

Page 37: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 30

• กรณีหายใจเอาสารพิษเขาไป ตองรีบเคลื่อนยายหรือนําผูปวยออกจากบริเวณที่มีสารเคมีร่ัวไหลหรือฟุงกระจายโดยทันที หากผูปวยหยุดหายใจตองรีบชวยทําใหผูปวยหายใจไดโดยสะดวก

• สารเคมีเปอนผิวหนัง ใหลางบริเวณที่เปอนดวยน้ํา หามใชน้ําอุน หรือแอลกอฮอล • สารเคมีเขาตา ใหใชน้ําสะอาดลางติดตอกันเปนเวลา 10-15 นาที • กรณีกลืนกินสารเคมีใหขจัดออกโดยการทําใหอาเจียนดวยการลวงคอแลวใหดื่มน้ํา

ผสมเกลือแกง (น้ํา 1 แกวตอเกลือแกง 1 ชอนโตะ) ถาผูปวยที่หมดสติไมควรชวยใหอาเจียนดวยตนเอง ควรรีบนําสงแพทย

• รีบนําผูปวยสงแพทย พรอมภาชนะบรรจุฉลากขางขวด 7.2 อุบัติเหตุจากไฟไหม

7.2.1 ปจจัยใหเกิดไฟ และลักษณะของไฟ ไฟจะเกิดไดเมื่อมีปจจัยทั้ง 3 ครบ คือ เชื้อเพลิง อากาศ ความรอน ดั้งนั้นการตัดปจจัยหนึ่งออกจะชวยใหไฟดับ การแยกเชื้อเพลิงออกอาจทําไดไมงายนักแตการปดไมใหอากาศเขาถึงสิ่งที่ลุกไหมหรือการทําใหเย็น เชน ใชน้ําฉีดจะทําใหไฟดับไดเชนกัน

ไฟแบงตามลักษณะของสิ่งที่ไหมไฟได 4 ประเภท คือ • ประเภท ก. คือ ไฟที่เกิดจากการไหมของวัสดุที่มี คารบอน เชน กระดาษ ไม • ประเภท ข. คือ ไฟที่เกิดจากสารไวไฟ เชน น้ํามัน • ประเภท ค. คือ ไฟที่เกิดจากเครื่องใชไฟฟา • ประเภท ง. คือ ไฟที่เกิดจากโลหะบางชนิดที่ไวตอน้ําหรือลุกติดไฟในอากาศ

เชน โซเดียม 7.2.2 สารดับไฟ

7.2.2.1 น้ํา ส่ิงที่ใชดับไฟมีหลายชนิดแตละชนิดก็เหมาะสําหรับดับไฟบางประเภท การใชอุปกรณดับไฟที่ผิดอาจทําใหสถานการณเลวรายลงได ส่ิงแรกที่ทุกคนนึกถึงในการดับไฟคือน้ําเพราะหาไดงาย น้ําชวยใหส่ิงไหมไฟเย็นลงจนไฟดับแตน้ําเหมาะสําหรับดับไฟ (ประเภท ก) เทานั้น และการฉีดน้ําควรใชน้ําแรงๆเพราะถาน้ําไหลชาอุณหภูมิของไฟจะไมลดลงทําใหน้ําเหลานี้ทําปฏิกิริยากับสิ่งไหมไฟพวกคารบอนใหกาซคารบอนมอนออกไซดและไฮโดรเจนซึ่งไวไฟและชวยในการลุกไหมดวย

7.2.2.2 คารบอนไดออกไซด บรรจุถังในสถานะของเหลวใชเปนอุปกรณดับไฟได ทําใหไฟดับโดยการไปลดปริมาณออกซิเจนในอากาศใหเจือจางและชวยทําใหเย็นซึ่งตัวมันเองไมชวยใหไฟติด ใชกับไฟท่ีเกิดจากของแข็ง ของเหลวไวไฟทั้งหมด (ประเภท ข) เวลาฉีดให

Page 38: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 31

เล็งไปที่ฐานของไฟและฉีดตอไปสักครูหลังไฟดับแลวเพราะสิ่งไหมไฟพวกคารบอนอาจลุกติดขึ้นไดอีกถาอุณหภูมิยังสูงอยู ควรตรวจสอบถังทุกๆ 6 เดือนใหดูที่ชํารุดและน้ําหนักของถัง ถาน้ําหนักลดลงถึงรอยละ 10 ตองทําการเติมใหม ขอควรระวังในการใชคารบอนไดออกไซด ดับไฟ คือ ในที่แคบคารบอนไดออกไซดจะแทนที่ออกซิเจนทําใหขาดอากาศสําหรับหายใจและที่ลําโพงพนกาซจะเย็นจัดตองระวังอยาจับสวนที่เย็นนั้น

7.2.2.3 อุปกรณดับไฟชนิดท่ีฉีดออกมาเปนฝอย (Foam) ก็เปนที่นิยมกันมากฟองเกิดจากปฏิกิริยาทางเคมีของสารที่บรรจุในถัง คือ อะลูมิเนียมซัลเฟต (Aluminium sulfate) กับ โซเดียมไบคารบอเนต (Sodium bicarbonate) เวลาใชตองคว่ําถังลงเพื่อใหสารทั้งสองผสมกันทําปฏิกิริยาเกิดเปนกาซคารบอนไดออกไซดออกมา ฟองของคารบอนไดออกไซดจะคลุมผิวของส่ิงที่ไหมไฟทําใหไฟดับ สําหรับไฟประเภท ก. ใหเล็งไปที่ฐานของไฟเวลาฉีด สวนไฟประเภท ข. ถาเปนของเหลวที่อยูในภาชนะอยาเล็งไปที่ตัวของเหลวเพราะแรงฉีดจะกระจายของเหลวทําใหไฟลุกลามได ใหฉีดไปที่ผนังดานในของภาชนะ ควรหมั่นดูแลรักษาสม่ําเสมออยาใหมีการชํารุดหรืออุดตันในทอพน

7.2.2.4 ผงเคมีแหงท่ีใชดับไฟ (Dry powder) คือโซเดียมไบคารบอเนตบรรจุในถังอัดกับกาซคารบอนไดออกไซดหรือไนโตรเจน ฉีดออกมาเปนผงทําใหไฟดับไดเพราะคารบอนไดออกไซดที่ไดออกมาเมื่อสารถูกความรอนแลวสลาย ผงเล็กๆ ของไบคารบอเนตยังเปนตัวชวยพาความรอนออกไปจากสิ่งที่กําลังไหมไฟดวย เหมาะสําหรับดับไฟประเภท ค. ท่ีเกิดจากเครื่องใชไฟฟาหรือในที่ๆใชน้ําดับแลวจะเกิดความเสียหายได เวลาฉีดใหเล็งไปที่ฐานของไฟ การดูแลรักษาควรกระทําทุกๆ 6 เดือน ผงในถังตองแหงจึงจะใชงานไดเพราะถาชื้นผงจะแข็งตัว น้ําหนักไมควรลดเกินรอยละ 10 หากเหลือนอยเกินไปตองอัดกาซและเติมใหเตม็ตลอดเวลา เก็บในที่มีอุณหภูมิไมเกิน 45 0C มิฉะนั้นผงของไบคารบอเนตจะสลายตัวทีละนอยกลายเปนโซเดียมคารบอเนต ผงเคมีแหงที่ใชในการดับไฟไดอีกตัวหนึ่ง คือ โซเดียมคลอไรดเพราะที่อุณหภูมิสูงจะหลอมเหลวแลวปกคลุมผิวของสิ่งที่กําลังไหมไฟ ทําใหไฟดับแตหามใชดับไฟที่เกิดจากโลหะลิเธียม (Lithium) เพราะวาปฏิกิริยาเคมีระหวางลิเธียม (Lithium) กับโซเดียมคลอไรด (Sodium chloride) จะไดโลหะโซเดียมออกมาซึ่งทําใหไฟลุกลามไดมากขึ้น

7.2.2.5 สารประกอบฮาโลจิเนตไฮโดรคารบอน (Halogenated hydrocarbon) เชน คารบอนเตตราคลอไรด สารพวกนี้ใชในรูปของของเหลวก็จริงแตเมื่อถูกไฟมันจะระเหยใหไอหนักๆ ลอยปกคลุมผิวที่ไหมไฟทําใหอากาศเขาไมถึงและปฏิกิริยาเคมีที่ เกิดขึ้นโดยเฉพาะตัวที่มีโบรมีนเปนองคประกอบเมื่อถูกความรอนจะใหอนุมูลโบรมีน (Bromine radical) ซ่ึงทําปฏิกิริยากับเชื้อเพลิงใหไฮโดรเจนโบรไมด (Hydrogen bromide) เปนการชวยลด

Page 39: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 32

ไฮโดรเจนและออกซิเจนในอากาศ การเรียกชื่อสารทางการคาของสารกลุมนี้ใชตัวเลข 4 หนวยตามหลังคําวา Halon หนวยแรกบอกจํานวนอะตอมของคารบอน (Carbon atom) หนวยที่สอง คือ จํานวนอะตอมของฟลูออไรด (Fluorine atom) หนวยที่ 3 คือ จํานวนอะตอมของคลอรีน (Chlorine atom) และหนวยที่ 4 คือ จํานวนอะตอมของโบรมีน (Bromine atom) ตัวอยาง เชน

Halon 1011 คือโบรโมคลอโรมีเทน (Bromochloromethane = (CH2ClBr)) Halon 1040 คือ คารบอนเตตราคลอไรด (Carbon tetrachloride = (CCl4)) Halon 1202 คือ ไดโบรโมไดฟลูออโรมีเทน (Dibromodifluoromethane = (CBr2F2)) Halon 1301 คือ โบรโมไนโตรฟลูออไรมีเทน (Bromotrifluoromethane = (CBrF3)) สารพวกนี้ใชดับไฟไดดีโดยเฉพาะไมกอใหเกิดความสกปรกทิ้งไวเหมาะสําหรับที่ๆ

ไมตองการใหเกิดความเสียหายกับสิ่งของหรืออุปกรณราคาแพง อุปกรณดับไฟชนิดนี้มีราคาแพงกวาชนิด คารบอนไดออกไซดและน้ํา ใชไมไดกับไฟประเภท ง ที่เกิดจากโลหะบางชนิด เชน โซเดียมเพราะจะเกิดการระเบิดได มีขอควรระวังในการใชเพราะสารประเภทนี้เมื่อรอนหรือเมื่อถูกผิวโลหะที่รอนจะสลายตัวใหกาซพิษฟอสจีน (Phosgene) และกาซไฮโดรเจนคลอไรด (Hydrogen chloride) ทําใหบรรยากาศเปนพิษและเปนกรด แตในที่ๆมีลมพัดแรงประสิทธิภาพในการดับไฟจะลดลงเพราะสารเคมีถูกฉีดออกมาเปนกาซ 7.3 ผิวหนังถูกของรอน ผิวหนังที่ถูกของรอนเปนบริเวณไมกวางนักใชขี้ผ้ึงทาแกไฟไหมน้ํารอนลวกทาหรือแชสวนที่

ถูกของรอนในน้ําเย็นทันทีเพื่อมิใหแผลถูกอากาศ จนกวาจะหายปวดแสบปวดรอนซึ่งอาจกินเวลานาน ถาเปนสวนของผิวหนังที่แชลงในน้ําไมไดก็ใชผาชุบน้ําเย็นปดคลุมแผล วิธีนี้คอนขางจะตรงกันขามกับความเชื่อเดิมวาแผลไฟไหมน้ํารอนลวกไมควรถูกน้ํา อยางไรก็ตามถาเปนมากตองใหแพทยรักษาตอไปทันที

7.4 สารหกลงพื้น เมื่อสารหกลงพื้นตองทําการเก็บกวาดใหหมดทันทีอยาทิ้งเอาไว โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อเปน

