38
8-1 หน่วยที8 ค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิด รองศาสตราจารย์จิตรา เพียรล้ำเลิศ

หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

  • Upload
    others

  • View
    9

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-1

หน่วยที่8ค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิด

รองศาสตราจารย์จิตราเพียรล้ำเลิศ

Page 2: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-2

แผนผังแนวคิดหน่วยที่8

8.1 ความ ทั่วไป

เกี่ยว กับ

ค่า สินไหม ทดแทน

8.1.1 ความ หมาย ของ ค่า สินไหม ทดแทน

8.1.2 หลัก การ พื้น ฐาน ของ ค่า สินไหม ทดแทน

8.2.1 ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ต่อ ทรัพย์

8.2.2 ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ต่อ ชีวิต

ร่างกายหรือ อนามัย

8.2.3 ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย อัน มิใช่ ตัว เงิน

8.2.4 ค่า สินไหม ทดแทนเพื่อ การ ลงโทษ

8.3.1 แนวทาง ใน การ กำหนดค่า สินไหม ทดแทน

โดย ทั่วไป

8.3.2 แนวทาง ใน การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน

เพื่อ การ ลงโทษ

ค่า สินไหม ทดแทน

เพื่อ ละเมิด

8.3 แนวทาง ใน การ

กำหนดค่า สินไหม

ทดแทน

8.2 ประเภท ของ

ค่า สินไหม

ทดแทน

Page 3: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-3

หน่วยที่8

ค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิด

เค้าโครงเนื้อหาตอน ที่ 8.1 ความ ทั่วไป เกี่ยว กับ ค่า สินไหม ทดแทน

8.1.1 ความ หมาย ของ ค่า สินไหม ทดแทน

8.1.2 หลัก การ พื้น ฐาน ของ ค่า สินไหม ทดแทน

ตอน ที่ 8.2 ประเภท ของ ค่า สินไหม ทดแทน

8.2.1 ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ต่อ ทรัพย์

8.2.2 ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ต่อ ชีวิต ร่างกาย หรือ อนามัย

8.2.3 ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย อัน มิใช่ ตัว เงิน

8.2.4 ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ

ตอน ที่ 8.3 แนวทาง ใน การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน

8.3.1 แนวทาง ใน การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน โดย ทั่วไป

8.3.2 แนวทาง ใน การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ

แนวคิดใน กรณ ีละเมดิ โดย ทัว่ไป แลว้ คา่ สนิไหม ทดแทน หมาย ถงึ การ เยยีวยา ความ เสยี หาย ที ่เกดิ 1.

จาก ละเมิด ทั้งนี้ มี หลัก การ พื้น ฐาน ของ ค่า สินไหม ทดแทน จำแนก ออก เป็น 1) หลัก การ

ก ลับ คืน สู่ ฐานะ เดิม และ 2) หลัก การ ลงโทษ

ประเภท ของ ค่า สินไหม ทดแทน จำแนก ตาม ประเภท ของ ความ เสีย หาย ออก เป็น 2.

1) ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ต่อ ทรัพย์ 2) ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ต่อ

ชีวิต ร่างกาย หรือ อนามัย ใน ส่วน ที่ เป็น ความ เสีย หาย ที่ เป็น ตัว เงิน และ 3) ค่า สินไหม

ทดแทน ความ เสีย หาย อัน มิใช่ ตัว เงิน รวม ทั้ง 4) ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ

แนวทาง ใน การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน จำแนก ออก เป็น 1) แนวทาง ใน การ กำหนด 3.

ค่า สินไหม ทดแทน โดยทั่วไป และ 2) แนวทาง ใน การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ

ลงโทษ

Page 4: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-4

วัตถุประสงค์เมื่อ ศึกษา หน่วย ที่ 8 จบ แล้ว นักศึกษา สามารถ

อธิบาย เกี่ยว กับ ความ หมาย และ หลัก การ พื้น ฐาน ของ ค่า สินไหม ทดแทน ได้1.

อธิบาย เกี่ยว กับ ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ประเภท ต่างๆ ได้2.

อธิบาย เกี่ยว กับ แนวทาง ใน การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน ได้3.

กิจกรรม1. กิจกรรม การ เรียน

1) ศึกษา แผนผัง แนวคิด หน่วย ที่ 8

2) อ่าน แผนการ สอน ประจำ หน่วย ที่ 8

3) ทำ แบบ ประเมิน ผล ตนเอง ก่อน เรียน หน่วย ที่ 8

4) ศึกษา เนื้อหา สาระ

5) ปฏิบัติ กิจกรรม ใน แต่ละ เรื่อง

6) ตรวจ สอบ กิจกรรม จาก แนว ตอบ

7) ทำ แบบ ประเมิน ผล ตนเอง หลัง เรียน หน่วย ที่ 8

2. งาน ที่ กำหนด ให้ ทำ

1) ทำ แบบ ฝึกหัด ทุก ข้อ ที่ กำหนด ให้ ทำ

2) อ่าน เอกสาร เพิ่ม เติม จาก บรรณานุกรม

แหล่งวิทยาการ1. สื่อ การ ศึกษา

1) แนว การ ศึกษา หน่วย ที่ 8

2) หนังสือและเอกสาร ประกอบ การ สอน

2.1) รอง ศาสตราจารย์ ดร.ศ นันท์ กรณ์ (จำปี) โสตถิ พันธุ์ (2552) คำอธิบาย

กฎหมายลักษณะละเมิดจัดการงานนอกสั่งและลาภมิควรได้พิมพ์ ครั้ง ที่ 2

กรุงเทพมหานคร วิญญูชน

2.2) รอง ศาสตรา จาร ย ์สษุม ศภุ นติย ์(2550) คำอธบิายประมวลกฎหมายแพง่และ

พาณิชย์ว่าด้วยละเมิด พิมพ์ ครั้ง ที่ 6 กรุงเทพมหานคร สำนัก พิมพ์ นิติ

บรรณาการ

Page 5: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-5

2.3) ศาสตราจารย์ ไพจิตร ปุญญ พันธุ์ (2551) คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่ง

และพาณิชย์ลักษณะละเมิดพิมพ์ ครั้ง ที่ 6 กรุงเทพมหานคร สำนัก พิมพ์ นิติ

บรรณาการ

2.4) ปรญิญาวนั ชมเสวก (2550) “คา่เสยีหายเชงิลงโทษในคดลีะเมดิ” วทิยานพินธ ์

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2. หนังสือ ตาม ที่ อ้าง ใน บรรณานุกรม

การประเมินผลการเรียนประเมิน ผล จาก การ สัมมนา เสริม และ งาน ที่ กำหนด ให้ ทำ ใน แผน กิจกรรม1.

ประเมิน ผล จาก การ สอบไล่ ประจำ ภาค การ เรียน2.

Page 6: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-6

แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียน

วัตถุประสงค ์ เพื่อ ประเมิน ความ รู้ เดิม ใน การ เรียน รู้ ของ นักศึกษา เกี่ยว กับ เรื่อง “ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ

ละเมิด”

คำแนะนำ อ่าน คำถาม แล้ว เขียน คำ ตอบ ลง ใน ช่อง ว่าง นักศึกษา มี เวลา ทำ แบบ ประเมิน ชุด นี้ 30 นาที

1. จง อธิบาย หลัก การ พื้น ฐาน ของ การ ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน โดย ทั่วไป ตาม ปพพ. ของ ไทย

2. กรณี กระทำ ละเมิด เป็น เหตุ ให้ เสีย หาย แก่ ร่างกาย หรือ อนามัย ปพพ. ของ ไทย ให้ สิทธิ ผู้ เสีย หาย เรียก

ค่า สินไหม ทดแทน อะไร ได้ บ้าง

3. จง อธิบาย แนวทาง ใน การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ

Page 7: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-7

ตอนที่8.1

ความทั่วไปเกี่ยวกับค่าสินไหมทดแทน

โปรด อ่าน แผนการ สอน ประจำ ตอน ที่ 8.1 แล้ว จึง ศึกษา สาระ สังเขป พร้อม ปฏิบัติ กิจกรรม ใน แต่ละ เรื่อง

หัวเรื่องเรื่อง ที่ 8.1.1 ความ หมาย ของ ค่า สินไหม ทดแทน

เรื่อง ที่ 8.1.2 หลัก การ พื้น ฐาน ของ ค่า สินไหม ทดแทน

แนวคิดโดย ทั่วไป แล้ว1. ค่า สินไหม ทดแทน หมาย ถึง การ เยียวยา ความ เสีย หาย ที่ เกิด จาก การ

ละเมิด เช่น การ คืน ทรัพย์ การ ใช้ ราคา ทรัพย์ และ ค่า เสีย หาย เป็นต้น

หลัก การก ลับ คืน สู่ ฐานะ เดิม2. เป็น หลัก การ ทั่วไป อัน เป็น พื้น ฐาน ใน การ ชดใช้ ค่า สินไหม

ทดแทน เพื่อ เยียวยา ให้ ผู้ เสีย หาย กลับ คืน สู่ ฐานะ เดิม จึง มี วัตถุประสงค์ เพื่อ ชดเชย ความ

เสีย หาย ที่ เกิด ขึ้น จริง ส่วน หลัก การ ลงโทษ เป็น หลัก การ เฉพาะ เพื่อ กำหนด ค่า สินไหม

ทดแทน ใน เชิง ลงโทษ เพิ่ม เติม ขึ้น นอก เหนือ จาก ค่า เสีย หาย ที่แท้ จริง โดย มี วัตถุประสงค์

สำคัญ คือ การ ลงโทษ ผู้ กระทำ ละเมิด ที่ มี พฤติกรรม ชั่ว ร้าย ให้ เข็ด หลาบ และ ป้อง ปราม

มิ ให้ บุคคล ใน สังคม ถือ พฤติกรรม นั้น เป็น เยี่ยง อย่าง ใน อนาคต

วัตถุประสงค์เมื่อ ศึกษา ตอน ที่ 8.1 จบ แล้ว นักศึกษา สามารถ

อธิบาย ความ หมาย ของ ค่า สินไหม ทดแทน ได้1.

อธิบาย หลัก การ พื้น ฐาน ของ ค่า สินไหม ทดแทน ได้2.

Page 8: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-8

ความนำ

เมื่อ มี การ ละเมิด เกิด ขึ้น เป็น เหตุ ให้ เกิด ความ เสีย หาย แก่ สิทธิ อย่าง หนึ่ง อย่าง ใด ของ บุคคล อื่น แล้ว

ผู้ กระทำ ละเมิด หรือ ผู้ ต้อง รับ ผิด เพื่อ ละเมิด ย่อม มี หนี้ ที่ จะ ต้อง ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน โดย หนี้ อัน เกิด จาก

มูล ละเมิด นี้ ถือ เป็น หนี้ ตาม กฎหมาย ที่ เกิด เป็น หนี้ ขึ้น ทันที ที่ มี การ ละเมิด ผู้ กระทำ ละเมิด หรือ ผู้ ต้อง รับ ผิด

เพื่อ ละเมิด ตก เป็น ผู้ ผิดนัด ทันที นับ แต่ วัน ที่ มี การ ละเมิด ผู้ เสีย หาย จึง มี สิทธิ เรียก ให้ ผู้ กระทำ ละเมิด หรือ

ผู้ ต้อง รับ ผิด เพื่อ ละเมิด ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน ได้ ทันที นับ แต่ นั้น

เรื่องที่8.1.1ความหมายของค่าสินไหมทดแทน

สาระสังเขปคำ ว่า “ค่า สินไหม ทดแทน” นั้น อาจ มี ผู้ เข้าใจ สับสน ว่า มี ความ หมาย เช่น เดียว กับ คำ ว่า “ค่า เสีย หาย”

อัน ที่ จริง แล้ว “ค่า สินไหม ทดแทน” เป็น คำ ที่ แปล มา จาก ศัพท์ ภาษา อังกฤษ ว่า “Compensation” ซึ่ง แปล

ว่าการ ชดเชย ความ เสีย หาย จึง มิได้ หมาย ถึง แต่ เพียง การ ชดใช้ เป็น เงิน เพื่อ ความ เสีย หาย อัน ได้ ก่อ ขึ้น ซึ่ง เรียก

ว่า “ค่า เสีย หาย” (Damages) เท่านั้น แต่ หาก พิจารณา ถึง หลัก การ ทั่วไป อัน เป็น พื้น ฐาน สำคัญ ของ การ ชดใช้

ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิด กล่าว คือ ความ มุ่ง หมาย ที่ จะ เยียวยา ให้ ผู้ เสีย หาย กลับ คืน สู่ ฐานะ เดิม เสมือน

มิได้ มี การ ละเมิด เกิด ขึ้น (statusquo ante) แล้ว ค่า สินไหม ทดแทน จึง มี ความ หมาย ครอบคลุม ถึง วิธี กา ร

อื่นๆ อีก เช่น การก ระ ทำ ที่ จะ เยียวยา ให้ ผู้ เสีย หาย กลับ คืน สู่ ฐานะ เดิม เสมือน มิได้ มี การ ละเมิด เกิด ขึ้น ดัง นั้น

“ค่า สินไหม ทดแทน” จึง มี ความ หมายก ว้าง กว่า “ค่า เสีย หาย”

สำหรับ ปพพ. ของ ไทย มี บทบัญญัติ มาตรา 438 วรรค สอง บัญญัติ ถึง ค่า สินไหม ทดแทน ไว้ แต่ เพียง

กว้างๆ ว่า “อนึ่ง ค่า สินไหม ทดแทน นั้น ได้แก่ การ คืน ทรัพย์สิน อัน ผู้ เสีย หาย ต้อง เสีย ไป เพราะ ละเมิด หรือ

ใช้ ราคา ทรัพย์สิน นั้น รวม ทั้ง ค่า เสีย หาย อัน จะ พึง บังคับ ให้ ใช้ เพื่อ ความ เสีย หาย อย่าง ใดๆ อัน ได้ ก่อ ขึ้น ด้วย”

หาก พิจารณา ถ้อยคำ ใน มาตรา ดัง กล่าว แล้ว อาจ ทำให้ เข้าใจ ไป ได้ ว่า ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิด มี เพียง

3 ประการ คือ การ คืน ทรัพย์ การ ใช้ ราคา ทรัพย์ และ ค่า เสีย หาย ดัง ที่ บัญญัติ ไว้ ใน ปพพ. มาตรา 438

วรรค สอง เท่านั้น แท้จริง แล้ว คำ ว่า “ได้แก่” ใน บทบัญญัติ ดัง กล่าว นั้น ตัว บท ฉบับ ภาษา อังกฤษ ใช้ คำ ว่า

“may include” ซึ่ง แปล ว่า “อาจ หรือ ย่อม รวม ถึง” มาตรา 438 วรรค สอง นี้ จึง เป็น เพียง การ ยก ตัวอย่าง การ

ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน หรือ การ เยียวยา ความ เสีย หาย ที่ เกิด จาก การ ละเมิด เท่านั้น

Page 9: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-9

กลา่วโดยทัว่ไปแลว้“คา่สนิไหมทดแทน”จงึหมายถงึการเยยีวยาความเสยีหายที่เกดิจากการละเมดิ

เพื่อ ให้ ผู้ เสีย หาย กลับ คืน สู่ ฐานะ เดิม เสมือน ไม่มี การ ละเมิด หรือ กลับ คืน ใกล้ เคียง ฐานะ เดิม มาก ที่สุด เท่า ที่ จะ

เป็น ไป ได้ เช่น หาก เอา ทรัพย์ ของ ผู้ อื่น ไป โดย ละเมิด การ เยียวยา ให้ ผู้ เสีย หาย กลับ คืน สู่ ฐานะ เดิม ก็ คือ การ

คืน ทรัพย์ แต่ หาก ไม่ สามารถ คืน ทรัพย์ นั้น ได้ ก็ ต้อง เยียวยา ให้ ผู้ เสีย หาย กลับ คืน ใกล้ เคียง ฐานะ เดิม มาก ที่สุด

เมื่อ ไม่มี วิธี อื่น ใด ก็ ต้อง ใช้ ราคา เป็น เงิน หรือ หาก ทำให้ ทรัพย์ เสีย หาย ก็ อาจ เยียวยา ใน รูป แบบ ที่ เฉพาะ เจาะจง

โดย การ ซ่อมแซม ทรัพย์ นั้น แต่ หาก ผู้ เสีย หาย ต้อง ใช้ เงิน ใน การ ซ่อมแซม ทรัพย์ นั้น เอง ก็ อาจ เยียวยา โดย การ

ชดใช้ เงิน เป็น ค่า เสีย หาย เป็นต้น

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดในคำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะละเมิด

โดยศาสตราจารย์ไพจิตรปุญญพันธุ์หน้า146-150;คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

ว่าด้วยละเมิดจัดการงานนอกสั่งและลาภมิควรได้โดยรองศาสตราจารย์ดร.ศนันท์กรณ์(จำปี)โสตถิพันธุ์

หน้า273-275)

กิจกรรม8.1.1

ค่า สินไหม ทดแทน มี ความ หมาย อย่างไร

บันทึกคำตอบกิจกรรม8.1.1

(โปรดตรวจคำตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่8ตอนที่8.1กิจกรรม8.1.1)

Page 10: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-10

เรื่องที่8.1.2หลักการพื้นฐานของค่าสินไหมทดแทน

สาระสังเขปค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิด นั้น มี หลัก การ พื้น ฐาน ที่ สำคัญ 2 ประการ คือ

1. หลักการกลับคืนสู่ฐานะเดิม (restitution in intergrum) เป็น หลัก การ ทั่วไป ใน การ ชดใช้

ค่า สินไหม ทดแทน โดย มี หลัก การ เยียวยา ให้ ผู้ เสีย หาย กลับ คืน สู่ ฐานะ เดิม เสมือน ไม่มี การ ละเมิด เกิด ขึ้น การ

ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน ตาม หลัก การ นี้ จึง มี วัตถุประสงค์ เพื่อ ชดเชย ความ เสีย หาย ที่ เกิด ขึ้น จริง เป็น สำคัญ

มิได้ มุ่ง ที่ จะ ลงโทษ ผู้ กระทำ ละเมิด โดย ให้ ผู้ เสีย หาย ได้ รับ การ ชดเชย ความ เสีย หาย มาก เกิน กว่า ความ เสีย หาย

ที่แท้ จริง ที่ ผู้ เสีย หาย ได้ รับ แต่ อย่าง ใด

2. หลกัการลงโทษคอื หลกั การ เฉพาะ เพือ่ กำหนด คา่ สนิไหม ทดแทน ใน เชงิ ลงโทษ โดย มวีตัถปุระสงค ์

ที่ สำคัญ คือ ลงโทษ ผู้ กระทำ ละเมิด ที่ มี พฤติกรรม อัน ชั่ว ร้าย ให้ มี ความ เข็ด หลาบ (punishment) และ

ป้อง ปราม มิ ให้ บุคคล ใน สังคม ถือ เอา พฤติกรรม นั้น เป็น เยี่ยง อย่าง ใน อนาคต (deterrence) หลัก การ นี้

จึง มุ่ง กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน ใน ลักษณะ ของ “ค่า เสีย หาย เชิง ลงโทษ” (Punitive Damages) ซึ่ง เป็น

ค่า เสีย หาย ที่ กำหนด เพิ่ม เติม ขึ้น นอก เหนือ จาก ค่า เสีย หาย ที่แท้ จริง

หลกั การ พืน้ ฐาน ของ คา่ สนิไหม ทดแทน ใน ประเทศ ที ่ใช ้ระบบ กฎหมาย Civil Law ซึง่ ม ีรากฐาน สำคญั

มา จาก กฎหมาย โรมัน นั้น มี หลัก ใน การ ชดเชย ความ เสีย หาย ที่ เกิด จาก การก ระ ทำ ละเมิด ตาม ทฤษฎี ว่า ด้วย

หนี้ (Theory of Obligations) โดย ถือว่า การ ละเมิด เป็น หนี้ ใน ทาง แพ่ง ที่ ผู้ กระทำ ละเมิด ต้อง ชดใช้ ตาม ความ

เสีย หาย ที่แท้ จริง ที่ ผู้ เสีย หาย ได้ รับ เท่านั้น การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน ใน ระบบ กฎหมาย Civil Law

จึง มุ่ง ให้ ผู้ เสีย หาย กลับ คืน สู่ ฐานะ เดิม เสมือน ไม่มี การ ละเมิด เกิด ขึ้น

ส่วน หลัก การ พื้น ฐาน ของ ค่า สินไหม ทดแทน ใน ระบบ กฎหมาย Common Law มิได้ มี วัตถุประสงค์

เพื่อ มุ่ง ชดใช้ ความ เสีย หาย แท้จริง ที่ ผู้ เสีย หาย ได้ รับ เช่น ที่ ยึดถือ ใน ระบบ กฎหมาย Civil Law เท่านั้น ใน ระบบ

กฎหมาย Common Law นอกจาก จะ มี ค่า เสีย หาย เพื่อ ชดเชย ความ เสีย หาย (Compensatory Damages)

แล้ว ยัง มี ค่า เสีย หาย ที่ มิได้ มุ่ง ชดเชย ความ เสีย หาย (Non – Compensatory Damages) เช่น ค่า เสีย หาย

เชิง ลงโทษ โดย มี วัตถุประสงค์ เพื่อ ลงโทษ ผู้ กระทำ ละเมิด และ ป้อง ปราม มิ ให้ มี การก ระ ทำ เช่น เดียวกัน นั้น ใน

อนาคต อีก ด้วย1

สำหรับ การ ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิด ตาม ประมวล กฎหมาย แพ่ง และ พาณิชย์ ของ ไทย มี

หลัก การ พื้น ฐาน เช่น เดียว กับ ประเทศ ที่ ใช้ ระบบ กฎหมาย Civil Law คือ หลัก การ ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน

ตาม ความ เสีย หาย ที่แท้ จริง ที่ ผู้ เสีย หาย ได้ รับ เพื่อ มุ่ง ให้ ผู้ เสีย หาย กลับ คืน สู่ ฐานะ เดิม เสมือน ไม่มี การ ละเมิด

1 ปริญญา วัน ชม เสวก “ค่า เสีย หาย เชิง ลงโทษ ใน คดี ละเมิด” วิทยานิพนธ ์ คณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ พ.ศ.

2550 หน้า 12-15

Page 11: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-11

อยา่งไร กต็าม ใน ปจัจบุนั ประเทศไทย ได ้รบั อทิธพิล จาก แนวคดิ เรือ่ง คา่ สนิไหม ทดแทน เพือ่ การ ลงโทษ ของ ระบบ

กฎหมาย Common Law จึง ได้ นำ หลัก การ ดัง กล่าว มา บัญญัติ ไว้ ใน กฎหมาย พิเศษ บาง ฉบับ ซึ่ง จะ ได้ กล่าว ถึง

ใน เรื่อง ที่ 8.2.4 ต่อ ไป

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดในคำอธิบายกฎหมายลักษณะละเมิดจัดการงานนอกสั่งและลาภมิควรได้

โดยรองศาสตราจารย์ดร.ศนันท์กรณ์(จำปี)โสตถิพันธุ์หน้า275-276;และโปรดอ่านเพิ่มเติมใน“ค่าเสียหาย

เชิงลงโทษในคดีละเมิด”วิทยานิพนธ์คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์พ.ศ. 2550บทที่ 2 โดย

ปริญญาวันชมเสวก)

กิจกรรม8.1.2

หลัก การ พื้น ฐาน ของ ค่า สินไหม ทดแทน มี หลัก การ ใด บ้าง

บันทึกคำตอบกิจกรรม8.1.2

(โปรดตรวจคำตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่8ตอนที่8.1กิจกรรม8.1.2)

Page 12: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-12

ตอนที่8.2

ประเภทของค่าสินไหมทดแทน

โปรด อ่าน แผนการ สอน ประจำ ตอน ที่ 8.2 แล้ว จึง ศึกษา สาระ สังเขป พร้อม ปฏิบัติ กิจกรรม ใน แต่ละ เรื่อง

หัวเรื่องเรื่อง ที่ 8.2.1 ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ต่อ ทรัพย์

เรื่อง ที่ 8.2.2 ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ต่อ ชีวิต ร่างกายหรือ อนามัย

เรื่อง ที่ 8.2.3 ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย อัน มิใช่ ตัว เงิน

เรื่อง ที่ 8.2.4 ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ

แนวคิดค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ต่อ ทรัพย์ ได้แก่1. การ คืน ทรัพย์ หรือ การ ใช้ ราคา ทรัพย์

และ ดอกเบี้ย ใน ราคา ทรัพย์ ที่ เอา ไป โดย ละเมิด หรือ ราคา ทรัพย์ อัน ลด น้อย ลง เพราะ

บุบ สลาย หรือ การก ระ ทำ ด้วย วิธี อื่น เพื่อ ให้ ผู้ เสีย หาย กลับ คืน สู่ ฐานะ เดิม รวม ทั้ง

ค่า เสีย หา ยอื่นๆ

ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ต่อ ชีวิต ที่ อาจ เรียก ได้2. เช่น ค่า ปลงศพ และ ค่า ใช้ จ่าย อัน

จำเป็น อย่าง อื่น ค่า รักษา พยาบาล ค่า ขาด ประโยชน์ ทำ มา หา ได้ เพราะ เสีย ความ สามารถ

ประกอบ การ งาน ค่า ขาด ไร้ อุปการะ และ ค่า ขาด แรงงาน ส่วน ค่า สินไหม ทดแทน ความ

เสีย หาย ต่อ ร่างกาย หรือ อนามัย ที่ อาจ เรียก ได้ เช่น ค่า ใช้ จ่าย ที่ ผู้ เสีย หาย ต้อง เสีย ไป และ

ค่า เสีย ความ สามารถ ประกอบ การ งาน ซึ่ง เป็น ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ความ เสีย หาย ที่ เป็น

ตัว เงิน (pecuniary damages)

ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย อัน มิใช่ ตัว เงิน3. ตาม ที่ บัญญัติ ไว้ โดย เฉพาะ ใน ปพพ.

มาตรา 446 คือ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ความ เสีย หาย อัน มิใช่ ตัว เงิน (non – pecuniary

damages) อัน เกิด จาก กรณี ทำ ละเมิด ให้ เขา เสีย หาย แก่ ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ หรือ

กรณ ีหญงิ ตอ้ง เสยี หาย เพราะ ถกู ละเมดิ อนั เปน็ ความ ผดิ อาญา เกีย่ว กบั เพศ และ คา่ สนิไหม

ทดแทน ความ เสีย หาย แก่ ชื่อ เสียง ตาม ปพพ. มาตรา 447 ทั้งนี้ ยัง คง มี ปัญหา โต้ เถียง บาง

ประการ เกี่ยว กับ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ความ เสีย หาย อัน มิใช่ ตัว เงิน อื่นๆ

Page 13: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-13

ประเทศไทย ได้ นำ เอา หลัก ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ มา บัญญัติ ไว้ ใน กฎหมาย 4.

พิเศษ บาง ฉบับ เช่น พระ ราช บัญญัติ ความ ลับ ทางการ ค้า พ.ศ. 2545 และ พระ ราช บัญญัต ิ

ความ รับ ผิด ต่อ ความ เสีย หาย ที่ เกิด ขึ้น จาก สินค้า ที่ ไม่ ปลอดภัย พ.ศ. 2551 โดย ถือ เป็น ข้อ

ยกเว้น ของ หลัก ทั่วไป ใน การ ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน ตาม ปพพ.

วัตถุประสงค์เมื่อ ศึกษา ตอน ที่ 8.2 จบ แล้ว นักศึกษา สามารถ

ระบุ และ อธิบาย เกี่ยว กับ ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ต่อ ทรัพย์ ได้1.

ระบุ และ อธิบาย เกี่ยว กับ ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ต่อ ชีวิต ร่างกาย อนามัย ได้2.

ระบุ และ อธิบาย เกี่ยว กับ ค่า สินไหม ทดแทน อัน มิใช่ ตัว เงินได้3.

ระบุ และ อธิบาย เกี่ยว กับ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ ได้4.

