29
บทที2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ การศึกษา เรื่อง ปญหา อุปสรรคของพนักงานสอบสวนในการปฏิบัติหนาที่ของพนักงาน สอบสวน ในการสอบสวนประชาชนที่กระทําความผิดในคดีอาญาตามกฎหมาย ผูศึกษาไดทบทวน แนวคิด ทฤษฏี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ซึ่งสามารถนําเสนอแนวคิดเปนลําดับ ไดดังตอไปนี1. แนวคิดและทฤษฎีวาดวยการนํานโยบายไปปฏิบัติ (policy implementation) 2. แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการ (management theory) 3. การปฏิบัติตัวของพนักงานสอบสวน 4. ความรับผิดชอบของพนักงานสอบสวน 5. ขอมูลทั่วไปของสถานีตํารวจนครบาลจรเขนอย 6. กรอบแนวคิดในการศึกษา แนวคิดและทฤษฎีวาดวยการนํานโยบายไปปฏิบัติ (policy implementation) การนํานโยบายไปปฏิบัติ (policy implementation) มีความสําคัญอยางยิ่งเพราะการนํา นโยบายไปปฏิบัติที่ปรากฏอยูทั่วไปในกิจกรรมของรัฐ คือ ขั้นตอนเกี่ยวกับมาตรการของนโยบายทีเกิดขึ้นระหวางกระบวนการกําหนดนโยบาย และเมื่อนโยบายไดรับความเห็นชอบในการนําไป ประกาศใชในลักษณะตาง อาทิเชน พระราชบัญญัติคําสั่งฝายบริหารหรือมติคณะรัฐมนตรีคํา พิพากษาของศาลสูงหรือศาลฎีกาหรือประกาศกฎกระทรวงตาง เมื่อนโยบายถูกนําไปปฏิบัติจะ สงผลกระทบตอประชาชนที่เกี่ยวของ ถานโยบายไมมีความเหมาะสมจะไมสามารถแกไขปญหา ใหกับประชาชนตามที่คาดหวังไว ไมวานโยบายนั้นจะถูกนําไปปฏิบัติใหดีอยางไรก็ตาม แสดงวา นโยบายนั้นประสบความลมเหลว ในกรณีที่นโยบายดี แตถาการนํานโยบายไปปฏิบัติไมดี ก็ จะไมสามารถบรรลุเปาหมายตามประสงค ที่ผูกําหนดนโยบายตองการ แสดงใหเห็นวาการนํา นโยบายไปปฏิบัติมีความซับซอนมาก ดังนั้น จึงไมสามารถจะคาดหวังไดวาจะกระทําให สําเร็จไดดวยวิธีการกิจวัตร (routine fashion) ขั้นตอนของการนํานโยบายไปปฏิบัติ ถือเปนขั้นตอนหนึ่งในกระบวนการนโยบาย (policy process) ซึ่งในอดีตมักจะถูกมองขามไปหรือไมไดรับความสนใจเทาใดนัก การตัดสินใจ

บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

8

บทที่ 2

แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การศึกษา เร่ือง ปญหา อุปสรรคของพนักงานสอบสวนในการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานสอบสวน ในการสอบสวนประชาชนที่กระทําความผิดในคดีอาญาตามกฎหมาย ผูศึกษาไดทบทวนแนวคดิ ทฤษฏี และงานวจิัยที่เกี่ยวของ ซ่ึงสามารถนําเสนอแนวคิดเปนลําดับ ไดดังตอไปนี ้

1. แนวคดิและทฤษฎีวาดวยการนํานโยบายไปปฏิบัต ิ(policy implementation) 2. แนวคดิเกีย่วกับการบรหิารจัดการ (management theory) 3. การปฏิบัติตัวของพนกังานสอบสวน 4. ความรับผิดชอบของพนกังานสอบสวน 5. ขอมูลทั่วไปของสถานีตํารวจนครบาลจรเขนอย 6. กรอบแนวคิดในการศกึษา

แนวคิดและทฤษฎีวาดวยการนํานโยบายไปปฏิบัติ (policy implementation)

การนํานโยบายไปปฏิบัติ (policy implementation) มีความสําคัญอยางยิ่งเพราะการนํานโยบายไปปฏิบัติที่ปรากฏอยูทั่วไปในกจิกรรมของรัฐ คือ ขั้นตอนเกีย่วกับมาตรการของนโยบายที่เกิดขึ้นระหวางกระบวนการกําหนดนโยบาย และเมื่อนโยบายไดรับความเห็นชอบในการนําไปประกาศใชในลักษณะตาง ๆ อาทิเชน พระราชบัญญัติคําสั่งฝายบริหารหรือมติคณะรฐัมนตรีคําพิพากษาของศาลสูงหรือศาลฎีกาหรือประกาศกฎกระทรวงตาง ๆ เมื่อนโยบายถูกนําไปปฏิบัติจะสงผลกระทบตอประชาชนที่เกี่ยวของ ถานโยบายไมมีความเหมาะสมจะไมสามารถแกไขปญหาใหกับประชาชนตามที่คาดหวังไว ไมวานโยบายนั้นจะถูกนําไปปฏบิัติใหดีอยางไรก็ตาม แสดงวานโยบายนั้นประสบความลมเหลว ในกรณีทีน่โยบายดี แตถาการนํานโยบายไปปฏิบัติไมดี ก็จะไมสามารถบรรลุเปาหมายตามประสงค ที่ผูกําหนดนโยบายตองการ แสดงใหเห็นวาการนํานโยบายไปปฏิบัติมีความซับซอนมาก ดังนั้น จึงไมสามารถจะคาดหวังไดวาจะกระทําใหสําเร็จไดดวยวธีิการกิจวัตร (routine fashion)

ขั้นตอนของการนํานโยบายไปปฏิบัติ ถือเปนขั้นตอนหนึ่งในกระบวนการนโยบาย (policy process) ซ่ึงในอดีตมกัจะถูกมองขามไปหรือไมไดรับความสนใจเทาใดนกั การตัดสินใจ

Page 2: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

9

เลือกนโยบาย ที่ไมเหมาะสม เมื่อนํานโยบายไปปฏิบตัิยอยทําใหนโยบายดังกลาวไมบรรลุผลตามความตองการและอาจทําใหปญหาที่มีอยูเดิมยิ่งทวีความรุนแรงขึ้นไปอีก

ในอดีตการศึกษานโยบายสาธารณะจะแบงออกเปน 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนแรก การกอรูป และการออกแบบนโยบาย ขั้นตอนที่สอง คือ การนํานโยบายไปปฏิบัติ และขั้นตอนสุดทาย คือ การประเมินผลนโยบาย อยางไรกต็าม ในสวนของการนํานโยบายไปปฏิบัติเปนสวนที่เปนปญหา โดยตลอด โดยเฉพาะภายใตแนวทางการศึกษาแบบ “กลองดํา” (black box) ซ่ึงสรุปวาการศึกษา การตดัสินใจนโยบาย (policy decision) คือ การศึกษาการนํานโยบายไปปฏิบัติโดยอัตโนมัติ ทั้งนี้เพราะการตัดสินใจนโยบายมุงทีจ่ะใหเกิดผลลัพธที่ตั้งใจและพึงปรารถนา ทําใหการศึกษามุงความสนใจ ไปที่การปรับปรุงคุณภาพการตัดสินใจ และการเสนอแนะตวัแบบตวัแบบสําหรับการตัดสินใจนโยบายโดยขยายความคิดเกีย่วกับโอกาสความสําเร็จของแตละทางเลือกนโยบายใหชดัเจน (สมบัติ ธํารงธัญญวงศ, 2548, หนา 395 - 396)

นโยบายเปนเรือ่งของการเลือกดําเนนิการตอประเด็นเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ไมวาจะเปนปญหา ที่พึ่งประสงคหรือไมพึงประสงค ความตองการพัฒนา การปฏิบัติภารกิจ หนาที่ หรือการเตรียมการสําหรับอนาคต ดังนั้นคําวานโยบายจึงเกีย่วของกับประเด็นปญหา การดําเนินการหรือไมดําเนนิการ การเลือกแนวทางดําเนินการ การตัดสินใจ ดังมีผูใหความหมายไวตาง ๆ เชน หมายถึง การเลือกอยางมีสติสัมปชัญญะระหวางทางออกสองทางในการนําทิศทางสังคม ซ่ึงเทากับเปนการแนะวานโยบาย คือ ผลที่เกิดจากการเลือกของผูมีอํานาจในการกําหนดนโยบายโดยถือวาในการดําเนินการใด ๆ ยอมมีหนทางใหเลือกอยางนอยสองทางหรือมากกวานั้น และหลังจากผูกําหนดนโยบายพิจารณาอยางรอบคอบเพียงพอแลว จึงไดนําทางเลือกทางหนึ่งมากําหนดเปนนโยบายในความคิดนี้นโยบายไมใชส่ิงที่ถูกกําหนดมาจากอารมณ ความรูสึก หรือการตัดสนิใจฉาบฉวย และไมใชส่ิงทีม่ีผูมายัดเยยีดใหดําเนนิการ แตนโยบาย เปนทางเลือกหนึ่งในบรรดาหลายทางเลือกในการดําเนินการตอปญหาสาธารณะหนึ่ง และผูกําหนดนโยบายไดวิเคราะหอยางมีสติสัมปชัญญะแลวกอนประกาศเปนนโยบาย ความหมายของนโยบายอีกนัยหนึ่ง ซ่ึงเปนความหมายในทางปฏิบัติจะหมายถึงคําแถลงลวงหนาในเรือ่งการกระทําหรือขอผูกพันของรัฐบาลเกี่ยวกับกจิกรรมบางอยางในอนาคต เชน นโยบายการศกึษา นโยบายสิง่แวดลอม หรือ นโยบายอุตสาหกรรม เปนตน ตามความหมายนีน้โยบายตองเปนเรื่องเปดเผยทั่วไป มีการประกาศลวงหนากอนดําเนินการจริง เปนเรื่องเกีย่วกับกิจกรรมหรือประเด็นปญหาบางอยาง และยังมีคําอธบิายอื่น ๆ อีก เชน นโยบายไมใชเปนผลของการตัดสินใจปกตธิรรมดาโดยทั่วไป แตเปนแนวทางการกระทํา (course of action) ซ่ึงเปนการกําหนดเสนทางหรือทศิทางดําเนินการอยางใดอยางหนึ่งที่สําคัญ กลาวโดยสรุปคําวา นโยบาย หมายถึง ขอความที่แถลงแนวทางการดําเนินการอยางใดอยางหนึ่งที่สําคัญ อันเปนผลมาจากการไตรตรอง

Page 3: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

10

เลือกตัดสินใจจากทางเลือกตาง ๆ ที่เปนไปได นโยบายจึงเปนกรอบกาํหนดการดําเนินการเกี่ยวกบัประเด็นกิจกรรมหรือประเดน็ปญหาอยางใดอยางหนึ่ง ถือเปนขอผูกพันหรือกติกาการดําเนินการ ซ่ึงผูกําหนดนโยบายตองการใหผูปฏิบัติยึดถือ (ปรัชญา เวสารัชช และคณะ, 2546, หนา 5 - 6)

นอกจากนั้นแลวนักวิชาการบางทานก็ใหความเห็นวา นโยบายสาธารณะควรหมายถึงแนวทาง การดําเนินกิจกรรมของรัฐบาล ซ่ึงรวมทั้งกิจกรรมที่ผานมาในอดีต กิจกรรมที่กําลังดําเนนิอยูในปจจุบัน และกิจกรรมที่คาดวาเกิดขึ้นในอนาคต ซ่ึงในทางปฏิบัติ คือ ทางเลือกที่รัฐบาลไดกําหนดขึ้นเพื่อแกปญหา บรรเทาปญหา และหรือปองกันปญหาตาง ๆ ตามภาระหนาที่ของรฐับาลสําหรับกิจกรรมของรัฐเปนเรื่องที่มคีวามเกีย่วของและสงผลกระทบตอสาธารณะชน รวมทั้งยังหมายถึง กิจกรรมที่ดําเนินการหรือควบคุมการดําเนินการโดยองคการของรัฐ (ปรัชญา เวสารัชช และคณะ, 2546, หนา 7 - 8)