ของเหลวไวไฟเพราะเปนการกระจายพื้นที่ผิวของของเหลวทําใหระเหยเปนไอไดมากขึ้น จะมีอันตรายจากไฟลุกไหมได วิธีกําจัดที่ดีคือใชทรายซับแลวนําไปจุดเผาในที่ปลอดภัยหรืออาจใชน้ํามาก ๆ ลางถาเปนของเหลวที่ผสมเปนเนื้อเดียวกับน้ํา ถาเปนกรดหรือดางหกลงพื้นใชน้ําลางมาก ๆ กรดที่เปนตัวออกซิไดซ เชน กรดไนตริคหรือเปอรคลอริก เมื่อถูกพื้นไมอาจคอย ๆ ลุกติดไฟไดถาไมรีบลาง ขวดกรดและดางจึงควรวางไวบนถาดที่ทําดวยวัสดุทนฤทธิ์กรดดางเพื่อกันการหกกระจายและทําความสะอาดไดงาย เราอาจจําแนกขอปฏิบัติเมื่อสารเคมีแตละชนิดหกไดดังนี้

Page 40: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 33

สารที่เปนของแข็ง เมื่อสารเคมีที่เปนของแข็งหก ควรใชแปรงกวาดรวมกันใสในชอนตักหรือกระดาษแข็งกอน แลวจึงนําไปใสในภาชนะที่มีฝาปดมิดชิดโดยใหระมัดระวังการสัมผัสสารเคมีโดยตรงและการฟุงกระจายของละอองฝุนผง

สารละลายที่เปนกรด เมื่อกรดหกจะตองรีบทําใหเจือจางดวยน้ํากอนแลวโรยโซดาแอส หรือโซเดียมไบคารบอเนตหรือเทสารละลายดางเพื่อทําใหกรดเปนกลางตอจากนั้นจึงลางดวยน้ําใหสะอาด ขอควรระวัง เมื่อเทน้ําลงบนกรดที่หก เชน กรดกํามะถันเขมขน จะมีความรอนเกิดขึ้นและกรดอาจเดือดกระเด็นออกมา จึงตองคอยๆเทน้ําลงไปและใชน้ําปริมาณมากๆเพื่อใหกรดเจือจาง และลดความรอนที่เกิดขึ้นรวมทั้งลดการกระเด็นของกรดใหนอยลงดวย

สารละลายที่เปนดาง เมื่อสารเคมีที่เปนดางหกจะตองเทน้ําลงไปเพื่อลดความเขมขนของดางแลวเช็ดใหแหง โดยใชไมที่มีปุยผูกที่ปลายสําหรับซับน้ําบนพื้น (Mop) พยายามอยาใหกระเด็นขณะเช็ดเนื่องจากสารละลายดางจะทําใหพื้นล่ืน เมื่อลางดวยน้ําหลายๆครั้งแลวยังไมหายควรใชทรายโรยบริเวณที่ดางหกแลวเก็บกวาดทรายออกไปจะชวยแกปญหานี้ได

สารที่ระเหยงาย เมื่อสารที่ระเหยงายหกจะระเหยกลายเปนไออยางรวดเร็ว บางชนิดติดไฟไดงาย บางชนิดเปนอันตรายตอผิวหนังและปอด การทําความสะอาดสารที่ระเหยงายทําไดดังนี้

• ถาสารที่หกมีปริมาณนอย ใชผาขี้ร้ิวหรือเศษผาเช็ดถูออก • ถาสารที่หกนั้นมีปริมาณมาก ทําใหแหงโดยใชไมที่มีปุยผูกที่ปลายสําหรับเช็ดถู เมื่อ

เช็ดแลวก็นํามาใสถังเก็บและสามารถนําไปใชอีกไดตามตองการ สารที่เปนน้ํามัน สารพวกนี้เช็ดออกไดโดยใชน้ํามากๆเมื่อเช็ดออกแลวพื้นบริเวณที่สารหกจะ

ล่ืนจึงตองลางดวยผงซักฟอกอีกครั้งหนึ่งเพื่อใหสารที่ติดอยูออกไปใหหมด สารปรอท ปรอทเปนโลหะท่ีมีพิษใหไอระเหยที่เราอาจสูดเขาไปได เมื่อหกลงพื้นการเก็บ

กวาดก็ทําไมไดงายนัก กรณีสารปรอทหกวิธีการที่ถูกตองควรปฏิบัติดังนี้ • กวาดสารปรอทมากองรวมกัน • เก็บสารปรอทโดยใชเครื่องดูด ดังรูปที่ 7.1

รูปท่ี 7.1 การเก็บสารปรอทที่หกโดยใชเครื่องดูด

Page 41: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 34

• ถาพื้นที่สารปรอทหกมีรอยแตกเปนรองหรือรอยราว จะมีสารปรอทเขาไปอยูขางในจึงไมสามารถเก็บปรอทโดยใชเครื่องดูดดังกลาวได ควรปดรอยแตกหรือรอยราวนั้นดวยข้ีผ้ึงทาพื้นหนาๆเพื่อปองกันการระเหยของปรอทหรืออาจใชผงกํามะถันพรมลงไป ปรอทจะเปลี่ยนเปนสารประกอบซัลไฟด แลวจึงเก็บกวาดอีกครั้งหนึ่ง การกําจัดตองทําใหหมดจริง ๆ เชนใชเข็มฉีดยาดูดจากรองที่มีปรอทรวมกันอยู อาจใชแมเหล็กชวยในการรวมตัวของหยดปรอท

7.5 สารหกรดผิวหนัง ไมวาจะเปนสารเคมีชนิดใด นอกจากโลหะโซเดียม โปแตสเซียม เมื่อถูกผิวหนังใหใชน้ําลาง

มาก ๆ โดยเร็วที่สุด น้ําจะชวยลางเอาพิษของสารเคมีออกไปไดและชวยใหผิวหนังเย็นดวย ไมมีอะไรดีไปกวาน้ําเพราะหาไดงาย ใชไดมากโดยไมส้ินเปลือง ถึงแมวาน้ําจะไมละลายสารบางตัวแตก็ชวยพาใหหลุดออกจากผิวได การทําปฏิกิริยาสะเทินบนผิวหนังจะไมชวยเบื้องตน เชน เมื่อถูกกรดแลวจะลางดวยดางเพราะเราไมสามารถไตเตรดกรด - ดางใหพอดีได สารที่นํามาใชทําใหสะเทินอาจเปนอันตรายตอผิวหนังตอไปไดอีกและหาไมไดทันทีเหมือนน้ํา นอกจากนั้นปฏิกิริยาบนผิวหนังจะเกิดความรอนทําใหเปนแผลมากขึ้นหรือเกิดเปนสารใหมที่ทําใหยุงยากตอการรักษาตอไปอีก เมื่อใชน้ํามาก ๆ ลางกรดหรือดางที่ผิวหนังออกแลวอาจใชสารละลายเจือจางชวยลางฤทธิ์กรดหรือดางได คือ ถาถูกดางก็ใชสารละลายกรดอะซิติคความเขมขนรอยละ 1 หรือถาถูกกรดก็ใชสารละลายโซเดียมหรือโปแตสเซียม ใชคีมคีบเศษโลหะออกกอนแลวจึงลางดวยน้ํามาก ๆ การใชตัวทําละลายลางสารเคมีท่ีผิวหนังมักจะเปนผลรายมากกวาผลดี เพราะหาไมไดทันทวงที เกิดการลาชาในการลางแผล ถาใชนอยจะทาํใหเปนแผลบริเวณกวางขึ้น การใชมากก็เกิดการสิ้นเปลือง เชน การใชเอทธานอลลางผิวหนังตรงที่ถูกฟนอลถึงแมวาเอทธานอลจะมีคุณสมบัติในการละลายฟนอล แตการใชเอทธานอลเช็คจะพาเอาฟนอลไปถูกผิวสวนอื่นกวางออกไปทําใหแผลใหญขึ้นและชวยใหฟนอลซึมเขาสูผิวหนังไดดีขึ้นดวย

7.6 สารเขาตา ตาเปนอวัยวะสําคัญ การแกไขภายใน 2 – 3 วินาทีแรกที่สารกระเด็นเขาตาจะชวยมิใหตาเปน

อันตรายถึงบอดได ดังนั้นเมื่อสารกระเด็นเขาตาใหลางดวยน้ํามาก ๆ ทันที เปนเวลาอยางนอย 15 นาที พยายามลางใหหมดโดยปลิ้นเปลือกตาออกดวย แลวจึงใหแพทยรักษาตอไป ถาปลอยใหสารตกคางอยูแมแต 2-3 วินาทีหรือนานเกินไปแพทยอาจจะชวยเหลืออะไรไมได นอกจากนี้การใชคอนแทคเลนส (Contact lens) ทําใหเอาสารออกไดยาก เมื่อมีสารกระเด็นเขาตาและลางตาใหหมดไดยาก

7.7 การสูดกาซหรือไอพิษ เมื่อรูสึกผิดปกติ วิงเวียน ปวดศีรษะขณะทํางาน โดยเฉพาะอยางยิ่งในที่ ๆ มีการใชสารเคมีมาก เชน หองปฏิบัติการหรือในโรงงาน ควรออกมาสูดอากาศบริสุทธิ์ในที่โลงและสํารวจวามีสาร

Page 42: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 35

อะไรที่ใหไอระเหยหรือกาซออกมาเพื่อจะไดรีบหาทางแกไข ถาเปนกาซรั่วตรวจดูวาเปนกาซอะไร มีพิษหรือไม ไวไฟหรือไม ถาเปนกาซพิษการที่จะเขาไปปดถึงหัวกาซตองระวังจะเปนอันตรายกับตนเองหรือการที่จะเขาไปชวยเหลือผูที่หมดสติอยู ควรจะมีเครื่องปองกันตัวเองดวย เชน เครื่องชวยในการหายใจ เปดหนาตางประตูใหลมโกรก นําผูปวยออกจากหองนั้น ทําการผายปอดอยาใหรางกายขาดออกซิเจนได ใหผูปวยอยูในที่เงียบและอุนพยายามอยาใหผูปวยเคลื่อนไหวมากนัก รีบสงใหแพทยรักษา ในกรณีที่กาซรั่วไมใชกาซพิษแตอันตรายอาจเกิดจากการขาดออกซิเจนหายใจเพราะกาซนั้นทําใหออกซิเจนในอากาศเจือจางลง เชน กาซหุงตม สมองจะเปนอวัยวะแรกที่ถูกกระทบกระเทือนเมื่อขาดออกซิเจน พยายามปดตนตอที่ร่ัว การขาดออกซิเจนนี้ไมจําเปนวาจะเกิดจากกาซรั่วเทานั้น การทํากาซเหลวหก การใชคารบอนไดออกไซดดับไฟ ก็ทําใหเกิดสภาวะการขาดแคลนออกซิเจนไดเชนเดียวกัน เมื่อกาซไวไฟรั่วสํารวจแหลงจุดติดไฟทั้งหลายในบริเวณใกลเคียง หามสูบบุหร่ี หามปดเปดสวิทชไฟฟา ถากาซรั่วเปนแอมโมเนียตองระวังไฟดวยเพราะเปนกาซไวไฟ การใชผาเปยกปดหนาจะชวยบรรเทาอาการแสบตาและจมูกไดช่ัวคราวและชวยใหหนีออกจากที่นั้นได ผาชุบแอลกอฮอลปดจมูกชวยทําใหหายแสบจมูกเมื่อสูดไอโบรมีนเขาไป ถาสูดเขาไปมากใหดมสารละลายแอมโมเนียมไฮ ดรอกไซดเจือจาง ผูที่จะเขาไปในที่มีกาซคารบอนมอนออกไซด ไฮโดรเจนไซยาไนด ไนตริคออกไซด ฟอสจีนและซัลเฟอรไดออกไซด นอกจากจะตองสวมหนากากเครื่องชวยหายใจแลวยังตองปกปดรางกายเพื่อกันการซึมเขาสูผิวหนังดวย ผูปวยที่สูดกาซไฮโดรเจนไซยาไนดเขาไปลมหายใจจะมีกล่ินเหม็น วิงเวียน ตาคาง ชีพจรเตนเร็ว ตัวเย็น หนาเขียว อาจชักหมดสติควรใหดมเอมิลไนไตรต (Amyl nitrite) ทุก ๆ 5 นาทีนาน 20 นาที ถาหยุดหายใจตองผายปอดอาจใชแอมโมเนียแทนเอมิลไนไตรต (Amyl nitrite) ได