Page 14: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-14

ความนำ

ตอน ที ่8.2 นี ้จะ ได ้ศกึษา ถงึ ประเภท ของ คา่ สนิไหม ทดแทน โดย จำแนก ตาม ประเภท ของ ความ เสยี หาย

ทั้ง ที่ เป็น 1) ความ เสีย หาย ต่อ ทรัพย์ 2) ความ เสีย หาย ต่อ ชีวิต ร่างกาย หรือ อนามัย ใน ส่วน ที่ เป็น ความเสียหาย

ที่เป็นตัวเงิน (pecuniary damage) เช่น ค่า ปลงศพ ค่า รักษา พยาบาล ซึ่ง ความ เสีย หาย ทั้ง ประเภท

1) และ 2) นี้ นัก กฎหมาย บาง ท่าน จัด ว่า เป็น “ความเสียหายต่อสิทธิในกองทรัพย์สิน”(préjudice matériel)2

และ 3) ความเสียหายอันมิใช่ตัวเงิน (non-pecuniary damage) หรือ ที่ นัก กฎหมาย บาง ท่าน จัด ว่า เป็น

“ความเสียหายต่อสิทธินอกกองทรัพย์สิน” (préjudice moral)3 เช่น คุณค่า แห่ง ชีวิต ความ เสีย หาย ต่อ

ชื่อ เสียง เสรีภาพ และ ความ เสีย หาย ใน ทาง จิต ใจ อื่นๆ ทั้งนี้ เพื่อ ศึกษา ว่า เมื่อ มี ความ เสีย หาย ต่างๆ ดัง กล่าว

แล้ว ผู้ เสีย หาย จะ มี สิทธิ ได้ รับ ค่า สินไหม ทดแทน ประการ ใด บ้าง ตาม หลัก การ พื้น ฐาน ทั่วไป คือ การ เยียวยา ให ้

ผู้ เสีย หาย กลับ คืน สู่ ฐานะ เดิม เสมือน ไม่มี การ ละเมิด เกิด ขึ้น

หลัง จาก นั้น จึง จะ ได้ ศึกษา ถึง ค่า สินไหม ทดแทน อีก ประเภท หนึ่ง ซึ่ง มี หลัก การ พื้น ฐาน เพื่อ การ ลงโทษ

โดย เฉพาะ ต่อ ไป

เรื่องที่8.2.1ค่าสินไหมทดแทนความเสียหายต่อทรัพย์

สาระสังเขป1. กรณีเอาทรัพย์ของผู้อื่นไปโดยละเมิด การ เยียวยา ให้ ผู้ เสีย หาย กลับ คืน สู่ ฐานะ เดิม อาจ ทำได้

โดย การ ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน ดังนี้

1.1การคืนทรัพย์อัน เป็น วิธี การ ทำให้ ผู้ เสีย หาย กลับ คืน ฐานะ เดิม ได้ ดี ที่สุด

แต่หากคืนทรัพย์ไม่ได้ เพราะทรัพย์นั้นถูกทำลายการคืนทรัพย์ตกเป็นพ้นวิสัยโดยเหตุอื่น

หรอืทรพัย์นัน้เสือ่มเสยีไปแม้โดยอบุตัเิหต ุซึง่ หมาย ถงึ เหตกุารณ ์ที ่เกดิ ขึน้ โดย มใิช ่ความ ผดิ ของ ผู ้ที ่เอา ทรพัย ์

ไป โดย ละเมดิ ผู้เอาทรพัย์ไปโดยละเมดิก็ยงัคงตอ้งรบัผดิชอบ โดย ใช ้ราคา ทรพัย ์เพราะ ถอืวา่ ผดินดั นบั แต ่วนั

เอา ทรัพย์ ไป โดย ละเมิด แล้ว จึง ต้อง รับ ผิด ใน ความ เสีย หาย ที่ เกิด ขึ้น ใน ระหว่าง ผิดนัด แม้ มิใช่ ความ ผิด ของ ตน

2 ศาสตราจารย ์ดร.จิด๊ เศรษฐ บตุร หลกักฎหมายลกัษณะละเมดิ โครงการ ตำรา และ เอกสาร ประกอบ การ สอน คณะ นติศิาสตร ์

มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ พิมพ์ ครั้ง ที่ 6 2550 หน้า 81-86 3 เรื่องเดียวกัน

Page 15: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-15

เว้น แต่ จะ พิสูจน์ ได้ ว่า แม้ มิได้ เอา ทรัพย์ ไป โดย ละเมิด ทรัพย์ นั้น ก็ คง ต้อง ตก เป็น เช่น นั้น ทั้งนี้ หลัก เกณฑ์

ดัง กล่าว บัญญัติ ไว้ ใน ปพพ. มาตรา 439 ของ ไทย ซึ่ง มี ที่มา จาก ประมวล กฎหมาย แพ่ง เยอรมัน มาตรา 848

1.2การใช้ราคาทรัพย์ เมื่อ ปรากฏ ว่า คืนตัว ทรัพย์ ไม่ ได้ ก็ ต้อง ทำให้ ผู้ เสีย หาย กลับ คืน

ใกล้ เคียง ฐานะ เดิม มาก ที่สุด โดย ใช้ ราคา ทรัพย์ นั้น

ปัญหา คือ จะ ต้อง ใช้ ราคา ทรัพย์ ณ เวลา ใด นัก กฎหมาย บาง ท่าน เห็น ว่า ควร ใช้ ราคา แท้จริง4

แต่ มิได้ ระบุ ว่า คือ ราคา ณ เวลา ใด ส่วน นัก กฎหมาย ส่วน ใหญ่ เห็น ว่า ควร ใช้ ราคา ณ วัน ที่ เอา ทรัพย์ ไป โดย

ละเมิด เพราะ มี หนี้ ต้อง คืน ทรัพย์ นับ แต่ วัน ทำ ละ เมิ ดแ ล้ว

1.3 การใช้ดอกเบี้ยในราคาทรัพย์กรณี ที่ ต้อง ใช้ ราคา ทรัพย์ ที่ เอา ไป โดย ละเมิด หรือ กรณี

ที่ ต้อง ใช้ ราคา ทรัพย์ อัน ลด น้อย ลง เพราะ บุบ สลาย โดย ปพพ. มาตรา 440 ซึ่ง มี ที่มา จาก ประมวล กฎหมาย

แพ่ง เยอรมัน มาตรา 849 ให้ สิทธิ ผู้ เสีย หาย เรียก ดอกเบี้ย ใน ราคา ทรัพย์ ได้ ตั้งแต่ “เวลา อัน เป็น ฐาน ที่ ตั้ง แห่ง

การ ประมาณ ราคา” ซึ่ง นัก กฎหมาย เยอรมัน เห็น ว่า หมาย ถึง เวลา ที่ ทรัพย์ สูญหาย ทำลาย หรือ เสื่อม เสีย ไป5

ส่วน นัก กฎหมาย ไทย ยัง คง เห็น แตก ต่าง กัน อยู่

ความ เห็น ที่ 1 เห็น ว่า คือ วัน ทำ ละเมิด เพราะ เป็น วัน ผิดนัด

ความ เห็น ที่ 2 เห็น ว่า คือ วัน ที่ ทรัพย์ มี ราคา สูงสุด ก่อน ที่ ทรัพย์ สูญหาย หรือ ทำลาย ลง

ความ เห็น ที่ 3 เห็น ว่า คือ เวลา ใด ก็ได้ ที่ ผู้ เสีย หาย เลือก เป็น ประโยชน์ แก่ ตน ที่สุด6

ความ เห็น ที่ 4 เห็น ว่า คือ วัน ฟ้อง โดย ถือว่า ผู้ เสีย หาย ได้ ใช้ สิทธิ เรียก ร้อง ให้ ผู้ กระทำ

ละเมิด ชดใช้ นับ แต่ วัน นั้น7

ความ เห็น ที่ 5 เห็น ว่า คือ วัน ที่ ทรัพย์ สูญหาย ทำลาย หรือ เสื่อม สลาย ไป8

ข้อ สังเกต คือ หาก มี ความ เสีย หา ยอื่นๆ เช่น ค่า ขาด ประโยชน์ ใน การ ใช้ ทรัพย์ ผู้ เสีย หาย

สามารถ เรียก ค่า เสีย หาย ได้ ตาม บทบัญญัติ ทั่วไป ตาม ปพพ. มาตรา 438 โดย อาจ เรียก ดอกเบี้ย ได้ ตาม หลัก

ทั่วไป คือ นับ แต่ วัน ทำ ละเมิด ซึ่ง เป็น วัน ผิดนัด มิใช่ เรียก ตาม มาตรา 440 นี้

2. กรณีทำให้ทรพัย์ของผู้อืน่เสยีหาย คา่ สนิไหม ทดแทน เพือ่ ให ้ผู ้เสยี หาย กลบั คนื สู ่ฐานะ เดมิ ไดแ้ก ่

การ ซ่อม หรือ การ ชำระ เงิน เป็น ค่า ซ่อม ทรัพย์ ดัง กล่าว รวม ทั้ง ค่า เสีย หา ยอื่นๆ หาก มี

อนึ่ง กรณีชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้ครองทรัพย์ไปโดยสุจริต เพื่อ ชดเชย ความ เสีย หาย

อย่าง ใดๆ อัน เกิด จาก การ เอา ทรัพย์ ไป โดย ละเมิด หรือ การ ทำให้ ทรัพย์ ของ ผู้ อื่น เสีย หาย นั้น ปรากฏ ใน

4 เสนีย์ ปราโมช ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมและหนี้ เล่ม 2 แก้ไข เพิ่ม เติม กรุงเทพมหานคร

นิติ บรรณาการ 2505 หน้า 510 5 โปรด ดู ไพจิตร ปุญญ พันธุ์ คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะละเมิด พิมพ์ ครั้ง ที่ 12 กรุงเทพมหานคร

นิติ บรรณาการ 2550 หน้า 178 6 เสนีย์ ปราโมช ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยนิติกรรมและหนี้เล่ม2 หน้า 745 - 751 7 จรัญ ภักดี ธนา กุล “ดอกเบี้ย ใน มูล ละเมิด” วารสารนิติศาสตร์ เล่ม 1 ปี 1 หน้า 55 - 63 8 ศักดิ์ สนอง ชาติ คำอธิบายโดยย่อประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยละเมิดและความรับผิดของเจ้าหน้าที่

กรุงเทพมหานคร นิติ บรรณาการ พิมพ์ ครั้ง ที่ 7 พ.ศ. 2549 หน้า 185

Page 16: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-16

ปพพ. มาตรา 441 อัน มี ที่มา จาก ประมวล กฎหมาย เยอรมัน มาตรา 851 ซึ่ง รองรับ หลัก สุจริต ใน การ ชำระ หนี้

ไว้ โดย มี สาระ สำคัญ ว่า หาก ผู้ ทำ ละเมิด ได้ ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน ให้ แก่ ผู้ ครอง ทรัพย์ ใน ขณะ ทำ ละเมิด

ไป โดย สุจริต กล่าว คือ มิได้ รู้ ว่า บุคคล ภายนอก เป็น เจ้าของ หรือ มี สิทธิ อย่าง อื่น เหนือ ทรัพย์ นั้น ผู้ ทำ ละเมิด

ย่อม หลุด พ้น จาก หนี้ ที่ จะ ต้อง ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน แก่ เจ้าของ ที่แท้ จริง หรือ ผู้ มี สิ ทธิ อื่นๆ เหนือ ทรัพย์

นั้น เว้น แต่ ผู้ ทำ ละเมิด รู้ อยู่ แล้ว ถึง สิทธิ ของ บุคคล ภายนอก เช่น ว่า นั้น หรือ ไม่รู้ เพราะ ความ ประมาท เลินเล่อ

อย่าง ร้าย แรง ของ ตน เช่น นี้ หนี้ ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน ก็ ยัง ไม่ ระงับ ผู้ ทำ ละเมิด จึง ยัง คง มี หนี้ ต้อง ชดใช้

ค่า สินไหม ทดแทน ให้ แก่ เจ้าของ ที่แท้ จริง หรือ ผู้ มี สิทธิ อื่น เหนือ ทรัพย์ นั้น

ข้อ สังเกต คือ มาตรา 441 นี้ ใช้ เฉพาะ กรณี ตัว ทรัพย์ ที่ ถูก เอา ไป หรือ ทำให้ เสีย หาย นั้น เป็น

“สังหาริมทรัพย์” เท่านั้น เนื่องจาก มี ข้อ สันนิษฐาน เบื้อง ต้น ว่า ทรัพย์ อยู่ ใน ครอบ ครอง ของ ผู้ ใด ให้ สันนิษฐาน

ไว้ ก่อน ว่า ผู้ นั้น เป็น เจ้าของ กฎหมาย จึง ยอม ให้ ผู้ ทำ ละเมิด หลุด พ้น จาก หนี้ เมื่อ ได้ ชดใช้ค่า สินไหม ทดแทน แก ่

ผู้ ครอง ทรัพย์ ไป โดย สุจริต

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดในคำอธิบายกฎหมายลักษณะละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และ

ลาภมิควรได้ โดยรองศาสตราจารย์ดร.ศนันท์กรณ์ (จำปี) โสตถิพันธุ์หน้า 279286 ;คำอธิบายประมวล

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยละเมิดโดยรองศาสตราจารย์สุษมศุภนิตย์หน้า217-227)

กิจกรรม8.2.1

กรณี ต้อง ชดใช้ ราคา ทรัพย์ ซึ่ง เอา ของ ผู้ อื่น ไป โดย ละเมิด หรือ ต้อง ชดใช้ ราคา ทรัพย์ อัน ลด น้อย

ลง เพราะ บุบ สลาย ผู้ เสีย หาย มี สิทธิ เรียก ดอกเบี้ย ใน ราคา ทรัพย์ นับ แต่ เมื่อ ใด

บันทึกคำตอบกิจกรรม8.2.1

(โปรดตรวจคำตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่8ตอนที่8.2กิจกรรม8.2.1)

Page 17: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-17

เรื่องที่8.2.2ค่าสินไหมทดแทนความเสียหายต่อชีวิตร่างกาย

หรืออนามัย

สาระสังเขป

ค่าสินไหมทดแทนความเสียหายต่อชีวิตเมื่อ มี การ ทำ ละเมิด เป็น เหตุ ให้ เสีย หาย แก่ ชีวิต ผู้ ได้ รับ ความ เสีย หาย โดยตรง ก็ คือ ผู้ ถูก ทำ ละเมิด

จนถึง แก่ ความ ตาย จึง มี ปัญหา ที่ น่า สนใจ ว่า จะ สามารถ เรียก ค่า สินไหม ทดแทน “ค่า แห่ง ชีวิต” ที่ ต้อง สูญ เสีย

ไป ของ ผู้ ตาย ได้ หรือ ไม่ และ บุคคล ที่ เกี่ยวข้อง สัมพันธ์ กับ ผู้ ตาย จะ เรียก ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย

ทาง จิตใจ ที่ ต้อง สูญ เสีย บุคคล อัน เป็น ที่รัก ได้ หรือ ไม่ ซึ่ง เป็น ปัญหา เกี่ยว กับ ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย

อัน มิใช่ ตัว เงิน จึง จะ แยก ศึกษา ใน เรื่อง ที่ 8.2.3 ต่อ ไป

กรณี ละเมิด เป็น เหตุ ให้ เสีย หาย ต่อ ชีวิต นั้น อาจ เรียก ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย อัน เป็น ตัว เงิน

ซึ่ง อาจ แยก พิจารณา ดังนี้

1.หากผู้ถูกละเมิดตายทันทีค่า สินไหม ทดแทน ตาม ปพพ. มาตรา 443 วรรค หนึ่ง ได้แก่

1.1 ค่า ปลงศพ ซึ่ง ก็ คือ ค่า ใช้ จ่าย ใน การ จัด งาน ศพ ตาม ประเพณี และ

1.2 ค่า ใช้ จ่าย อัน จำเป็น อย่าง อื่น ซึ่ง เกี่ยวข้อง กับ การ ตาย ของ ผู้ ตาย โดย เรียก ได้ ตาม สมควร

