26
บทที2 เอกสารที่เกี่ยวของ คูมือการสอนวิชาโครงงานคณิตศาสตร ชวงชั้นที4 โรงเรียนดาราวิทยาลัย จังหวัด เชียงใหม ผูศึกษาไดทําการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของและเปนประโยชนตอการศึกษาครั้งนีและได นําเสนอตามหัวขอตอไปนี1. โรงเรียนดาราวิทยาลัย 1.1 ประวัติโรงเรียนดาราวิทยาลัย 1.2 ขอมูลทั่วไปของโรงเรียนดาราวิทยาลัย 2. โครงงานคณิตศาสตร 2.1 ความหมายของโครงงานคณิตศาสตร 2.2 จุดมุงหมายของโครงงานคณิตศาสตร 2.3 ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร 2.4 ขั้นตอนการทําโครงงานคณิตศาสตร 2.5 บทบาทของครูผูสอนโครงงานคณิตศาสตร 2.6 การประเมินโครงงานคณิตศาสตร 3. คูมือ 3.1 ความหมายของคูมือ 3.2 ประเภทของคูมือ 3.3 องคประกอบของคูมือ 3.4 ลักษณะของคูมือที่ดี 3.5 ประโยชนของคูมือ 3.6 ขั้นตอนการจัดทําคูมือ

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ

คูมือการสอนวิชาโครงงานคณิตศาสตร ชวงช้ันที่ 4 โรงเรียนดาราวิทยาลัย จังหวัด

เชียงใหม ผูศึกษาไดทําการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของและเปนประโยชนตอการศึกษาครั้งนี้ และได

นําเสนอตามหัวขอตอไปนี ้

1. โรงเรียนดาราวิทยาลัย

1.1 ประวัติโรงเรียนดาราวิทยาลัย

1.2 ขอมูลท่ัวไปของโรงเรียนดาราวิทยาลัย

2. โครงงานคณิตศาสตร 2.1 ความหมายของโครงงานคณิตศาสตร

2.2 จุดมุงหมายของโครงงานคณิตศาสตร

2.3 ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร

2.4 ขั้นตอนการทําโครงงานคณิตศาสตร

2.5 บทบาทของครูผูสอนโครงงานคณิตศาสตร

2.6 การประเมินโครงงานคณิตศาสตร

3. คูมือ

3.1 ความหมายของคูมือ

3.2 ประเภทของคูมือ

3.3 องคประกอบของคูมือ

3.4 ลักษณะของคูมือท่ีด ี

3.5 ประโยชนของคูมือ

3.6 ขั้นตอนการจัดทําคูมือ

Page 2: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

6

โรงเรียนดาราวิทยาลัย ประวัติโรงเรียนดาราวิทยาลัย โรงเรียนดาราวิทยาลัย เปนโรงเรียนของมูลนิธิแหงสภาคริสตจักรในประเทศไทย สังกัด

สํานักบริหารงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ เปดสอนตั้งแตระดับ

กอนปฐมวัย ถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กอตั้งโดย ศาสนาจารย ดร.ดานิเอล และนางมากาเร็ต

แมคกิลวารี มิชชันนารีชาวอังกฤษ เมื่อพุทธศักราช 2421 และในปพุทธศักราช 2431 ไดรับพระ

มหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงนําพระนามของพระราชชายาเจา

ดารารัศมี พระราชทานเปนนามโรงเรียนชื่อวา “โรงเรียนพระราชชายา” และพระราชชายาเจาดารา

รัศมีทรงรับเปนองคอุปถัมภโรงเรียน ตอมาปพุทธศักราช 2466 ไดเปล่ียนช่ือโรงเรียนเปน

“โรงเรียนดาราวิทยาลัย” และปพุทธศักราช 2483 โรงเรียนไดรับการรับรอง วิทยฐานะจาก

กระทรวงศึกษาธิการ

ขอมูลทั่วไปของโรงเรียนดาราวิทยาลัย โรงเรียนดาราวิทยาลัย ตั้งอยูเลขที่ 196 ถนนแกวนวรัฐ ตําบลวัดเกต อําเภอเมือง จังหวัด

เชียงใหม บริเวณโรงเรียนมีพ้ืนที่ท้ังหมด 78 ไร 5 ตารางวา ปจจุบันทําการสอนตั้งแตระดับชั้น

กอนประถมศึกษาถึงช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนดาราวิทยาลัยมีจํานวนครูท้ังหมด 430 คน โดย

ในระดับชวงช้ันที่ 4 มีครูผูสอนจํานวน 60 คน และกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรในระดับชวง

ช้ันที่ 4 มีครูผูสอน จํานวน 10 คน และปจจุบันโรงเรียนดาราวิทยาลัยมีนักเรียนทั้งหมด 7,410 คน

ปจจุบันโรงเรียนดาราวิทยาลัยมีวิสัยทัศนในการพัฒนาดังนี้ โรงเรียนดาราวิทยาลัย จัด

การศึกษามุงเนนใหผูเรียนทุกคน ซ่ึงเปนกําลังของชาติใหเปนมนุษยท่ีมีความสมดุลท้ังดานรางกาย

ความรู คุณธรรม อนุรักษวัฒนธรรมและส่ิงแวดลอม มีจิตสํานึกในความเปนพลเมืองไทยและ

พลเมืองโลก ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

มีทักษะในการดําเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง มีความรู และทักษะพื้นฐานรวมทั้งเจตคติท่ี

จําเปนตอการศึกษาตอ การประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุงเนนผูเรียนเปนสําคัญ

บนพื้นฐานความเชื่อท่ีวาทุกคนสามารถเรียนรู และพัฒนาตนเองใหเต็มตามศักยภาพ

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของโรงเรียนดาราวิทยาลัย

ในระดับชวงช้ันที่ 4 (มัธยมศึกษาตอนปลาย) โรงเรียนไดมุงเนนใหผูเรียนเพิ่มพูนความรู และทักษะเฉพาะดาน สนองตอบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียนแตละคน ท้ังดานวิชาการและวิชาชีพ มีทักษะในการใชวิทยาการ และเทคโนโลยี ทักษะกระบวนการคิดขั้นสูง สามารถนําความรูไปประยุกตใชเกิดประโยชนในการศึกษาตอระดับอุดมศึกษา และการประกอบอาชีพสุจริต พัฒนาตน และประเทศตามบทบาทของตน สามารถเปนผูนํา และผูใหบริการชุมชนใน

Page 3: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

7

ดานตาง ๆ อยางมีประสิทธิภาพ โดยโรงเรียนดาราวิทยาลัย ไดจัดแผนการเรียนออกเปนทั้งหมด 6

แผนการเรียน คือ แผนการเรียนวิทยาศาสตร – คณิตศาสตร แผนการเรียนอังกฤษ – คณิตศาสตร

แผนการเรียนอังกฤษ – เยอรมัน แผนการเรียนอังกฤษ – ญี่ปุน แผนการเรียนอังกฤษ – ฝรั่งเศส

แผนการเรียนอังกฤษ – จีน โดยในแตละแผนการเรียนนั้น นักเรียนตองเรียนตามรายวิชาออกเปน 3

กลุมดวยกัน คือ รายวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน โดยวิชาโครงงานถือ

เปนวิชาหนึ่งในกิจกรรมพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ท่ีนักเรียนทุกคนในระดับ

ชวงช้ันที่ 4 ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 ตองผานการเรียนรูถึงจะผานเกณฑของหลักสูตร เพราะ

วิชาโครงงานถือเปนกิจกรรมพัฒนาผูเรียนที่มีลักษณะเปนกิจกรรมที่เกื้อกูลสงเสริมการเรียนรูตาม

กลุมสาระโดยในแตละแผนการเรียนตองเรียนวิชาโครงงานตามแผนการเรียนนั้นๆ กลาวคือ

แผนการเรียนวิทยาศาสตร – คณิตศาสตร ตองผานการเรียนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร แผนการ

เรียนอังกฤษ – คณิตศาสตร ตองผานการเรียนวิชาโครงงานคณิตศาสตร และ แผนการเรียน

อังกฤษ – เยอรมัน แผนการเรียนอังกฤษ – ญี่ปุน แผนการเรียนอังกฤษ – ฝรั่งเศส แผนการเรียน

อังกฤษ – จีน ตองผานการเรียนวิชาโครงงานอาชีพ

โครงงานคณิตศาสตร ความหมายของโครงงานคณิตศาสตร โครงงานคณิตศาสตรเปนกิจกรรมทางคณิตศาสตรประเภทหนึ่ง ท่ีมีลักษณะเปดโอกาส

ใหผูเรียนใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการแสวงหาความรู โดยนักการศึกษาไดให

ความหมายของโครงงานคณิตศาสตรไวตางๆ ดังนี ้

ยุพิน พิพิธกุล และคณะ (2542, หนา 1) ไดใหความหมายของโครงงานคณิตศาสตรวา

เปนงานที่ผูทําไดคิดอยางอิสระ ในประเด็นที่ตนสนใจและถนัด โดยอาศัยความรู หลักการ แนวคิด

หรือทฤษฎี ทางคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับประเด็นที่จะศึกษาและคนควาใหชัดเจนและลึกซ้ึงขึ้น

เพื่อจะบรรลุตามวัตถุประสงค ท่ีตั้งไว เชนโครงงานที่สามารถประยุกตใชคณิตศาสตรใน

สถานการณตางๆ ในชีวิตจริง คณิตศาสตรกับส่ิงแวดลอม คณิตศาสตรกับความกาวหนาทาง

เทคโนโลยี โครงงานจะชวยใหนักเรียน ไดพัฒนาความคิดอยางอิสระ และชวยพัฒนาความเชื่อม่ัน

ในการนําคณิตศาสตรไปใชใหเกิดประโยชน การทํากิจกรรมโครงงานคณิตศาสตรไมใชเปนการ

เพิ่มเนื้อหาใหนักเรียน แตเปนการฝกปฏิบัติงานที่ใหนักเรียนหาขอสงสัย ปลอยใหตั้งสมมติฐาน

รวบรวมขอมูล หาขอสรุปและตรวจสอบสมมติฐานดวยตนเอง แลวเผยแพรขอคนพบเหลานั้นดวย

ตนเอง การทําโครงงานเปนการสงเสริมใหผูทําโครงงานไดคิดอยางอิสระ มีการพัฒนาทั้งทางดาน

ทักษะ และความคิดริเริ่มสรางสรรค การทําโครงงานคณิตศาสตร อาจจะทําเปนงานเดี่ยวหรืองาน

Page 4: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

8

กลุมก็ได ในกรณีงานกลุม อาจจัดเปนกลุม ๆ ละ 3 – 5 คน จะตองวางแผนรวมกันกอนลงมือทํา

โครงงาน ผูเรียนจะตองรูวิธีการทํางานโดยใชกระบวนการกลุมท่ีมีการตั้งจุดประสงครวมกัน

วางแผนรวมกัน ดําเนินงานและรับผิดชอบรวมกัน ตลอดจนประเมินผลรวมกัน

สมาคมคณิตศาสตรแหงประเทศไทยในพระบรมราชนูปถัมภ (2541, หนา 1) ไดให

ความหมายของโครงงานคณิตศาสตรวา เปนงานที่ผูทําไดคิดอยางอิสระในเรื่องท่ีเกี่ยวกับ

คณิตศาสตร ชวยใหนักเรียนไดพัฒนาความคิดอยางอิสระ และชวยพัฒนาความเชื่อม่ันในการนํา

คณิตศาสตรไปใชใหเกิดประโยชน เปนการฝกปฏิบัติงานที่ใหนักเรียนหาขอสงสัย ตั้งสมมติฐาน

ทดลองและสืบสวนแลวรวบรวมขอมูลมาเพื่อหาขอสรุป เผยแพรหรือนําเสนอรายงานขอคนพบ

ดวยตนเอง เปนการสงเสริมใหผูทําโครงงาน ไดคิดอยางอิสระ มีการพัฒนาความคิดริเริ่มสรางสรรค