การนํานโยบายไปปฏิบัติ (policy implementation) เปนขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการนโยบายสาธารณะ ซ่ึงโดยปกติแบงออกเปน 3 ขั้นตอน คอื การกอรูปและการออกแบบนโยบายการนํานโยบายไปปฏิบัติ และการประเมินผลนโยบาย

นักวิชาการตาง ๆ ไดใหความหมายเกี่ยวกับการนํานโยบายไปปฏิบัติ ไดแก วิลเล่ียมส (Williams, 1971 อางถึงใน มยุรี อนุมานราชธน, 2547, หนา 208)

ไดกลาววาการนํานโยบายไปปฏิบัติ หมายถึง ความสามารถขององคกรในการรวบรวมทรัพยากรทางการบริหารในองคกรใหสามารถปฏิบัติงานเพื่อบรรลุ วัตถุประสงคขององคกร ซ่ึงตองมีการจัดหา/ ตระเตรียมวธีิการทั้งหลายเพื่อจะทําใหการดําเนินงานตามนโยบายสําเร็จลุลวง โดยตองใชความพยายามอยางตอเนื่องในชวงระยะเวลาหนึ่ง ๆ จนสามารถดําเนินการไดสําเร็จ

ดังนั้น การนํานโยบายไปปฏิบัติ จึงหมายถึง การแปลงวตัถุประสงคที่กําหนดไวในนโยบาย ซ่ึงอาจเปนกฎหมาย หรือคําสั่งของรัฐบาล หรือคณะรัฐมนตรีใหเปนแนวทางแผนงาน/ โครงการกิจกรรม ที่เปนรูปธรรมประกอบดวย การจดัหาทรัพยากรตาง ๆ เพื่อดําเนินการใหสําเร็จลุลวงตามวัตถุประสงค การวางแผนโครงการเพื่อตอบสนองวัตถุประสงคที่กําหนด การออกแบบองคกรและการดําเนินงาน ใหเปนไปตามแนวทางดําเนินงานโครงการที่กําหนด การออกแบบองคกรและการดําเนินการใหเปนไปตามแนวทางการดําเนินงานโครงการที่กําหนดไว แตความสําเร็จของการนํานโยบายไปปฏิบัตจิะตองคํานึงถึงสภาพแวดลอมของการกําหนดนโยบายและการปฏิบตัิตามนโยบายอีกดวย จึงขอนํามากลาวไว ณ ที่นี ้

1. สภาพแวดลอมกับการกําหนดนโยบายสาธารณะ นโยบายสาธารณะอยูภายใตอิทธิพลของปจจัยสภาพแวดลอมตาง ๆ ที่จะสงผลกระทบ

โดยตรงตอความตองการของบุคคลและกลุมบุคคลตาง ๆ ซ่ึงบุคคลและกลุมบุคคลดังกลาวก็จะทํา

Page 4: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

11

การเรียกรองยืน่ขอเสนอ เจรจาตอรอง และพยายามผลักดนัประเดน็ปญหาความตองการของตนตอผูกําหนดนโยบาย เพื่อใหทําการตอบสนองดวยการกระทําหรืองดกระทําการบางสิ่งบางอยาง ดังนัน้การทําความเขาใจในปจจยัสภาพแวดลอมและแนวโนมการเปลี่ยนแปลงในอนาคตจะชวยทําใหผูกําหนดนโยบายสามารถคาดการณปญหาอุปสรรคและความตองการ ตลอดจนขอเสนอของบุคคลและกลุมบุคคลตาง ๆ ไดอยางชัดเจน รวมทั้งสามารถเสนอแนะหรือจัดวางนโยบายสาธารณะที่ถูกตองเหมาะสมตอสภาพการณตาง ๆ เพื่อใหสามารถธํารงรักษาการสนับสนุนทางการเมืองจากประชาชน และบุคคล ฝายตาง ๆ ที่เกี่ยวของ โดยปจจยัสภาพแวดลอมดังกลาวมีดงันี้ (ทศพร ศิริสัมพันธ, 2539, หนา 75 - 116)

1.1 ปจจัยสภาพแวดลอมและแนวโนมทางเศรษฐกิจ ปจจัยสภาพและแนวโนมทางเศรษฐกิจเปนตัวแปรที่สําคัญมากประการหนึ่งเนื่องจาก

ภาวะเศรษฐกจิมักจะเปนตวักําหนดความตองการของประชาชน ซ่ึงทําใหรัฐบาลตองกําหนดนโยบายสาธารณะขึ้นมาเพื่อตอบสนองความตองการของประชาชนและความเปลีย่นแปลงทางเศรษฐกิจในดานตาง ๆ อยางไรก็ดี การวิเคราะหสภาพเศรษฐกิจในอนาคตเปนสิ่งที่ไมอาจทําไดอยางถูกตองแมนยํานกั เพราะการเปลี่ยนแปลงในปจจยัตาง ๆ ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ ตางสงผลกระทบตอระบบเศรษฐกิจอยูตลอดเวลา

1.2 ปจจัยสภาพแวดลอมและแนวโนมทางดานสังคม การเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ ที่เกิดขึน้อยางรวดเร็วในชวงที่ผานมา ทําใหสังคมไทย

เกิดความซับซอนมากขึ้น มีลักษณะของการเปนสังคมเปด (open society) และการขยายตัวของชนชั้นกลางเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งมีปญหาสังคมใหม ๆ เกิดขึ้นดวย เชน ปญหายาเสพติด และปญหาโรคเอดส เปนตน ในขณะเดยีวกนัโครงสรางระบบเศรษฐกิจที่เปล่ียนจากการพึ่งพิงภาคเกษตรกรรมมาสูการพึ่งพิงภาคอุตสาหกรรมและบริการไดทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดานโครงสรางของตลาดแรงงาน การอพยพจากภาคเกษตรกรรมเขาสูเมืองและยังมีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงดานโครงสรางของตลาด แรงงาน การอพยพออกจากภาคเกษตรกรรมเขาสูเมืองและยังสงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมอีกดวย

1.3 ปจจัยสภาพแวดลอมและแนวโนมทางดานการเมือง ในชวงเวลาทีผ่านมา ไดมีการเปลี่ยนแปลง และปรับเปลี่ยนโครงสรางทางเศรษฐกจิ

และสังคมหลายประการดังที่กลาวมาแลวขางตน ซ่ึงมีผลกระทบตอการพัฒนาทางการเมืองของประเทศไทยเปนอยางมาก โดยเฉพาะการขยายตวัของชนชั้นกลางนกัธุรกิจเอกชนและกลุมผลประโยชนทางธุรกิจ รวมจนถึงกลุมผูใชแรงงาน นักเรียนและนักศกึษา ตลอดจนความเขมแข็ง

Page 5: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

12

ของฝายการเมอืงนอกจากนี้ ยังทําใหเกิดการเปลี่ยนขั้วอํานาจจากกลุมทหารและขาราชการประจาํไปสูกลุมนักการเมืองและนกัธุรกิจเอกชน รวมทั้งมีกระแสเรียกรองใหมีการกระจายอํานาจสูทองถ่ิน และการเปลี่ยนบทบาทของรัฐบาลใหเหมาะสม

1.4 ปจจัยสภาพแวดลอมและแนวโนมทางดานเทคโนโลย ี ในทศวรรษทีผ่านมาเปนยุคที่โลกมีการพัฒนาทางดานเทคโนโลยีอยางรวดเร็วและมี

การถายทอดเทคโนโลยีระหวางประเทศในรูปแบบตาง ๆ ทั้งเทคโนโลยีการผลิตในภาคอุตสาหกรรม การสื่อสารโทรคมนาคม และคอมพวิเตอร เปนตน ดังนั้นการวางนโยบายสาธารณะในอนาคตจําเปนตองพิจารณาถึงพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงทางดานเทคโนโลยีเพื่อนําเทคโนโลยีนั้นมาใชประโยชน ในขณะเดยีวกันกเ็พือ่จะไดเตรียมพรอมในการดแูลและควบคมุการนําเทคโนโลยีไปใชประโยชนดวย

2. ปจจัยที่มีผลตอการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติ การนํานโยบายไปสูการปฏิบัติ บางเรื่องเปนเรื่องที่งาย เพราะมีกระบวนการกลไกที่

ดําเนินงานไมสลับซับซอน ก็จะมีปจจยัที่ไปมีผลตอการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติไมมาก แตการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติบางเรื่องเปนเรื่องที่ไมงายนกั เพราะมีกระบวนการกลไกทีด่ําเนินงานยุงยากสลับซับซอน จะทําใหมีปจจัยที่ไปมีผลตอการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติมาก ดังนัน้ ถาไมมีการวางแผนวิเคราะหลวงหนาจะมีปญหาเกิดขึน้ตามมาอยางแนนอน ซ่ึงไดมีแนวคิดวเิคราะหและปจจยัที่มผีลตอการนํานโยบายไปปฏบิัติดังนี้ (จุมพล หนิมพานิช, 2547, หนา 151 - 152)

2.1 ในทัศนะของวิลเล่ียมส (Williams) มคีวามเหน็วาการศึกษาเรื่องการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติเปนจุดออนทีสุ่ดในกระบวนการศึกษานโยบายสาธารณะ ดังนี้ วิลเล่ียมส (Williams) จึงเสนอวาการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติจําเปนอยางยิ่งทีจ่ะตองมีการวางแผนวิเคราะหลวงหนาตามขั้นตอน ดังนี้

2.1.1 ตองวิเคราะหนโยบายใหถองแทไมวาจะเปนเรื่องของความหมาย ความชัดเจน ความเจาะจง และความสาเหตุสมผล ทั้งนี้ เพื่อขจดัความคลุมเครือหรือความกาํกวมอันจะเปนที่มาของปญหาในการปฏิบัติ

2.1.2 จะตองวเิคราะหความพรอมขององคกรในเรื่องบุคลากร การบริหารงาน 2.1.3 กําหนดรูปแบบขององคกร และการบริหารงานรวมถึงปจจัยตาง ๆ ที่พึงตอง

มี ทั้งนี้เพื่อทําใหงานบรรลุผลสําเร็จ

Page 6: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

13

สวนในระหวางการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติ วิลเล่ียมส (williams) คิดวาควรมีการประเมินผลเปนระยะ ๆ ทั้งนี้ เพื่อใหทราบวางานที่ปฏิบัตินั้นสอดคลองกับเปาหมายมากนอยเพียงใดและในกรณีที่เกิดปญหาหรืออุปสรรคจะไดสามารถแกไขไดตรงจุดและทนัการ

2.2 ปจจัยสําคญั ๆ ที่มีผลกระทบตอการนํานโยบายไปสูการปฏิบัตินั้น เอ็ดเวอรด และ ชารกันสกี้ย (Edwards & Sharkansky) ไดเสนอวามีอยู 5 ปจจยัดวยกันที่ควรใหความเอาใจใสไดแก

2.2.1 ระบบสื่อสารในประเด็นนี้ผูที่ทําหนาที่ในการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติจะตองมีความรูความเขาใจวาจะตองทําอะไรบาง การสั่งงานตลอดจนคําสั่งตาง ๆ จะตองสั่งใหตรงจุด ตรงหนวย และที่สําคัญกค็ือ จะตองชัดเจน และคงเสนคงวาไมขัดแยงกับคําสั่งอื่นงานจึงจะเดินหนาไปดวยด ี

2.2.2 ทรัพยากรและอํานาจในการจดัสรรหรือแบงปนทรัพยากร อันไดแก อัตรากําลัง และความรูความสามารถของบุคลากร รวมทั้งขาวสารขอมูลตลอดจนอํานาจในการสั่งการ ที่จะตองมอบใหกับผูทีน่ํานโยบายไปสูการปฏิบัติ

2.2.3 ลักษณะของหนวยงานที่นํานโยบายไปสูการปฏิบัติมีลักษณะของ “การเมืองภายในระบบราชการ” หรือไม การแขงขันระหวางหนวยงานเพื่อขยายอาณาจักรของตนเปนอยางไร และผลประโยชนของหนวยงานในการดําเนนิงาน หรือไมดําเนนิงาน อยางใดอยางหนึง่ มีลักษณะเชนไร

