80
1 บทที่1 บทนํา 1.1 ความสําคัญและที่มาของปญหา ภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและชุมชน คณะศึกษาศาสตรและพัฒนศาสตร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน ไดเปดหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา โดย มีนิสิตรุนแรกในปการศึกษา 2549 ตอมาในปการศึกษา 2554 มีการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตร และสิ่งแวดลอมศึกษา) โดยสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรใหการอนุมัติ และไดเริ่มใชหลักสูตรฉบับปรับปรุง ในป การศึกษา 2554 โดยในปการศึกษา 2556 มีนิสิต 3 ชั้นป ไดแกชั้นปที่ 1 จํานวน 76 คน ชั้นปที่ 2 จํานวน 64 คน และชั้นปที่ 3 จํานวน 69 คน รวมทั้งสิ้นจํานวน 209 คน ทั้งนี้ตามมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา ไดกําหนดไววาตองมีการพัฒนาหลักสูตร ทุก 5 ป และตองทําวิจัยสถาบันเพื่อนําผลการวิจัยมา กําหนดแนวทางในการพัฒนาหลักสูตร ตามขอตกลงดังกลาว ทางหลักสูตรจึงไดมอบหมายใหคณะผูวิจัยจัดทําวิจัย สถาบันนี้ขึ้นในปการศึกษา 2557 เพื่อใหทันกระบวนการพัฒนาหลักสูตรในปการศึกษา 2558 และเปดสอนหลักสูตร ใหมในปการศึกษา 2559 โครงการวิจัยศักยภาพและแนวทางการลงทุนทางการศึกษาสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา จึง เปนวิจัยสถาบันที่ทําใหหลักสูตรไดทราบถึงศึกษาศักยภาพการจัดการเรียนการสอน และประโยชนและตนทุนทางตรง ทางออม ประโยชนตอบุคคลและสังคมจากการใชบริการหลักสูตรที่ผานมา เพื่อเปนแนวทางการลงทุนในการพัฒนา หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาที่เหมาะสมกับศักยภาพและแนวทางการลงทุน ทางการศึกษาที่เอื้อประโยชนกับนิสิต ผูประกอบการ และสังคมตอไป 1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาศักยภาพการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา 2. เพื่อศึกษาแนวทางการลงทุนทางการศึกษาของสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา 1.3 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ผลผลิตของงานวิจัยนี้ คือแนวทางการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรและ สิ่งแวดลอมศึกษา ภายใตขอมูลศักยภาพและแนวทางการลงทุนทางการศึกษาของสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอม ศึกษา รวมถึงขอมูลประโยชนและตนทุนทางการศึกษาทั้งทางตรงและทางออมจากการใชบริการหลักสูตรสาขาเกษตร และสิ่งแวดลอมศึกษา ซึ่งจะนําไปใชเปนแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรไดอยางเหมาะสมและเอื้อ ประโยชนกับนิสิต ผูประกอบการ และสังคมตอไป 1.4 คําศัพทที่ใชในการวิจัย ศักยภาพการจัดการเรียนการสอน ประกอบดวย การจัดการหลักสูตร และสภาพการลงทุนจัดการเรียนการ สอนภายใตหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา) ฉบับปรับปรุง 2554 การลงทุนทางการศึกษา หมายถึง ประโยชนและตนทุนทางการศึกษาทั้งทางตรงและทางออมจากการรับ บริการหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา ทั้งที่เกิดกับผูรับบริการทางการศึกษาและสังคม

บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

  • Upload
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

1

บทที่ 1บทนํา

1.1 ความสําคัญและที่มาของปญหาภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและชุมชน คณะศึกษาศาสตรและพัฒนศาสตร มหาวิทยาลัย

เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน ไดเปดหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา โดยมีนิสิตรุนแรกในปการศึกษา 2549 ตอมาในปการศึกษา 2554 มีการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา) โดยสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรใหการอนุมัติ และไดเร่ิมใชหลักสูตรฉบับปรับปรุง ในปการศึกษา 2554 โดยในปการศึกษา 2556 มีนิสิต 3 ชั้นป ไดแกชั้นปที่ 1 จํานวน 76 คน ชั้นปที่ 2 จํานวน 64 คนและชั้นปที่ 3 จํานวน 69 คน รวมทั้งสิ้นจํานวน 209 คน ทั้งนี้ตามมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา ไดกําหนดไววาตองมีการพัฒนาหลักสูตร ทุก 5 ป และตองทําวิจัยสถาบันเพื่อนําผลการวิจัยมากําหนดแนวทางในการพัฒนาหลักสูตร ตามขอตกลงดังกลาว ทางหลักสูตรจึงไดมอบหมายใหคณะผูวิจัยจัดทําวิจัยสถาบันนี้ข้ึนในปการศึกษา 2557 เพื่อใหทันกระบวนการพัฒนาหลักสูตรในปการศึกษา 2558 และเปดสอนหลักสูตรใหมในปการศึกษา 2559

โครงการวิจัยศักยภาพและแนวทางการลงทุนทางการศึกษาสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา จึงเปนวิจัยสถาบันที่ทําใหหลักสูตรไดทราบถึงศึกษาศักยภาพการจัดการเรียนการสอน และประโยชนและตนทุนทางตรงทางออม ประโยชนตอบุคคลและสังคมจากการใชบริการหลักสูตรที่ผานมา เพื่อเปนแนวทางการลงทุนในการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาที่เหมาะสมกับศักยภาพและแนวทางการลงทุนทางการศึกษาที่เอ้ือประโยชนกับนิสิต ผูประกอบการ และสังคมตอไป

1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย1. เพื่อศึกษาศักยภาพการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา2. เพื่อศึกษาแนวทางการลงทุนทางการศึกษาของสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา

1.3 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับผลผลิตของงานวิจัยนี้ คือแนวทางการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขา วิชาเกษตรและ

สิ่งแวดลอมศึกษา ภายใตขอมูลศักยภาพและแนวทางการลงทุนทางการศึกษาของสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา รวมถึงขอมูลประโยชนและตนทุนทางการศึกษาทั้งทางตรงและทางออมจากการใชบริการหลักสูตรสาขาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา ซึ่งจะนําไปใชเปนแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรไดอยางเหมาะสมและเอ้ือประโยชนกับนิสิต ผูประกอบการ และสังคมตอไป

1.4 คําศัพทที่ใชในการวิจัยศักยภาพการจัดการเรียนการสอน ประกอบดวย การจัดการหลักสูตร และสภาพการลงทุนจัดการเรียนการ

สอนภายใตหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา) ฉบับปรับปรุง 2554การลงทุนทางการศึกษา หมายถึง ประโยชนและตนทุนทางการศึกษาทั้งทางตรงและทางออมจากการรับ

บริการหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา ทั้งที่เกิดกับผูรับบริการทางการศึกษาและสังคม

Page 2: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

2

ผูใชบริการทางการศึกษา หมายถึง บัณฑิตที่จบการศึกษาและนิสิตที่กําลังศึกษาอยูภายใตหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา) ฉบับปรับปรุง 2554

ผูประกอบการ หมายถึง นายจาง เจาของกิจการ หัวหนางานของบริษัทหรือหนวยงานที่บัณฑิตที่จบการศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา) เขาทํางาน

หลักสูตรสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา หมายถึง หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา) ฉบับปรับปรุง 2554 ภายใตการบริหารจัดการของภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและชุมชน

1.5 ขอบเขตของการวิจัยขอบเขตของระยะเวลาในการวิจัยงานวิจัยนี้ไดกําหนดขอบเขตดานเวลาใหสอดคลองกับการกําหนดเปดปดภาคเรียน ตามรอบการใช

หลักสูตร จึงทําการศึกษาในชวงเวลาปการศึกษา 2554 – 2557 ดังนี้1) การศึกษาศักยภาพการจัดการเรียนการสอน ศึกษาขอมูลปการศึกษา 2554 – 25572) การศึกษาตนทุนทางการศึกษาของนิสิตคํานวณขอมูลยอนหลัง 4 ป นับตั้งแตปที่เขาศึกษาจึงถึงปที่

จบการศึกษา โดยคํานวณคาใชจายสวนตัวและคาเสียโอกาสในการเรียนการศึกษาปละ 8 เดือน รวมคํานวณ 32 เดือน3) การศึกษาประโยชนที่ไดจากการศึกษา ศึกษาภายหลังชวงเวลาจบปการศึกษา 2556ขอบเขตของเนื้อหาในการวิจัย งานวิจัยนี้มีขอบเขตดานเนื้อหา ดังนี้1) คาใชจายทางตรงของหลักสูตรที่สถาบันการศึกษาหรือภาควิชาตองจายออกไปเพื่อใหไดมาซึ่ง

ผลผลิตเปนคาใชจายที่ไมสามารถแบงแยกออกมาจากหลักสูตรอ่ืนๆไดอยางชัดเจน ดังนั้นในการวิจัยนี้จึงไมไดศึกษาครอบคลุม คาใชจายคาดําเนินการ เปนคาใชจายดําเนินการที่สถาบันการศึกษาตองจายในแตละป ซึ่งเปนทั้งคาใชจายในการผลิตบัณฑิตและคาใชจายในการบริหารทั่วไป ไดแก เงินเดือน คาตอบแทน คาใชสอย คาวัสดุ คาสาธารณูปโภค เงินอุดหนุน และคาใชจายอ่ืนๆ และ คาใชจายคาลงทุนหรือคาใชจายของสถาบันการศึกษาเพื่อใหไดมาซึ่งสินทรัพยถาวร ไดแก คาครุภัณฑ ที่ดิน อาคาร และสิ่งกอสราง ทั้งนี้รวมถึงคาใชจายทางออมหรือคาใชจายของสถาบันการศึกษาในรูปของคาเสียโอกาส ที่สถาบันการศึกษาควรจะได ถาเลือกไปลงทุนหาผลประโยชนทางดานอ่ืนแทนที่จะลงทุนทางดานการศึกษา

2) ประโยชนและตนทุนทางการศึกษา ไดแก ประโยชนและตนทุนตอสังคมและบุคคล ทั้งที่เกิดทางตรงและทางออม ทั้งนี้ในการศึกษาประโยชนและตนทุนทางการศึกษาจากการใชบริการหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษานั้น อาจมีความคลาดเคลื่อนเนื่องจากประโยชนและตนทุนที่ระบุไวในการวางแผนเปดหลักสูตรในการวิจัยนี้จึงมุงศึกษาประโยชนและตนทุนที่วัดเปนตัวเงินไดตามที่จายจริง ตามระยะเวลาในการศึกษาขณะนั้นของนิสิตที่เปนกลุมตัวอยาง

1.6 ขอจํากัดของการวิจัยหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา มีนิสิตรุนแรกในปการศึกษา 2549 และทํา

ไดการปรับปรุงหลักสูตรในปการศึกษา 2554 ดังนั้นหลักสูตรฉบับปรับปรุงจึงมีนิสิตที่จะจบการศึกษารุนแรกปการศึกษา 2557 ทั้งนี้หากทําการศึกษากับกลุมตัวอยางดังกลาวจะไมสามารถศึกษาการมีงานทําหลังจบการศึกษา 8เดือน ไดตามที่กําหนด ในงานวิจัยนี้จึงใชกลุมตัวอยางบัณฑิตที่จบปการศึกษา 2556 เพื่อใหไดขอมูลวิจัยที่ครบถวนและตรงตามกรอบการพัฒนาหลักสูตรที่กําหนด

Page 3: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

3

บทที่ 2แนวคิดที่เกี่ยวของ

ในบทนี้ไดแบงการนําเสนอ 2 สวนคือ สวนแรกจะกลาวถึง มาตรฐาน และงานวิจัยที่เก่ียวของที่เก่ียวของกับการจัดการเรียนการสอน และการบริหารจัดการหลักสูตร ไดแก มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษาโดยสวนที่สองจะกลาวถึงแนวคิดและทฤษฎีที่เก่ียวของกับการลงทุนทางการศึกษาและการพัฒนาหลักสูตร ไดแกแนวคิดเก่ียวกับการลงทุนทางการศึกษา และแนวคิดเก่ียวกับคาใชจายทางการศึกษา ที่ใชเปนแนวทางในการทําศึกษางานวิจัยในคร้ังนี้

2.1 การจัดการเรียนการสอน และการบริหารจัดการหลักสูตรในการศึกษาการจัดการเรียนการสอน และการบริหารจัดการหลักสูตร พบวามีมาตรฐาน และงานวิจัยที่

เก่ียวของ ดังนี้2.1.1 มาตรฐานการอุดมศึกษาประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 ไดประกาศมาตรฐานการอุดมศึกษา

ประกอบดวย มาตรฐาน 3 ดาน 12 ตัวบงชี้ ดังนี้1) มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิตบัณฑิตระดับอุดมศึกษาเปนผูมีความรู มีคุณธรรม จริยธรรม มีความสามารถในการเรียนรูละพัฒนา

ตนเอง สามารถประยุกตใชความรูเพื่อการดํารงชีวิตในสังคมไดอยางมีความสุขทั้งทางรางกายและจิตใจ มีความสํานึกและความรับผิดชอบในฐานะพลเมืองและพลโลก

ตัวบงชี้(1) บัณฑิตมีความรู ความเชี่ยวชาญในศาสตรของตน สามารถเรียนรู สรางและประยุกตใชความรู

เพื่อพัฒนาตนเอง สามารถปฏิบัติงานและสรางงานเพื่อพัฒนาสังคมใหสามารถแขงขันไดในระดับสากล

(2) บัณฑิตมีจิตสํานึก ดํารงชีวิตและปฏิบัติหนาที่ตามความรับผิดชอบโดยยึดหลักคุณธรรมจริยธรรม

(3) บัณฑิตมีสุขภาพดีทั้งดานรางกายและจิตใจ มีการดูแล เอาใจใส รักษา สุขภาพของตนเองอยางถูกตองเหมาะสม

2) มาตรฐานดานการบริหารจดัการการอุดมศึกษามีการบริหารจัดการการอุดมศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล และพันธกิจของการอุดมศึกษาอยางมีดุลยภาพก. มาตรฐานดานธรรมาภิบาลของการบริหารการอุดมศึกษา

การบริหารจัดการการอุดมศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล โดยคํานึงถึงความหลากหลาย และความเปนอิสระทางวิชาการ

Page 4: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

4

ตัวบงชี้(1) มีการบริหารจัดการบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีความยืดหยุน สอดคลองกับ

ความตองการที่หลากหลายของประเภทสถาบันและสังคม เพื่อเพิ่มศักยภาพในการปฏิบัติงานอยางมีอิสระทางวิชาการ

(2) มีการบริหารจัดการทรัพยากรและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล คลองตัว โปรงใส และตรวจสอบได มีการจัดการศึกษาผานระบบและวิธีการตางๆอยางเหมาะสมและคุมคาคุมทุน

(3) มีระบบการประกันคุณภาพเพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการอุดมศึกษาอยางตอเนื่อง

ข. มาตรฐานดานพันธกิจของการบริหารการอุดมศึกษาการดําเนินงานตามพันธกิจของการอุดมศึกษาทั้ง 4 ดาน อยางมีดุลยภาพโดยมีการประสานความ

รวมมือรวมพลังจากทุกภาคสวนของชุมชนและสังคมในการจัดการความรูตัวบงชี้

(1) มีหลักสูตรและการเรียนการสอนที่ทันสมัย ยืดหยุน สอดคลองกับความตองการที่หลากหลายของประเภทสถาบันและสังคม โดยใหความสําคัญกับการพัฒนาคุณภาพผูเรียนแบบเรียนเปนสําคัญ เนนการเรียนรูและการสรางงานดวยตนเองตามสภาพจริง ใชการวิจัยเปนฐาน มีการประเมินและใชผลการประเมินเพื่อพัฒนาผูเรียน และการบริหารจัดการหลักสูตรตลอดจนมีการบริหารกิจการนิสิตนักศึกษาที่เหมาะสมสอดคลองกับหลักสูตรและการเรียนการสอน

(2) มีการวิจัยเพื่อสรางและประยุกตใชองคความรูใหมที่เปนการขยายพรมแดนความรูและทรัพยสินทางปญญาที่เชื่อมโยงกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอมตามศักยภาพของประเภทสถาบัน มีการสรางเครือขายความรวมมือระหวางสถาบันอุดมศึกษาทั้งในและตางประเทศ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแขงขันไดในระดับนานาชาติของสังคมและประเทศชาติ

(3) มีการใหบริการวิชาการที่ทันสมัย เหมาะสม สอดคลองกับความตองการของสังคมตามระดับความเชี่ยวชาญของประเภทสถาบัน มีการประสานความรวมมือระหวางสถาบันอุดมศึกษากับภาคธุรกิจอุตสาหกรรมทั้งในและตางประเทศ เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งและความยั่งยืนของสังคมและประเทศชาติ

(4) มีการอนุรักษ ฟนฟู สืบสาน พัฒนา เผลแพร วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน เพื่อเสริมสรางความรูความเขาใจ และความภาคภูมิใจในความเปนไทย มีการปรับใชศิลปะวัฒนาธรรมตางประเทศอยางเหมาะสม เพื่อประโยชนในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ

3) มาตรฐานดานการสรางและพัฒนาสังคมฐานความรู และสังคมแหงการเรียนรูการแสวงหา การสราง และการจัดการความรูตามแนวทาง/หลักการ อันนําไปสูสังคมฐานความรู

และสังคมแหงการเรียนรู

Page 5: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

5

ตัวบงชี้1) มีการแสวงหา การสราง และการใชประโยชนความรู ทั้งสวนที่เปนภูมิปญญาทองถ่ิน และเทศ

เพื่อเสริมสรางสังคมฐานความรู2) มีการบริหารจัดการความรูอยางเปนระบบ โดยใชหลักการวิจัยแบบบูรณาการ หลักการ

แลกเปลี่ยนเรียนรู หลักการสรางเครือขาย และหลักการประสานความรวมมือรวมพลัง อันนําไปสูสังคมแหงการเรียนรู

2.1.2 มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษาประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พ .ศ. 2551 ไดประกาศมาตรฐาน

สถาบันอุดมศึกษาประกอบดวย มาตรฐาน 2 ดาน ดังนี้1) มาตรฐานดานศักยภาพและความพรอมในการจัดการศึกษา ประกอบดวย มาตรฐานยอยดานตางๆ 4

ดาน(2) ดานกายภาพ

สถาบันอุดมศึกษามีอาคารที่ประกอบดวยลักษณะสําคัญของอาคารเรียนที่ดีมีหองครบทุกประเภทพื้นที่ใชสอยที่ใชในการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรมทุกประเภทมีจํานวนเพียงพอและเหมาะสมกับจํานวนอาจารยประจํา จํานวนนักศึกษาในแตละหลักสูตร และจํานวนนักศึกษาตามแผนการรับนักศึกษา ตามเกณฑพื้นที่ใ ชสอยอาคารโดยประมาณ รวมทั้งตองจัดใหมีหองสมุดตามเกณฑมาตรฐาน มีครุภัณฑประจําอาคาร ครุภัณฑการศึกษาและคอมพิวเตอรจํานวนเพียงพอตอการจัดการศึกษา

ทั้งนี้ อาคารและบริเวณอาคารจะตองมีความมั่งคง ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะหรือความจําเปนอยางอ่ืนๆ ตามที่กฎหมายกําหนด

(3) ดานวิชาการสถาบันอุดมศึกษามีศักยภาพและความพรอมในการปฏิบัติภารกิจดานวิชาการสอดคลองกับ

วิสัยทัศน พันธกิจ ของสถาบันอุดมศึกษาและแผนการผลิตบัณฑิตที่ตอบสนองความตองการของประเทศและผูใชบัณฑิตโดยรวม มีหลักประกันวาผูเรียนจะไดรับการบริการการศึกษาที่ดี สามารถแสวงหาความรูไดอยางมีคุณภาพสถาบันตองมีการบริหารวิชาการที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ทั้งในดานการวางแผนรับนักศึกษาและการผลิตบัณฑิต การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การประเมินผล การเรียนรู การประกันคุณภาพการเรียนการสอน และการพัฒนาปรับปรุงการบริหารวิชาการ

(4) ดานการเงินสถาบันอุดมศึกษามีความพรอมดานการเงินทั้งงบการเงินและงบที่จําแนกตามกองทุน มีแผนการ

เงินที่มั่นคง เปนหลักประกันไดวาสถาบันจะสามารถจัดการศึกษาไดตามพันธกิจและเปาหมายที่กําหนดไว รวมทั้งสอดคลองกับแผนการพัฒนาในอนาคต เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดแกผู เรียนและผูใชบริการอุดมศึกษา สถาบันมีการจัดทํารายงานการเงินที่แสดงถึงการไดมาของรายได รายรับ การจัดสรร การใชจายที่มีประสิทธิภาพ และทั่วถึงเปนธรรมอยางชัดเจน รวมทั้งการนํารายไดไปลงทุนภายใตการประเมินและวิเคราะหความเสี่ยง มีระบบการติดตามตรวจสอบ ประเมินผลการปฏิบัติงานควบคูไปกับการใชเงินทุกประเภท และมีระบบการติดตามตรวจสอบผลประโยชนทับซอนของบุคคลากรทุกระดับ

Page 6: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

6

(5) ดานบริหารจัดการสถาบันอุดมศึกษามีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพในการถายทอดวิสัยทัศน คานิยม ไปสู

การปฏิบัติที่สอดคลองไปในแนวทางเดียวกัน เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคพันธกิจที่กําหนดไว โดยมีสภาสถาบันทําหนาที่กํากับ นโยบาย การดําเนินการตามแผน การบริหารบุคคล การบริหารงบประมาณและทรัพยสิน การบริหารสวัสดิการที่จัดใหกับนักศึกษาและบุคลากรทุกระดับ รวมทั้งกํากับติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการดําเนินการงานใหเป นไปตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับและกฎหมายที่กําหนดไวมีการเผยแพรผลการกํากับการดําเนินงานของสภาบันและบริหารจัดการของผูบริหารทุกระดับสูประชาคมภายในสถาบันและภายนอกสถาบัน ภายใตหลักธรรมภิบาลที่ประกอบดวยหลักความโปรงใสหลักความรับผิดชอบ หลักการตรวจสอบได หลักการมีสวนรวม และหลักความคุมคา

2) มาตรฐานดานการดําเนินการตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา ประกอบดวยมาตรฐานยอยดานตางๆ 4ดาน

(1) ดานการผลิตบณัฑิตสถาบันอุดมศึกษาดําเนินการรับนักศึกษาเขาเรียนที่มีคุณสมบัติและจํานวนตรงตามแผนการรับ

นักศึกษาและสอดคลองกับเปาหมายการผลิตบัณฑิตอยางมีคุณภาพ สถาบันผลิตบัณฑิตไดตมคุณลักษณะ จุดเนนของสถาบัน ตรงตามเปาหมายที่กําหนด และจัดใหมีขอสนเทศที่ชัดเจน เผยแพรตอสาธารณะในเร่ืองหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน คณาจารย ที่สงเสริมการจัดกิจกรรม การพัฒนาการเรียนรูทั้งในและนอกหลักสูตร และตอบสนองความตองการของนักศึกษา

(2) ดานการวิจัยสถาบันอุดมศึกษามีการดําเนินพันธกิจดานการวิจัยอยางมีคุณภาพประสิทธิภาพ และภายใตจุดเนน

เฉพาะ โดยมีการดําเนินการตามนโยบาย แผน งบประมาณ มีการบริหารจัดการเพื่อสงเสริมและสนับสนุนคณาจารยนักวิจัย บุคลากรใหมีสมรรถนะในการทําวิจัย สงเสริมและสรางเครือขายการทําวิจัยกับหนวยงานภายนอกสถาบันเพื่อใหไดผลงานวิจัย ผลงานประดิษฐ และงานริเร่ิมสรางสรรคที่มีคุณภาพมีประโยชน สนองยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ สามารถตอบสนองความตองการของสังคมไดในวงกวางและกอใหเกิดประโยชนแกสาธารณชน

(3) ดานการใหบริการทางวิชาการแกสังคมสถาบันอุดมศึกษามีการใหบริการทางวิชาการที่ครอบคลุมกลุมเปาหมายทั้งในวงกวางและ

กลุมเปาหมายที่เฉพาะเจาะจงทั้งในและตางประเทศ ซึ่งอาจใหบริการโดยการใชทรัพยากรรวมกันทั้งในระดับสถาบันและระดับบุคคลไดในหลายลักษณะ อาทิ การใหคําปรึกษา การศึกษาวิจัย การคนควาเพื่อแสวงหาคําตอบใหกับสังคมการใหบริการฝกอบรมหลักสูตรระยะสั้นตางๆ การจัดใหมีการศึกษาตอเนื่องบริการแกประชาชนทั่วไป การใหบริการทางวิชาการนี้ สามารถจัดในรูปแบบของการใหบริการแบบใหเปลาหรือเปนการใหบริการเชิงพาณิชยที่ใหผลตอบแทนเปนรายไดหรือเปนขอมูลยอนกลับมาพัฒนาและปรับปรุงเพื่อใหเกิดองคความรูใหม

(4) ดานการทาํนบุํารุงศิลปะและวฒันธรรมสถาบันอุดมศึกษามีการดําเนินการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมของชาติทั้งในระดับหนวยงาน

และระดับสถาบัน มีระบบและกลไกในการสงเสริมและสนับสนุนใหศิลปะและวัฒนธรรมเปนสวนหนึ่งของการจัดการเรียนการสอนโดยตรงหรือโดยออม เพื่อใหผูเรียนและบุคลากรของสถาบันไดรับการปลูกฝงใหความรู ตระหนักถึงคุณคา เกิดความซาบซึ้งและมีสุนทรียะตอศิลปะและวัฒนธรรมของชาติสามารถนําไปใชเปนเคร่ืองจรรโลงความดีงาม

Page 7: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

7

ในการดํารงชีวิตและประกอบอาชีพ มีวิถีชีวิตที่ปรารถนาและเรียนรูวิธีการจัดการวัฒนธรรมและวิถีชีวิตที่ไมพึงปรารถนาได สถาบันมีการควบคุมการดําเนินงานดานนี้อยางมีคุณภาพและประสิทธิภาพตามเปาหมายของแผนยุทธศาสตรการดําเนินงานดานการทํานุบํารุง ศิลปะและวัฒนธรรมของสถาบัน

ทั้งนี้สถาบันอุดมศึกษาแตละแหงจะเปนผูเลือกประเภทหรือกลุมสถาบันเองตามปรัชญา วัตถุประสงค และพันธกิจที่ไดกําหนดไว ซึ่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เลือกประเภท กลุม ง คือ สถาบันที่เนนการวิจัยข้ันสูงและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะระดับปริญญาเอก

ดังนั้นในการศึกษาศักยภาพการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา ในการวิจัยคร้ังนี้จึงมุงศึกษาตามกรอบมาตรฐานดังกลาวขางตน โดยแบงการศึกษาออกเปน 2 สวน คือ 1) ดานการจัดการหลักสูตร 3 ดาน ไดแก ขอมูลทั่วไปของหลักสูตร ประสิทธิภาพของปจจัยเบื้องตนของหลักสูตร และประสิทธิภาพของบริหารจัดการหลักสูตรและการบริการ และ 2) ดานสภาพการลงทุนจัดการเรียนการสอนใน 3ประเด็นหลัก ตามกรอบมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 ไดแก การลงทุนดานคุณภาพบัณฑิต การลงทุนดานการบริหารจัดการการอุดมศึกษา และการลงทุนดานการสรางและพัฒนาสังคมฐานความรู

ทั้งนี้การแบงการศึกษาสอดคลองกับงานวิจัยของ สุภาสิณี นุมเนียม และคณะ (2556) ไดวิจัยเร่ืองศักยภาพและแนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรเกษตรศึกษา ของภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและชุมชน ผลการวิจัยพบวาศักยภาพการจัดการหลักสูตรทางเกษตรศึกษา ภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและชุมชน คณะศึกษาศาสตรและพัฒนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มีดังนี้ 1) ดานปจจัยนําเขาในการจัดการหลักสูตร ผูใชหลักสูตรมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด ทั้งดานอาจารยผูสอนและดานทรัพยากรสนับสนุนการเรียนรู ศักยภาพที่เปนจุดแข็งของหลักสูตร ไดแก ความนาเชื่อถือของหลักสูตร มีแหลงเรียนรูที่เหมาะสมกับการเรียนรูทางการเกษตรทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ คณาจารยผูสอนและประจําหลักสูตรมีผูที่มีคุณวุฒิตรงตามสาขาทางเกษตรศึกษาเพียงพอและคณาจารยในภาควิชายังมีการวิจัยที่สงเสริมความรูที่จะสามารถนํามาประยุกตใชในการจัดการเรียนการสอนไดอยางตอเนื่อง อยางไรก็ตามทรัพยากรสนับสนุนการจัดการหลักสูตรก็ยังมีจุดออนบางประการ 2) ดานกระบวนการในการจัดการเรียนการสอน พบวา ผูใชหลักสูตรมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดทั้งดานเนื้อหาวิชา การจัดการเรียนการสอน และการประเมินผลการเรียนรู ศักยภาพที่เปนจุดแข็งของหลักสูตร ไดแก การมีประสบการณ มีความเขมแข็งและมีการออกแบบโครงสรางหลักสูตรที่ดี ทําใหบัณฑิตที่จะการศึกษาและไปทํางานในที่ตางๆ ไดรับการยอมรับจากสังคม เนื้อหาวิชาที่เหมาะสมและมีความโดดเดน คือ สามารถนําความรูไปประยุกตใชในการปฏิบัติงานได 3) ดานผลผลิตของการจัดการหลักสูตร ศักยภาพในการผลิตบัณฑิตของภาควิชาถือวามีศักยภาพสูง จากผลการประเมินความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตตอคุณลักษณะของบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรูของคณะกรรมการอุดมศึกษา และคุณลักษณะตามอัตลักษณมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร พบวา ผูใชบัณฑิตมีความพึงพอใจตอคุณลักษณะดังกลาวทั้งภาพรวมและรายไดในระดับมากที่สุด

Page 8: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

8

2.2 การลงทุนในการพัฒนาหลักสูตรแนวคิดและทฤษฎีที่เก่ียวของกับการลงทนุในการพฒันาหลักสตูร ไดแก แนวคิดเก่ียวกับการลงทุนทาง

การศึกษา และแนวคิดเก่ียวกับคาใชจายทางการศึกษา ดังนี้2.2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการลงทุนทางการศึกษานักเศรษฐศาสตรสวนใหญเห็นตรงกันวา การศึกษากอใหเกิดประโยชนทั้งตอปจเจกบุคคล สังคมและ

เศรษฐกิจ เนื่องจากการศึกษาจะนํามาซึ่งรายไดที่เพิ่มข้ึนในอนาคต นําไปสูคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน นอกจากนี้การศึกษายังเปนปจจัยสําคัญอยางหนึ่งตอกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจ

T.W. Schultz (1961) ผูนําเสนอแนวคิดเร่ืองมนุษย เชื่อวาการศึกษาจะชวยเปลี่ยนแปลงคุณภาพของทรัพยากรมนุษย โดยการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต และนํามาซึ่งกระแสรายไดที่จะเพิ่มข้ึนในอนาคต กลาวคือเมื่อมนุษยไดรับการศึกษามากข้ึน มีผลทําใหทรัพยากรมนุษยมีคุณภาพสูงข้ึน สามารถทํางานไดรายไดที่สูงข้ึน และเมื่อมีความชํานาญและการศึกษาสูง จะพบวารายไดที่ไดรับตลอดชีพจะเพิ่มข้ึนหลังจากสําเร็จการศึกษา ดังนั้น ปจจัยหลักในการตัดสินใจศึกษาตอในระดับที่สูงข้ึนของคนทั่วไป ก็คือรายไดตลอดชีพที่คาดวาไดรับเพิ่มข้ึนหลังจากสําเร็จการศึกษาตองสูงกวาตนทุนที่เสียไปในระหวางการศึกษา (Earning forgone) ดวยเหตุนี้จึงกลาววา การศึกษาเปนการลงทุนในทรัพยากรมนุษยเพราะลงทุนไปในแงของตนทุนทั้งทางตรงและทางออม และไดรับผลตอบแทนออกมา ทําใหทรัพยากรมนุษยไดรับประโยชนจากการลงทุนในการศึกษา

รังสรรค ธนะพรพันธุ (2518) ไดใหแนวคิดไววา กระบวนการทางการศึกษาเปนกระบวนการผลิตชนิดหนึ่งซึ่งชวยเปลี่ยนแปลงมนุษยใหมีคุณภาพดีข้ึน สิ่งที่ผลิตมิใชสินคาและมิใชเคร่ืองกลเคร่ืองจักรแตอยางใด แตเปนสิ่งที่นักเศรษฐศาสตรเรียกวา ทุนมนุษย (Human capital) การที่นักเศรษฐศาสตรสมัยใหมถือวาการศึกษาเปนทุนมนุษยนั้น เพราะนักเศรษฐศาสตรเชื่อวา การศึกษาเปนปจจัยสําคัญอยางหนึ่งที่มีผลทําใหเกิดการผลิตอยางมีประสิทธิภาพการลงทุนดานการศึกษาจึงเปนการลงทุนสรางทุนมนุษย ซึ่งมีผลตอกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจ การลงทุนในที่นี้จึงหมายถึงการเขาศึกษาในโรงเรียน เพื่อจะไดกลายเปนผูผลิตและเปนผูมีรายไดตอไปในอนาคต และทําใหมนุษยมีประสิทธิภาพในการทํางานมากข้ึน สามารถนําความรูตางๆ ที่ไดจากการศึกษามาช วยในการพัฒนาประเทศ พัฒนาเศรษฐกิจใหเจริญกาวหนาไดอยางรวดเร็ว ดังนั้นทรัพยากรมนุษยจึงเปนทรัพยากรที่สําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและยิ่งเปนทรัพยากรที่มีคุณภาพมากเทาไร ก็สามารถที่จะพัฒนาเศรษฐกิจใหเจริญกาวหนาไดมากข้ึนเทานั้น