โดยการทําโครงงานอาจทํางานเดี่ยวหรือกลุม ซ่ึงจะตองวางแผนรวมกันกอนที่จะลงมือทําโครงงาน

นักเรียนจะตองรูวิธีการทํางานโดยใชกระบวนการกลุม ท่ีมีการตั้งจุดประสงครวมกัน วางแผน

รวมมือ ดําเนินงานและรับผิดชอบรวมกัน ตลอดจนประเมินผลรวมกัน

สุชาติ วงศสุวรรณ (2542, หนา 6-7) ไดใหความหมายของโครงงานคณิตศาสตรวา เปน

การจัดการเรียนรูรูปแบบหนึ่งท่ีทําใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองจากการลงมือปฏิบัติจริง เพื่อหา

คําตอบเมื่อเกิดปญหาหรือเกิดความสงสัยในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ในลักษณะของการศึกษา คนควา

ทดลอง ประดิษฐ คิดคน ท่ีใชความรูทางคณิตศาสตร โดยมีครูเปนผูคอยกระตุนแนะนํา และให

คําปรึกษาอยางใกลชิด

สุวร กาญจนมยูร (2544, หนา 5) ไดใหความหมายของโครงงานคณิตศาสตรวา เปนงาน

ท่ีเกิดจากการศึกษา คนควา วิจัย เกี่ยวกับองคความรูทางคณิตศาสตร หรือเปนงานที่เกิดจากการนํา

ความรูทางคณิตศาสตรไปประยุกตใชเปนเครื่องมือการเรียนรูของสาขาวิชาการอ่ืน หรือใชเปน

เทคนิคในการแกปญหา นักเรียนแตละคนหรือแตละกลุมไดศึกษา คนควา วิจัย หาความรูโดยการ

ปฏิบัติจริงดวยตนเอง ตามความรูความสามารถและความสนใจในปญหาหรือขอสงสัยท่ีตนเอง

อยากรู อยากเขาใจ ไดคําตอบที่ถูกตองและชัดเจนภายใตการแนะนําดูแลของครู หรือผูเชี่ยวชาญที่

เปนที่ปรึกษา ท่ีคอยชวยเหลือตรวจสอบความถูกตองขององคความรูท่ีนักเรียนแตละคนหรือแตละ

กลุมคนพบ

ชัยศักดิ์ ลีลาจรัสกุล (2542, หนา 5 – 6) ไดใหความหมายของโครงงานคณิตศาสตรวา

โครงงานคณิตศาสตร หมายถึง กิจกรรมเสริมหลักสูตรวิชาคณิตศาสตร ท่ีเปดโอกาสใหนักเรียนได

ศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งท่ีเกี่ยวของกับคณิตศาสตรและเทคโนโลยี ตามความถนัดและความสนใจ

ดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร ภายใตการแนะนํา ปรึกษาชวยเหลือ และดูแลจากอาจารยท่ีปรึกษาและ/

หรือผูทรงคุณวุฒิ อาจจัดในเวลาเรียนหรือนอกเวลาเรียนก็ได รวมทั้งสามารถดําเนินกิจกรรมไดท้ัง

Page 5: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

9

ในและนอกบริเวณโรงเรียน ซ่ึงอาจเปนรายบุคคล หรือเปนกลุมก็ได แลวเขียนเปนรายงาน และ

แสดงผลงานเพื่อเผยแพรสําหรับเปนแนวทางศึกษาตอ

ชาคริต ชมชื่น (2543, หนา 1- 2) ไดใหความหมายของโครงงานคณิตศาสตรวา โครงงาน

คณิตศาสตรเปนการพัฒนาการคิด การสรางสรรค การเรียนรูทางคณิตศาสตรอยางเปนระบบ

เปนกระบวนการ เปนการผสมผสานความรู ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตรท่ีนักเรียนไดเรียนรู

หลาย ๆ เรื่อง หลาย ๆ เนื้อหา มาคิดสรางสรรคเปนงานกลุม นักเรียนที่มีความสนใจรวมกันหรือ

ของสวนบุคคลเปนชิ้นงาน ท่ีแสดงถึงความรู ความสามารถที่เปนจริงของนักเรียน ซ่ึงจะเปน

แหลงขอมูลท่ีสําคัญแหลงหนึ่ง ในการประเมินผลการเรียนรูของนักเรียนในวิชาคณิตศาสตร

หนวยศึกษาสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอเชียงดาว (2542, หนา 2) ไดใหความหมาย

ของโครงงานคณิตศาสตรวา โครงงานคณิตศาสตร หมายถึง กิจกรรมเสริมหลักสูตรวิชา

คณิตศาสตรท่ีเปดโอกาสใหนักเรียนไดศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งท่ีเกี่ยวของกับคณิตศาสตรเทคโนโลยี

ตามความถนัด และความสนในดวยวิธีทางวิทยาศาสตร ภายใตกระบวนการแนะนําปรึกษา

ชวยเหลือดูแลจากอาจารยท่ีปรึกษาหรือผูทรงคุณวุฒิ อาจจัดทําในเวลาหรือนอกเวลาเรียน

ซ่ึงสามารถทําเปนรายบุคคลหรือกลุมก็ได แลวจัดเขียนรายงานและแสดงผลงานเผยแพรสําหรับ

เปนแนวทางศึกษาตอ

จากความหมายของโครงงานคณิตศาสตรท่ีนักการศึกษาหลายทานและสถาบันที่

เกี่ยวของกับการศึกษาไดกลาวไว พอสรุปความหมายของโครงงานคณิตศาสตรไดวา โครงงาน

คณิตศาสตรหมายถึงงานที่นักเรียนไดคิดอยางอิสระ ในเรื่องท่ีนักเรียนสนใจและถนัดเกี่ยวกับ

คณิตศาสตร โดยอาศัยความรู หลักการ แนวคิด หรือทฤษฎี ทางคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับประเด็น

ท่ีจะศึกษา ชวยพัฒนาความเชื่อม่ันในการนําคณิตศาสตรไปใชใหเกิดประโยชน ภายใตการแนะนํา

ชวยเหลือและดูแลจากครูผูสอน

จุดมุงหมายของโครงงานคณิตศาสตร เพื่อใหการทําโครงงานคณิตศาสตรบรรลุผลตามจุดมุงหมายของการเรียนการสอน

นักการศึกษาที่เกี่ยวของไดกลาวถึงจุดมุงหมายของโครงงานคณิตศาสตรไว ดังนี ้

จุลจักร โนพันธุ และ วิทยา สิริอนุวัฒน (2536, หนา ค) ไดกลาวถึงจุดมุงหมายในการทํา

โครงงานไววา

1. เพื่อใหนักเรียนตระหนักในผลดีหรือประโยชนท่ีไดจากการทําโครงงาน

2. เพื่อใหนักเรียนไดรูจักวิเคราะหลักษณะโครงงานจนมีความเขาใจถองแทในงานนั้น

และเชื่อม่ันวาตนเองมีศักยภาพที่จะทําโครงงานนั้นได

3. เพื่อใหนักเรียนรูจักใชคําแนะนําของครูอาจารยท่ีปรึกษา

Page 6: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

10

4. เพื่อใหนักเรียนวางแผนการทํางาน และลําดับขั้นตอนการปฏิบัติงานไดเหมาะสมกับ

โครงงาน

5. เพื่อใหนักเรียนรูจักเลือกวัสดุอุปกรณและเครื่องมือเครื่องใชโดยคํานึงถึงความสะดวก

ปลอดภัย ประหยัด และผลกระทบตอสภาพแวดลอม

6. เพื่อใหนักเรียนเลือกวัน เวลา สถานที่ทํางานไดอยางเหมาะสม

7. เพื่อใหนักเรียนปฏิบัติงานดวยความชื่นชม มีศรัทธาในการทํางาน

8. เพื่อใหนักเรียนทํางานรวมกับผูอ่ืนได 9. เพื่อใหนักเรียนมีความรับผิดชอบในสวนของตน และประสานเอื้ออํานวยตองาน

หรือการทํางานของเพื่อนรวมงานและตอผูอ่ืน

10. เพื่อใหนักเรียนรูจักประเมินระหวางการทํางาน และปรับปรุงใหดีขึ้นอยูเสมอ

11. เพื่อใหนักเรียนสามารถทําโครงงานจนบรรลุผล ไดช้ินงาน และนําไปใชไดจริง

ชัยศักดิ์ ลีลาจรัสกุล (ม.ป.ป., หนา 6) ไดกลาวถึงจุดมุงหมายของการทําโครงงาน

คณิตศาสตรพอจะสรุปได ดังนี ้

1. เพื่อสงเสริมใหนักเรียนเกิดความรัก ความสนใจ และมีเจตคติท่ีดีตอวิชาคณิตศาสตร

2. เพื่อพัฒนาความสามารถของนักเรียนในการใชกระบวนการทางคณิตศาสตรในการแกปญหา

3. เพื่อใหนักเรียนนําความรูคณิตศาสตรไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน หรือออกแบบ

ส่ิงประดิษฐใหม ๆ ได โดยตระหนักถึงคุณคาและประโยชนของวิชาคณิตศาสตร

4. เพื่อพัฒนาความคิดสรางสรรค

5. เพื่อใหนักเรียนรูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชน 6. เพื่อสงเสริมใหนักเรียนไดแสดงออก พรอมทั้งไดมีโอกาสเผยแพรผลงานของตนเอง

7. เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบและสามารถทํางานรวมกับผูอ่ืนได 8. เพื่อสงเสริมการศึกษาคนควาหรือวิจัยทางคณิตศาสตรของนักเรียนที่มีความสนใจ

และมีความสามารถทางคณิตศาสตร โดยใชวิธีการทางคณิตศาสตร

จากจุดมุงหมายของโครงงานคณิตศาสตรท่ีนักการศึกษาไดใหไว สามารถประมวลไดวา

การทําโครงงานคณิตศาสตรมีจุดมุงหมาย เพื่อใหนักเรียนนําความรูทางคณิตศาสตรไปประยุกตใช

ในชีวิตประจําวัน และพัฒนาความสามารถของนักเรียนในการใชกระบวนการทางคณิตศาสตรใน

การแกปญหา โดยตระหนักถึงคุณคาและประโยชนของวิชาคณิตศาสตร สงเสริมใหนักเรียนรูจัก

วางแผนการทํางาน มีความรับผิดชอบ ทํางานรวมกับผูอ่ืนได เกิดความรักความสนใจ และมีเจตคติ

ท่ีดีตอวิชาคณิตศาสตร

Page 7: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

11

ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร การจัดประเภทโครงงานคณิตศาสตรอาจจัดไดหลายประเภท สถาบันสงเสริมการสอน

วิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี(2546, หนา 153 – 154) และ ชัยศักดิ์ ลีลาจรัสกุล (ม.ป.ป., หนา 7 – 8)

ไดจําแนกประเภทโครงงานคณิตศาสตรเปน 4 ประเภท คือ

1. โครงงานคณิตศาสตรประเภทสํารวจรวบรวมขอมูล (Survey Research Project)

เปนการศึกษาหาความรูทางคณิตศาสตรดวยการสํารวจตรวจสอบและเก็บรวมรวมขอมูล การทํา

โครงงานประเภทนี้มีขั้นตอนที่ประกอบดวย การสืบคนขอมูล การสํารวจตรวจสอบ การรวบรวม

ขอมูล การนําขอมูลมาจัดกระทําในรูปแบบที่เหมาะสม การวิเคราะหขอมูล และนําเสนอขอมูลใน