2.2.4 มาตรฐานของระเบียบวิธีการที่ใชในการปฏิบัติงาน มาตรฐานของระเบียบเหลานี้บางครั้งอาจเปนประโยชนในการทาํงานที่มีลักษณะเปนงานประจํา แตอาจไมเอื้ออํานวยตอการทํางานลักษณะใหม

2.2.5 การติดตามผลถือเปนปจจัยทีจ่ําเปนหรือสําคัญอยางยิ่ง ทั้งนี้เพื่อใหทราบวาไดมีการปฏิบตัิงานตามแผนจริงหรือไม มปีญญาและอุปสรรคหรือไมอยางไร และควรจะตองหามาตรการ ในการแกไข และปรับปรุงวิธีการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติเพื่อใหไดผลดีขึ้นหรือไมอยางไร

หากสรุปปญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการนํานโยบายไปปฏิบัติในดานตาง ๆ พอสังเขปไดดังนี้ ดานสมรรถนะของหนวยงานที่ปฏิบัติตามนโยบายปญหาจะมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกบัปจจัยตาง ๆ ไดแก บุคลากร เงินทุน วัสดุอุปกรณเครื่องมือใช ทางดานการควบคุมการปฏิบัตินั้นระดับปญหาขึ้นอยูกบัความสามารถของหนวยงานที่รับผิดชอบการแปลงนโยบายไปสูการปฏิบัติความชัดเจนของวัสดุประสงคของแผนและโครงการ ความสอดคลองของภารกิจ และมาตรฐานในการปฏิบัติงานของหนวยงานรองที่รับไปปฏิบัติตอไป สวนทางดานความรวมมือและการตอตานการ

Page 7: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

14

เปล่ียนแปลง ขึ้นอยูกับปจจยัตาง ๆ ไดแก ความตองการที่แทจริงของสมาชิกในหนวยปฏิบัติการเปล่ียนแปลงภารกิจประจํา หนาที่ของหนวยปฏิบัติที่มาสนับสนุนนโยบาย สงผลใหงบประมาณ และอัตรากําลังของหนวยปฏิบัติลดลงในระยะยาว ผูบริหารไมเขาใจสภาพการปฏิบตัิสมาชิกไมไดเขารวมในการกําหนดนโยบาย และสมาชิกขาดความรูความเขาใจในการนํานโยบายไปปฏิบัติ นอกจากนั้นทางดานอํานาจและความสัมพนัธกับองคกรอื่นที่เกีย่วของ ซึง่ระดับความรนุแรงของปญหาขึ้นอยูกับลักษณะของการตดิตอ และความสมัพันธของหนวยงานปฏิบัติ กับหนวยควบคุม ระดับความจําเปนทีห่นวยปฏิบัติจะตองแสวงหาความรวมมือกบัหนวยงานหลักอ่ืน ๆ และระดับความเปนไปไดที่เจาหนาที่ของแตละหนวยงานจะสามารถทํางานรวมกนัได และสุดทายทางดานการสนับสนุน และความผูกพนัดานองคกรหรือบุคคลสําคัญจะมากนอยเพยีงใดขึน้อยูกับ ความสัมพันธระหวางผูนํานโยบายไปปฏิบตัิกับฝายการเมอืงกลุมอิทธิพล หรือกลุมผลประโยชนในสงัคมที่เสียประโยชนจากนโยบาย ความสัมพันธระหวางการปฏิบัตกิับสื่อมวลชน และการสนับสนุนของบุคคลสําคัญในทองถ่ิน หรือ ระดับชาติตอนโยบายนั้น ๆ (ทรงเกียรติ์ ทพิยเทยีมพงษ, 2548, หนา 24)

ตัวแบบการนาํนโยบายไปสูการปฏิบตั ิการพัฒนาการทางดานกรอบแนวคดิของการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติสามารถแบงออก

ไดเปน 3 ชวงคือ ชวงแรกคอืชวงพัฒนากรอบแนวคิด (ค.ศ. 1975 - 1980) ชวงนี้มกีารจําแนกแนวทางไววามีอยู 2 แนวทาง คือแนวทางการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติแบบบนลงลาง (top - down approach) และแนวทางที่สองคือแนวทางแบบลางขึ้นบน (bottom - up approach) ชวงที่สอง คือชวงการนํากรอบแนวคดิไปทดสอบ (ค.ศ. 1980 - 1985) และชวงที่สามคือชวงสังเคราะหปรับปรุงแกไขกรอบแนวคิด (ค.ศ. 1985 - ปจจุบัน) แตขอเท็จจริงเรื่องการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติมักพบวา มาจากกรอบแนวความคิดพื้นฐานหลัก 2 แนวทาง คือ นโยบายไปสูการปฏิบัติแบบบนลงลาง (top - down approach) และแนวทางแบบลางขึ้นบน (bottom - up approach) ซ่ึงนักวชิาการทําการศึกษา และกําหนดเปนตัวแบบ (model) ตาง ๆ ไวหลายตัวแบบ (ปรัญญา เวสารัชช และคณะ, 2546, หนา 105 - 120) เพื่อใหเหมาะสมตอการนํานโยบายไปปฏิบัติใหประสบผลสําเร็จแตตวัแบบที่จะนํามาศกึษาในครั้งนี้ คอื ตัวแบบทางดานการจดัการ(management model) (จุมพล หนิมพานชิ, 2547, หนา 215)

โครงสราง

บุคลากร

Page 8: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

15

ภาพที่ 1 ตวัแบบทางดานการจัดการ

ตัวแบบนี้ใหความสนใจไปที่สมรรถนะขององคกรเพราะเชื่อวาความสําเร็จของการนํา

นโยบายไปสูการปฏิบัติยอมขึ้นอยูกับองคกรที่รับผิดชอบ ในการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติวามขีีดความสามารถที่จะปฏิบัติงานใหสอดคลองกับความคาดหวังเพียงใดในแงดังกลาว นโยบายหรือโครงการที่จะประสบความสําเร็จไดจึงจําเปนจะตองอาศยัโครงสรางองคกรที่เหมาะสม บุคลากรที่องคกรยังจะตองมีความรูความสามารถทั้งทางดานการบริหารและเทคนิคอยางเพยีงพอ นอกจากนี้องคกรยังจะตองมีการวางแผนเตรียมการหรือมีความพรอมเปนอยางดีทั้งทางดานวสัดุ บุคลากร สถานที่ งบประมาณ และเครือ่งมือเครื่องใช ตัวแบบนี้มคีวามเชื่อวา สมรรถนะขององคกรที่ประกอบดวยโครงสราง บุคลากร งบประมาณ สถานที่ และเครื่องมือเครื่องใช มีผลตอการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติที่สัมฤทธิผล

การนํานโยบายไปปฏิบัติใหประสบความสําเร็จนั้น ขึ้นอยูกับปจจัยสําคัญหลายประการ ไดแก แหลงทีม่าของนโยบาย (sources of the policy) ความชดัเจนของนโยบาย (clarity of the policy) ความซับซอนในการบริหารงาน (complexity of the administration) ส่ิงจงูใจของผูปฏิบัติ (incentives for implementers) และการจัดสรรทรัพยากร (resource allocation) เพื่อสนบัสนุนการนํานโยบายไปปฏิบัติใหเหมาะสมและเพียงพอ การจัดสรรทรัพยากรนับวาเปนปจจัยอ่ืน ๆ ครบถวนแลวแตปจจยัเร่ืองทรัพยากรในการสนับสนุนแลว อาจประสบความลมเหลวตั้งแตตนก็เปนได ทรัพยากรในการนํานโยบายไปปฏิบัตินั้นหมายถึง เงินทนุ เวลา และบคุลากร ตลอดจนเทคโนโลยีและอุปกรณทีจ่ําเปนตาง ๆ ปจจัยเร่ืองบุคลากรนั้น นับวามีความสําคัญยิ่งสิ่งที่ผูรับผิดชอบการนํานโยบายไปปฏิบัติตองคํานึ่งถึงอยูเสมอ คือ จะตองเลือกบุคลากรที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการ

งบประมาณ

สถานที่

วัสดุอุปกรณ และเครื่องมือเครื่องใช

การนํานโยบายไปสูการปฏิบัติที่สัมฤทธิผล

สมรรถนะของ องคกร

Page 9: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

16

ปฏิบัติงานและเปนบุคคลทีม่ีความมุงมั่นที่จะทํางานไดสําเร็จ เปนผูมีวินัยและมีความรับผิดชอบสูง คุณสมบัติเหลานี้อาจเปนคณุสมบัติที่หาไดยาก แตผูรับผิดชอบก็ควรใชความพยายามในการแสวงหาใหมากที่สุด เพอใหมั่นใจวาจะไดบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ เพื่อใหความมัน่ใจวา การนํานโยบายไปปฏิบัติ จะประสบความสําเร็จตามเปาประสงค (สมบัติ ธํารงธัญวงศ, 2548, หนา 444 - 445)

ในเรื่องแนวคดิทฤษฎีวาดวยการนํานโยบายไปปฏิบัตินี้ ผูศึกษาจะไดนาํเรื่องที่เกี่ยวของไปประกอบการวิเคราะหขอมูล ไดแก ปจจยัที่มีผลกระทบตอความสําเร็จในการปฏิบตัิตามนโยบาย รวมทั้งตัวแบบในการนํานโยบายไปปฏิบตัิทางดานการจัดการ (management model) ที่ใหความสนใจไปที่สมรรถนะขององคกรที่นํานโยบายไปปฏิบัตใิหสัมฤทธิ์ผลนั้นมีองคประกอบที่สําคัญตาง ๆ ไดแก บุคลากร สถานที่ งบประมาณ และวัสดุอุปกรณ เปนตน ที่ตองมีความพรอมเพื่อใหการปฏิบัติตามนโยบายไปสูความสําเร็จนัน่เอง

ตัวแบบนี้ใหความสนใจไปทีส่มรรถนะขององคกร เพราะเชื่อวา ความสําเร็จของการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติยอม ขึ้นอยูกับองคกรที่รับผิดชอบ ในการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติ วามีขีดความสามารถ ที่จะปฏิบัติงาน ใหสอดคลองกับความคาดหวังเพียงใด ในแงดังกลาว นโยบายหรือโครงการที่จะประสบความสําเร็จได จึงจําเปนจะตองอาศัยโครงสรางองคกรที่เหมาะสม บุคลากรที่องคกรยังจะตองมีความรู ความสามารถ ทั้งทางดานการบริหารและเทคนิคอยางเพยีงพอ นอกจากนี้องคกรยังจะตองมีการวางแผนเตรียมการ หรือมีความพรอมเปนอยางดีทั้งทางดานวสัดุ บุคลากร สถานที่ งบประมาณ และเครือ่งมือเครื่องใช ตัวแบบนี้มคีวามเชื่อวา สมรรถนะขององคกรที่ประกอบดวยโครงสราง บุคลากร งบประมาณ สถานที่ และเครื่องมือเครื่องใช มีผลตอการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติที่สัมฤทธิผล

แนวคิดเกี่ยวกับการบรหิารจัดการ (management theory)

การบริหารจัดการ (management) โดยทัว่ไป จะมีปจจัยหรือองคประกอบทีสํ่าคัญอยู 4 ประการ หรือ 4M’s ที่ทําใหการบริหารจัดการในเรื่องตาง ๆ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงคตามเปาหมาย ไดแก บุคลากร (man) เงิน (money) วัสดุอุปกรณ (material) และการจัดการ (management) โดยปจจัยตาง ๆ ดงักลาวพอสรุปไดดังนี ้

1 คน (man) เปนปจจยัที่สําคัญของการบริหารงานหนวยงานหรือองคกรตาง ๆ ที่จําเปนตองมีคนที่ปฏิบัติงาน ผลงานที่ดีจะออกมาไดตองประกอบดวยบุคคลที่มีคุณภาพและมีความรับผิชอบตอองคการหรือหนวยงานนัน้ ๆ