ตาม จำเป็น และ ตาม ฐานะ ของ ผู้ ตาย

ผู้ มี สิทธิ เรียก ค่า สินไหม ทดแทน ข้าง ต้น ก็ คือ ผู้ มี อำนาจ หน้าที่ จัดการ ศพ ได้แก่ ทายาท

2.หากผู้ถูกละเมิดมิได้ตายทันทีปพพ. มาตรา 443 วรรค สอง ให้ เรียก ค่า สินไหม ทดแทน รวม ถึง

2.1 ค่า รักษา พยาบาล และ

2.2 ค่า ขาด ประโยชน์ ทำ มา หา ได้ เพราะ ไม่ สามารถ ประกอบ การ งาน ได้ ถ้า ผู้ เสีย หาย มิได้

ประกอบ การ งาน ใด ก็ เรียก ค่า เสีย หาย นี้ ไม่ ได้9 ทั้งนี้ ค่า ขาด ประโยชน์ ทำ มา หา ได้ ตาม ปพพ. มาตรา 443

วรรค สอง เรียก ได้ กระทั่ง ผู้ ถูก ละเมิด ตาย เท่านั้น (คำ พิพากษา ศาล ฎีกา ที่ 4352/2550) หลัง จาก ตาย แล้ว อาจ

เรียก ค่า เสีย หาย ได้ ตาม มาตรา อื่น เช่น ค่า ขาด ประโยชน์ จาก แรงงาน ของ ผู้ ตาย ตาม ปพพ. มาตรา 445

สิทธิ เรียก ค่า รักษา พยาบาล และ ค่า ขาด ประโยชน์ ทำ มา หา ได้ เพราะ ไม่ สามารถ ประกอบ การ งาน กรณี

ผู้ ถูก ละเมิด มิได้ ตาย ทันที นี้ เป็น สิทธิ ของ ผู้ ถูก ละเมิด ที่ เป็น ผู้ เสีย หาย โดยตรง ซึ่ง มี สิทธิ เรียก ร้อง ก่อน ตาย และ

เมื่อ ตาย สิทธิ ดัง กล่าว ย่อม ตกทอด เป็น มรดก แก่ ทายาท

9 รอง ศาสตราจารย์ สุษม ศุภ นิตย์ คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยละเมิด กรุงเทพมหานคร

นิติ บรรณาการ พิมพ์ ครั้ง ที่ 6 2550 หน้า 243

Page 18: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-18

3.หากมีผู้มีสิทธิได้รับการอุปการะจากผู้ตาย ย่อม มี สิทธิ เรียก ค่า สินไหม ทดแทน คือ

ค่า ขาด ไร้ อุปการะ ตาม ปพพ. มาตรา 443 วรรค สาม จำกัด เฉพาะ ผู้ มี สิทธิ ได้ รับ การ อุปการะ

เลี้ยง ดู ตาม กฎหมาย จาก ผู้ ตาย จึง มี สิทธิ เรียก ค่า ขาด ไร้ อุปการะ ตาม มาตรา นี้ ได้ ทั้ง ใน ปัจจุบัน และ ใน อนาคต

โดย ไม่ จำ ต้อง คำนึง ว่า มี การ อุปการะ กัน จริง หรือ ไม่ และ ไม่ ต้อง คำนึง ถึง ฐานะ ของ ผู้ มี สิทธิ ได้ รับ อุปการะ

(คำ พิพากษาศาล ฎีกา ที่ 215/2513, 412 – 413/2515, 1153 – 1155/2520, 7119/2541, 7458/2543)

ปัญหา ว่า ผู้ มี สิทธิ ได้ รับ อุปการะ จาก ผู้ ตาย ตาม สัญญา จะ มี สิทธิ ได้ รับ ค่า ขาด ไร้ อุปการะ ตาม

สัญญา หรือ ไม่

มี ความ เห็น นัก กฎหมาย ไทย ว่า กรณี นี้ เป็นการ ละเมิด ต่อ สิทธิ ของ ผู้ มี สิทธิ ได้ รับ อุปการะ

ตาม สัญญา ด้วย ตาม ปพพ. มาตรา 420 บทบัญญัติ ความ ผิด เพื่อ ละเมิด ทั่วไป จึง เรียก ค่า สินไหม ทดแทน

ความ เสีย หาย ต่อ สิทธิ ดัง กล่าว ได้ ตาม ปพพ. มาตรา 438 ซึ่ง เป็น บทบัญญัติ ทั่วไป ใน การ กำหนด ค่า สินไหม

ทดแทน แต่ มิใช่ กรณี ที่ จะ บังคับ ตาม ปพพ. มาตรา 443 วรรค สาม อัน เป็น บทบัญญัติ เฉพาะ ซึ่งกำหนด

ค่า สินไหม ทดแทนในกรณีเฉพาะ10

แต่ หาก เปรียบ เทียบ กับ ประมวล กฎหมาย แพ่ง เยอรมัน มาตรา 844 และ ประมวล กฎหมาย

แพ่ง ลักษณะ หนี้ ของ ส วิส มาตรา 45 ซึ่ง เป็น ที่มา ของ ปพพ. ของ ไทย มาตรา 443 นี้ นัก กฎหมาย ต่าง ประเทศ

เห็น ว่า ความ สัมพันธ์ ทาง สัญญา ซึ่ง บังคับ ได้ โดย ชอบ ด้วย กฎหมาย ก็ ก่อ ให้ เกิด สิทธิ ที่ จะ เรียก ร้อง ค่า อุปการะ

เลี้ยง ดู ได้11 อาจ เป็น เพราะ กฎหมาย ดัง กล่าว บัญญัติ โดย ใช้ ถ้อย คำ กว้างๆ เช่น กฎหมาย ลักษณะ หนี้ ของ ส วิส

มาตรา 45 ใช้ ถ้อยคำ ว่า “If other persons have lost their source of support as the result of the homicile,

damages must also be paid for this loss.” มิได้ บัญญัติ ชัดเจน โดย ใช้ ถ้อยคำ ว่า “.....ต้อง ขาด ไร้ อุปการะ

ตาม กฎหมาย” เช่น ปพพ. มาตรา 443 วรรค สาม ของ ไทย

4.หากมีผู้ขาดแรงงานอันเป็นคุณของผู้ตายผู้ นั้น มี สิทธิ เรียก ค่า สินไหม ทดแทน คือ

ค่า ขาด แรงงาน ตาม ปพพ. มาตรา 445 อัน มี ที่มา จาก กฎหมาย แพ่ง เยอรมัน มาตรา 845 โดย

มี สาระ สำคัญ ว่า กรณี ละเมิด ทำให้ เสีย หาย แก่ ชีวิต หรือ ร่างกาย หรือ อนามัย หรือ เสรีภาพ ทำให้ ผู้ เสีย หาย

ไม่ สามารถ ประกอบ การ งาน เป็น คุณ แก่ บุคคล ภายนอก ซึ่ง ผู้ เสีย หาย มี ความ ผูกพัน ตาม กฎหมาย ที่ จะ ต้อง ทำ

การ งาน เป็น คุณ แก่ เขา ใน ครัว เรือน หรือ อุตสาหกรรม บุคคล ภายนอก ผู้ ขาด แรงงาน นั้น ย่อม เสีย หาย จาก การ

ละเมิด นั้น ด้วย จึง มี สิทธิ เรียก ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ขาด แรงงาน ได้

ทั้งนี้ “ความผูกพันตามกฎหมายจะต้องทำการงานให้เป็นคุณแก่บุคคลในครัวเรือนหรือ

อตุสาหกรรมของบคุคลภายนอก” นา่ จะ หมาย ถงึ ความ ผกูพนั ตาม ที ่กฎหมาย บญัญตั ิเชน่ สาม ีภรรยา มหีนา้ ที ่

ช่วย เหลือ อุปการะ ซึ่ง กัน และ กัน (ปพพ. มาตรา 1461) หรือ อาจ เป็น ความ ผูกพัน ตาม สัญญา ที่ กฎหมาย บังคับ

ให้ เช่น ความ ผูกพัน ตาม สัญญา จ้าง แรงงาน (คำ พิพากษาศาล ฎีกา ที่ 1047/2522, 3983/2528)

10 จิต ติ ติง ศภัทิย์ คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 2 ว่าด้วยมูลหนี้ โครงการ ตำรา คณะ นิติศาสตร์

มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ 2523 หน้า 311; ไพจิตร ปุญญ พันธุ์ คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะละเมิด

กรุงเทพมหานคร นิติ บรรณาการ พิมพ์ ครั้ง ที่ 12 2550 หน้า 204 11 F. Dessemontel and T. Ansey, Introduction toSwissLaw,Kluwer, 1981, p. 137. อ้าง โดย สุษม ศุภ นิตย ์

คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยละเมิด หน้า 248

Page 19: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-19

ค่าสินไหมทดแทนความเสียหายต่อร่างกายหรืออนามัยกรณี ละเมิด เป็น เหตุ ให้ ผู้ เสีย หาย ได้ รับ ความ เสีย หาย แก่ ร่างกาย หรือ อนามัยซึ่งหมาย ถึงความ เป็น

อยู่ โดย ปกติ สุข ปราศจาก โรค ภัย อันตราย ทั้ง ปวง นั้น ปพพ. มาตรา 444 อัน มี ที่มา จาก ประมวล กฎหมายแพ่ง

ลักษณะ หนี้ ของ ส วิส มาตรา 46 ได้ ให้ สิทธิ ผู้ เสีย หาย เรียก ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ดัง ต่อ ไป นี้

1. ค่าใช้จ่ายซึ่งผู้เสียหายต้องเสียไปหมาย ถึง ค่า ใช้ จ่าย ต่างๆ เพื่อ การ เยียวยา ให้ กลับ คืน สู่ ฐานะ

เดิม เช่น ค่า รักษา พยาบาล ค่า พาหนะ ไป กลับ โรง พยาบาล ค่า จ้าง คน มา เลี้ยง บุตร เป็นต้น

2. ค่าเสียหายเพื่อการเสียความสามารถประกอบการงาน ไม่ใช่ ขาด ประโยชน์ ทำ มา หา ได้ (loss of

earning) คำ ว่า “งาน” ใน ที่ นี้ จึง อาจ รวม ถึง งาน ที่ มิใช่ การ จ้าง งาน โดย มี ค่า จ้าง ตอบแทน เช่น แม่ บ้าน ถูก ทำ

ละเมิด เป็น เหตุ ให้ ไม่ สามารถ ปฏิบัติ หน้าที่ แม่ บ้าน ได้ เช่น เดิม12 และ ไม่ จำ ต้อง หมายความ ถึง งาน วิชาชีพ ที่

ต้อง ทำ ประจำ อาจ เป็น งาน พิเศษ ชั่วคราว ทั้งนี้ การ เสีย ความ สามารถ ประกอบ การ งาน นั้น ไม่ ว่า ทั้งหมด หรือ

บาง ส่วน โดย เรียก ได้ ทั้ง ใน ปัจจุบัน และ ใน อนาคต ที่ แน่นอน ซึ่ง หมาย ถึง ความ สามารถ ซึ่ง โดย ปกติ คน ทั่วไป

จัก ต้อง มี อยู่ และ ใช้ เพื่อ ประกอบ การ งาน ใน ภาย หน้า แม้ว่า ใน ปัจจุบัน จะ ยัง ไม่ ประกอบ การ งาน ก็ตาม

(คำ พิพากษา ศาล ฎีกา ที่ 6303/2547) และ ความ เสีย หาย ใน อนาคต นั้น หาก ใน เวลา พิพากษา ยัง ไม่ แน่นอน ว่า

มี เพียง ใด ศาล อาจ กำหนด ให้ ใหม่ ภาย หลัง โดย กล่าว ใน คำ พิพากษา ว่า สงวน สิทธิ ที่ จะ แก้ไข คำ พิพากษา นั้น

อีก แต่ ต้อง ภายใน เวลา ไม่ เกิน 2 ปี

ปัญหา ที่ ควร พิจารณา ก็ คือ หาก ผู้ ถูก ทำ ละเมิด ไม่ ถึง ตาย เพียง เสีย ความ สามารถ ประกอบ การ งาน

เป็น เหตุ ให้ ไม่ สามารถ ให้การ อุปการะ เลี้ยง ดู ผู้ ซึ่ง ตน ต้อง อุปการะ เลี้ยง ดู แล้ว ผู้ มี สิทธิ ได้ รับ การ อุปการะ เลี้ยง

ดู จะ มี สิทธิ เรียก ค่า สินไหม ทดแทน ได้ หรือ ไม่

อนึ่ง การ ละเมิด เป็น เหตุ ให้ เสีย หาย ต่อ ร่างกาย หรือ อนามัย นอกจาก ผู้ เสีย หาย จะ เรียก ค่า สินไหม

ทดแทน ความ เสีย หาย ที่ เป็น ตัว เงิน ดัง กล่าว ข้าง ต้น แล้ว หาก มี ความ เสีย หาย ที่ ไม่ เป็น ตัว เงิน เนื่อง มา จาก ความ

เสีย หาย ต่อ ร่างกาย หรือ อนามัย ผู้ เสีย หาย จะ เรียก ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ที่ ไม่ เป็น ตัว เงิน ได้ หรือ ไม่

นั้น จะ ได้ กล่าว ใน เรื่อง ที่ 8.2.3 ต่อ ไป

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดในคำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะละเมิด โดย

ศาสตราจารย์ไพจิตรปุญญพันธุ์หน้า194-214;คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยละเมิด

โดยรองศาสตราจารย์สุษมศุภนิตย์หน้า239 -255 ;คำอธิบายกฎหมายลักษณะละเมิดจัดการงานนอกสั่ง

และลาภมิควรได้โดยรองศาสตราจารย์ดร.ศนันท์กรณ์(จำปี)โสตถิพันธุ์หน้า287-292)

กิจกรรม8.2.2

กรณี ทำ ละเมิด เป็น เหตุ ให้ ผู้ อื่น ถึงแก่ ความ ตาย ทันที นั้น ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ที่ เป็น

ตัว เงิน ได้แก่ อะไร บ้าง

12 ไพจิตร ปุญญ พันธุ์ คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะละเมิด หน้า 207-208

Page 20: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-20

บันทึกคำตอบกิจกรรม8.2.2

(โปรดตรวจคำตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่8ตอนที่8.2กิจกรรม8.2.2)

Page 21: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-21

เรื่องที่8.2.3ค่าสินไหมทดแทนความเสียหายอันมิใช่ตัวเงิน

สาระสังเขปค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย อัน มิใช่ ตัว เงิน หมาย ถึง ค่า สินไหม ทดแทน กรณี ละเมิด เป็น เหตุ