รูปแบบตางๆ

2. โครงงานคณิตศาสตรประเภททดลอง (Experimental Research Project) เปนการศึกษา

หาคําตอบของปญหาโดยการตรวจสอบขอความคาดการณหรือสมมติฐานที่ตั้งไว ดวยการทําการ

ทดลองหรือลงมือปฏิบัติจริง ขั้นตอนการทําโครงงานประเภทนี้ประกอบดวย การกําหนดและทํา

ความเขาใจปญหา สรางขอความคาดการณหรือตั้งสมมติฐาน ออกแบบการทดลอง ทําการทดลอง

เก็บรวบรวมขอมูลและตรวจสอบผลที่ไดจากขอความคาดการณหรือสมมติฐานที่ตั้งไว แปลผลและ

สรุปผลการทดลอง

3. โครงงานคณิตศาสตรประเภทพัฒนาหรือประดิษฐ (Development Research Project)

เปนการพัฒนาหรือประดิษฐช้ินงานที่กําหนดเปนเปาหมายไวแลว ดวยการประยุกตใชความรูหรือ

มโนทัศนทางคณิตศาสตร ผลงานที่ไดอาจเปนส่ิงประดิษฐใหมๆ หรือปรับปรุงส่ิงประดิษฐท่ีมีอยู

แลว ตลอดจนการสรางแบบจําลองเพื่อใชอธิบายเนื้อหาสาระหรือมโนทัศนตางๆดวย

4. โครงงานคณิตศาสตรประเภทสรางทฤษฎีหรือสรางคําอธิบาย (Theoretical Research

Project) เปนการเสนอแนวคิดหรือวิธีการใหมโดยมีทฤษฎีทางคณิตศาสตรสนับสนุนหรือการ

นําเสนอแนวคิดเดิมในรูปแบบใหม หรือใชทฤษฎีอ่ืนๆ ท่ีแตกตางจากเดิมในการอธิบายหรือพิสูจน

แนวคิดหรือวิธีการที่นําเสน ิ

นอกจากนี้ หนวยศึกษานิเทศก สํานักงานการประถมศึกษาอําเภอเชียงดาว (2542: 3) ได

จัดประเภทของโครงงานคณิตศาสตร วามี 4 ประเภท คือ

1. โครงงานคณิตศาสตรประเภททดลอง (Experimental Research Project) เปนการศึกษา

หาคําตอบของปญหาใดปญหาหนึ่ง โดยการออกแบบทดลอง และดําเนินการเพื่อหาคําตอบของ

ปญหาใดปญหาหนึ่ง โดยการออกแบบทดลอง และดําเนินการเพื่อหาคําตอบของปญหาที่ตองการ

ทราบ หรือเพื่อตรวจสอบสมมติฐานที่ตั้งไว ซ่ึงมีขั้นตอนดังนี ้

Page 8: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

12

- กําหนดปญหา - การตั้งสมมติฐาน

- การออกแบบการทดลอง

- การดําเนินการทดลอง - การแปรผลการทดลอง

2. โครงงานคณิตศาสตรประเภทสํารวจ (Survey Research Project) เปนกิจกรรม

การศึกษาและรวบรวมขอมูลจากธรรมชาติและส่ิงแวดลอม โดยใชวิธีการสํารวจและรวบรวมขอมูล

แลวนําขอมูลเหลานั้นมาจัดทํา

3. โครงงานคณิตศาสตรประเภทการพัฒนาหรือประดิษฐ (Development Research

Project) เปนการพัฒนาหรือประดิษฐเครื่องมือเครื่องใช หรืออุปกรณตางใหใชงานไดตาม

วัตถุประสงค โดยการประยุกตทฤษฎีหรือหลักการทางคณิตศาสตร อาจเปนการประดิษฐส่ิงใหมท่ี

ยังไมเคยมีมากอน หรือการปรับปรุงอุปกรณท่ีมีอยูแลวใหดีกวาเดิม

4. โครงงานคณิตศาสตรประเภทสรางทฤษฎีหรือคําอธิบาย (Theoretical Research

Project) เปนโครงงานที่ผูทําจะตองเสนอแนวคิดใหมๆ ในการอธิบายเรื่องใดเรื่องหนึ่งอยางมี

เหตุผล มีหลักการทางคณิตศาสตรหรือทฤษฎีสนับสนุน หรือเปนการอธิบายปรากฏการณเกาใน

แนวใหมอาจเสนอในรูปคําอธิบาย สูตร หรือสมการ โดยมีขอมูลหรือทฤษฎีอ่ืนสนับสนุน ผูทําตอง

มีความรูพ้ืนฐานทางคณิตศาสตรเปนอยางดี และตองศึกษาคนควาเรื่องราวที่เกี่ยวของอยางมาก

จึงสามารถสรางคําอธิบายหรือทฤษฎีได

และ สุวร กาญจนมยูร (2545, หนา 6) แบงโครงงานคณิตศาสตรตามความรูออกเปน 2

ประเภท คือ

1. โครงงานที่ทําใหเกิดองคความรูตามเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร เปนงานที่ เกิดจากกระบวนการเรียนรูของนักเรียนแตละคนหรือแตละกลุม ซ่ึงไดศึกษา คนควา วิจัย หาความรูความ

เขาใจในส่ิงใดส่ิงหนึ่งท่ีนักเรียนสนใจหรือมีขอสงสัยหรือมีปญหา และตองการหาคําตอบโดยการ

ลงมือปฏิบัติจริงดวยตนเอง ตามความรูความสามารถและความสนใจในขอสงสัย หรือปญหาที่ตน

อยากรู อยากเขาใจ ไดคําตอบที่ถูกตองและชัดเจน ภายใตการแนะนําดูแลของครูหรือผูเชี่ยวชาญที่

เปนที่ปรึกษา ใหความชวยเหลืออํานวยความสะดวกและตรวจสอบความถูกตองขององคความรูท่ี

นักเรียนแตละคนหรือแตละกลุมคนพบ ส่ิงท่ีนักเรียนคนพบอาจจะเปน ขอเท็จจริง (Facts) ความคิด

รวบยอด (Concepts) สมบัติตางๆ (Properties) หลักการ (Principles) กฎ (Laws) วิธีการพิสูจน

(Methods of Proof) กลวิธีคิด (Strategies) ทฤษฎี (theories)

Page 9: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

13

2. โครงงานที่นําความรู หลักการทางคณิตศาสตรไปประยุกตใชเปนเครื่องมือการเรียนรูของสาขาวิชาการอ่ืนหรอืใชเปนเทคนิคในการแกปญหา

จากประเภทของโครงงานคณิตศาสตร พอสรุปไดวา การแบงประเภทของโครงงาน

คณิตศาสตรขึ้นอยูกับการแบงตามลักษณะ เชน แบงเปนโครงงานคณิตศาสตรประเภทสํารวจ

รวบรวมขอมูล ประเภททดลอง ประเภทพัฒนาหรือประดิษฐ และประเภทสรางทฤษฎีหรือสราง

คําอธิบายหรืออาจแบงเปนโครงงานที่ทําใหเกิดองคความรูตามเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร และ

หลักการทางคณิตศาสตรไปประยุกตใชก็ได

ขั้นตอนการทําโครงงานคณิตศาสตร ขั้นตอนการทําโครงงานคณิตศาสตรนั้นมีหลายขั้นตอน ดังท่ี ชัยศักดิ์ ลีลาจรัสกุล

(ม.ป.ป, หนา 8 – 13) ไดกลาวถึงการทําโครงงานคณิตศาสตรวา เปนการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง

และมีขั้นตอนการดําเนินงาน ดังนี ้

1. การคิดและเลือกหัวเรื่องหรือปญหาที่จะศึกษา เปนขั้นตอนลําดับแรกของการทําโครงงาน ดังนั้นจึงเปนขั้นตอนที่สําคัญที่สุด และ

ยากที่สุด หัวเรื่องหรือปญหาที่จะศึกษานั้นควรใหนักเรียนเปนผูคิดและเลือกดวยตนเอง โดยหัวขอ

เรื่องของโครงงานควรมีความเฉพาะเจาะจงและชัดเจน มุงชัดวาจะศึกษาส่ิงใดหรือตัวแปรใดและ

ควรเปนเรื่องที่แปลกใหม ซ่ึงแสดงถึงความคิดสรางสรรค

หัวเรื่องนี้สวนใหญ จะไดมาจากความสนใจ ความสงสัยและความอยากรูอยากเห็น

ของนักเรียนเองในเรื่องราวที่เกี่ยวของกับเรื่องท่ีครูสอนในหองเรียนหรือนอกหองเรียน หรือจาก

ส่ิงแวดลอมใกลตัว การอภิปรายรวมกับครูและเพื่อน ๆ การอานหนังสือหรือเอกสารตาง ๆ การไป

ศึกษานอกสถานที่ การฟง การบรรยายทางวิชาการในโอกาสตางๆ รวมท้ังรายการวิทยุและ

โทรทัศน การไปชมงานแสดงโครงงานตาง ๆ หรืออาจไดแนวคิดจากงานอดิเรกของนักเรียน

ขอควรคํานึงเกี่ยวกับการคัดเลือกหัวเรื่องท่ีจะทําโครงงาน คือตองเหมาะสมกับระดับ

ความรูของนักเรียน เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน สามารถหาวัสดุอุปกรณท่ีจําเปนตอง

ใชได มีงบประมาณเพียงพอ มีระยะเวลาที่ใชทําโครงงานที่เหมาะสม มีอาจารยหรือผูทรงคุณวุฒิรับ

เปนที่ปรึกษา มีความปลอดภัย และมีแหลงความรูหรือเอกสารเพียงพอที่จะคนควา

2. การวางแผนในการทําโครงงาน

ขั้นตอนนี้เปนการวางแผนในการทําโครงงาน รวมถึงการเขียนเคาโครงของโครงงาน

ซ่ึงตองมีการวางแผนหรือวางรูปโครงงานไวลวงหนา เพื่อใหการดําเนินการเปนไปอยางรัดกุมและ

รอบคอบ ไมสับสน แลวนําเสนอตออาจารยท่ีปรึกษาเพื่อขอความเห็นชอบกอนดําเนินการขั้น

ตอไป

Page 10: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

14

เคาโครงของโครงงานโดยทั่วไป จะเขียนขึ้นเพื่อแสดงแนวคิด แผนงานและขั้นตอน

ของการทําโครงงาน ซ่ึงประกอบดวย

2.1 ช่ือโครงงาน ควรเปนขอความที่กะทัดรัด ชัดเจน ส่ือความหมายตรง และมี

ความเฉพาะเจาะจงวาจะศึกษาอะไร

2.2 ช่ือผูทําโครงงาน

2.3 ช่ือท่ีปรึกษาโครงงาน

2.4 ท่ีมาและความสําคัญของโครงงาน อธิบายวาเหตุใดจึงเลือกทําโครงงานนี้มี

ความสําคัญอยางไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวของ เรื่องท่ีทําเปนเรื่องใหมหรือมีผูอ่ืนได

ศึกษาคนควาเรื่องทํานองนี้ไวบางแลว ถามีไดผลเปนอยางไร เรื่องท่ีทําไดขยายเพิ่มเติม ปรับปรงุ

จากเรื่องที่ผูอ่ืนทําไวอยางไร หรือเปนการทําซํ้าเพือ่ตรวจสอบผล

2.5 จุดมุงหมายของการศึกษาคนควา ความมีความเฉพาะเจาะจงและเปนส่ิงท่ี

สามารถวัดไดเปนการบอกขอบเขตของงานที่จะทําไดชัดเจนขึ้น

2.6 สมมติฐานของการศึกษาคนควา (ถามี) สมมติฐานเปนคําตอบ หรือคําอธิบายที่

คาดไวลวงหนา ซ่ึงอาจจะถูกหรือไมก็ได การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผล คือมีทฤษฎีหรือ