Page 10: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

17

2. เงิน (money) หนวยงานจาํเปนที่จะตองมีงบประมาณเพื่อการบริหารงาน หากขาดเงิน ขาดงบประมาณ การบริหารงานของหนวยงานก็ยากที่จะบรรลุเปาหมาย

3. วัสดุอุปกรณ (material) การบริหารจําเปนตองมีวัตถุประสงค หรือทรัพยากรในการบริหาร หากหนวยงานขาดวสัดุ อุปกรณ หรือทรัพยากรในการบริหารแลว ก็ยอมจะเปนอุปสรรค หรือกอใหเกิดปญหาในการบริหารงาน ฉะนั้น ทรัพยากรในการบริหารจึงเปนปจจยัพื้นฐานในการบริหารงาน

4. การจัดการ (management) การบริหารจําเปนตองมีการทํางานที่เปนระบบมีการจดัการที่ดีแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบ การควบคุม ตรวจสอบรายงานเปนไปอยางมีระบบ มีขั้นตอน มีระเบียบแบบแผนในการปฏบิัติที่แนชัด

การปฏิบัติตัวของพนักงานสอบสวน

บทบาทและหนาท่ีของพนักงานสอบสวน กรมตํารวจไดแบงหนาที่ของพนักงานสอบสวนดังนี้ (กรมตํารวจ 774/2537) 1. หัวหนาสถานีตํารวจ 1.1 ทําหนาทีห่ัวหนาพนกังานสอบสวน เวนแตหวัหนาสถานีเปนระดบัรองสารวัตร

โดยปฏิบัติตามที่กฎหมาย ระเบียบ คําสั่ง และขอบังคับกําหนด 1.2 งานที่กฎหมาย ระเบียบ คําสั่ง และขอบังคับกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่หวัหนา

สถานีตํารวจโดยเฉพาะ โดยปฏิบัติตามที่กฎหมาย ระเบียบ คําสั่ง และขอบังคับกําหนด 1.3 งานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ 1.4 งานอื่น ๆ ที่ผูบังคับบัญชามอบหมาย 2. หัวหนาพนกังานสอบสวน 2.1 ทําหนาทีห่ัวหนาผูรับผิดชอบงานสอบสวน 2.1.1 ปฏิบัติงานที่เปนหนาที่รับผิดชอบงานสอบสวนตามความเหมาะสม 2.1.2 วางแผนการปฏิบัติงาน 2.1.3 พิจารณาคัดเลือกและมอบหมายใหเจาหนาที่ปฏิบตัิงานตามความเหมาะสม 2.1.4 พิจารณาวินิจฉยัส่ังการในงานที่เปนปญหา 2.1.5 ควบคุม ตรวจสอบการปฏิบัติงานของเจาหนาที ่ 2.1.6 ใหคําปรึกษาแนะนํา ตลอดจนปรับปรุงแกไขการปฏิบัติงานของเจาหนาที ่ 2.1.7 ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที ่ 2.1.8 ติดตอประสานงานกับหนวยงานอืน่

Page 11: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

18

2.1.9 ฝกอบรมใหเจาหนาทีม่ีความรู ความสามารถ ความประพฤติ ระเบียบวนิัยเหมาะสมกับการปฏิบัติหนาที่

2.1.10 เขารวมประชุมคณะกรรมการตาง ๆ ตามที่ไดรับการแตงตั้ง 2.1.11 เขารวมประชุมกับหนวยงานอื่น ๆ ในงานที่เกี่ยวของตามที่ไดรับ

มอบหมาย 2.1.12 แกไขขอขัดของในการปฏิบัติหนาที่ 2.1.13 ตอบปญหาและชี้แจงเรื่องตาง ๆ เกี่ยวกับงานในหนาที ่ 2.2 การศึกษาเก็บรวบรวมสถิติขอมูลที่เกี่ยวกับงานสอบสวน และการดําเนินคดีการ

นําวิทยาการตาง ๆ มาใชในการสอบสวน 2.2.1 รวบรวมสถิติขอมูลที่เกี่ยวของ จัดทาํเปนแฟมขอมลูตาง ๆ โดยอยางนอย

จะตองมีขอมลู ดังตอไปนี ้ 2.2.2 หมายจบั 2.2.3 บัญชีทรัพยที่ถูกประทษุราย และยังไมไดคืน พรอมตําหนิรูปพรรณ 2.2.4 คดีที่งดการสอบสวน เนื่องจากยังไมรูตัวผูกระทําผิด หรือรูแลวแตยังจับกุม

ไมได และยังไมขาดอายุความ 2.2.5 แนวทางและวิธีการสอบสวนที่เคยปฏิบัติ รวมตลอดทั้งผลและปญหา

อุปสรรคขอขัดของ 2.3 สอบสวนคดีอาญาทุกประเภท 2.3.1 ดําเนินการสอบสวนคดีอุกฉกรรจ หรือคดีสําคัญดวยตนเอง ตามระเบียบ

คําสั่ง ที่สํานักงานตํารวจแหงชาติไดกําหนดใหเปนหนาที่ความรับผิดชอบแตละระดับตําแหนงโดยเฉพาะ

2.3.2 เขารวมทําการสอบสวนกับพนกังานสอบสวนในคดีที่พิจารณาเหน็สมควร 2.4 จัดใหสารวัตรสอบสวนและหรือรองสารวัตรสอบสวน ทําหนาที่โดยระหวาง

เขาเวรปฏิบัตหินาที่ ใหเรียกวา รอยเวรสอบสวน โดยมหีลักการสําคัญในการจดัดังนี้ 2.4.1 ใหมีสารวัตรสอบสวนและหรือรองสารวัตรสอบสวนเขาเวร รับผิดชอบงาน

ดานรับแจงความ รับคํารองทุกข หรือกลาวโทษ และดําเนินการสอบสวนเบื้องตน หรือทําการเปรียบเทียบปรับ ในจํานวนที่เหมาะสม ทีจ่ะใหบริการแกประชาชนไดโดยสะดวกและรวดเรว็

2.4.2 ใหสารวัตรสอบสวนและหรือรองสารวัตรสอบสวนดําเนนิการ และรับผิดชอบเกี่ยวกับการดําเนนิการผัดฟองหรือฝากขัง

Page 12: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

19

2.4.3 ใหสารวัตรสอบสวนและหรือรองสารวัตรสอบสวนทําการสอบสวนในเวลาอื่นนอกเหนือจากเวลาที่ปฏิบัติงานตามเหมาะสม

2.4.4 ใหสารวัตรสอบสวนและหรือรองสารวัตรสอบสวนมีเวลาปฏิบัตงิาน และเวลาพักผอนตามมาตรฐานการทํางานเทาทีส่ามารถจะทําได

2.5 พิจารณามอบหมายคดใีหสารวัตรสอบสวนและหรอืรองสารวัตรสอบสวนรับผิดชอบ ดําเนินการตามความเหมาะสม เชน ความรู ความสามารถ ปริมาณงาน โดยถาคดีใดสมควรทําการสอบสวนเปนหมูหรือคณะ ก็ใหส่ังการตามสมควร

2.6 ปกปดใหความคุมครองแกพยานใหกระทําและกํากับดูแลใหมกีารปฏิบัติโดยเครงครัด

2.7 เปรียบเทยีบการกระทําผิดตามกฎหมาย 2.8 รวมกับกําลังปองกันและปราบปรามการทําการตรวจคน จับกุม 2.9 ประสานงานการปฏิบัติหนวยงานอืน่ที่เกี่ยวของอยางใกลชิดและจริงจังเพื่อผลใน

การปองกัน ระงับ ปราบปราม 2.10 การใหความรูและการฝกอบรมขาราชการตํารวจ 2.10.1 จัดใหมีและเก็บรวบรวมกฎหมาย ระเบียบ คําสั่ง ขอบังคับ และเอกสารที่

เปนประโยชนตองานสอบสวน 2.10.2 ดําเนินการใหผูทําหนาที่สอบสวนมีความรูทางการสอบสวนเทคนิคการ

สอบสวน กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ คําสั่ง ที่เปนประโยชนตอการสอบสวน 2.10.3 ฝกอบรมใหผูใตบังคบับัญชามีความรู ความสามารถ ความประพฤติ

ระเบียบวินยั เหมาะสมกับการปฏิบัติหนาที่ โดยการจดัฝกอบรมเอง หรือขอสนับสนุนจากบุคคลหรือหนวยงานอื่น

2.11 งานอื่นที่เกี่ยวของกับงานสอบสวน 2.12 ในชวงเวลาที่ปฏิบัติหนาที่ หากมีความจําเปนเรงดวนใหมีอํานาจมอบหมายให

ผูใตบังคับบัญชาปฏิบัติหนาที่อ่ืนไดตามความเหมาะสม แตทั้งนี้ตองไมเสียหายตอหนาที่การงานประจํา

ความรับผิดชอบของพนกังานสอบสวน ความรับผิดชอบของพนักงานสอบสวน มีดังนี ้1. การรับแจงความ เปนความรับผิดชอบเบื้องตนของพนกังานสอบสวน เกิดขึ้นเมื่อมี

ผูเสียหายหรือผูรับมอบอํานาจหรือผูหนึ่งผูใดมาแจงความไมวาจะโดยวิธีใด ๆ จะตองรับแจงไวทกุ

Page 13: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

20

เร่ือง และดําเนนิการในทางรกัษาความสงบเรียบรอยใหได นอกเหนือจากการเปนพนกังานสอบสวนที่มีหนาที่สอบสวนคดีอาญาตามกฎหมาย ซ่ึงเปนกรณีทีจ่ะตองรับคํารองทุกข และทําการสอบสวนตามระเบียบและกฎหมายตอไป

2 การสืบสวนจับกุมเปนความรับผิดชอบของพนักงานสอบสวนในการสืบหาตัวคนรายและทําการจับกุม เปนการปฏิบัติตามขอบังคับของกระทรวงมหาดไทย วาดวย ระเบียบการสอบสวนคดีอาญา พ.ศ. 2523 และตามกฎหมาย ซ่ึงมีการกําหนดหลักเกณฑและเงื่อนไขไวใหพนักงานชี้ตวัใหจับกุมหรือ กรณีความผิดซ่ึงหนาซึ่งก็ตองทําการจับกมุทันที

3. การควบคุมเปนความรับผิดชอบโดยตรงของพนักงานสอบสวน เกดิขึ้นหลังจากมกีารจับกุมหรือไดตัวผูตองหา ซ่ึงการควบคุมนีม้ีขอบเขต ระยะเวลา วิธีการตามที่ระบุไวในกฎหมายซึ่งการควบคุมในชั้นสอบสวนจะเริ่มตั้งแตแจงขอหา ลงประจําวันควบคุมตัวที่สถานีตํารวจ จะสิ้นสุดเมื่อผูตองหาตายหรือไดรับการปลายชั่วคราวหรือพนกังานสอบสวนผูมีอํานาจเหน็ควรสั่งไมฟองในการควบคุมนี้ พนักงานสอบสวนจะตองแจงสิทธิตามกฎหมายใหผูตองหาทราบดวยวา มีสิทธิพบและปรึกษาผูที่จะเปนทนายสองตอสอง ไดรับการเยีย่มตามสมควรและไดรับการรักษาพยาบาลโดยเร็วเมื่อเกดิการเจ็บปวยและมีสิทธิใหทนายหรือผูซ่ึงตนไววางใจเขาฟงการสอบสวนปากคําตนได (ป. ทวิอาญา ม.7 ทวิ, รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ม.241)

4. การปลอยตัวช่ัวคราวเปนเรื่องที่เกิดขึ้นตอจากการควบคุม เปนสิทธิของประชาชนพระราชบัญญัติประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 ตามกฎหมายและเปนการบริการทีจ่ะตองมอบใหแกประชาชนดวยความสะดวกและรวดเร็ว ซ่ึงพนักงานสอบสวนจะตองอธิบายและมีความเห็นวินิจฉยั การปลอยตัวช่ัวคราวและแจงใหผูรองขอทราบใน 24 ชั่วโมง ซ่ึงหากอนุญาตใหปลอยช่ัวคราวแลว ก็ยังคงสามารถทําการสอบสวนตอไปได ซ่ึงเมื่อทําการสอบสวนเสร็จก็จะใหนายประกันสงตวัผูตองหาเพื่อนาํสงพนักงานอยัการตอไป