นอกจากนี้ Cohn (1979) ไดสรุปไววา การลงทุนทางการศึกษาเปนการลงทุนที่กอใหเกิดการกระจายรายไดเนื่องจากผูที่ไดรับการศึกษาจะมีความรูความสามารถเพิ่มข้ึน มีความชํานาญเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพ ทําใหประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มข้ึน และรายไดก็สูงข้ึนติดตามมาอีกทั้งการลงทุนทางการศึกษาเปนการกระจายฝมือแรงงานทําใหแรงงานจากตลาดแรงงานระดับหนึ่งเคลื่อนยายเขาไปสูตลาดแรงงานอีกระดับหนึ่งที่ใหรายไดที่สูงกวา จึงเปนการยกระดับชนชั้นทางสังคม (Social Class) และสภาพความเปนอยูที่ดีข้ึน

จากแนวความคิดดังกลาวขางตน พอสรุปไดวา การลงทุนทางการศึกษาเปนการลงทุนเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหความสามารถมีประสิทธิภาพ ซึ่งผลตอบแทนจากการลงทุนนอกจากจะตกอยูกับผูที่ไดรับโอกาสทางการศึกษา ที่ทําใหสามารถประกอบอาชีพ เพิ่มผลผลิตหารายได และประสบความสําเร็จในชีวิตแลว กอใหเกิดประโยชนแกผูประกอบการนายจาง สงผลใหเกิดความเจริญกาวหนาและการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ การลงทุนทางการศึกษาจึงสําคัญตอการพัฒนาประเทศ รัฐจึงจําเปนอยางยิ่งที่ตองใหความสําคัญกับการพัฒนาการศึกษา

Page 9: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

9

2.2.2 แนวคิดเกี่ยวกับคาใชจายทางการศึกษาการศึกษาหาความรูตางๆ สวนมากจะเปนการทําเพื่ออนาคตมิใชปจจุบัน เนื่องจากผูที่ตองการศึกษา

คาดวาจะใชความรูที่ไดเพื่อสรางรายไดและสรางชื่อเสียงในอนาคต การลงทุนทางการศึกษาจึงเปนลักษณะการลงทุนมากกวาการบริโภค ดังนั้น การลงทุนในทรัพยากรมนุษย (Human capital) จําเปนตองมีคาใชจายในการศึกษา

แนวคิดของ อภิชัย พันธเสน(2518) เก่ียวกับตนทุนทางการศึกษาในระดับอุดมศึกษาประกอบไปดวยคาใชจายดังตอไปนี้

1. คาใชจายในการดําเนินงานของมหาวิทยาลัย2. คาใชจายที่นักศึกษาตองจายในขณะที่เปนนักศึกษา3. รายไดที่ควรจะไดจากการทํางานหากไมไดศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย4. ดอกเบี้ยจากรายไดที่ควรจะไดรับจากการทํางานหากไมไดศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย5. ดอกเบี้ยจากคาใชจายในการศึกษาทั้งของมหาวิทยาลัยและนักศึกษา

ทั้งนี้รังสรรค ธนะพรพันธุ (2518) ไดใหแนวคิดเก่ียวกับคาใชจายทางการศึกษาไววา คาใชจายนี้สามารถแบงออกเปน 2 สวนดวยกัน คือ

1) ดานผูใหบริการการศึกษา ถือเปนคาใชจายทางสังคม เพราะเปนคาใชจายที่เกิดจากการที่สถาบันการศึกษาใหบริการการศึกษาอันเปนประโยชนตอสังคม และเศรษฐกิจของประเทศจําแนกออกเปน

1.1) คาใชจายทางตรง หมายถึง คาใชจายที่สถาบันการศึกษาตองจายออกไปเพื่อใหไดมาซึ่งผลผลิต แบงเปน 2 สวน คือ ก) คาใชจายคาดําเนินการ เปนคาใชจายดําเนินการที่สถาบันการศึกษาตองจายในแตละป ซึ่งเปนทั้งคาใชจายในการผลิตบัณฑิตและคาใชจายในการบริหารทั่วไป ไดแก เงินเดือน คาตอบแทน คาใชสอย คาวัสดุ คาสาธารณูปโภค เงินอุดหนุน และคาใชจายอ่ืนๆ และ ข) คาใชจายคาลงทุน เปนคาใชจายของสถาบันการศึกษาเพื่อใหไดมาซึ่งสินทรัพยถาวร ไดแก คาครุภัณฑ ที่ดิน อาคาร และสิ่งกอสราง

1.2) คาใชจายทางออม หมายถึง คาใชจายของสถาบันการศึกษาในรูปของคาเสียโอกาส ไดแกรายไดสูงสุดที่สถาบันการศึกษาควรจะได ถาเลือกไปลงทุนหาผลประโยชนทางดานอ่ืนแทนที่จะลงทุนทางดานการศึกษา

สําหรับในการศึกษาคร้ังนี้จึงมีขอจํากัดในการศึกษาคาใชจายดานผูใหบริการ ทั้งคาใชจายทางตรงและทางออมของหลักสูตรที่สถาบันการศึกษาหรือภาควิชาตองจายออกไปเพื่อใหไดมาซึ่งผลผลิต เพราะเปนคาใชจายที่ไมสามารถแบงแยกออกมาจากหลักสูตรอ่ืนๆ ไดอยางชัดเจน ดังนั้นในการวิจัยนี้จึงมุงศึกษาคาใชจายที่ภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและชุมชนซึ่งเปนผูรับผิดชอบหลักสูตรเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาตองจายผานโครงการเพื่อเสริมสรางกระบวนการในการผลิตผลผลิตใหมีประสิทธิภาพ ตามแผนงานในชวงปงบประมาณ 2554-2558

Page 10: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

10

2) ดานผูรับบริการการศึกษา เปนคาใชจายสวนบุคคลหรือคาใชจายเอกชน เพราะเปนคาใชจายที่เกิดจากการที่บุคคลเขารับบริการทางการศึกษา จําแนกออกเปน

2.1) คาใชจายทางตรง หมายถึง คาใชจายที่ผูรับบริการการศึกษาตองเสียในรูปของตัวเงิน ไดแกคาใชจายที่จายใหกับสถาบันการศึกษา อาทิ คาเลาเรียน คาบํารุงการศึกษา คาธรรมเนียมตางๆ เปนตน และคาใชจายสวนตัวที่เกิดข้ึนจากการเขารับบริการการศึกษา อาทิ คาหนังสือ คาอาหาร คาเดินทาง เปนตน

2.2) คาใชจายทางออม หมายถึง รายไดที่ผูรับบริการการศึกษาสูญเสีย เนื่องจากการมารับบริการการศึกษา ซึ่งอยูในรูปของคาเสียโอกาส (Opportunity Cost) ไดแก คาจางแรงงานสูงสุดที่ควรจะไดรับหากเลือกทํางานแทนที่จะศึกษาตอ

สําหรับในการศึกษาดานผูรับบริการทางการศึกษาในการวิจัยคร้ังนี้ มุงศึกษาคาใชจายสวนบุคคลที่นิสิตไดใชจายเพื่อการเขารับบริการทางการศึกษา ทั้งที่เปนคาใชจายทางตรงและทางออม โดยแทนคาเสียโอกาสที่ผูรับบริการการศึกษาสูญเสียเนื่องจากการมารับบริการการศึกษาดวยคาจางแรงงานสูงสุด ทั้งนี้คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบประกาศคณะกรรมการคาจาง เร่ือง อัตราคาจางข้ันต่ํา (ฉบับที่ 7) 300 บาท เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2554 โดยมีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2556 เปนตนไป ดังนั้นในการคํานวณในการศึกษาคาเสียโอกาสที่ผูรับบริการการศึกษาในการวิจัยคร้ังนี้ จึงคํานวณจากคาแรงเฉลี่ย 175.73 บาท ในชวงหนึ่งปแรก และคาแรงข้ันตํา 300 บาทในปที่ 2-4 ของการศึกษาในหลักสูตร

2.2.3 แนวคิดผลตอบแทนจากการลงทุนทางการศึกษาผลตอบแทนจากการลงทุนทางการศึกษา คือ ผลประโยชนที่เกิดข้ึนกับผูสําเร็จการศึกษา และ

ผลตอบแทนที่สังคมไดรับ ซึ่งแบงออกเปน ผลตอบแทนที่สามารถวัดออกมาเปนตัวเงินได เรียกวา ผลตอบแทนทางตรง และผลตอบแทนที่ไมสามารถวัดออกมาเปนตัวเงินได เรียกวา ผลตอบแทนทางออม

1) ผลตอบแทนทางตรง (Direct Benefit) คือ ผลตอบแทนที่เกิดจากการลงทุนทางการศึกษาโดยตรง ซึ่งจะทําใหรายไดตลอดชวงอายุ (Lifetime Earnings) ของบุคคลเพิ่มสูงข้ึน กลาวคือ บุคคลที่ไดรับการศึกษาสูงกวาโดยเฉลี่ยจะมีรายไดสูงกวาบุคคลที่มีการศึกษานอยกวา (วัดจากรายไดหลังหักภาษี)

2) ผลตอบแทนทางออม (Indirect Benefit) คือ ผลตอบแทนที่เกิดจากผลกระทบภายนอกจากการลงทุนทางการศึกษา ซึ่งแบงไดเปน 2 ประเภท คือ

2.1) ผลตอบแทนที่สืบเนื่อง อันเกิดจากผลทางตรง อาจเกิดลักษณะของการมีความสัมพันธไปขางหนา (Forward Linkage of Stemming Form) เชน ผลทางดานสุขภาพอนามัย จากการมีความรูมากข้ึน และการพัฒนาทางดานการศึกษาของบุตร หรืออาจเปนผลตอบแทนทางออมที่เกิดข้ึนแกกิจกรรมอ่ืนๆ ที่มีลักษณะมีความสัมพันธไปขางหลัง (Backward Linkage) เชน ผูผลิตตําราและหนังสือเรียน สามารถผลิตตําราอุปกรณการเรียนออกจําหนายไดมากข้ึนเมื่อมีผูศึกษาตอ

2.2) ผลตอบแทนที่ไมสามารถวัดไดแนนอน คือ การไดรับการยอมรับนับถือจากคนในสังคมมากข้ึน การมีชื่อเสียง คุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน มีความรอบครอบมากข้ึน เปนตน

Page 11: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

11

ทั้งนี้แนวคิดดังกลาวนํามาสูการออกแบบการวิจัยของ ธีรศักดิ์ อุนอารมยเลิศ (2550) ที่ไดออกแบบการวิจับโดยแบงตัวแปรเก่ียวกับผลตอบแทนทางการศึกษา ออกเปนผลประโยชนที่ไดรับหลังจบการศึกษาในรูปตัวเงินและไมสามารถวัดในรูปของตัวเงินได โดยแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก ผลตอบแทนสวนบุคคล และผลตอบแทนสวนสังคม โดยไดสรุปตนทุนและผลตอบแทนของการลงทุนทางการศึกษาไวในตารางที่ 3.1

ตารางที่ 3.1 สรุปตนทุนและผลตอบแทนตนทุนและผลตอบแทนทางสังคม ตนทุนและผลตอบแทนสวนบคุคล

ตนทุนทางสังคม ตนทุนสวนบุคคลตนทุนทางตรง ตนทุนทางตรง1. เงินเดือนครู อาจารยและเจาหนาที่2. คาใชจายดําเนินการอ่ืนๆ เชน คาตอบแทน คา

วัสดุ คาใชสอย3. คาเชาประมาณของอาคาร ทีด่ิน และครุภัณฑ4. คาใชจายเก่ียวกับหนังสือและตํารา

1. คาเลาเรียนและคาธรรมเนียมตางๆ หักดวยทุนการศึกษา

2. คาหนังสือและคาอุปกรณการเรียน3. คาพาหนะ

ตนทุนทางออม ตนทุนทางออม1. ผลผลิตที่ตองสูญเสียไปของสงัคม ซึ่งวัดจาก

รายไดที่ตองสูญเสียไป1. รายไดที่ตองสูญเสียไปของบคุคลเนื่องจากการใช

เวลาที่มีอยูเพื่อการศึกษาแทนทีจ่ะทํางานผลตอบแทนทางสังคม ตอบแทนสวนบุคคล

1. รายไดที่ไดรับเพิ่มข้ึนกอนหักภาษี 1. รายไดที่ไดรับเพิ่มข้ึนหลังหักภาษีที่มา : Woodhall (1970) (อางใน ธีรศักด์ิ อุนอารมยเลิศ, 2550:31)

นวลทิพย ควกุล (2527) กลาวไววา การตัดสินใจลงทุนในโครงการ ผูลงทุนจะตองทําการเปรียบเทียบผลไดและผลเสียของโครงการกอน ทั้งนี้เนื่องจากทรัพยากรที่แตละหนวยงานนั้นมีอยูในปริมาณจํากัด ซึ่งถาหากผลไดมากกวาผลเสียจะจูงใจใหมีการลงทุนในโครงการนั้นๆ ตรงกันขามถาผลไดนอยกวาผลเสีย โครงการลงทุนอาจถูกเลื่อนออกไปในอนาคต การลงทุนในการศึกษาก็เชนเดียวกับการลงทุนในหลักสูตรทั้งหลายจะตองคํานึงถึงผลตอบแทนและตนทุนของหลักสูตร ยิ่งมีอัตราผลตอบแทนมากเทาใด ความตองในการลงทุนของผูใชบริการก็จะมากตามไปดวยอยางไรก็ตามการเปรียบเทียบจะกระทําไมได หากไมสามารถแยกแยะออกมาวาอะไรคือผลได อะไรคือผลเสียที่เกิดจากการเปดหลักสูตร

ผลประโยชน หรือผลดีที่ไดรับจากการลงทุนในหลักสูตร แบงเปนผลไดแท (Real benefit) และผลไดไมแท (Pecuniary benefit)

ผลไดแท หรือ ผลประโยชนที่ผูบริโภคไดรับ ซึ่งเปนการลงทุนเพื่อเพิ่มอรรถประโยชนหรือสวัสดิการของผูบริโภคเอง และ/หรือของสังคม ซึ่งในการลงทุนทางการศึกษาผูบริโภคหรือผูลงทุนทางการศึกษานั้นมักใหผลประโยชนในรูปของทักษะ และรายไดเพิ่มข้ึน สังคมก็ไดรับประโยชนจากการที่แรงงานมีทักษะดีสงผลตอการเพิ่มข้ึนในผลผลิต หรือรายไดของประเทศ รายไดตามความหมายนี้เปนรายไดที่ผูลงทุนจะไดรับเมื่อ เขาสูตลาดแรงงานแลว

Page 12: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

12

ยิ่งกวานั้น การศึกษาในระดับสูงๆ ข้ึนไป ทําใหผูเขาศึกษามีโอกาสเลือกประเภทงานไดมากข้ึนเทากับชวยลดโอกาสการวางงานของคนๆ นั้นใหนอยลง

ผลไดไมแท หรือ ผลประโยชนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงราคาเปรียบเทียบ (relative price) ของทรัพยากร อันเปนผลสืบเนื่องจากการปรับตัวทางเศรษฐกิจเพราะมีโครงการนั้น ผลไดไมแทที่เกิดข้ึนจะถูกลบลางหรือชดเชยดวยผลเสียของบุคคลอีกกลุมหนึ่ง ตัวอยางเชน ถาตลาดแรงงานตองการวิศวกรเพิ่มข้ึนก็อาจทําใหมีการขยายตึกเรียนเพื่อการศึกษาวิชาวิศวกรรมศาสตร ทําใหความตองการอาจารยที่จบสาขานี้เพิ่มข้ึน พรอมทั้งดึงใหรายไดของสาขานี้สูงข้ึน ซึ่งจูงใจใหมีผูหันมาศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตรมากข้ึน เปนผลโดยทางออมใหคนสนใจที่จะศึกษาสาขาอ่ืนนอยลง และหากความตองการแรงงานในอาชีพอ่ืนเพิ่มข้ึน ยอมสงผลใหรายไดในสาขาอ่ืนเพิ่ มตามดวย แตรายไดที่เพิ่มข้ึนจัดเปนผลไดไมแท ดวยเหตุผลที่วาผูจางปจจัยการผลิตตองเสียเงินเดือนใหแกเจาของปจจัยการผลิตสูงข้ึน ตนทุนการวาจางสูงข้ึนจากเดิม ดังนั้น ผลไดไมแทจึงประกอบดวย ผลดีและผลเสี ยควบคูกันไป และหักลางกันพอดี ฉะนั้นถาตองพิจารณาถึงผลไดของโครงการ จึงไมจําเปนตองพิจารณาผลไดไมแทของโครงการอยางไรก็ดี หากตองการดูการกระจายผลไดของโครงการวาผลไดที่เกิดข้ึนตกอยูกับคนกลุมใดของสังคมบาง กรณีนี้ จะตองแสดงใหเห็นถึงผลไดไมแทดวย

นอกจากนี้ ผลไดแทยังแบงออกเปนผลไดโดยตรง (Direct benefit) ผลไดโดยออม (Indirectbenefit) ผลไดที่วัดได (Tangible benefit) และผลไดที่วัดไมได (Intangible benefit)

ผลไดโดยตรง หมายถึง ผลประโยชนที่เกิดข้ึน ตรงตามวัตถุประสงคของการจัดทําหลักสูตร เชน ทุกหลักสูตรการศึกษามีวัตถุประสงคเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของแรงงานและยกระดับรายได ตามมาตรฐานการอุดมศึกษาพ.ศ.2549 ดานมาตรฐานคุณภาพบัณฑิตที่วา “บัณฑิตมีความรู ความเชี่ยวชาญในศาสตรของตน สามารถเรียนรู สรางและประยุกตใชความรูเพื่อพัฒนาตนเอง สามารถปฏิบัติงานและสรางงานเพื่อพัฒนาสังคมใหสามารถแขง ขันไดในระดับสากล” สวนผลไดโดยออม หมายถึง ผลประโยชนตอบแทนที่เกิดจากผลกระทบในข้ันตอๆ ไปของหลักสูตร เชนตามมาตรฐานคุณภาพบัณฑิตที่วา “บัณฑิตมีจิตสํานึก ดํารงชีวิตและปฏิบัติหนาที่ตามความรับผิดชอบโดยยึดหลักคุณธรรมจริยธรรม และบัณฑิตมีสุขภาพดีทั้งดานรางกายและจิตใจ มีการดูแล เอาใจใส รักษา สุขภาพของตนเองอยางถูกตองเหมาะสม” ซึ่งมาตรฐานดังกลาวทําใหผลผลิตที่เปนบัณฑิตมีสุขภาพกายใจที่ดี ผลไดโดยออมก็คือการที่รัฐเสียคาใชจายในการดูแลสุขภาพสําหรับประชาชนกลุมนั้นๆนอยลง เปนตน

ผลไดที่วัดได หมายถึง ประโยชนที่เกิดข้ึน และสามารถตีคาออกมาเปนจํานวนเงินได เชน เมื่อจบการศึกษาสาขานั้นๆแลว และเขารับราชการในหนวยงานของรัฐ ไดรับเงินเดือนตามอัตราขาราชการซึ่งสามารถวัดไดสวนผลไดที่วัดไมได หมายถึง ผลประโยชนที่เกิดข้ึนแตไมสามารถวัดไดในเชิงปริมาณ (No quantifiable) และ/หรือในเชิงมูลคาที่เปนตัวเงิน เชน การลดอาชญากรรม การมีจริยธรรมดีข้ึน อยางไรก็ตามผลไดที่วัดไมไดนี้ ไมไดหมายความวาไมมีวิธีใดเลยที่จะนํามาใชเพื่อวัดผลไดชนิดนี้ แตทั้งนี้ตองข้ึนอยูกับเวลา และการพิจารณาในภาคปฏิบัติวาถาจะลองวัดดูจะทําไดมากนอยแคไหน และสิ้นเปลืองคาใชจายเพียงใด และเมื่อเวลาผานไป สังคมมีความกาวหนาทางวิชาการเพิ่มมากข้ึน ผลไดที่วัดไมไดอาจถูกตีกลับออกมาใหเห็นคาก็ได

ในการพิจารณาผลไดจากการลงทุนทางการศึกษาของผูใชบริการทางการศึกษาจะพิจารณา เฉพาะรายไดที่คาดวาจะไดรับจากการทํางาน ซึ่งรายไดนี้ถือเปนผลไดทางตรงที่วัดได (โดยมากวัตถุประสงคโดยตรงของการเขาศึกษาก็เพื่อจะไดมีรายไดที่ดีเมื่อเขาสูตลาดแรงงาน) ขอสังเกตประการหนึ่งเก่ียวกับการนํารายไดมาคํานวณก็คือ

Page 13: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

13

รายไดในกรณีของเอกชนจะตองเปนรายไดที่หักภาษีแลว ส วนในกรณีของสังคมจะเปนรายไดกอนหักภาษี ทั้งนี้เนื่องจากภาษีที่รัฐบาลเก็บจะตกเปนประโยชนตอสังคมโดยสวนรวม อยางไรก็ตามไมวาจะเปนกรณีของเอกชนหรือของสังคมก็ตาม รายไดที่นํามาคํานวณนั้นไมอาจกะประมาณไดถูกตองแมนยําเพราะอัตราภาษีในแตละปสามารถเปลี่ยนแปลงได ทั้งนี้ข้ึนอยูกับนโยบายของรัฐบาลในแตละยุคแตละสมัย และข้ึนอยูกับสภาพเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป

ผลเสียของโครงการ หมายถึง ผลเสียที่เกิดจากการดําเนินโครงการ แบงเปนผลเสียแท และผลเสียไมแท (นวลทิพย ควกุล, 2527)

ผลเสียแท หมายถึง มูลคาของทรัพยากรที่นํามาใชดําเนินโครงการ เชน คาใชจายในการศึกษา คาวัสดุที่ใชสรางอาคารเรียน คาเดินทาง ตลอดจนตนทุนคาเสียโอกาส (Opportunity cost) อันเกิดจากการที่นักเรียนเลือกที่จะเขาศึกษาตอ ทําใหตองสูญเสียรายไดที่พึงไดรับจากการทํางาน

ผลเสียไมแท หมายถึงคาใชจายที่เพิ่มข้ึนของบุคคลกลุมหนึ่ง อันเนื่องมาจากการเกิดข้ึนของโครงการ เปนผลใหรายไดของบุคคลอีกกลุมหนึ่งเพิ่มข้ึน ซึ่งอธิบายไดเชนเดียวกับผลไดไมแท ยกตัวอยางเชน ถามีผูตองการศึกษาสาขาวิชาแพทยศาสตรเพิ่มมากข้ึน ทําใหมหาวิทยาลัยตองขยายสถานที่การศึกษาตลอดจนเคร่ืองมือเคร่ืองใช รวมทั้งอาจารยในสาขานี้เพิ่มข้ึน คาใชจายของบุคคลกลุมนี้เพิ่มข้ึน ขณะเดียวกันเมื่อคนหันไปเรียนแพทยมากข้ึน ผูที่จะศึกษาสาขาอ่ืนจึงนอยลง ทําใหรายไดของกลุมบุคคลสาขาอ่ืนเพิ่มข้ึน ถาความตองการแรงงานในสาขาอ่ืนเพิ่มข้ึน ดังนั้นคาใชจายของกลุมที่เรียนแพทยมากข้ึนจะถูกชดเชยหรือหักลางดวยรายไดของกลุมสาขาอาชีพอ่ืนที่เพิ่มข้ึน ผลเสียที่เกิดข้ึนจึงเปนผลเสียไมแท

ทํานองเดียวกันผลไดแท ผลเสียแทยังแบงออกเปนผลเสียโดยตรง (Direct cost) ผลเสียโดยออม(Indirect cost) ผลเสียที่วัดได (Tangible cost) และผลเสียที่วัดไมได (Intangible cost)

ผลเสียโดยตรง หมายถึง ตนทุนคาใชจาย รวมถึงผลเสียที่เกิดข้ึนโดยตรงจาการกระทําใหบรรลุเปาหมายของหลักสูตร เชน ตองเสียคาใชจายในการเชาอาคาร คาใชจายในการกอสราง อาทิเชน คาวัสดุ คาแรงคนงาน คาใชจายในการซื้ออุปกรณตกแตง จะเห็นไดวา คาใชจายเหลานี้เกิดข้ึนเพื่อจะทําใหการเปดหลักสูตรใหสําเร็จเรียบรอยดวยดี เพราะถาไมเสียคาใชจาย อาจทําให ไมสามารถเปดการเรียนการสอนใหหลักสูตรนั้นไดไดตามที่วางเปาหมายไว ดังนั้นการดําเนินการเปดหลักสูตรตองคิดใหรอบคอบวา จะมีคาใชจายอะไรบาง เพื่อที่จะทําใหการดําเนินงานตามโครงการบรรลุเปาหมายอยางสมบูรณ สวนผลเสียโดยออม หมายถึง ผลเสียหรือคาใชจายที่กระทบถึงบุคคลที่สาม ซึ่งไมมีสวนเก่ียวของโดยตรง

ผลเสียที่วัดได หมายถึง ผลเสียที่สามารถวัดไดในรูปของตัวเงิน เชน คาอาคารสถานที่ คาเลาเรียนเงินเดือนครู สวนผลเสียที่วัดไมได หมายถึง ผลเสียที่ไมสามารถวัดออกมาไดในรูปของตัวเงิน เชน สภาพจิตใจที่ตองหมกมุนอยูกับการศึกษา เปนตน

ในกรณีของการศึกษาผลเสียที่นํามาคํานวณ มักประกอบดวยผลเสียทางตรงและผลเสียทางออมผลเสียทางตรงเชน คาหนังสือ คาเลาเรียน คาเดินทาง (คาใชจายเหลานี้จะเปนศูนยสําหรับผูที่ไดรับทุนการศึกษาจากรัฐบาล พรอมทั้งไดรับการอํานวยความสะดวกเร่ืองคาใชจายในในการศึกษาเลาเรียนจากมหาวิทยาลัย เชน คาที่พักคาตําราเรียน เปนตน) ซึ่งคาใชจายเหลานี้ สามารถหาคาออกมาเปนตัวเงินไดโดยงาย สวนผลเสียทางออมหรือตนทุนคาเสียโอกาสนั้นไมอาจมองเห็นเปนตัวเงินไดชัดเทาผลเสียหรือตนทุนทางตรง ตนทุนทางออมในที่นี้หมายถึง เวลาวาง

Page 14: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

14

และเวลาทํางานที่สูญเสียไปจากการที่ผูลงทุนเลือกที่จะทําการศึกษาแทนการพักผอนและทํางาน เหตุที่ตีความใหเวลาวางที่เสียไปเปนตนทุนก็เพราะเวลาวางมักเปนเวลาที่ทุกคนปรารถนา เทากับใหความพอใจแกผูมีเวลาวาง ทางดานเวลาทํางานนั้น ถูกวัดใหเปนตนทุนเพราะการทํางานยอมนํามาซึ่งรายได ฉะนั้นการสูญเสียเวลาวางและเวลาทํางานไปจึงเทากับมีตนทุนเกิดข้ึน แตเปนตนทุนทางออมที่เรียกวาตนทุนคาเสียโอกาส ในเมื่อการศึกษาทําใหเกิดตนทุนคาเสียโอกาสเชนนี้ สิ่งที่เราจะตองพิจารณาตอไปก็คือ (1) ผูลงทุนทําการศึกษาจะตัดสินไดอยางไรวาตองสูญเสียเวลาวางและเวลาทํางานไปมากนอยแคไหน? (2) จะวัดการสูญเสียเวลาวางและเวลาวางทํางานไดอยางไร? และ (3) ทั้งเวลาวางและเวลาทํางานที่เสียไปนั้น ควรนํามารวมเขาเปนสวนหนึ่งของตนทุนทางการศึกษาหรือไม หากตองนํามารวม (ดังไดกลาวไวแลวในตอนตน) จะเปนกรณีใด?

1) การทํางานและการพักผอนเสียไปเทาใด? คําตอบเก่ียวกับเร่ืองนี้ข้ึนอยูกับสถานการณ และปจจัยอ่ืนๆ ที่วัดไมได ดังนั้น คําตอบที่ไดจึงเปนเพียงการประมาณการเทานั้น กลาวคือในกรณีที่ผูเขาศึกษาทําการศึกษาเต็มเวลา (full time courses) หรือเกือบเต็มเวลา เชนนี้ตนทุนคาเสียโอกาสจะเทากับรายไดที่ควรจะไดรับหากเลือกทํางานเต็มเวลา เชน วันละ 8 ชั่วโมง สวนในกรณีที่ผูเขาศึกษาเต็มเวลา แตมีเวลาที่พักผอนบาง ตนทุนคาเสียโอกาสจะตองคํานวณจากสวนของรายไดที่จะไดรับจากการทํางานตามจํานวนชั่วโมงรวมกับตนทุนการพักผอน (ซึ่งการวัดตนทุนการพักผอนมักเปนเร่ืองของการเดา) อนึ่ง ปกติตนทุนคาเสียโอกาสจะเกิดข้ึนเฉพาะกับบุคคลที่เรียนสําเร็จการศึกษาภาคบังคับแลว

2) วัดจากการทํางาน และการพักผอนที่เสียไปไดอยางไร? คําตอบเก่ียวกับเร่ืองนี้ในทางทฤษฎีไมใชเร่ืองยากนัก ถาหากอยูในตลาดแรงงานที่สมบูรณ ทั้งนี้เพราะในตลาดแขงขันสมบูรณ นั้น คาแรงจะจายตามประสิทธิภาพหนวยสุดทาย ซึ่งสะทอนถึงอรรถประโยชนหนวยสุดทายจากการทํางานและจากการพักผอน อยางไรก็ตาม สภาพตลาดแรงงานตามความเปนจริงไมไดเปนตลาดแขงขันสมบูรณ ทําใหการวัดตนทุนคาเสียโอกาสจากการศึกษาโดยดูจากคาแรงจึงเปนเพียงการวัดอยางหยาบ ๆ เทานั้น

3) เปนการถูกตองหรือไมที่จะรวมการคํานวณเหลานี้ในการประมาณการของตนทุนการศึกษา ?คําตอบเก่ียวกับเร่ืองนี้ ก็อาจพออธิบายไดวา เมื่อการศึกษาเปนการศึกษาภาคบังคับบุคคลที่เรียนก็ไมมีรายไดอ่ืนใดที่จะเสีย ตนทุนทางออม หรือตนทุนคาเสียโอกาสจึงไมมี แตถาหากเราตีความหมายวาการศึกษาเปรียบเสมือนสินคาอุปโภคบริโภค ซึ่งผูเรียนมีความสุขอยางแทจริงในการศึกษาเพื่อตัวของเขาเอง ก็จะเกิดคําถามข้ึนมาใหมวา สมควรหรือไมที่เราจะทิ้งโอกาสทางการศึกษาไป ซึ่งการศึกษาก็ไมไดเปนภาระแกเรา และเมื่อเปนเชนนี้ เราก็สมควรที่จะคิดตนทุนทางออม หรือตนทุนคาเสียโอกาสจากการบริโภคการศึกษา โดยคิดเปนตัวเลขประมาณการ ขณะเดียวกัน ก็จําเปนตองหาผลไดหรือผลตอบแทนจากการศึกษาไวอีกดานหนึ่ง มิใชคิดแคตนทุนคาเสียโอกาสอยางเดียว คําตอบเก่ียวกับเร่ืองนี้อาจมีผูคัดคาน เนื่องจากเหตุผลที่วาไมสามารถประมาณการตัวเลขจากความพอใจในการศึกษาไดดีเทาที่ควร แตอยางไรก็ตามคําตอบที่ไดอธิบายมาแลวก็เปนทางเลือกทางหนึ่ง ซึ่งอาจจะทําใหงายข้ึนแกการคํานวณ

ที่กลาวมาขางตนเปนการพิจารณาตนทุนของบุคคลแตละคน หากหันมาพิจารณาตนทุนของสังคมบางก็จะไดขอสรุปที่เหมือนกันคือ ประกอบดวยตนทุนทางตรงและตนทุนทางออมหรือตนทุนคาเสียโอกาสที่วัดได ขอแตกตางอยูที่วาตนทุนทางตรงของสังคมจะรวมถึงคาใชจายทั้งหมดของสังคมนับแตคาเลาเรียน คาหนังสือ คาบริหารโรงเรียน คาตึกเรียน วัสดุอุปกรณการสอนและเงินเดือนครู เปนตน สวนตนทุนทางออมก็คือ ตนทุนคาเสียโอกาสที่คิดจากรายไดกอนหักภาษีในขณะที่ของบุคคลคิดจากรายไดหลังการหักภาษี

Page 15: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

15

โดยเหตุที่สังคมเปนหนวยที่ใหญกวาบุคคล รายไดหรือผลตอบแทนที่สังคมไดรับจึงสูงกวาของบุคคลโดยเฉพาะเมื่อรายไดของสังคมเปนรายไดกอนหักภาษี และทํานองเดียวกันตนทุนของสังคมก็จะสูงกวาของบุคคล แตตนทุนของสังคมมักจะสูงกวารายไดของสังคมเมื่อเทียบเปนสัดสวนกัน ทั้งนี้เพราะรายไดเปนสิ่งที่เกิดข้ึนในอนาคต ซึ่งเราตองหักสวนลดลงมาเปนมูลคาปจจุบัน ทําใหคาที่ไดนอยผิดกับตนทุนที่เกิดข้ึนในปจจุบันหรือในปใกลๆ กับปจจุบันดังนั้นผลตอบแทนสุทธิของสังคมจึงต่ํากวาของบุคคล