7.8 การกลืนกินสารเคมี 7.8.1 อุบัติเหตุจากการกลืนกินสาร ไมควรจะเกิดขึ้นบอยนักหรือไมควรจะเกิดขึ้นเลย

ถาไดมีการฝกนิสัยของความมีระเบียบและความระแวดระวังที่ดีแลวโอกาสที่สารจะลงไปไดถึงกระเพาะจนกระทั่งมีการซึมเขาสูผนังลําไสจะมีนอย เมื่อมีสารแปลกปลอมเขาไปในปากโดยสัญชาติญาณเราจะถมออกทันที สวนที่หลงเหลือกลืนลงไปก็จะถูกขับออกโดยการอาเจียนหรือมีการตกตะกอนในกระเพาะโดยกรดไฮโดรคลอริคในน้ํายอยในกระเพาะอาหารทําใหสารไมสามารถซึมเขาสูกระแสโลหิตได อยางไรก็ดีหากมีการกลืนสารเคมีเขาไป จะเปนดวยอุบัติหรือจงใจก็ตาม วิธีแกไขควรทําดังนี้ สํารวจบริเวณรอบ ๆ ผูปวยวามีขวดสารเคมีอะไรวางอยูใกล ๆ มีเหลือในขวดมากนอยเพียงใดอาจเปนสารที่ผูปวยกลืนกินเขาไป

Page 43: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 36

จะไดโทรศัพทบอกใหแพทยทราบและขอคําแนะนํา ขณะที่รอสงแพทยพยายามแกไขพิษกอน

7.8.2 หลักท่ัวไปในการแกพิษคือ 1. ทําพิษใหเจือจางโดยใหดื่มน้ํามาก ๆ 2. รับประทานสิ่งที่จะชวยใหการดูดซึมสารเขาสูกระแสโลหิตมีนอยหรือไมมีเลย 3. ใหยาแกพิษ 4. เอาพิษออกโดยการทําใหอาเจียน 5. ใหรับประทานสิ่งที่จะชวยเคลือบกระเพาะ หรือบรรเทาอาการ 6. ใหออกซิเจนในกรณีที่หยุดหายใจตองรีบผายปอด 7. แกอาการช็อค

7.8.3 การสังเกตจากอาการผูปวย อาการของผูปวยอาจบอกไดวากลืนกินสารประเภทใดเขาไป ถาเปนสารกัดกรอน

เชน กรดดาง ปากคอจะไหม ปวดทองอยางแรง อยาทําใหอาเจียน สําหรับผูปวยที่กลืนกินกรดและยังไมหมดสติใหดื่มน้ําปูนใส ผูที่กลืนกินดางใหดื่มน้ําเจือกรดอะซิติค (Acetic) ประมาณรอยละ 1 หรือน้ําสมสายชูผสมน้ํา (1 : 4) ตามดวยนมและไขขาวตีกับน้ําเพื่อชวยแกพิษและเคลือบกระเพาะ สําหรับสารอื่นนอกจากกรดดางโดยทั่วไปควรใหดื่มน้ําหรือนมมาก ๆ เพื่อทําใหพิษเจือจางและทําใหอาเจียนโดยใชนิ้วกดที่โคนลิ้นเมื่อเร่ิมอาเจียนใหผูปวยคว่ําหนาและ ศีรษะต่ํากวาระดับสะโพกเพื่อมิใหอาเจียนสําลักเขาปอด ใหอาเจียนจนกวาจะมีน้ําใสออกมา ในกรณีท่ีเปนสารไซยาไนด (Cyanide) ตองรีบแกไขโดยเร็วโดยการทําใหอาเจียนและใหดมเอมิลไนไตรต (Amyl nitrite) 2 เม็ด ทุก 2 – 3 นาที ใหดื่มกาแฟหรือชาแก ๆ ชวยกระตุน ในวงการใดมีการใชสารไซยาไนด (Cyanide) ควรมีแพทยที่พรอมจะใหความชวยเหลือไดและมียาแกพิษเตรียมไวดวย

ยาแกพิษ ที่ใชไดทั่วไปเปนของผสมระหวางถานกัมมันต (Activated charcoal) 2 สวนกับแมกนิเซียมออกไซด (Magnesium oxide) 1 สวน และกรด tannic 1 สวน เวลาใชนํายาผสมนี้มา 15 กรัมผสมกับน้ํา 125 ลบ.ซม. ใหผูปวยดื่ม เมื่อทองวางแลวจึงใหดื่มนมผสมไขขาวหรือน้ําเพื่อชวยเคลือบกระเพาะแตอยาใหน้ํามันหรือนมในกรณีที่กลืนกินฟอสฟอรัส

ผูปวยที่กลืนกินสารประกอบตะกั่ว จะมีอาการคลื่นไส อาเจียน ทองเสีย ชักอาจรูสึกชา มีรสโลหะในปาก ใหดื่มน้ํามาก ๆ ใหรับประทานแมกนิเซียมซัลเฟต (Magnesium sulfate) หรือโซเดียมซัลเฟต (Sodium sulfate) 30 กรัมในน้ํา 250 ลบ.ซม. ทําใหอาเจียนแลวใหดื่มนมหรือน้ําเย็นผสมไขขาว ดื่มชาหรือกาแฟชวยกระตุน การแกพิษปรอท ใหดื่มน้ํา ทํา

Page 44: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 37

ใหอาเจียนหลายครั้ง ใหดื่มนมและไขขาว สวนอาการพิษของสตริกนิน (Strychnine) คือ ปวดทองอยางแรง บิดตัวไปมา แนนหนาอก ชัก หายใจขัด วิธีแกไขคือ ไมตองทําใหอาเจียนใหดื่มน้ํา 250 ลบ.ซม. ผสมดางทับทิม (Potassium permanganate) 0.6 กรัม หรือใหรับประทานผงถาน 27 กรัม ดื่มชาแก ๆ ดมเอมิลไนไตรต (Amyl nitrite) เพื่อกันหมดสติ

7.8.4 การแกไขผูปวยท่ีหมดสติ ความตกใจจากเหตุการณรายตาง ๆ อาจทําใหคนหมดสติไดพยายามทําใหฟน ให

นอนราบเทาสูงกวาระดับศีรษะ ตะแคงศีรษะหันขางไป ปลดเครื่องแตงกายที่รัดแนนออก ใหรางกายอบอุน อยาปลอยใหผูปวยหนาว หามคนมุง ถาผูปวยรูสึกตัวใหดมยาดม เชน แอมโมเนียมไฮดรอกไซด (Amonium hydroxide) เจือจาง อยารบกวน ใหอยูเงียบ ๆ เมื่อมีอาการดีขึ้นจึงเคลื่อนยายผูปวยได ถามีทีทาวาจะหยุดหายใจตองรีบผายปอดอยาใหรางกายขาดออกซิเจนได

[[88]] การปองกันการปองกันอันตรายจากสารเคมีอันตรายจากสารเคมี ความจริงจังและจริงใจตอการปองกันอุบัติเหตุจะชวยลดอันตรายลงไดมาก การปองกัน

อุบัติเหตุนั้นตองเริ่มจากการคนหาสาเหตุ ทุกครั้งที่เกิดเหตุรายควรจะตองวิเคราะหหาสาเหตุใหได สาเหตุสวนใหญมักพบวาเปนที่ตัวบุคคลและเกิดจากความมักงายในนิสัย ความเห็นแกไดของคน รวมทั้งตัวผูบาดเจ็บดวยและสิ่งแวดลอมที่สรางขึ้นโดยคนและความประมาท

ความปลอดภัยในโรงงานเปนเรื่องที่ ตองการความรวมมือจากหลายฝาย เร่ิมตั้งแตการวางแผนที่ดี คํานึงถึงทุกแงมุม การออกแบบหองหรือโรงงาน เครื่องมือที่ใช เครื่องจักร ตลอดจนสารเคมีที่เขามาเกี่ยวของและยังรวมไปถึงสภาพจิตใจของคนงานขณะทํางาน การปองกันอุบัติเหตุหรืออันตรายจากสารเคมีในโรงงานใชหลักปฏิบัติเดียวกันไมวาจะเปนโรงงานเล็กหรือใหญและมีความสําคัญเทากัน โรงงานขนาดใหญอาจมีผูดูแลเร่ืองความปลอดภัยโดยเฉพาะ มีแพทยประจําโรงงานแตโรงงานขนาดเล็กหรือชนิดที่ทํากันหลังบานยอมทําไดยาก อยางไรก็ตามการบริหารที่ดียอมชวยปองกันอุบัติเหตุได นอกจากนี้การปองกันอุบัติเหตุจะประสบผลสําเร็จไดยอมขึ้นอยูกับความจริงใจและจริงจังของฝายบริหารโดยใหความสําคัญกับเรื่องนี้เทา ๆ กับเรื่องของการผลิตหรือการตลาด ฝายบริหารตองเปนผูริเร่ิม แนะนําและใหการสนับสนุน

8.1 พฤติกรรมท่ีแสดงใหเห็นถึงความไมปลอดภัย พอจะรวบรวมไดดังนี้ 1. ทําผิดระเบียบ อาจจะเปนการจงใจหรือไมก็ตาม ระเบียบมักจะถูกกําหนดขึ้นเพราะ

ไดมีเหตุการณไมดีเกิดขึ้นแลวจึงมีการออกกฎเพื่อปองกันการเกิดเหตุการณซํ้าอีก 2. ไมปฏิบัติตามคําสั่งหรือคําแนะนํา เพราะเห็นวาไมสําคัญหรือเปนเพราะมักงายและมี

ความประมาทดวยเห็นวาคงไมเปนไรถาทําอยางระมัดระวัง

Page 45: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 38

3. เขาใจผิด สาเหตุนี้อาจเกิดจากการที่ผูทําไมไดรับการศึกษาหรือคําอธิบายอยางเพียงพอ จึงทําในสิ่งที่ผิดได

4. ไม รูตัววากํ า ลังทํา ผิด อาจจะเปนเพราะความไม ชํานาญกับงานหรือความรูเทาไมถึงการณ

5. ทําในสิ่งที่ยังมิไดรับอนุญาต งานประจําวันที่ดําเนินมานานแลวยอมจะไมมีส่ิงที่ไมคาดคิดเกิดขึ้นหรือจะมีก็นอยมาก แตการกระทําที่นอกเหนือไปจากงานประจํา อาจนํามาซึ่งความเสียหายได การขออนุญาตจึงเปนการบอกกลาวและปรึกษากับผูที่รูดีกวา และสามารถตัดสินใจได

6. ใชเครื่องมือที่ไมเหมาะสมหรือติดตั้งไมถูกตอง เครื่องมือแตละชนิดไดรับการออกแบบเฉพาะงาน การใชเครื่องมือผิดประเภทจึงกอใหเกิดอันตรายได

7. ไมใชเครื่องปองกัน การงานใดที่อาจมีอันตรายจะมีการบงใหใชอุปกรณปองกัน การไมปฏิบัติตามก็เทากับเปนการกระทําตัวเราเอง

8. สภาพจิตใจขณะทํางาน เปนสื่อนําไปสูพฤติกรรมีที่ไมปลอดภัย คนใจลอยไมมีสมาธิเพราะมัวแตเลนกัน พูดคุยกัน ความใจรอน ความคึกคะนอง ทําใหทํางานผิดพลาดได

นอกจากพฤติกรรมที่ไมปลอดภัยแลว สาเหตุของอุบัติเหตุอาจมาจากสภาวะที่ไมปลอดภัย หมายถึง สภาพแวดลอมที่อาจกอใหเกิดอุบัติเหตุ เชน แสงสวางไมพอ พื้นล่ืน แตสภาวะที่ไมปลอดภัยนี้ เปนสาเหตุทางกายภาพที่สามารถแกไขไดงายกวาปญหาทางดานพฤติกรรม

8.2 หลักการปองกันอุบัติเหตุ โดยทั่วไปประกอบดวย หลักการปองกันอุบัติเหตุ โดยทั่วไปประกอบดวย การวางระเบียบขอบังคับ การ