ให้ เกิด ความ เสีย หาย ซึ่ง ไม่ อาจ คำนวณ เป็น จำนวน เงินได้ (non – pecuniary damage) กล่าว คือ เป็น

ความ เสีย หาย ที่ เป็น นามธรรม และ มิได้ มี มูลค่า ทาง เศรษฐกิจ โดยตรง ตำรา ฝรั่งเศส เรียก ว่า “prèjudice

moral” ซึ่ง ศาสตราจารย์ ดร.จิ๊ด เศรษฐ บุตร เรียก ว่า “ความ เสีย หาย ต่อ สิทธิ นอก กองทรัพย์สิน” เช่น

ความ ทุกข์ ทรมาน เจ็บ ปวด ความ เศร้า โศก เสียใจ ความ เสีย หาย ต่อ เสรีภาพ ชื่อ เสียง เป็นต้น ความ เสีย หาย

ดัง กล่าว นี้ เมื่อ ไม่ สามารถ ชดใช้ ด้วย วิธี อื่น เพื่อ เยียวยา ให้ ผู้ เสีย หาย กลับ คืน สู่ ฐานะ เดิม ก็ ต้อง ชดใช้ เป็น เงิน

หรือ ค่า เสีย หาย

อนึ่ง ใน เรื่อง ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย อัน มิใช่ ตัว เงิน นี้ นัก กฎหมาย ใน ระบบ กฎหมาย Civil

Law บาง ประเทศ มี ความ เห็น แตก ต่าง กัน แยก เป็น 2 ฝ่าย คือ

ฝ่าย แรก ไม่ เห็น ด้วย ที่ กฎหมาย ให้ สิทธิ เรียก ค่า สินไหม ทดแทน อัน มิใช่ ตัว เงิน ด้วย เหตุผล ต่างๆ เช่น

พิสูจน์ ความ มี อยู่ ของ ความ เสีย หาย อัน มิใช่ ตัว เงิน ไม่ ได้ โดย เห็น ว่า เป็น เรื่อง ทาง จิตใจ ซึ่งขึ้น อยู่ กับ แต่ละ คน

อีก ทั้ง เป็นการ ผิด ศีล ธรรม ที่ จะ นำ สิ่ง ที่ มี คุณค่า สูง มา ประเมิน ค่า เป็น เงิน

ฝ่าย ที่ สอง เห็น ว่า แม้ ความ เสีย หาย ไม่ เป็น ตัว เงิน จะ พิสูจน์ ได้ ยาก แต่ ใช่ ว่า จะ พิสูจน์ ไม่ ได้ และ การ

เรียก ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ที่ ตน ได้ รับ มิได้ ผิด ศีล ธรรม แต่ กลับ เป็น สิ่ง จำเป็น และ ยุติธรรม ที่ จะ ให้

ผู้ เสีย หาย ได้ รับ การ เยียวยา

สำหรับ ปพพ. ลักษณะ ละเมิด ของ ไทย ได้ ยอมรับ ให้ เรียก ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย อัน มิใช่

ตัว เงิน ดังนี้

1. ปพพ. มาตรา 446 ของ ไทย อัน มี ที่มา จาก ประมวล กฎหมาย แพ่ง เยอรมัน มาตรา 847 ได้ ให้

สิทธิ ผู้ เสีย หาย เรียก ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ที่ ไม่ เป็น ตัว เงิน โดย จำกัด เฉพาะ ความ เสีย หาย ที่ มิใช่

ตัว เงิน อัน เกิด จาก กรณี ทำ ละเมิด ให้ เขา เสีย หาย แก่ ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ หรือ หญิง ต้อง เสีย หาย เพราะ ถูก

ละเมิด อัน เป็น ความ ผิด อาญา เกี่ยว กับ เพศ เช่น ผล แห่ง ละเมิด ทำให้ ผู้ เสีย หาย ทุพพลภาพ ตลอด ชีวิต นอกจาก

เรียก ค่า เสีย หาย เพื่อ การ เสีย ความ สามารถ ประกอบ การ งาน ตาม ปพพ. มาตรา 444 แล้ว ความ ทุพพลภาพ

ยัง เป็น ที่มา ของ ความ ทุกข์ ทรมาน ทาง จิตใจ จึง เรียก ค่า เสีย หาย ที่ มิใช่ ตัว เงิน ตาม ปพพ. มาตรา 446 ได้ ด้วย

(คำ พิพากษา ศาล ฎีกา ที่ 6303/2547, 67/2539)

2. ปพพ. มาตรา 447 อัน มี ที่มา จาก ประมวล กฎหมาย แพ่ง ญี่ปุ่น มาตรา 723 นอกจาก ให้ สิทธิ

ผู้ ต้อง เสีย หาย แก่ ชื่อ เสียง ที่ จะ ขอ ให้ จัดการ ตาม ควร เพื่อ ทำให้ ชื่อ เสียง กลับ คืนดี แล้ว ยัง ได้ บัญญัติ รับรอง สิทธ ิ

ของ ผู้ เสีย หาย ดัง กล่าว ที่ จะ เรียก ค่า เสีย หาย แก่ ชื่อ เสียง อัน เป็น ค่า เสีย หาย ที่ มิใช่ ตัว เงิน ด้วย หรือ ไม่ ก็ได้

Page 22: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-22

ทั้งนี้ แม้ ปพพ. ของ ไทย กำหนด ให้ ผู้ เสีย หาย มี สิทธิ เรียก ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ที่ ไม่ เป็น

ตัว เงิน แต่ กฎหมาย ก็ กำหนด ให้ เป็น “สิทธิ เฉพาะ ตัว” ผู้ เสีย หาย เท่านั้น จึง ไม่ อาจ โอน ให้ แก่ บุคคล อื่น ได้ และ

หาก ผู้ มี สิทธิ ตาย สิทธิ ดัง กล่าว นี้ ย่อม ไม่ ตกทอด เป็น มรดก ไป ยัง ทายาท เว้น แต่ สิทธิ นั้น ได้ มี การ รับ สภาพ กัน

โดย สัญญา สิทธิ นั้น ย่อม เปลี่ยน เป็น มูล สัญญา จึง โอน และ ตกทอด แก่ ทายาท ได้ หรือ ถ้า ผู้ เสีย หาย ได้ ฟ้อง คดี

ไว้ ก่อน ตาย ทายาท จึง รับ มรดก ความ ของ ผู้ เสีย หาย ต่อ ไป

ปัญหา ว่า ผู้ เสีย หาย มี สิทธิ เรียก ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย อัน มิใช่ ตัว เงิน ใน กรณี อื่นๆ นอก

เหนือ จาก ที่ ปพพ. ของ ไทย บัญญัติ ให้ สิทธิ ไว้ โดย เฉพาะ หรือ ไม่ ดัง เช่น

กรณี ละเมิด เป็น เหตุ ให้ เสีย หาย แก่ ชีวิต ปพพ. มิได้ มี บทบัญญัติ เฉพาะ รับรอง สิทธิ เรียก ค่า สินไหม

ทดแทน “ค่า แห่ง ชีวิต” ของ ผู้ ตาย ที่ ต้อง สูญ เสีย ไป อาจ เพราะ คำนึง ว่า “ค่า แห่ง ชีวิต” นั้น เป็น ความ เสีย หาย

ที่ คำนวณ เป็น ตัว เงิน ไม่ ได้ อัน เป็น สิทธิ เฉพาะ ตัวผู้ เสีย หาย เมื่อ ผู้ ถูก ทำ ละเมิด ซึ่ง เป็น ผู้ เสีย หาย โดยตรง

นั้น ตาย ไป แล้ว ย่อม สิ้น สภาพ บุคคล ไม่ อาจ เรียก ค่า สินไหม ทดแทน ได้ และ สิทธิ ดัง กล่าว ก็ ไม่ ตกทอด แก่

ทายาท13 หรอื อาจ เปน็ เพราะ เหน็ วา่ ชวีติ มนษุย ์ยาก แก ่การ กำหนด คา่ สนิไหม ทดแทน14 จงึ ม ีขอ้ ที ่นา่ พจิารณา วา่

“ค่า แห่ง ชีวิต” ที่ ต้อง สูญ เสีย ไป เพราะ ละเมิด นั้น ไม่ ควร ได้ รับ ค่า สินไหม ทดแทน เลย หรือ

อีก ทั้ง กรณี ละเมิด เป็น เหตุ ให้ เสีย หาย แก่ ชีวิต นี้ เคย มี แนว คำ พิพากษา ศาล ไทย ว่า ปพพ. ของ

ไทย มิได้ มี บทบัญญัติ เฉพาะ ให้ สิทธิ บิดา มารดา สามี ภรรยา หรือ บุตร ของ ผู้ ตาย เรียก ค่า สินไหม ทดแทน

ความ เสีย หาย ทาง จิตใจ เช่น ความ เศร้า โศก เสียใจ ความ ทุกข์ โทมนัส หรือ ความ ว้าเหว่ เพราะ สูญ เสีย บุคคล

อนั เปน็ ทีร่กั ซึง่ เปน็ ความ เสยี หาย ที ่ไม ่เปน็ ตวั เงนิ แต ่อยา่ง ใด (คำ พพิากษา ศาล ฎกีา ที ่789/2502, 1550/2518) แต ่ม ี

นัก กฎหมาย ไทย อีก ส่วน หนึ่ง มี ความ เห็น แตก ต่าง ออก ไป ว่า ความ เสีย หาย ทาง จิตใจ ซึ่ง เป็น ความ เสีย หาย

อัน มิใช่ ตัว เงิน สามารถ เรียก ค่า สินไหม ทดแทน ได้ ตาม ปพพ. มาตรา 438 ซึ่ง เป็น บทบัญญัติ ทั่วไป ใน เรื่อง

ค่า สินไหม ทดแทน จึง ไม่ จำกัด ว่า ต้อง มี บทบัญญัติ เฉพาะ กำหนด ให้ เรียก ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย

อัน มิใช่ ตัว เงิน ใน กรณี เฉพาะ เท่านั้น จึง จะ เรียก ได้15

จึง เห็น ได้ ว่า แม้ ปพพ. จะ ยอมรับ ให้ เรียก ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ที่ ไม่ใช่ ตัว เงิน แต่ ทาง

ปฏิบัติ ใน แนว คำ พิพากษา ของ ศาล ไทย ก็ ค่อน ข้าง จะ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ที่ ไม่ใช่ ตัว เงิน

อย่าง เคร่งครัด หรือ จำกัด อย่างไร ก็ตาม ปัจจุบัน ประเทศไทย ได้ มี แนวคิด ที่ ยอมรับ ความ เสีย หาย ทาง จิตใจ

ชัดเจน ขึ้น ดัง เห็น ได้ จาก การ มี กฎหมาย พิเศษ คือ พระ ราช บัญญัติ ความ รับ ผิด ต่อ ความ เสีย หาย ที่ เกิด ขึ้น จาก

สินค้า ที่ ไม่ ปลอดภัย พ.ศ. 2551 ซึ่ง มี บทบัญญัติ มาตรา 11(1) ให้ สิทธิ แก่ ผู้ ได้ รับ ความ เสีย หาย จาก สินค้า ที่ ไม่

ปลอดภัย ให้ ได้ รับ การ เยียวยา อย่าง พอ เพียง และ เป็น ธรรม ขึ้น ใน การ เรียก ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย

13 ไพจิตร ปุญญ พันธุ์ คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะละเมิด หน้า 154; ศ นันท์ กรณ์ (จำปี) โสตถิ พันธุ ์

คำอธิบายกฎหมายลักษณะละเมิดจัดการงานนอกสั่งและลาภมิควรได้หน้า 294-297 14 สุษม ศุภ นิตย์ คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยละเมิด หน้า 238 15 จิต ติ ติง ศภัทิย์ บันทึก ท้าย คำ พิพากษา ศาล ฎีกา ที่ 2816/2528 จัด พิมพ์ โดย เนติ บัณฑิต ย สภา หน้า 2390–2394 อ้าง โดย

ไพจิตร ปุญญ พันธุ์ คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะละเมิด หน้า 217 และ โปรด ดู จิ๊ด เศรษฐ บุตร หลักกฎหมาย

แพ่งลักษณะละเมิด โครงการ ตำรา และ เอกสาร ประกอบ การ สอน คณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ พิมพ์ครั้งที่ 6 2550

หน้า 86-87

Page 23: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-23

ต่อ จิตใจ อัน เป็น ผล เนื่อง มา จาก ความ เสีย หาย ต่อ ร่างกาย สุขภาพ หรือ อนามัย ของ ผู้ เสีย หาย รวม ทั้ง ให้

สิทธิ แก่ สามี ภรรยา บุพการี หรือ ผู้ สืบ สันดาน ของ ผู้ เสีย หาย ที่ จะ ได้ รับ ค่า เสีย หาย สำหรับ ความ เสีย หาย ต่อ

จิตใจ นอก เหนือ จาก ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิด ตาม ที่ กำหนด ไว้ ใน ปพพ. และ เพื่อ ความ ชัดเจนยิ่ง ขึ้น

ใน การ บังคับ ใช้ กฎหมาย จึง ได้ มี การ นิยาม คำ ว่า “ความ เสีย หาย ต่อ จิตใจ” ไว้ ใน มาตรา 4 ว่า หมายความ ถึง

ความ เจ็บ ปวด ความ ทุกข์ ทรมาน ความ หวาด กลัว ความ วิตก กังวล ความ เศร้า โศก เสียใจ ความ อับอาย

หรือ ความ เสีย หาย ต่อ จิตใจ อย่าง อื่น ที่ มี ลักษณะ ทำนอง เดียวกัน ส่วน แนวทาง ใน การ กำหนด จำนวน

ค่า เสีย หาย นั้น มิได้ บัญญัติ ไว้ โดย เฉพาะ จึง ต้อง บังคับ ตาม ปพพ. มาตรา 438 วรรค หนึ่ง ซึ่ง จะ กล่าว ต่อ ไป

ในตอน ที่ 8.3

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดในคำอธิบายกฎหมายลักษณะละเมิดจัดการงานนอกสั่งและลาภมิควรได้

โดยรองศาสตราจารย์ดร.ศนันท์กรณ์(จำปี)โสตถิพันธุ์หน้า292-296;คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและ

พาณิชย์ว่าด้วยละเมิดโดยรองศาสตราจารย์สุษมศุภนิตย์หน้า256-263;คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่ง

และพาณิชย์ลักษณะละเมิดโดยศาสตราจารย์ไพจิตรปุญญพันธุ์หน้า215-223)

กิจกรรม8.2.3

จง ยก ตัวอย่าง ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย อัน มิใช่ ตัว เงิน ตาม ปพพ. ของ ไทย