ทั้งนี้นักเศรษฐศาสตรสวนใหญเห็นตรงกันวา การศึกษากอใหเกิดประโยชนทั้งตอปจเจกบุคคลและสังคมเศรษฐกิจ เนื่องจากการศึกษาจะนํามาซึ่งรายไดที่เพิ่มข้ึนในอนาคต และนํา ไปสูคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน ดังนั้นลักษณะของผลไดหรือผลประโยชนของโครงการทางการศึกษาดังกลาวจึงสามารถแบงออกไดเปนผลไดสวนบุคคลและผลไดสวนสังคม ซึ่งในการหาผลตอบแทนทางการศึกษานั้นมักศึกษาวาผลตอบแทนที่เกิดข้ึนมีน้ําหนักตกอยูกับใครมากกวากัน ดังที่ วูดฮอลล (Woodhall, 1970 อางใน ธีรศักดิ์ อุนอารมยเลิศ, 2550:31)

จากขอมูลดังกลาว จึงนํามาใชเปนขอสรุปในการกําหนดขอบเขตการลงทุนทางการศึกษาในการวิจัยนี้ ประกอบดวย 2 สวนหลักคือ 1) คาใชจายทางตรงของหลักสูตรที่สถาบันการศึกษาหรือภาควิชาตองจายออกไปเพื่อใหไดมาซึ่งผลผลิตเปนคาใชจายที่ไมสามารถแบงแยกออกมาจากหลักสูตรอ่ืนๆไดอยางชัดเจน ซึ่งไมไดศึกษาครอบคลุม คาใชจายคาดําเนินการ เปนคาใชจายดําเนินการที่สถาบันการศึกษาตองจายในแตละป ซึ่งเปนทั้งคาใชจายในการผลิตบัณฑิตและคาใชจายในการบริหารทั่วไป ไดแก เงินเดือน คาตอบแทน คาใชสอย คาวัสดุ คาสาธารณูปโภค เงินอุดหนุน และคาใชจายอ่ืนๆ และ คาใชจายคาลงทุนหรือคาใชจายของสถาบันการศึกษาเพื่อใหไดมาซึ่งสินทรัพยถาวร ไดแก คาครุภัณฑ ที่ดิน อาคาร และสิ่งกอสราง ทั้งนี้รวมถึงคาใชจายทางออมหรือคาใชจายของสถาบันการศึกษาในรูปของคาเสียโอกาส ที่สถาบันการศึกษาควรจะได ถาเลือกไปลงทุนหาผลประโยชนทางดานอ่ืนแทนที่จะลงทุนทางดานการศึกษา 2) ประโยชนและตนทุนทางการศึกษา ไดแก ประโยชนและตนทุนตอสังคมและบุคคล ทั้งที่เกิดทางตรงและทางออม ทั้งนี้ในการศึกษาประโยชนและตนทุนทางการศึกษาจากการใชบริการหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษานั้น อาจมีความคลาดเคลื่อนเนื่องจากประโยชนและตนทุนที่ระบุไวในการวางแผนเปดหลักสูตร ในการวิจัยนี้จึงมุงศึกษาประโยชนและตนทุนที่วัดเปนตัวเงินไดตามที่จายจริง ตามระยะเวลาในการศึกษาขณะนั้นของนิสิตที่เปนกลุมตัวอยาง

Page 16: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

16

2.3 กรอบแนวคิดของการวิจัย

โครงการวิจัยศักยภาพและแนวทางการลงทุนทางการศึกษาสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา เปนวิจัยสถาบันที่มุงใชประโยชนจากการวิจัยเพื่อการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตร ซึ่งกรอบแนวคิดของการวิจัยนี้ครอบคลุมการศึกษาศักยภาพการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตร และการลงทุนทางการศึกษาที่ประกอบดวยประโยชนและตนทุนทางตรงของผูใชบริการทางการศึกษา ประโยชนตอบุคคลและสังคมทางออมที่เกิดกับผูใชบริการทางการศึกษาและผูประกอบการ ทั้งนี้การศึกษาวิจัยดังกลาวเพื่อเปนแนวทางการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาที่เหมาะสมกับศักยภาพและแนวทางการลงทุนทางการศึกษาที่เอ้ือประโยชนกับนิสิตผูประกอบการ และสังคมตอไป

แนวทางการพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา

คณาจารยผูสอนคณะกรรมการบริหารหลักสูตรผูทรงคุณวุฒิภายนอกผูใชบริการทางการศึกษาผูประกอบการ

ศักยภาพการจัดการเรียนการสอน- การจัดการหลักสูตร- สภาพการลงทุนจัดการเรียนการสอน

การลงทุนทางการศึกษา- ประโยชนและตนทุนบุคคล- ประโยชนตอบุคคลและสงัคมทางออม

หลักสูตรสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา

Page 17: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

17

บทที่ 3วิธีการดําเนินการวิจัย

การศึกษาศักยภาพและแนวทางการลงทุนทางการศึกษาของสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา ภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและชุมชนนี้ มีวิธีการดําเนินการวิจัยโดยการศึกษาขอมูลตามวัตถุประสงคการวิจัย และนําขอมูลจากผลการศึกษาศักยภาพการจัดการเรียนการสอนและการลงทุนทางการศึกษา รายงานตอคณาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรและผูมีสวนไดสวนเสียกับหลักสูตรเพื่อพิจารณา รวมกับการรับฟงปญหา ขอเสนอแนะ ผานการประชุมภาควิชา การประชุมอาจารยประจําหลักสูตร และการวิพากษหลักสูตร เพื่อจัดทําแนวทางการพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา โดยมีรายละเอียดของวิธีการดําเนินการวิจัย ดังนี้

3.1 การศึกษาศักยภาพการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาการศึกษาในวัตถุประสงคการวจิัยนี้ แบงออกเปน 2 สวน ดังนี้สวนที่ 1 การจัดการหลักสูตร

ในสวนนี้เปนการศึกษาขอมูลพื้นฐาน ที่มา แนวคิดของหลักสูตร การจัดการทรัพยากรและแหลงเรียนรูโดยการศึกษาและวิเคราะหเอกสาร (งานวิจัยสถาบัน รายงานการประเมินตนเอง รายงานการตรวจประกันคุณภาพรายงานการปรับปรุงแกไขหลักสูตรเพื่อเสนอมหาวิทยาลัย , มคอ.02,03 และ 05 ) ประกอบขอมูลการสํารวจผูรับบริการทางการศึกษาจากหลักสูตร 2 กลุม ไดแก นิสิตปจจุบันและบัณฑิตสําเร็จการศึกษา เพื่อสรุปขอมูลดานการจัดการหลักสูตรออกเปน 3 ดาน ไดแก

1) ขอมูลทั่วไปของหลักสูตร2) ประสิทธิภาพของปจจัยเบื้องตนของหลักสูตร3) ประสิทธิภาพของบริหารจัดการหลักสูตรและการบริการ

สวนที่ 2 สภาพการลงทนุจัดการเรียนการสอนในสวนนี้เปนการศึกษาและวิเคราะหเอกสาร รายงานการประเมินตนเอง แผนงานและแผลกลยุทธ ป

2554-2557 เพื่อวิเคราะหและสรุปขอมูลสภาพการลงทุนจัดการเรียนการสอนใน 3 ประเด็นหลัก ตามกรอบมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 ไดแก

1) การลงทุนดานคุณภาพบัณฑิต2) การลงทุนดานการบริหารจัดการการอุดมศึกษา แบงการลงทุนโครงการออกเปน 2 สวนใหญๆ คือ

(1) โครงการดานการบริหารจัดการดานตางๆ และ(2) การดําเนินงานโครงการตามพันธกิจของการอุดมศึกษาทั้ง 4 ดาน ไดแก ดานการจัดหลักสูตรและการเรียนการสอน ดานการวิจัยเพื่อสรางและประยุกตใชองคความรูใหม ดานการใหบริการวิชาการแกสังคม และดานการอนุรักษ ฟนฟู สืบสานพัฒนา เผลแพร วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน

3) การลงทุนดานการสรางและพัฒนาสังคมฐานความรู

Page 18: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

18

3.2 การลงทุนทางการศึกษาของหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาการศึกษาในวัตถุประสงคการวจิัยนี้ แบงออกเปน 2 สวน ดังนี้

สวนที่ 1 การศึกษาประโยชนและตนทุนบุคคลในสวนนี้เปนการศึกษาขอมูลประโยชนและตนทุนสวนบุคคล ซึ่งเปนการศึกษาการลงทุนทางการศึกษา

สวนบุคคลของนิสิตตลอดหลักสูตร โดยการสํารวจขอมูลงบประมาณหลักสูตรรวมกับการสอบถามผูรับบริการการศึกษาหลักสูตร 2 กลุม ไดแก นิสิตปจจุบันและบัณฑิตสําเร็จการศึกษา โดยใชแบบสอบถาม 2 ประเด็นหลัก ไดแก1) ตนทุนการศึกษา ไดแก คาใชจายตางๆในขณะศึกษา และคาเสียโอกาสในการศึกษาของนิสิตตลอดการศึกษาในหลักสูตร 4 ป และ 2) รายไดจากการทํางานของบัณฑิตสําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2556 และวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติพื้นฐาน (ความถ่ี รอยละ คากลาง คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน)

ตนทุนการศึกษา (คาเสียโอกาสในการศึกษา)- คาเทอม(คาธรรมเนียม,คาหนวยกิต)- คาใชจายสวนตวั (เฉลี่ยข้ันต่าํ/เดือน) ไดแก คาอาหาร, คาเคร่ืองนุงหม, คายานพาหนะ/คา

เดินทาง,คาหอพัก รายไดจากการทํางาน

สวนที่ 2 การศึกษาประโยชนตอบุคคลและสังคมทางออมในสวนนี้เปนการประโยชนตอบุคคลและสังคมทางออมที่เกิดจากการเรียนรูตลอดหลักสูตรสาขาเกษตร

และสิ่งแวดลอมศึกษา โดยมุงศึกษาผลตอบแทนที่เกิดกับผลผลิตของหลักสูตรหรือบัณฑิตใน 2 ลักษณะ คือ 1.คุณลักษณะพิเศษหลังจากสําเร็จการศึกษาซึ่งเปนคุณลักษณะสวนบุคคลที่เกิดข้ึนพรอมกับกิจกรรมการเรียนรู และ 2.การใชประโยชนภายหลังการเรียนรูตลอดหลักสูตรที่สะทอนกลับมาอยูในรูปของความภาคภูมิใจ ความพึงพอใจในการนําผลตอบแทนทางตรงไปใชประโยชนสืบเนื่องในการทํางาน ทั้งนี้แบงผลการศึกษาออกตามลักษณะของกลุมตัวอยาง3 กลุม ดังนี้

1) กลุมนิสิตที่สําเร็จการศึกษา ทําการศึกษาโดยใหบัณฑิตที่จบการศึกษาทําการประเมินตนเองเก่ียวกับคุณลักษณะพิเศษหลังจากสําเร็จการศึกษาตามกรอบคุณลักษณะที่ระบุไวในหลักสูตรและสอบถามบัณฑิตเก่ียวกับการใชประโยชนภายหลังการเรียนรูตลอดหลักสูตรผานแบบสอบถาม (วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติพื้นฐาน:ความถ่ี รอยละ คากลาง คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน) ประกอบกับการวิเคราะหบทสะทอนคุณลักษณะพิเศษจากงานเขียนในรายวิชาการสื่อสารทางเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาในขณะที่ศึกษาอยูในชั้นปที่ 3

2) กลุมนิสิตที่กําลังการศึกษา ทําการศึกษาโดยใหบัณฑิตที่จบการศึกษาทําการประเมินตนเอง 2ประเด็นคือ (1) คุณลักษณะพิเศษจากการศึกษา และ (2) ความมั่นใจในการใชประโยชนภายหลังการเรียนรูตลอดหลักสูตรผานแบบสอบถาม และวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติพื้นฐาน (ความถ่ี รอยละ คากลาง คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน)

3) กลุมนายจางหรือผูประกอบการที่นิสิตเขาทํางาน ทําการศึกษาโดยการสัมภาษณทางโทรศัพทนายจางหรือผูประกอบการทีน่ิสติเขาทํางาน เก่ียวกับความพงึพอใจของผูใชบัณฑิตดานผลิตผลของหลักสูตร(วิเคราะหโดยการหาขอสรุป และวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติพืน้ฐาน: ความถ่ี รอยละ คากลาง คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน)

Page 19: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

19

3.3 แนวทางการพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาการศึกษาในสวนนี้ ทําการศึกษาโดยนําผลการศึกษาดานศักยภาพการจัดการเรียนการสอนและการลงทุนทาง

การศึกษาหลักสูตรของสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา รายงานตอคณาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรและผูมีสวนไดสวนเสียกับหลักสูตรเพื่อพิจารณา รวมกับการรับฟงปญหา ขอเสนอแนะ ผานการประชุมภาควิชา การประชุมอาจารยประจําหลักสูตร และการวิพากษหลักสูตร เพื่อจัดทําแนวทางการพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาโดยการวิเคราะหเนื้อหา(Content Analysis) และสรุปขอมูลแนวทางการพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา ดานปจจัยนําเขา ดานกระบวนการ ดานผลผลิต และดานตลาดแรงงาน เพื่อนําเสนอขอมลูในการจัดทําหลักสูตรตอไป

Page 20: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

20

บทที่ 4ผลการวิจัย

การศึกษาศักยภาพและแนวทางการลงทุนทางการศึกษาของสาขาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา ภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและชุมชน มีผลการวิจัย ดังนี้

4.1 การศึกษาศักยภาพการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรสาขาเกษตรและสิง่แวดลอมศึกษาการศึกษาในวัตถุประสงคนี้ แบงผลการวิจัยออกเปน 2 สวน ไดแก 1) การจัดการหลักสูตร และ 2) สภาพ

การลงทุนจัดการเรียนการสอน ดังนี้สวนที่ 1 การจัดการหลักสูตร

จากการศึกษาและวิเคราะหเอกสาร งานวิจัยสถาบัน รายงานการประเมินตนเอง รายงานการตรวจประกันคุณภาพ แบบรายงานขอมูลการพิจารณารายละเอียดของหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับปริญญาตรี(มคอ. 02) และรายงานผลการดําเนินการของหลักสูตร (มคอ. 07) พบวา หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา) มกีารจัดการหลักสูตร ดังนี้

1. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา1) ขอมูลทั่วไปของหลักสตูร

ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิาเกษตรและสิง่แวดลอมศึกษาภาษาอังกฤษ Bachelor of Science Program in Agricultural and Environmental Education

ชื่อปริญญา ภาษาไทย วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา)ภาษาอังกฤษ Bachelor of Science (Agricultural and Environmental Education)

อักษรยอปริญญา ภาษาไทย วท.บ. (เกษตรและสิง่แวดลอมศึกษา)ภาษาอังกฤษ B.S. (Agricultural and Environmental Education)

1.1) กรอบแนวคิดในการพัฒนาหลักสูตรกรอบแนวคิดที่ใชในการพิจารณาวางแผนและพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตร

และสิ่งแวดลอมศึกษานั้น ประกอบดวยแนวคิดในการพัฒนาทั้งในมิติของการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม บนฐานคิดของการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยนั้นเพื่อการแขงขันในระดับโลก การเกษตรถือเปนฐานในการพัฒนา (Agricultural Based Development) ซึ่งยุทธศาสตรหนึ่งของการพัฒนาเศรษฐกิจคือการใชการเกษตรเปนฐาน โดยการสรางสมดุลระหวางการใชและการอนุรักษ ใหสามารถใชไดอยางยั่งยืน และไมกระทบตอสิ่งแวดลอม โดยใหความสําคัญกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและชุมชน ที่มีจิตสํานึกดานการเกษตรและสิ่งแวดลอมควบคูกัน ดังนั้นสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาจึงเปนสาขาวิชาหนึ่งที่สนองตอการพัฒนาดังกลาว โดยมุงผลิตนักการศึกษาใหมีความสามารถในการบูรณาการความรูทางเกษตรและการจัดการสิ่งแวดลอม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเกษตรที่ยั่งยืนดวยการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย

ในขณะที่โลกไรพรมแดนทําใหการเคลื่อนตัวขององคความรูเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว สังคมและวัฒนธรรมเกิดการเชื่อมโยงหลอมรวมเขาหากันเพื่อเปนสังคมแหงฐานความรู ทรัพยากรมนุษยที่มีความสามารถใน

Page 21: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

21

การบูรณาการศาสตรตางๆ เขากับบริบทที่เปลี่ยนแปลงไดจึงเปนความตองการเพื่อใหการพัฒนาประเทศกาวพนภาวะความไมยั่งยืนสูความยั่งยืนไดอยางลงตัว การศึกษาเปนเคร่ืองมือหนึ่งในการบรรลุเปาหมายดังกลาว สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาผลิตบัณฑิตบนฐานของการพัฒนาโดยใชการเกษตรเปนฐานที่สามารถเชื่อมตอการศึกษา โดยบูรณาการศาสตรทางการเกษตรกับสิ่งแวดลอมที่นําไปสูการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและชุมชนอยางมีสวนรวมสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงสูสังคมฐานความรูอยางเทาเทียมกัน

สัมพันธสอดคลองกับแผนพัฒนาการอุดมศึกษาของชาติ ปรัชญาการอุดมศึกษา ประกอบกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน เปนมหาวิทยาลัยวิจัยที่มีความเปนเลิศทางการเกษตรในระดับสากลโดยมุงผลิตบัณฑิตที่มี ความรู ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม โลกทัศนที่เปนสากล ภาวะผูนํา จิตสาธารณะ ทักษะดานการวิจัยและวิชาชีพ เปนที่ตองการของตลาดงาน และอยูในสังคมไดอยางมีความสุข อนุรักษ สืบสาน ฟนฟู และสงเสริมศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถ่ิน และเอกลักษณ ความเปนไทย คณะศึกษาศาสตรและพัฒนศาสตรจึงมีความมุงหวังที่จะผลิตบัณฑิตที่สมบูรณดวยคุณธรรม ปญญา พัฒนาองคความรูดวยจิตสํานึกแหงความรับผิดชอบตอสังคม สามารถบูรณาการความรูทางเกษตรและการจัดการสิ่งแวดลอม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเกษตรที่ยั่งยืนดวยการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย

ดังนั้นในการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาจึงมุงสรางนักการศึกษาที่มีความสามารถในการบูรณาการความรูดานการเกษตรและการจัดการสิ่งแวดลอมเพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมบนฐานการเกษตรสูการพัฒนาที่ยั่งยืนดวยการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอยางเก้ือกูลกัน ตามมาตรฐานการเรียนรูดานคุณธรรมจริยธรรม ดานความรู ดานทักษะทางปญญา ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ และดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

1.2) ปรัชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตรศักยภาพที่โดดเดนของประเทศไทยคือดานการผลิตอาหาร ดังนั้นการพัฒนาประเทศตองอาศัยฐาน

ที่เขมแข็งของภาคเกษตรกรรม ซึ่งตองมีการพัฒนาแบบองครวมใน 3 มิติ คือ “เกษตรกับสังคมไทย” “เกษตรกับเศรษฐกิจ” และ “เกษตรกับสิ่งแวดลอม” บทเรียนจาก 5 ทศวรรษที่ผานมาชี้ใหเห็นวาการพัฒนาการเกษตรของไทยขาดสมดุลใน 3 มิติดังกลาว ซึ่งสงผลใหเกิดการพัฒนาที่ไมยั่งยืน

ดวยตระหนักในจุดออนของการพัฒนาในอดีต นโยบายการเกษตรของชาติในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 9 - 10 ไดปรับทิศทางการพัฒนาการเกษตร โดยสนับสนุนการพัฒนาแบบคูขนานกลาวคือการเกษตรเชิงพาณิชยเพื่อการแขงขันในเวทีโลกและการเกษตรแบบพอเพียงเพื่อลดความเสี่ยงของเกษตรกรรายยอยและมีแนวโนนการปรับโครงสรางภาคเกษตรไปสูการผลิตที่ยั่งยืน ภายใตกรอบแนวคิดเศรษฐกิจสีเขียว โดยในการตอบสนองทิศทางการพัฒนาการเกษตรดังกลาวนี้ มีความจําเปนตองพัฒนากําลังคนทั้งในภาคการผลิตและภาคสนับสนุนการผลิตใหมีความรูเชิงบูรณาการทั้งในดานเทคโนโลยีการผลิต การจัดการดานสิ่งแวดลอมที่เก่ียวของกับการเกษตร และการใหการศึกษาเพื่อสรางความตระหนักรูในเร่ืองการเกษตรเพื่อสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน

ภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและชุมชน คณะศึกษาศาสตรและพัฒนศาสตร ตระหนักถึงความจําเปนของการสรางนักการศึกษาเพื่อสนับสนุนการพัฒนาการเกษตรและสิ่งแวดลอมแบบองครวม จึงไดเปด

Page 22: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

22

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา ในป พ.ศ. 2549 จนถึงปจจุบันเปนระยะเวลา 5 ปเพื่อใหบรรลุเปาหมายของการผลิตนักเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาที่มีศักยภาพในการบูรณาการศาสตรทั้งวิทยาศาสตรและสังคมศาสตรไดอยางสมบูรณตามการเปลี่ยนแปลงของสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมที่จะตอบสนองภารกิจในการสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในดานการเกษตรเพื่อสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน จึงไดดําเนินการปรับปรุงหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา

วัตถุประสงคของหลักสูตร มีดังนี้1) เพื่อผลิตบัณฑิต ที่มีความสามารถในการบูรณาการความรูดานการเกษตรและการจัดการ

สิ่งแวดลอม และสนับสนุนการพัฒนาการเกษตรที่ยั่งยืนดวยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อยางเก้ือกูลกัน

2) เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีความรูความสามารถในการวิจัยและเผยแพรดานการเกษตรและสิ่งแวดลอมโดยใชกลยุทธทางการศึกษา

1.3) สถานภาพของหลักสูตรหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา (หลักสูตรปริญญาตรี 4ป) เปน

หลักสูตรที่พัฒนาข้ึนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ ที่เปดรับเฉพาะนิสิตไทยเขารับการศึกษาดวยการเรียนการสอนดวยภาษาไทย

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา ไดรับทราบ/รับรองการเปดสอนคร้ังแรกจาก สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 18 เดือน มกราคม พ.ศ. 2551 และไดรับอนุมัติเปดสอนจากสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เมื่อวันที่ 20 เดือน กุมภาพันธ พ.ศ. 2549 ตอมาไดทําการปรับปรุงหลักสูตรใน พ.ศ. 2554 โดยได รับการพิจารณาอนุมัติ /เห็นชอบหลักสูตร โดยคณะกรรมการการศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ในการประชุมคร้ังที่ 8/2554 เมื่อวันที่ 17 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2554 และไดรับอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรจากสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และเร่ิมเปดสอนหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2554 ใน เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2555 ณ คณะศึกษาศาสตรและพัฒนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน โดยมีความรวมมือกับคณะเกษตร กําแพงแสน และคณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร ในการจัดรายวิชาทางเกษตรและสิ่งแวดลอมทั้งในกลุมวิชาเฉพาะบังคับ และวิชาเฉพาะเลือก

1.3.1) การปรับปรุงหลักสูตรการปรับปรุงหลักสูตรใน พ.ศ. 2554 โดยไดรับการพิจารณาอนุมัติ /เห็นชอบหลักสูตร โดย

คณะกรรมการการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ในการประชุมคร้ังที่ 8/2554 เมื่อวันที่ 17 เดือน มีนาคม พ.ศ.2554 และเร่ิมเปดสอนหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2554 ใน เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2555

เหตุผลในการปรับปรุงแกไขหลักสูตร พ.ศ.25541) เพื่อใหหลักสูตรมีความทันสมัยสอดคลองกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม2) เพื่อใหหลักสูตรสอดคลองกับจุดมุงหมายในการผลิตบัณฑิต3) เพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตร

Page 23: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

23

4) เพื่อปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะของผลการวิจัยสถาบัน โดยการเพิ่มรายวิชาฝกทักษะทางดานงานฟารมใหตอเนื่องตั้งแตชั้นปที่ 1-4 และปรับลดความซ้ําซอนของเนื้อหาโดยยุบรวมรายวิชาที่มีเนื้อหาซ้ําซอนเพื่อสรางเปนรายวิชาใหม

โดยมีสาระในการปรับปรุงแกไข ดังนี้1) เพิ่มจํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร จากเดิมไมนอยกวา 136 หนวยกิต เปนไมนอย

กวา 138 หนวยกิต2) เพิ่มจํานวนหนวยกิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จากเดิมไมนอยกวา 30 หนวยกิต เปนไมนอย

กวา 32 หนวยกิต3) เพิ่มจํานวนหนวยกิตวิชาเฉพาะบังคับ จากเดิม 70 หนวยกิต เปน 73 หนวยกิต4) ลดจํานวนหนวยกิตวิชาเฉพาะเลือก จากเดิม ไมนอยกวา 30 หนวยกิต เปนไมนอยกวา

27 หนวยกิต

1.4) ระบบการจัดการศึกษา และการดําเนินการหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา จัดการศึกษาดวยระบบ

ทวิภาค ภาคการศึกษาละ 15 สัปดาห โดยไมมีการจัดการศึกษาภาคฤดูรอน เปดการดําเนินการหลักสูตร ในวันเวลาราชการปกติ โดยเปดโอกาสใหผูเขาศึกษาเฉพาะแบบศึกษาเต็มเวลา

คุณสมบัติของผูเขาศึกษาเปนผูสําเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา จํานวนผูเขาศึกษาในหลักสูตรภาคการศึกษาละ 80 คน รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบชั้นเรียน มีระบบการเทียบโอนหนวยกิตในสถาบัน แตไมมีการลงทะเบียนรายวิชาและการลงทะเบียนเรียนขามมหาวิทยาลัย

1.4.1) แผนการรับนิสิตและผูสําเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา เร่ิมเปดสอน

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2554 ใน เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2555 ดังนั้นนิสิตรับเขารุนแรกในปการศึกษา 2554 และจะมีผูสําเร็จการศึกษาตลอดหลักสูตรปแรก ใน พ.ศ. 2558 ทั้งนี้ทางหลักสูตรไดกําหนดแผนการรับนิสิตและผูสําเร็จการศึกษาในระยะ 5 ป ดังแสดงในตารางที่ 4.1

ตารางที่ 4.1 แผนการรับนิสิตและผูสําเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปปการศึกษา ปท่ี 1 ปท่ี 2 ปท่ี 3 ปท่ี 4 รวม จํานวนบัณฑติท่ีคาดวาจะจบการศึกษา

2554 80 80 คาดวาจะมีผูสําเร็จการศึกษาตลอดหลักสูตรปละ 80 คน เริ่มจบพ.ศ. 25582555 80 80 160

2556 80 80 80 2402557 80 80 80 80 3202558 80 80 80 80 320

Page 24: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

24

1.4.2) จํานวนผูเขาศึกษาและการคงอยูของนิสิตปการศึกษา 2554-2557หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา เร่ิมเปดสอนหลักสูตร

ปรับปรุง พ.ศ.2554 ใน เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2555 โดยมีนิสิตเขาศึกษาจนถึงปจจุบันจํานวนทั้งสิ้น 290 คน (ขอมูล ณวันที่ 6 กุมภาพันธ 2558) ทั้งนี้คาดวาจะมีผูสําเร็จการศึกษาตลอดหลักสูตร ใน พ.ศ. 2558 จํานวน 69 คน ทั้งนี้สามารถแสดงจํานวนนิสิตที่เขาศึกษาตั้งแตปการศึกษา 2554 – ปการศึกษา 2557 ดังแสดงในตารางที่ 4.2

ตารางที่ 4.2 จํานวนนิสิตระหวางปการศึกษา 2554 – ปการศึกษา 2557ชาย หญิง รวม (คน)

ช้ันปท่ี 1 รหัส 57 27 59 86ช้ันปท่ี 2 รหัส 56 11 61 72ช้ันปท่ี 3 รหัส 55 15 48 63ช้ันปท่ี 4 รหัส 54 16 53 69รวม 69 221 290ที่มา: งานบริการการศึกษา คณะศึกษาศาสตรและพัฒนศาสตร (ขอมูล ณ วันที่ 6 กุมภาพันธ 2558)

ทั้งนี้ทางหลักสูตรไดกําหนดแผนการรับนิสิตและผูสําเร็จการศึกษาระหวางปการศึกษา2554 – ปการศึกษา 2557 (ตารางที่ 4.1) จํานวน 320 คน ดังนั้นจากตารางที่ 4.2 จะเห็นวานิสิตมีการคงอยู 290 คนหรือคิดเปนรอยละ 90.63 ตามที่กําหนดไวในแผน

1.5) โครงสรางของหลักสูตรหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา (หลักสูตรปริญญาตรี 4 ป) มี

จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 138 หนวยกิต ไมมีการทําโครงงานหรือการวิจัย โดยใชระยะเวลาศึกษาแบบเต็มเวลา แตศึกษาไดไมเกิน 8 ปการศึกษา และสําเร็จการศึกษาไดไมกอน 6 ภาคการศึกษา

โครงสรางหลักสูตร ประกอบดวย- หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา 32 หนวยกิต- หมวดวิชาเฉพาะ ไมนอยกวา 100 หนวยกิต เปนวิชาเฉพาะบังคับ 73 หนวยกิต และวิชา

เฉพาะเลือก ไมนอยกวา 27 หนวยกิต- หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต

ในการจัดการเรียนการสอน มีการฝกประสบการณภาคสนาม ในรูปแบบสหกิจศึกษา เพื่อใหนิสิตมีทักษะในการทํางาน เขาใจระบบงาน มีทักษะการสื่อสาร มีเครือขายความสัมพันธระหวางบุคลากรอาชีพเดีย วกัน มีความเขาใจและทัศนคติที่ดีตอวิชาชีพ

ทั้งนี้ตามเกณฑการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรการสําเร็จการศึกษา ผูเรียนตองเรียนครบตามจํานวนหนวยกิตที่กําหนดไวในหลักสูตร และมีระดับแตมคะแนนเฉลี่ยสะสมข้ันต่ํา 2.00 (จากระบบ 4 ระดับคะแนน)

Page 25: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

25

1.6)ผลผลิตของหลักสูตรผูสําเร็จการศึกษาตลอดหลักสูตร สามารถประกอบอาชีพ นักวิชาการศึกษา นักวิชาการและนักวิจัยทาง

เกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา พนักงานบริษัทเอกชน, เกษตรกร (ตามที่ไดระบุไวใน มคอ.02)1.6.1) คุณลักษณะพิเศษของนิสิต

คุณลักษณะพิเศษของนิสิต ตามมาตรฐานคุณวุฒิการอุดมศึกษา ดังนี้1) มีคุณธรรม จรรยาบรรณ ความกลาหาญทางจริยธรรม และความรับผิดชอบสูงตอวิชาการ

เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม2) มีความอดทนและความสามารถในการจัดการเรียนรู รวมทั้งการทํางานรวมกับผูรวมงานทุก

กลุม3) มีความสามารถประยุกตความเขาใจอันถองแทในทฤษฎี และสามารถบูรณาการเพื่อสราง

ความรูใหม4) มีความคิดริเร่ิมสรางสรรคในการแกไขปญหา และขอโตแยงโดยการแสดงออกซึ่งภาวะผูนําใน

การแสวงหาทางเลือกใหมที่เหมาะสมและปฏิบัติได5) มีความสามารถในการพิจารณาแสวงหา และเสนอแนะแนวทางในการแกปญหาทางวิชาการ

โดยยอมรับขอจํากัดและธรรมชาติของศาสตร6) มีความสามารถในการติดตามพัฒนาการของศาสตร รวมทั้งเพิ่มพูนความรูและสมรรถนะของ

ตนอยูเสมอ

ทั้งนี้ในการพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนิสิต หลักสูตรไดวางกลยุทธการสอนและการประเมินผลไวดังแสดงในตารางที่ 4.3

ตารางที่ 4.3 กลยุทธการสอนและการประเมินผลเพื่อการพัฒนาคุณลักษณะพิเศษ

คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธการสอนและการประเมิน1. มีคุณธรรม จรรยาบรรณ ความกลา

หาญทางจริยธรรม และความรับผิดชอบตอวิชาการ เศรษฐกิจสังคม และสิ่งแวดลอม

จัดการเรียนรูโดยสอดแทรกในทุกรายวิชา โดยจัดใหมีรายวิชาเฉพาะท่ีเนนดานคุณธรรมจริยธรรม 1 รายวิชา ไดแก วิชาคานิยมและจริยธรรมทางเกษตรและสิ่งแวดลอม ใชกลยุทธการเรียนรูจากกรณีศึกษา (case study)รวมถึงสอดแทรกในรายวิชาการวิจัยทางเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาเก่ียวกับจริยธรรมทางวิชาการ ประเมินผูเรียนโดยการสะทอนความคิดเก่ียวกับคานิยม และจริยธรรม

2. มีความอดทนและความสามารถในการจัดการเรียนรู รวมท้ังการทํางานรวมกันกับผูรวมงานทุกกลุม

จัดการเรียนรูตามสภาพจริง ใหสามารถถายโยงการเรียนรูในสภาพจริงไดโดยมุงเนนในรายวิชาการจัดการศึกษาทางเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาในชุมชน ใหมีการฝกปฏิบัติการจัดการเรียนรูในแหลงเรียนรูท่ีกําหนด ประเมินจากการสังเกตการณจัดการเรียนรูของนิสิต โดยใชหลักการนิเทศการสอน(supervise)

Page 26: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

26

คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธการสอนและการประเมิน3. มีความสามารถในการประยุกตความ