ฝกฝนใหเกิดเปนนิสัย การรักษาความเปนระเบียบเรียบรอย และการดูแลรักษา การใหศึกษาและฝกอบรม การจัดเตรียมอุปกรณที่จําเปน การวิเคราะหสาเหตุการบันทึกเหตุการณและขอเสนอแนะ การตรวจสุขภาพและปริมาณสารเคมีที่ปนเปอนในบรรยากาศ และการสงเสริมใหตระหนักถึงความสําคัญของการปองกัน

8.2.1 การวางระเบียบขอบังคับ เปนขั้นตอนแรกของการลดอุบัติเหตุ การปฏิบัติตามระเบียบโดยเครงครัดจึงเปนการ

ปองกันอันตรายได การมีระเบียบขอบังคับท่ีดีจะไมมีความหมาย หากมิไดปฏิบัติตามอยางเครงครัด

ดังนั้นผูรับผิดชอบจําเปนตองเขมงวด ดูแลใหทุกคนปฏิบัติตามระเบียบ อาจมีมาตรการลงโทษไวดวยและควรทําความเขาใจเสียกอนวา การปฏิบัติตามระเบียบนั้น ก็เพื่อผลประโยชน

Page 46: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 39

ของตนเองและสวนรวม และมีการชี้แจงถึงขอดีและขอเสียของการปฏิบัติดวย ระเบียบขอบังคับนั้นจะแตกตางกันไปตามธรรมชาติของงานในแตละแหง เชน

- ในที่มีการใชสารไวไฟมาก จําเปนตองมีขอหามสูบบุหร่ีในบริเวณนั้น เพื่อกันอุบัติเหตุจากไฟ

- งานที่มีการผสมสารเคมีจะมีขอบังคับใหสวมถุงมือและหนากากกันฝุน - ไมวาจะเปนโรงงานหรือหองปฏิบัติการจะมีขอหามทํางานนอกเวลา นอกจากจะ

อนุญาตกอน ทั้งนี้ก็เพื่อปองกันเหตุรายที่จะเกิดแกบุคคลในขณะที่ไมมีผูอ่ืนรูเห็น พอที่จะใหความเหลือได

- กรรมวิธีที่ทําใหเกิดฝุนควรใชระบบปดหรือมีวิธีการระบายอากาศที่เหมาะสม - ของทุกชิ้นที่วางไวตองไมเปนสิ่งที่จะเปนอันตรายเพราะอาจมีคนอื่นที่ไมทราบ

จับตองได ช้ินสวนของเครื่องมือ ทอ ขอตอที่มีสารเคมีหลงเหลืออยูตองไมวางทิ้งไว

- ถังและภาชนะทุกชนิดที่มีสารเคมีใสอยู ตองมีช่ือและเครื่องหมายเตือนไว อุบัติเหตุจะเกิดขึ้นไดถาปดปายไมชัดเจน

- สารเคมีที่สงมาเปนปริมาณมากเมื่อมาแบงใสถังเล็กตองติดปายใหละเอียดเพราะถาลืมติดปายบอกชื่อ คนที่ไมรูอาจเขาใจผิดแทนที่จะเปนน้ําลางมือพอไขออกมากลายเปนกรดไปก็ได

- โรงงานที่มีการใชสารเคมีจะตองมีการขนสงและถายเทการไหลของสารโดยทั้งทอวาลว ถังและเครื่องมือตาง ๆ ยอมมีอัตราการสึกกรอนสูง การระวังรักษาจะชวยปองกันอุบัติเหตุได

- การตรวจสอบเปนระยะ ๆ และซอมแซมอยูเสมอจะชวยใหเครื่องเดินอยูไดโดยไมมีการเสียเวลาตองหยุดงาน อยางชนิดไมมีการวางแผนลวงหนา นอกจากการตรวจสอบเปนประจําแลวจะตองวางแผนไวสําหรับกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน เชน ถาทอร่ัวจะทําอยางไร

- ควรจะกําหนดตัวบุคคลที่จะรับผิดชอบลงไปไดเลยวาเมื่อเกิดเหตุขึ้นเชนนี้ ใครมีหนาที่ทําอะไร เปนตนวา ใครจะเปนคนกดกริ่งสัญญาณอันตราย ใครจะเปนคนแจงเหตุราย การแกไขสถานการณไดทันทวงทีจะทําใหเกิดการเสียหายนอยลง

8.2.2 การฝกฝนใหเกิดเปนนิสัย ในบรรดาสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ ความบกพรองของคนเปนองคประกอบที่สําคัญ

และสลับซับซอนมาก ยากแกการแกไข หากจะลดอุบัติเหตุ และทําใหเกิดสภาพความ

Page 47: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 40

ปลอดภัยขึ้นไดอยางถาวร จะตองแกที่ตัวคน เร่ืองของการฝกฝนนิสัยจึงเปนเรื่องสําคัญมาก การฝกฝนเปนการเพาะสรางนิสัยใหมีระเบียบวินัยจนติดตัวไปในอนาคต

การฝกฝนความเปนระเบียบเรียบรอย วางของใหเปนที่จะปองกันการหยิบสารเคมีผิดพลาดไดหรือปองกันอุบัติเหตุจากการสะดุดหกลม การใชสารเคมีและเทคนิคในการปฏิบัติการเปนเรื่องที่ตองฝกฝนกันตั้งแตตอนเริ่มตน เมื่อทําไดถูกวิธีแลวก็จะเกิดความเคยชินและไมรูสึกลําบาก การฝกฝนใหเปนคนสะอาดสําหรับผูที่เกี่ยวของกับสารเคมีนั้นจําเปนมาก เพราะการลางมือบอย ๆ จะชวยปองกันการซึมเขาสูผิวหนังของสารได ดังนั้นการฝกฝนจะชวยขจัดนิสัยมักงายซึ่งเปนสาเหตุหนึ่งของอุบัติเหตุทําใหคนตั้งอยูในความไมประมาทและมีความตื่นตัวระแวดระวังอยูตลอดเวลา การสรางทัศนคติที่ถูกตองในเรื่องสวัสดิภาพที่วา “ปลอดภัยไวกอน” จึงเปนความมุงหมายของการลดอุบัติเหตุที่สําคัญ

8.2.3 การรักษาความเปนระเบียบเรียบรอยและการดูแลรักษา การรักษาความเปนระเบียบเรียบรอยเปนการปองกันอุบัติเหตุไดทั่วไปทุกแหง ไมวา

จะเปนในหองปฏิบัติการ โรงงาน หรือบานเรือนและยังชวยใหผูอยูอาศัยมีสุขภาพจิตดีดวย การวางของเปนที่ทําใหสะดวกแกการหา หยิบใชไดไมผิดและไดทันทีที่ตองการ ของที่วางไมถูกที่ เกะกะทางเดิน ทําใหสะดุดหกลมไดและจะเปนอันตรายมากถาผูนั้นถือของอยู เชนขวดน้ํากรด ความสะอาดของสถานที่และของเครื่องมือเครื่องใช จะชวยปองกันอุบัติเหตุไดดวย ความสะอาดในที่นี้รวมถึงความสะอาดของรางกายและเสื้อผาที่สวมใสดวย

การดูแลรักษาเปนสิ่งที่ตองกระทําเปนประจํา นอกจากจะชวยปองกันการเกิดความเสียหายแลว ยังเปนการยืดอายุเครื่องมือเครื่องใชดวย การดูแลรักษานี้ รวมไปถึงการเก็บสารเคมีดวย เพราะสารเคมีบางชนิดที่ตองเก็บในของเหลว เพื่อไมใหถูกอากาศเมื่อเก็บไวนานอาจเกิดการแหงทําใหสารถูกอากาศได

8.2.4 การใหความรูและฝกอบรม บอยคร้ังที่อุบัติเหตุเกิดจากความไมรูหรือรูเทาไมถึงการณ การใหความรูเทานั้นที่จะ

ชวยใหผูปฏิบัติเขาใจในอันตรายไดดีขึ้น การใหความรูเร่ืองอันตรายของสารเคมีและวิธีปฏิบัติที่ถูกตองเปนสิ่งจําเปนสําหรับผูที่เกี่ยวของโดยแสดงใหมองเห็นถึงประโยชนของการปองกันและการระมัดระวัง สวนการอธิบายถึงผลรายนั้นจะตองควบคูไปกับการปองกันดวย และตองไมทําใหเขารูสึกวากําลังถูกขูใหกลัว

การฝกอบรมในหนาที่การงานจะทําใหเกิดทักษะและมีความจําเปนในการทํางานที่ปลอดภัย ผูอบรมจะตองทําความเขาใจ ฝกใหเกิดความชํานาญ ดูแลจนสามารถปลอยให

Page 48: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 41

ทํางานเองไดโดยลําพัง หมั่นกลับมาดูเปนครั้งคราวหลังจากนั้นเพื่อตรวจสอบวายังคงปฏิบัติถูกตองหรือไม ขั้นตอนตาง ๆ ที่มีควรชี้แจงถึงเหตุผลและผลรายที่จะเกิดขึ้นถาไมปฏิบัติตาม

ในโรงงานควรมีโครงการฝกคนงานในแงของความปลอดภัยและใหการสนับสนุนใหคนงานเขาใจวาการฝกนี้ก็เพื่อประโยชนแกตัวเอง ทุกคร้ังท่ีมีการเปล่ียนหนาท่ีหรือเปล่ียนวิธีการตองมีการฝกอบรม ผูที่จะทําหนาที่อบรมควรมีความเปนกันเอง จริงใจ อดทน รูวิธีการและเรื่องที่จะสอนเปนอยางดี มีการวางแผนและกําหนดเปาหมายไดวาตองการทักษะถึงขั้นไหน การสอนตองทําใหคนงานรูสึกไดประโยชนมิใชทําใหเกิดความกลัวจนไมกลา ความกลัวมาก ๆ อาจทําใหเกิดสภาวะที่จะเกิดอุบัติเหตุไดเชนเดียวกับความไมรู เพราะอาจทําใหมือไมส่ันจนจับตองอะไรก็ผิดพลาดไปเสียหมด

การสั่งงาน ตองใหชัดเจนทุกขั้นตอน ควรสั่งเปนลายลักษณอักษร เชน ส่ังใหละลายโซเดียมไฮดรอกไซดกับน้ําใน 1 ช่ัวโมง ถาไมบอกวาขั้นตอนเปนอยางไร ผูปฏิบัติยอมไมทราบวาระยะเวลาที่ใชนั้นมีความสําคัญแทนที่จะใชเวลา 1 ช่ัวโมงตามสั่ง อาจเทสารลงไปหมดภายในครึ่งชั่วโมง น้ําที่ 25 °ซ จะรอนขึ้นถึง 95 °ซ ไดภายใน 1 ช่ัวโมง ดังนั้นภายในคร่ึงชั่วโมงน้ําจะรอนจัดเร็วขึ้นมากทําใหเดือนพลานกระเด็นเพราะความรอนกระจายไมทัน เพื่อเปนการปองกันอันตราย ผูปฏิบัติควรทราบวาตองทําอะไรบาง เพื่ออะไร ขั้นตอนเปนอยางไร ถาไมทําตามจะมีอะไรเกิดขึ้น การกระทําบางอยางที่เราเห็นเปนของไมยากเย็นแตสําหรับคนงานเขาอาจไมมีความรูพอวา การเทกรดลงไปในน้ํากับการเทน้ําลงไปในกรดนั้นใหผลแตกตางกันและเปนอันตรายคําสั่งจึงควรจะชัดเจนเปนลําดับขั้นตอน เปนตนวา

ขั้นตอนของการทํากรดใหเจือจาง เชน 1. เติมน้ําลงในถัง 3 แกลลอน วัดระดับน้ํา 2. เปดเครื่องกวน ดูวาเครื่องกวนเดินเปนปกติ 3. เปดทอกรดลงถังตวง 3 แกลลอน ใสเครื่องปองกัน แวนนิรภัย เสื้อคุม 4. เทกรดลงในน้ํา ตองเทชา ๆ กวนตลอดเวลา หามเทน้ําลง

ในกรดจะเดือดกระเด็นได โรงงานควรจะมีการควบคุมใหคนงานปฏิบัติตามคําสั่งและระเบียบอยางเครงครัด มี