บันทึกคำตอบกิจกรรม8.2.3

(โปรดตรวจคำตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่8ตอนที่8.2กิจกรรม8.2.3)

Page 24: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-24

เรื่องที่8.2.4ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการลงโทษ

สาระสังเขปดัง ได้ กล่าว แล้ว ว่า ปพพ. ของ ไทย ได้ ยึดถือ หลัก การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน ตาม หลัก การ ที่ ใช้

กัน โดย ปกติ ใน ระบบ กฎหมาย Civil Law โดย กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ที่ เกิด ขึ้น จริง เพื่อ ให้

ผู้ เสีย หาย กลับ คืน สู่ ฐานะ เดิม หรือ ใกล้ เคียง ฐานะ เดิม มาก ที่สุด แต่ เมื่อ สภาพ สังคม เศรษฐกิจ เปลี่ยนแปลง

ไป ตลอด จน เทคโนโลยี มี ความ ก้าวหน้า ขึ้น ส่ง ผล ให้ เกิด การ ละเมิด ใน รูป แบบ ต่างๆ อัน มี ผลก ระ ทบ ต่อ

สังคม การ ให้ ผู้ ทำ ละเมิด รับ ผิด ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน ตาม ความ เสีย หาย ที่ เกิด ขึ้น ซึ่ง อาจ เป็น จำนวน เล็ก น้อย

จึง ไม่ เพียง พอ ทำให้ ผู้ ทำ ละเมิด เข็ด หลาบ และ หวน กลับ มา ทำ ละเมิด เช่น เดิม เป็น เยี่ยง อย่าง ให้ คนใน สังคม

ต่อ ไป อีก ประเทศไทย จึง ได้ เริ่ม รับ หลัก ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ หรือ “ค่า เสีย หาย เชิง ลงโทษ”

(Punitive Damages) หรือ อาจ เรียก อีก ชื่อ หนึ่ง ว่า “ค่า เสีย หาย เพื่อ เป็น เยี่ยง อย่าง” (Exemplary Damages)

ซึ่ง ใช้ อยู่ ใน ระบบ กฎหมาย Common Law ใน ลักษณะ เป็น ค่า เสีย หาย ทาง แพ่ง ซึ่ง ถูก กำหนด ขึ้น เพิ่ม เติม นอก

เหนือ จาก ค่า เสีย หาย เพื่อ ชดเชย ความ เสีย หาย แท้จริง (Compensatory Damages) ที่ โจทก์ พิสูจน์ ได้ และ มี

วัตถุประสงค์ เพื่อ ลงโทษ ผู้ กระทำ ละเมิด ให้ เข็ด หลาบ และ ป้อง ปราม มิ ให้ บุคคล อื่น ใน สังคม ถือ เป็น เยี่ยง อย่าง

โดย ส่วน ใหญ่ จะ ถูก กำหนด ขึ้น ใน กรณี ที่ ผู้ กระทำ ละเมิด มี พฤติกรรม ที่ มี ความ ชั่ว ร้าย มาก กล่าว คือ เป็นการ

จงใจ กระทำ ละเมิด ทั้ง ที่ รู้ ว่า จะ ก่อ ให้ เกิด ความ เสีย หาย อย่าง รุนแรง แต่ ก็ มิได้ แยแส ต่อ ผล ของ การก ระ ทำ

นั้น ซึ่ง พฤติการณ์ เหล่า นี้ ได้แก่ การ จงใจ กระทำ ละเมิด (Willfull Action) การ ประมาท เลินเล่อ อย่าง ร้าย แรง

(Gross Negligence) การ ทำ ตาม อำเภอ ใจ โดย ไม่ คำนึง ถึง สิทธิ ของ บุคคล อื่น (Reckless) การ มี เจตนา

ชั่ว ร้าย (Malice) หรือ การ ละเมิด โดย วิธี การ กดขี่ ข่มเหง ผู้ อื่น (Oppressive) เป็นต้น แต่ จะ ไม่ นำ มา ใช้ กับ กรณ ี

ประมาท เลินเล่อ ธรรมดา

ปัจจุบัน ประเทศไทย ได้ นำ เอา หลัก ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ หรือ ค่า เสีย หาย เชิง ลงโทษ

ดัง กล่าว มา บัญญัติ ไว้ ใน กฎหมาย พิเศษ16 อาทิ

1. พระราชบัญญัติความลับทางการค้าพ.ศ.2545 ซึ่ง มี ผล บังคับ ใช้ วัน ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2545

โดย บัญญัติ เกี่ยว กับ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ ไว้ ใน มาตรา 13(3) มี สาระ สำคัญ ดังนี้

1.1 ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ ตาม มาตรา นี้ มี วัตถุประสงค์ ใน การ ลงโทษ ผู้ มี เจตนา

ชั่ว ร้าย ที่ จะ ทำลาย ความ ได้ เปรียบ ของ เจ้าของ ความ ลับ ทางการ ค้า และ เพื่อ ป้อง ปราม มิ ให้ มี การ ละเมิด ความ

ลับ ทางการ ค้า เช่น นั้น ใน สังคม อีก

16 ปริญญาวัน ชมเสวก “ค่าเสียหายเชิงลงโทษในคดีละเมิด” วิทยานิพนธ์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.

2550 หน้า 104-108

Page 25: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-25

1.2 ให้ อำนาจ ศาล สั่ง ผู้ ทำ ละเมิด ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ จำกัด เฉพาะ กรณี การ

ละเมิด สิทธิ ใน ความ ลับ ทางการ ค้า โดย จงใจ หรือ มี เจตนา กลั่น แกล้ง เป็น เหตุ ให้ ความ ลับ ทางการ ค้า สิ้น สภาพ

การ เป็น ความ ลับ ทางการ ค้า และ

1.3 เพือ่ ควบคมุ ม ิให ้จำนวน คา่ สนิไหม ทดแทน เพือ่ การ ลงโทษ มาก เกนิ จำเปน็ และ เกนิสมควร ที ่

จะ ลงโทษ ผู ้ทำ ละเมดิ จน เปน็ ประโยชน ์แก ่ผู ้เสยี หาย มาก เกนิ ไป มาตรา นี ้จงึ ได ้ให ้ศาล กำหนด คา่ สนิไหม ทดแทน

เพื่อ การ ลงโทษ เพิ่ม ขึ้น จาก ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ที่ เกิด ขึ้น จริง โดย ต้อง ไม่ เกิน 2 เท่า ของ ค่า สินไหม

ทดแทน ความ เสีย หาย ที่แท้ จริง ที่ ศาล กำหนด ให้ ตาม มาตรา 13(1) หรือ (2)

2.พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัยพ.ศ. 2551

ซึง่ ม ีผล บงัคบั ใช ้วนั ที ่20 กมุภาพนัธ ์พ.ศ. 2552 พระ ราช บญัญตั ิฉบบั นี ้ได ้รบั เอา แนวคดิ เรือ่ง คา่ สนิไหม ทดแทน

เพื่อ การ ลงโทษ ของ ระบบ กฎหมาย Common Law มา บัญญัติ ไว้ ใน มาตรา 11(2) โดย มี สาระ สำคัญ ดังนี้

2.1 วัตถุประสงค์ ของ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ ตามพ ระ ราช บัญญัติ นี้ ก็ เพื่อ ลงโทษ

ผู้ ประกอบ การ ที่ ไม่ คำนึง ถึง ความ เสีย หาย ที่ อาจ เกิด ขึ้น จาก สินค้า ที่ ตน ผลิต นำ เข้า หรือ ขาย ให้ แก่ ผู้ บริโภค

2.2 ศาล มี อำนาจ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ ตามพ ระ ราช บัญญัติ นี้ เฉพาะ กรณ ี

ปรากฏ ข้อ เท็จ จริง ว่า ผู้ ประกอบ การ ได้ ผลิต นำ เข้า หรือ ขาย สินค้า โดย รู้ อยู่ แล้ว ว่า สินค้า นั้น เป็น สินค้า ที่ ไม่

ปลอดภัย หรือ มิได้ รู้ เพราะ ความ ประมาท เลินเล่อ อย่าง ร้าย แรง หรือ เมื่อ รู้ เช่น นั้น ภาย หลัง การ ผลิต นำ เข้า

หรือ ขาย สินค้า นั้น แล้ว ไม่ ดำเนิน การ ใดๆ ตาม สมควร เพื่อ ป้องกัน ไม่ ให้ เกิด ความ เสีย หาย

การ ที่ ประเทศไทย บัญญัติ เรื่อง ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ ไว้ ใน กฎหมาย พิเศษ ดัง กล่าว โดย

มี หลัก การ แตก ต่าง ไป จาก หลัก การ ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน ใน คดี ละเมิด ทั่วไป ตาม ปพพ. นั้น มี ผล ให้ ใน คดี

ละเมิด สิทธิ ใน ความ ลับ ทางการ ค้า หรือ คดี ละเมิด เป็น เหตุ ให้ มี ความ เสีย หาย เกิด ขึ้น จาก สินค้า ที่ ไม่ ปลอดภัย

ซึ่ง อยู่ ภาย ใต้ บังคับ ของ กฎหมาย พิเศษ นั้น ต้อง ปรับ ใช้ หลัก ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ ตาม บทบัญญัต ิ

ของ กฎหมาย พิเศษ ดัง กล่าว โดย ถือ เป็น ข้อ ยกเว้น ของ หลัก ทั่วไป ใน ปพพ. ซึ่ง เป็นการ เสริม หลัก ทั่วไป ใน การ

ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน ตาม ปพพ. เพื่อ ทำให้ การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน เกี่ยว กับ การก ระ ทำ ละเมิด มี

ประสิทธิภาพ มาก ยิ่ง ขึ้น และ เหมาะ สม กับ สภาพ สังคม เศรษฐกิจ ตลอดจน เทคโนโลยี ที่ เปลี่ยนแปลง ไป

อย่างไร ก็ตาม กฎหมาย พิเศษ ดัง กล่าว เป็น กฎหมาย ใหม่ จึง อาจ มี ปัญหา ใน การ กำหนด ค่า สินไหม

ทดแทน บาง ประการ นักศึกษา จึง ควร ศึกษา และ ติดตาม ผล การ บังคับ ใช้ กฎหมาย ดัง กล่าว ต่อ ไป

กิจกรรม8.2.4

กฎหมาย ฉบับ ใด ของ ไทย ที่ ให้ อำนาจ ศาล กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ จง ยก

ตัวอย่าง

Page 26: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-26

บันทึกคำตอบกิจกรรม8.2.4

(โปรดตรวจคำตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่8ตอนที่8.2กิจกรรม8.2.4)

Page 27: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-27

ตอนที่8.3

แนวทางในการกำหนดค่าสินไหมทดแทน

โปรด อ่าน แผนการ สอน ประจำ ตอน ที่ 8.3 แล้ว จึง ศึกษา สาระ สังเขป พร้อม ปฏิบัติ กิจกรรม ใน แต่ละ เรื่อง

หัวเรื่องเรื่อง ที่ 8.3.1 แนวทาง ใน การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน โดย ทั่วไป

เรื่อง ที่ 8.3.2 แนวทาง ใน การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ

แนวคิดการ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน โดย ทั่วไป1. ตาม ปพพ. ของ ไทย ศาล มี อำนาจ ใช้ ดุลพินิจ

ใน การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน สถาน ใด เพียง ใด โดย พิจารณา ตาม ควร แก่ พฤติการณ์

และ ความ ร้าย แรง แห่ง ละเมิด ตาม หลัก การ ทั่วไป อัน เป็น พื้น ฐาน ของ การ ชดใช้ ค่า สินไหม

ทดแทน (Principle of Compensation) ศาล จึง ต้อง มุ่ง พิจารณา ถึง การ เยียวยา ความ

เสีย หาย ที่แท้ จริง เพื่อ ให้ ผู้ เสีย หาย กลับ คืน สู่ ฐานะ เดิม มาก ที่สุด

การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ2. หรือ ค่า เสีย หาย เชิง ลงโทษ (Punitive

Damages) นั้น มี วัตถุประสงค์ เพื่อ ลงโทษ ผู้ กระทำ ละเมิด ที่ มี พฤติกรรม ชั่ว ร้าย ให้

เข็ด หลาบ และ ป้อง ปราม มิ ให้ บุคคล อื่น ใน สังคม ถือ เป็น เยี่ยง อย่าง ใน อนาคต ดัง นั้น

ใน การ กำหนด คา่ สนิไหม ทดแทน เพือ่ การ ลงโทษ ศาล จงึ ตอ้ง นำ ปจัจยั ตา่งๆ ที ่เกีย่วขอ้ง กบั

พฤติกรรม การก ระ ทำ ละเมิด ของ จำเลย เช่น พฤติกรรม ชั่ว ร้าย ของ จำเลย ระยะ เวลา ของ

การ ละเมิด ผล ประโยชน์ ที่ จำเลย ได้ รับ จาก การก ระ ทำ ละเมิด ฯลฯ มา ใช้ เป็น แนวทาง ใน

การ พิจารณา

วัตถุประสงค์เมื่อ ศึกษา ตอน ที่ 8.3 จบ แล้ว นักศึกษา สามารถ

อธิบาย แนวทาง ใน การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน โดย ทั่วไป ได้1.

อธิบาย แนวทาง ใน การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ ได้2.