5. การสอบสวนเปนความรับผิดชอบที่สําคัญยิ่งของพนักงานสอบสวน เพราะเปนการรวบรวมพยานหลักฐานตาง ๆ ที่ทําเปนรูปสํานวนการสอบสวนเพื่อประสงคจะทราบขอเท็จจริงและพฤติการณตาง ๆ อันเกี่ยวกับความผิดที่กลาวหา เพื่อรูตัวผูกระทําผิดและพิสูจนใหเหน็ความผิดในการปฏิบัติควรตั้งรูปคดีและประเด็นของเรือ่งกอน แลวทาํการสอบสวนไปตามประเด็นในการนี้ กฎหมาย ใหอํานาจพนกังานสอบสวนไวหลายประการและตองกระทําโดยละเอยีดรอบคอบ รัดกุม รวดเร็ว และมคีุณธรรม มีใจเปนกลางทรงไวซึ่งคุณธรรม

6. การปฏิบัติอยางอื่นที่เกีย่วของกับพนกังานสอบสวน เปนการปฏิบัตเิพื่อใหไดขอเท็จจริงมากยิ่งขึ้น ไดแก การคน การออกหมายเรียก การชันสูตรพลิกศพ การออกตําหนิ

Page 14: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

21

รูปพรรณ การพิมพลายนิว้มอื รวมตลอดถึงการเปรียบเทยีบปรับคดีอาญา การปฏิบัติตามขอตกลงระหวางกระทรวงกลาโหมกบักระทรวงหมาดไทย การตดิตอกับหนวยราชการตาง ๆ

7. การสรุปสํานวนและเสนอผูบังคับบัญชา หลักจากทีพ่นักงานสอบสวนไดรวบรวมพยานหลักฐานตาง ๆ และการดําเนินการทั้งหลายอันเกีย่วกับความผิดที่กลาวหาเรยีบรอยแลว กจ็ะสรุปสํานวนมคีวามเหน็ควรสั่งฟอง ควรสั่งไมฟองหรืองดการสอบสวน หรือควรงดการสอบสวนตามหลักเกณฑของกฎหมาย แลวเสนอสํานวนตอผูบังคบับัญชาเพื่อส่ังคดีเปนความเห็นที่แทจริงกอนสงสํานวนใหพนักงานอัยการพิจารณา ซ่ึงเปนหนาที่ของพนักงานสอบสวนจะตองคอยติดตามสํานวนการสอบสวนที่สงใหพนักงานอัยการ

8. การสงสํานวนใหพนกังานอัยการ เมื่อพนักงานสอบสวนทําการสอบสวนเสร็จสิ้นและผูบังคับบัญชามีความเหน็ทางคดีเสร็จสิ้นแลว พนักงานสอบสวนจะสงสํานวนใหพนกังานอัยการพิจารณาทุกคดีไปไมวาจะมคีวามเหน็ทางคดีอยางไร โดยเฉพาะหากเปนความเห็นควรสั่งฟองจะตองสงสํานวนพรอมตวัผูตองหาไปยังพนักงานอยัการ เวนแตผูตองหานั้นถูกขังอยูแลวเปนหนาที่ของพนกังานสอบสวนที่ จะตองคอยติดตอกับพนกังานอัยการ เพื่อจะไดทราบหากมีขอบกพรอง และจําเปนตองชี้แจง หรือดําเนินการสอบสวนเพิ่มเติม เพือ่ใหสะดวกและเกิดผลด ี

9. การติดตามพยานไปเบิกความในศาล เมือ่พนักงานอยัการมีความเหน็สั่งฟองและยื่นฟองผูตองหาตอศาลแลว มีความจําเปนตองสืบพยาน เปนหนาที่ของพนักงานสอบสวนตองคอยติดตามและนําพยานเขาสืบตอศาลใหได โดยมีหนาที่คอยสอดสองดูแลพยานอยูเสมอเพราะหากศาลยกฟอง เพราะเหตุขาดพยานหลักฐานไมสามารถนําพยานเบกิความได พนักงานสอบสวนจะตองมีความผิดตามที่ระบไุวในระเบยีบการตํารวจไมเกี่ยวกับคด ี

ความรับผิดชอบของพนักงานสอบสวนจะเริ่มตั้งแตการรับแจงความ จนกระทั่งคดีขึน้สูศาลโดยการนาํพยานไปเบิกความศาลที่กลาวมาทั้งหมดบางครั้งพนักงานสอบสวนจะตองรับผิดชอบพรอม ๆ กันหลายคดี บางครั้งพนักงานสอบสวนกย็ังจะตองมีหนาที่อ่ืน ๆ ที่ไมเกี่ยวของกับการสอบสวน เชน การออกตรวจทองที่ การตั้งจุดตรวจคน การระดมพิเศษ ทําใหงานของพนักงานสอบสวนมีกวางมากมายกวาในหนาที่อ่ืน และยงัเปนงานที่ตองปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบคําส่ังอีกมากมาย จึงมีโอกาสที่จะบกพรองไดงาย ดังนั้น ในการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานสอบสวนยังตองเปนผูทีพ่รอมดวยกําลังกาย และปญญาอยางมาก ตองเปนผูที่หมั่นศึกษาความรูทั้งเกี่ยวกับ กฎระเบยีบ คําสั่ง ขอบังคับ ตลอดจนแนวคําพิพากษาฎกีา และความเหน็ของพนักงานอัยการอีกครั้ง โดยเฉพาะตองมีความขยันหมัน่เพียรเปนอยางมาก

หลักคุณธรรมของพนักงานสอบสวน 1. จรรยาบรรณของพนักงานสอบสวน

Page 15: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

22

ตามระเบียบการตํารวจเกีย่วกับคดี ขอ 208 บทที่ 1 ลักษณะที่ 8 มาตรการควบคุมพฤติกรรมของพนักงานสอบสวน ในการอํานวยความยตุิธรรมทางอาญาใหคูกรณี โดยพนกังานสอบสวนตองมีคุณธรรม และจรรยาบรรณสูงเปนพิเศษ ตองทําใจใหเปนกลาง ทรงไวซ่ึงความยุติธรรม มีแนวทาง การปฏิบัติ ดังนี ้

1.1 พนักงานสอบสวนพึงยดึถืออุดมคติของตํารวจโดยเครงครัด 1.2 พนังกานสอบสวน พึงระลึกถึงสิทธิและเสรีภาพ ของประชาชนตามกฎหมาย

รัฐธรรมนูญ 1.3 พนักงานสอบสวนพึงอํานวยความยุตธิรรมแกคูกรณีอยางเสมอภาค โดยถูกตอง

ตามกฎหมายและศีลธรรม 1.4 พนักงานสอบสวนพึงเต็มใจรับแจงความและแสวงการรวบรวมพยานหลักฐาน

ตามหลักเกณฑแหงกฎหมาย ไมบิดเบือนขอเท็จจริงแหงคดี 1.5 พนักงานสอบสวนพึงพเิคราะหขอเท็จจริงใหไดเหตผุลอันนาเชื่อวาผูนั้นได

กระทําผิดกอนการแจงความขอกลาวหา จับกุมดําเนิน และใหคํานึงถึงสิทธิการปลอยช่ัวคราว 1.6 พนักงานสอบสวนพึงใหความสําคัญและใหความคุมครองแกพยานในคดีอาญา 1.7 พนักงานสอบสวนพึงรักษาความลับในการสอบสวน 1.8 พนักงานสอบสวนพึงสํานึกและยึดมัน่ คุณธรรมของพนักงานสอบสวน ในการปฏิบัตหินาที่พนกังานสอบสวนนัน้ พนักงานสอบสวนตองมคีุณสมบัติ ดังตอไปนี้

(แสวง ธีระสวัสดิ์, 2530, หนา 21 - 22) 1. รูหลักจิตวิทยา คือ สามารถออนจิตใจใหผูถูกสอบสวนออก และสามารถกระทํา

ตัวเปนนักแสดง หรือเปนนกัธุรกิจได เพราะผูถูกซักถามยอมมีจิตใจแตกตางกัน บางคนชอบปลอบ บางคนชอบขู บางคนชอบสุภาพ

2. มีความรูทั่วไปกวางขวาง เพราะตองสอบสวนซักถามคดีไมจํากดัประเภท และตองขยันศึกษาความรูในเรื่องทั่วไปเพิ่มเติมอยูเสมอ

3. มีเชาวไหวพริบ เพราะการถามปากคํา มีปญหาเฉพาะหนาเกิดขึน้มากมายตองวิเคราะหสาเหตุเมื่อพบปญหาอยูเสมอ ตองรูจักสนใจกระตือรือรน แตไมแสดงกิริยาอาการขมขูผูอ่ืน

4. มีบุคลิกภาพดี พนกังานสอบสวนแตละคนควรมีบุคลิกภาพเปนทีน่าเล่ือมใสและยําเกรง แกผูที่ถูกซักถามลักษณะเปนผูเฉียบขาด แตออนโยนและสามารถแสดงความเห็นอกเห็นใจในตัวผูถูกซักถามไดเปนอยางดี

Page 16: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

23

5. มีความพากเพียรพยายาม ผูถามปากคํามีมานะบากบัน่ในการที่จะซักถามใหไดขอเท็จจริง ทีถู่กตองเสมอ เพราะผูถูกซักถามอาจใหการสับสนวกวน บางครั้งนึกเหตุการณไมคอยออก และบางครั้งอาจใหถอยคําคลาดเคลื่อนจากขอเท็จจริงโดยไมตั้งใจ

6. รูจักทําความเชื่อมโยง คือ รูจักแสดงความสนิทสนมเปนกันเองกับผูถูกซักถามปากคําหากผูถูกซักถามรูสึกวาผูซักถามไมแสดงความเปนกันเองกับตนก็ยอมไมเต็มใจใหขอเท็จจริงอันถูกตองแกผูซักถาม

7. ผูซักถามจะตองไมยอมสญัญาใหกับผูถูกซักถามนิ่งทีต่นปฏิบัติไมได เพราะจะเกดิความ ไมไววางใจในตัวผูซักถาม

8. มีความสามารถในการสังเกต และอานกิริยาทาทางผูถูกซักถาม คือ รูจักสังเกตปฏิกิริยาของผูถูกซักถามตอขอความซักถาม และสามารถเขาใจความหายของอากัปกริิยานั้น ๆ เพื่อจะไดเลือกใชกลวิธีในการซักถามปากคําไดถูกตอง

แนวคิดเก่ียวกับการบริหารงานสอบสวน การสอบสวนคดีอาญา เปนขั้นตอนตามกฎหมายที่สําคญั เพราะพยานหลักฐานตาง ๆ ที่

รวบรวมไวในสํานวนที่สงใหพนักงานอัยการเพื่อพิจารณาจะสั่งฟอง หรือไมฟองผูตองหานั้น พนักงานอยัการจะไดนําพยานหลักฐานดังกลาวไปสืบพยานในชั้นศาลพิจารณา หากการสอบสวนเปนไปอยางขาดประสิทธิภาพของประชาชนแลว ยังสงผลตอการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมดวย ผูบริหารการสอบสวนหรือผูบังคับบัญชาของพนักงานสอบสวนจึงตองมีวิสัยทัศนทีก่วางไกล และคํานึงถึงปจจัยแหงความสําเร็จ เพื่อที่จะใหเกิดผลลัพธของกระบวนการสอบสวนที่เนนถึงคุณภาพวาปริมาณแนวทางปฏิบัติดังนี้

1. ภาวะผูนํา ความสําเร็จของงานจะเกิดขึ้นได ผูนํายอมเปนตัวจักรสาํคัญของความสําเร็จนั้นเพราะจะตองเปนผูตัดสินใจสั่งการกําหนดนโยบายบริหารและมอบการปฏิบัติ ทั้งควบคุมการปฏิบัติใหมีประสิทธิภาพ บุคลากรในองคกรจะมีประสิทธิภาพหรือไมขึ้นอยูที่ผูนําจะแสดงทิศทางที่ชัดเจนเปนแบบอยาง