มาตรการลงโทษได แตควรจะทําความเขาใจไวกอนเปนดีที่สุด เพื่อจะไดไมเกิดการฝาฝนระเบียบ

8.2.5 การจัดเตรียมอุปกรณท่ีจําเปน ในเมื่อมีระเบียบปฏิบัติดีแลว การระวังรักษาความเปนระเบียบก็ดีแลว การฝกอบรม

ก็ดีแลว เราจะหวังใหมีการปองกันอุบัติเหตุไมไดเต็มที่ถายังไมมีการจัดเตรียมอุปกรณเครื่อง

Page 49: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 42

ปองกันไวให อุปกรณเครื่องปองกันจะเปนเครื่องเสริมการปองกันอีกชั้นหนึ่ง ดังนั้น จึงเปนหนาที่ความรับผิดชอบของผูวาจางที่จะตองจัดเตรียมอุปกรณที่จําเปนใหพรอม ทั้งนี้รวมถึงอุปกรณที่จะชวยแกไขสถานการณฉุกเฉินดวย เชน อุปกรณความปลอดภัยและตูยา (ดูรายละเอียดในขอ 8.4)

8.2.6 การวิเคราะหสาเหตุของอุบัติเหตุ บันทึกเหตุการณและขอเสนอแนะ เหตุการณที่ไดเกิดขึ้นแลวจะเปนบทเรียนอยางดี ถาหากไดมีการวิเคราะหหาสาเหตุ

การวิเคราะหสาเหตุไดมาจากการซักถามผูที่อยูในที่เกิดเหตุและการตรวจสอบบริเวณ การประมวลเหตุการณตาง ๆ จะทําใหสรุปสาเหตุไดและจากสาเหตุจึงจะมีขอเสนอแนะในการแกไขปองกันมิใหเหตุการณนั้นเกิดซ้ําอีก แตส่ิงเหลานี้จะไมคงอยูในความทรงจําไดนานมันจะคอย ๆ เลือนหายไป ดังนั้นการบันทึกเหตุการณและขอเสนอแนะจะเปนประโยชนตอผูมาภายหลัง

นอกจากจะเปนบทเรียนที่ดีแลว บันทึกเหตุการณยังเปนเครื่องบงชี้ถึงประสิทธิภาพในการปองกันอุบัติเหตุดวย การมีอุบัติเกิดขึ้นบอย ๆ ในที่เดียวกันแสดงวามีขอบกพรองในการปองกัน อาจเปนเพราะผูปฏิบัติมิไดปฏิบัติตามคําแนะนําหรือยังมิไดมีการแกไขปรับปรุงวิธีการหลังจากที่เกิดอุบัติเหตุไปแลวแสดงวามาตรการการควบคุมเพื่อลดอุบัติเหตุยังใชไมได

8.2.7 การตรวจสุขภาพและปริมาณสารเคมีท่ีปนเปอนในบรรยากาศ 8.2.7.1 การตรวจสุขภาพ ของคนงานเปนประจํา เปนอีกขั้นตอนหนึ่งของ

การปองกันอันตรายที่เกิดจากพิษของสารเคมี ในกฎหมายแรงงานขอ 65 หมวด 7 เร่ืองสวัสดิการไดกําหนดหนาที่ของผูวาจางใหทําการตรวจโรคเนื่องจากการทํางานใหกับลูกจางปละไมนอยกวา 1 คร้ังและตรวจโรคใหกับลูกจางกอนเขาทํางานดวย การตรวจสุขภาพจะเปนการปองกันโรคที่เกิดจากการทํางานโดยเฉพาะอยางยิ่งที่เกิดจากสารเคมีเพราะโรคเหลานี้รักษาใหหายยากถาปลอยใหเปนมาก ดังนั้นการวินิจฉัยโรคในระยะเริ่มตนจะชวยใหรักษาไดงายขึ้น อนึ่ง การตรวจสุขภาพกอนเริ่มทํางานนั้นก็เพื่อใหแนใจวาไมไดเปนโรคที่เกิดจากการทํางานมาจากที่อ่ืนและเมื่อไมพบแตภายหลังเกิดเปนโรคก็จะทําใหแนใจไดมากขึ้นวาเปนโรคที่เกิดจากการทํางานในที่ใหม การตรวจสุขภาพจะชวยเตือนอันตรายในระยะตนได เชน สถิติตัวเลขผูปวยดวยโรคเดียวกัน ในลักษณะงานเดียวกันยอมแสดงถึงสาเหตุอันเดียวกันและมีความจําเปนรีบดวนที่จะตองหาสาเหตุและวิธีแกไข ผลจากการตรวจอาการนี้ ตองนํามาประเมินดวยความระมัดระวัง เพราะมักจะมีปญหาในการสรุป สถิติตัวเลขจะบงถึงโรคที่เกิดจากการทํางานได เปนตนวา พบคนงานทําหนาที่พนสี 1 คนเปนโรค

Page 50: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 43

ปอดเรื้อรังจากจํานวน 20 คนคงจะสรุปทันทีไมไดวาเกิดจากสภาพการทํางาน แตถาใน 20 คนพบวาเปนโรคเดียวกันเสีย 10 คน ดังนี้จะสรุปไดแนชัดอยางไมมีขอสงสัยวาโรคนี้เกิดจากการไดรับสารเคมีขณะทํางาน เมื่อพบวาคนงานกลุมหนึ่งเปนโรคเพราะสารเคมีตองสืบหาตอไปวาคือสารอะไร เพื่อหาทางแกไขอาจจะตองมีการปรับปรุงระบบระบายอากาศ อาจจะตองเปลี่ยนใชสารตัวอ่ืนที่ไมเปนพิษหรืออาจหมายถึงการเปลี่ยนขบวนการเลยก็ได

8.2.7.2 การสํารวจปริมาณสารเคมีท่ีปนเปอนในบรรยากาศ ก็ใชเปนสัญญาณเตือนภัยไดเพราะผูที่ทํางานอยูในบรรยากาศที่มีสารเคมีฟุงกระจายเปนประจํายอมจะไดรับพิษจากสาร เมื่อความเขมขนของสารตัวหนึ่งตัวใดสูงเกินกวาที่กําหนดตามกฎหมายจะไดรีบแกไขไดทันทวงที นอกจากนี้เมื่อเกิดอุบัติเหตุทุกครั้งจะตองมีการบันทึกเหตุการณ วิเคราะหหาสาเหตุและหาทางปองกัน ดังนั้น การสอบสวนโดยการซักถาม จึงเปนอีกขั้นตอนหนึ่งในเรื่องของการปองกันอุบัติเหตุ การสอบถามนั้นตองไมทําใหผูถูกถามรูสึกวากําลังจะถูกจับผิด ควรซักถามหลาย ๆ คนที่อยูใกลที่เกิดเหตุรวมทั้งตัวผูไดรับบาดเจ็บดวย จุดประสงคของการสอบสวนก็เพื่อหาสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุหรือความไมปลอดภัยในการทํางานเพื่อหาทางปองกัน เชน การแกไขขอบกพรอง ฝกคนงานและเขมงวดกับคําสั่ง รายงานการสอบสวนนี้อาจะเปนที่ตองการของหลายฝาย ผูคุมโรงงานอาจตองการเพื่อช้ีแจงตอฝายบริหาร ตอกรมแรงงาน ตอตํารวจหรือตอบริษัทประกันภัย อันตรายที่เกิดขึ้นหลายครั้งพบวามักเปนเพราะตัวคนงาน การแกไขปองกันอยูที่การเขาใจสาเหตุ ถาเขาทําเพราะไมรูก็ควรจะไดมีการแนะนําผลดีผลเสียใหเขาใจ เลาถึงเหตุผลและความจําเปนที่จะตองทําเชนนั้น ดังนั้นความรูเกี่ยวกับอันตรายของสารเคมีจึงจะเปนประโยชนแตไมทําใหเกิดความกลัวจนไมกลาทําอะไร

อยางไรก็ตาม การตรวจสุขภาพและสํารวจปริมาณสารเคมีนี้คงจะทําใหเฉพาะในโรงงานใหญ ส่ิงที่นาเปนหวง คือ ตามโรงงานเล็ก ๆ ประเภทอุตสาหกรรมในครัวเรือนสภาพการทํางานมักจะไมไดมาตรฐาน คนงานเปนผูรับเคราะห เขาอาจจะไมทราบถึงสิทธิที่เขาควรจะเรียกรองได 8.2.8 การสงเสริมเพื่อใหตระหนักถึงความสําคัญของการปองกัน หลักการขั้นสุดทายของการปองกันอุบัติเหตุก็คือ การสงเสริมเพื่อใหทุกคนเห็น

ความสําคัญของการปองกันกระตุนเตือนถึงอันตราย การทํางานดวยความปลอดภัยเปนเรื่องท่ีควรทําเพราะเห็นประโยชน ไมควรเปนเรื่องของการบังคับ ดังนั้นการสงเสริมจะเปนการชวย

Page 51: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 44

ปลูกฝงเจตนคติที่ดีตอการทํางานดวยความปลอดภัย การสงเสริมนั้นทําใหหลายวิธี เชน จัดทําประกาศคําขวัญ คําเตือน ภาพโปสเตอร อาจจัดใหมีการประกวด ออกแบบโปสเตอรคําขวัญ ประกวดเขียนเรียงความเรื่องความปลอดภัย มีรางวัลการรักษาความสะอาด หรือความเปนระเบียบในหนวยงานตาง ๆ การสงเสริมนี้ควรริเร่ิมมาจากฝายบริหาร จะชวยใหกําลังใจแกผูทํางานวาฝายบริหารก็เอาใจใสในสวัสดิภาพของตน มิไดถูกทอดทิ้งหรือละเลย ซ่ึงจะทําใหขวัญและประสิทธิภาพในการทํางานของคนงานดีขึ้นดวย 8.3 การปองกันพิษจากสารเคมีเขาสูรางกาย เนื่องจากสารเคมีเขาสูรางกายได 3 ทาง คือ ทางปาก จมูกและทางผิวหนัง เราจึงสามารถหา

วิธีปองกันไดโดย 8.3.1 การปองกันสารเคมีเขาทางปาก การหลีกเลี่ยงการรับประทานและสูบบุหร่ี

ในบริเวณที่มีการใชสารเคมี อยาหยิบอาหารใสปากโดยไมลางมือ ไมรับประทานอาหารหรือดื่มในบริเวณที่อาจมีสารเคมีตกคางอยู

8.3.2 การปองกันสารเคมีเขาทางจมูก อาจหลีกเลี่ยงยาก จําเปนตองใชอุปกรณชวย เชน หนากากกรองอากาศและดึงสารพิษ และเครื่องชวยหายใจ สําหรับหนากากกรองอากาศ และเครื่องชวยหายใจนั้นมีหลายขนาดเหมาะกับงานตางชนิดกัน การกรองอากาศจะตองใหมี ออกซิเจนอยางนอยรอยละ 16 ในอากาศและกันอนุภาคตามชนิดที่ออกแบบไวให เชนชนิดที่กัน aerosol จะไมกันไอหรือกาซ

8.3.3 การปองกันสารเคมีสัมผัสผิวหนัง อันตรายจากอุตสาหกรรมเกิดกับผิวหนังเปนสวนใหญ เครื่องปองกันเชนหนากากและถุงมือตองใชใหเหมาะกับงาน สารบางชนิดไชทะลุเครื่องปองกันเหลานี้ได เมื่อสะสมอยูจะคอย ๆ ซึมผานเขาไปจนถึงผิวหนัง ไมมีเสื้อผาชนิดใดที่จะปองกันการซึมเขาไดทั้งหมดเพราะตองมีทางใหเหงื่อซึมออกไดมิฉะนั้นจะทํางานไมได เคร่ืองปองกันจึงตองไดรับการดูแลรักษาความสะอาดดวย การใชครีมทาผิวตองเปนชนิดที่สารซึมผานไมไดจะชวยปองกันการซึมเขาสูผิวหนัง แตก็มีขอควรระวังเพราะครีมอาจเปนที่สะสมสารได การนวด บีบและจับขณะทํางาน เชน จับเครื่องมือจะทําใหสารเขาสูขุมขนได ยิ่งจะเพิ่มอันตรายแทนที่จะชวยปองกัน อีกประการหนึ่ง คนที่ใชครีมมักคิดวาเมือ่ใชครีมก็ปองกันเพียงพอแลวจึงไมระวัง ไมลางมือ ถึงแมจะใชครีมก็ยังตองมีการรักษาความสะอาดอยางปกติ การลางมือบอย ๆ จะชวยปองกันไดมาก การลางมิไดหมายความแตเพียงจุมมือลงในอางน้ําเทานั้นแตหมายถึงการใชน้ํามาก ๆ ลางใหหมดจด