Page 28: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-28

เรื่องที่8.3.1แนวทางในการกำหนดค่าสินไหมทดแทนโดยทั่วไป

สาระสังเขปใน การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน ใน คดี ละเมิด โดย ทั่วไป ปพพ. มาตรา 438 วรรค หนึ่ง ซึ่ง บัญญัติ

ขึ้น โดย เทียบ เคียง จาก ประมวล กฎหมาย แพ่ง ญี่ปุ่น มาตรา 710 และ กฎหมาย ลักษณะ หนี้ ของ ส วิส มาตรา 43

ได้ ให้ อำนาจ ศาล ใน การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน โดย ได้ วาง แนวทาง ทั่วไป เพื่อ เป็นก รอบ ใน การ ใช้ ดุลพินิจ

ของ ศาล ไว้ อย่า งก ว้างๆ ว่า

ศาลจะกำหนดค่าสินไหมทดแทนโดยสถานใด เพียงใดนั้น ให้ศาลวินิจฉัยตามควรแก่พฤติการณ์

และความร้ายแรงแห่งละเมิด

“สถานใด” (the manner, lemode) หมาย ถึง ศาล จะ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน โดย “วิธี การ

อย่างไร”

ได้ กล่าว แล้ว ว่า ค่า สินไหม ทดแทน มิได้ จำกัด เฉพาะ การ คืน ทรัพย์ การ ใช้ ราคา หรือ ค่า เสีย หาย ตาม

ปพพ. มาตรา 438 วรรค สอง อีก ทั้ง มิใช่ ว่า จะ กำหนด ค่า เสีย หาย ได้ เพียง ที่ กฎหมาย กำหนด ไว้ โดย เฉพาะ ตาม

ปพพ. มาตรา 443 – 447 เท่านั้น นอก เหนือ จาก ค่า เสีย หาย ตาม บทบัญญัติ เฉพาะ ดัง กล่าว ศาล ก็ อาจ กำหนด

ให้ ได้ โดย อาศัย บทบัญญัติ ทั่วไป ใน การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน มาตรา 438 วรรค หนึ่ง นี้

“เพียงใด” (the extent, l’ètendue) หมาย ถึง ศาล จะ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน เป็น “จำนวน

เท่าใด”

“พฤติการณ์แห่งละเมิด” (gravity, gravitè) หมาย ถึง ระดับ ความ เสีย หาย อัน เนื่อง มา จาก ลักษณะ

แห่ง การก ระ ทำ ละเมิด

ทั้งนี้ การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน โดย ทั่วไป ตาม ปพพ. มาตรา 438 ของ ไทย นั้น ยึดถือ ตาม

ทฤษฎี ความ รับ ผิด แห่ง หนี้ ซึ่ง เป็น ทฤษฎี กำหนด ความ รับ ผิด ทาง แพ่ง เช่น เดียว กับ ประเทศ ที่ ใช้ ระบบ กฎหมาย

Civil Law เพื่อ เยียวยา หรือ ชดเชย ความเสียหายที่เกิดขึ้นแท้จริง เป็น สำคัญ โดย ผู้ เสีย หาย ซึ่ง เป็น โจทก์

มีหน้า ที่ นำสืบ ให้ ศาล เห็น ว่า ตน ได้ รับ ความ เสีย หาย อย่างไร เพียง ใด และ เป็น ดุลพินิจ ของ ศาล ที่ จะ กำหนด

คา่ สนิไหม ทดแทน โดย พจิารณา จาก พฤตกิารณ ์และ ความ รา้ย แรง แหง่ ละเมดิ ตาม หลกั การ ทัว่ไป อนั เปน็ พืน้ ฐาน

ของ การ ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน (Principle of Compensation) ศาล จึง ต้อง มุ่ง พิจารณา ถึง การ เยียวยา ความ

เสีย หาย ที่แท้ จริง เพื่อ ให้ ผู้ เสีย หาย กลับ คืน สู่ ฐานะ เดิม มาก ที่สุด มากกว่า ที่ จะ มุ่ง คำนึง ถึง ความ ผิด ของ ผู้ กระทำ

หรือ มูล เหตุ จูงใจ ใน การก ระ ทำ ละเมิด ซึ่ง แตก ต่าง จาก หลัก การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ ที่ จะ

ได้ กล่าว ต่อ ใน เรื่อง ที่ 8.3.2

สำหรับ ทาง ปฏิบัติ ของ ศาล ไทย ใน การนำ พฤติการณ์ และ ความ ร้าย แรง แห่ง ละเมิด มา ประกอบ ใน การ

วินิจฉัย กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน นั้น อาจ แยก พิจารณา ได้ ดังนี้

Page 29: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-29

1. ถ้า โจทก์ นำสืบ ความ เสีย หาย แท้จริง เป็น จำนวน แน่นอน ได้ โดย ปกติ ศาล ก็ จะ กำหนด ค่า สินไหม

ทดแทน ตาม ความ เสีย หาย จริง (Substantial Damages) ที่ โจทก์ พิสูจน์ ได้

2. ถ้า โจทก์ นำสืบ ว่า ตน ได้ รับ ความ เสีย หาย จริง แต่ ไม่ สามารถ นำสืบ ได้ ว่า เป็น จำนวน แน่นอน เท่าใด

ศาล ก็ มี อำนาจ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน ให้ ได้ โดย พิจารณา ตาม พฤติการณ์ และ ความ ร้าย แรง แห่ง ละเมิด

(คำ พิพากษา ศาล ฎีกา ที่ 3101/2524, 694/2541)

3. แม้ โจทก์ เรียก ค่า เสีย หาย มา แน่นอน ใน ฟ้อง แต่ เมื่อ โจทก์ นำสืบ ถึง จำนวน ความ เสีย หาย แล้ว ศาล

เห็น ว่า มิได้ เสีย หาย ถึง ขนาด ที่ กล่าว ใน ฟ้อง ศาล ก็ มี อำนาจ ลด ค่า สินไหม ทดแทน ลง ได้ โดย พิจารณา ตาม ควร

แก่ พฤติการณ์ และ ความ ร้าย แรง แห่ง ละเมิด (คำ พิพากษา ศาล ฎีกา ที่ 524/2516)

กรณีผู้เสียหายมีส่วนผิดในการก่อให้เกิดความเสียหาย

นอกจาก แนวทาง ใน การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน ตาม ปพพ. มาตรา 438 วรรค หนึ่ง แล้ว ศาล

ยัง ต้อง คำนึง ด้วย ว่า ผู้ เสีย หาย มี ส่วน ผิด ใน การ ก่อ ให้ เกิด ความ เสีย หาย ด้วย หรือ ไม่ ดัง บัญญัติ ไว้ ใน ปพพ.

มาตรา 442 ซึ่ง มี ที่มา จาก ประมวล กฎหมาย แพ่ง เยอรมัน มาตรา 846 โดย ให้ นำ ปพพ. มาตรา 223 ใน เรื่อง

หนี้ มา ใช้ บังคับ โดย อนุโลม ซึ่ง มี สาระ สำคัญ ว่า ถ้า ผู้ เสีย หาย มี ส่วน ผิด เช่น ประมาท ก่อ ให้ เกิด ความ เสีย หาย

ด้วย แล้ว ศาล จะ กำหนด ให้ จำเลย ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน มาก น้อย เพียง ใด นั้น ให้ ศาล อาศัย พฤติการณ์ ของ

ทั้ง โจทก์ และ จำเลย เป็น ประมาณ ว่า ฝ่ายใดเป็นผู้ก่อความเสียหายมากน้อยกว่ากันเพียงใด เมื่อ ศาล พิเคราะห ์

แล้ว ศาล มี อำนาจ กำหนด ให้ จำเลย ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน ให้ โจทก์ มาก หรือ น้อย หรือ ไม่ ต้อง ชดใช้ เลย ทั้งนี้

ตาม ส่วน ความ หนัก เบา แห่ง เหตุ และ ผล ของ ความ เสีย หาย ที่ จำเลย ได้ ก่อ ขึ้น

ใน ขณะ ที่ หลัก กฎหมาย อังกฤษ ใน ระบบ กฎหมาย Common Law ใน เรื่อง ผู้ เสีย หาย มี ส่วน ผิด

(Contributory Negligence) นั้น เดิม ถือ หลัก ว่า ผู้ มี โอกาส สุดท้าย ใน การ หลีก เลี่ยง มิ ให้ เกิด ความ เสีย หาย

แต่ กลับ มิได้ หลีก เลี่ยง ต้อง เป็น ผู้รับ ผิด ใน ผล เสีย หาย นั้น (The Rule of last opportunity) แต่ ด้วย เหตุ

ที่ หลัก ดัง กล่าว ไม่ เป็น ธรรม จึง ได้ แก้ไข หลัก เกณฑ์ ใหม่ ปรากฏ ใน The Law Reform (Contributory

Negligence) Act, 1965 ว่า ให้ พิจารณา ว่า ความ เสีย หาย นั้น ผู้ ใด เป็น ผู้ ก่อ มาก น้อย กว่า กัน เพียง ใด เป็น

เกณฑ์ ใน การ กำหนด ค่า เสีย หาย

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดในคำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ลักษณะละเมิด โดย

ศาสตราจารย์ไพจิตรปุญญพันธุ์หน้า157-167,186-193;คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่า

ด้วยละเมิดโดยรองศาสตราจารย์สุษมศุภนิตย์หน้า204-214,227-236)

กิจกรรม8.3.1

ปพพ. ของ ไทย วาง แนวทาง ใน การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน โดย ทั่วไป อย่างไร

Page 30: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-30

บันทึกคำตอบกิจกรรม8.3.1

(โปรดตรวจคำตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่8ตอนที่8.3กิจกรรม8.3.1)

Page 31: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-31

เรื่องที่8.3.2แนวทางในการกำหนดค่าสินไหมทดแทน

เพื่อการลงโทษ

สาระสังเขปโดยที่ การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ หรือ ที่ มัก เรียก กัน โดย ทั่วไป ว่า “ค่า เสีย หาย เชิง

ลงโทษ” นั้น เป็นการ กำหนด ให้ ผู้ กระทำ ละเมิด ที่ มี พฤติกรรม ชั่ว ร้าย รับ ผิด ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน เพิ่ม เติม

นอก เหนือ จาก ค่า สินไหม ทดแทน ตาม ความ เสีย หาย ที่แท้ จริง เพื่อ วัตถุประสงค์ ใน การ ลงโทษ ผู้ กระทำ ละเมิด

ให้ เข็ด หลาบ และ ป้อง ปราม มิ ให้ บุคคล อื่น ใน สังคม ถือ เป็น เยี่ยง อย่าง ใน อนาคต การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน

เพื่อ การ ลงโทษ จึง มุ่ง พิจารณา ไป ยัง พฤติกรรมอันชั่วร้ายของผู้กระทำละเมิด มากกว่า คำนึง ถึง ความ เสีย หาย

ที่แท้ จริง ที่ ผู้ เสีย หาย ได้ รับ ดัง นั้น ใน การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ ใน ต่าง ประเทศ นั้น ศาล จึง

ต้อง นำ ปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการกระทำละเมิดของจำเลย ใน คดี นั้นๆ มา เป็น แนวทาง ใน การ

พิจารณา ทั้งนี้ เพื่อ ให้ จำนวน ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ ที่ กำหนด ขึ้น นั้น เหมาะ สม กับ พฤติกรรม ของ

จำเลย และ เพียง พอที่ จะ เป็นการ ลงโทษ จำเลย ให้ เข็ด หลาบ รวม ทั้ง ป้อง ปราม มิ ให้ บุคคล อื่น ถือ พฤติกรรม นั้น

เป็น เยี่ยง อย่าง อีก ต่อ ไป โดย ปัจจัย ต่างๆ ที่ จะ นำ มา ใช้ เป็น แนวทาง ใน การ พิจารณา กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน

เพื่อ การ ลงโทษ เช่น

1. พฤติกรรมที่ชั่วร้ายของจำเลย เป็น ปัจจัย สำคัญ ประการ แรก ที่ นำ มา ใช้ ใน การ พิจารณา กำหนด

ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ โดย จะ ต้อง ปรากฏ ข้อ เท็จ จริง ว่า จำเลย มี พฤติกรรม ชั่ว ร้าย เช่น จงใจ หรือ

ประมาท เลินเล่อ อย่าง ร้าย แรง ไม่ แยแส ว่า ผู้ อื่น จะ ได้ รับ อันตราย จาก การก ระ ทำ ของ ตน ซึ่ง เป็น พฤติกรรม ที่

สังคม เห็น ว่า ควร ประณาม และ ไม่ ควร ให้ ผู้ อื่น ถือ เป็น เยี่ยง อย่าง หาก ศาล เห็น ว่า จำเลย มี พฤติกรรม ชั่ว ร้าย

ศาล ก็ จะ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ ให้ และ จะ กำหนด มาก น้อย ตาม ระดับ ความ ชั่ว ร้าย ของ

พฤติกรรม ทั้งนี้ จำนวน ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ จะ เหมาะ สม หรือ เพียง พอ หรือ ไม่ ยัง ต้อง คำนึง ถึง

ปัจจัย อื่นๆ ประกอบ ด้วย

2. ระยะเวลาของการละเมดิความ ตอ่ เนือ่ง ของ การก ระ ทำ ละเมดิ เปน็ ระยะ เวลา นาน ยอ่ม แสดง นยัวา่

กระทำ โดย จงใจ เพิก เฉย ต่อ ความ เสีย หาย ที่ ได้ ก่อ ขึ้น

3. ผลประโยชน์ที่จำเลยได้รบัจากการกระทำละเมดิผู ้กระทำ ละเมดิ บาง กรณ ีอาจ ได ้รบั ผล ประโยชน ์

จำนวน มาก ใน ขณะ ที่ ความ เสีย หาย ที่ โจทก์ ได้ รับ อาจ ไม่ มาก นัก หาก จะ กำหนด ให้ ชดใช้ เพียง ค่า เสีย หาย แท้จริง

ที่ พิสูจน์ ได้ ผู้ กระทำ ละเมิด อาจ ไม่ เข็ด หลาบ แต่ หาก นำ ผล ประโยชน์ ที่ ผู้ กระทำ ละเมิด ได้ รับ มา เป็น ปัจจัย

ประกอบ ใน การ พิจารณา กำหนด จำนวน ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ ก็ อาจ เพียง พอ ให้ จำเลย เข็ด หลาบ ได้

4.ฐานะทางการเงินของจำเลย การนำ ปัจจัย ข้อ นี้ มา เป็น แนวทาง ใน การ พิจารณา กำหนด จำนวน

ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ ก็ เพื่อ ให้ บรรลุ วัตถุประสงค์ ใน การ ลงโทษ และ ป้อง ปราม จำเลย

Page 32: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-32

5. การที่จำเลยบรรเทาความเสียหายที่เกิดขึ้น หรือการที่ผู้เสียหายมีส่วนในการก่อความเสียหาย

เป็น ปัจจัย ที่ ศาล อาจ นำ มา พิจารณา ลด หย่อน จำนวน ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ ได้17

สำหรับแนวทางการกำหนดค่าสินไหมทดแทนเพื่อการลงโทษตามกฎหมายพิเศษของไทย เช่น

1. พระราชบัญญัติความลับทางการค้าพ.ศ.2545

มาตรา 13(3) ให้ ศาล มี อำนาจ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ ได้ เมื่อ ปรากฏ หลัก ฐาน

ชัด แจ้ง ว่า การ ละเมิด สิทธิ ใน ความ ลับ ทางการ ค้า นั้น จำเลย มี พฤติกรรม ชั่ว ร้าย กล่าว คือ กระทำ โดย จงใจ หรือ

มี เจตนา กลั่น แกล้ง เป็น เหตุ ให้ ความ ลับ ทางการ ค้า สิ้น สภาพ การ เป็น ความ ลับ ทางการ ค้า

แต่ พระ ราช บัญญัติ ฉบับ นี้ มิได้ บัญญัติ ชัดเจน ว่า มี ปัจจัย ใด ที่ ศาล อาจ นำ มา ใช้ เป็น แนวทาง ใน

การ พิจารณา กำหนด จำนวน ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ อย่างไร ก็ตาม ศาล อาจ นำ พฤติการณ์ ต่างๆ