หลักการทางคณิตศาสตรมารองรับ และท่ีสําคัญคือ เปนขอความที่มองเห็นแนวทางในการ

ดําเนินการทดสอบได นอกจากนี้ควรมีความสําพันธระหวางตัวแปรอิสระและตัวแปรตามดวย

2.7 วิธีดําเนินงาน ประกอบดวย

2.7.1 วัสดุอุปกรณท่ีตองใช ระบุวาวัสดุอุปกรณท่ีจําเปนตองใชมีอะไรบาง

มาจากไหน อะไรบางที่ตองจัดซ้ือ อะไรบางที่ตองจัดทําเอง อะไรบางที่ตองขอยืม

2.7.2 แนวทางการศึกษาคนควา อธิบายวาจะออกแบบการทดลองอะไร

อยางไร จะสรางหรือประดิษฐอะไรอยางไร จะเก็บขอมูลอะไรบาง เก็บขอมูลอยางไร และเมื่อ

ใดบาง

2.8 แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกําหนดเวลาเริ่มตนและเวลาเสร็จของการ

ดําเนินงานในแตละขั้นตอน

2.9 ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

2.10 เอกสารอางอิง

3. การลงมือทําโครงงาน

เมื่อเคาโครงของโครงงานผานความเห็นชอบของอาจารยท่ีปรึกษาโครงงานแลว

นักเรียนเริ่มลงมือทําโครงงาน โดยปฏิบัติตามแผนดําเนินงานซ่ึงประกอบดวยการเก็บรวบรวม

ขอมูล การสรางหรือประดิษฐ การปฏิบัติการทดลอง การคนควาเอกสารตางๆ ซ่ึงสุดแลวแตวาจะ

Page 11: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

15

เปนโครงงานประเภทใด อาจเปนการเปล่ียนแปลงหรือเพิม่เติมจากแผนงานที่วางไวในตอนแรกบาง

ก็ได เมื่อดําเนินการทําโครงงานครบถวนตามขั้นตอนไดขอมูลแลว ควรมีการตรวจสอบผลการ

ทดลองดวยการทดลองซํ้าเพื่อใหไดผลท่ีแนนอน ถาเปนส่ิงประดิษฐควรคํานึงถึงความคงทน

แข็งแรง และขนาดที่เหมาะสม หลังจากนั้นทําการวิเคราะหขอมูลแปลผลและสรุปผลการศึกษา

คนควา พรอมท้ัง อภิปรายผลการศึกษาคนควาไมวาผลนั้น จะตรงตามความคาดหมายหรือตาม

สมมติฐานที่ตั้งไวหรือไมก็ตาม

4. การเขียนรายงาน

การเขียนรายงานโครงงานคณิตศาสตร เปนการเสนอผลของการศึกษาคนควาเปน

เอกสาร เพื่ออธิบายใหผูอ่ืนทราบแนวคิดหรือปญหาที่ศึกษา วิธีการดําเนินการศึกษาคนควาขอมูล

ตาง ๆ ท่ีรวบรวมได ผลของการศึกษา ตลอดจนประโยชนและขอเสนอแนะตางๆที่ไดจากโครงงาน

การเขียนรายงานควรใชภาษาที่อานเขาใจงาย ชัดเจน ส้ันๆ และตรงไปตรงมาโดย

ครอบคลุมหัวขอตางๆ ดังตอไปนี ้

4.1 ช่ือโครงงาน

4.2 ช่ือผูทําโครงงาน

4.3 ช่ือท่ีปรึกษาโครงงาน

4.4 บทคัดยอ อธิบายถึง ท่ีมาและความสํ าคัญของโครงงาน วัต ถุประสงค

วิธีดําเนินการและผลที่ไดตลอดจนขอสรุปตาง ๆ อยางยอ ประมาณ 300 – 350 คํา

4.5 ท่ีมาและความสําคัญของโครงงาน อธิบายความสําคัญของโครงงาน เหตุผลท่ี

เลือกทําโครงงานนี้ และหลักการหรือทฤษฎีท่ีเกี่ยวของกับโครงงาน เรื่องท่ีทําเปนเรื่องใหมหรือมี

ผูอ่ืนศึกษาไวบางแลว ถามีไดผลเปนอยางไร เรื่องท่ีทํานี้ไดขยายเพิ่มเติม หรือปรับปรุงจากเรื่องที่

ผูอ่ืนไดทําไวอยางไรบาง หรือเปนการทําซํ้าเพื่อตรวจสอบผล

4.6 จุดมุงหมายของการศึกษาคนควา

4.7 สมมติฐานของการศึกษาคนควา (ถามี)

4.8 วิธีดําเนินการ อาจแยกเปน 2 หัวขอยอย คือ วัสดุอุปกรณ และวิธีดําเนินการ

อธิบายขั้นตอนการดําเนินงานโดยละเอียด

4.9 ผลการศึกษาคนควา นําเสนอขอมูลหรือผลการทดลองตางๆ ท่ีสังเกตรวบรวมได

รวมทั้งเสนอผลการวิเคราะหขอมูลท่ีวิเคราะหไดดวย

Page 12: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

16

4.10 สรุปขอเสนอแนะ อธิบายผลสรุปที่ไดจากการทําโครงงาน ถามีการตั้งสมมติฐาน

ควรระบุดวยวาขอมูลท่ีไดสนับสนุน หรือคัดคานสมมติฐานที่ตั้งไว หรือยังสรุปไมได นอกจากนั้น

ยังควรกลาวถึง การนําผลการทดลองบางประการที่เกิดขึ้นจากการทําโครงงานนี้ไปใช รวมทั้ง

ขอเสนอแนะเพื่อปรับปรุงแกไข หากจะมีผูศึกษาคนควาในเรื่องทํานองนี้ตอไปในอนาคตดวย

4.11 คําขอขอบคุณ สวนใหญโครงงานคณิตศาสตรมักจะเปนกิจกรรมที่ไดรับความ

รวมมือจากหลายฝาย จงึควรไดกลาวขอบคุณบุคลากรหรือหนวยงานตางๆ ท่ีมีสวนชวยใหโครงงาน

นี้สําเร็จดวย

4.12 เอกสารอางอิงหนังสือ/หรือเอกสารตางๆ ท่ีผูทําโครงงานใชคนควาหรืออาน

เพื่อศึกษาขอมูลรายละเอียดตางๆ ท่ีนํามาใชประโยชนในการทําโครงงานนี ้

5. การแสดงผลงาน

การแสดงผลงานเปนงานขั้นสุดทายและสําคัญอีกประการหนึ่งของการทําโครงงาน

เปนการนําเสนอผลงานที่ไดศึกษาคนควาสําเร็จลงดวยความคิด ความพยายามของผูทําโครงงานให

คนอ่ืนไดรับรูและเขาใจถึงผลงาน การวางแผนออกแบบเพื่อจัดแสดงผลงานทําไดไมดีก็เทากับ

ไมไดแสดงความดีเยี่ยมของผลงาน ดังนั้นการวางแผนดังกลาวตองอาศัยเวลา และคํานึงถึงปจจัย

หลายประการ ท่ีสําคัญประการหนึ่งคือ ผูชมหรือผูฟง การแสดงผลงานนั้นอาจทําไดในรูปแบบตาง ๆ

กัน เชน การแสดงในรูปนิทรรศการ ซ่ึงมีท้ังการจัดแสดงและการอธิบายดวยคําพูด หรือในรูปแบบ

ของการจัดแสดง โดยไมมีการอธิบายประกอบ หรือในรูปของการรายงานแบบปากเปลา ไมวาการ

แสดงผลจะอยูในรูปแบบในควรจัดใหครอบคลุมประเด็นสําคัญ ตอไปนี ้

5.1 ช่ือโครงงาน ช่ือผูทําโครงงาน ช่ือท่ีปรึกษาโครงงาน

5.2 คําอธิบายยอ ๆ ถึงเหตุจูงใจการทําโครงงานและความสําคัญของโครงงาน

5.3 วิธีดําเนินการ โดยเลือกเฉพาะขั้นตอนที่เดนและสําคัญ

5.4 การสาธิตและแสดงผลที่ไดจากการทดลอง

5.5 ผลการสังเกตหรือขอมูลเดน ๆ ท่ีไดจากการทําโครงงานในการจัดนิทรรศการ

โครงงานนั้น ควรไดคํานึงถึงส่ิงตางๆ ตอไปนี ้

- ความปลอดภัยของการจัดแสดง - ความเหมาะสมกับเนื้อท่ีของบริเวณทีจ่ัดแสดง - คําอธิบายที่เขียนแสดง ควรเนนเฉพาะประเด็นที่สําคัญและส่ิงท่ีนาสนใจ

เทานั้น โดยใชขอความท่ีกะทัดรัด ชัดเจนและเขาใจงาย

- ดึงดูดความสนใจของผูเขาชม โดยใชรูปแบบการแสดงที่นาสนใจ ใชสีท่ี

สดใส เนนจุดสําคัญ

Page 13: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

17

- ใชตารางและรูปภาพประกอบ โดยจัดวางอยางเหมาะสม

- ส่ิงท่ีแสดงทุกอยางตองถูกตอง ไมมีการสะกดผิดหรืออธิบายหลักการที่ผิด

- ในกรณีท่ีเปนส่ิงประดิษฐ ส่ิงนั้นควรอยูในสภาพที่ทํางานไดอยางสมบูรณ ในการแสดงผลงาน ผูนําผลงานมาแสดงจะตองอธิบายหรือรายงานปากเปลา หรือตอบคําถามตาง

ๆ ตอผูชมหรือกรรมการตัดสินโครงงาน การอธิบายตอบคําถามหรือรายงานปากเปลานั้นควร

คํานึงถึงส่ิงตาง ๆ ตอไปนี ้

- ตองทําความเขาใจกับเรื่องท่ีจะอธิบายเปนอยางด ี

- คํานึงถึงความเหมาะสมของภาษาที่ใชกับระดับผูฟงควรใหชัดเจนและเขาใจงาย

- ควรรายงานอยางตรงไปตรงมา ไมออมคอม

- พยายามหลีกเล่ียงการอานรายงาน แตอาจจดหัวขอสําคัญๆไว เพื่อชวยในการ

รายงานเปนไปตามขั้นตอน

- อยาทองจํารายงาน เพราะทําใหดูไมเปนธรรมชาต ิ

- ขณะที่รายงานควรมองตรงไปยังผูฟง - เตรียมตัวตอบคําถามที่เกี่ยวของกับเรื่องนั้น ๆ

- ตอบคําถามอยางตรงไปตรงมา ไมจําเปนตองกลาวถึงส่ิงท่ีไมไดถาม

- หากติดขัดในการอธิบายควรยอมรับโดยดี อยากลบเกล่ือนหรือหาทางเล่ียงเปนอยางอ่ืน

- ควรรายงานใหเสร็จภายในระยะเวลาที่กําหนด

- หากเปนไปไดควรใชส่ือประเภทโสตทัศนูปกรณประกอบการรายงานดวย

เชน แผนใส สไลด คอมพิวเตอร เปนตน

การแสดงผลงานการทําโครงงานคณิตศาสตรอาจจัดทําไดหลายระดับ เชน การจัดเสนอ

ผลงานภายในชั้นเรียน การจัดนิทรรศการภายในโรงเรียน การจัดนิทรรศการในงานประจําปของ

โรงเรียน การสงผลงานเขารวมประกวดในงานแสดงหรือประกวดในระดับตางๆ เชน ระดับกลุม

โรงเรียน ระดับจังหวัด ระดับเขตการศึกษา ระดับชาติ เปนตน

จากขั้นตอนการทําโครงงานคณิตศาสตรดังกลาว พอจะสรุปไดดังนี้ ขั้นตอนแรกเปนการ

คิดเลือกหัวเรื่องหรือปญหาที่จะศึกษา โดยคํานึงถึงระดับความรูของนักเรียน คํานึงถึงวัสดุอุปกรณท่ี