เคร่ืองปองกันผิวหนังนั้นใชวัสดุหลายชนิดแลวแตประเภทของสารหรือส่ิงที่จะปองกัน เสื้อหนังใชกันแรใยหิน (Asbestos) ความรอน รังสี อินฟราเรดและอุลตราไวโอเลต

Page 52: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 45

ได งานบางชนิดอาจจําเปนตองมีรองเทาหุมขอสําหรับปองกัน ผากันเปอนที่เปนยางหรือพลาสติกพวกยางเทียม (Neoprene) ชวยกันการกระเด็นของสารเคมีถูกตัวได งานที่ตองสัมผัสกับตัวทําละลายจะตองใชถุงมือ ถุงมือผาใบใชกับงานเบา ๆ ที่ไมมีการฉีกขาดงายแตถางานที่ทําใหเกิดการฉีกขาดไดงายควรใชถุงมือหนังและยังตองคํานึงถึงอุณหภูมิและความเขมขนของสารดวยเพราะถุงมือบางชนิดทนกรดได แตมิไดหมายความวาจะทนกรดเขมขน พลาสติกหรือยางบางชนิดอาจใชไมไดกับอุณหภูมิสูง แวนตานิรภัยเปนอุปกรณจําเปนอีกอยางหนึ่งซึ่งมีหลายชนิด

เมื่อเสร็จงานกอนถอดเครื่องปองกันเหลานี้ควรฉีดน้ําลางกอนไมวาจะมีการหกเปอนหรือไม การถอดควรถอดตามลําดับ ดังนี้ รองเทา ผาคาดหรือเสื้อคลุมกันเปอน หมวกแลวจึงถอดถุงมือ อุปกรณเหลานี้ใหเก็บไวที่โรงงาน ถาเปนชนิดที่ทิ้งไดก็ทิ้งไป การนําออกจากโรงงานอาจเกิดอันตรายได

8.4 อุปกรณปองกันอันตรายจากสารเคมี 8.4.1 อุปกรณความปลอดภัยท่ีควรมี ไดแก

เคร่ืองปองกันสวนบุคคล • ถังอากาศชวยหายใจและหนากากชวยหายใจ • หนากากปองกันหนาหรือเครื่องปดจมูก • ชุดใสกันสารเคมีหรือเสื้อคลุมกันเปอน • หมวกกันนิรภัย (ไมควรเปนโลหะ) • แวนตานิรภัย • รองเทาหรือบูทยางชนิดหัวเสริมนิรภัย • ถุงมือยาง เปนตน

เคร่ืองมือเพื่อความปลอดภัยจากเหตุฉุกเฉิน • ฝกบัวสําหรับอาบน้ําฉุกเฉิน • อางน้ําพุสําหรับลางตา • อางสําหรับลางมือ • กลองปฐมพยาบาลเบื้องตน • เครื่องดับเพลิงสําหรับสารเคมีทุกประเภทที่มีในโรงงาน • ผาหมหรือเสื้อคลุมกันไฟ เปนตน

Page 53: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 46

8.4.2 ตูยา หากสถานที่ใดไมสามารถจัดหาหองปฐมพยาบาลไดก็ควรมีตูยาไว ในตูยาควรมีของใชและยาที่จําเปน ที่ใดมีการใชสารเคมีมากก็นาจะมียาแกพิษดวย ส่ิงของที่ควรมีในตูยาไดแก

กรดอะซิติค ความเขมขนรอยละ 5 สารละลายโซเดียมคารบอเนต ความเขมขนรอยละ 5

ยาลางตาพรอมดวยถวยลางตา ยาใสแผลสด ยาแกปวด

ยาแกพิษ ยาทาแผลไฟไหมน้ํารอนลวก ยาหมอง ยาหอมและยาดมสําหรับเวลาหมดสติ แอลกอฮอลลางแผลและยาฆาเชื้อโรค

ผาพันแผล กรรไกรและพลาสเตอรปดแผล สําลีและผากลอสที่ฆาเชื้อแลว น้ํามันตางๆสําหรับฆาเชื้อ ทาเมื่อถูกของรอน เปนตน อุปกรณชวยในการหายใจ (ถามีการใชกาซพิษ)

ตูยานี้ตองติดตั้งในที่หยิบงาย ไมมีอะไรบัง เปดใชไดเมื่อตองการและเติมของใชใหเต็มทุกครั้งที่นําออกไปใช ตูยานี้มิใชมีไวแทนหมอแตสําหรับชวยเหลือขณะที่หมอยังมาไมถึง

[[99]] แนวทางปฏิบัติงานในโกดังหรือรานเก็บสารเคมีแนวทางปฏิบัติงานในโกดังหรือรานเก็บสารเคมี

9.1 หนาท่ีของผูจัดการ หนาที่ความรับผิดชอบของผูจัดการโกดังหรือรานเก็บสินคาคือการตระหนักดีถึงความในใจตอพันธะความรับผิดชอบดังตอไปนี้

1. การจัดถือผลิตภัณฑสารเคมี การรับ/จายตลอดจนการควบคุมดูแลปริมาณตองทําดวยความระมัดระวังและระลึกถึงความปลอดภัยอยูเสมอ

2. การดูแล เร่ืองสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย ของคนที่ปฏิบัติงานทุกคน 3. การฝกอบรม เพื่อใหความรูความเขาใจแกพนักงาน เจ าหนาที่ อยางมี

ประสิทธิภาพและสม่ําเสมอ

Page 54: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 47

4. การดูแลรักษาสภาพของโกดังหรือรานคาใหอยูในสภาพดีมีความปลอดภัยอยูเสมอ

5. การวางแผนและซักซอมแผนปฏิบัติการเมื่อเกิดกรณีฉุกเฉินตลอดจนการปองกันอัคคีภัยและการติดตอขอความชวยเหลือเมื่อเกิดไฟไหม

9.2 การฝกอบรมพนักงาน ไมเพียงแตเจาของและ/หรือผูดําเนินกิจการเทานั้นที่ตองไดรับบริการฝกอบรม

คนงาน พนักงานหรือแมแตบุคคลอื่นที่ตองเขาไปในบริเวณเก็บรักษาสารเคมีก็ควรไดรับการ อบรมใหมีความรูความเขาใจถึงสิ่งตอไปนี้

1. อันตรายของสารเคมี 2. หลักการโดยทั่วไป เกี่ยวกับการปฏิบัติงานและการใชเครื่องมืออยางปลอดภัย 3. ขอปฏิบัติในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน ความรูความเขาใจเหลานี้จะทําใหผูปฏิบัติงานทํางานดวยความระมัดระวังอันจะทําให

เกิดความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น 9.3 การเตรียมพรอมรับเหตุการณฉุกเฉิน

1. ควรมีอุปกรณเครื่องดับเพลิงที่อยูในสภาพใชการได จัดอยูในบริเวณที่หยิบใชไดสะดวกไมมีส่ิงกีดขวาง มีการทดสอบประสิทธิภาพของเครื่องดับเพลิงและการทบทวนฝกหัดหรือซอมใหผูที่เกี่ยวของเขาใจการใชอยูเสมอ

2. ควรมีถังทราย ดิน หรือข้ีเล่ือย พรอมอุปกรณจําเปนเพื่อใชในการชะลาง กรณีสารเคมีหก ควรวางอยูใกลกับสารเคมีพรอมที่หยิบใชไดทันทวงที ทั้งนี้รวมทั้งอุปกรณปองกันสวนบุคคล เชน เสื้อคลุม ถุงมือ รองเทาบูท และหนากากดวย

3. ควรงดการสูบบุหร่ีภายในโกดังและมีปายแสดงหามสูบบุหร่ีติดอยูเพื่อเตือนบุคคลที่เขาไปในบริเวณดวย และเพื่อความระมัดระวังแกบุคคลที่ไมคุนเคยกับสถานที่ ควรมีปายเขียนวา “อันตราย สถานที่เก็บวัตถุมีพิษ” ติดไวบริเวณหนาโกดังอยางชัดเจนเพื่อเตือนดวย

4. จัดแสดงปายรายชื่อสถานที่สําคัญที่จะติดตอไดเมื่อตองการความชวยเหลือในกรณีฉุกเฉิน เชน สถานีตํารวจดับเพลิง โรงพยาบาล หรือสถานพยาบาลหรือแมแตบริษัทผูผลิต/จําหนายผลิตภัณฑ เพื่อติดตอสอบถามในกรณีจําเปนตองทราบรายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ

5. ควรมีอางลางมือไวใกลบริเวณเพื่อใชชะลางไดทันที่เมื่อจําเปน 6. ควรมีกอกน้ําและสายยางไวในบริเวณ เพื่อใชลางหรือดับเพลิงเมื่อตองการ

Page 55: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 48

7. ควรติดตั้งสัญญาณเตือนภัยเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน เชน เครื่องดักควันไฟ เปนตน 9.4 การรับ-จายผลิตภัณฑ

เมื่อมีการรับของเขาสูโกดังหรือรานคาควรปฏิบัติ ดังนี้ 1. ตรวจดูปริมาณและชนิดของผลิตภัณฑ ใหตรงกับเอกสารประการขนสง 2. ผลิตภัณฑทุกขวดหรือหีบหอตองมีฉลากกํากับชัดเจน ถาฉลากหลุดตองจัดการ

ปดใหม หรือสงคืนถาไมแนใจวาเปนผลิตภัณฑชนิดใด 3. ถามีการหกหรือแตกตองจัดการทันที โดยแยกผลิตภัณฑชนิดเดียวกันที่ยัง

เหลืออยูออกไป 4. จําหนายและใชผลิตภัณฑที่สงมาครั้งแรกใหหมดกอน ทั้งนี้ เพื่อปองกันปญหา

ผลิตภัณฑหมดอายุหรือคางจําหนาย 9.5 การจัดวางผลิตภัณฑ

การจัดวางผลิตภัณฑในโกดัง หรือรานคาควรถือหลักปฏิบัติดังนี้ 1. ควรแยกการเก็บผลิตภัณฑสารเคมีออกจากผลิตภัณฑบริโภค ถาแยกสถานที่เก็บ

ไมไดอยางนอยก็ควรแยกบริเวณจากกันใหเปนสัดสวน เพื่อปองกันอันตรายซึ่งอาจเกิดขึ้นเมื่อมีการปะปนในอาหาร

2. ควรแยกผลิตภัณฑสารเคมีออกเปนหมวดหมูใหชัดเจนโดยเฉพาะสารที่เขากันไมไดเพื่อปองกันการหยิบผลิตภัณฑผิดประเภทหรือการหกรดปนเปอน และการสัมผัสกันของสารที่เขากันไมได

3. การจัดวางไมควรซอนสูงจนเกินไปเพราะอาจเกิดอันตรายเมื่อมีการลมและไมสะดวกกับการหยิบเขาออก ถาจําเปนตองมีการวางซอนเพราะตองการประหยัดเนื้อที่ควรจัดใหมีช้ันวางที่มีโครงสรางแข็งแรง ไมควรวางซอนบนลังโดยตรง เพราะลังหรือภาชนะบรรจุอาจแตกเสียหายได การวางโดยจัดบนชั้น นอกจากดูเปนระเบียบแลวยังสะดวกในการหยิบเขาออกและปลอดภัยจากการลมพังลงมา

4. ควรจัดวางแถวเรียงใหเปนระเบียบมีชองทางเดินเขาไปปฏิบัติงานไดสะดวกและสังเกตเห็นความผิดปกติเมื่อมีการแตกซึมหรือร่ัวไหลไดงาย