2. การวางแผนการสอบสวน ผูบริหารงานสอบสวนจะตองกําหนดแนวทางปฏิบัตใิหพนักงานสอบสวน เพื่อใหการอํานวยความยุติธรรมไมสะดุดกับปญหาหรืออุปสรรคใด ๆ การสอบสวนคดีอาญานั้น พนกังานสอบสวนจะตองปฏิบัติ หรือสอบสวนไปตามกฎหมายก็จริงแลวคดีอาญาที่เกิดขึ้น มีทั้งคดีอาญาธรรมดาที่ไมยุงยากไปจนถึงปจจัยสําคญัที่ผูบริหารจะตองคํานงึถึงเพื่อใหการสอบสวนบรรลุผลและประสิทธิภาพ

3. การมอบหมายหนาที่ ในการบริหารการสอบสวนผูบริหารจะตองมอบภารกิจตามความถนัดของแตละคน เพื่อใหการสอบสวนมีความคลองตัวรวดเร็ว การปลอยใหพนักงานสอบสวนแต

Page 17: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

24

ละคนดําเนนิการไปโดยลําพงัอาจจะเกิดความเสียหายขึ้นได ผูบริหารจงึควรใชกลยุทธในการแบงหนาที่ หรือมอบหมายงานตามลักษณะของงานที่เหมาะสมกับความสามารถของพนักงานสอบสวน

4. การประสานงานอยางตอเนื่อง ลําพังการมอบหมายภารกิจใหพนกังานสอบสวนเพียงอยางเดียวไมเพยีงพอที่จะคาดหวังประสิทธิภาพของงาน ผูบริหารสอบสวนจะตองหมัน่ประสานอยางใกลชิดตลอดเวลาของชิ้นงานเพื่อใหการสอบสวยคดีอาญาในแตละชิน้เปนไปอยางตอเนื่องและเกดิประสิทธิภาพ

5. การเรงรัดติดตาม ผูบริหารงานสอบสวนทุกระดบัจะตองคอยติดตามผลงานของพนักงานสอบสวนอยางตอเนื่อง เขาแกไขปญหาระดับตาง ๆ ของขั้นตอนการสอบสวนที่จะเกดิความผิดพลาดหรือหลงทาง เพื่อจะใหพนักงานสอบสวนเกิดความตืน่ตวัอยูตลอดเวลาลดการเกิดความลาชาของการสอบสวนได

6. การวินิจฉยัส่ังการ ผูบริหารที่มีความสามารถเทานั้นที่การวินจิฉัยส่ังการจะเปนตัวช้ีใหเห็นถึงประสิทธิภาพของงาน ดังนั้นผูบริหารจะตองมีความรูและความรอบคอบ มีการตัดสินใจที่ถูกตอง เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพของงานสอบสวน

7. การใหมีสวนรวมในการบริหาร ผูบริหารงานสอบสวน หรือผูบังคับบัญชาพนักงานสอบสวนจะตองใหพนกังานสอบสวนเขามามีสวนรวมในการบริหารตามวาระและเกิดโอกาสอันควรเพราะจะทําใหไดมีสวนรวมในการบริหารดวยนั้น จะทําใหพนกังานสอบสวน เกิดความภาคภูมใิจ ในชิ้นงานซึ่งสงผลใหเกิดประสิทธิภาพของงานดวย

8. ศึกษาสภาพแวดลอม สังคมที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเรว็มีผลตอประสิทธิภาพและความรวดเร็วของงาน ผูบริหารที่มีวิสัยทัศนกวางไกล ยอมตองนําสภาพแวดลอมมาเปนเครื่องมือประกอบในการบริหารที่จะตดัสินใจหรือปรับทิศทางการปฏิบัติเพื่อใหเกิดผลดีตอการบริหารงานสอบสวนวิชาชีพการสอบสวน และอุตสาหพยายาม

ตอมาสํานักงานตํารวจแหงชาติไดปรับปรุงจรรยาบรรณของพนังงานสอบสวนใหมดังตอไปนี ้

1. พนักงานสอบสวนพึงเคารพในสิทธิและเสรีภาพของประชาชน 2. พนักงานสอบสวนพึงยดึมั่นในศีลธรรมและมีความซื่อสัตยสุจริต 3. พนักงานสอบสวนพึงอํานวยความยุติธรรมดวยความรวดเร็วตอเนื่องโปรงใส เปน

ธรรม โดยปราศจากอคต ิ 4. พนักงานสอบสวนพึงปฏิบัติหนาที่ดวยความวิริยะ อุตสาหะ ขยันหมัน่เพียร

เสียสละ และอดทน

Page 18: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

25

5. พนักงานสอบสวนพึงกลายืนหยัดกระทําในสิ่งที่ถูกตอง 6. พนักงานสอบสวนพึงมีมนุษยสัมพนัธที่ดี มีความสุภาพออนโยน มนี้ําใจและเต็ม

ใจใหบริการประชาชน 7. พนักงานสอบสวนพึงยดึมั่นศึกษาหาความรู และพัฒนาตนเองตลอดเวลา 8. พนักงานสอบสวนพึงสํานึกและยึดมัน่ในวิชาชพีการสอบสวน มีความภาคภูมิใจ

ในศักดิ์ศรีและวิชาชีพของตนเอง

ขอมูลท่ัวไปเกี่ยวกับสถานีตํารวจนครบาลจรเขนอย

ปจจุบันตั้งอยูเลขที่ 555 หมูที่ 1 แขวงทับยาว เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร และแฟลตที่พักอาศัยของขาราชการตํารวจ ณ เลขที่ 274 หมูที่ 1 แขวงทับยาว เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร บนเนื้อที่ 2 ไร

สถิติประชากรในเขตรับผิดชอบ แบงออกไดดังนี้ แขวงลาดกระบัง ชาย 14,715 คน หญิง 15,823 คน รวม 30,538

คน แขวงขุมทอง ชาย 3,166 คน หญิง 3,427 คน รวม 6,598

คน แขวงทับยาว ชาย 7,953 คน หญิง 8,453 คน รวม 16,406

คน รวมประชากรทั้งหมด ชาย 25,834 คน หญิง 27,703 คน รวม 53,537

คน หมายเหตุ 1. ประชากรทั้งหมด 53,537 คน ประชากรแฝงอีกประมาณ 16,000 คน รวมประชากร

ทั้งหมด 69,537 คน ตอตํารวจ 100 คน และตอพื้นที่ 57 ตารางกิโลเมตรเศษ อัตราสวนขาราชการตํารวจ 1 นาย : ประชากร 394 คน (ไมรวมประชากรแฝง) อัตราสวนขาราชการตํารวจ 1 นาย : ประชากร 516 คน (รวมประชากรแฝง) อัตราสวนขาราชการตํารวจ 1 นาย : พื้นที่ 0.57 ตารางกโิลเมตร 2. แขวงลาดกระบัง มี 7 หมูบาน อยูในเขตรับผิดชอบ 3 หมูบาน คือ หมู 1 - 3 3. แขวงขุมทอง มี 7 หมูบาน อยูในเขตรบัผิดชอบทั้งหมด 4. แขวงทับยาว มี 9 หมูบาน อยูในเขตรับผิดชอบทั้งหมด รายละเอียดเกี่ยวกับพื้นท่ี

Page 19: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

26

สถานีตํารวจนครบาลจระเขนอย มีพื้นที่รับผิดชอบประมาณ 57.55 ตารางกิโลเมตรเศษ เปนรูปสี่เหล่ียมคางหมู มีประชากรอาศัยอยูประมาณ 53,537 คน เปนชาย 25,834 คน เปนหญิง 27,703 คน คนตางดาว 98 คน พื้นทีส่วนมากเปนพื้นนาและบอเล้ียงปลา รวมทั้งที่อยูอาศัยประมาณ 60% ยานธุรกิจการคาประมาณ 24% ยานอุตสาหกรรม 10% สถานที่ราชการ โรงเรียนและวดั 5%

ทิศเหนือ ติดตอเขตสถานีตํารวจนครบาลฉลองกรุง และสถานีตํารวจนครบาลลําผักชี ทิศใต ติดตอเขต สภ.อ. บางพลี และสภ.ต. กิ่งอําเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ ทิศตะวนัออก ติดตอ สภ.ต. เปร็ง และสภ.อ. เมือง จังหวัดสมุทรปราการ ทิศตะวนัตก ตดิตอ เขต สน. ลาดกระบัง

ตารางที่ 1 สถานภาพกําลังพลของสถานีตํารวจนครบาลจระเขนอย (สัญญาบัตร)

ลําดับที่ ประเภทขอมูล อัตราอนุญาต ตัวคนรองจริง หมายเหต ุ1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

10. 11. 12. 13. 14.

ผกก.สน. รอง ผกก.(ป.) รอง ผกก. (สส.) สวป. สว.สส. สว.ธร. สว.จร. รอง สวป. พงส. (สบ 3) พงส. (สบ 2) พงส. (สบ 1) รอง สว.สส. รอง สว.ธร. รอง สว.จร.

1 1 1 1 1 1 1 4 3 2 3 3 1 1

1 1 1 1 1 1 1 4 3 2 3 1 - 1

รวม 24 21

Page 20: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

27

ชั้นประทวน - พลตํารวจ ปฏิบัติ 1. กําลังพลฝายธุรการ 7 2. กําลังฝายปองกันปราบปราม 54 3. กําลังฝายสอบสวน 15 4. กําลังฝายสืบสวน 10 5. กําลังฝายจราจร 19 รวม 105 ชั้นประทวน - พลตํารวจ อัตราอนุญาต 149 ตัวคนครองจรงิ 105 วาง 44

อัตรา ชั้นสัญญาบัตร อัตราอนุญาต 24 ตัวคนครองจรงิ 21 วาง 3

อัตรา รวม อัตราอนุญาต 137 ตัวคนครองจรงิ 126 วาง 47

อัตรา ไปชวยราชการ - ช้ันสัญญาบัตร 1 นาย - ช้ันประทวน - พลตํารวจ 2 นาย มาชวยราชการ - ช้ันสัญญาบัตร - นาย - ช้ันประทวน - นายตํารวจ - นาย

Page 21: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

28

สว.จร สวป. สว.ธร. สว.สส. - พงส. (สบ 2) - รองสว. จร. - รอง สวป. - นําสาร - รอง สว. สส. - พงส. (สบ 1) - จนท. จราจร - สายตรวจรถยนต - ทะเบยีนพล - จนท. สืบสวน - ผูชวย พงส. - งานธุรการ - สายตรวจรถจักรยานยนต - การเงิน - ธุรการสืบสวน - ธุรการคดี - สายตรวจเดินเทา - พัสด ุ - ปจว. คด ี - ยามจดุธนาคาร - ตางดาว - เปรียบเทียบปรบั - จุดรับแจงเหต ุ - งานขออนญุาต - จุดสกดั - ควบคุมผูตองหา - จนท. วิทย ุ - จนท. ประชาสัมพันธ - ธุรการ (ป.) - ปจว. ธุรการ - ตชส.

ภาพที่ 2 โครงสรางการบริหารงานสถานีตํารวจนครบาลจรเขนอย

สถานีตํารวจนครบาลจรเขนอย

ผกก.สน. จรเขนอย

รอง ผกก. รอง ผกก.