เขาใจอันถองแทในทฤษฎี และระเบียบวิธีการศึกษาวิจัย เพ่ือสรางความรูใหม

จัดการเรียนรูใหมีการนําการวิจัยเปนเครื่องมือในการแสวงหาความรูตามสภาพจริงแตละทองถ่ิน (Place based learning) ประเมินการเรียนรูโดยตรวจผลงาน และการสะทอนบทเรียนภาคสนามของนิสิต

4. มีความคิดริเริ่มสรางสรรคในการแกปญหา และขอโตแยงโดยการแสดงออกซึ่งภาวะผูนําในการแสวงหาทางเลือกใหมท่ีเหมาะสมและปฏบิัติได

จัดการเรียนรูโดยบูรณาการกลุมรายวิชาประสบการณวิชาชีพทางเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา กับกิจกรรมนิสิตภายใตชุมนุมฟารมนิสิตคณะศึกษาศาสตรและพัฒนศาสตร ใหมีการนําความรูไปใชในการทํากิจกรรมเพ่ือพัฒนาคุณลักษณะท่ีพึงประสงค โดยเฉพาะการพัฒนาภาวะผูนํา มีการประเมินโดยติดตามการปฏิบัติงาน การตรวจผลงาน ตลอดจนการนําเสนอและวิเคราะหวิพากษการปฏิบัติงานเพ่ือหาทางเลือกท่ีเหมาะสมในทางปฏิบัติ

5. มีความสามารถในการพิจารณาแสวงหา และเสนอแนะแนวทางในการแกปญหาทางวิชาการและวิชาชีพโดยยอมรับขอจํากัดและธรรมชาตขิองศาสตร

จัดการเรียนรูภายใตแนวคิดการเรียนรูโดยการทําโครงการ (Projectbased learning) ท่ีเก่ียวของกับสาขาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา เพ่ือใหเกิดการถายโยงการเรียนรูจากภาคทฤษฎีสูการปฏิบัติในสภาพจริง โดยมีการประเมินผลงานในการทําโครงการ และการติดตามการทํางานเปนระยะโดยใชแบบบันทึกและสะทอนการปฏิบัติงาน

6. มีความสามารถในการติดตามพัฒนาการของศาสตร รวมท้ังเพ่ิมพูนความรูและสมรรถนะของตนอยูเสมอ

จัดการเรียนรูโดยใชแนวคิดการวิจัยเปนฐาน (Research based learning)เนนใหนิสิตใชกระบวนการวิจัยเปนเครื่องมือในการเรียนรูภายใตวิชาการวิจัยทางเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา

จัดใหมีการประเมินตามสภาพจริง โดยการนําเสนอผลงานวิจัยท่ีเปนผลมาจากกระบวนการเรียนรูโดยใชการวิจัยเปนฐาน รวมกับการสอนในรายวิชาสัมมนา

1.7) งบประมาณตามแผนหลักสูตรไดมีการประมาณการงบประมาณรายรับรายจายในชวงปงบประมาณ 2554-2558

โดยประมาณการคาใชจายตอหัว 24,400 บาท ซึ่งไมรวมงบบุคลากร และคาที่ดินสิ่งกอสราง โดยประมาณการรายรับจากเงินงบประมาณแผนดินและเงินรายไดจากการจัดการศึกษา และประมาณการรายจายที่เปนงบดําเนินการ งบลงทุน และงบรายจายอ่ืนๆ ดังแสดงรายละเอียดในตารางที่ 4.4

Page 27: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

27

ตารางที่ 4. 4 การประมาณการงบประมาณตลอดการเปดหลักสูตร

รายการ ป 2554 ป 2555 ป 2556 ป 2557 ป 2558ประมาณการรายรับ 400,000 880,000 1,760,000 2,640,000 2,640,0001. งบประมาณแผนดิน 80,000 80,000 80,000 80,000 80,0002. เงินไดจากการจัดการศึกษา 320,000 800,000 1 ,680,000 2,560,000 2,560,000ประมาณการรายจาย 500,000 1,100,000 1,815,000 2,662,000 2,662,0001. งบดําเนินการ 300,000 800,000 1,315,000 2,062,000 2,062,000- คาตอบแทน ใชสอย และวัสดุ 290,000 780,000 1,285,000 2,022,000 2,022,000- คาสาธารณูปโภค 10,000 20,000 30,000 40,000 40,000

2. งบลงทุน- คาครุภัณฑ 100,000 200,000 300,000 400,000 400,000

3. งบรายจายอื่น- คาใชจายอุดหนุนที่เสนอขออนุมัติตามรายการ 100,000 200,000 200,000 200,000 200,000

2. ประสิทธิภาพของปจจัยเบื้องตนของหลักสูตรการศึกษาประสิทธิภาพของปจจัยเบื้องตนของหลักสูตรในการวิจัยนี้ เปนการศึกษาความเหมาะสมของ

ปจจัยเบื้องตนของหลักสูตรในประเด็นที่เก่ียวของกับเนื้อหารายวิชา อาจารยผูสอน และการนําความรูที่ไดไปใชประโยชน โดยการสอบถามความคิดเห็นของผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตร จํานวน 112 คน ประกอบดวยกลุมผูสําเร็จการศึกษา จํานวน 52 คน (รอยละ 46.43) และกลุมนิสิตที่กําลังศึกษาในชั้นปที่ 4 จํานวน 60 คน (รอยละ53.57) สวนใหญเปนเพศหญิง 89 คน (รอยละ 79.46) และเพศชาย 23 คน (รอยละ 20.54) ดังแสดงรายละเอียดในตารางที่ 4.5

ตารางท่ี 4.5 ขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถามn = 112

คน รอยละเพศ

ชาย 23 20.54หญิง 89 79.46

ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรผูสําเร็จการศึกษา 52 46.43นิสิตท่ีกําลังศึกษา ช้ันปท่ี 4 60 53.57

หมายเหตุ ผูสําเร็จการศึกษาคิดเปนรอยละ 82.54 ของบัณฑิตท่ีจบการศึกษาหลักสูตรเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา ปการศึกษา 2556 จํานวน 63 คน (ท่ีมา: สํานักทะเบียนและประมวลผล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร)

Page 28: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

28

ทั้งนี้การศึกษาประสิทธิภาพของปจจัยเบื้องตนของหลักสูตรในการวิจัยนี้ สามารถแสดงผลการศึกษาความคิดเห็นของผูรับบริการหลักสูตรตอความเหมาะสมของปจจัยเบื้องตนของหลักสูตร ไดตามหมวดวิชา 3 หมวดวิชา ดังนี้

1.1.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไปหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ประกอบดวย 5 กลุมวิชา ไดแก กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร กลุม

วิชาภาษา และกลุมวิชาสังคมศาสตร กลุมวิชามนุษยศาสตร และกลุมวิชาพลศึกษา ซึ่งจากการศึกษาความเหมาะสมของปจจัยเบื้องตนของหลักสูตรจากผูรับบริการการศึกษา พบวา ผลการแสดงความคิดเห็นเปนไปในทิศทางเดียวกันดังนี้

กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร พบวา ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวา อาจารยผูสอนในหมวดวิชานี้มีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาที่สอน และมีความรู ความสามารถในการถายทอดความรู ในระดับมากที่สุด ที่คาเฉลี่ย 4.45 และ 4.50 ตามลําดับ ในขณะที่ความซ้ําซอนของเนื้อหารายวิชา ความทันสมัย ทันตอเหตุการณและสภาพสังคมปจจุบันของเนื้อหาวิชา และการจัดโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสูตร มีความเหมาะสมในระดับมาก ที่คาเฉลี่ย 3.45, 3.97 และ 3.98 ตามลําดับ ทั้งนี้ในประเด็นเก่ียวกับการนําความรูไปใช พบวาผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวาสามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมนี้ไปใชในชีวิตประจําวัน ไปใชในการสมัครงานในอนาคต และไปใชในการศึกษาตอไดในอนาคต ในระดับมาก ที่คาเฉลี่ย 4.06, 3.96 และ 4.07 ตามลําดับ(ตารางที่ 4.6)

ตารางที่ 4.6 หมวดวิชาศึกษาทัว่ไปกลุมวชิาวทิยาศาสตรและคณิตศาสตรn = 112

ความคิดเห็นตอหลักสูตรคาเฉลี่ย(S.D.)

ระดับมากท่ีสุด(รอยละ)

มาก(รอยละ)

ปานกลาง(รอยละ)

นอย(รอยละ)

นอยท่ีสุด(รอยละ)

1. ความซ้ําซอนของเน้ือหารายวิชา

4(3.57)

51(45.54)

51(45.54)

3(2.68)

3(2.68)

3.45(0.73)

มาก

2. ความทันสมัย ทันตอเหตุการณและสภาพสังคมปจจุบันของเน้ือหาวิชา

17(15.18)

75(66.96)

20(17.86)

0(0.00)

0(0.00) 3.97

(0.58)มาก

3. การจัดโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสตูร

20(17.86)

73(65.18)

16(14.29)

3(2.68)

0(0.00)

3.98(0.66)

มาก

4. อาจารยผูสอนมีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาท่ีสอน

52(46.43)

58(51.79)

2(1.79)

0(0.00)

0(0.00)

4.45(0.53)

มากท่ีสุด

5. อาจารยผูสอนมีความรูความสามารถในการถายทอดความรู

59(52.68)

50(44.64)

3(2.68)

0(0.00)

0(0.00)

4.50(0.55)

มากท่ีสุด

Page 29: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

29

ความคิดเห็นตอหลักสูตรคาเฉลี่ย(S.D.)

ระดับมากท่ีสุด(รอยละ)

มาก(รอยละ)

ปานกลาง(รอยละ)

นอย(รอยละ)

นอยท่ีสุด(รอยละ)

6. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในชีวิตประจําวัน

25(22.32)

71(63.39)

15(13.39)

0(0.00)

1(0.89)

4.06(0.66)

มาก

7. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในการสมัครงานในอนาคต

21(18.75)

69(61.61)

20(17.86)

1(0.89)

1(0.89) 3.96

(0.70)มาก

8. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในการศึกษาตอไดในอนาคต

26(23.21)

70(62.50)

15(13.39)

0(0.00)

1(0.89) 4.07

(0.67)มาก

กลุมวิชาภาษา พบวา ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวา อาจารยผูสอนในหมวดวิชานี้มีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาที่สอน และมีความรู ความสามารถในการถายทอดความรู ในระดับมากที่สุด ที่คาเฉลี่ย 4.24 และ 4.25 ตามลําดับ ในขณะที่ความซ้ําซอนของเนื้อหารายวิชา ความทันสมัย ทันตอเหตุการณและสภาพสังคมปจจุบันของเนื้อหาวิชา และการจัดโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสูตร มีความเหมาะสมในระดับมาก ที่คาเฉลี่ย 3.53, 3.91 และ 3.68 ตามลําดับ ทั้งนี้ในประเด็นเก่ียวกับการนําความรูไปใช พบวา ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวาสามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมนี้ไปใชในชีวิตประจําวัน ไปใชในการสมัครงานในอนาคตและไปใชในการศึกษาตอไดในอนาคต ในระดับมาก ที่คาเฉลี่ย 4.10, 4.04 และ 3.96 ตามลําดับ (ตารางที่ 4.7 )

ตารางท่ี 4.7 หมวดวิชาศึกษาท่ัวไปกลุมวิชาภาษาn = 112

ความคิดเห็นตอหลักสูตรคาเฉลี่ย(S.D.)

ระดับมากท่ีสุด(รอยละ)

มาก(รอยละ)

ปานกลาง(รอยละ)

นอย(รอยละ)

นอยท่ีสุด(รอยละ)

1. ความซ้ําซอนของเน้ือหารายวิชา

9(8.04)

52(46.43)

42(37.50)

7(6.25)

2(1.79)

3.53(0.80)

มาก

2. ความทันสมัย ทันตอเหตุการณและสภาพสังคมปจจุบันของเน้ือหาวิชา

15(13.39)

78(69.64)

23(20.54)

1(0.89)

0(0.00) 3.91

(0.61)มาก

3. การจัดโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสตูร

12(10.71)

57(50.89)

39(34.82)

3(2.68)

1(0.89)

3.68(0.74)

มาก

Page 30: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

30

ความคิดเห็นตอหลักสูตรคาเฉลี่ย(S.D.)

ระดับมากท่ีสุด(รอยละ)

มาก(รอยละ)

ปานกลาง(รอยละ)

นอย(รอยละ)

นอยท่ีสุด(รอยละ)

4. อาจารยผูสอนมีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาท่ีสอน

39(34.82)

61(54.46)

12(10.71)

0(0.00)

0(0.00)

4.24(0.63)

มากท่ีสุด

5. อาจารยผูสอนมีความรูความสามารถในการถายทอดความรู

44(39.29)

54(48.21)

12(10.71)

2(1.79)

0(0.00)

4.25(0.72)

มากท่ีสุด

6. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในชีวิตประจําวัน

32(28.57)

59(52.68)

21(18.75)

0(0.00)

0(0.00)

4.10(0.68)

มาก

7. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในการสมัครงานในอนาคต

25(22.32)

67(59.82)

20(17.86)

0(0.00)

0(0.00) 4.04

(0.64)มาก

8. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในการศึกษาตอไดในอนาคต

24(21.43)

68(60.71)

16(14.29)

2(1.79)

2(1.79) 3.96

(0.85)มาก

กลุมวิชาสังคมศาสตร พบวา ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวา อาจารยผูสอนในหมวดวิชานี้มีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาที่สอน และมีความรู ความสามารถในการถายทอดความรู ในระดับมากที่สุดที่คาเฉลี่ย 4.35 และ 4.27 ตามลําดับ ในขณะที่ความซ้ําซอนของเนื้อหารายวิชา ความทันสมัย ทันตอเหตุการณและสภาพสังคมปจจุบันของเนื้อหาวิชา และการจัดโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสูตร มีความเหมาะสมในระดับมาก ที่คาเฉลี่ย 3.63, 3.84 และ 3.79 ตามลําดับ ทั้งนี้ในประเด็นเก่ียวกับการนําความรูไปใช พบวา ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวาสามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมนี้ไปใชในชีวิตประจําวัน ไปใชในการสมัครงานในอนาคตและไปใชในการศึกษาตอไดในอนาคต ในระดับมาก ที่คาเฉลี่ย 4.05, 3.98 และ 4.04 ตามลําดับ (ตารางที่ 4.8)

ตารางท่ี 4.8 หมวดวิชาศึกษาท่ัวไปกลุมวิชาสังคมศาสตรn = 112

ความคิดเห็นตอหลักสูตรคาเฉลี่ย(S.D.)

ระดับมากท่ีสุด(รอยละ)

มาก(รอยละ)

ปานกลาง(รอยละ)

นอย(รอยละ)

นอยท่ีสุด(รอยละ)

1. ความซ้ําซอนของเน้ือหารายวิชา

15(13.39)

54(48.21)

32(28.57)

9(8.04)

2(1.79)

3.63(0.88)

มาก

Page 31: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

31

ความคิดเห็นตอหลักสูตรคาเฉลี่ย(S.D.)

ระดับมากท่ีสุด(รอยละ)

มาก(รอยละ)

ปานกลาง(รอยละ)

นอย(รอยละ)

นอยท่ีสุด(รอยละ)

2. ความทันสมัย ทันตอเหตุการณและสภาพสังคมปจจุบันของเน้ือหาวิชา

12(10.71)

71(63.39)

28(25.00)

1(0.89)

0(0.00)

3.84(0.61)

มาก

3. การจัดโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสตูร

17(15.18)

61(54.46)

28(25.00)

5(4.46)

1(0.89)

3.79(0.79)

มาก

4. อาจารยผูสอนมีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาท่ีสอน

49(43.75)

53(47.32)

10(8.93)

0(0.00)

0(0.00)

4.35(0.64)

มากท่ีสุด

5. อาจารยผูสอนมีความรูความสามารถในการถายทอดความรู

42(37.50)

58(51.79)

12(10.71)

0(0.00)

0(0.00)

4.27(0.64)

มากท่ีสุด

6. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในชีวิตประจําวัน

22(19.64)

74(66.07)

16(14.29)

0(0.00)

0(0.00)

4.05(0.58)

มาก

7. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในการสมัครงานในอนาคต

19(16.96)

73(65.18)

19(16.96)

1(0.89)

0(0.00)

3.98(0.61)

มาก

8. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในการศึกษาตอไดในอนาคต

22(19.64)

73(65.18)

17(15.18)

0(0.00)

0(0.00)

4.04(0.59)

มาก

กลุมวิชามนุษยศาสตร พบวา ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวา อาจารยผูสอนในหมวดวิชานี้มีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาที่สอน และมีความรู ความสามารถในการถายทอดความรู ในระดับมากที่สุด ที่คาเฉลี่ย 4.24 และ 4.28 ตามลําดับ ในขณะที่ความทันสมัย ทันตอเหตุการณและสภาพสังคมปจจุบันของเนื้อหาวิชา อยูในระดับมากที่สุด ที่คาเฉลี่ย 4.25 แตดานความซ้ําซอนของเนื้อหารายวิชา และการจัดโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสูตร มีความเหมาะสมในระดับมาก ที่คาเฉลี่ย 3.61 และ 3.97 ตามลําดับ ทั้งนี้ในประเด็นเก่ียวกับการนําความรูไปใช พบวา ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวาสามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมนี้ไปใชในชีวิตประจําวัน ไปใชในการสมัครงานในอนาคต และไปใชในการศึกษาตอไดในอนาคต ในระดับมาก ที่คาเฉลี่ย 4.13,4.11 และ 4.06 ตามลําดับ (ตารางที่ 4.9)

Page 32: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

32

ตารางท่ี 4.9 หมวดวิชาศึกษาท่ัวไปกลุมวิชามนุษยศาสตรn = 112

ความคิดเห็นตอหลักสูตรคาเฉลี่ย(S.D.)

ระดับมากท่ีสุด(รอยละ)

มาก(รอยละ)

ปานกลาง(รอยละ)

นอย(รอยละ)

นอยท่ีสุด(รอยละ)

1. ความซ้ําซอนของเน้ือหารายวิชา

22(19.64)

36(32.14)

45(40.18)

6(5.36)

3(2.68)

3.61(0.95)

มาก

2. ความทันสมัย ทันตอเหตุการณและสภาพสังคมปจจุบันของเน้ือหาวิชา

42(37.50)

56(50.00)

14(12.50)

0(0.00)

0(0.00)

4.25(0.66)

มากท่ีสุด

3. การจัดโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสตูร

27(24.11)

57(50.89)

26(23.21)

2(1.79)

0(0.00)

3.97(0.74)

มาก

4. อาจารยผูสอนมีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาท่ีสอน

40(35.71)

59(52.68)

13(11.61)

0(0.00)

0(0.00)

4.24(0.65)

มากท่ีสุด

5. อาจารยผูสอนมีความรูความสามารถในการถายทอดความรู

41(36.61)

61(54.46)

10(8.93)

0(0.00)

0(0.00)

4.28(0.62)

มากท่ีสุด

6. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในชีวิตประจําวัน

30(26.79)

68(60.71)

13(11.61)

1(0.89)

0(0.00)

4.13(0.64)

มาก

7. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในการสมัครงานในอนาคต

29(25.89)

67(59.82)

15(13.39)

1(0.86)

0(0.00)

4.11(0.65)

มาก

8. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในการศึกษาตอไดในอนาคต

27(24.11)

66(58.93)

18(16.07)

1(0.89)

0(0.00)

4.06(0.66)

มาก

กลุมวิชาพลศึกษา พบวา ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวา อาจารยผูสอนในหมวดวิชานี้มีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาที่สอน และมีความรู ความสามารถในการถายทอดความรู ในระดับมากที่สุด ที่คาเฉลี่ย 4.29 และ 4.34 ตามลําดับ ในขณะที่ ความทันสมัย ทันตอเหตุการณและสภาพสังคมปจจุบันของเนื้อหาวิชาและการจัดโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสูตร มีความเหมาะสมในระดับมาก ที่คาเฉลี่ย 3.87 และ 3.85 ตามลําดับ แตความซ้ําซอนของเนื้อหารายวิชาอยูในระดับปานกลาง ที่คาเฉลี่ย 3.17 ทั้งนี้ในประเด็นเก่ียวกับการนําความรูไปใช

Page 33: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

33

พบวา ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวาสามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมนี้ไปใชในชีวิตประจําวัน ไปใชในการสมัครงานในอนาคต และไปใชในการศึกษาตอไดในอนาคต ในระดับมาก ที่คาเฉลี่ย 4.17, 3.89 และ 3.96ตามลําดับ (ตารางที่ 4.10)

ตารางท่ี 4.10 หมวดวิชาศึกษาท่ัวไปกลุมวิชาพลศึกษาn = 112

ความคิดเห็นตอหลักสูตรคาเฉลี่ย(S.D.)

ระดับมากท่ีสุด(รอยละ)

มาก(รอยละ)

ปานกลาง(รอยละ)

นอย(รอยละ)

นอยท่ีสุด(รอยละ)

1. ความซ้ําซอนของเน้ือหารายวิชา

8(7.14)

33(29.46)

44(39.29)

24(21.43)

3(2.68)

3.17(0.94)

ปานกลาง

2. ความทันสมัย ทันตอเหตุการณและสภาพสังคมปจจุบันของเน้ือหาวิชา

19(16.96)

60(53.57)

32(28.57)

1(0.89)

0(0.00)

3.87(0.69)

มาก

3. การจัดโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสตูร

21(18.75)

60(53.57)

25(22.32)

5(4.46)

1(0.89)

3.85(0.81)

มาก

4. อาจารยผูสอนมีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาท่ีสอน

45(40.18)

56(50.00)

10(8.93)

1(0.89)

0(0.00)

4.29(0.67)

มากท่ีสุด

5. อาจารยผูสอนมีความรูความสามารถในการถายทอดความรู

47(41.96)

56(50.00)

9(8.04)

0(0.00)

0(0.00)

4.34(0.62)

มากท่ีสุด

6. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในชีวิตประจําวัน

39(34.82)

53(47.32)

20(17.86)

0(0.00)

0(0.00)

4.17(0.71)

มาก

7. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในการสมัครงานในอนาคต

26(23.21)

55(49.11)

26(23.21)

3(2.68)

2(1.79)

3.89(0.85)

มาก

8. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในการศึกษาตอไดในอนาคต

28(25.00)

57(50.89)

23(20.54)

3(2.68)

1(0.89)

3.96(0.80)

มาก

Page 34: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

34

2. หมวดวิชาเฉพาะบังคับหมวดวิชาเฉพาะบังคับ ประกอบดวย 4 กลุมวิชา ไดแก กลุมวิชาวิทยาศาสตร กลุมวิชาทางการเกษตร

กลุมวิชาทางเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา และกลุมวิชางานฟารม ซึ่งจากการศึกษาความเหมาะสมของปจจัยเบื้องตนของหลักสูตรจากผูรับบริการการศึกษา พบวา ในกลุมวิชาที่เก่ียวของกับการเกษตรผูรับบริการการศึกษาจะสามารถนําเอาความรูที่ไดรับไปใชประโยชนในดานตางๆ ในระดับมากที่สุด ซึ่งตางจากกลุมวิชาวิทยาศาสตรที่ผูรับบริการการศึกษาสามารถนําความรูไปใชไดในระดับมาก ทั้งนี้ผลการศึกษาในหมวดวิชาเฉพาะบังคับนี้จะเห็นไดวาความคิดเห็นเก่ียวกับอาจารยผูสอนและเนื้อหาวิชาจะมีความสอดคลองกันทั้ง 4 กลุมวิชา สามารถแสดงรายละเอียดของแตละกลุมวิชาได ดังนี้

กลุมวิชาวิทยาศาสตร พบวา ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวา อาจารยผูสอนในหมวดวิชานี้มีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาที่สอน และมีความรู ความสามารถในการถายทอดความรู ในระดับมากที่สุดที่คาเฉลี่ย 4.46 และ 4.36 ตามลําดับ ในขณะที่ความซ้ําซอนของเนื้อหารายวิชา ความทันสมัย ทันตอเหตุการณและสภาพสังคมปจจุบันของเนื้อหาวิชา และการจัดโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสูตร มีความเหมาะสมในระดับมาก ที่คาเฉลี่ย 3.79, 3.90 และ 3.84 ตามลําดับ ทั้งนี้ในประเด็นเก่ียวกับการนําความรูไปใช พบวา ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวาสามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมนี้ไปใชในชีวิตประจําวัน ไปใชในการสมัครงานในอนาคตและไปใชในการศึกษาตอไดในอนาคต ในระดับมาก ที่คาเฉลี่ย 4.11, 4.04 และ 4.11 ตามลําดับ (ตารางที่ 4.11)

กลุมวิชาทางการเกษตร พบวา ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวา อาจารยผูสอนในหมวดวิชานี้มีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาที่สอน และมีความรู ความสามารถในการถายทอดความรู ในระดับมากที่สุด ที่คาเฉลี่ย 4.53 และ 4.49 ตามลําดับ เชนเดียวกับความคิดเห็นเก่ียวกับการนําความรูไปใช ที่ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวาสามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมนี้ไปใชในชีวิตประจําวัน ไปใชในการสมัครงานในอนาคต และไปใชในการศึกษาตอไดในอนาคต ไดในระดับมากที่สุด โดยมีคาเฉลี่ยอยูที่ 4.36, 4.29 และ 4.25ตามลําดับ ในขณะที่ความซ้ําซอนของเนื้อหารายวิชา ความทันสมัย ทันตอเหตุการณและสภาพสังคมปจจุบันของเนื้อหาวิชา และการจัดโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสูตร มีความเหมาะสมในระดับมาก ที่คาเฉลี่ย 3.65, 4.04 และ4.00 ตามลําดับ (ตารางที่ 4.12)

กลุมวิชาทางเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา พบวา ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวา อาจารยผูสอนในหมวดวิชานี้มีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาที่สอน และมีความรู ความสามารถในการถายทอดความรู ในระดับมากที่สุด ที่คาเฉลี่ย 4.47 และ 4.48 ตามลําดับ เชนเดียวกับความคิดเห็นเก่ียวกับการนําความรูไปใชที่ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวาสามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมนี้ไปใชในชีวิตประจําวัน ไปใชในการสมัครงานในอนาคต และไปใชในการศึกษาตอไดในอนาคต ไดในระดับมากที่สุด โดยมีคาเฉลี่ยอยูที่ 4.35, 4.24 และ4.21 ตามลําดับ ในขณะที่ความซ้ําซอนของเนื้อหารายวิชา ความทันสมัย ทันตอเหตุการณและสภาพสังคมปจจุบันของเนื้อหาวิชา มีความเหมาะสมในระดับมาก ที่คาเฉลี่ย 3.54 และ 4.07 ตามลําดับ แตในสวนของการจัดโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสูตรผูรับบริการการศึกษาเห็นวาในกลุมวิชานี้มีความเหมาะสมในการจัดกิจกรรม/โครงการในระดับมากที่สุด ที่คาเฉลี่ย 4.25 (ตารางที่ 4.13)

กลุมวิชางานฟารม พบวา ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวา อาจารยผูสอนในหมวดวิชานี้มีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาที่สอน และมีความรู ความสามารถในการถายทอดความรู ในระดับมากที่สุด ที่

Page 35: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

35

คาเฉลี่ย 4.51 และ 4.54 ตามลําดับ เชนเดียวกับความคิดเห็นเก่ียวกับการนําความรูไปใช ที่ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวาสามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมนี้ไปใชในชีวิตประจําวัน ไปใชในการสมัครงานในอนาคต และไปใชในการศึกษาตอไดในอนาคต ไดในระดับมากที่สุด โดยมีคาเฉลี่ยอยูที่ 4.36, 4.31 และ 4.30 ตามลําดับ ในขณะที่ความซ้ําซอนของเนื้อหารายวิชา อยูในระดับปานกลาง ที่คาเฉลี่ย 3.38 แตในสวนของความทันสมัย ทันตอเหตุการณและสภาพสังคมปจจุบันของเนื้อหาวิชา และการจัดโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสูตรมีความเหมาะสมในระดับมาก ที่คาเฉลี่ย 4.08 และ 4.19 ตามลําดับ (ตารางที่ 4.14)

ตารางที่ 4.11 หมวดวิชาเฉพาะบังคับกลุมวิชาวิทยาศาสตรn = 112

ความคิดเห็นตอหลักสูตรคาเฉลี่ย(S.D.)

ระดับมากท่ีสุด(รอยละ)

มาก(รอยละ)

ปานกลาง(รอยละ)

นอย(รอยละ)

นอยท่ีสุด(รอยละ)

1. ความซ้ําซอนของเน้ือหารายวิชา

29(25.89)

40(35.71)

36(32.14)

5(4.46)

2(1.79)

3.79(0.94)

มาก

2. ความทันสมัย ทันตอเหตุการณและสภาพสังคมปจจุบันของเน้ือหาวิชา

1715.18()

69(61.61)

24(21.43)

2(1.79)

0(0.00)

3.90(0.66)

มาก

3. การจัดโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสตูร

20(17.86)

60(53.57)

27(24.11)

4(3.57)

1(0.89)

3.84(0.79)

มาก

4. อาจารยผูสอนมีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาท่ีสอน

57(50.89)

49(43.75)

6(5.36)

0(0.00)

0(0.00)

4.46(0.60)

มากท่ีสุด

5. อาจารยผูสอนมีความรูความสามารถในการถายทอดความรู

51(45.54)

51(45.54)

9(8.04)

1(0.89)

0(0.00)

4.36(0.67)

มากท่ีสุด

6. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในชีวิตประจําวัน

35(31.25)

57(50.89)

17(15.18)

3(2.68)

0(0.00)

4.11(0.75)

มาก

7. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในการสมัครงานในอนาคต

27(24.11)

65(58.04)

17(15.18)

3(2.68)

0(0.00)

4.04(0.71)

มาก

8. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในการศึกษาตอไดในอนาคต

37(33.04)

54(48.21)

18(16.07)

2(1.79)

1(0.89)

4.11(0.80)

มาก

Page 36: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

36

ตารางที่ 4.12 หมวดวิชาเฉพาะบังคับกลุมวิชาทางการเกษตร

n = 112ความคิดเห็นตอหลักสูตร

คาเฉลี่ย(S.D.)

ระดับมากท่ีสุด(รอยละ)

มาก(รอยละ)

ปานกลาง(รอยละ)

นอย(รอยละ)

นอยท่ีสุด(รอยละ)

1. ความซ้ําซอนของเน้ือหารายวิชา

18(16.07)

49(43.75)

35(31.25)

8(7.14)

2(1.79)

3.65(0.90)

มาก

2. ความทันสมัย ทันตอเหตุการณและสภาพสังคมปจจุบันของเน้ือหาวิชา

25(22.32)

67(59.82)

19(16.96)

1(0.89)

0(0.00)

4.04(0.66)

มาก

3. การจัดโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสตูร

32(28.57)

54(48.21)

20(17.86)

6(5.36)

0(0.00)

4.00(0.83)

มาก

4. อาจารยผูสอนมีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาท่ีสอน

65(58.04)

41(36.61)

6(5.36)

0(0.00)

0(0.00)

4.53(0.60)

มากท่ีสุด

5. อาจารยผูสอนมีความรูความสามารถในการถายทอดความรู

61(54.46)

45(40.18)

6(5.36)

0(0.00)

0(0.00)

4.49(0.60)

มากท่ีสุด

6. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในชีวิตประจําวัน

48(42.86)

56(50.00)

8(7.14)

0(0.00)

0(0.00)

4.36(0.61)

มากท่ีสุด

7. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในการสมัครงานในอนาคต

43(38.39)

58(51.79)

11(9.82)

0(0.00)

0(0.00)

4.29(0.64)

มากท่ีสุด

8. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในการศึกษาตอไดในอนาคต

46(41.07)

51(45.54)

13(11.61)

1(0.89)

1(0.89)

4.25(0.77)

มากท่ีสุด

Page 37: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

37

ตารางที่ 4.13 หมวดวิชาเฉพาะบังคับกลุมวิชาทางเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา

n = 112ความคิดเห็นตอหลักสูตร

คาเฉลี่ย(S.D.)

ระดับมากท่ีสุด(รอยละ)

มาก(รอยละ)

ปานกลาง(รอยละ)

นอย(รอยละ)

นอยท่ีสุด(รอยละ)

1. ความซ้ําซอนของเน้ือหารายวิชา

12(10.71)

48(42.86)

42(37.50)

9(8.04)

1(0.89)

3.54(0.83)

มาก

2. ความทันสมัย ทันตอเหตุการณและสภาพสังคมปจจุบันของเน้ือหาวิชา

28(25.00)

65(58.04)

18(16.07)

1(0.89)

0(0.00)

4.07(0.67)

มาก

3. การจัดโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสตูร

40(35.71)

61(54.46)

10(8.93)

1(0.89)

0(0.00)

4.25(0.65)

มากท่ีสุด

4. อาจารยผูสอนมีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาท่ีสอน

59(52.68)

47(41.96)

6(5.36)

0(0.00)

0(0.00)

4.47(0.60)

มากท่ีสุด

5. อาจารยผูสอนมีความรูความสามารถในการถายทอดความรู

60(53.57)

46(41.07)

6(5.36)

0(0.00)

0(0.00)

4.48(0.60)

มากท่ีสุด

6. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในชีวิตประจําวัน

47(41.96)

58(51.79)

6(5.36)

1(0.89)

0(0.00)

4.35(0.63)

มากท่ีสุด

7. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในการสมัครงานในอนาคต

45(40.18)

52(46.43)

13(11.61)

1(0.89)

1(0.89)

4.24(0.76)

มากท่ีสุด

8. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในการศึกษาตอไดในอนาคต

36(32.14)

65(58.04)

10(8.93)

0(0.00)

1(0.89)

4.21(0.67)

มากท่ีสุด

Page 38: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

38

ตารางที่ 4.14 หมวดวิชาเฉพาะบังคับกลุมวิชางานฟารม

n = 112ความคิดเห็นตอหลักสูตร

คาเฉลี่ย(S.D.)