5. ควรจัดวางผลิตภัณฑตามลําดับวันที่ไดรับกอนหลัง เพื่อใหเวลาหยิบออกจําหนายผลิตภัณฑที่มากอนจะหยิบออกไปกอน

6. ผลิตภัณฑทุกชิ้นตองมีฉลากกํากับอยู ถาพบวาฉลากหลุดหรือชํารุดตองจัดการแกไขทันที ภายในโกดังหรือรานไมควรมีสินคาที่ไมมีฉลากเลย

Page 56: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 49

7. ไมควรแบงบรรจุผลิตภัณฑเอง ถาตองการขนาดบรรจุเล็กลงควรปรึกษาบริษัทผูผลิตสินคานั้น ๆ ใหจัดขนาดบรรจุที่ตองการ การแบงบรรจุผลิตภัณฑเองอาจกอใหเกิดอันตรายตอผูปฏิบัติการไดโดยเฉพาะถาผูทํางานขาดความรูและเครื่องมือที่ไมเหมาะสมและการแบงบรรจุโดยไมไดรับอนุญาติเปนสิ่งที่ผิดกฎหมาย

9.6 การจัดการเมื่อเกิดการปนเปอนและการกําจัดของสารเคมี เมื่อพบวามีการหกรั่วซึมภายในโกดังหรือรานคา ผูประกอบการควรจัดการทันทีโดย

ใชแนวทางปฏิบัติดังตอไปนี้ 1. เมื่อสินคาประเภทของเหลวหก อยาใชน้ําลาง โดยเฉพาะเมื่อหกเปนปริมาณมาก

ควรซับเสียกอนดวยทราย ขี้เล่ือย ฟองน้ํา หรือผาขี้ร้ิว แลวเก็บรวบรวมสิ่งดูดซึมนี้ไวในที่ปลอดภัยเพื่อรอการกําจัดตอไป เมื่อแหงแลวจึงลางรอยเปอนดวยน้ําและสบูหรือผงซักฟอกตอไป ควรซับน้ําลางอีกครั้งอยาปลอยใหลางลงสูดินหรือแพรกระจายปนเปอนไป

2. สําหรับสินคาที่เปนผงหรือเม็ด ถาหกปริมาณเล็กนอยควรกวาดหรือใชเครื่องดูดฝุนทําความสะอาดดวยความระมัดระวังอยาเกิดฝุนฟุงกระจายในบรรยากาศ ถาหกมากและเห็นวาสินคาที่หกยังใชไดอยูใหใชอุปกรณที่ตักขี้ผงตักขึ้นรวมกันไดแตไมควรรวมกับสินคาที่เหลือ รอยเปอนใหลางดวยน้ําและสบูตอไป

3. ส่ิงสกปรกปนเปอน เชน ผา หรือฟองน้ําที่ใชระหวางการทําความสะอาด ภาชนะบรรจุผลิตภัณฑที่ใชแลว ควรทําลายเสียเองทันที อยาทิ้งรวมไปกับขยะมูลฝอยประจําวัน การทําลายอาจใชวิธีเผาโดยใชความรอนสูงหรือขุดหลุมฝงเสีย ภาชนะที่ตองการทําลายควรทุบทําลายใหหมดสภาพการใชงานเพื่อปองกันการนําไปใชตอ

Page 57: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 50

ภาคผนวก

Page 58: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 51

ตัวอยางสารเคมีท่ีเปนอันตรายตออวัยวะของรางกายโดยตรง เชน อวัยวะ สารเคมี

ผิวหนัง อะลูมิเนียมคลอไรด (ปราศจากน้ํา) อะมิโนฟนอล แอมโมเนียมซลัไฟด แอซีติกแอนไฮไดรด เบนซีนซัลโฟนิลคลอไรด เบนซิลโบรไมด โบรโมเบนซีน บิวทิลแอซีเตต บิวทิลแอลกอฮอล เอทิลีนไดออกไซด กรดเฮกซาโนอิก ไฮโดรเจนฟอรออกไซด ไฮโดรเจนแฮไลด เมทิลามีน นิกเกิล ไนโตรอะนิลีน ฟอสฟอรัสเพนทะออกไซด โซเดียมซัลไฟด ปอด อะคาลดีไฮด แอลลิลโบรไมด แอลลิลแอลกอฮอล เบนซิลคลอไรด โบรอนไตรฟลูออไรด โบรโมมีเทน 2-บิวทาโนน กรดคลอโรซัลโฟนิก ไดเมทิลซัลเฟต ฟอสฟอรัสเพนทะคลอไรด

Page 59: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 52

อวัยวะ สารเคมี ฟอสฟอรัสไตรคลอไรด ไฮโดรเจนซัลไฟด 2, 4, 5-ไตรคลอโรฟนอล ระบบหายใจ แอซีติลโบรไมด แอซีติลแอซีโตน กรดแอซีติก แอซีติกแอนไฮโดรด แอซีติลคลอไรด แอมโมเนีย พารา-เบนโซควิโนน เบนซิลโบรไมด โบรมีน โครเมียมไตรออกไซด ครีซอล ไซโคลเฮกเซน ไซโคลเฮกซานอล ไซโคลเฮกซาโนน อีเทนไทออล เอทิลแอซีเตต ฟลูออรีน เฮกเซน ไฮโดรเจนแฮไลด เมทิลามีน ไนโตรอีเทน กรดออกซาลิก ฟนอล ฟอสฟอรัสเพนทะคลอไรด ฟอสฟอรัสไตรคลอไรด ดีบุก (IV) คลอไรด

Page 60: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 53

อวัยวะ สารเคมี โซเดียมเพอรออกไซด ตา แอซีติลโบรไมด กรดแอซีติก แอซีติกแอนไฮไดรด แอซีโตร แอซีติลคลอไรด แอลลิลคลอไรด แอลลิลโบรไมด แอลลิลแอลกอฮอล แอมโมเนีย แอมโมเนียมซลัไฟด อะนิลีน เบนซีน พารา-เบนโซควิโนน เบนซิลโบรไมด เบนโซอิลเพอรออกไซด เบนโซอิลคลอไรด โบรมีน โบรโมเบนซีน คลอโรฟอรม โครเมียมไตรออกไซด ครีซอล ไซโคลเฮกซาโนน ไดเมทิลซัลเฟต อีเทนไทออล เอทิลแอซีเตต ฟลูออรีน กรดฟอรมิก ไฮโดรเจนเพอรออกไซด

Page 61: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 54

อวัยวะ สารเคมี ไฮโดรเจนแฮไลด ไอโอดีน เมทิลามีน ไนโตรอีเทน กรดออกซาลิก ฟนอล ฟอสฟอรัสเพนทะคลอไรด ฟอรฟอรัสไตรคลอไรด โซเดียมเพอรออกไซด โซเดียมซัลไฟด กรดซัลฟวริก โทลูอีน ตับ โบรโมอีเทน เอทิลแอซีเตต เพนทะคลอดรอีเทน ไซลีนอล 2, 4, 5-ไตรคอลโรฟนอล หัวใจ อะนิลีน สมอง แอซีตาลดีไฮด แอซีโตน แอลลิลคลอไรด แอมโมเนียมซลัไฟด อะนิลีน โบรโมอีเทน เบนซีน คารบอนเททระคลอไรด คารบอนไดซัลไฟด เอทิลามีน คลอโรฟอรม

Page 62: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 55

อวัยวะ สารเคมี ไฮโดรเจนซัลไฟด เอ็น-เมทิลอะนิลีน เอ็น-เมทิลอะนิลีน เมทอกซีเอทานอล โพรเพน-2-ออล เพนทะคลอโรอีเทน ไตรเมทิลามีน ไพริติน ไต แอลลิลแอลกอฮอล เอทิลแอซีเตต ไซลีนอล 2, 4, 5-ไตรคลอโรฟนอล เลือด แอซีตาลดีไฮด เบนซีน คารบอนโมนอกไซด เอ็น-เอทิลอะนิลีน 2-เมทอกซีเอทานอล เอ็น-เมทิลอะนิลีน เพนทะคลอโรอีเทน ไซลีน

Page 63: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 56

ตัวอยางสารเคมีท่ีผสมกันไมได เชน สารเคมี ไมควรผสมกบั

กรดแอซีติก กรดโครมิก กรดไนทริก สารประกอบไฮดรอกซิล เอทิลีนไกลคอล กรดเพอรคลอริก เพอรออกไซด เพอรแมงกาเนต แอซีติลีน คลอรีน โบรมีน ทองแดง ฟลูออรีน เงิน ปรอท โลหะแอลคาไล น้ํา เททระคลอโรมีเทน (หรือคลอไร

ไฮโดรคารบอนอื่น ๆ) คารบอนไดออกไซด แฮโลเจน แอมโมเนีย (ปราศจากน้ํา) ปรอท คลอรีน แคลเซียม ไฮโปคลอไรต ไอโอดีน โบรมีน กรดไฮโรฟลูออริก (ปราศจากน้ํา) แอมโมเนียไนเทรต กรด ผงโลหะ ของเหลวไวไฟ

Page 64: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 57

สารเคมี ไมควรผสมกบั คลอเรต ไนไทรต กํามะถัน อะนิลีน กรดไนทริก ไฮโดรเจนเพอรออกไซด โบรมีน แอมโมเนีย แอซีติลีน บิวทะไดอีน บิวเทน มีเทน โพรเพน หรือกาซปโตรเลียมอื่น ๆ ไฮโดรเจน โซเดียมคารไบด เทอรเพนทีน เบนซีน คารบอน (กอกัมมันต) แคลเซียมไฮโปคลอไรต ตัวออกซิไดสตาง ๆ คลอเรต เกลือแอมโมเนียม กรด ผงโลหะ กํามะถัน กรดโครมิก กรดแอซีติก แนพทาลีน การบูร กลีเซอริน เทอรเพนทีน แอลกอฮอล ของเหลวไวไฟ คลอรีน แอมโมเนียม

Page 65: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 58

สารเคมี ไมควรผสมกบั แอซีติลีน บิวทะไดอีน บิวเทน มีเทน โพรเพนหรือกาซปโตรเลียมอื่น ๆ ไฮโดรเจน โซเดียมคารไบด เทอรเพนทีน เบนซีน คลอรีนไดออกไซด แอมโมเนีย มีเทน ฟอสฟน ไฮโดรเจนซัลไฟด ทองแดง แอซีติลีน ไฮโดรเจนเพอรออกไซด ของเหลว ไวไฟ แอมโมเนียมไนเทรต กรดโครมิก ไฮโดรเจนเพอรออกไซด กรดไนทริก โซเดียมเพอรออกไซด แฮโลเจน ไฮโรคารบอน (โพรเพน บิวเทน เบนซีน กาซโซลีน เทอรเพนทีน ฯลฯ)

ฟลูออรีน

คลอรีน โบรมีน กรดโครมิก โซเดียมเพอรออกไซด กรดไฮโดรไซยานิก กรดไนทริก แอลคาไล

Page 66: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 59

สารเคมี ไมควรผสมกบั กรดไฮโดรฟลูออกริก (ปราศจากน้ํา) แอมโมเนีย (ปราศจากน้ําหรือเปน

สารละลาย) ไฮโดรเจนเพอรออกไซด ทองแดง โครเมียม เหล็ก โลหะอื่น ๆ เกอืบทุกชนิดหรือเกลือของ

โลหะ แอลกอฮอล แอซีโตน สารอินทรีย อะนิลีน ไนโตรมีเทน ของเหลวที่ไวไฟ สารติดไฟตาง ๆ ไฮโดรเจนซัลไฟด กรดไนทริก กาซออกซิไดส ไอโอดีน แอซีติลีน แอมโมเนีย (ปราศจากน้ําหรือเปน

สารละลาย) ไฮโดรเจน ปรอท แอทซีติลีน แอมโมเนีย กรดฟุลมินิก กรดไนทริก (เขมขน) กรดแอซีติก อะนิลีน กรดโครมิก กรดไฮโดรไซยานิก ไฮโดรเจนซัลไฟด ของเหลว ไวไฟ