จําเปนตองใช รวมถึงงบประมาณ ระยะเวลาในการทํา อาจารยท่ีปรึกษา ความปลอดภัย แหลงการ

เรียนรูหรือเอกสารอางอิงวามีเพียงพอหรือไม ขั้นตอนที่สองเปนการวางแผนโครงงาน โดยสวน

ใหญจะจัดทําในรูปแบบของเคาโครงของโครงงาน ซ่ึงมีสวนประกอบดังนี้ ช่ือโครงงาน ช่ือผูจัดทํา

Page 14: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

18

ช่ือท่ีปรึกษา ท่ีมาและความสําคัญของปญหา จุดมุงหมายของการศึกษาคนควา สมมติฐาน (ถามี)

วิธีดําเนินงาน แผนการปฏิบัติงาน ผลท่ีคาดวาจะไดรับและเอกสารอางอิง ขั้นตอนที่สามเปนการลง

มือทําโครงงานตามแผนที่ไดวางไว ขั้นตอนที่ส่ีเปนการเขียนรายงาน โดยการเขียนรายงานมี

สวนประกอบดังนี้ ช่ือโครงงาน ช่ือผูจัดทํา ช่ือท่ีปรึกษา ท่ีมา และความสําคัญของปญหา

จุดมุงหมายของการศึกษาคนควา สมมติฐาน (ถามี) วิธีดําเนินงาน ผลการศึกษาคนควา สรุปและ

ขอเสนอแนะ คําขอบคุณและเอกสารอางอิง ขั้นตอนสุดทายเปนการแสดงผลงาน

บทบาทของครูผูสอนโครงงานคณิตศาสตร ในการทําโครงงานคณิตศาสตรนั้นเปนกิจกรรมคณิตศาสตรประเภทหนึ่ง อาจจัดขึ้น

ภายในโรงเรียนไดตลอดปการศึกษา โดยที่จะตองมีจุดประสงคและมีแผนการดําเนินงานวาจะทํา

ในชวงไหน และมีระยะเวลานานเทาใด ในการทําโครงงานนั้นนักเรียนเปนผูลงมือดําเนินงานเอง

ท้ังหมด โดยมีอาจารยท่ีปรึกษาโครงงานเปนผูใหคําแนะนํา ชวยกระตุนความสนใจและเสริม

กําลังใจแกนักเรียนในระหวางการทําโครงงาน ซ่ึงสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยี (2530, หนา 56-58) ไดกลาวถึงบทบาทของครูผูสอนโครงงานคณิตศาสตรตามการ

ปฏิบัติงานของนักเรียนเปน 3 ระยะ ดังนี้

1. ระยะเริ่มตน

เรื่องที่ยากที่สุดในการทําโครงงานคณิตศาสตร คือ การเลือกหัวขอหรือปญหาที่

จะศึกษา เพราะจะตองเปนเรื่องท่ีเหมาะสมกับระดับความรูของนักเรียน และมีแนวทางที่จะหา

คําตอบได ประสบการณของนักเรียนจะชวยใหเกิดแนวคิด และเกิดความคิดสรางสรรคขึ้น

ได ฉะนั้นระยะเริ่มตนจึงเปนระยะสําคัญ ซ่ึงอาจารยท่ีปรึกษาจะตองใหความชวยเหลือเปนพิเศษ

โดยอาจทําได ดังนี ้

1.1 กระตุนหรือเราความสนใจของนักเรียนเกี่ยวกับการทําโครงงานคณิตศาสตร

1.2 แนะนําวิธีการทําโครงงานและเลือกหัวขอเรื่องหรือปญหาที่จะศึกษา

1.3 จัดเอกสารและแนะนําแหลงคนควาเพื่อใหนักเรียนสํารวจความสนใจและศึกษา

เพิ่มเติม

1.4 จัดใหมีบรรยายโดยวิทยากรในเรื่องท่ีนักเรียนสนใจหรือจัดศึกษานอกสถานที ่

1.5 ชวยแนะนําในการวางเคาโครงยอ และการวางแผนการทํางาน

1.6 ใหคําปรึกษาและดูความเปนไปไดของเคาโครงยอของโครงงาน

2. ระยะที่นักเรียนทําโครงงาน

เนื่องจากนักเรียนสวนใหญจะตองทําโครงงานคณิตศาสตรนอกเวลาเรียนปกติ และ

มักใชเวลาทํางานตามใจชอบ นอกจากจัดช่ัวโมงกิจกรรมไวในเวลาเรียนปกติ ดังนั้นเวลาจึงเปน

Page 15: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

19

เรื่องสําคัญเรื่องหนึ่งท่ีอาจารยท่ีปรึกษาจะตองควบคุม และเมื่อตรวจแกเคาโครงยอของโครงงาน

แลว อาจารยท่ีปรึกษาโครงงาน ควรปฏิบัติในหัวขอตอไปนี ้

2.1 ติดตามความกาวหนาในการทําโครงงานของนักเรียน โดยดูจากแผนการทํางาน

และควรฝกใหนักเรียนหาสมุดเฉพาะสําหรับจดบันทึกขอมูลประจําวันไว

2.2 ใหความชวยเหลือทางดานวิชาการ และปฏิบัติการเมื่อนักเรียนมีปญหา ซ่ึง

บางครั้งอาจจะตองติดตอขอความชวยเหลือจากอาจารยมหาวิทยาลัยหรือผูทรงคุณวุฒิจากหนวยงาน

อ่ืน

2.3 จัดใหนักเรียนไดพบปะและรวมกลุมเพื่อรายงานปากเปลา โดยมีอาจารยท่ี

ปรึกษารวมอยูดวย ซ่ึงจะเปนวิธีการหนึ่งในการชวยแกปญหาซ่ึงกันและกัน

2.4 ใหกําลังใจแกนักเรียนมิใหทอถอย เมื่อผลการดําเนินงานไมเปนไปตามความ

คาดหมายซ่ึงอาจจะตองมีการตั้งตนทําใหม หรือทําซํ้า และควรกระตุนใหนักเรียนทําโครงงานจน

สําเร็จครบทุกขั้นตอน

3. ระยะส้ินสุดการทําโครงงาน

หัวขอหรือปญหาที่นักเรียนเลือกทําโครงงานอาจมีความยากงายตางกัน แตก็คงอยูใน

ดุลยพินิจของอาจารยท่ีปรึกษาโครงงาน ซ่ึงไดพิจารณาถึงความเปนไปไดตั้งแตระยะเริ่มตนแลว

นอกจากนี้การไดวางแผนขั้นตอนการทํางานจะชวยไดอยางมาก เพราะในการทําโครงงานมักจะมี

ปญหาที่ไมคาดคิดขึ้นเสมอ นักเรียนทําการทดลองเพื่อรวบรวมขอมูลหลายครั้งกอนที่จะแปรผล

และลงขอสรุป แลวจึงจะเขียนรายงาน ฉะนั้นในชวงนี้อาจารยท่ีปรึกษาโครงงานอาจใหขอแนะนํา

ชวยเหลือ ดังนี ้

3.1 จัดเวลาใหนักเรียนไดพบเพื่อนเสนอผลงานกอนที่จะเขียนรายงาน

3.2 ตรวจสอบขั้นตอนในการเขียนรายงาน เพื่อใหเปนไปตามวิธีการทาง

วิทยาศาสตร และดูการใชภาษาเพื่อส่ือความหมายไดอยางชดัเจน

3.3 อาจารยท่ีปรึกษาโครงงานทําการประเมินผล ใหกําลังใจนักเรียนในความวิริยะ

อุตสาหะทํางานจนเปนผลสําเร็จ และคัดเลือกโครงงานไวแสดงในกรณีท่ีจะมีนิทรรศการ หรือ

การจัดแสดงโครงงานคณิตศาสตรของโรงเรียน สมาคมหรือหนวยงานตางๆ

3.4 การติดตามผล ซ่ึงอาจารยท่ีปรึกษาอาจสงเสริมโครงงานที่นาสนใจเปนพิเศษ

โดยใหนักเรียนทําตอเพื่อเพิ่มพูนทักษะในการคนควาตอไป หรือโครงงานที่ยังทําไมสมบูรณ

ก็ควรนํามาปรับปรุงแกไขเพิ่มเติมใหเสร็จ

3.5 ในแตละปการศึกษา ควรมีการวบรวมรายชื่อโครงงานคณิตศาสตรของ

นักเรียนไว เพื่อใชเปนแนวทางในการทําโครงงานในปตอๆไป

Page 16: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

20

จากบทบาทของครูผูสอนโครงงานคณิตศาสตร พอสรุปไดดังนี้ สามารถแบงการ

ปฏิบัติงานของนักเรียนออกเปน 3 ระยะ ดังนี้คือ ระยะเริ่มตน เปนการเลือกหัวขอหรือปญหาที่จะ

ศึกษาของนักเรียน ครูผูสอนควรกระตุนหรือเราความสนใจของนักเรียน แนะนําวิธีการทําโครงงาน

และแนะนําวิธีการเลือกหัวขอเรื่องท่ีจะศึกษา แนะนําแหลงคนควา แนะนําการวางเคาโครงยอ

รวมถึงแผนการทํางาน ใหคําปรึกษาและดูความเปนไปไดของเคาโครงของโครงงาน ระยะที่สอง

เปนระยะที่นักเรียนทําโครงงาน ควรติดตามความกาวหนาในการทํางานของนักเรียน ใหความ

ชวยเหลือนักเรียนเมื่อนักเรียนมีปญหา ระยะสุดทายเปนระยะส้ินสุดการทําโครงงานของนักเรียน

ชวยนี้ครูผูสอนอาจใหคําแนะนําชวยเหลือ โดยการจัดใหนักเรียนไดพบเพื่อนเพื่อนําเสนอผลงาน

กอนที่จะเขียนรายงาน ตรวจสอบขั้นตอนในการเขียนรายงาน มีการประเมินผลงานของนักเรียน

การประเมินโครงงานคณิตศาสตร ไดมีนักการศึกษาหลายทานไดกลาวเกี่ยวกับการประเมินโครงงานคณิตศาสตรไวหลาย

แบบโดย ยุทธพงษ ไกรวรรณ (2540, หนา 48 – 50) ไดเสนอแนวการประเมินโครงงานไว ดังนี ้

การประเมินโครงงานเปนการประเมินกิจกรรมการทํางานตั้งแตเริ่มตนจนสําเร็จถือเปน

การปรับพฤติกรรมการเรียนรู โดยการประเมินผลควรมี 3 ดาน คือ

1. ดานทักษะนิสัย

1.1 การวางแผนการทํางาน (Input)

1.2 กระบวนการทํางาน (Process)

1.3 ผลงานสําเร็จ (Product)

2. ดานพุทธิพิสัย อาจใชวิธีการสอนหรือถามการทํางาน

3. ดานจิตพิสัย เปนการวัดการเปล่ียนแปลงทางดานเจตคต ิ

ชัยศักดิ์ ลีลาจรัสกุล (ม.ป.ป., 15 – 18) ไดเสนอแนะหัวขอการประเมินไว ดังนี ้

1. ความรูความเขาใจในเรื่องท่ีทํา 2. การใชวิธีการทางวิทยาศาสตรท่ีใชแกปญหาทางการศึกษา 3. ความคิดสรางสรรค 4. การเขียนรายงาน