ระดับมากท่ีสุด(รอยละ)

มาก(รอยละ)

ปานกลาง(รอยละ)

นอย(รอยละ)

นอยท่ีสุด(รอยละ)

1. ความซ้ําซอนของเน้ือหารายวิชา

14(12.50)

33(29.46)

48(42.86)

15(13.39)

2(1.79)

3.38(0.93)

ปานกลาง

2. ความทันสมัย ทันตอเหตุการณและสภาพสังคมปจจุบันของเน้ือหาวิชา

34(30.36)

57(50.89)

17(15.18)

4(3.57)

0(0.00)

4.08(0.77)

มาก

3. การจัดโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสตูร

42(37.50)

54(48.21)

13(11.61)

1(0.89)

2(1.79)

4.19(0.81)

มาก

4. อาจารยผูสอนมีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาท่ีสอน

63(56.25)

43(38.39)

6(5.36)

0(0.00)

0(0.00)

4.51(0.60)

มากท่ีสุด

5. อาจารยผูสอนมีความรูความสามารถในการถายทอดความรู

67(59.82)

38(33.93)

7(6.25)

0(0.00)

0(0.00)

4.54(0.61)

มากท่ีสุด

6. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในชีวิตประจําวัน

51(45.54)

50(44.64)

11(9.82)

0(0.00)

0(0.00)

4.36(0.66)

มากท่ีสุด

7. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในการสมัครงานในอนาคต

48(42.86)

51(45.54)

13(11.61)

0(0.00)

0(0.00)

4.31(0.67)

มากท่ีสุด

8. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในการศึกษาตอไดในอนาคต

49(43.75)

50(44.64)

11(9.82)

2(1.79)

0(0.00)

4.30(0.72)

มากท่ีสุด

Page 39: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

39

3. หมวดวิชาเฉพาะเลือกหมวดวิชาเฉพาะเลือก ประกอบดวย 2 กลุมวิชา ไดแก กลุมวิชาทางเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา และ

กลุมวิชาสาขาวิทยาศาสตร เกษตร และสิ่งแวดลอม ซึ่งจากการศึกษาความเหมาะสมของปจจัยเบื้องตนของหลักสูตรจากผูรับบริการการศึกษา สามารถแสดงผลความคิดเห็นไดดังนี้

กลุมวิชาทางเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา พบวา ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวาภาพรวมของปจจัยในกลุมวิชานี้มีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด โดยเห็นวาอาจารยผูสอนมีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาที่สอน และมีความรู ความสามารถในการถายทอดความรู ในระดับมากที่สุด ที่คาเฉลี่ย 4.51 และ4.55 ตามลําดับ ในสวนของความทันสมัย ทันตอเหตุการณและสภาพสังคมปจจุบันของเนื้อหาวิชา และการจัดโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสูตร มีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด ที่คาเฉลี่ย 4.21 และ 4.29 ตามลําดับ ในขณะที่ความซ้ําซอนของเนื้อหารายวิชามีระดับความเหมาะสมอยูที่ระดับมาก คาเฉลี่ย 3.62 ทั้งนี้ในประเด็นเก่ียวกับการนําความรูไปใช พบวา ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวาสามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมนี้ไปใชในชีวิตประจําวัน ไปใชในการสมัครงานในอนาคต และไปใชในการศึกษาตอไดในอนาคต ในระดับมากที่สุด ที่คาเฉลี่ย4.42, 4.40 และ 4.40 ตามลําดับ (ตารางที่ 4.15)

กลุมวิชาสาขาวิทยาศาสตร เกษตร และสิ่งแวดลอม พบวา ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวา อาจารยผูสอนในหมวดวิชานี้มีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาที่สอน และมีความรู ความสามารถในการถายทอดความรู ในระดับมากที่สุด ที่คาเฉลี่ย 4.53 และ 4.56 ตามลําดับ เชนเดียวกับความคิดเห็นเก่ียวกับการนําความรูไปใช ที่ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวาสามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมนี้ไปใชในชีวิตประจําวันไปใชในการสมัครงานในอนาคต และไปใชในการศึกษาตอไดในอนาคต ไดในระดับมากที่สุด โดยมีคาเฉลี่ยอยูที่ 4.38,4.34 และ 4.28 ตามลําดับ ในขณะที่ความซ้ําซอนของเนื้อหารายวิชา ความทันสมัย ทันตอเหตุการณ สภาพสังคมปจจุบันของเนื้อหาวิชา และการจัดโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสูตร มีความเหมาะสมในระดับมาก ที่คาเฉลี่ย 3.63,4.20 และ 4.18 ตามลําดับ (ตารางที่ 4.16)

Page 40: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

40

ตารางที่ 4.15 หมวดวิชาเฉพาะเลือกกลุมวิชาเกษตรและสิง่แวดลอมศึกษาn = 112

ความคิดเห็นตอหลักสูตรคาเฉลีย่(S.D.)

ระดับมากที่สุด(รอยละ)

มาก(รอยละ)

ปานกลาง(รอยละ)

นอย(รอยละ)

นอยที่สุด(รอยละ)

1. ความซํ้าซอนของเน้ือหารายวิชา

19(16.96)

43(38.39)

40(35.71)

8(7.14)

2(1.79)

3.62(0.91)

มาก

2. ความทันสมัย ทันตอเหตุการณและสภาพสังคมปจจุบันของเน้ือหาวิชา

35(31.25)

66(58.93)

10(8.93)

1(0.89)

0(0.00)

4.21(0.63)

มากที่สุด

3. การจัดโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสูตร

43(38.39)

59(52.68)

10(8.93)

0(0.00)

0(0.00)

4.29(0.62)

มากที่สุด

4. อาจารยผูสอนมีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาที่สอน

64(57.14)

41(36.61)

7(6.25)

0(0.00)

0(0.00)

4.51(0.62)

มากที่สุด

5. อาจารยผูสอนมีความรูความสามารถในการถายทอดความรู

66(58.93)

42(37.50)

4(3.57)

0(0.00)

0(0.00)

4.55(0.57)

มากที่สุด

6. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในชีวิตประจําวัน

51(45.54)

57(50.89)

4(3.57)

0(0.00)

0(0.00)

4.42(0.56)

มากที่สุด

7. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในการสมัครงานในอนาคต

53(47.32)

51(45.54)

8(7.14)

0(0.00)

0(0.00)

4.40(0.62)

มากที่สุด

8. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในการศึกษาตอไดในอนาคต

52(46.43)

53(47.32)

7(6.25)

0(0.00)

0(0.00)

4.40(0.61)

มากที่สุด

Page 41: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

41

ตารางที่ 4.16 หมวดวิชาเฉพาะเลือกกลุมวิชาสาขาวิทยาศาสตร เกษตร และสิ่งแวดลอมn = 112

ความคิดเห็นตอหลักสูตรคาเฉลี่ย(S.D.)

ระดับมากท่ีสุด(รอยละ)

มาก(รอยละ)

ปานกลาง(รอยละ)

นอย(รอยละ)

นอยท่ีสุด(รอยละ)

1. ความซ้ําซอนของเน้ือหารายวิชา

21(18.75)

47(41.96)

28(25.00)

14(12.50)

2(1.79)

3.63(0.99)

มาก

2. ความทันสมัย ทันตอเหตุการณและสภาพสังคมปจจุบันของเน้ือหาวิชา

36(32.14)

63(56.25)

12(10.71)

1(0.89)

0(0.00)

4.20(0.66)

มาก

3. การจัดโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสตูร

39(34.82)

58(51.79)

11(9.82)

4(3.57)

0(0.00)

4.18(0.75)

มาก

4. อาจารยผูสอนมีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาท่ีสอน

63(56.25)

45(40.18)

4(3.75)

0(0.00)

0(0.00)

4.53(0.57)

มากท่ีสุด

5. อาจารยผูสอนมีความรูความสามารถในการถายทอดความรู

66(58.93)

43(38.39)

3(2.68)

0(0.00)

0(0.00)

4.56(0.55)

มากท่ีสุด

6. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในชีวิตประจําวัน

47(41.96)

60(53.57)

5(4.46)

0(0.00)

0(0.00)

4.38(0.57)

มากท่ีสุด

7. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในการสมัครงานในอนาคต

42(37.50)

66(58.93)

4(3.57)

0(0.00)

0(0.00)

4.34(0.55)

มากท่ีสุด

8. สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมน้ีไปใชในการศึกษาตอไดในอนาคต

38(33.93)

67(59.82)

7(6.25)

0(0.00)

0(0.00)

4.28(0.57)

มากท่ีสุด

Page 42: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

42

3. ประสิทธิภาพของบริหารจัดการหลักสูตรและการบริการการศึกษาประสิทธิภาพของบริหารจัดการหลักสูตรและการบริการในการวิจัยนี้ เปนการศึกษาความ

เหมาะสมของการบริหารจัดการหลักสูตรและการบริการในประเด็นที่เก่ียวของกับการจัดการเรียนการสอน ทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน การใหบริการของสายสนับสนุน การดูแลของอาจารยที่ปรึกษา และฟารมปฏิบัติการ โดยการสอบถามความคิดเห็นของผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรที่สําเร็จการศึกษาและที่กําลังศึกษาอยู จํานวน 112คน พบวา ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวาอาจารยที่ปรึกษามีการดูแลเอาใจใสนิสิตอยูในระดับที่เหมาะสมมากที่สุด (คาเฉลี่ย 4.32) ในดานการจัดการเรียนการสอนเห็นวาหลักสูตรมีการจัดตารางเรียน/ตารางสอบที่เหมะสมในระดับมาก (คาเฉลี่ย 3.79) แตในสวนของทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอนที่เก่ียวกับขนาดหองเรียนเพียงพอตอจํานวนนิสิต และจํานวนหองเรียนมีเพียงพอตอการจัดการเรียนการสอนยังมีความเหมาะสมอยูในระดับปานกลาง(คาเฉลี่ย 3.37 และ 3.30 ตามลําดับ) ในขณะที่ทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอนอ่ืนๆ เชน อุปกรณในหองเรียนมีความทันสมัย หองเรียนมีโสตทัศนูปกรณเหมาะสมตอการจัดการเรียนการสอน หองเรียนมีวัสดุ อุปกรณ สําหรับการฝกปฏิบัติที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสมในระดับมาก (คาเฉลี่ย 3.72, 3.74 และ 3.72 ตามลําดับ) โดยในสวนของการใหบริการของสายสนับสนุนนั้นผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวามีความเหมาะสมในระดับมาก (คาเฉลี่ย 3.80)

การศึกษาประสิทธิภาพของฟารมปฏิบัติการ พบวา ผูรับบริการการศึกษาเห็นวาบริหารจัดการหลักสูตรและการบริการในสวนของฟารมปฏิบัติการอยูในระดับมาก ทั้งนี้เห็นวาฟารมปฏิบัติการสามารถจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรไดเพียงพอในระดับมาก (คาเฉลี่ย 4.13) ฟารมปฏิบัติการมีอุปกรณเคร่ืองมือที่ทันสมัยสอดคลองกับกิจกรรมรายวิชาในระดับมาก (คาเฉลี่ย 3.96) และ ฟารมปฏิบัติการมีอุปกรณเคร่ืองมือครบถวนเหมาะสมกับกิจกรรมรายวิชาในระดับมา (คาเฉลี่ย 4.00) ตามลําดับ (ตารางที่ 4.17)

ตารางที่ 4.17 ประสิทธิภาพของกระบวนการบริหารจัดการหลักสูตรและการบริการn = 112

ความคิดเห็นคาเฉลี่ย(S.D.)

ระดับมากท่ีสุด(รอยละ)

มาก(รอยละ)

ปานกลาง(รอยละ)

นอย(รอยละ)

นอยท่ีสุด(รอยละ)

1. การจัดตารางเรียน/ตารางสอบมีความเหมะสม

10(8.93)

69(61.61)

32(28.57)

1(0.89)

0(0.00)

3.79(0.61)

มาก

2. อาจารยท่ีปรึกษามีการดูแลเอาใจใสนิสิต

52(46.43)

46(41.07)

12(10.71)

2(1.79)

0(0.00)

4.32(0.72)

มากท่ีสุด

3. คุณภาพและการใหบริการของบุคลากรสายสนับสนุน

18(16.07)

57(50.89)

34(30.36)

3(2.68)

0(0.00)

3.80(0.73)

มาก

4. ขนาดหองเรียนเพียงพอตอจํานวนนิสิต

12(10.71)

35(31.25)

49(43.75)

14(12.50)

2(1.79)

3.37(0.90)

ปานกลาง

5. จํานวนหองเรียนมีเพียงพอตอการจัดการเรียนการสอน

9(8.04)

34(30.36)

53(47.32)

14(12.50)

2(1.79)

3.30(0.86)

ปานกลาง

Page 43: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

43

ความคิดเห็นคาเฉลี่ย(S.D.)

ระดับมากท่ีสุด(รอยละ)

มาก(รอยละ)

ปานกลาง(รอยละ)

นอย(รอยละ)

นอยท่ีสุด(รอยละ)

6. อุปกรณในหองเรียนมีความทันสมัย

14(12.50)

59(52.68)

33(29.46)

6(5.36)

0(0.00)

3.72(0.75)

มาก

7. หองเรียนมีโสตทัศนูปกรณเหมาะสมตอการจัดการเรียนการสอน

12(10.71)

64(57.14)

32(28.57)

3(2.68)

1(0.89)

3.74(0.72)

มาก

8. หองเรียนมีวัสดุ อุปกรณสําหรับการฝกปฏิบัติท่ีมีคุณภาพ

16(14.29)

54(48.21)

38(33.93)

3(2.68)

1(0.89)

3.72(0.77)

มาก

9.ฟารมปฏิบัติการสามารถจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรไดเพียงพอ

37(33.04)

54(48.21)

20(17.86)

1(0.89)

0(0.00)

4.13(0.73)

มาก

10.ฟารมปฏิบัติการมีอุปกรณเครื่องมือท่ีทันสมัยสอดคลองกับกิจกรรมรายวิชา

32(28.57)

49(43.75)

26(23.21)

4(3.57)

1(0.89)

3.96(0.86)

มาก

11.ฟารมปฏิบัติการมีอุปกรณเครื่องมือครบถวนเหมาะสมกับกิจกรรมรายวิชา

35(31.25)

49(43.75)

22(19.64)

5(4.46)

1(0.89)

4.00(0.88)

มาก

หมายเหตุ : ระดับความคิดเห็นตอการประกอบอาชีพเกษตร ไดแก นอยท่ีสุด นอย ปานกลาง มาก และมากท่ีสุด โดยใหคะแนนคําตอบ คือ 1 2 3 4 และ5 ตามลําดับ และจัดกลุมระดับคะแนนความคิดเห็น เปน 5 ระดับ ดังน้ี

อันตรภาคคะแนนในแตละระดับ =

= 5 – 1 = 0.8

ดังน้ันจงึกําหนดระดับความคิดเห็น เปนคะแนนเฉลี่ย ดังน้ีความคิดเห็นระดับนอยท่ีสุด = 1.00 – 1.80ความคิดเห็นระดับนอย = 1.81 – 2.60ความคิดเห็นระดับปานกลาง = 2.61 – 3.40ความคิดเห็นระดับมาก = 3.41 – 4.20ความคิดเห็นระดับมากท่ีสุด = 4.21 – 5.00

5

คะแนนสูงสุด - คะแนนต่ําสุด

จํานวนช้ัน

Page 44: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

44

ทั้งนี้จากการศึกษาหลักสูตรและระบบประกันคุณภาพเก่ียวกับประสิทธิภาพของบริหารจัดการหลักสูตรและการบริการ พบวาหลักสูตรไดกําหนดระบบและวิธีการประกันคุณภาพหลักสูตรในแตละประเด็น ดังนี้

1) การบริหารหลักสูตร เชน มีคณะกรรมการประจําหลักสูตรเปนผูกํากับดูแลและคอยใหคําแนะนําตลอดจนแนวปฏิบัติใหแกอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรวางแผนการจัดการเรียนการสอนรวมกับผูบริหารของคณะและอาจารยผูสอน ติดตามและรวบรวมขอมูล สําหรับใชในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรโดยกระทํา ทุกปอยางตอเนื่อง และมีการประเมินความพึงพอใจของหลักสูตรและการเรียนการสอน โดยบัณฑิตที่สําเร็จการศึกษา

2) การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน เชน คณะมีการจัดสรรงบประมาณประจําป เพื่อจัดซื้อตํารา สื่อการเรียนการสอน โสตทัศนูปกรณ และ วัสดุครุภัณฑคอมพิวเตอร อ่ืนๆ อยางเพียงพอ คณะวิชาจัดความพรอมดานหนังสือ ตํารา และการสืบคนผานฐานขอมูลโดยมีสํานักหอสมุดกลางที่มีหนังสือดานการบริหารจัดการและดานอ่ืน ๆ รวมถึงฐานขอมูลที่จะใหสืบคน

3) การบริหารคณาจารย เชน การวางระเบียบและหลักเกณฑในการรับอาจารยใหม มีการวางแผนและดําเนินการเพื่อใหเกิดการมีสวนรวมของคณาจารยในการวางแผนการติดตามและทบทวนหลักสูตร ทั้งนี้ภาควิชามีหลักเกณฑในการแตงตั้งคณาจารยพิเศษ

4) การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน ภาควิชาไมไดเปนผูดําเนินการโดยตรงทั้งนี้เนื่องจากบุคคลากรสายสนับสนุนจะอยูสังกัดสํานักงานเลขานุการคณะฯ ซึ่งมีระบบการบริหารงานและการพัฒนาบุคลากรอยางตอเนื่อง เชน การวางแผนและดําเนินการเพิ่มทักษะความรูเพื่อการปฏิบัติงาน และการเปดโอกาสใหศึกษาตอเพื่อเพิ่มวุฒิในการทํางาน เปนตน

5) การสนับสนุนและการใหคําแนะนํานิสิต ภาควิชาไดมีการดําเนินงานอยางตอเนื่องทั้งในรูปแบบของโครงการของภาควิชา โครงการหรือกิจกรรมที่ทางคณะและชุมนุม/สโมสรจัดข้ึน เชน การปฐมนิเทศนิสิตใหมในภาคการศึกษาแรกเขา เพื่อใหคําปรึกษาเก่ียวกับหลักสูตรและการวางแผนการเรียนในหลักสูตรของนิสิต การลงทะเบียนเรียนในแตละภาคเรียน ใหนิสิตพบอาจารยที่ปรึกษาเพื่อขอคําแนะนําเก่ียวกับรายวิชาที่จะลงทะเบียนเรียน การกําหนดใหอาจารยที่ปรึกษาระบุเวลาในการใหคําปรึกษาอยางนอยสัปดาหละ 1 ชั่วโมงและการดําเนินการตางๆ ที่เก่ียวของกับการลงทะเบียนนิสิตตองไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาเปนลายลักษณอักษร ทั้งนี้ในสวนของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรมีการจัดโครงการเสริมสรางความสัมพันธระหวางอาจารยที่ปรึกษากับนิสิตทุกภาคการศึกษาจากงบประมาณที่ไดจัดสรรไวอยางตอเนื่อง

ในสวนของการกํากับดูแลประสิทธิภาพของบริหารจัดการหลักสูตรและการบริการ ภาควิชามีการกํากับการทําประมวลการสอน (มคอ.03) ใหเปนมาตรฐานที่มีรายละเอียดของรายวิชาในดานเนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน และการประเมินผล โดยอาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาจะตองสง มคอ.03 กอนวันเปดภาคเรียน และใหอาจารยทุกคนที่รับผิดชอบรายวิชาจัดทําประมวลการสอน (Course Syllabus) และแจกนิสิตในวันเปดการเรียนการสอนเพื่อใหนิสิตไดทราบรายละเอียดของรายวิชา และมีการกํากับใหดําเนินตามประมวลการสอนรายวิชาโดยมีการจัดวาระการประชุมอาจารยประจําหลักสูตรและอาจารยผูสอนในการประชุมประจําเดือนของภาควิชา และการประชุมหารือรวมกันของทีมอาจารยผูสอน และการกํากับกระบวนการเรียนการสอน โดยภาควิชามีการควบคุมการจัดการเรียน

Page 45: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

45

การสอนในรายวิชาที่มีการสอนหลายกลุมใหไดมาตรฐานเดียวกันโดยใหอาจารยผูสอนจัดทําประมวลการสอนเนื้อหากิจกรรมการเรียนการสอน และการประเมินผลที่เปนมาตรฐาน แลวดําเนินการจัดการเรียนการสอนใหครบถวนทุกเนื้อหากับนิสิตทุกกลุม โดยมีการประชุมหารือรวมกันของทีมอาจารยผูสอนระหวางจัดการเรียนการสอนตลอดเวลาเพื่อใหการสอนดําเนินการไดครบถวนทั้งเนื้อหา กิจกรรม และประเมินผล มีการสะทอนขอมูลจากนิสิตเพื่อนําไปเปนแนวทางในการปรับปรุงการเรียนการสอนคร้ังตอไป มีการประชุมอาจารยประจําหลักสูตรและอาจารยผูสอนในการประชุมประจําเดือนของภาควิชา และมีการทวนสอบรายวิชาจากคณะกรรมการทวนสอบเมื่อเสร็จสิ้นการเรียนการสอน เพื่อนําผลการประเมินมาพัฒนาและปรับปรุงการเรียนการสอนคร้ังตอไป

การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรูของนิสิต หัวหนาภาควิชามอบหมายคณาจารยในสาขาวิชาทําหนาที่ทวนสอบในรายวิชาที่กําหนดโดยอาจารยอ่ืนที่ไมใชอาจารยประจําหลักสูตร ดําเนินการดังนี้

1) วิเคราะหและตรวจสอบองคประกอบการวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนโดยพิจารณาความเหมาะสมของการใหคะแนนกับขอสอบ รายงาน โครงการ การปฏิบัติงานทักษะภาคสนาม และงานอ่ืนๆ ที่นิสิตไดรับมอบหมาย

2) ตรวจสอบวิธีการประเมินผลสัมฤทธิ์ในการเรียนที่เขียนไวในประมวลการสอนแตละรายวิชา3) ตรวจสอบคะแนนผลสัมฤทธิ์ในการเรียนของนิสิตตามองคประกอบการวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนที่

กําหนดไวในแตละรายวิชา

ทั้งนี้ภาควิชามีการกํากับการประเมินการจัดการเรียนการสอนและการประเมินหลักสูตร ดังนี้1) มอบหมายใหอาจารยผูสอนกํากับผูเรียนใหทําการประเมินการเรียนการสอน และอาจารยผูสอนตอง

ดําเนินการประเมินตนเองในระบบออนไลนตามกําหนด ภาคการศึกษาละ 2 คร้ัง เพื่อนําผลการประเมินมาใชพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน

2) มอบหมายใหคณาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาทําการประเมินการจัดการเรียนการสอน และพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนใน มคอ. 05 ทุกรายวิชา ทั้งนี้กําหนดใหดําเนินการภายใน 30 วันนับจากวันสุดทายของการเรียนการสอน

3) ภาควิชากํากับติดตามโดยใหคณาจารยผูรับผิดชอบรายวิชารายงานผลการจัดการเรียนการสอนตอที่ประชุมภาควิชาอยางตอเนื่อง

Page 46: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

46

สวนที่ 2 สภาพการลงทุนจัดการเรียนการสอน

จากการศึกษาและวิเคราะหเอกสาร รายงานการประเมินตนเอง แผนงานและแผลกลยุทธ ป 2554-2557เพื่อวิเคราะหและสรุปขอมูลสภาพการลงทุนจัดการเรียนการสอนใน 3 ประเด็นหลัก ตามกรอบมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 ไดแก

การลงทุนดานคุณภาพบัณฑิต สวนใหญเปนโครงการเนนการสงเสริมใหผูเรียนมีความรู มีคุณธรรมจริยธรรม มีความสามารถในการเรียนรูละพัฒนาตนเอง สามารถประยุกตใชความรูเพื่อการดํารงชีวิตในสังคมไดอยางมีความสุขทั้งทางรางกายและจิตใจ มีความสํานึกและความรับผิดชอบในฐานะพลเมืองและพลโลก ลักษณะโครงการที่มีการลงทุน ไดแก โครงการที่เก่ียวกับการสงเสริมความรู ความเชี่ยวชาญในศาสตรเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา เพื่อสงเสริมดานเรียนรู สรางและประยุกตใชความรูเพื่อพัฒนาตนเอง สามารถปฏิบัติงานและสรางงานเพื่อพัฒนาสังคมใหสามารถแขงขันไดในระดับสากล ทั้งนี้ในกิจกรรมของโครงการไดมีการสอดแทรกการพัฒนาดานจิตสํานึกดานสิ่งแวดลอม และทักษะในการดํารงชีวิตและปฏิบัติหนาที่ตามความรับผิดชอบโดยยึดหลักคุณธรรมจริยธรรม รวมถึงกิจกรรมดีๆที่ชวยสงเสริมสุขภาพรางกายและจิตใจที่ดี ไดอยางถูกตองเหมาะสม

การลงทุนดานการบริหารจัดการการอุดมศึกษา แบงการลงทุนโครงการออกเปน 2 สวนใหญๆ ดังนี้1) โครงการดานการบริหารจัดการดานตางๆ ไดแก การบริหารจัดการบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและ

ประสิทธิผลตามภารกิจ ดานตางๆ ที่สอดคลองกับความตองการที่หลากหลายของสถาบันและสังคม การบริหารจัดการทรัพยากรและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล คลองตัว โปรงใส และตรวจสอบได มีการจัดการศึกษาผานระบบและวิธีการตางๆ อยางเหมาะสมและคุมคาคุมทุน และการบริหารจัดการระบบการประกันคุณภาพเพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการอุดมศึกษาอยางตอเนื่อง

2) การดําเนินงานโครงการตามพันธกิจของการอุดมศึกษาทั้ง 4 ดาน อยางมีดุลยภาพโดยมีการประสานความรวมมือรวมพลังจากทุกภาคสวนของชุมชนและสังคมในการจัดการความรู ไดแก ดานการจัดหลักสูตรและการเรียนการสอน ดานการวิจัยเพื่อสรางและประยุกตใชองคความรูใหม ดานการใหบริการวิชาการแกสังคม และดานการอนุรักษ ฟนฟู สืบสาน พัฒนา เผลแพร วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน

การลงทุนดานการสรางและพัฒนาสังคมฐานความรู มีลักษณะของโครงการที่มุงแสวงหา การสรางและการจัดการความรูตามแนวทาง/หลักการ อันนําไปสูสังคมฐานความรูและสังคมแหงการเรียนรู ซึ่งอาจปรากฏอยูในรูปของกิจกรรมโครงการที่จับตองได หรือผลพลอยไดที่โครงการที่ไมสามารถจับตองได ทั้งนี้โครงการนั้นๆอาจมีลักษณะของการบูรณาการโครงการรวมกับชุมชน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู สรางเครือขาย และหรือประสานความรวมมือ

การศึกษาปจจัยนําเขา กระบวนการ และเปาหมายซึ่งเปนผลผลิตของโครงการ พบวา ในชวงป 2554-2557 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา มีการลงทุนในการจัดการเรียนการสอนดานตางๆ ตามกรอบมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 อยางครบถวน โดยมีปริมาณการลงทุนที่แตกตางกันดังแสดงในตารางที่ 4.18-4.21

Page 47: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

47

ตารางที่ 4.18 สภาพการลงทนุในการจัดการเรียนการสอน ปงบประมาณ 2554

โครงการ

สภาพการลงทุนในการจัดการเรียนการสอน (บาท)

คุณภาพบัณฑิต

การบริหารจัดการสังคม

ฐานความรูบริหารจัดการพันธกิจ4 ดาน

โครงการการฝกงานเกษตรภายนอกตามสาขาท่ีสนใจ 30,000โครงการการพัฒนาศักยภาพนิสิตดานเกษตรและส่ิงแวดลอม 50,000โครงการการพัฒนาฟารมนิสิต 30,000โครงการกาวแรกสู HCRD 30,000โครงการการปรับปรุงหลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาเกษตร

และส่ิงแวดลอมศึกษา10,000

โครงการการวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน 10,000โครงการวิจัยเรื่องเกษตรศาสตรกับความเปนมหาวิทยาลัยวิจัย

แหงชาติ1,000,000

โครงการวิจัยเรื่องการพัฒนาโรงเรียนตนแบบการจัดการเรียนรูเกษตรและส่ิงแวดลอมศึกษา

300,000

โครงการวิจัยเรื่องการศึกษาสถานภาพการประยุกตใช ICT 700,000โครงการกลวยไม Expo'งานเกษตรกําแพงแสน ครั้งท่ี 3 300,000โครงการพัฒนาบุคลากร 60,000โครงการพัฒนาระบบกลไกการประกันคุณภาพของภาควิชาฯ 10,000โครงการการสัมมนาบุคลากรประจําป 50,000โครงการ Big Cleaning Day 10,000โครงการทําบุญประจําปฟารมนิสิต 7,000งบภายใน จํานวน 9 โครงการรวมงบลงทุน 277,000บาท 117,000 160,000งบภายนอก จํานวน 7 โครงการรวมงบลงทุน 2,320,000บาท 0 0 2,020,000 300,000รวมปงบประมาณ 2554 ลงทุนท้ังส้ินจํานวน 16 โครงการรวมงบลงทุน 2,597,000 บาท

117,000 160,000 2,020,000 300,000

หมายเหตุ : หมายถึง งบภายในที่ภาควิชาการพฒันาทรัพยากรมนุษยและชุมชนลงทุน หมายถึง งบภายนอกลงทุนจากคณะ สถาบัน มหาวิทยาลัย และหนวยภายนอกมหาวิทยาลัย หมายถึง โครงการที่มีปจจยันําเขา กระบวนการ และเปาหมายซ่ึงเปนผลผลิตของโครงการ เกี่ยวของกับ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรและส่ิงแวดลอมศึกษา

Page 48: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

48

ตารางที่ 4.19 สภาพการลงทนุในการจัดการเรียนการสอน ปงบประมาณ 2555

โครงการ

สภาพการลงทุนในการจัดการเรียนการสอน (บาท)

คุณภาพบัณฑิต

การบริหารจัดการสังคม

ฐานความรูบริหารจัดการพันธกิจ4 ดาน

โครงการบริการสารสนเทศเพ่ือการพัฒนาวิชาการ และวิชาชีพแกนิสิตและศิษยเกา

1,000

โครงการการฝกงานเกษตรภายนอกตามสาขาท่ีสนใจ 30,000โครงการการพัฒนาศักยภาพนิสิตดานเกษตรและส่ิงแวดลอม 50,000โครงการกาวแรกสู HCRD 30,000โครงการการพัฒนากระบวนการเรียนรูของชุมชนโดยใช

การเกษตรเปนฐาน400,000

โครงการจัดทําฐานขอมูลความเชี่ยวชาญในการใหบริการวิชาการของอาจารยภาควิชาฯ

3,000

โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสูความเปนมหาวิทยาลัยวิจัย 117,600โครงการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน 5,000โครงการสืบสานประเพณีสงกรานต ภาควิชาการพัฒนา

ทรัพยากรมนุษยและชุมชน ประจําป 25552,000

โครงการรับขวัญตนกลา ภูมิปญญาคารวะ 10,000โครงการการสัมมนาบุคลากรประจําป 50,000โครงการ Big Cleaning Day 5,000โครงการจัดทํา website 10,000โครงการประชาสัมพันธภาควิชา 5,000โครงการประชุมภาควิชา 16,000โครงการงามอยางไทยเทิดไทองคราชัน สานฝนองคราชินี 9,750โครงการทําบุญประจําปฟารมนิสิต 7,000งบภายใน จํานวน 15 โครงการรวมงบลงทุน 233,750 บาท 129,000 100,750 3,000 1,000งบภายนอก จํานวน 2 โครงการรวมงบลงทุน 517,600 บาท 0 0 517,600 0รวมปงบประมาณ 2555 ลงทุนท้ังส้ินจํานวน 17 โครงการรวมงบลงทุน 751,350 บาท

129,000 100,750 520,600 1,000

หมายเหตุ : หมายถึง งบภายในที่ภาควิชาการพฒันาทรัพยากรมนุษยและชุมชนลงทุน หมายถึง งบภายนอกลงทุนจากคณะ สถาบัน มหาวิทยาลัย และหนวยภายนอกมหาวิทยาลัย หมายถึง โครงการที่มีปจจยันําเขา กระบวนการ และเปาหมายซ่ึงเปนผลผลิตของโครงการ เกี่ยวของกับ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรและส่ิงแวดลอมศึกษา

Page 49: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

49

ตารางที่ 4.20 สภาพการลงทนุในการจัดการเรียนการสอน ปงบประมาณ 2556

โครงการ

สภาพการลงทุนในการจัดการเรียนการสอน (บาท)

คุณภาพบัณฑิต

การบริหารจัดการสังคม

ฐานความรูบริหารจัดการพันธกิจ4 ดาน

โครงการบริการสารสนเทศเพ่ือการพัฒนาวิชาการ และวิชาชีพแกนิสิตและศิษยเกา

10,000

โครงการการฝกงานเกษตรภายนอกตามสาขาท่ีสนใจ 30,000โครงการการพัฒนาศักยภาพนิสิตดานเกษตรและส่ิงแวดลอม 50,000โครงการ HCRD's Days 50,000โครงการถายทอดเทคโนโลยีการผลิตเห็ดเพ่ือความม่ันคงทาง

อาหาร (55-56)100,000

โครงการกลวยไม Expo ครั้งท่ี 3 400,000โครงการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน 5,000โครงการสืบสานประเพณีสงกรานต ภาควิชาการพัฒนา