Page 67: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 60

สารเคมี ไมควรผสมกบั กาซ ไวไฟ กรดออกซาลิก เงิน ปรอท กรดเพอรคลอริก แอซีติกแอนไฮโดรด บิสมัทและโลหะผสมของบิสมัท แอลกอฮอล กระดาษ ไม โพเทสเซียม เททระคลอโรมีเทน คารบอนไดออกไซด น้ํา โพแทสเซียมคลอเรต กรดซัลฟูริค และกรดอืน่ ๆ โพแทสเซียมเพอรืแมงกาเนต กลีเซอริน เอทิลีนไกลคอล เบนซาลดีไฮด กรดซัลฟูริค เงิน แอซีติลีน กรดออกซาลิก กรดทาทาริก สารประกอบแอมโมเนียม โซเดียม เททระคลอโรมีเทน คารบอนไดออกไซด น้ํา โซเดียมเพอรออกไซด เอทิลหรือเมทิลแอลกอฮอล กรดแอซีติกลวน แอซีติกแอนไฮไดรด เบนซาลดีไฮด คารบอนไดซัลไฟด กลีเซอริน

Page 68: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 61

สารเคมี ไมควรผสมกบั เอทิลีนไกลคอล เอทิลีนแอซีเตต เมทิลแอซีเตต เฟอรฟวราล กรดซัลฟูริค โพแทสเซียมคลอเรต โพแทสเซียม เพอรคลอเรต โพแทสเซียมเพอรแมงกาเนต

Page 69: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 62

ตัวอยางสารไวไฟ เชน สารเคมี จุดวาบไฟ (°C) สมบัต ิ

แอซีตาล -20 ไวไฟมาก แอซีตาลดีไฮด -38 ไวไฟมาก กรดแอซีติก 43 ไวไฟ แอซีติกแอนไฮโดรด 54 ไวไฟ แอซีโตน -18 ไวไฟมาก แอซีโตไนไทรล 6 ไวไฟมาก แอซีติลแอซีโตน 34 ไวไฟ แอซีติลีน - ไวไฟมาก อะโครลีน -26 ไวไฟมาก แอลลิลแอลกอฮอล 21 ไวไฟมาก แอลลิลโบรไมด -1 ไวไฟมาก แอลลิลคอลไรด -32 ไวไฟมาก แอลลิลไอโอไดต <21 ไวไฟมาก แอมิลแอลกอฮอล 19-43 ไวไฟ ไอโซ-แอมิลไนเทรต 10 ไวไฟมาก เบนซีน -11 ไวไฟมาก เบนซิลามีน 63 ไวไฟ เบนซิลคลอไรด 60 ไวไฟ โบรโมเบนซีน 51 ไวไฟ บิวทะ-1, 3-ไดอีน -7 ไวไฟมาก บิวเทน -60 ไวไฟมาก บิวเทน-2-ออล 24-29 ไวไฟ 2-บิวทาโนน -7 ไวไฟมาก บิวทิลแอซีเตต 27 ไวไฟมาก บิวทะลอะครีเลต 49 ไวไฟ คารบอนไดซัลไฟด -30 ไวไฟมาก คลอโรเบนซีน 29 ไวไฟ คลอโรอีเทน -50 ไวไฟมาก

Page 70: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 63

สารเคมี จุดวาบไฟ60 (°C) สมบัต ิ2-คลอโรเอทานอล 60 ไวไฟ คลอโรมีเทน 0 ไวไฟมาก คลอโรโพรเพน -18 ไวไฟมาก คลอโรแอลดีไฮด 13 ไวไฟมาก ไซโคลเฮกเซน -20 ไวไฟมาก ไซโคลเฮกซานอล 68 ไวไฟ ไซโคลเฮกซาโนน 44 ไวไฟ ไซโคลเฮกซีน -60 ไวไฟมาก ไซโคลเฮกซิลามีน 32 ไวไฟ ไดบิวทิลอีเทอร 25 ไวไฟ 1, 2-ไดคลอโรอีเทน 13 ไวไฟมาก ไดเอทิลามีน -26 ไวไฟมาก ไดไอโซบิวทลีิน 22 ไวไฟมาก ไดไอโวโพรพลิามีน -1 ไวไฟมาก ไดเมทิลอีเทอร -41 ไวไฟมาก 1, 4- ไดออกเซน 12 ไวไฟมาก อีเทนไทออล 21 ไวไฟมาก เอทานอล 12 ไวไฟมาก เอทิลแอซีเตต -4.4 ไวไฟมาก เอทิลเบนซีน 15 ไวไฟมาก เอทิลบิวไทเรต 26 ไวไฟ เอทิลีนออกไซด -15 ไวไฟมาก เอทิลฟอรเมต -20 ไวไฟมาก เทิลไนเทรต 10 ไวไฟมาก เฮพเทน -4 ไวไฟมาก เฮกเซน -23 ไวไฟมาก ไฮโดรเจนไซยาไนด -18 ไวไฟมาก ไอโซปรีน -53 ไวไฟมาก ไอโซโพรพิลแอซีเตต 4 ไวไฟมาก

Page 71: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 64

สารเคมี จุดวาบไ-18ฟ (°C) สมบัต ิมีเทนไทออล -18 ไวไฟมาก เมทานอล 10 ไวไฟมาก เมทิลแอซีเตต -9 ไวไฟมาก เมทิลามีน 0 ไวไฟมาก เมทิลฟอรเมต -19 ไวไฟมาก เมทิลโพรพีน -7 ไวไฟมาก ไนโตรมีเทน 35 ไวไฟ พาราลดีไฮด 17 ไวไฟมาก เพนเทน -49 ไวไฟมาก เพนเทน-2-โอน 7 ไวไฟมาก เพททิลแอซีเตต 25 ไวไฟ ปโตรเลียมอีเทอร -17 ไวไฟมาก ไพเพอริดีน 16 ไวไฟมาก โพรเพน -104 ไวไฟมาก โพรพีน -108 ไวไฟมาก โพรพาแนล -9 ไวไฟมาก กรดโพรพิโอนิก 54 ไวไฟ ไพริดีน 20 ไวไฟมาก สะไทรีน 31 ไวไฟ เททระไฮโดรฟวแรน -17 ไวไฟมาก โทลูอีน 4.4 ไวไฟมาก ไตรเอทิลามีน -7 ไวไฟมาก ไวนิลโบรไมด -8 ไวไฟมาก ไซลีน 17 ไวไฟมาก

Page 72: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 65

ตัวอยางสารเคมีบางชนิดที่มีสมบัติกัดกรอนได เชน แอซีติลโบรไมด แอซีติลคลอไรด อะลูมิเนียมคลอไรด (ปราศจากน้ํา) สาระลายแอมโมเนีย สารละลายแอมโมเนียมซัลไฟด เบนซีนซัลโฟนิลคลอไรด เบนโซอิลคลอไรด เบนซิลามีน คลอโรแอซีติบคลอไรด 2-คลอโรเบนซาลดีไฮด กรดคลอโรซัลโฟนิก กรดไดคลอโรแอซีติก 2, 4- ไดคลอโรฟนอล ไดคีเทน กรดไอโอแอซตีิก กรดไอโซบิวไทริก กรดเมอรแคบโตแอซีติก กรดไนทริก ไนโตรเจนเททระออกไซด กรดออรโทฟอสฟอริก กรดออสมิก กรดเพอรคลอริก ฟอสฟอรัสเพนทะคลอไรด ฟอสฟอรัสไตรซัลไฟด ฟอสฟอรัสเพนทะซัลไฟด ฟอสฟอรัสเพนทะซัลไซด ฟอสฟอรัสไตรคลอไรด โพแทสเซียมไฮดรอกไซด

ไดเมทิลซัลเฟต ไดซัลเฟอรไดคลอไรด ฟลูออรีน กรดฟอรมิก กรดฟูมิงซัลฟวริก กรดเฮกซาโนอิก สารละลายไฮดราซีน เกลือไฮดราซีน กรดไฮโดรไอโอดิก กรดไฮโดรโบรมิก กรดไฮโดรคลอริก กรดไฮโดรฟลอูอริก ไฮโดรเจนไซยาไนด เกลือไฮดรอกวิลแอมโมเนยีม เงินไนเทรต โซดาไมด โซเดียมเอทอกไซด โซเดียมเมทอกไซด โซเดียมไฮดรอกไซด สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรด โซเดียมเพอรออกไซด โซเดียมซัลไฟด ซัลเฟอรไดคลอไรด กรดซัลฟูริค ซัลเฟอริลคลอด ไทโอนิลคลอไรด กรดไตรคลอโรแอซีติก ไตรคลอโรแอซีติกคลอไรด

Page 73: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 66

ตัวอยางสารเคมีท่ีใหไอระเหยเปนพิษ เชน แอซีโตไนไทรล แอซีติลโบรไมด แอซีติลคลอไรด อะโครลีน แอลดริน แอลลิลแอลกอฮอล แอลลิลโบรไมด แอลลิลคลอไรด แอลลิลไอโอไดด 2-อะมิโนเอทานอล สารละลายแอมโมเนียมซัลไฟด ไอโซ-แอมิลไนไทรต อะนิลีน เบนซีน เบนโซไนไทรล เบนซิลโบรไมด โบรโมอีเทน บิวทิลแอซีเตต บิวทิลามีน คารบอนไดซัลไฟด คารบอนเททระคลอไรด คลอโรอะนีลีน คลอโรเบนซีน 2-คลอโรเอทานอล คลอโรฟอรม

คลอโรฟนอล คอลโรโพรเพน โครมิลคลอไรด ไซโคลเฮกซิลามีน ไดคลอโรมีเทน 2, 5-ไดคลอโรไนโตรเบนซนี เมทิลโพรพิโอเนต เอ็น, เอ็น-ไดเอทิลอะนิลีน ไดเอทิลอีเทอร เอ็น, เอ็น-ไดเมทิลอะนิลีน ไดเมทิลอีเทอร ไดเมทิลซัลเฟต ไดไนโตรเบนซีน 2, 4-ไดไนโตรโทลูอีน อีเทนไทออล เอ็น-เอทิลอะนิลีน เอทิลเบนซีน ไอโอโดมีเทน 2-เมทอกซีเอทานอล เมทิลแอซีเตต เอ็น-เมทิลอะนิลีน เมทิลฟอรเมต ไนโตรเบนซนี ไนโตรฟนอล ไนโตรโทลูอีน

เพนทะคลอโรอีเทน โพรพิลามีน เททระคลอโรเอทิลีน โทลูอีน

โทลูอิดีน 1, 2, 4-ไตรคลอโรเบนซีน ไวนิลไซยาไนด ไซลีน

Page 74: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 67

ตัวอยางเครื่องหมายเตือนอันตรายจากสารเคมีอันตรายตางๆ

Page 75: ความรู เบื้องต นเกี่ยวกับ การใช สารเคม ี · [2] ประเภทของสารเคมีีอัันตราย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการใชสารเคมี สถาบันผลิตผลเกษตรฯ ม เ ก. ษตรศาสตร 68

เอกสารอางอิงเอกสารอางอิง คณะผูจัดทําคูมือวิทยากร. 2535. คูมือวิทยากรหลักสูตรอบรมผูคาสารเคมีกําจัดศัตรูพืช กรมสงเสริม

การเกษตร, กรมวิชาการเกษตร, สมาคมผูประกอบธุรกจิสารเคมีกําจดัศัตรูพืช, สมาคมผูผลิตสารเคมีเกษตรสากล, กรุงเทพฯ 188 น.

คณาจารยภาควิชาเคมี. 2536. คูมือปฏิบัติการเคมีทั่วไป 1. ภาควิชาเคมี, คณะวิทยาศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ 194 น.

ประเสริฐ ศรีไพโรจน. 2544. เทคนิคทางเคมี. สํานักพิมพประกายพรกึ, กรุงเทพฯ 243 น. ฝายวิเคราะหตวัอยาง กองจดัการคุณภาพน้ํา. 2541. คูมือความปลอดภัยในหองปฏบิัติการ.

กรมควบคุมมลพิษ, กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม, กรุงเทพฯ 28 น. สุชาตา ชินะจติร. 2523. อันตรายจากสารเคมี. สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีปุน), กรุงเพทฯ

120 น.