ที่ เกี่ยวข้อง เช่น พฤติกรรม ที่ ชั่ว ร้าย ของ จำเลย ใน การ ละเมิด สิทธิ ใน ความ ลับ ทางการ ค้า ข้าง ต้น รวม ทั้ง

ผล ประโยชน์ ที่ จำเลย ได้ รับ จาก การก ระ ทำ ละเมิด มา เป็น แนวทาง ใน การ พิจารณา ได้

2. พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัยพ.ศ.2551

มาตรา 11(2) ให้ ศาล มี อำนาจ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ ได้ เมื่อ มี ข้อ เท็จ จริง ปรากฏ

ว่า ผู้ ประกอบ การ มี พฤติกรรม ชั่ว ร้าย กล่าว คือ ผู้ ประกอบ การ ได้ ผลิต นำ เข้า หรือ ขาย สินค้า โดย รู้ อยู่ แล้ว

ว่า สินค้า นั้น เป็น สินค้า ที่ ไม่ ปลอดภัย หรือ ไม่รู้ เนื่อง มา จาก ความ ประมาท เลินเล่อ อย่าง ร้าย แรง หรือ รู้ แล้ว ว่า

สินค้า ไม่ ปลอดภัย หลัง จาก ผลิต นำ เข้า หรือ ขาย สินค้า นั้น แล้ว แต่ ไม่ ดำเนิน การ ใดๆ ตาม สมควร เพื่อ ป้องกัน

ไม่ ให้ เกิด ความ เสีย หาย

ทั้งนี้ พระ ราช บัญญัติ ฉบับ นี้ ได้ บัญญัติ ถึง ตัวอย่าง ของ ปัจจัย ต่างๆ ที่ ศาล อาจ นำ มา ใช้ เป็น แนวทาง ใน

การ พิจารณา กำหนด จำนวน ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ ไว้ อย่าง ชัดเจน เช่น

2.1 ความ ร้าย แรง ของ ความ เสีย หาย ที่ ผู้ เสีย หาย ได้ รับ

2.2 การ ที่ ผู้ ประกอบ การ รู้ ถึง ความ บกพร่อง ของ สินค้า นั้น

2.3 ระยะ เวลา ที่ ผู้ ประกอบ การ ปกปิด ความ ไม่ ปลอดภัย ของ สินค้า

2.4 การ ดำเนิน การ ของ ผู้ ประกอบ การ เมื่อ ทราบ ว่า สินค้า นั้น เป็น สินค้า ที่ ไม่ ปลอดภัย

2.5 ผล ประโยชน์ ที่ ผู้ ประกอบ การ ได้ รับ จาก การ ผลิต นำ เข้า หรือ ขาย สินค้า ที่ ไม่ ปลอดภัย นั้น

2.6 สถานะ ทางการ เงิน ของ ผู้ ประกอบ การ

2.7 การ ที่ ผู้ ประกอบ การ ได้ บรรเทา ความ เสีย หาย ที่ เกิด ขึ้น

2.8 การ ที่ ผู้ เสีย หาย มี ส่วน ใน การ ก่อ ให้ เกิด ความ เสีย หาย

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระเพิ่มเติมใน “ค่าเสียหายเชิงลงโทษในคดีละเมิด” วิทยานิพนธ์ คณะนิติศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์พ.ศ.2550โดยปริญญาวันชมเสวกหน้า40-45,104-108,113-115)

17 ปริญญาวัน ชมเสวก “ค่าเสียหายเชิงลงโทษในคดีละเมิด”วิทยานิพนธ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.

2550 หน้า 40–45, 113-115

Page 33: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-33

กิจกรรม8.3.2

ศาล อาจ ใช้ ปัจจัย ใด เป็น แนวทาง ใน การ กำหนด จำนวน ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ

บันทึกคำตอบกิจกรรม8.3.2

(โปรดตรวจคำตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่8ตอนที่8.3กิจกรรม8.3.2)

Page 34: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-34

แนวตอบกิจกรรมหน่วยที่8

ค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิด

ตอนที่8.1ความทั่วไปเกี่ยวกับค่าสินไหมทดแทน

แนวตอบกิจกรรม8.1.1

ค่า สินไหม ทดแทน หมาย ถึง การ เยียวยา ความ เสีย หาย ที่ เกิด จาก การ ละเมิด

แนวตอบกิจกรรม8.1.2

หลัก การ พื้น ฐาน ของ ค่า สินไหม ทดแทน จำแนก ออก เป็น 2 หลัก การ คือ 1) หลัก การก ลับ คืน สู่ ฐานะ

เดิม และ 2) หลัก การ ลงโทษ

ตอนที่8.2ประเภทของค่าสินไหมทดแทน

แนวตอบกิจกรรม8.2.1

กรณี ต้อง ชดใช้ ราคา ทรัพย์ ซึ่ง เอา ของ ผู้ อื่น ไป โดย ละเมิด หรือ ต้อง ชดใช้ ราคา ทรัพย์ อัน ลด น้อย ลง

เพราะ บุบ สลาย ผู้ เสีย หาย อาจ เรียก ดอกเบี้ย ใน ราคา ทรัพย์ นับ แต่ เวลา อัน เป็น ฐาน ที่ ตั้ง แห่ง การ ประมาณ ราคา

ซึ่ง ยัง คง มี ความ เห็น แตก ต่าง กัน อยู่ ว่า ควร เป็น เวลา ใด

แนวตอบกิจกรรม8.2.2

กรณี ทำ ละเมิด เป็น เหตุ ให้ ผู้ อื่น ถึงแก่ ความ ตาย ทันที นั้น ค่า สินไหม ทดแทน ที่ เป็น ตัว เงิน ได้แก่

ค่า ปลงศพ ค่า ใช้ จ่าย อัน จำเป็น อย่าง อื่น ค่า ขาด ไร้ อุปการะ และ ค่า ขาด แรงงาน

แนวตอบกิจกรรม8.2.3

ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย อัน มิใช่ ตัว เงิน ตาม ปพพ. ของ ไทย เช่น ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ

ความ เสีย หาย อัน มิใช่ ตัว เงิน กรณี ทำให้ เสีย หาย แก่ ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ หรือ กรณี หญิง ต้อง เสีย หาย เพราะ

ถูก ละเมิด อัน เป็น ความ ผิด อาญา เกี่ยว กับ เพศ

Page 35: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-35

แนวตอบกิจกรรม8.2.4

กฎหมาย พิเศษ ที่ ให้ อำนาจ ศาล ไทย กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ เช่น พระ ราช บัญญัติ

ความ รับ ผิด ต่อ ความ เสีย หาย ที่ เกิด ขึ้น จาก สินค้า ที่ ไม่ ปลอดภัย พ.ศ. 2551

ตอนที่8.3แนวทางในการกำหนดค่าสินไหมทดแทน

แนวตอบกิจกรรม8.3.1

ปพพ. มาตรา 438 วรรค หนึ่ง ได้ วาง แนวทาง ใน การ ใช้ ดุลพินิจ ของ ศาล เพื่อ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน

ใน กรณี ละเมิด ทั่วไป โดย ให้ พิเคราะห์ ตาม ควร แก่ พฤติการณ์ และ ความ ร้าย แรง แห่ง ละเมิด

แนวตอบกิจกรรม8.3.2

ใน การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ ศาล อาจ ใช้ ปัจจัย ต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง กับ พฤติกรรม

การก ระ ทำ ละเมิด ของ จำเลย เช่น พฤติกรรม ที่ ชั่ว ร้าย ของ จำเลย ผล ประโยชน์ ที่ จำเลย ได้ รับ จาก การก ระ ทำ

ละเมิด เป็น แนวทาง ใน การ พิจารณา

Page 36: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-36

แบบประเมินผลตนเองหลังเรียน

วัตถุประสงค ์ เพื่อ ประเมิน ความ ก้าวหน้า ใน การ เรียน รู้ ของ นักศึกษา เกี่ยว กับ เรื่อง “ค่า สินไหม ทดแทน

เพื่อ ละเมิด”

คำแนะนำ อ่าน คำถาม แล้ว เขียน คำ ตอบ ลง ใน ช่อง ว่าง นักศึกษา มี เวลา ทำ แบบ ประเมิน ชุด นี้ 30 นาที

1. จง อธิบาย หลัก การ พื้น ฐาน ของ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ

2. พระ ราช บญัญตั ิความ รบั ผดิ ตอ่ ความ เสยี หาย ที ่เกดิ ขึน้ จาก สนิคา้ ที ่ไม ่ปลอดภยั พ.ศ. 2551 ม ีหลกั การ กำหนด

ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ เช่น ไร จง อธิบาย

3. จง อธิบาย แนวทาง ใน การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน โดย ทั่วไป ของ ศาล ไทย

Page 37: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-37

เฉลยแบบประเมินผลตนเองหน่วยที่8

ก่อนเรียน1. การ ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิด ตาม ปพพ. ของ ไทย มี หลัก การ พื้น ฐาน เช่น เดียว กับ

ประเทศ ที่ ใช้ ระบบ กฎหมาย Civil Law คือ หลัก การ ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน ตาม ความ เสีย หาย ที่แท้ จริง ที่

ผู้ เสีย หาย ได้ รับ เพื่อ มุ่ง ให้ ผู้ เสีย หาย กลับ คืน สู่ ฐานะ เดิม เสมือน ไม่มี การ ละเมิด หรือ กลับ คืน ใกล้ เคียง ฐานะ

เดิม มาก ที่สุด

2. กรณี กระทำ ละเมิด เป็น เหตุ ให้ เสีย หาย แก่ ร่างกาย หรือ อนามัย ปพพ. ของ ไทย ให้ สิทธิ ผู้ เสีย หาย

เรียก ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ที่ เป็น ตัว เงิน เช่น ค่า ใช้ จ่าย ซึ่ง ผู้ เสีย หาย ต้อง เสีย ไป และ ค่า เสีย หาย เพื่อ

การ เสีย ความ สามารถ ประกอบ การ งาน ทั้ง ใน ปัจจุบัน และ ใน อนาคต นอกจาก นั้น ยัง ให้ สิทธิ ผู้ เสีย หาย เรียก

ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ความ เสีย หา ยอื่นๆ ที่ มิใช่ ตัว เงิน อัน เกิด ขึ้น จาก การก ระ ทำ ละเมิด ต่อ ร่างกาย หรือ

อนามัย อีก ด้วย

3. การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ หรือ ค่า เสีย หาย เชิง ลงโทษ (Punitive Damages)

นั้น มี วัตถุประสงค์ เพื่อ ลงโทษ ผู้ กระทำ ละเมิด ที่ มี พฤติกรรม ชั่ว ร้าย ให้ เข็ด หลาบ และ ป้อง ปราม มิ ให้ บุคคล อื่น

ใน สังคม ถือ เป็น เยี่ยง อย่าง ใน อนาคต ดัง นั้น ใน การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ ศาล จึง ต้อง นำ

ปัจจัย ต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง กับ พฤติกรรม การก ระ ทำ ละเมิด ของ จำเลย เช่น พฤติกรรม ชั่ว ร้าย ของ จำเลย ระยะ เวลา

ของ การ ละเมิด ผล ประโยชน์ ที่ จำเลย ได้ รับ จาก การก ระ ทำ ละเมิด ฯลฯ มา ใช้ เป็น แนวทาง ใน การ พิจารณา

หลังเรียน1. หลัก การ พื้น ฐาน ของ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ คือ หลัก การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน

เพิ่ม เติม ขึ้น นอก เหนือ จาก ความ เสีย หาย ที่แท้ จริง เพื่อ เป็นการ ลงโทษ ผู้ กระทำ ละเมิด ที่ มี พฤติการณ์ อัน ชั่ว ร้าย

ให้ มี ความ เข็ด หลาบ (punishment) และ ป้อง ปราม มิ ให้ บุคคล ใน สังคม ถือ เอา พฤติกรรม นั้น เป็น เยี่ยง อย่าง ใน

อนาคต (deterrence) หลัก การ นี้ จึง มิได้ มุ่ง ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน ตาม ความ เสีย หาย ที่แท้ จริง ที่ ผู้ เสีย หาย

ได้ รับ

2. พระ ราช บัญญัติ ความ รับ ผิด ต่อ ความ เสีย หาย ที่ เกิด ขึ้น จาก สินค้า ที่ ไม่ ปลอดภัย พ.ศ. 2551 มี

หลัก การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ เป็นการ ลงโทษ ผู้ ประกอบ การ ที่ มี พฤติกรรม ชั่ว ร้าย ได้แก่ ผู้ ประกอบ

การ ซึ่ง ได้ ผลิต นำ เข้า หรือ ขาย สินค้า โดย รู้ อยู่ ว่า สินค้า นั้น ไม่ ปลอดภัย หรือ มิได้ รู้ เพราะ ความ ประมาท เลินเล่อ

อย่าง ร้าย แรง หรือ เมื่อ รู้ เช่น นั้น ภาย หลัง การ ผลิต นำ เข้า หรือ ขาย สินค้า นั้น แล้ว ไม่ ดำเนิน การ ใดๆ ตาม สมควร

เพื่อ ป้องกัน มิ ให้ เกิด ความ เสีย หาย ทั้งนี้ เพื่อ ลงโทษ ผู้ ประกอบ การ ดัง กล่าว ให้ เข็ด หลาบ และ ป้อง ปราม มิ ให้

บุคคล อื่น ถือ เป็น เยี่ยง อย่าง ใน อนาคต โดย ให้ อำนาจ ศาล กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ การ ลงโทษ เพิ่ม ขึ้น จาก

Page 38: หน่วย ที่ ค่า สินไหม ทดแทน เพื่อ ละเมิดละเมิด เช่นการคืนทรัพย์ การใช้ราคา

8-38

จำนวน ค่า สินไหม ทดแทน ความ เสีย หาย ที่แท้ จริง ที่ ศาล กำหนด ได้ ตาม สมควร แต่ ไม่ เกิน 2 เท่า ของ ค่า สินไหม

ทดแทน ความ เสีย หาย ที่แท้ จริง

3. การ กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน โดย ทั่วไป ตาม ปพพ. ของ ไทย ศาล มี อำนาจ ใช้ ดุลพินิจ ใน การ

กำหนด ค่า สินไหม ทดแทน สถาน ใด เพียง ใด โดย พิจารณา ตาม ควร แก่ พฤติการณ์ และ ความ ร้าย แรง แห่ง ละเมิด

ตาม หลัก การ ทั่วไป อัน เป็น พื้น ฐาน ของ การ ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน (Principle of Compensation) ศาล จึง

ต้อง มุ่ง พิจารณา ถึง การ เยียวยา ความ เสีย หาย ที่แท้ จริง เพื่อ ให้ ผู้ เสีย หาย กลับ คืน สู่ ฐานะ เดิม มาก ที่สุด