ทรพัยากรมนุษยและชุมชน ประจําป 25562,000

โครงการรับขวัญตนกลา ภูมิปญญาคารวะ 10,000โครงการการสัมมนาบุคลากรประจําป 50,000โครงการ Big Cleaning Day 5,000โครงการปรับปรุง website 10,000โครงการประชาสัมพันธภาควิชา 5,000โครงการประชุมภาควิชา 16,000โครงการทําบุญประจําปฟารมนิสิต 7,000งบภายใน จํานวน 13 โครงการรวมงบลงทุน 250,000 บาท 149,000 91,000 0 10,000งบภายนอก จํานวน 2 โครงการรวมงบลงทุน 500,000 บาท 0 0 100,000 400,000รวมปงบประมาณ 2556 ลงทุนท้ังส้ินจํานวน 15 โครงการรวมงบลงทุน 750,000 บาท

149,000 91,000 100,000 410,000

หมายเหตุ : หมายถึง งบภายในที่ภาควิชาการพฒันาทรัพยากรมนุษยและชุมชนลงทุน หมายถึง งบภายนอกลงทุนจากคณะ สถาบัน มหาวิทยาลัย และหนวยภายนอกมหาวิทยาลัย หมายถึง โครงการที่มีปจจยันําเขา กระบวนการ และเปาหมายซ่ึงเปนผลผลิตของโครงการ เกี่ยวของกับ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรและส่ิงแวดลอมศึกษา

Page 50: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

50

ตารางที่ 4.21 สภาพการลงทนุในการจัดการเรียนการสอน ปงบประมาณ 2557

โครงการ

สภาพการลงทุนในการจัดการเรียนการสอน (บาท)

คุณภาพบัณฑิต

การบริหารจัดการสังคม

ฐานความรูบริหารจัดการพันธกิจ4 ดาน

โครงการบริการสารสนเทศเพ่ือการพัฒนาวิชาการ และวิชาชีพแกนิสิตและศิษยเกา

10,000

โครงการการฝกงานเกษตรภายนอกตามสาขาท่ีสนใจ 30,000โครงการการพัฒนาศักยภาพนิสิตดานเกษตรและส่ิงแวดลอม 50,000โครงการ HCRD's Days 50,000โครงการกาวแรกสู HCRD 30,000โครงการวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน 20,000โครงการการพัฒนาทรัพยกรมนุษยและชุมชนเพ่ืออาชีพ

เกษตรกรรม1,400,000

โครงการกลวยไม Expo ครั้งท่ี 4 400,000โครงการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน 5,000โครงการสืบสานประเพณีสงกรานต ภาควิชาการพัฒนา

ทรัพยากรมนุษยและชุมชน ประจําป 25572,000

โครงการรับขวัญตนกลา ภูมิปญญาคารวะ 10,000โครงการการสัมมนาบุคลากรประจําป 50,000โครงการ Big Cleaning Day 5,000โครงการปรับปรุง website 10,000โครงการประชาสัมพันธภาควิชา 5,000โครงการประชุมภาควิชา 16,000โครงการทําบุญประจําปฟารมนิสิต 7,000งบภายใน จํานวน 14 โครงการรวมงบลงทุน 280,000 บาท 179,000 91,000 0 10,000งบภายนอก จํานวน 3 โครงการรวมงบลงทุน 1,820,000 บาท 0 0 1420,000 400,000รวมปงบประมาณ 2557 ลงทุนท้ังส้ินจํานวน 17 โครงการรวมงบลงทุน 2,100,000 บาท

179,000 91,000 1420,000 410,000

หมายเหตุ : หมายถึง งบภายในที่ภาควิชาการพฒันาทรัพยากรมนุษยและชุมชนลงทุน หมายถึง งบภายนอกลงทุนจากคณะ สถาบัน มหาวิทยาลัย และหนวยภายนอกมหาวิทยาลัย หมายถึง โครงการที่มีปจจยันําเขา กระบวนการ และเปาหมายซ่ึงเปนผลผลิตของโครงการ เกี่ยวของกับ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรและส่ิงแวดลอมศึกษา

Page 51: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

51

ตารางที่ 4.22 เปรียบเทียบแหลงที่มาของการลงทุนในการจัดการเรียนการสอน ปงบประมาณ 2554-2557

ปงบประมาณ

งบประมาณรวม

จํานวนโครงการ

สภาพการลงทุนในการจัดการเรียนการสอน (บาท)

คุณภาพบัณฑิตการบริหารจัดการ

สังคมฐานความรูบริหารจัดการ

พันธกิจ4 ดาน

งบประมาณภายในภาควิชา2554 277,000 9 117,000 160,0002555 233,750 15 129,000 100,750 3,000 1,0002556 250,000 13 149,000 91,000 0 10,0002557 280,000 14 179,000 91,000 0 10,000รวม 1,040,750 - 574,000 442,750 3,000 21,000

งบประมาณภายนอกภาควิชา2554 2,320,000 7 0 0 2,020,000 300,0002555 517,600 2 0 0 517,600 02556 500,000 2 0 0 100,000 400,0002557 1,820,000 3 0 0 1420,000 400,000รวม 5,157,600 - 0 0 4,057,600 1,100,000

หมายเหตุ ผลจากการคํานวณในตารางท่ี 4.18-4.21

จากตารางที่ 4.22 จะเห็นไดวาในชวงปงบประมาณ 2554-2557 ภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและชุมชนมีการลงทุนในการจัดการเรียนการสอนดานตางๆ ตามกรอบมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 อยางครบถวน โดยมีการบริหารงบประมาณการลงทุนทั้งภายในภาควิชาและภายนอกภาควิชาอยางตอเนื่อง ทั้งนี้พบวาการลงทุนของภาควิชาสวนใหญจะใชงบประมาณกับการลงทุนดานการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตมากที่สุด 574,000 บาท ซึ่งคิดเปนรอยละ 55.15 ของงบประมาณภายในทั้งหมด (1,040,750 บาท) ที่ภาควิชาลงทุนกับโครงการที่เก่ียวของกับปจจัยนําเขา กระบวนการ และเปาหมายซึ่งเปนผลผลิตของหลักสูตร วทบ.เกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา

ในขณะที่แหลงงบประมาณจากภายนอกสวนใหญลงทุนในดานการบริหารจัดการการอุดมศึกษา เพื่อดําเนินงานโครงการตามพันธกิจของการอุดมศึกษาทั้ง 4 ดาน โดยเฉพาะดานการวิจัยเพื่อสรางและประยุกตใชองคความรูใหมที่มีสัดสวนการลงทุนภายนอกมากถึงรอยละ 99.93 ของงบประมาณดานการวิจัยทั้งหมด

ตารางที่ 4.23 การลงทุนในการจัดการเรียนการสอนทั้งหมดของภาควิชาฯ ปงบประมาณ 2554-2557

ปงบประมาณภาควิชาฯ หลักสูตร วทบ.เกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา

จํานวนโครงการ งบประมาณรวม จํานวนโครงการ งบประมาณรวม2554 22 2,803,000.00 16 2,597,0002555 31 1,119,200.00 17 751,3502556 33 1,976,400.00 15 750,0002557 32 3,300,500.00 17 2,100,000รวม - 9,199,100.00 - 6,198,350.00

หมายเหตุ ผลจากการคํานวณในตารางท่ี 4.18-4.21

Page 52: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

52

จากตารางที่ 4.23 จะเห็นวาภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและชุมชนมีการลงทุนในการจัดการเรียนการสอนดานตางๆ ตามกรอบมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 อยางครบถวน ทั้งนี้เมื่อนําผลรวมของการลงทุนในโครงการที่เก่ียวของกับปจจัยนําเขา กระบวนการ และเปาหมายซึ่งเปนผลผลิตของหลักสูตร วทบ.เกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา มาเปรียบเทียบกับแนวทางการลงทุนทั้งหมดของภาควิชา ในชวงปงบประมาณ 2554-2557 พบวาภาควิชาฯลงทุนในโครงการที่เก่ียวของกับหลักสูตร จํานวนรวมทั้งสิ้น 6,198,350.00 บาท ซึ่งคิดเปน รอยละ 67.38ของงบประมาณทั้งหมด (9,199,100.00 บาท)

ภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและชุมชนมีลงทุนในการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตร วทบ .เกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาตอเนื่องทุกป ทั้งนี้ พบวาภาควิชาใชงบประมาณในการลงทุนเฉลี่ย 127,000 บาท/ ปลงทุนในโครงการดานการพัฒนาคุณภาพนิสิตทั้งสิ้น 5 โครงการ อยางตอเนื่อง ไดแก

- โครงการกาวแรกสู HCRD 30,000 บาท- โครงการรับขวัญตนกลา ภูมิปญญาคารวะ 10,000 บาท- โครงการทําบุญประจําปฟารมนิสิต 7,000 บาท- โครงการการฝกงานเกษตรภายนอกตามสาขาที่สนใจ 30,000 บาท- โครงการการฝกงานเกษตรภายนอกตามสาขาที่สนใจ 50,000 บาท

4.2 การลงทุนทางการศึกษาของหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาตามแนวคิดในการลงทุนทางการศึกษาของนักเศรษฐศาสตรเห็นวาการลงทุนทางการศึกษาแบงออกไดเปน 2

ลักษณะ ไดแก การศึกษาเปนการลงทุน คือ การลงทุนการศึกษาเพื่อนําไปใชประกอบอาชีพในอนาคต กอใหเกิดรายไดในอนาคต ขณะที่อีกแนวคิดเห็นวาการศึกษาเปนการบริโภค คือ การลงทุนทางการศึกษาเพื่อกอใหเกิดความพึงพอใจในฐานะผูบริโภค ทั้งนี้จากการศึกษาการตัดสินใจเลือกเรียนหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาของนิสิตที่กําลังศึกษาชั้นปที่ 4 จํานวน 60 คน และบัณฑิตสําเร็จการศึกษา จํานวน 52 คนรวมกลุมตัวอยางทั้งสิ้น จํานวน 112 คน พบวาการตัดสินใจเรียนของนิสิตมีทั้งแนวทางการลงทุนเพื่อกอใหเกิดรายไดในอนาคตและเพื่อกอใหเกิดความพึงพอใจในฐานะผูบริโภค โดยนิสิตสวนใหญรอยละ 59.82 ตัดสินใจศึกษาในหลักสูตรนี้เนื่องดวยตองการความรูและประสบการณ รองลงมารอยละ 42.00 ตัดสินใจเรียนเพราะความชื่นชอบในสาขานี้ รอยละ 34.82 ตองการเพิ่มวุฒิการศึกษา และรอยละ 26.79 ตองการทํางานในสายอาชีพนี้ ตามลําดับ ทั้งนี้มีนิสิตถึงรอยละ 20.50 ที่ตัดสินใจเลือกเรียนในหลักสูตรนี้เพราะใกลบาน ในขณะที่ชื่อเสียงของอาจารยไมมีผลตอการตัดสินในเขาเรียนของนิสิต (ตารางที่ 4.24)

Page 53: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

53

ตารางท่ี 4.24 การตัดสินใจเลือกเรียนหลักสตูรวิทยาศาสตรบณัฑิต สาขาวิชาเกษตรและสิง่แวดลอมศึกษาn = 112

คน รอยละทานเลือกเรียนหลักสูตรนี้ เพราะเหตุใด

เพ่ิมพูนความรูและประสบการณ 67 59.82เพ่ิมวุฒิการศึกษา 39 34.82ทํางานในสายงานของสาขาน้ี 30 26.79ชอบ/สนใจสาขาน้ี 47 42.00ใกลบาน 23 20.50ผูปกครองตองการใหเรียนสาขาน้ี 11 9.82ช่ือเสียงของสาขาวิชา 12 10.71เลือกตามเพ่ือน/เพ่ือนหรือพ่ีแนะนํา 3 2.68ช่ือเสียงของอาจารย 0 0.00หมายเหตุ ตอบไดมากกวา 1 ขอ

การศึกษาแนวทางการลงทุนในการพัฒนาหลักสูตรสาขาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา สามารถนําเสนอได 2สวน คือ การศึกษาประโยชนและตนทุนบุคคล และการศึกษาประโยชนตอบุคคลและสังคมทางออม ดังนี้

4.2.1 การศึกษาประโยชนและตนทุนบุคคลการศึกษาประโยชนสวนบุคคลเปนการศึกษาการลงทุนทางการศึกษาสวนบุคคลของนิสิตตลอดหลักสูตร

การศึกษา โดยการสํารวจขอมูลงบประมาณหลักสูตรรวมกับการสอบถามผูรับบริการการศึกษาหลักสูตร 2 กลุม ไดแกนิสิตปจจุบันและบัณฑิตสําเร็จการศึกษา โดยใชแบบสอบถาม 2 ประเด็นหลัก ไดแก 1) ตนทุนการศึกษา ไดแกคาใชจายตางๆในขณะศึกษา และคาเสียโอกาสในการศึกษาของนิสิตตลอดการศึกษาในหลักสูตร 4 ป และ 2) รายไดจากการทํางานของบัณฑิตสําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2556 จํานวน 52 คน พบวา

1) ตนทุนการศึกษาการศึกษาตนทุนการศึกษาหรือคาใชจายตางๆ ในขณะศึกษาตลอดหลักสูตร 4 ป ของนิสิต ไดแก คา

เทอม(คาธรรมเนียม,คาหนวยกิต) คาใชจายสวนตัว (คาอาหาร, คาเคร่ืองนุงหม, คายานพาหนะ/คาเดินทาง,คาหอพัก)และคาเสียโอกาสในการศึกษา

จากสํารวจคาธรรมเนียมการศึกษาและคาใชจายรวมตลอดหลักสูตรของนิสิต พบวานิสิตมีตนทุนการศึกษาเปนคาใชจายตลอดหลักสูตร รวม 105,600 บาท/คน เฉลี่ยคาใชจายตอปของนิสิตเทากับ 25,800 บาท/คน(คาหนวยกิตเหมาจาย 12,900 บาท/เทอม) โดยมีรายละเอียดของคาใชจายดังตารางที่ 4.25

Page 54: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

54

ตารางที่ 4.25 คาธรรมเนียมการศึกษาและคาใชจายรวมตลอดหลักสูตรของนิสิต

รายการคจช.ตลอดหลกัสูตร/

คน1 คาใบสมัคร 200 บาท/ฉบับ 200 บาท2 คาสมัครสอบ 500 บาท/คน 500 บาท3 คาธรรมเนียมแรกเขาเปนนิสิต 1,000 บาท/คน 1,000 บาท4 คาธรรมเนียมทดสอบภาษาอังกฤษ 500 บาท/ครั้ง 500 บาท5 คาหนวยกิตเหมาจาย (ป55) 12,900บาท/เทอม 103,200 บาท6 คาบัตรประจําตัวนิสติ 200 บาท/คน 200 บาท7 คาปรับการลงทะเบียนลาชากวากําหนด วันละ 2008 คารักษาสถานภาพนิสติ

8.1 ภาคการศึกษาปกติ ภาคการศึกษาละไมเกิน 4,000 บ.8.2 ภาคฤดรูอน ภาคการศึกษาละไมเกิน 1,000 บ.รวม 105,600 บาท

การสอบถามผูใชหลักสูตร 2 กลุม ไดแก นิสิตปจจุบันและบัณฑิตสําเร็จการศึกษา จํานวน 112 คนพบวา ในขณะที่นิสิตมีคาใชจายสวนตัวเฉลี่ย 5,877.68 บาท/เดือน โดยสวนใหญรอยละ 50.00 นิสิตมีคาใชจายสวนตัวที่ 3,001-5,000 บาท/เดือน รองลงมารอยละ 25.00 มีคาใชจายสวนตัวที่ 5,001-7,000 บาท/เดือน และรอยละ 9.82มีคาใชจายสวนตัวที่ 7,001-9,000 และ 9,001-11,000 บาท/เดือน (ตารางที่ 4.26)

ตารางท่ี 4.26 คาใชจายสวนตัวขณะศึกษา n = 112คน รอยละ

คาใชจายสวนตัว (คาอาหาร, คาเครื่องนุงหม, คายานพาหนะ/คาเดินทาง,คาหอพัก)

ต่ํากวา 3,000 บาท/เดือน 4 3.573,001-5,000 บาท/เดือน 56 50.005,001-7,000 บาท/เดือน 28 25.007,001-9,000 บาท/เดือน 11 9.829,001-11,000 บาท/เดือน 9 8.04มากกวา 11,000 บาท/เดือน 4 3.57

Page 55: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

55

ทั้งนี้เมื่อนํามาคํานวณเพื่อประมาณการคาใชจายขณะศึกษาตลอดหลักสูตร พบวา นิสิตมีคาใชจายตลอดหลักสูตร 293,685.76 บาท/คน (ตารางที่ 4.27)

คาใชจายขณะศึกษาตลอดหลักสูตร = ตนทุนการศึกษาตลอดหลักสูตร + คาใชจายสวนตัว= 105,600 + (5,877.68 * 32 เดือน)= 293,685.76 บาท/คน

ตารางท่ี 4.27 ประมาณการคาใชจายขณะศึกษาตลอดหลักสูตรคาใชจาย

คาใชจายสวนตัวโดยเฉลี่ย 5,877.68 บาท/เดือนคาใชจายสวนตัวต่ําสุด 2,200.00 บาท/เดือนคาใชจายสวนตัวสูงสุด 15,000.00 บาท/เดือน

คาใชจายสวนตัวโดยเฉลี่ยขั้นตํ่าตลอด 4 ป (5,877.68*32)(คํานวณจาก 8 เดือนตอปการศึกษา) 188,085.76 บาทคาเทอมขณะท่ีกําลังศึกษา 105,600 บาท

รวม 293,685.76 บาท

หมายเหตุ: ทั้งนี้ประมาณการคาใชจายไมรวมคาเสียโอกาสขณะศึกษาตอ 288,000 บาท(คํานวณจากคาแรงขั้นตํ่า 300 บ./วัน * 30 วัน * 32 เดือน)

2) รายไดจากการทํางานของบัณฑิตจากการสํารวจสภาพการไดงานทําของบัณฑิตสําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2556 จํานวน 52 คน

(ขอมูลเดือนสิงหาคม 2558) พบวา บัณฑิตรอยละ 82.69 มีงานทํา โดยสภาพการทํางานสวนใหญ รอยละ 58.14ทํางานบริษัทเอกชน รองลงมารอยละ 27.91 ทําธุรกิจสวนตัว และนิสิตทํางานรับราชการและรัฐวิสาหกิจที่รอยละ6.98 เทากัน ทั้งนี้บัณฑิตที่ยังไมมีงานทําเปนหลักแหลงจํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 17.31 ทั้งนี้สวนใหญ รอยละ55.56 ที่ไมมีงานทําเพราะอยูระหวางรอสัมภาษณงาน และรอยละ 44.44 เขาศึกษาตอในระดับปริญญาโท

การสํารวจรายไดของบัณฑิตที่ไดงานทําแลวจํานวน 43 คน พบวา บัณฑิตสวนใหญมีคาจางหรือเงินเดือนใกลเคียงคาจางข้ันต่ําปริญญาตรี 15,000 บาท/เดือน จํานวน 29 คน โดยมีบัณฑิตที่ไดรับคาจางต่ํากวา9,999 บาท/เดือน จํานวน 6 คน (รอยละ 13.95) และบัณฑิตที่ไดรับคาจาง10,000-14,999 บาท/เดือน จํานวน 23คน (รอยละ 53.49) โดยมีบัณฑิตที่ไดรับคาจางสูงกวา 15,000 บาท/เดือน จํานวน 8 คน ( 2 คน ไดรับคาจางมากกวา 20,000 บาท) ดังตารางที่ 4.28

Page 56: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

56

ตารางท่ี 4.28 ขอมูลสถานภาพการไดงานทําของบัณฑิตn = 52

คน รอยละสถานภาพการมีงานทํา

ไมมีงานทํา 9 17.31รอสัมภาษณงาน 5 55.56กําลังศึกษาตอ 4 44.44

มีงานทํา 43 82.69สถานภาพการทํางานในปจจุบัน

รับราชการ 3 6.98รัฐวิสาหกิจ 3 6.98เอกชน 25 58.14ทําธุรกิจสวนตัว 12 27.91

เงินเดือน/คาจางต่ํากวา 9,999 บาท/เดือน 6 13.9510,000-14,999 บาท/เดือน 23 53.4915,000-19,999 บาท/เดือน 6 13.9520,000 บาท/เดือน ข้ึนไป 2 4.65ไมตอบ 6 13.95

4.2.2 การศึกษาประโยชนตอบุคคลและสังคมทางออมในประโยชนตอบุคคลและสังคมทางออมที่เกิดจากการเรียนรูตลอดหลักสูตรสาขาเกษตรและสิ่งแวดลอม

ศึกษา ไดแก ผลตอบแทนที่เกิดจากผลกระทบภายนอกจากการลงทุนทางการศึกษา เปนผลกระทบที่เกิดจากผลกระทบทางตรงหรือผลที่เกิดจากการเรียนรู ซึ่งเกิดข้ึนพรอมๆ หรือตอเนื่องจากกิจกรรมของหลักสูตร ซึ่ง เกิดประโยชนทั้งกับบุคคลและสังคม มีทั้งผลกระทบที่วัดไดแนนอนและไมสามารถวัดไดแนนอน โดยในการศึกษาคร้ังนี้มุงศึกษาผลตอบแทนที่เกิดกับผลผลิตของหลักสูตรหรือบัณฑิตใน 2 ลักษณะ คือ 1.คุณลักษณะพิเศษหลังจากสําเร็จการศึกษาซึ่งเปนคุณลักษณะสวนบุคคลที่เกิดข้ึนพรอมกับกิจกรรมการเรียนรู และ 2. การใชประโยชนภายหลังการเรียนรูตลอดหลักสูตรที่สะทอนกลับมาอยูในรูปของความภาคภูมิใจ ความพึงพอใจในการนําผลตอบแทนทางตรงไปใชประโยชนสืบเนื่องในการทํางาน ทั้งนี้แบงผลการศึกษาออกตามลักษณะของกลุมตัวอยาง 3 กลุม ดังนี้

1) กลุมนิสิตที่สําเร็จการศึกษาจากการศึกษากลุมนิสิตที่สําเร็จการศึกษาจํานวน 52 คน ถึงประโยชนตอบุคคลและสังคมทางออมที่

เกิดจากการเรียนรูตลอดหลักสูตรสาขาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา ในประเด็นของผลผลิตของหลักสูตรที่เกิดกับบัณฑิต โดยใหบัณฑิตที่จบการศึกษาแลวทําการประเมินตนเองเก่ียวกับคุณลักษณะพิเศษหลังจากสําเร็จการศึกษาตามกรอบคุณลักษณะที่ระบุไวในหลักสูตรผานแบบสอบถาม ประกอบกับการวิเคราะหบทสะทอนคุณลักษณะพิเศษจาก

Page 57: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

57

งานเขียนในรายวิชาการสื่อสารทางเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาในขณะที่ศึกษาอยูในชั้นปที่ 3 และสอบถามบัณฑิตเก่ียวกับการใชประโยชนภายหลังการเรียนรูตลอดหลักสูตรโดยใชแบบสอบถาม มีผลการวิจัยดังนี้

(1) จากการประเมินตนเองของบัณฑิตเก่ียวกับคุณลักษณะพิเศษหลังจากสําเร็จการศึกษา พบวาบัณฑิตเกิดคุณลักษณะพิเศษตามที่ระบุไว ในหลักสูตรครบถวน (ตารางที่ 4.29 )โดยรอยละ 94.23 มีคุณธรรมจรรยาบรรณ ความกลาหาญทางจริยธรรม และความรับผิดชอบสูงตอวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม รอยละ 94.23 มีความอดทนและความสามารถในการจัดการเรียนรู รวมทั้งการทํางานรวมกับผูรวมงานทุกกลุม รอยละ57.69 มีความสามารถในการพิจารณาแสวงหา และเสนอแนะแนวทางในการแกปญหาทางวิชาการ โดยยอมรับขอจํากัดและธรรมชาติของศาสตร รอยละ 55.77 มีความคิดริเร่ิมสรางสรรคในแกไขปญหา และขอโตแยงโดยการแสดงออกซึ่งภาวะผูนําในการแสวงหาทางเลือกใหมที่เหมาะสมและปฏิบัติได รอยละ 51.92 มีความสามารถในการติดตามพัฒนาการของศาสตร รวมทั้งเพิ่มพูนความรูและสมรรถนะของตนอยูเสมอ และรอยละ 42.31 ความสามารถประยุกตความเขาใจอันถองแทในทฤษฎี และสามารถบูรณาการเพื่อสรางความรูใหม

ตารางที่ 4.29 คุณลักษณะพิเศษหลังจากสาํเร็จการศึกษาn=52

คุณลักษณะพิเศษบัณฑิต

คน รอยละ1) มีคุณธรรม จรรยาบรรณ ความกลาหาญทางจริยธรรม และความรับผิดชอบสูงตอ

วิชาการ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม49 94.23

2) มีความอดทนและความสามารถในการจัดการเรียนรู รวมท้ังการทํางานรวมกับผูรวมงานทุกกลุม

49 94.23

3) มีความสามารถประยุกตความเขาใจอันถองแทในทฤษฎี และสามารถบูรณาการเพ่ือสรางความรูใหม

22 42.31

4) มีความคิดริเริ่มสรางสรรคในแกไขปญหา และขอโตแยงโดยการแสดงออกซึ่งภาวะผูนําในการแสวงหาทางเลือกใหมท่ีเหมาะสมและปฏิบัติได

29 55.77

5) มีความสามารถในการพิจารณาแสวงหา และเสนอแนะแนวทางในการแกปญหาทางวิชาการ โดยยอมรับขอจํากัดและธรรมชาติของศาสตร

30 57.69

6) มีความสามารถในการติดตามพัฒนาการของศาสตร รวมท้ังเพ่ิมพูนความรูและสมรรถนะของตนอยูเสมอ

27 51.92

หมายเหตุ ตอบไดมากกวา 1 ขอ

(2) จากการวิเคราะหบทสะทอนคุณลักษณะพิเศษจากงานเขียนในรายวิชาการสื่อสารทางเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา ภายใตหัวขอบทสะทอนการเรียนรู ประสบการณทางเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา จํานวน 53บทความ พบวา ผูเขียนไดสะทอนถึงคุณลักษณะพิเศษที่เกิดกับตนเองในขณะที่ศึกษา ออกเปน 5 คุณลักษณะ ไดแกคุณลักษณะดานความสามารถ ทักษะ ประสบการณ บทเรียนชีวิต จํานวน 20 คน คุณลักษณะดานความรู การเรียนรูจํานวน 19 คน คุณลักษณะดานความสุข ความสนุก รอยยิ้ม จํานวน 13 คน คุณลักษณะดานความขยัน ความ

Page 58: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

58

อดทน ความตั้งใจ จํานวน 9 คน คุณลักษณะดานความภาคภูมิใจ ความรับผิดชอบตอสังคม สิ่งแวดลอม จํานวน 9คน และ คุณลักษณะดานความสามัคคี ความรวมมือรวมใจ มิตรภาพ มีน้ําใจ จํานวน 7 คน ตามลําดับ (ตารางที่4.30)

ทั้งนี้จากการประเมินตนเองเก่ียวกับคุณลักษณะพิเศษหลังจากสําเร็จการศึกษาตามกรอบคุณลักษณะที่ระบุไว ประกอบกับการวิเคราะหบทสะทอนคุณลักษณะพิเศษจากงานเขียน จะเห็นไดวาคุณลักษณะพิเศษที่เกิดกับบัณฑิตซึ่งเปนผลประโยชนทางออมที่เกิดกับตัวบุคคลนั้นเกิดข้ึนพรอมๆกับกิจกรรมการเรียนรูตลอดทั้งหลักสูตรโดยเฉพาะอยางยิ่งคือคุณลักษณะดานความขยัน ความอดทน ความตั้งใจที่บัณฑิตมาสามารถนําไปใชในการทํางานไดอยางเห็นไดชัด เชนเดียวกับคุณลักษณะดานความภาคภูมิใจ ความรับผิดชอบตอสังคม สิ่งแวดลอมที่กลายเปนคุณลักษณะพิเศษที่ติดบัณฑิตไปสูการใชประโยชนตอสังคม

ตารางที่ 4.30 บทสะทอนคุณลกัษณะพิเศษจากงานเขียนในรายวิชาการสื่อสารทางเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาคุณลักษณะพิเศษ หมูเรียน 700 หมูเรียน 701 รวม

ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ บทเรียนชีวิต 10 10 20ความรู การเรียนรู 8 11 19ความสุข ความสนุก รอยยิม้ 6 7 13ความขยัน ความอดทน ความตั้งใจ 3 6 9ความภาคภูมิใจ ความรับผดิชอบตอสังคม สิ่งแวดลอม 8 1 9ความสามัคคี ความรวมมือรวมใจ มิตรภาพ มีนํ้าใจ 7 7 7

การใชประโยชนภายหลังการเรียนรูตลอดหลักสูตร พบวา บัณฑิตมีความพึงพอใจในการศึกษาตลอดหลักสูตรนี้ในระดับมากที่สุด (คาเฉลี่ย 4.29) และมีความภาคภูมิใจที่สําเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนี้ในระดับมาก ที่สุด(คาเฉลี่ย 4.46) เชนกัน ทั้งนี้เมื่อสอบถามถึงการใชประโยชนจากการเรียนรูตลอดหลักสูตรกับการทํางานพบวา ความรูที่ไดจากการเรียนตลอดหลักสูตรมีความเพียงพอกับความตองการในระดับมาก (คาเฉลี่ย 4.06) มีความพึงพอใจตอการนําความรูและประสบการณจากการเรียนตลอดหลักสูตรไปใชในการวิเคราะหและตัดสินใจในงานที่รับผิดชอบไดอยางมีเหตุผลในระดับมากที่สุด (คาเฉลี่ย 4.27) และบัณฑิตคิดวาความรูที่ไดจากการเรียนตลอดหลักสูตรมีความสอดคลองกับอาชีพและสามารถนําไปใชในการทํางานไดในระดับมาก (คาเฉลี่ย 3.92 และ 4.06 ตามลําดับ) (ตารางที่ 4.31)

Page 59: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

59

ตารางท่ี 4.31 การใชประโยชนภายหลังการเรียนรูตลอดหลักสตูรn = 52

ความคิดเห็นตอหลักสูตรของบัณฑิตคาเฉลี่ย(S.D.)