งานจราจร งานปองกันและปราบปราม งานสืบสวน งานสอบสวน งานธุรการ

Page 22: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

29

แผนการปฏิบตัิงานของสถานีตํารวจนครบาลจรเขนอย 1. งานปองกนัปราบปราม สายตรวจรถยนตรถยนต จดัใหออกตรวจ ดังนี ้ ผลัดที่ 1 ตั้งแตเวลา 00.01 ถึงเวลา 08.00 น. ผลัดที่ 2 ตั้งแตเวลา 08.01 ถึงเวลา 16.00 น. ผลัดที่ 3 ตั้งแตเวลา 16.01 ถึงเวลา 24.00 น. สายตรวจรถยนต ติดเครื่องวทิยุรับสง จัดใหออกออกตรวจ ผลัดละ 1 สาย โดยใหออก

ตรวจทั่วไปในบริเวณเขตรับผิด ประกอบดวย กําลัง รอง สวป. เปนหวัหนาสายตรวจ 1 นาย และกําลัง ชั้นประทวน 4 นาย

สายตรวจรถยนต จัดใหออกตรวจผลัดละ 2 สาย ตรวจตามแผนการตรวจ สน. โดยแบง การตรวจออกเปน 8 เขตตรวจ โดยใชตําตรวจชั้นประทวน จํานวน 4 นาย มีวิทยุรับ - สง โดยใหรถจักรยานยนต ออกตรวจในแตละสาย ดงันี้

สายที่ 1 ออกตรวจในเขตตรวจที่ 1, 2, 3, 4 สายที่ 2 ออกตรวจในเขตตรวจที่ 5, 6, 7, 8 การตรวจไดจดัสายตรวจออกตรวจตามแผนการจรวจของ สน. โดยมีจดุตรวจตูแดงในจุด

ลอแหลม การเขาจุดกาวสกัดในขณะเกดิเหตุ และการตรวจสัมพันธกับโรงพักขางเคียง แตในขณะนี้ ยังขาดกําลังสายตรวจเปนจํานวนมาก จึงไมสามารถที่จะแบงสายใหออกตรวจใหประจําทุกเขตตรวจได

สายตรวจเดินเทา ประกอบดวยกําลังตํารวจชั้นประทวน 9 นาย โดยปฏิบัติหนาที่ตั้งแต 08.00 น. ถึงเวลา 18.00 น. โดยออกตรวจในบริเวณแหลงสถาบันการเงิน ยานการคา รานคาทอง และยานชุมชนแออัด ใหออกโดยเปนการวนรอบใหครอบคลุมตามแหลงสําคัญ ดังนี ้

1. ธนาคาร สถาบันการเงิน มี 10 แหง 2. รานคาทอง มี 12 แหง 3. ตลาดยานการคา มี 4 แหง ชุดตรวจชุมชนสัมพันธ ประกอบดวยกําลังตาํรวจชั้นสัญญาบัตร 1 นาย และตํารวจชัน้

ประทวนจํานวน 4 นาย ออกใหบริการประชาชน และใหความรูในการปองกันอาชญากรรมและยาเสพติดตามชุมชน และโรงเรียนในเขตพืน้ที่รับผิดชอบทั่วทุกเขต

จุดรับแจงเหตุ 24 ชม. มี 1 แหง คือ จุดรับแจงเหตุวดัราชโกษา มีกําลังตรวจ 3 นาย ปฏิบัติหนาที่ตลอด 24 ชม.

Page 23: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

30

2. งานสืบสวน การจัดกําลังฝายสืบสวน 1. มีนายตํารวจ ตํารวจ รองผูกํากับการ (ผูสืบสวนสอบสวน) เปนหวัหนา โดยมี

สารวัตรสืบสวน 1 นาย และรองสารวัตร 1 นาย 2. ตํารวจชั้นประทวน 10 นาย ใชกําลังสืบสวนสอบสวนทั้งหมด 10 นาย ออกตรวจตราสืบสวนจับกุมนอก

เครื่องแบบ ในเขตพืน้ทีรั่บผิดชอบตลอด 24 ชม. โดยแบงเขตออกตรวจเชนเดยีวกับสายตรวจ และโดยเฉพาะจุดลอแหลมตอการเกิดอาชญากรรม ตามแผนการตรวจของสารวัตรสืบสวน

โดยแบงออกแบงทีมออกสืบเปน 2 ทีม เขาเวรสืบสวนคูกับรอยเวรสอบสวน และเมื่อมีคดีเกิดขึ้นจะรับผิดชอบเปนรายคดี

3. งานจราจร การจัดกําลังฝายจราจร จัดกําลังตรวจออกควบคุมและอํานวยความสะดวกในดานการจราจรตามถนนตาง ๆ มี

นายตํารวจ ตําแหนงสารวตัรจราจร เปนหวัหนา 1 นาย มรีองสารวัตรจราจร 1 นาย 3.1 จัดกําลังตาํรวจจราจรประจําจดุสําคัญปฏิบัติหนาที่แตเวลา 06.00 น. ถึงเวลา

21.00 น. โดยมีจุดสําคัญ ดังนี้ 3.1.1 ศูนยจราจรใชกําลัง 1 นาย 3.1.2 แยกเขตลาดกระบัง ใชกําลังตํารวจ 1 นาย 3.1.3 แยกเทคโนฯ ขาเขา/ ขาออก ใชกําลังตรวจ 2 นาย 3.1.4 สายตรวจจราจร ใชกําลังตํารวจ 2 นาย 3.1.5 แยกทางเขาสถานีรถไฟหัวตะเข ใชกําลังตรวจ 1 นาย 3.1.6 แยกวัดพลมานีย, ตลาดลาดกระบังนาํโชค ใชกําลังตรวจ 1 นาย 3.1.7 ตลาดอุดมผล ใชกําลังตรวจ 1 นาย 3.1.8 แยกซอยสุวรรณ 5 (แยกวัดคู) ใชกําลังตรวจ 1 นาย 3.2 จัดเจาหนาที่ประจําปอมจราจร เขาตั้งแตเวลา 05.00 - 13.00 น. ใชกําลังตรวจ 1

นายบายตั้งแตเวลา 13.01 - 20.00 น. ใชกําลังพล 1 นาย และกลางคืนตัง้แตเวลา 20.01 - 05.00 น.

Page 24: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

31

4. งานสอบสวน มีนายตรวจ ตําแหนงรองผูกํากับการ (งานสบืสวนสอบสวน) เปนหัวหนา มีพนักงาน

สอบสวน คือ สบ.3 3 นาย, สบ.2 2 นาย, สบ. 1 3 นาย เขาเวรสอบสวนตลอด 24 ชม. และมีกําลังตํารวจชั้นประทวน จัดใหเขาเวรคูกับรอยเวรสอบสวน เปน 4 ผลัด ตลอด 24 ชม.

5. การจัดเวรยามบนสถาน ี 5.1 ชั้นรองผูกํากับและชั้นสารวัตร จัดเปนเวรอํานวยการ วันทําการวนัละ 1 นาย

วันหยุดราชการ วันละ 1 นาย 5.2 ช้ันรองสารวัตร - รอง สวป. จดัเวรวันละ 4 ผลัด - รอง สว.จร. จัดเขาเวรวันละ 2 ผลัด พรอม สว.จร. - รอง สว.สส. จัดเขาเวรวันละ 2 ผลัด พรอมกับ สว.สส. 5.3 งานบริการบนสถานีตํารวจ มีพนกังานวิทยุ เสมียนประจําวนั และเจาหนาที่

ควบคุมผูตองหาบริการประชาชนตลอด 24 ชม. โดยจัดเวรเปน 4 ผลัด สวนเจาหนาที่ประชาสัมพันธใชกําลังตํารวจ 1 นาย ปฏิบัติหนาที่ตั้งแตเวลา 08.00 น. ถึงเวลา 16.30 น. ทําหนาที่ประชาสัมพันธตอนรับ งานวิจยัที่เกี่ยวของ

ปยะ สุขประเสริฐ (2536, หนา 6 อางถึงใน วีรพล ตุลวรรธนะ, 2531, หนา 69) ไดเสนอแนวทางในการแกไขปญหา เพื่อเพิ่มประสทิธิภาพแกเจาหนาที่ตํารวจ ไววาจะตองสรางความเขาใจ ใหประชาชนทราบถึงปญหาและอุปสรรค ปริมาณงาน ความรับผิดชอบ และขั้นตอนในการปฏิบัติงานหนาที่ของตํารวจ สวนในดานรัฐบาลควรตองเขาไปชวยแกไขปญหาในดานตาง ๆ ของตํารวจอยางจรงิจังดวย อาทิ เครื่องมือ เครื่องใช อุปกรณ สวัสดิการ และคาตอบแทน ตลอดจนสรางขวัญ และกําลังใจ ใหพนกังานสอบสวน ซ่ึงเปนการเพิ่มประสิทธิภาพ และเปนการเพิ่มความสามารถในการแกไขปญหา ไดอยางมีประสิทธิภาพ ผลสุดทายผลงานที่ออกมาก็จะไดรับการยอมรับจากบุคคลทั่วไป

ไพศาล ตั้งใจตรง (2541, หนา 143 - 145 อางถึงใน วีระพล ตุลวรรธนะ, 2531, หนา 69) ไดศึกษาปญหาและอุปสรรคสําคัญที่มีผลตอการพัฒนาบทบาทการอํานวยความยุติธรรมของพนักงานสอบสวนตํารวจภูธรจังหวดันครปฐม แบงออกเปน 3 ดาน ดังนี้

1. ดานพนกังานสอบสวน

Page 25: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

32

1.1 พนักงานสอบสวนมีไมเพียงพอเมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณงาน เนื่องจากสภาพพื้นบานทางคดีของตํารวจภธูรจังหวัดนครปฐม พบวาการเกิดคดีอาญามีแนวโนมเพิม่มากขึ้น แตพนกังานสอบสวนที่ปฏิบัติหนาที่มีอัตราคงที่ ไมไดเพิ่มขึ้นตามปริมาณคดีที่เพิ่มขึ้น ทําใหพนักงานสอบสวนตองรับผิดชอบสํานวนคดีมากขึ้น และไมสามารถใชวิจารณญาณไดอยางละเอียดถ่ีถวน

1.2 พนักงานสอบสวนขาดความรู ความสามารถ และไมพยายามแสวงหาความรูเพิ่มเติมเพื่อใหทันกับสภาพสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา

1.3 พนักงานสอบสวนแสวงหาผลประโยชนโดยมิชอบ ขาดจิตสํานึก อุดมการณและจรรยาบรรณ

1.4 พนักงานสอบสวนเกียจคราน ไมเอาใจใสตองาน 1.5 พนักงานสอบสวนปฏิบัติงานสอบสวนไมตอเนื่อง ทําใหไมมีความชํานาญและ

ไมมีประสบการณ 1.6 พนักงานสอบสวน ขาดอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใช ยานพาหนะ ตลอดจน

คาใชจาย ทีจ่ําเปนในการสอบสวน 1.7 พนักงานสอบสวนขาดผูชวยพนกังานสอบสวนที่จะคอยชวยเหลือ หรือแบงเบา

ภาระเกี่ยวกับการสอบสวนที่อาจมอบหมายใหชวยทําแทนได 1.8 พนักงานสอบสวนขาดขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติหนาที่ เนื่องจากตอง

รับผิดชอบงานหนกัแตมีโอกาสไดรับความกาวหนานอยเมื่อเปรียบเทยีบกับผูปฏิบัติหนาที่สายงานอ่ืน

2. ดานประมาณงานและคุณภาพ 2.1 ประมาณงานมีมากและเพิ่มขึ้นตลอดเวลา นอกจากนี้คดีที่เกดิขึ้นยังมีแนวโนมที่

จะมีความสลบัซับซอนและยุงยากมากยิ่งขึ้น ทําใหเกิดภาวะปริมาณงานมากเกนิไปที่พนักงานสอบสวนจะสามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ

2.2 ขั้นตอนการสอบสวนมีมาก ยุงยาก และซับซอน ทําใหพนักงานสอบสวนซึ่งเปนผูปฏิบัติเกิดความเบื่อหนวย บางครั้งการทําสํานวนการสอบสวนทําเพื่อใหแลวเสร็จไมไดมีคุณภาพและความสมบูรณ

2.3 การขาดความรวมมือจากประชาชนในการเปนพยาน หรือใหพยานหลักฐานตาง ๆ ในคดี ทําใหการสอบสวนไมมีคณุภาพ

2.4 การติดตอประสานงานหรือการรวมมอืจากหนวยงานอื่นเกีย่วกับการสอบสวนยังไมดีเทาที่ควร

Page 26: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

33

2.5 การนําวิทยาการใหม ๆ มาใชกับการสอบสวนยังมีขอจํากัด และมจีํานวนนอย 2.6 พนักงานสอบสวนตองสูญเสียเวลาไปกับคดีเล็ก ๆ นอย ๆ และคดีแพงเปนอัน