5. การจัดแสดงโครงงานและการอภิปรายปากเปลา

จากหัวขอเหลานี้ กําหนดใหแตละดานมีคะแนนเต็มเทาๆ กัน คือ 5 คะแนน รวมคะแนน

เต็มท้ังหมด (5 ดาน) 25 คะแนน มีการแบงเปน 5 ระดับคะแนน แตละระดับมี 1 ชวงคะแนน และมี

การตีความหมายผลงานเปน 5 ระดับ ดังนี้

Page 17: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

21

1 หมายถึง ตองปรับปรุง

2 หมายถึง พอใช

3 หมายถึง ดี

4 หมายถึง ดีมาก

5 หมายถึง ดีเยี่ยม

การประเมินผลโครงงานเมื่อรวมทั้ง 5 ดาน แลวคิดเปนคะแนนเก็บ 10 คะแนน ใชเกณฑ

ดังนี้

ชวงคะแนน 1 – 7 อยูในระดับตองปรับปรุง ไดคะแนน 6 คะแนน

ชวงคะแนน 8 – 12 อยูในระดับพอใช ไดคะแนน 7 คะแนน

ชวงคะแนน 13 – 17 อยูในระดับด ี ไดคะแนน 8 คะแนน

ชวงคะแนน 18 – 22 อยูในระดับดีมาก ไดคะแนน 9 คะแนน

ชวงคะแนน 23 – 25 อยูในระดับดีเยี่ยม ไดคะแนน 10 คะแนน

รายละเอียดเกี่ยวกับเกณฑการพิจารณาประเมินผลโครงงานคณิตศาสตรมีหลักเกณฑดาน

ตาง ๆ ดังนี ้

1. ความรูความเขาใจในเรื่องท่ีทํา พิจารณาจาก

1.1 การใชศัพทเทคนิคไดถูกตอง

1.2 การใชหลักการทางคณิตศาสตรถูกตองและเหมาะสม

1.3 มีความเขาใจในหลักการสําคัญๆของเรื่องท่ีทํา

1.4 การคนหาเอกสารอางอิงถูกตองเหมาะสม

1.5 การไดรับความรูเพิ่มเติมจากการทําโครงงานนอกเหนือจากที่เรียนหลักสูตรปกต ิ

2. กระบวนการที่ใชแกปญหาทางการศึกษา พิจารณาจาก

2.1 การสังเกตที่นํามาสูปญหา

2.2 มีการศึกษาหาขอมูลหรือขอเท็จจริงตาง ๆเพื่อเปนพ้ืนฐานเกี่ยวกับเรื่องท่ีกําลัง

ศึกษาเหมาะสมและตั้งสมมติฐานที่ถูกตองชัดเจน

2.3 การออกแบบการทดลองหรือการประดิษฐมีความสอดคลองกับปญหา หรือ

สมมติฐานเพียงใด

2.4 การวัดและการควบคุมตัวแปรตาง ๆ กระทําไดครบ ถูกตอง อุปกรณและ

เครื่องมือท่ีเลือกใชเหมาะสมกับการรวบรวมขอมูลและกระทําไดละเอียดถูกตองตรงจุดประสงคท่ี

ตองการศึกษา การบันทึกขอมูลมีความเปนระเบียบเรียบรอย และเหมาะสม

2.5 การแปรความหมายและการสรุปผลมีความสอดคลองกับผลที่ไดมาก-นอยเพียงใด

Page 18: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

22

3. ความคิดสรางสรรคพิจารณาจาก

3.1 ปญหาหรือเรื่องที่ทํามีความสําคัญและความแปลกใหมเพียงใด

3.2 ไดมีการดัดแปลง เปล่ียนแปลงหรือเพิ่มเติมแนวความคิดท่ีแปลกใหมลงไปใน

โครงงานที่ทํามาก- นอยเพียงใด

3.3 มีการคิดและใชวิธีการที่แปลกใหม ในการควบคุมหรือวัดตัวแปรหรือเก็บ

รวบรวมขอมูลตาง ๆ มาก - นอยเพียงใด

3.4 การเลือกและนําวัสดุอุปกรณมาใชใหเกิดประโยชน

3.5 ความสามารถในการเสนอแนะประโยชนท่ีไดรับจากโครงงาน

4. การเขียนรายงานพิจารณาจาก

4.1 ความถูกตองของแบบฟอรม ครอบคลุมหัวขอท่ีสําคัญ แบงแตละหัวขอออกอยาง

ชัดเจน

4.2 เสนอสาระในแตละหัวขอถูกตอง ชัดเจน รัดกุม สละสลวย

4.3 การแสดงหลักฐานการบันทึกขอมูลอยางเพียงพอ ตอเนื่องและเปนระเบียบ

4.4 การออกแบบการนําเสนอขอมูล ชัดเจน รัดกุมและเหมาะสม

4.5 การอภิปรายผลอยางมีเหตุผลและสรางสรรค

5. การจัดแสดงโครงงานและการอภิปรายปากเปลา พิจารณาจาก

5.1 การจัดแสดงโครงงานไดนาสนใจ ตลอดจนการออกแบบและติดตั้งไดสวยงาม

5.2 การเขียนคําอธิบายในแผนโปสเตอรชัดเจน เขาใจงาย

5.3 การจัดแสดงวัสดุอุปกรณครบถวน

5.4 การอภิปรายชัดเจนและใชภาษาไดถูกตอง

5.5 การตอบคําถามถูกตองและคลองแคลว

โดยพิจารณาการใหคะแนนตามหัวขอรายการขางตนใหพิจารณาดังนี ้

ลักษณะโครงงาน เกณฑประเมินผลงาน ระดับคะแนน 1. มีคุณสมบัติครบทุกขอ ดีเยี่ยม 5

2. ขาดคุณสมบัติเพียง 1 ขอ ดีมาก 4

3. ขาดคุณสมบัติเพียง 2 ขอ ดี 3

4. ขาดคุณสมบัติเพียง 3 ขอ พอใช 2

5. ขาดคุณสมบัติ 4 ขอขึ้นไป ตองปรับปรุง 1

Page 19: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

23

คูมือ ความหมายของคูมือ

การจัดการเรียนการสอนที่ดีและมีประสิทธิภาพนั้น ควรมีการจัดระบบการเรียนการสอน

ใหเปนแนวทางเดียวกัน ซ่ึงจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองมีการพัฒนาคูมือขึ้นมาเพื่อกําหนดแนวทาง

ขั้นตอนการสอนที่ชัดเจน ตลอดจนเกณฑการวัดผลการประเมินที่แนนอน เพื่อใหการเรียนการสอน

เปนไปในทิศทางที่ตองการ ซ่ึงความหมายของคูมือไดมีผูใหความหมายไวหลายทาน ดังนี ้

ศักรินทร สุวรรณโรจน (2535, หนา 77) ใหความหมายของคูมือวา เปนเอกสารหรือ

หนังสือท่ีจัดทําขึ้นเพื่อใหครูใชจัดการเรียนการสอน สามารถสอนใหเปนไปตามแนวทางของ

หลักสูตร หรือใชเปนคูมือของครูในการใชหนังสือเลมใดเลมหนึ่ง

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2538, หนา 126) ไดใหความหมายของคูมือไววา

หมายถึง สมุดหรือหนังสือท่ีแตงขึ้นเพื่อใชประกอบหรืออํานวยความสะดวกเกี่ยวกับการศึกษาเรื่อง

ใดเรื่องหนึ่ง

ปรีชา ชางขวัญยืน และคณะ (2539, หนา 127) ใหความหมายของคูมือวา เปนหนังสือท่ี

ใชควบคูไปกับการทําส่ิงใดส่ิงหนึ่ง เปนหนังสือท่ีใหแนวทางการปฏิบัติใหกับผูใชใหสามารถ

กระทําส่ิงนั้นๆ ใหบรรลุผลตามเปาหมาย สวนคูมือครูนั้นเปนหนังสือท่ีใหแนวทางและแนะนํา

เกี่ยวกับสาระวิธีการ กิจกรรม ส่ือ วัสดุอุปกรณ และแหลงขอมูล แหลงอางอิงตางๆ ปกติมักจะใช

ควบคูกับหนังสือเรียน เปนหนังสือท่ีครูไดศึกษาดวยตนเอง

ปยพันธ แสนทวีสุข (2540, หนา 242) ใหความหมายของคูมือวา เปนเอกสารที่รวบรวม

เนื้อหาท้ังทฤษฎีและแบบฝกปฏิบัต ิ

อํานวย เถาตระกูล (2541, หนา 8) ไดใหความหมายของคูมือวา เปนเอกสารที่มี

รายละเอียดเสนอแนะแกผูใช สามารถเขาใจแนวทางการใช และขอพึงปฏิบัติท่ีจะชวยใหการนํา

เรื่องนั้นไปใชตรงตามเจตนารมณได

คีรีบูน จงวุฒิเวศย และคณะ (2542, หนา 14) ไดใหความหมายของคูมือวา เปนแหลง

ของความรูของผูท่ีศึกษาและที่สําคัญคือ จะเปนตัวชวยใหมีความเขาใจมากขึ้น และสามารถที่จะ

นําไปปฏิบัติไดถูกตองมากขึ้น

อนุชิต เชิงจําเนียร (2545, หนา 22) ไดใหความหมายของคูมือวา เปนหนังสือท่ีเขียนขึ้น

เพ่ือเปนแนวทางใหผูใชคูมือไดศึกษาทําความเขาใจ และงายตอการปฏิบัติตามได ในการทํา

กิจกรรมอยางใดอยางหนึ่งใหมีมาตรฐานใกลเคียงกันใหมากที่สุด และทําใหนักเรียนนักศึกษามี

ความรูความสามารถและทักษะที่ใกลเคียงกัน

Page 20: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

24

จากความหมายของคูมือดังกลาว ท่ีนักการศึกษาหลายทานไดใหความหมายไว พอสรุป

ไดวา คูมือเปนเอกสารที่จัดทําขึ้นเพื่อใชเปนแนวทางในการปฏิบัติการของผูใช ใหสามารถดําเนิน

กิจกรรมอยางใดอยางหนึ่งใหมีมาตรฐานใกลเคียงกันใหมากที่สุดและบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมาย

ประเภทคูมือ ศักรินทร สุวรรณโรจน (2535, หนา 77)ไดแบงประเภทของคูมือออกเปน 2 ประเภท

ไดแก

1. คูมือการสอน หรือคู มือการจัดกิจกรรม เปนคูมือท่ีใหความรูและขอเสนอแนะ

เกี่ยวกับหลักสูตรการสอน และการจัดกิจกรรมการเรียนรู เชน คูมือการอบรมนักเรียนหนาเสาธง

คูมือการจัดกิจกรรมสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในโรงเรียน เปนตน

2. คูมือหนังสือเรียน เปนคูมือท่ีจัดขึ้นควบคูกับหนังสือเรียน ท่ีเราตองการอธิบายใหใช

หนังสือนั้นๆ ใหถูกตองอยางมีประสิทธิภาพ ซ่ึงการดําเนินการจัดกิจกรรมตางๆใหสอดคลองกับ

เนื้อหาในหนังสือเรียน จึงมีลักษณะกึ่งแผนการสอน กึ่งคูมือหนังสือเรียน

บันลือ พฤกษะวัน (2537, หนา 28) ไดแบงประเภทคูมือครูไว ดังนี ้

1. คูมือครูรายวิชา เปนตําราที่เสนอแนะเทคนิคการสอนแตละวิชา และแตละระดับชั้น

เชน คูมือสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา คูมือการสอนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา เปนตน