ระดับมากท่ีสุด(รอยละ)

มาก(รอยละ)

ปานกลาง(รอยละ)

นอย(รอยละ)

นอยท่ีสุด(รอยละ)

1. ทานมีความพึงพอใจในการศึกษาตลอดหลักสตูรหลักสตูรน้ี

21(40.38)

25(48.08)

6(11.54)

0(0.00)

0(0.00)

4.29(0.67)

มากท่ีสุด

2. ทานมีความภาคภูมิใจท่ีสําเรจ็การศึกษาจากหลักสตูรน้ี

29(55.77)

18(34.62)

5(9.62)

0(0.00)

0(0.00)

4.46(0.67)

มากท่ีสุด

3. ความรูท่ีไดจากการเรียนตลอดหลักสตูรมีความเพียงพอกับความตองการของทาน

12(23.08)

32(61.54)

7(13.46)

1(1.92)

0(0.00)

4.06(0.67)

มาก

4. ทานสามารถนําความรูและประสบการณจากการเรยีนตลอดหลักสูตรไปใชในการวิเคราะหและตดัสินใจในงานท่ีทานรับผิดชอบไดอยางมีเหตผุล

20(38.46)

27(51.92)

4(7.69)

1(1.92)

0(0.00)

4.27(0.69)

มากท่ีสุด

5. ความรูท่ีไดจากการเรียนตลอดหลักสตูรมีความสอดคลองกับอาชีพของทาน

9(17.31)

31(59.62)

11(21.15)

1(1.92)

0(0.00)

3.92(0.68)

มาก

6. ทานไดนําความรูและประสบการณจากการเรียนตลอดหลักสตูรไปใชในการทํางาน

15(28.85)

25(48.08)

12(23.00)

0(0.00)

0(0.00)

4.06(0.73)

มาก

หมายเหตุ : ระดับความคิดเห็นตอหลักสูตรของบัณฑิต ไดแก นอยท่ีสุด นอย ปานกลาง มาก และมากท่ีสุด โดยใหคะแนนคําตอบ คือ 1 2 3 4 และ5 ตามลําดับ และจัดกลุมระดับคะแนนความคิดเห็น เปน 5 ระดับ ดังน้ี

อันตรภาคคะแนนในแตละระดับ =

= 5 – 1 = 0.85

คะแนนสูงสุด - คะแนนต่ําสุด

จํานวนช้ัน

Page 60: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

60

ดังน้ันจึงกําหนดระดับความคิดเห็นตอหลักสูตรของบัณฑิตเปนคะแนนเฉลี่ย ดังน้ีความคิดเห็นระดับนอยท่ีสุด = 1.00 – 1.80ความคิดเห็นระดับนอย = 1.81 – 2.60ความคิดเห็นระดับปานกลาง = 2.61 – 3.40ความคิดเห็นระดับมาก = 3.41 – 4.20ความคิดเห็นระดับมากท่ีสุด = 4.21 – 5.00

2) กลุมนิสิตที่กําลังการศึกษาในประโยชนตอบุคคลและสังคมทางออมที่เกิดจากการเรียน รูตลอดหลักสูตรสาขาเกษตรและ

สิ่งแวดลอมศึกษาของนิสิตที่กําลังศึกษาชั้นปที่ 4 จํานวน 60 คน โดยทําการศึกษา 2 ประเด็นคือ (1) คุณลักษณะพิเศษจากการศึกษา และ (2) ความมั่นใจในการใชประโยชนภายหลังการเรียนรูตลอดหลักสูตร ดังนี้

(1) คุณลักษณะพิเศษจากการศึกษาจากการประเมินตนเองของนิสิตผานแบบสอบถามเก่ียวกับคุณลักษณะพิเศษจากการศึกษา.ใน

หลักสูตร พบวา นิสิตเห็นวาตนเองเกิดคุณลักษณะพิเศษตามที่ระบุไวในหลักสูตรครบถวน (ตารางที่ 4.31 ) โดย รอยละ 81.67 มีความอดทนและความสามารถในการจัดการเรียนรู รวมทั้งการทํางานรวมกับผูรวมงานทุกกลุมมากที่สุดรองลงมารอยละ 71.67 มีคุณธรรม จรรยาบรรณ ความกลาหาญทางจริยธรรม และความรับผิดชอบสูงตอวิชาการเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม และรอยละ 46.67 มีความสามารถประยุกตความเขาใจอันถองแทในทฤษฎี และสามารถบูรณาการเพื่อสรางความรูใหม รอยละ 45.00 มีความคิดริเร่ิมสรางสรรคในแกไขปญหา และขอโตแยงโดยการแสดงออกซึ่งภาวะผูนําในการแสวงหาทางเลือกใหมที่เหมาะสมและปฏิบัติได รอยละ 43.33 มีความสามารถในการติดตามพัฒนาการของศาสตร รวมทั้งเพิ่มพูนความรูและสมรรถนะของตนอยูเสมอและรอยละ 31.67 มีความสามารถในการพิจารณาแสวงหา และเสนอแนะแนวทางในการแกปญหาทางวิชาการ โดยยอมรับขอจํากัดและธรรมชาติของศาสตร ตามลําดับตารางท่ี 4.32 คุณลักษณะพิเศษจากการศึกษา

คุณลักษณะพิเศษนิสิตป 4

คน รอยละ1) มีคุณธรรม จรรยาบรรณ ความกลาหาญทางจริยธรรม และความรับผิดชอบสูงตอวิชาการ

เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม43 71.67

2) มีความอดทนและความสามารถในการจัดการเรยีนรู รวมท้ังการทํางานรวมกับผูรวมงานทุกกลุม 49 81.673) มีความสามารถประยุกตความเขาใจอันถองแทในทฤษฎี และสามารถบูรณาการเพ่ือสรางความรู

ใหม28 46.67

4) มีความคิดริเริ่มสรางสรรคในแกไขปญหา และขอโตแยงโดยการแสดงออกซึ่งภาวะผูนําในการแสวงหาทางเลือกใหมท่ีเหมาะสมและปฏิบตัิได

27 45.00

5) มีความสามารถในการพิจารณาแสวงหา และเสนอแนะแนวทางในการแกปญหาทางวิชาการ โดยยอมรับขอจํากัดและธรรมชาติของศาสตร

19 31.67

6) มีความสามารถในการติดตามพัฒนาการของศาสตร รวมท้ังเพ่ิมพูนความรูและสมรรถนะของตนอยูเสมอ

26 43.33

Page 61: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

61

(2) ความมั่นใจในการใชประโยชนจากการเรียนรูตลอดหลักสูตรของนิสิตที่กําลังเรียนอยูชั้นปที่ 4โดยการแสดงความคิดเห็นนิสิตผานแบบสอบถาม พบวา นิสิตมีความพึงพอใจในการศึกษาตลอดหลักสูตรหลักสูตรนี้และมีความภาคภูมิใจในการเรียนหลักสูตรนี้ในระดับมาก ที่คาเฉลี่ย 3.77 และ 4.05 ตามลําดับ โดยนิสิตเห็นวาความรูที่ไดจากการเรียนตลอดหลักสูตรมีความเพียงพอกับความตองการในระดับมาก (คาเฉลี่ย 3.75) และคิดวาความรูที่ไดจากการเรียนตลอดหลักสูตรมีความสอดคลองกับแนวทางการประกอบอาชีพในอนาคตระดับมาก (คาเฉลี่ย3.83) ทั้งนี้เมื่อสอบถามถึงความเชื่อมั่นในการใชประโยชนจากการเรียนรูตลอดหลักสูตรกับการทํางานในอนาคตพบวานิสิตมั่นใจวาจะสามารถนําความรูและประสบการณจากการเรียนตลอดหลักสูตรไปใชในการสมัครงานหรือทํางานในอนาคตระดับมาก (คาเฉลี่ย 3.88) และมั่นใจวาจะสามารถนําความรูและประสบการณจากการเรียนตลอดหลักสูตรไปใชในการวิเคราะหและตัดสินใจในการทํางานในอนาคตไดอยางมีเหตุผลระดับมาก (คาเฉลี่ย 3.85) โดยเห็นวาคุณลักษณะที่ไดจากหลักสูตรนี้ตรงตามความตองการของตลาดการจางงาน (คาเฉลี่ย 3.45) แตนิสิตมีความมั่นใจวาหลังจบหลักสูตรนี้จะมีงานทําในอนาคตในระดับปานกลาง (คาเฉลี่ย 3.40) (ตารางที่ 4.33)

ตารางท่ี 4.33 ความมั่นใจในการใชประโยชนจากการเรียนรูตลอดหลักสูตรn = 60

ความคิดเห็นตอหลักสูตรคาเฉลี่ย(S.D.)

ระดับมากท่ีสุด(รอยละ)

มาก(รอยละ)

ปานกลาง(รอยละ)

นอย(รอยละ)

นอยท่ีสุด(รอยละ)

1. ทานมีความพึงพอใจในการศึกษาตลอดหลักสตูรน้ี

9(15.00)

31(51.67)

19(31.67)

1(1.67)

0(0.00)

3.77(0.83)

มาก

2. ทานมีความภาคภูมิใจในการเรยีนหลักสูตรน้ี

19(31.67)

28(46.67)

12(20.00)

1(1.67)

0(0.00)

4.05(0.89)

มาก

3. ทานมั่นใจวาหลังจบหลักสตูรน้ี ทานจะมีงานทําในอนาคต

6(10.00)

24(40.00)

21(35.00)

7(11.67)

2(3.33)

3.40(0.99)

ปานกลาง

4. ความรูท่ีไดจากการเรียนตลอดหลักสตูรมีความเพียงพอกับความตองการของทาน

7(11.67)

34(56.67)

18(30.00)

1(1.67)

0(0.00)

3.75(0.79)

มาก

5. ความรูท่ีไดจากการเรียนตลอดหลักสตูรมีความสอดคลองกับแนวทางการประกอบอาชีพของทานในอนาคต

7(11.67)

39(65.00)

13(21.67)

1(1.67)

0(0.00)

3.83(0.76)

มาก

Page 62: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

62

ความคิดเห็นตอหลักสูตรคาเฉลี่ย(S.D.)

ระดับมากท่ีสุด(รอยละ)

มาก(รอยละ)

ปานกลาง(รอยละ)

นอย(รอยละ)

นอยท่ีสุด(รอยละ)

6. ทานมั่นใจวาจะสามารถนําความรูและประสบการณจากการเรียนตลอดหลักสตูรไปใชในการสมัครงานหรือทํางานในอนาคต

11(18.33)

35(58.33)

12(20.00)

2(3.33)

0(0.00)

3.88(0.85)

มาก

7. ทานมั่นใจวาจะสามารถนําความรูและประสบการณจากการเรียนตลอดหลักสตูรไปใชในการวิเคราะหและตัดสินใจในการทํางานในอนาคตไดอยางมีเหตุผล

9(15.00)

36(60.00)

14(23.33)

1(1.67)

0(0.00)

3.85(0.80)

มาก

8. ทานคิดวาคุณลักษณะของทานท่ีไดจากหลักสตูรน้ีตรงตามความตองการของตลาดการจางงาน

5(8.33)

25(41.67)

25(41.67)

3(5.00)

2(3.33)

3.45(0.91)

มาก

หมายเหตุ : ระดับความคิดเห็นตอหลักสูตรของนิสิตช้ันปท่ี 4 ไดแก นอยท่ีสุด นอย ปานกลาง มาก และมากท่ีสุด โดยใหคะแนนคําตอบ คือ 1 2 3 4 และ5 ตามลําดับ และจัดกลุมระดับคะแนนความคิดเห็น เปน 5 ระดับ ดังน้ี

อันตรภาคคะแนนในแตละระดับ =

= 5 – 1 = 0.8

ดังน้ันจึงกําหนดระดับความคิดเห็นตอหลักสูตรของของนิสิตช้ันปท่ี 4 เปนคะแนนเฉลี่ย ดังน้ีความคิดเห็นระดับนอยท่ีสุด = 1.00 – 1.80ความคิดเห็นระดับนอย = 1.81 – 2.60ความคิดเห็นระดับปานกลาง = 2.61 – 3.40ความคิดเห็นระดับมาก = 3.41 – 4.20ความคิดเห็นระดับมากท่ีสุด = 4.21 – 5.00

5

คะแนนสูงสุด - คะแนนต่ําสุด

จํานวนช้ัน

Page 63: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

63

3) กลุมนายจางหรือผูประกอบการที่นิสิตเขาทํางานในการศึกษาประโยชนตอบุคคลและสังคมทางออมที่เกิดจากการเรียนรูตลอดหลักสูตรของนิสิตที่จบ

การศึกษาสาขาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา โดยการสัมภาษณทางโทรศัพทนายจางหรือผูประกอบการที่นิสิตเขาทํางาน จํานวน 20 คน เก่ียวกับความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตดานผลิตผลของหลักสูตร (ตารางที่ 4.34) พบวา ผูใชบัณฑิตทั้งหมด 20 คน มคีวามพึงพอใจในการทํางานของบัณฑิตที่ระดับมาก ทั้งนี้บัณฑิตสวนใหญรอยละ 70 ทํางานกับนายจางมาแลวนาน 1-2 เดือน เมื่อสอบถามถึงคุณลักษณะที่พึงประสงคที่กอใหเกิดประโยชนตอหนาที่การงานพบวา รอยละ 60.00 เห็นวาบัณฑิตที่มาทํางานมีความรับผิดชอบตองานที่ทําและมีความอดทนตองานที่ทํา รองลงมารอยละ 50.00 รูจักการวางแผนงานที่รอบคอบ แกไขปญหาเฉพาะหนาและการจัดลําดับข้ันตอนตางๆไดดี รอยละ30.00 รักในงานที่ทํา รวมทั้งทํางานกับผูรวมงานได ในขณะที่รอยละ 20.00 เห็นวาบัณฑิตมีความสามารถในการจัดการเรียนรู สามารถใชความรูความสามารถวัดผลประเมินผลขอมูลทางวิชาการและสามารถบูรณาการใหมหรือหาความรูเพิ่มเติมเอง ใฝหาความรูใหมๆ และมีเพียงรอยละ 10.00 ที่เห็นวาบัณฑิตมีความเปนผูนําและมีระเบียบวินัยในการทํางาน

ทั้งนี้จากสัมภาษณเก่ียวกับศาสตรความรูที่จําเปนตอการปฏิบัติงานและตองการใหสอนเพิ่มเติมพบวา ผูใชบัณฑิตเห็นควรใหมีการจัดการเรียนรูเพิ่มเติมในหลักสูตรเก่ียวกับการบริหารทรัพยากรมนุษยและความรูดานการรักษาความปลอดภัยของขอมูล และทักษะคอมพิวเตอรที่จําเปนตอการปฏิบัติงาน รอยละ 40.00 ในขณะรอยละ 20 ตองการใหเพิ่มเติมการจัดการเรียนรูเก่ียวกับระบบการผลิตในโรงงาน หรือดานอุตสาหกรรมเกษตร และเกษตรที่เจาะลึกถึงพืชใดใหชัดเจน รวมถึงดานการตลาดของพืชนั้นๆ ซึ่งโดยสรุปนายจางหรือผูประกอบการที่นิสิตเขาทํางานเห็นวาคุณลักษณะบัณฑิตที่จบหลักสูตรนี้มีคุณสมบัติตรงตามความตองการของตลาด /ผูประกอบการ ในระดับมาก (คาเฉลี่ย 4.10)ตารางท่ี 4.34 ความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตดานผลิตผลของหลักสูตร

คน รอยละความพึงพอใจในการทํางานของบัณฑิต

มาก 20 100.00ปานกลาง 0 0.00นอย 0 0.00

ระยะเวลาปฏิบัติงาน1-2 เดือน 14 70.003-4 เดือน 4 20.005-6 เดือน 2 10.00

คุณลักษณะท่ีพึงประสงคท่ีกอใหเกิดประโยชนตอหนาท่ีการงาน1) การมีความรับผดิชอบตองานท่ีทํา 12 60.002) มีความอดทนตองานท่ีทํา 12 60.003) รักในงานท่ีทํา รวมท้ังทํางานกับผูรวมงานได 6 30.004) การวางแผนงานท่ีรอบคอบ แกไขปญหาเฉพาะหนาและ

การจัดลําดับข้ันตอนตางๆไดดี 10 50.00

Page 64: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

64

คน รอยละ5) มีความเปนผูนํา 2 10.006) มีระเบยีบวินัยในการทํางาน 2 10.007) มีความสามารถในการจัดการเรยีนรู สามารถใชความรู

ความสามารถวัดผลประเมินผลขอมูลทางวิชาการ 4 20.008) สามารถบูรณาการใหมหรือหาความรูเพ่ิมเติมเอง ใฝหา

ความรูใหมๆ 4 20.00ศาสตรความรูท่ีจําเปนตอการปฏิบัติงานและตองการใหสอนเพ่ิมเติม

1) การบริหารทรัพยากรมนุษย 8 40.002) ระบบการผลิตในโรงงาน หรือดานอุตสาหกรรมเกษตร 4 20.003) ความรูดานการรักษาความปลอดภัยของขอมูล และ

ทักษะคอมพิวเตอรท่ีจําเปนตอการปฏิบัติงาน 8 40.004) เกษตรท่ีเจาะลึกถึงพืชใดใหชัดเจน รวมถึงดานการตลาด

ของพืชน้ันๆ 4 20.00คุณลักษณะบัณฑิตท่ีจบหลักสูตรนี้มีคุณสมบัติตรงตามความตองการของตลาด /ผูประกอบการ (คาเฉลี่ย 4.10 ระดับ มาก)

มากท่ีสุด 5 25.00มาก 12 60.00ปานกลาง 3 15.00นอย 0 0.00นอยท่ีสุด 0 0.00

4.3 แนวทางการพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาการศึกษาในสวนนี้ ทําการศึกษาโดยนําผลการศึกษาดานศักยภาพการจัดการเรียนการสอนและการลงทุนทาง

การศึกษาหลักสูตรของสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา รายงานตอคณาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรและผูมีสวนไดสวนเสียกับหลักสูตรเพื่อพิจารณา รวมกับการรับฟงปญหา ขอเสนอแนะ ผานการประชุมภาควิชา การประชุมอาจารยประจําหลักสูตร และการวิพากษหลักสูตร เพื่อจัดทําแนวทางการพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาโดยการวิเคราะหเนื้อหา(Content Analysis) และสรุปขอมูลแนวทางการพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา ดานปจจัยนําเขา ดานกระบวนการ ดานผลผลิต และดานตลาดแรงงาน เพื่อนําเสนอขอมูลในการจัดทําหลักสูตรตอไป

จากการศึกษาศักยภาพการจัดการเรียนการสอนและการลงทุนทางการศึกษาหลักสูตรของสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาที่เกิดจากการเรียนรูตลอดหลักสูตรของนิสิตสาขาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา ผูวิจัยไดจัดทํางานรายในการประชุมภาควิชารวมกับแบบสัมภาษณคณาจารยผูสอนและกรรมการบริหารหลักสูตร จํานวน 10ทาน พบวาคณาจารยเห็นวาหลักสูตรมีความสอดคลองกับความตองการของตลาด และเห็นความทําการพัฒนาหรือจัด

Page 65: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

65

กิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณลักษณะของนิสิตอยางตอเนื่อง พรอมทั้งควรมีการปรับปรุงคุณภาพในดานตางๆประกอบกันไดแก การปรับปรุงการใหบริการ กระบวนการจัดการหลักสูตร และการพัฒนาคณาจารย ซึ่งสามารถสรุปความคิดเห็นที่มีตอผลิตผลของหลักสูตร ไดดังนี้

หลักสูตรมีความสอดคลองกับความตองการของตลาดในระดับปานกลาง คือสามารถไปประกอบอาชีพเปนขาราชการได เชน นักวิชาการ หรือสามารถไปทํางานบริษัทเอกชนที่เก่ียวของกับการเกษตร สิ่งแวดลอมได

ความเห็นที่ 1

หลักสูตรมีความสอดคลองกับความตองการของตลาดในเชิงกวาง สามารถตอบสนองความตองการของตลาดไดมาก แนะนําใหมีกระบวนการคัดเลือกผูเรียนเขาสูกระบวนการผลิตบัณฑิต ตลอดจนการประชาสัมพันธหลักสูตร ทั้งการคัดเลือกผูเรียนและบัณฑิตสาขาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาใหรูจักทั่วไป

ความเห็นที่ 2

หลักสูตรมีความสอดคลองโดยเฉพาะการพัฒนาเกษตรอยางยั่งยืน ทั้งนี้แนะนําใหมีการพัฒนาคุณภาพอาจารยใหเปนที่ยอมรับในระดับชาติ และสงเสริมเจตคติของนิสิตในระหวางศึกษาโดยใหนิสิตเห็นคุณคาและความสําคัญของสาขาวิชา รวมทั้งเห็นแนวทางในการนําไปใชได

ความเห็นที่ 3

ขอเสนอแนะจากการรายงานตอคณาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรและผูมีสวนไดสวนเสียกับหลักสูตรเพื่อพิจารณา รวมกับการรับฟงปญหา ขอเสนอแนะ ผานการวิพากษหลักสูตร ในวันที่ 21 กรกฎาคม ซึ่งสามารถสรุปขอคิดเห็นไดดังนี้

1) หลักสูตรมีปรัชญาและแนวคิดเปนไปในทิศทางที่เหมาะสม บัณฑิตมีคุณลักษณะที่โดดเดนใน 3 มิติไดแก ดานการศึกษา ดานการเกษตร และดานสิ่งแวดลอม ทั้งนี้หลักสูตรมีเอกลักษณโดดเดนในดานกา รศึกษานอกระบบดังนั้นทางหลักสูตรควรยืดและคงเอกลักษณดังกลาวไว

2) หลักสูตรมีการปรับปรุงอยางตอเนื่อง จึงทําใหหลักสูตรมีความเหมาะตอบริบทปจจุบันและสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นในการพิจารณาเปดปดรายวิชาจึงแนะใหพิจารณาถึงความสําคัญแกบัณฑิตเปนหลัก เนนการเพิ่มศักยภาพที่เหมาะสมกับความตองการของตลาด และลดความซ้ําซอนของรายวิชาลงเพื่อประสิทธิภาพในการเรียนที่มากข้ึน

3) ขอสังเกตเก่ียวกับการทํางานในภาคเอกชนเปนจํานวนมาก ในขณะที่ภาครัฐมีการเขาทํางานในสัดสวนที่นอย ดังนั้นจะทําอยางไรใหบัณฑิตที่จบจากหลักสูตรนี้มีคุณสมบัติและชองทางในการเขาทํางานในสวนของภาครัฐไดมากข้ึน

4) บัณฑิตมีคุณลักษณะพิเศษครบถวนตามที่ระบุไวในหลักสูตร คุณลักษณะพิเศษที่มีมากและผูประกอบการพึงประสงค ไดแก ดานความอดทนและความสามารถในการจัดการเรียนรู การทํางานรวมกับผูรวมงานทุกกลุม และดานความรับผิดชอบสูงตอวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม โดยมีจุดเดนในการทํางานตลาดเอกชน มีคุณภาพและจุดเดนในการทํางาน เกงดานการนําเสนอที่ไดประโยชนมาก

Page 66: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

66

บทที่ 5สรุปผลการวิจัย

การศึกษาศักยภาพและแนวทางการลงทุนทางการศึกษาของสาขาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา ภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและชุมชน สามารถสรุปผลการวิจัย ดังนี้

5.1 ศักยภาพการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรสาขาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาการศึกษาในวัตถุประสงคนี้ แบงผลการวิจัยออกเปน 2 สวน ไดแก 1) การจัดการหลักสูตร และ 2) สภาพ

การลงทุนจัดการเรียนการสอน ดังนี้สวนที่ 1 การจัดการหลักสูตร

หลักสูตรมีการจัดการหลักสูตรเปนไปตามมาตรฐาน โดยมีกรอบแนวคิดในการพัฒนาหลักสูตรที่มีความสอดคลองกับแผนพัฒนาการอุดมศึกษาของชาติ ปรัชญาการอุดมศึกษา ประกอบกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน เปนมหาวิทยาลัยวิจัยที่มีความเปนเลิศทางการเกษตรในระดับสากล และมีกระบวนการปรับปรุงหลักสูตรอยางตอเนื่อง

ในการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาจึงมุงสรางนักการศึกษาที่มีความสามารถในการบูรณาการความรูดานการเกษตรและการจัดการสิ่งแวดลอมเพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมบนฐานการเกษตรสูการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิต ที่มีความสามารถในการบูรณาการความรูดานการเกษตรและการจัดการสิ่งแวดลอม และสนับสนุนการพัฒนาการเกษตรที่ยั่งยืนดวยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อยางเก้ือกูลกัน และผลิตบัณฑิตใหมีความรูความสามารถในการวิจัยและเผยแพรดานการเกษตรและสิ่งแวดลอมโดยใชกลยุทธทางการศึกษา

สถานภาพของหลักสูตร มีระบบการจัดการศึกษา และการดําเนินการตามแผน โดยแผนการรับนิสิตมีการดําเนินการเปนไปตามเปาที่วางไว แตผูสําเร็จการศึกษาในระยะ 5 ป ไมเปนไปตามเปาหมายที่วางไว เนื่องจากนิสิตมีการคงอยู 290 คน หรือคิดเปนรอยละ 90.63 ตามที่กําหนดไวในแผนที่จํานวน 320 คน ซึ่งการหายไปของนิสิตดังกลาวเกิดจากการยายหรือเปลี่ยนสาขาที่เรียนตามความเหมาะสมตามศักยภาพของตนและความคาดหวังในการทํางานในสายอาชีพที่ตนสนใจ

ดานประสิทธิภาพของปจจัยเบื้องตนของหลักสูตร พบวาผูรับบริการทางการศึกษา ไดแก บัณฑิตและนิสิตที่กําลังศึกษาอยูมีการแสดงความคิดเห็นเปนไปในทิศทางเดียวกัน ดังนี้

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ประกอบดวย 5 กลุมวิชา ไดแก กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร กลุมวิชาภาษา กลุมวิชาสังคมศาสตร กลุมวิชามนุษยศาสตร และกลุมวิชาพลศึกษา พบวา ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวา อาจารยผูสอนในหมวดวิชานี้ มีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาที่สอน และมีความรูความสามารถในการถายทอดความรู ในระดับมากที่สุด ในขณะที่เห็นวากลุมวิชามนุษยศาสตร มีความทันสมัย ทันตอเหตุการณและสภาพสังคมปจจุบันของเนื้อหาวิชา อยูในระดับมากที่สุด และกลุมวิชาพลศึกษา มีความซ้ําซอนของเนื้อหารายวิชาอยูในระดับปานกลาง

หมวดวิชาเฉพาะบังคับ ประกอบดวย 4 กลุมวิชา ไดแก กลุมวิชาวิทยาศาสตร กลุมวิชาทางการเกษตรกลุมวิชาทางเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา และกลุมวิชางานฟารม ซึ่งจากการศึกษาความเหมาะสมของปจจัยเบื้องตน

Page 67: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

67

ของหลักสูตรจากผูรับบริการการศึกษา พบวา อาจารยผูสอนในหมวดวิชานี้มีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาที่สอน และมีความรู ความสามารถในการถายทอดความรู ในระดับมากที่สุด ในกลุมวิชาทางการเกษตรและกลุมวิชาทางเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาผูรับบริการการศึกษาสามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมนี้ไปใชในชีวิตประจําวันไปใชในการสมัครงานในอนาคต และไปใชในการศึกษาตอไดในอนาคต ไดในระดับมากที่สุด ขณะที่กลุมวิชาวิทยาศาสตรผูรับบริการการศึกษาสามารถนําความรูไปใชไดในระดับมาก

หมวดวิชาเฉพาะเลือก ประกอบดวย 2 กลุมวิชา ไดแก กลุมวิชาทางเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา และกลุมวิชาสาขาวิทยาศาสตร เกษตร และสิ่งแวดลอม ซึ่งจากการศึกษาความเหมาะสมของปจจัยเบื้องตนของหลักสูตรจากผูรับบริการการศึกษา พบวาทั้ง 2 กลุมวิชา สามารถนําความรูจากรายวิชาในกลุมนี้ไปใชในชีวิตประจําวัน ไปใชในการสมัครงานในอนาคต และไปใชในการศึกษาตอไดในอนาคต ในระดับมากที่สุด และอาจารยผูสอนในหมวดวิชานี้มีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาที่สอน และมีความรู ความสามารถในการถายทอดความรู ในระดับมากที่สุดเชนกัน

ประสิทธิภาพของบริหารจัดการหลักสูตรและการบริการ ผูรับบริการการศึกษาจากหลักสูตรเห็นวาบริหารจัดการหลักสูตรและการบริการมีประสิทธิภาพในระดับมาก โดยเห็นวาอาจารยที่ปรึกษามีการดูแลเอาใจใสนิสิตอยูในระดับที่เหมาะสมมากที่สุด ในขณะที่ทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอนที่เก่ียวกับขนาดหองเรียนเพียงพอตอจํานวนนิสิต และจํานวนหองเรียนมีเพียงพอตอการจัดการเรียนการสอนยังมีความเหมาะสมอยูในระดับปานกลาง แตประสิทธิภาพของฟารมปฏิบัติการอยูในระดับมาก ทั้งในดานการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร อุปกรณเคร่ืองมือที่ทันสมัยสอดคลองกับกิจกรรมรายวิชา และ ครบถวนเหมาะสม

สวนที่ 2 สภาพการลงทุนจัดการเรียนการสอน

ภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและชุมชนมีการลงทุนในการจัดการเรียนการสอนดานตางๆ ตามกรอบมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2549 อยางครบถวน ในทุกดาน ไดแก การลงทุนดานคุณภาพบัณฑิต การลงทุนดานการบริหารจัดการการอุดมศึกษา และการลงทุนดานการสรางและพัฒนาสังคมฐานความรู โดยมีการบริหารงบประมาณการลงทุนทั้งภายในภาควิชาและภายนอกภาควิชา ทั้งนี้การลงทุนสวนใหญของภาควิชาใชกับการลงทุนดานการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตมากที่สุด ในขณะที่ลงทุนดานการบริหารจัดการการอุดมศึกษาสวนใหญไดงบประมาณจากภายนอก สวนการลงทุนดานการสรางและพัฒนาสังคมฐานความรู ภาควิชามีการลงทุนในปริมาณนอยเมื่อเทียบกับแหลงงบประมาณจากภายนอก

ภาพรวมของการลงทุนกับโครงการที่เก่ียวของกับปจจัยนําเขา กระบวนการ และเปาหมายซึ่งเปนผลผลิตของหลักสูตร วทบ.เกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาในชวงปงบประมาณ 2554-2557 ทั้งหมดนั้น ภาควิชายังมีจุดออนในเร่ืองของความตอเนื่องของการลงทุนงบประมาณภายในภาควิชาในการบริหารจัดการพันธกิจ 4 ดาน โดยไมมีการใชงบประมาณดานการอนุรักษ ฟนฟู สืบสาน พัฒนา เผยแพร วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน และใชงบประมาณภายนอกภาควิชาสวนใหญกับการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ ดังนั้นการบริหารจัดการพันธกิจ 4ดาน จึงมีความเสี่ยงจากการใชแหลงงบประมาณภายนอกทั้งหมด ซึ่งภาควิชาตองมีการบริหารงบประมาณในการลงทุนโดยการกระจายแหลงงบทุนใหครบถวนและมีความตอเนื่องมากข้ึน

Page 68: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

68

5.2 การลงทุนทางการศึกษาของหลักสูตรสาขาเกษตรและสิง่แวดลอมศึกษา

5.2.1 การศึกษาประโยชนและตนทุนบุคคลการศึกษาการตัดสินใจศึกษาในหลักสูตรเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาของผูใชบริการทางการศึกษามีทั้ง

การลงทุนทางการศึกษาเพื่อกอใหเกิดรายไดในอนาคตและเพื่อการบริโภคที่กอใหเกิดความพึงพอใจในฐานะผูบริโภคโดยผูใชบริการทางการศึกษาตัดสินใจศึกษาในหลักสูตรนี้เนื่องดวยตองการความรูและประสบการณเพื่อใชในการทํางานในอนาคต ในขณะที่การลงทุนทางการศึกษาเพื่อการบริโภคสวนใหญเพราะมีความชื่นชอบในสาขานี้ และรอยละ 20.50 ที่ตัดสินใจเลือกเรียนในหลักสูตรนี้เพราะใกลบาน ดังนั้นในการบริหารจัดการหลักสูตรใหสอดคลองกับความตองการของผูใชบริการจึงควรนําแนวทางการตัดสินใจไปใชในการปรับปรุงเพื่อการประชาสัมพันธผูเรียนในภูมิภาคและจังหวัดโดยรอบจังหวัดนครปฐม และใหความสําคัญกับการฝกประสบการณเพื่อเปนแนวทางในการจัดหาแหลงงานในอนาคต

จากการศึกษาการลงทุนทางการศึกษาของนิสิตตลอดหลักสูตร พบวาผูใชบริการทางการศึกษามีคาใชจาย2 สวน คือรายจายที่เปนตนทุนทางการศึกษา และรายรับที่เปนรายไดรวมถึงประโยชนทางออมที่เกิดภายหลังการไดรับการศึกษา โดยผูใชบริการทางการศึกษาหลักสูตรนี้มีตนทุนการศึกษาเปนคาใชจายตลอดหลักสูตร 4 ป รวม 105,600บาท/คน ซึ่งเปนคาหนวยกิตเหมาจาย 12,900 บาท/เทอม และมีคาใชจายสวนตัวเฉลี่ย 5,877.68 บาท/เดือน ซึ่งจากผลการวิจัยพบวาสวนใหญรอยละ 50.00 นิสิตมีคาใชจายสวนตัวที่ 3,001-5,000 บาท/เดือน ทั้งนี้เมื่อนํามาคํานวณเพื่อประมาณการคาใชจายขณะศึกษาตลอดหลักสูตร พบวา ผูใชบริการทางการศึกษาหลักสูตรนี้มีคาใชจายตลอดหลักสูตร 293,685.76 บาท/คน โดยประมาณการคาเสียโอกาสขณะศึกษาตอ 288,000 บาท( คํานวณจากคาแรงข้ันต่ํา 300 บ./วัน * 30 วัน * 32 เดือน)

สวนรายไดจากการทํางานของบัณฑิต ซึ่งเปนประโยชนที่เกิดข้ึนภายหลังการจบหลักสูตร พบวา บัณฑิตรอยละ 82.69 มีงานทํา โดยสภาพการทํางานสวนใหญ รอยละ 58.14 ทํางานบริษัทเอกชน รองลงมารอยละ 27.91ทําธุรกิจสวนตัว และนิสิตทํางานรับราชการและรัฐวิสาหกิจที่รอยละ 6.98 เทากัน ทั้งนี้บัณฑิตที่ยังไมมีงานทําเปนหลักแหลงจํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 17.31 ทั้งนี้สวนใหญ รอยละ 55.56 ที่ไมมีงานทําเพราะอยูระหวางรอสัมภาษณงาน และรอยละ 44.44 เขาศึกษาตอในระดับปริญญาโท ทั้งนี้จากการสํารวจรายไดของบัณฑิตที่ไดงานทําแลวจํานวน43 คน พบวา บัณฑิตสวนใหญมีคาจางหรือเงินเดือน 10,000-14,999 บาท/เดือน จํานวน 23 คน (รอยละ 53.49)โดยมีบัณฑิตที่ไดรับคาจางสูงกวา 15,000 บาท/เดือน จํานวน 8 คน บัณฑิตที่ไดรับคาจางต่ํากวา 9,999 บาท/เดือนจํานวน 6 คน (รอยละ 13.95) และบัณฑิต 2 คน ไดรับคาจางมากกวา 20,000 บาท

5.2.2 การศึกษาประโยชนตอบุคคลและสังคมทางออมประโยชนตอบุคคลและสังคมทางออมที่เกิดจากการเรียนรูตลอดหลักสูตรสาขาเกษตรและสิ่งแวดลอม

ศึกษา เกิดจากผลตอบแทนที่เกิดจากผลกระทบภายนอกจากการลงทุนทางการศึกษา ดังนี้1) คุณลักษณะพิเศษหลังจากสําเร็จการศึกษาซึ่งเปนคุณลักษณะสวนบุคคลที่เกิดข้ึนพรอมกับกิจกรรม

การเรียนรู จากการประเมินตนเองของบัณฑิตเก่ียวกับคุณลักษณะพิเศษจากผลการวิจัยจะเห็นวาคุณลักษณะระหวางศึกษาและหลังจากสําเร็จการศึกษามีความสอดคลองกัน โดยคุณลักษณะพิเศษที่เกิดกับบัณฑิตภายหลังจบการศึกษามี

Page 69: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

69

คุณสมบัติที่ครบถวนตามที่ระบุไวในหลักสูตร โดยคุณลักษณะพิเศษหลังจากสําเร็จการศึกษาที่มีมากและเปนคุณลักษณะที่ผูประกอบการพึ่งประสงคที่กอใหเกิดประโยชนตอหนาที่การงาน ไดแก คุณลักษณะดานความอดทนและความสามารถในการจัดการเรียนรู การทํางานรวมกับผูรวมงานทุกกลุม รวมถึงดานความรับผิดชอบสูงตอวิชาการเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ดังนั้นคุณสมบัติของบัณฑิตดังกลาวจึงเปนประโยชนตอบุคคลและสังคมทางออมที่เกิดจากการเรียนรูตลอดหลักสูตรของนิสิตสาขาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา

ทั้งนี้เมื่อศึกษาความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต 20 คน ดานผลิตผลของหลักสูตร พบวา ผูใชบัณฑิต มีความพึงพอใจในการทํางานของบัณฑิตที่ระดับมาก และมีเพียงรอยละ 10.00 ที่เห็นวาบัณฑิตมีความเปนผูนําและมีระเบียบวินัยในการทํางาน ดังนั้นคุณลักษณะดานความเปนผูนําจึงเปนคุณสมบัติที่ผูประกอบการพึ่งประสงคแตกลับไมพบในการประเมินตนเองของบัณฑิต ดังนั้นในการปรับปรุงเพื่อพัฒนาหลักสูตรจึงควรจัดกิจกรรมหรือรายวิชาที่ชวยเพิ่มและพัฒนาคุณสมบัติดังกลาวใหกับนิสิต

2) การใชประโยชนภายหลังการเรียนรูตลอดหลักสูตรที่สะทอนกลับมาอยูในรูปของความภาคภูมิใจความพึงพอใจในการนําผลตอบแทนทางตรงไปใชประโยชนสืบเนื่องในการทํางาน พบวา บัณฑิตมีความพึงพอใจและภาคภูมิใจในการศึกษาตลอดหลักสูตรนี้ในระดับมากที่สุด โดยพึงพอใจตอความรูที่ไดจากการเรียนตลอดหลักสูตรในระดับมาก (คาเฉลี่ย 4.06) มีความพึงพอใจตอการนําความรูและประสบการณจากการเรียนตลอดหลักสูตรไปใชในการวิเคราะหและตัดสินใจในงานที่รับผิดชอบไดอยางมีเหตุผลในระดับมากที่สุด (คาเฉลี่ย 4.27) และบัณฑิตคิดวาความรูที่ไดจากการเรียนตลอดหลักสูตรมีความสอดคลองกับอาชีพและสามารถนําไปใชในการทํางานไดในระดับมาก (คาเฉลี่ย3.92 และ 4.06 ตามลําดับ) ดังนั้นจะเห็นไดวาบัณฑิตมีความภาคภูมิใจ ความพึงพอใจในการนําผลตอบแทนทางตรงที่ไดรับตลอดการเรียนรูในหลักสูตรไปใชประโยชนสืบเนื่องในการทํางาน

3) การศึกษาความมั่นใจในการใชประโยชนจากการเรียนรูตลอดหลักสูตรของนิสิต ที่กําลังเรียนอยูชั้นปที่ 4 พบวา นิสิตมีความพึงพอใจในการศึกษาและมีความภาคภูมิใจในการเรียนหลักสูตรนี้ในระดับมาก โดยนิสิตมั่นใจวาจะสามารถนําความรูและประสบการณจากการเรียนตลอดหลักสูตรไปใชในการสมัครงานหรือทํางานในอนาคต และมั่นใจวาจะสามารถนําความรูและประสบการณจากการเรียนตลอดหลักสูตรไปใชในการวิเคราะหและตัดสินใจในการทํางานในอนาคตไดอยางมีเหตุผลระดับมาก โดยเห็นวาคุณลักษณะที่ไดจากหลักสูตรนี้ตรงตามความตองการของตลาดการจางงานในระดับมาก แตนิสิตมีความมั่นใจในระดับปานกลางกับการมีงานทําในอนาคต

ซึ่งสอดคลองกับสรุปผลจากการสัมภาษณนายจางหรือผูประกอบการที่นิสิตเขาทํางาน ความคิดเห็นของคณาจารยผูสอนและกรรมการบริหารหลักสูตร ที่เห็นวาคุณลักษณะบัณฑิตที่จบหลักสูตรนี้มีคุณสมบัติตรงตามความตองการของตลาดและผูประกอบการในระดับ โดยเห็นควรทําการพัฒนาหรือจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณลักษณะของนิสิตอยางตอเนื่อง เพื่อใหมีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของความตองการของตลาด และผูประกอบการไดมีการเสนอแนะใหมีการปรับปรุงรายวิชาทางดานคอมพิวเตอรและเทคโนโลยี รายวิชาเก่ียวกับการบริหารทรัพยากรมนุษยเพิ่มเติม เปนตน

Page 70: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

70

5.3 แนวทางการพัฒนาหลักสูตรสาขาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาขอสรุปจากการศึกษาศักยภาพและแนวทางการลงทุนทางการศึกษาของสาขาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา

ภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและชุมชน เพื่อประเมินความพึงพอใจและความตองการของนิสิต บัณฑิต และผูใชบัณฑิต และขอเสนอแนะจากคณาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรและผูมีสวนไดสวนเสียกับหลักสูตรเพื่อพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา จากการประชุมภาควิชา การประชุมอาจารยประจําหลักสูตร และการวิพากษหลักสูตร สามารถเสนอแนวทางการพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา ไดดังนี้

ดานปจจัยนําเขาและดานกระบวนการ1) หลักสูตรมีปรัชญาและแนวคิดเปนไปในทิศทางที่เหมาะสม บัณฑิตมีคุณลักษณะที่โดดเดนใน 3 มิติ ไดแก

ดานการศึกษา ดานการเกษตร และดานสิ่งแวดลอม ทั้งนี้หลักสูตรมีเอกลักษณโดดเดนในดานการศึกษานอกระบบดังนั้นทางหลักสูตรควรยืดและคงเอกลักษณดังกลาวไว คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรจึงมีความเห็นที่สอดคลองกับผูประเมินอิสระ โดยในการปรับปรุงหลักสูตรคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรไดคงปรัชญา แนวคิด และเอกลักษณของหลักสูตรไว โดยพิจารณาปรับปรุงรายวิชาตามขอเสนอแนะและผลการวิจัยสถาบัน ทั้งนี้ในการพิจารณาปรับปรุงหลักสูตรไดใหความสําคัญกับความตองการของตลาดและประสิทธิภาพในการเรียนการสอนของนิสิตเปนหลัก

2) หลักสูตรมีการปรับปรุงอยางตอเนื่อง จึงทําใหหลักสูตรมีความเหมาะตอบริบทปจจุบันและสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นในการพิจารณาเปดปดรายวิชาจึงแนะใหพิจารณาถึงความสําคัญแกบัณฑิตเปนหลัก เนนการเพิ่มศักยภาพที่เหมาะสมกับความตองการของตลาด และลดความซ้ําซอนของรายวิชาลงเพื่อประสิทธิภาพในการเรียนที่มากข้ึน

3) ดานประสิทธิภาพของบริหารจัดการหลักสูตรและการบริการ ควรเสนอแนะเพื่อการพัฒนาปรับปรุงไปยังคณะ เพื่อดําเนินการปรับปรุงทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน เชน การจัดตารางเรียนรายวิชาใหสอดคลองขนาดหองเรียนและจํานวนนิสิต การปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกในชั้นเรียนใหพรอมใช รวมถึงการประสานงานเจาหนาที่ที่เก่ียวของเพื่อเตรียมความพรอมของหองเรียน เปนตน ทั้งนี้ในสวนของการปรับปรุงเพิ่มจํานวนหองเรียนใหเพียงพอตอการจัดการเรียนการสอนนั้นคณะกําลังอยูระหวางดําเนินการจัดสรางอาคารปฏิบัติการเพิ่มเติม

4) ดานประสิทธิภาพของฟารมปฏิบัติการ ภาควิชาไดมีการพัฒนาศักยภาพของฟารมใหเพียงพอตอการจัดการเรียนการสอนอยางตอเนื่อง เชน การจัดซื้ออุปกรณ หองปฏิบัติการ โรงเรือนปฏิบัติการปลูกพืชไรดินอินเตอรเน็ต เปนตน ทั้งนี้ ภาควิชามีแผนที่จะสรางอาคารปฏิบัติการเพิ่มเติม เพื่อเพิ่มหองเรียนและประสิทธิภาพในการจัดเรียนการสอนที่ดีข้ึน ทั้งนี้อยูในระหวางการอนุมัติงบประมาณ

ดานผลผลิตและดานตลาด1) ภาควิชามีแผนที่จะดําเนินการเตรียมความพรอมนิสิตสูความเปนบัณฑิตเพื่อเพิ่มความมั่นใจในการทํางาน

ในอนาคตโดยรวมกับผูประกอบการและศิษยเกา โดยจัดใหมีการจัดการเรียนการสอนรวมกับผูประกอบการที่เปนศิษยเกาในกลุมวิชาฟารม เพื่อสงเสริมความรูและทักษะดานการทํางานจริง และปรับปรุงมุมมองการทํางาน

2) จากผลการวิจัยสถาบันมีขอสังเกตเก่ียวกับการทํางานในภาคเอกชนเปนจํานวนมาก ในขณะที่ภาครัฐมีการเขาทํางานในสัดสวนที่นอย ดังนั้นจะทําอยางไรใหบัณฑิตที่จบจากหลักสูตรนี้มีคุณสมบัติและชองทางในการเขาทํางานในสวนของภาครัฐไดมากข้ึน จึงไดมีการเสนอใหหลักสูตรมีการประสานงานทางสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพล

Page 71: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

71

เรือน(ก.พ.) เพื่อกําหนดคุณสมบัติบัณฑิตสาขาเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาใหครอบคลุมคุณสมบัติดางตางๆอยางครบถวน ซึ่งเดิมระบุไวเพียงเปนนักจัดการสิ่งแวดลอม ในขณะที่หลักสูตร สามารถประกอบอาชีพ นักวิชาการศึกษานักวิชาการและนักวิจัยทางเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา ทั้งนี้ยังชวยใหบัณฑิตมีชองทางที่สามารถสมัครเขาทํางานในหนวยงานภาครัฐไดมากข้ึนอีกทางหนึ่งดวย

3) บัณฑิตมีคุณลักษณะพิเศษครบถวนตามที่ระบุไวในหลักสูตร คุณลักษณะพิเศษที่มีมากและผูประกอบการพึงประสงค ไดแก ดานความอดทนและความสามารถในการจัดการเรียนรู การทํางานรวมกับผูรวมงานทุกกลุม และดานความรับผิดชอบสูงตอวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม โดยมีจุดเดนในการทํางานตลาดเอกชน มีคุณภาพและจุดเดนในการทํางาน เกงดานการนําเสนอที่ไดประโยชนมาก ซึ่งผลการประเมินจากผูประกอบการ (รอยละ 100) มีความพึงพอใจในการทํางานของบัณฑิตที่ระดับมาก และเห็นวาบัณฑิตมีคุณสมบัติตรงตามความตองการของตลาด /ผูประกอบการ ดังนั้นหลักสูตรจึงควรรักษามาตรฐานและปรับปรุงกระบวนการผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติตรงตามความตองการของตลาด /ผูประกอบการตอไป

4) หลักสูตรควรทําการพัฒนาหรือจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณลักษณะของนิสิตอยางตอเนื่อง และเพิ่มทักษะดานคอมพิวเตอรและเทคโนโลยี ความเปนผูนําและระเบียบวินัยในการทํางาน และการบริหารทรัพยากรมนุษยจึงเสนอใหมีการเปดรายวิชาใหมทางดานการประยุกตคอมพิวเตอรทางเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา การพัฒนาทรัพยากรมนุษยและชุมชนทางเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา ภาวะผูนําสําหรับนักเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา เพื่อเพิ่มทักษะและพัฒนาคุณลักษณะของนิสิตใหสอดคลองกับสถานการณและตามความตองการของตลาดแรงงาน

5) บัณฑิตที่จบสามารถเขาเรียนตอในสาขาวิชาทางดานการจัดการสิ่งแวดลอมไดอยางตอเนื่อง และมีเสียงตอบรับจากสาขาวิชาที่เรียนตอวาหลักสูตรสามารถผลิตนิสิตไดอยางมีคุณภาพเปนที่นาพอใจ สวนบัณฑิตสามารถออกไปทํางานไดหลากหลาย ทั้งในกลุมของงานดานการเกษตร ดานสิ่งแวดลอม และดานการศึกษา โดยดานการศึกษาอีกสายหนึ่งที่ปรากฏมีการทํางานที่มากข้ึนคือครูทางสายวิทยาศาสตร จึง เสนอใหมีการเปดรายวิชาใหมทางดานการจัดการสิ่งแวดลอมเพื่อเปนรายวิชาที่เชื่อมตอศาสตรทางดานเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาและเปนวิชาที่ชวยเพิ่มศักยภาพทางดานวิทยาศาสตรและสิ่งแวดลอมใหแกนิสิตมากข้ึน

Page 72: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

72

รายการอางอิง

ธีรศักดิ์ อุนอารมยเลิศ. 2550. การวิเคราะหตนทุน-ผลตอบแทนของการศึกษาตามหลักสตูรครุศาสตร/ศึกษาศาสตร. วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพฒันศึกษา ภาควชิานโยบาย การจัดการและความเปนผูนําทางการศึกษา คณะครุศาสตร จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ

นวลทิพย ควกุล. 2527. เศรษฐศาสตรการศึกษา. คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ

อาหเมด แมนซูร. 2525. เศรษฐศาสตรการศึกษานอกระบบโรงเรียน. แปลโดย สุนทร โคตรบรรเทา. คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรตประสานมติร, กรุงเทพฯ

รังสรรค ธนะพรพันธุ. 2518. เศรษฐศาสตรการคลังวาดวยการศึกษา มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร, กรุงเทพฯ

สุภาสิณี นุมเนียม จุฑาทิพย ถาวรรัตน และอารีรัตน ภาคพิธเจริญ 2556. ศักยภาพและแนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรเกษตรศึกษา ของภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและชุมชน. คณะศึกษาศาสตรและพัฒนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน, นครปฐม

อภิชัย พันธเสน. 2518. เศรษฐศาสตรการศึกษา: การศึกษา ปฏิรูปหรือปฏิวัติ. บพิธการพิมพ, กรุงเทพฯ

Elchanan Cohn. 1979. The Economics of Education. Massachusetts :Ballinger Publishing Company.

T.W. Schultz. 1961. Investment in human Capital. The American economic review 51(1): 1-17

Page 73: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

73

ภาคผนวก

Page 74: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

74

ตารางสรุปบทสะทอนการเรียนรูในหลักสูตรเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษา

ตารางที่ บทสะทอนการเรียนรูในหลักสูตรเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาผูสะทอน

1) วาสินี สุทธิโยชน

2) ปรียานุช จันทิพยวงษ

3) ธัญชนก พูลสวัสดิ์

4) ชลธิชา ฮิงหลวง

5) วรินทรา มวงมนตรี

6) จุฑามาส ดอนไพรเลา

7) นิตยา แสงช่ืน

8) ภัคฐิกันยา ลาภใหญ

9) ณัฐธิดา นิลประดับแกว

10) จิราพร มณีวงค

11) กันยารัตน อวมภักดี

12) ณัฏฐนิช ลิปกรลือชา13) กนกวรรณ เลิศล้ํา

14) ออมบุญ สืบสงัด

15) อนงนาฏ ระเวกโฉม

16) ตรัย ช่ืนชม

17) พรพรรณ รักอักษร

18) จารุวรรณ สําลี19) สุวิมล ทองกัญญา

20) ณัฐพล ผาเบา

21) ณัชชา โอบออม

22) สุภาพร ตองออน

23) นัฐชา จาดเกิด

24) รุงนภา นิยม

25) สกาวรรณ ทองเกลี้ยง

26) ปทมา เรียงแหลม

27) นที ผิวทองออน

28) ศิริลักษณ งามศิริ

8 10 7 3 8 6หมายเหตุ หมายถึง ความรู การเรียนรู หมายถึง ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ บทเรียนชีวิต

หมายถึง ความสามัคคี ความรวมมอืรวมใจ มิตรภาพ มีน้าํใจ หมายถงึ ความขยัน ความอดทน ความต้ังใจ หมายถึง ความภาคภูมิใจ ความรับผิดชอบตอสังคม ส่ิงแวดลอม หมายถึง ความสุข ความสนุก รอยยิ้ม

Page 75: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

75

ตารางที่ บทสะทอนการเรียนรูในหลักสูตรเกษตรและสิ่งแวดลอมศึกษาผูสะทอน

1) ชนาพร ทิปวาส

2) โชติกา ทิพยวงค

3) มุกดา เนตรสน

4) ผานิตย ปรางคภผูา

5) เมธี หลงสมบญุ

6) อุรุพร ศิริวิชยาภรณ

7) แสงรวี อาภรณพิศาล

8) ภัทรวรรณ สรอยทอง

9) วิสาข จันทรสมวงค

10) พัชรพร สุมาลี

11)มีวรรณ ฉันทชาติ

12) ธนัฐฐา เอมโอช

13)พรมนัส ขําพระบุตร

14)มารี หมดทุกข

15) พัชรียา ประจง

16)ปยาภรณ โซวสุวรรณ17) เมวิกา แสนปฐม

18)มัทนา คชรัตน

19) อนุพล มงคลทวี

20)มณีรตัน แซแต

21) กันทิมา พูลเพ่ิม

22) รัตนาภรณ สืบดวง

23) อิทธิ สุระภาพ

24) ลลิตวดี ตันประดับสิงห

25) สรารัตน บุตรบํารุง11 10 7 6 1 7

หมายเหตุ หมายถึง ความรู การเรียนรู หมายถึง ความสามารถ ทกัษะ ประสบการณ บทเรียนชีวิต หมายถึง ความสามัคคี ความรวมมอืรวมใจ มิตรภาพ มีน้าํใจ หมายถึง ความขยัน ความอดทน ความต้ังใจ หมายถึง ความภาคภูมิใจ ความรับผิดชอบตอสังคม ส่ิงแวดลอม หมายถึง ความสุข ความสนกุ รอยยิ้ม

Page 76: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

76

บทสะทอนการเรียนรูในหลักสตูรเกษตรและสิง่แวดลอมศึกษา

1) ความรู การเรียนรู...สิ่งที่ไดรับจากการเรียนเกษตรคือทําใหฉันไดเรียนรูเก่ียวกับวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีทางดานการเกษตรสามารถที่จะนําไปใชไดจริงและที่สําคัญทําใหเราไดรูถึงคุณคาและศักดิ์ศรีของคําวาการเปนเกษตรกรถึงแมวามันจะไดเงินนอยแตมันก็ยังสรางความภาคภูมิใจวาผลผลิตที่ไดเปนการสรางใหประชากรไดมีชีวิต

วาสินี สุทธโิยชน...การเรียนรูถือวาเปนสิ่งทีด่ีที่สดุเพราะการลงมือปฏิบัติจะทาํใหเราไดรับทั้งความรูและยังสามารถเปนเคร่ืองชี้วัดอะไรไดหลายอยาง...

ชนาพร ทิปวาส...ไดเรียนรูการใชชีวิตของเกษตรกร ความ เหนื่อย ความยากลําบาก ความอดทน เมื่อมองดูตนไมตนหญาที่บางเบากวาชีวิตมนุษยมาก...

วิสาข จันทรสมวงค

...ไดเรียนรูและยอมรับในหลายอยางไมวาเปนดานการเรียน ดานการทํางาน และมิตรภาพระหวางเพื่อน นิสัยใจคอของคนในโครงการ รวมทั้งการทํางานของตนเองวามีความอนทนแคไหนและยอมรับในสิ่งที่ตนเองเลือกหรือไมพรอมที่จะกาวและเดนิตอไป...

พัชรพร สุมาลี

2) ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ บทเรียนชีวิตตั้งแตฉันไดยางกาวเขามาในที่แหงนี้ ฉันคิดวามันมีอุปสรรคมากมายที่ฉันไดเผชิญ ไดเรียนรู และที่สําคัญ ไดบทเรียนชีวิตมากมายจากการใชชีวิตในที่แหงนี้

ธัญชนก พูลสวัสดิ์

ทําใหฉันไดประสบการณ ความชํานาญและความรับผิดชอบมากข้ึน...ชลธิชา ฮงิหลวง

...ทําใหฉันไดรับรู ไดเจออะไรใหมๆ ที่ไมเคยเจอไมเคยรูมากอน เปนประสบการณที่ดีเลย...ภัคฐิกันยา ลาภใหญ

...สอนใหเราไดคิดเองวางแผนเอง ปฏิบัติเองและเปนสิ่งที่บอกเราไดวา ความรูไมไดมีแคในหองเรียน แตเราไดเรียนรูดวยวิธีที่ตัวเองไดสัมผัส ไดลงมือปฏิบัติ และมันจะทําใหเราไดรับสิ่งที่มากกวาความรูนั่นก็ คือ ประสบการณ...

ณัฐธิดา นลิประดับแกว

Page 77: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

77

...จากประสบการณทีผ่านมาสอนอะไรเรามากมายจึงทาํใหเราไมประมาท...นัฐชา จาดเกิด

...เปนเสนทางแหงการเรียนรู ประสบการณและแฝงไปดวยมิตรภาพของรอยยิ้มซึ่งเปนเสนทางที่ไมไดสอนเพียงใหเราเกิดความรูเพียงดานเดียวแตทาํใหเรามีประสบการณดวยจากการทาํกิจกรรมตางๆประสบการณที่ไดจากการทาํงานในฟารม...

ภัทรวรรณ สรอยทอง...นําความรูและประสบการณทกุอยางที่ฟารมไดมอบใหไปใชในการดําเนินชีวิต ไปใชในโลกแหงความเปนจริงในอนาคต

กันทิมา พูลเพิ่ม

...ไดประสบการณทางดานเกษตรและสิ่งแวดลอมแลว ยังเปนผลพลอยไดในการทําการเกษตรกรรมที่บานที่สามารถผลิตผักสงออกสูตลาดทัง้ในประเทศและตางประเทศ...

แสงรวี อาภรณพิศาล

3) ความสามัคคี ความรวมมือรวมใจ มิตรภาพ มีนํ้าใจทําใหทุกคนรูรักสามัคคีกัน รูจักปรับตัว รูจักการวางตัว รวมทั้ง กิริยามารยาทที่ควรปฏิบัติในการอยูรวมกันในสังคม

ปรียานชุ จันทิพยวงษ...ทําใหเราไดเรียนรูสิ่งตางๆมากมาย ไมใชแคการปลูกขาวโพด แตมันคือ “มิตรภาพ” ของคําวา“เพื่อน” ที่ไดจากการเรียนรูที่จะทําอยางไรใหขาวโพดเจริญเติบโตไปพรอมกับเพื่อนๆ

วรินทรา มวงมนตรี

การที่ไดเรียนที่ฟารมนอกจากไดทําการปลูกพืชผักตางๆ แลวก็ยังไดรูอะไรมากมายอีกหลายอยาง เชนการใชชีวิต การอยูรวมกันกับคนหมูมาก การวางตัวกับบุคคลแตละบุคคลซึง่มีนสิัยที่ตางกัน

จิราพร มณีวงคการที่เราไดเรียนรูการทํางานรวมกันทําใหเราไดรูจักการชวยเหลือซึ่งกันและกัน...

สุวิมล ทองกัญญา...ประสบการณที่ยิ่งใหญ ที่ทาํใหพวกเราเห็นถึงขอผิดพลาด การแกไขปญหา ความรวมมือ รวมใจ และความสามัคคี ตั้งใจ ในหมูเพื่อนกันเลยทีเดียว

สกาวรรณ ทองเกลี้ยง...เราคอยชวยเหลือกัน มีน้ําใจกัน จนทาํใหงานตางๆ ที่ไดรับมาผานพนไปได ดวยความสามัคคี...

นที ผิวทองออน...การทํางานฟารมใชวาจะอาศัยแคความรูความเขาใจเพียงอยางเดียวแตตองอาศัยกําลงัและความสามัคคี ความสามัคคีทําใหความสัมพันธของสมาชิกดีมากยิง่ข้ึน...

Page 78: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

78

อุรุพร ศิริวิชยาภรณ...พรอมที่จะทําอะไรเพื่อตัวเราเองคิดอะไรใหมๆ เปดใจใหกวาง ยอมรับสิ่งผิดพลาดของตัวเอง รับฟงความคิดเห็นจากคนอ่ืนและนาํขอเสียของเรามาปรับปรุง...

สรารัตน บตุรบํารุง

4) ความขยัน ความอดทน ความตั้งใจรูจักคําวาความอดทนและเขมแข็ง เมื่อฉันเจออุปสรรคหนักๆ ฉันก็จะสามารถผานพนไปได

จุฑามาส ดอนไพรเลา

...ฝกประสบการณใหกับพวกเรา ใหมีความอดทนตองานทุกงานที่ทําไดเปนอยางดีเละสามารถจบออกไปอยางประสทิธิภาพทั้งทฤษฎีและปฏิบัติอยางแทจริง

นิตยา แสงชืน่...ฝกงานคร้ังนี้มันจะยาวนาน มันทรหด มันนาเบื่อ แตมันใหอะไรฉันหลายๆอยาง มันทําใหฉันมีความอดทนมากกวาเดิม มีความสามัคคีในหมูคณะ มีความรับผิดชอบในหนาที่ของตนเอง จนนําไปสูลักษณะนิสัยที่ดีในการทํางานในอนาคต

มุกดา เนตรสน

...แตฟารมแหงนี้ไดฝากชวงเวลาดีๆ ความรูสึกดีๆ รอยยิ้ม คราบน้ําตา หยาดเหงื่อ มิตรภาพและความรัก สิ่งตางๆเหลานี้ที่เราไดแลกกับคําวา ศึกษาศาสตร จะเปนความทรงจําที่อยูไปกับเราตลอดกาล

ผานิตย ปรางคภูผา

...การที่เราอดทนตอความเหนื่อย ความเมื่อยของตนเองในการทํางานได งานก็จะสําเร็จเมวิกา แสนปฐม

...จากการที่ไดมาเรียนสาขาเกษตรและสิ่งแวดลอม ไดฝกปฎิบัติการทางดานการเกษตรในฟารม ทําใหผมไดทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห ไดประสบการณทางดานการเกษตร ฝกความอดทน ความขยันการตรงตอเวลา ไดแกปญหาตางๆที่เกิดข้ึน ไมวาจะเกิดอะไรข้ึนก็ทําใหเรามีความอดทนข้ึน...

อนุพล มงคลทวี

5) ความภาคภูมิใจ ความรับผิดชอบตอสังคม สิ่งแวดลอม...ความภาคภูมิใจของฉันที่สามารถทําฟารมไดหลากหลาย ซึ่งในวันนี้ฉันอาจจะจําไมไดวา วันที่ฉันเร่ิมตนในฟารมนี้เปนวันอะไร ตรงกับเดือนปที่เทาไร แตฉันไดแตจําความรูสึกแรกที่ฉันทําแปลงเกษตรตางๆ อยางตั้งใจ...

ปทมา เรียงแหลม

Page 79: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

79

...เราไดพบเจอกับสิ่งใหมๆ ที่ไมเคยคิดฝนขนาดนี้ และมันเปนสิ่งที่ทําใหตัวเรามีความสุขดวยธรรมชาติที่สวยงาม และยังใชไปชวยพัฒนาระบบเกษตรกรที่บานไดอีกดวย...

มัทนา คชรัตน...ทําใหเราสามารถผานพนสิ่งเหลานั้นไปไดและผลที่ออกมาทําใหเรายิ้มและมีความสุขไดเสมอ และทําใหเราเปนคนที่มีความสามารถ มีความรับผิดชอบตอหนาที่ไดดีข้ึน...

รัตนาภรณ สืบดวง6) ความสุข ความสนุก รอยย้ิม

...มีทั้งทักษะดานความรูใหเราศึกษาอยางไมจบสิน้ และความบนัเทิงสนุกสนานเฮฮากันในฟารมถาไดมีโอกาสเขาไปชมในฟารม...

กันยารัตน อวมภักดีฟารมนิสิตแหงนี้ไมไดใหแควิชาความรูหรือประสบการณเพียงเทานั่น ที่แหงนี้ยังใหความสุข ความทรงจําที่ดีมิตรภาพที่ดี ใหกําลังใจในยามทอแท ใหความหวังในยามที่มืดมน ใหสุขภาพที่ดีจากอากาศที่บริสุทธิ์และยังกลอมเกลาจิตใจใหมีความออนโยนข้ึนดวย...

ณัชชา โอบออมดิฉันดีใจที่ไดเปนสวนหนึ่งของฟารมศึกษาเกษตรแหงนี้เพราะทีแ่หงนี้มีเพื่อนๆ ที่คอยคุยคอยเลนกับเราก็สามารถทําใหดิฉันหายเหนื่อยได...

รุงนภา นิยม...เปนความผูกพันที่อยูเบื้องหลงัการทํางาน เบื้องหลังภาพ ทีส่ือ่ออกมาในรูปแบบ ที่มีรอยยิ้มและน้าํตาทั้งน้ําตาทีป่ลื้มปติ และน้ําตาแหงความเหน็ดเหนื่อย สรางความประทับใจภายใตจิตใจคน ความสําเร็จที่ผานกันมานั้น...

โชติกา ทิพยวงค

...ทั้งประสบการณชีวิต มิตรแท เวลา ความรู แตสุดทายก็คงเหลือไวเพียงแคประสบการณที่ไดเก็บเก่ียวความรู มิตรภาพ ที่จะไดออกไปใชชีวิตจริงๆ ภายนอก

เมธี หลงสมบุญ

ความรูที่ไดจากฟารม ฟารมทําใหเรามีทุกวันนี้ สอนทุกสิ่งทุกอยาง สอนใหเราเปนนิสิตที่มีคุณภาพ มีความรูพอที่จะนําไปประกอบเปนอาชีพของตัวเองไดในอนาคต...

...ทุกสิ่งทุกอยางความรูตางๆที่ทานอาจารยไดใหมานั้นเราจะตองตั้งใจ จดจําและสามารถนํามาประยุกตเพื่อกอใหเกิดประโยชนได การเรียนวิชาตางๆก็ผานไปไดดวยดี...

มีวรรณ ฉันทชาติ

Page 80: บทที่1 บทนํา...บทท 1 บทน า 1.1 ความส าค ญและท มาของป ญหา ภาคว ชาการพ ฒนาทร

80

ขอมูลผูประกอบการ

ชื่อหนวยงาน/บริษัท ท่ีอยู บ.เมโทร เอด.ดี.เอพ.จํากัด 99/9 ม.5 ต.หอยเหนียว อ.ทามะกา จ.กาญจนบุรี 71120

โทร 035-42393 ผอ.สุวิน สดีา

ผูอํานวยการโรงเรยีนบานบอยายสม(แกวประชาสรรค)หมูบานบอยายสิบ หมู3 ต.หนองมะโมง จ.ชัยนาท 17120

นาย จํารัส คชสิลา(นักวิเคราะหนโยบายและแผนปฏบิัติการ)

สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดสมุทรสาคร 1600/62ต.มหาชัย อ.เมือง จ.สมุทรสาคร 74000

บริษัทไบเออรไทยจํากัด 130/1 ถ.สาทรเหนือ สลีม บางรัก กทม. 10500 โทร 02-32726770

นางสาวจันทร บุญศรีบริษัทยูนิคอรด จํากัด(มหาชน) 39 ต.ทาทราย อ.เมือง จ.สมุทรสาคร 74000

รัชฎาภรณ ไยธารักษ(ผูนําทีม) ธนาคารกสิกรไทยจํากัด(มหาชน)

ธนาคารกสิกรไทย สํานักงานแจงวัฒนะ เมอืงทองธานี ช้ัน5สวนงานใหบริการงานเครดติ ฝายงานหนัง

นฤมล บุยแกว/หัวหนาฝายควบคมุคุณภาพนํ้าบริษัทเอ็กคอมธารา จํากัด

250 ม.1 ต.แพงพวย อ.ดําเนิน จ.ราชบุรี 70130 โทร 032-263217

นาย ไพรัช ศรีธร บริษัทมหาชัยคราฟทเฟเฟอรจํากัด 93/9 ม.4 ซ.บางปลา ต. บานเกาะ อ.เมืองสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร 74000

เจษฎาฟารม 117/1ม.1ต.เลาขวัญ อ.เลาขวัญ จ.กาญจนบุรี 71210

ไรคณุนายชูศรี 58 ม.14 หมูบานทุงเศรษฐี ต.บานคา อ.บานคา จ.ราชบุรี

ผูจัดการฝายขาย บริษัทเบทาโก ต.วังตะกู อ. เมือง จ.นครปฐม

พรรณภัสสร บญุปก (หัวหนาหมวดวิทยาศาสตร) โรงเรียนแยมสะอาดรังสิต จ.ปทุมธานี

คุณดําเนิน อนิเวจ (Director of sale) บานสุชาวดี พัทยา ชลบุรี

หัวหนากลุมบริหารวิชาการ โรงเรียนชุมชนบานตลาดทุงเหียง อ.พนัสนิคม จ.ชลบรุี

คุณจํารัส คชสลิา(นักวิเคราะหนโยบายและแผนปฏบิัติการ)

ธ.ก.ส. จ.สมุทสาคร

นายสุทธิชัย ฤทธิธรรม(ผูอํานวยการศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงสมุทรสาคร)

สํานักงานประมงจังหวัดสมุทรสาคร อําเภอเมืองสมุทรสาคร 74000

ผูอํานวยการฝายขายและตัวแทนขาย บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จํากัด(มหาชน)

คุณประคอง จิตลําไพ สวนประคอง อ.เมือง จ.ราชบุรี

ผูจัดการสวนออแกนนิคฟารม อ.สามพราน จ.นครปฐม

คุณมาโนช ชีพสุวรรณ(รองผูอํานวยการโรงเรียน)

โรงเรียนลาดยาววิทยาคม 289 หมูท่ี 5 ต.สระแกว อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค 60150