มาก ทําใหการสอบสวนในคดีอ่ืน ๆ ที่สําคัญไมมีคุณภาพ 3. ดานการบรหิารงานสอบสวนในองคกร 3.1 หัวหนาพนักงานสอบสวนไมมีประสิทธิภาพ ในการควบคุมการทําสํานวน การ

สอบสวนไมคอยควบคุม ดแูล การปฏิบัติหนาที่ของพนักงานสอบสวน ไมมีการประเมินผลทางดานคุณธรรม จริยธรรม และอุดมการณของพนักงานสอบสวน

3.2 ไมมีสารระบบการจดัเกบ็ระเบียน คําสั่ง ขอบังคับ ที่สามารถนํามาใชในการสอบสวนไดอยางมีประสิทธิภาพ ทําใหเกดิความลาชาในการปฏิบัติงานหนาที่ของพนักงานสอบสวน และไมสามารถที่จะอํานวยความยุติธรรมใหกับประชาชนไดดพีอ

มาโนชญ สถิตพานิช (2541, บทคัดยอ) ไดศึกษาผลการปฏิบัติงานสอบสวนของพนักงานสอบสวน ปจจยัท่ีมผีลตอการปฏิบัติงานและทศันะของพนกังานสอบสวนที่มีตอการปฏิบัติงานตลอดจนศึกษาถึงปญหา อุปสรรค ในการปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวน

กลุมประชากรที่ศึกษา ไดแก ขาราชการตํารวจที่ปฏิบัติหนาที่เปนพนักงานสอบสวน อยูในสังกดัตํารวจภูธรจังหวดัปทุมธานี ในปงบประมาณ 2541 จาก 14 สถานีตํารวจ จํานวนทั้งสิ้น 77 นาย ผลการศกึษาพบวา

1. ปจจัยที่มีผลตอการปฏิบัติงานสอบสวนในทัศนะผูปฏิบัติงานที่สําคัญยิ่ง ไดแก งบประมาณทีใ่ชในการปฏิบัติงานและหารอบรมทบทวนการปฏิบัติงาน รองลงมาไดแกรางวัลตอบแทนจากการปฏิบัติงาน ความรวมมือและการประสานงานกับหนวยงานตาง ๆ และขึน้อยูกับตวับุคคลที่เปนพนักงานสอบสวน ตลอดจนอปุกรณ เครื่องมือ เครื่องใช สวนปจจยัที่มคีวามเหน็วาไมสงผลตอการปฏิบัติงาน ไดแก คําสั่ง ขอบังคับ กฎระเบียบในการสอบสวน และผูบังคับบัญชา

2. ปญหาอุปสรรคตอการปฏิบัติงานสอบสวน พนักงานสอบสวนสวนใหญเห็นวา ผูบังคับบัญชาบางคนมีประสบการณในการสอบสวนไมเพียงพอ ในดานการประสานงานกับหนวยงานตาง ๆ สวนใหญเห็นวา ขาดการประสานงาน ในดานตัวบุคคลที่เปนพนักงานสอบสวน สวนใหญเห็นวาพนกังานสอบสวนบางคนไมสนใจในงานสอบสวนที่รับผิดชอบ

วินิจ แสงสวาง (2541 อางถึงใน ชัยทัศน รัตนพันธุ, 2523, หนา 45) ไดกลาวสรุปถึงปญหาการอํานวยความยุติธรรมในการสอบสวนคดีอาญาของกองบัญชาการสอบสวนกลาง ไวดังนี้

1. ปญหาที่เกดิจากผูบังคับบัญชา มีลักษณะของปญหาดังนี ้ 1.1 ผูบังคับบัญชาไมคอยใหความสนใจและสนับสนนุงานดานการสอบสวนอยาง

จริงจัง

Page 27: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

34

1.2 ผูบังคับบัญชามักคอยจบัผิดและบีบคัน้พนักงานสอบสวนมากกวาจะเปนพี่เล้ียงที่คอยใหคําแนะนําหรือใหคําปรึกษา

1.3 ผูบังคับบัญชามักใชอํานาจในการพิจารณาตัดสินใจมากกวาเหตุผล และมักคลอยตามอิทธิพลภายนอกที่เขามาแทรกแซงงานสอบสวน

1.4 ผูบังคับบัญชาขาดความยุติธรรมและขาดความสนใจตอการแกไขปญหาการบริหารงานบุคคล

2. ปญหาจากตัวพนกังานสอบสวน มีลักษณะของปญหาดังนี ้ 2.1 พนักงานสอบสวนไมมคีวามรูความสามารถเพียงพอ 2.2 ขาดความเปนธรรม หวงัผลประโยชนในการสอบสวน 2.3 ขาดประสบการณ 2.4 ขาดมนุษยสัมพันธ ใชกริิยาวาจาไมเหมาะสม 2.5 ทํางานลาชา ขาดความรบัผิดชอบ และเกียจคราน 3. ปญหาดานอุปกรณเครื่องมอ เครื่องใช คาตอบแทนและสิทธิประโยชน มีลักษณะของ

ปญหาดังนี ้ 3.1 ขาดเครื่องมือ เครื่องใชในการปฏิบัติงาน 3.2 สถานที่ทํางานแออัด ขาดบรรยากาศและสภาพแวดลอมในการทํางาน 3.4 ขาดขวัญกําลังใจและแรงจูงใจในการทํางาน 3.5 ขาดการดูแลหรือชวยเหลืออยางจริงจังจากผูบังคับบัญชา เมื่อถูกดําเนินคดี

หรือถูกสอบสวนทางวินัย 4. ปญหาดานเทคโนโลยี มีลักษณะของปญหา คือ 4.1 ขาดความรูในดานเทคโนโลยีที่จะชวยในการสอบสวน 4.2 การนําเทคโนโลยีมาใชไมสามารถตอบสนองความตองการของพนักงาน

สอบสวน ไดอยางทั่วถึง 4.3 พนักงานสอบสวนเกิดความเบื่อหนายในความลาชาและมีขั้นตอนมาก 4.4 ปริมาณงานมากจึงละเลยตองานดานวทิยากรซึ่งอยูตางหนวย 5. ปญหาจากการบริหารงานบุคคล มีลักษณะของปญหา คือ 5.1 แตงตั้งผูไมมีความรู คุณวุฒิและคณุสมบัติไมเหมาะสมเปนพนกังานสอบสวน 5.2 กระบวนการคัดเลือกพนักงานสอบสวนในครั้งแรกไมเหมาะสม 5.3 การแตงตัง้ไมสอบถามความสมัครใจ และไมมีการทดลองงานกอนแตงตั้ง 5.4 เมื่อพนักงานสอบสวนมพีฤติกรรมไมดีก็เพยีงแตถูกยายโดยขาดหลักเกณฑ

Page 28: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

35

6. ปญหาจากลักษณะงานและปริมาณงานสอบสวน มลัีกษณะดังนี ้ 6.1 งานสอบสวนมีกฎหมาย ระเบยีบ คําสั่ง ขอบังคับ และกฎเกณฑในการปฏิบัตมิาก

ทําใหเกิดความยุงยาก และงานลาชา 6.2 ปริมาณงานมีมาก มีความยุงยาก และตองทําอยางตอเนื่อง จึงเปนการยากที่จะทํา

ใหมีประสิทธภิาพและเสร็จไดในเวลาอันรวดเร็ว และเสี่ยงตอความผดิ บกพรอง 6.3 งานสอบสวนยุงยากสลบัซับซอนเพราะระเบยีบและนโยบายที่ไมคํานึงถึงผู

ปฏิบัติ 6.4 ปริมาณงานกับพนกังานสอบสวนไมสมดุลกัน นอกจากปญหาและอุปสรรคตามที่กลาวมาแลว ยังมีปญหาภายนอกจากอิทธิพล

ทางดานการเมือง เศรษฐกิจและสังคมอีกสวนหนึ่งซึ่งเปนปญหาที่ยากแกการแกไข โดยเฉพาะอยางยิ่งปญหาจากทางดานการเมือง ซ่ึงจะเห็นไดจากการแตงตั้งโยกยายขาราชการตํารวจประจําป ที่มีปญหาและเปนที่กลาวขานมาโดยตลอด สวนปญหาจากทางดานเศรษฐกิจนั้น ทําใหสํานักงานตํารวจแหงชาติถูกตัดทอนงบประมาณลง ทําใหงบประมาณที่ไดรับไมเพียงพอที่จะบริหารงานใหเปนไปตามนโยบายได และเปนปญหาหนกัของตํารวจทกุหนวยทีจ่ะตองทํางานใหไดผลภายใตงบประมาณอันจํากัด

ร.ต.อ.เอนก สิงหา (2543) ไดศึกษาปญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานสอบสวนในสงักัดตํารวจภูธรจังหวดัฉะเชงิเทรา พบวา สาเหตุที่แทจรงิของปญหาในดานระบบงาน ของพนักงานสอบสวนคือ งานสอบสวนเปนงานที่มีภาระความผูกพนัตอเนื่องดานกําลังพล คือ พนักงานสอบสวนขาดขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติหนาที่ ดานเครื่องมือเครื่องใชและยานพาหนะ คือวัสดุ อุปกรณ ที่ใชในงานสอบสวนไมเพียงพอ สวนใหญพนักงานสอบสวนตองจดัหามาใชเอง สวนดานความรวมมือจากประชาชน คือประชาชนไมยอมมาเปนพยาน ในคดีที่ตนเองมีสวนเกี่ยวของ

จากการวิจัยทีผ่านมา พบวา พนกังานสอบสวนสวนใหญจะมีปญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับงบประมาณ กําลังพล คาตอบแทน เครือ่งมือ เครื่องใช เห็นแกพวกพอง และไดรับความรวมมือจากประชาชนไมเต็มที่ อีกทั้งผูบังคับบัญชาไมไดใหความสําคัญเทาที่ควรเกี่ยวกับพนักงานสอบสวน

Page 29: บทที่ 2digital_collect.lib.buu.ac.th/.../49931336/chapter2.pdfบทท 2 แนวค ด ทฤษฎ และงานว จ ยท เก ยวของ การศ

36

กรอบแนวคดิในการศึกษา

ภาพที่ 3 กรอบแนวคดิในการศึกษา

ศึกษาแนวคิดจากเอกสารตาง ๆ (documentary

perspective) 1. แนวคิดเกี่ยวกับการนํานโยบายไปปฏิบัติซึ่งใชรูปแบบสมรรถนะองคกรที่มีโครงสรางบุคลากร สถานที่ และงบประมาณ เปนปจจัยสําคัญที่ทําใหเครื่องมือสําคัญประสบผลสําเร็จ

2. แนวคิดเกี่ยวกับการจัดองคกรโดยหลักบุคลากรเปนทรัพยากรที่สําคัญ ในปจจัยหน่ึงขององคกร ที่ทําใหองคกรประสบผลสําเร็จตามวัตถุประสงค

3. แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการ ที่มีปจจัยเปนองคประกอบสําคัญ 4 ประการ ไดแก บุคคล เงิน วัสดุอุปกรณ การจัดการ

กําหนดประเด็นศึกษาขอมูล(documentary study)

- พระราชบัญญัติประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. 2477, พระราชบัญญัติประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499, พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญา ฉ.24 พ.ศ.2548 : แกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ฉ.24 พ.ศ. 2548 และขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถานีตํารวจนครบาล จรเขนอย กําหนดประเด็นศึกษาจากการ

สัมภาษณ (field study) - โดยการสัมภาษณจากเจาหนาที่ตํารวจที่ปฏิบัติงานสอบสวน สถานีตํารวจนครบาลจรเขนอย จํานวน 6 ทาน ใหครอบคลุมประเด็นหัวขอการใชดุลยพินิจของตํารวจในการพิจารณาความผิดของผูกระทําผิด และผูกลาวหา รวมทั้งปญหาและอุปสรรคขอขัดของ ในการปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวน

กําหนดประเด็นสรุปผลปญหา

1. กระบวนการที่ใชในการสอบสวนประชาชนตามพระราชบัญญัติประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. 2477

2. ปญหาและอุปสรรค ในการปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวนสถานีตํารวจนครบาลจรเขนอยตอการปฏิบัติตามกระบวนการที่ใชในการสอบสวนประชาชนตามพระราชบัญญัติประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. 2477