2. คูมือสอนรายวิชาและรายชั้น เปนตําราที่เสนอแนะการสอนรายวิชา ในระดับช้ันนั้น

เชน คูมือครูสอนคณิตศาสตรช้ัน ป.6 คูมือสอนภาษาไทยชั้น ป.6 เปนตน ตําราประเภทนี้จัดทําขึ้น

เพื่อชวยใหครูผูสอนปฏิบัติการสอน สามารถดําเนินการสอนเปนรายบทเรียนควบคูไปกับแบบเรียน

ท่ีนักเรียนใชอยู

3. คูมือครูสอนรายชั้นเรียน เปนตําราที่ เสนอแนะการสอนในระดับชั้นนั้นๆ ซ่ึง

ครอบคลุมทุกกลุมวิชา หรือรายวิชา เชน แนวการสอนสําเร็จรูป คูมือครูสอนชั้น ป.1 – ป.6 ตํารา

ประเภทนี้จัดทําขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในระดับชั้นนั้นๆ ท่ีประกอบไปดวย

จุดประสงค เนื้อหา กิจกรรม และการตรวจสอบผลการเรียนในระดับช้ันนั้นๆ

ปรีชา ชางขวัญยืน และคณะ (2539, หนา 127–132) อธิบายวา หนังสือคูมือท่ีพบกันมี 3

ประเภท ไดแก

1. คูมือครู เปนหนังสือท่ีใหแนวทางและคําแนะนําแกครู เกี่ยวกับสาระวิธีการ กิจกรรม

ส่ือ วัสดุอุปกรณ และแหลงขอมูลอางอิงตางๆ ปกติมักใชควบคูกบัตําราเรียน เชน คูมือจัดกิจกรรม

บูรณาการสําหรับเด็กปฐมวัย คูมือปฏิบัติการนิเวศวิทยา เปนตน

Page 21: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

25

2. คูมือผู เรียน : แบบฝกหัด คือหนังสือท่ีผู เรียนใชควบคูไปกับตําราที่ เรียนปกติ

จะประกอบไปดวยสาระ คําส่ัง แบบฝกหัด ปญหาหรือคําถามที่วางสําหรับเขียนคําตอบและ

การทดสอบ ปจจุบันคูมือผูเรียนไมเพียงแตจัดทําขึ้นเพื่อใชควบคูกับหนังสือตําราเทานั้น แตอาจใช

เปนคูมือสําหรับการศึกษาควบคูไปกับหนังสืออ่ืนๆ ท่ีทําหนาท่ีแทนครูหรือตํารา เชน บทเรียน

วิดีทัศน บทเรียนทางไกล ภาพยนตร หรือบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เปนตน

3. คูมือท่ัวไป เปนหนังสือท่ีใหขอความรู เกี่ยวกับการทําส่ิงใดส่ิงหนึ่งแกผูอาน

โดยมุงหวังใหผูอานหรือผูใชมีความเขาใจ และสามารถดําเนินการในเรื่องนั้นดวยตนเองไดอยาง

เหมาะสม

อํานวย เถาตระกูล (2541, หนา 8 – 10) ไดอธิบายเกี่ยวกับประเภทของคูมือวา เปน

แนวทางการปฏิบัติหรือแนวทางเพื่อความเขาใจในการกระทําเรื่องใดเรื่องหนึ่ง แบงออกเปน 3

ประเภท ไดแก

1. คูมือหลักสูตร เปนเอกสารที่มีรายละเอียดและขอเสนอแนะแก ผูใชหลักสูตร

ใหสามารถเขาใจแนวทางการใช และขอพึงปฏิบัติซ่ึงจะชวยใหการนําหลักสูตรไปใชไดตรงตาม

เจตนารมณนั้นๆ ไดอยางถูกตอง

2. คูมือฝกงาน เปนเอกสารที่เสนอแนะแนวทางการปฏิบัติการฝกงานของผูเรียน ท้ังใน

สถานศึกษาและในสถานประกอบการ รวมทั้งใหผูมีสวนรวมเกี่ยวของกับการฝกงานไดมีแนวทาง

ในการปฏิบัติใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน

3. คูมือนักเรียน เปนเอกสารแนะนําการปฏิบัติตนของนักเรียนที่อยูในสถานศึกษา

แหงนั้น โดยเสนอแนะเกี่ยวกับขอมูลของสถานศึกษา เชน อาคารที่ตั้ง กฎระเบียบวิธีปฏิบัติ

สิทธิประโยชน ส่ิงท่ีเปนบริการ และเครื่องอํานวยความสะดวกตางๆที่นักเรียนจะไดรับ

ประดับ เรืองมาลัย (2542, หนา 98) ไดเสนอแนวคิดเกี่ยวกับประเภทของคูมือ แบงเปน

3 ประเภท ไดแก

1. คูมือการสอน เปนคูมือท่ีใหเนื้อหาสาระความรู และขอเสนอแนะ เกี่ยวกับการจัด

กิจกรรมการเรียนการสอน วิธีการสอน

2. คูมือหนังสือเรียน เปนคูมือท่ีจัดขึ้นควบคูกับหนังสือเรียน ท่ีตองการอธิบายใหใช

หนังสือนั้นไดอยางถูกตอง และดําเนินกิจกรรมตางๆใหสอดคลองกับเนื้อหา

3. คูมือการใชส่ือ หรือนวัตกรรม เปนการเผยแพรผลงานของครู เพื่อใหผูอ่ืนนําไปใชให

ถูกตอง จึงตองจัดทําคูมือการใช

Page 22: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

26

อนุชิต เชิงจําเนียร (2545, หนา 24) ไดทําการศึกษาและสรุปไดวาคูมือแบงออกเปน 2

ประเภท ไดแก

1. คูมือเกี่ยวกับการเรียนการสอนตามหลักสูตร จัดเปนคูมือท่ีเสนอแนะแนวทางหรือ

เทคนิควิธีการสอน การใชส่ือหรอืนวัตกรรมที่สัมพันธกับรายวิชาหนึ่งหรือ ระดับช้ันเรียนตางๆที่

กําหนดไวในหลักสูตรนั้นๆ เชน คูมือรายวิชา คูมือระดับช้ันเรียน คูมือการใชส่ือนวัตกรรมการเรียน

การสอน เปนตน

2. คูมือการจัดกิจกรรมการสอนทั่วไป เปนคูมือท่ีเสนอแนะแนวทางหรือเทคนิคดําเนิน

กิจกรรมตางๆ เพื่อสงเสริมใหการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรบรรลุจุดประสงคท่ีกําหนดไว

และเปนคูมือท่ีมิไดเกี่ยวของสัมพันธกับเนื้อหาสาระ หรือคําอธิบายรายวิชาใดวิชาหนึ่งโดยตรง

องคประกอบของคูมือครู ในการจัดทําคูมือมีสวนประกอบที่สําคัญๆ ดังแนวคิดและขอสรุปของนักการศึกษาหลาย

ทาน ดังตอไปนี ้

ศักรินทร สุวรรณโรจน (2525, หนา 89) ไดสรุปองคประกอบของการจัดทําคูมือครู

ไว 6 สวน ดังนี ้

1. คําช้ีแจงการใชคูมือ

2. เนื้อหาสาระและกระบวนการหรือขั้นตอน

3. คําช้ีแจงเกี่ยวกับการเตรียมการที่จําเปนตางๆ เชน วัสดุอุปกรณ ส่ือ

4. ความรูเสริมหรือแบบฝกหัด หรือแบบฝกปฏิบัติเพื่อชวยในการฝกฝน

5. ปญหาและคําแนะนําเกี่ยวกับการปองกันและแกไขปญหา 6. แหลงขอมูลและแหลงอางอิงตางๆ

ปรีชา ชางขวัญยืน และคณะ (2539, หนา 127 – 132) ไดอธิบายองคประกอบของคูมือครู

ไว 8 สวน ดังนี ้

1. คําช้ีแจงการใชคูมือ โดยจะครอบคลุมถึง

1.1 วัตถุประสงคของคูมือ

1.2 ความรูพ้ืนฐานที่จําเปนในการใชคูมือ

1.3 วิธีการใช

1.4 คําแนะนํา

2. เนื้อหาสาระที่จะสอน ปกติจะมีเนื้อหาสาระที่จะสอน โดยมีคําช้ีแจงหรือคําอธิบาย

ประกอบ และอาจมีการวิเคราะหเนื้อหาสาระใหผูอานเกิดความเขาใจที่กระจาง

Page 23: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

27

3. การเตรียมการสอน ประกอบดวยรายละเอียด ดังนี ้

3.1 การเตรียมสถานที่ วัสดุ ส่ือ อุปกรณ และเครื่องมือท่ีจําเปน

3.2 การเตรียมวัสดุ เอกสารประกอบการสอน แบบฝกหัดและแบบปฏิบัติ ขอสอบ

คําเฉลย

3.3 การติดตอประสานงานที่จําเปน

4. กระบวนการ วิธีการ กิจกรรมการเรียนการสอน เปนสวนที่สําคัญของคูมือ ซ่ึงมี

ขอมูลและรายละเอียด ดังนี ้

4.1 คําแนะนําเกี่ยวกับขั้นตอน และวิธีดําเนินการสอน

4.2 คําแนะนําและตัวอยางเกี่ยวกับกิจกรรมการสอน ท่ีชวยใหผูสอนบรรลุผล

4.3 คําถาม ตัวอยาง แบบฝกหัด แบบฝกปฏิบัติ และส่ือตางๆที่ใชในการสอน

4.4 ขอเสนอแนะเกี่ยวกับส่ิงท่ีควรทํา ไมควรทํา ซ่ึงมาจากประสบการณของผูเขียน

5. การวัดและประเมินผล คูมือครูท่ีดีควรจะใหคําแนะนําท่ีเกี่ยวของกับการสอนอยาง

ครบถวน การวัดและการประเมินการสอน นับเปนองคประกอบสําคัญของการสอนอีกองคประกอบ

หนึ่ง ท่ีคูมือจําเปนตองใหรายละเอียดตางๆ เชน เครื่องมือวัดผล วิธีวัดผล เกณฑการประเมินผล

6. ความรูเสริม คูมือครูท่ีดี จะตองคํานึงถึงความตองการของผูใช และสามารถคาดคะเน

ไดวา ผูใชมักจะประสบปญหาในเรื่องใด และจัดหาหรือจัดทําขอมูลท่ีจะชวยสงเสริมความรูของครู

อันจะทําใหการสอนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

7. ปญหาและคําแนะนํา เกี่ยวกับการปองกันและการแกปญหา ผูเขียนคูมือครูจะเปนผูมี

ประสบการณในเรื่องที่เขียนมากพอสมควร ซ่ึงจะชวยใหรูวา ในการดําเนินการเรื่องนั้นๆมักจะมี

ปญหาอะไรเกิดขึ้นบาง และจุดออนในเรื่องนั้นมีอะไรบาง การมีประสบการณจะชวยใหผูใชและ

ผูอานสามารถกระทําส่ิงนั้นๆ ไดราบรื่น ไมเกิดอุปสรรค ปญหา นับวาเปนจุดเดนของคูมือ การทํา

หนาท่ีผูเขียนที่ดี จะตองแนะนําและปองกันปญหาที่อาจเกิดขึ้นกับผูอาน หรือผูใช

8. แหลงขอมูลและแหลงอางอิงตางๆ หนังสือท่ีดีควรมีแหลงขอมูลและแหลงอางอิงจะ

เปนประโยชนแกผูอานในการศึกษาคนควาตอไป

ดังนั้นองคประกอบของคูมือครูท่ีดีนั้น ควรประกอบดวย คําช้ีแจงในการใชคูมือโดย

ครอบคลุมถึง วัตถุประสงคของคูมือ ความรูพ้ืนฐานที่จําเปน วิธีการใช คําแนะนําเกี่ยวกับการใช

คูมือ รวมถึงเนื้อหาสาระที่จะสอนโดยอาจมีการวิเคราะหเนื้อหาสาระใหผูอานเกิดความเขาใจที่

กระจางขึ้น การเตรียมการสอน โดยบอกถึงการใชส่ือ วัสดุ อุปกรณ และเอกสารประกอบการเรียน

ตางๆ กิจกรรมการเรียนการสอนโดยระบุเกี่ยวกับขั้นตอน วิธีการสอน ตัวอยางและแบบฝกหัดตางๆ

การวัดและการประเมินผล ความรูเสริม ปญหาและคําแนะนํา แหลงขอมูลหรือแหลงอางอิงตางๆ

Page 24: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

28

ลักษณะของคูมือที่ด ี

ในการพัฒนาคูมือนั้น จําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองคํานึงถึงลักษณะของคูมือ ซ่ึงมีนักการศึกษา

ไดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะของคูมือท่ีดีไว ดังนี ้

ปรีชา ชางขวัญยืน และคณะ (2539, หนา 132) ไดอธิบายเกี่ยวกับคูมือท่ีดีวา คูมือจะตอง

มีความชัดเจนใหรายละเอียดครอบคลุม เพื่อใหผูอานเกิดความเขาใจ การเขียนคูมือตองครอบคลุม

ประเด็นตางๆ ดังนี ้

1. ควรระบุใหชัดเจนวา คูมือนั้นเปนคูมือสําหรับใคร

2. กําหนดวัตถุประสงคใหชัดเจน ตองการใหผูใชไดอะไรบาง

3. คูมือนี้ชวยผูใชไดอยางไร ผูใชจะไดประโยชนอะไรบาง

4. ควรมีสวนที่ใหหลักการหรือความรูท่ีจําเปนแกผูใช ในการใชเครื่องมือ เพื่อใหการ

ใชคูมือเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

5. ควรมีสวนที่ใหคําแนะนําแกผูใชเกี่ยวกับการเตรียมตัว การเตรียมวัสดุอุปกรณ และ

ส่ิงท่ีจําเปนในการดําเนินการตามที่คูมือแนะนํา

6. ควรมีสวนที่ใหคําแนะนําแกผูใชเกี่ยวกับขัน้ตอน กระบวนการในการทําส่ิงใดส่ิง

หนึ่ง ซ่ึงมีคุณสมบัติ ดังนี ้

6.1 เนื้อหาสาระที่ใหนั้นควรมีความถูกตอง สามารถชวยใหผูใชคูมือทําส่ิงนั้นได

สําเร็จ

6.2 ใหขอมูลรายละเอียดท่ีเพียงพอที่จะชวยใหผูใชคูมือสามารถทําส่ิงนั้นไดสําเร็จ

6.3 ขั้นตอนการทํา จะตองมีการเรียงลําดับอยางเหมาะสม ซ่ึงจะชวยใหผูใช

สามารถทําส่ิงนั้นๆไดอยางถูกตอง รวดเร็ว และประหยัด

6.4 ภาษาที่ใช จะตองสามารถส่ือใหผูใชเขาใจตรงกับผูเขียน ไมคลุมเครือหรือทํา

ใหผูใชเกิดความเขาใจผิด และภาษาที่ใชจะตองชวยใหผูใชเกิดความเขาใจงาย หากส่ิงใดมีความยาก

และซับซอน ควรเขียนใหเขาใจงายโดยใชเทคนิคอ่ืนๆ ประกอบ เชน ภาพตารางการเปรียบเทียบ

อุปมาอุปไมย การยกตัวอยาง การใชสีจําแนก เปนตน

6.5 การใหคําแนะนําและชี้แจงเหตุผล เกี่ยวกับส่ิงท่ีควรทํา และไมควรทํา เชน

เคล็ดลับหรือเทคนิควิธีตางๆ ท่ีจะชวยใหกระทําส่ิงนั้นๆ สําเร็จไดอยางดี รวมทั้งการแกปญหาตางๆ

ท่ีมักเกิดขึ้นจากการทําส่ิงนั้นๆ ขอมูลนี้มักจะมาจากความรูและประสบการณของผูเขียน ซ่ึงมักจะมี

คุณคาตอผูใชมาก

Page 25: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

29

7. ควรมีคําถามหรือกิจกรรมใหผูใชคูมือทํา เพื่อตรวจสอบความเขาใจในการอานหรือ

การปฏิบัติขั้นตอนที่เสนอแนะ และเวนที่วางสําหรับผูใชคูมือในการเขียนคําตอบรวมถึงมีคําถาม

หรือแนวในการตอบ หรือคําเฉพาะใหไวดวย และถาหากผูเขียนสามารถคาดคะเนคําตอบของผูใช

คูมือได ก็ควรอธิบายไวดวยวาคําตอบอะไร ถูกผิดดวยเหตุใด ก็จะยิ่งเปนประโยชนตอการใชคูมือ

8. ควรใชเทคนิคตางๆ ท่ีทําใหผูใช ๆ คูมือไดสะดวก เชน การจัดทํารูปเลม ขนาด การ

เลือกตัวอักษร การใชตัวดํา การใชสี การใชภาพ การเนนขอความบางตอน เปนตน

9. การใชแหลงอางอิงท่ีเปนประโยชนแกผูอ่ืน ซ่ึงอาจเปนบรรณานุกรม รายช่ือชมรม

รายชื่อส่ือ รายชื่อสถาบัน รายชื่อบุคคลสําคัญ เปนตน

บุญเกื้อ ควรหาเวช (2531, หนา 77) ไดอธิบายเกี่ยวกับคูมือท่ีดี ดังนี ้

1. ใชภาษาชัดเจน เขาใจงาย ใครครวญถึงปญหาและสถานการณอยางทะลุปรุโปรง

เพื่อใหผูใชคูมือใชไดเปนอยางด ี

2. ควรออกแบบคูมือใหสวยงาม นาหยิบนาอาน มีรูปภาพหรือการตูนประกอบ เพื่อให

นาสนใจ หากเปนเลมควรทําปกใหสวยงาม และทนทานตอการใช

3. เขียนหนาปกใหเดนชัด คูมือวิชาเดียวกันควรใชสีเดียวกัน เพ่ืองายตอการบงช้ีใน

ภายหลัง แมกําหนดหัวขอไดตามองคประกอบตางๆก็ตาม

4. คูมืออาจตัดหรือเพิ่มหัวขอใดตามความเหมาะสม

ดังนั้นลักษณะของคูมือท่ีดีควรมีลักษณะ คือ ระบุวาเปนคูมือสําหรับใครกําหนด

วัตถุประสงคใหชัดเจน ใหหลักการและคําแนะนําผูใชเกี่ยวกับความรู การเตรียมตัว ขั้นตอนการใช

ควรใชภาษาที่เขาใจงาย และควรออกแบบคูมือใหสวยงามนาสนใจ

ประโยชนของคูมือ ประโยชนของคูมือนั้น อราม เสือเดช (2549, หนา 53) ไดกลาววา คูมือท่ีจัดทําขั้นมี

ประโยชนตอหนวยงานและผูปฏิบัติงาน ดังนี ้

1. ถือเปนบรรทัดฐานสําหรับการปฏิบัติงาน คือชวยใหการปฏิบัติงานเปนไปอยางมี

กฎเกณฑ ไมวาใครจะเปนผูปฏิบัติหรือปฏิบัติตอใคร ทําใหเกิดแบบแผนที่ด ี

2. ชวยใหผูปฏิบัติงานตระหนักในหนาท่ีและความรับผิดชอบอยางชัดเจน

3. ใชเปนคูมือใหมในการฝกบุคลากรใหมทําใหสามารถเรียนรูงานไดถูกตองรวดเร็ว

4. ชวยลดเวลาและความผิดพลาดและความบกพรองในการปฏิบัติงาน

5. ชวยลดคาใชจายในการดําเนินงาน

6. ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน

Page 26: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข องarchive.lib.cmu.ac.th › full › T › 2553 › emath0053sj_ch2.pdf · 2.2 จุดมุ งหมายของโครงงานคณ

30

ขั้นตอนการจัดทําคูมือ ขั้นตอนการจัดทําคูมือนั้นมีหลายขั้นตอนที่สําคัญ ดังท่ีนักการศึกษาหลายทานไดแนะนํา

ไว ดังนี ้

สกุณา ยวงทอง (2542, หนา 29) กําหนดขั้นตอนในการจัดทําคูมือไวดังนี ้

1. ศึกษาขอมูลเบ้ืองตนที่เกี่ยวของกับงานวิจัย จากเอกสาร ตําราหลักสูตร งานวิจัยตาง ๆ

2. วิเคราะหผูใชคูมือ

3. กําหนดวัตถุประสงค และกําหนดขอบขายเนื้อหากวางๆ ของคูมือ

4. สํารวจรายละเอียดขอกําหนดจุดศึกษาในคูมือ

5. เขียนเนื้อหาของคูมือตามวัตถุประสงค และขอบขายเนื้อหากวางๆของคูมือ

6. ออกแบบรูปเลมภาพประกอบ จัดพิมพ ทดลองใชตามกระบวนการพัฒนาคุณภาพ

คูมือ แกไข ปรับปรุง

7. นําไปใชกับกลุมทดลอง เพื่อเก็บรวบรวมขอมูล

ศรัณย ไวยานิกรณ (2547, หนา 10) ไดกําหนดแนวทางในการจัดทําคูมือไว ดังนี ้

1. การสํารวจขอมูลพ้ืนฐาน เปนการศึกษาจากหลักการของหลักสูตร จุดหมายของ

หลักสูตร เกณฑการใชหลักสูตร จุดประสงคประเภทวิชาและมาตรฐานวิชาชีพ

2. การจัดทําคูมือ เปนการนําขอมูลพ้ืนฐานมาดําเนินการจัดทําคูมือการจัดการเรียนการ

สอน ซ่ึงประกอบดวย

2.1 คําช้ีแจงการใชคูมือ

2.2 หลักสูตรรายวิชา จุดประสงครายวิชา และมาตรฐานรายวิชา

2.3 หนวยการเรียนรู

2.4 แหลงขอมูลอางอิง

3. ทดสอบคูมือโดยใชผูทรงคุณวุฒิ เพื่อพิจารณาความเหมาะสม และนําขอมูลท่ีไดจาก

ผูทรงคุณวุฒิไปดําเนินการแกไขปรับปรุง

4. ประเมินคุณภาพของคูมือ โดยการนําคูมือท่ีไดจากการแกไขปรับปรุงใหผูเชี่ยวชาญ

แสดงความคิดเห็น รวมทั้งนําคูมือไปใหครูผูสอนไดใชในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชานั้น

และนําขอมูลท่ีไดมาปรับปรุงแกไขเพื่อความถูกตองและสมบูรณยิ่งขึน้

ดังนั้นขั้นตอนการจัดทําคูมือท่ีสําคัญ มีดังนี้ คือ ศึกษาขอมูลท่ีเกี่ยวของจากงานวิจัย

เอกสาร ตําราตางๆ แลวสํารวจเกี่ยวกับขอมูลพ้ืนฐานเกี่ยวกับหลักสูตรและวิเคราะหผูใชคูมือ จัดทํา

คูมือโดยนําความรูพ้ืนฐานมาดําเนินการจัดทําคูมือ ทดสอบและประเมินคุณภาพจากผูเชี่ยวชาญ

แลวนําขอมูลท่ีไดมาแกไขปรับปรุงเพื่อใหไดคูมือท่ีสมบูรณ