of 53 /53
บทที ่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) เอกสารประกอบการสอนรายวิชา PHYS 3201: ฟิสิกสเชิงคณิตศาสตร(คบ.)/คณิตศาสตรสําหรับฟิสิกส(วท.บ.) จักรกฤษ แกวนิคม สาขาวิชาฟิสิกส คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม October 14, 2014 จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที ่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 1 / 53

บทที่ 2 การวิเคราะห เวกเตอร (Vector ......บทท 2 การว เคราะห เวกเตอร (Vector Analysis) เอกสารประกอบการสอนรายว

  • Author
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Text of บทที่ 2 การวิเคราะห เวกเตอร (Vector ......บทท 2...

  • บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis)เอกสารประกอบการสอนรายวิชา

    PHYS 3201: ฟิสิกสเชิงคณิตศาสตร(คบ.)/คณิตศาสตรสําหรับฟิสิกส(วท.บ.)

    จักรกฤษ แกวนิคม

    สาขาวิชาฟิสิกส คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม

    October 14, 2014

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 1 / 53

  • อางอิง1 E. Kreyszig, Advanced Engineering Mathematics, tenth edition, Wiley, (2011)2 D. Griffiths, Introduction to Electrodynamics, third edition, Prentice Hall, (1999)

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 2 / 53

  • หัวขอยอย1 พีชคณิตเวกเตอร

    บทนําการดําเนินการของเวกเตอรผลคูณของสามเวกเตอรเวกเตอรตําแหนง

    2 แคลคูลัสเชิงอนุพันธแกรเดียนตไดเวอรเจนซเคิรลอนุพันธอันดับสอง

    3 แคลคูลัสเชิงปริพันธ

    4 ระบบพิกัดโคง

    5 ฟังกชันดิแรกเดลตา

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 3 / 53

  • 1. พีชคณิตเวกเตอร (Vector algebra)

    2.1 บทนําสมมติวาเราตองการระบุพิกัด (coordinate)ของจุดๆหน่ึงในปริภูมิ (space)

    4

    3A

    (4, 3)

    x

    y

    P

    เวกเตอรเป็นวัตถุเชิงเรขาคณิต มักใชสัญลักษณเป็นตัวหนา เชน A หรือมีลูกศรดานบน เชนA⃗ จากรูป เราสามารถเขียนแผนภาพเพื่อระบุจุดP ดวยรูปลูกศร ดังน้ันเวกเตอรจึงถูกเขียนในรูป A = (4, 3)

    ขนาดของเวกเตอรสามารถหาไดจากทฤษฎีบทปีธากอรัสคือ

    |A|2 = 42 + 32 = 25

    หรือ |A| =√

    25 = 5 เวกเตอรใดๆใน 2มิติ จึงเขียนไดในรูป

    A = (Ax, Ay) (1)

    Ax และ Ay จะเรียกวา องคประกอบ(component) ของเวกเตอร A ในแนวแกน xและ y ตามลําดับ และขนาดของมันกําลังสองจึงหาไดจาก

    |A|2 = A2x + A2y (2)

    โดยในกรณีน้ีคือ Ax = 4 และ Ay = 3

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 4 / 53

  • ถาหากเรามี 2 จุดในปริภูมิ ซึ่งเขียนแผนผังไดดังรูป

    (3, 1)

    3

    1

    (5, 5)

    5

    5

    B

    AC

    P

    Q

    x

    y

    2

    4

    จะไดB = (3, 1),

    C = (5, 5),

    A = C − B = (5, 5) − (3, 1)= (2, 4)

    น่ันคือ เราสามารถที่จะใชจุดตรงปลายลูกศรลบดวยจุดตรงหางลูกศรเพื่อหาองคประกอบของเวกเตอรไดเลย

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 5 / 53

  • x

    y

    z

    A

    Axy

    AxAy

    Az

    เวกเตอรใน 3 มิติจะมีองคประกอบ 3 องคประกอบคือ

    A = (Ax, Ay, Az) (3)

    x

    y

    z

    B C

    A QP

    AxyAx

    Ay

    Az

    จากรูปดานบน ถา B = (Bx, By, Bz),C = (Cx, Cy, Cz) เราจะไดวา

    A = C − B หรือ

    A = (Cx − Bx, Cy − By, Cz − Bz)จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 6 / 53

  • ตัวอยาง 2.1จงหาองคประกอบของเวกเตอรที่ชีจ้ากจุด (2, 4, 3) ไปยังจุด (−2, 5, 3) และเวกเตอรน้ีอยูในระนาบใด จงวาดรูปประกอบการอธิบาย

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 7 / 53

  • ขนาดของเวกเตอร

    จากรูป ขนาดของเวกเตอร A จะแทนดวยสัญลักษณ |A| ซึ่งเป็นปริมาณสเกลาร ในบางครัง้อาจจะแทนดวยสัญลักษณ A ขนาดของเวกเตอรใดๆสามารถหาไดจากทฤษฎีบทปีธากอรัสกลาวคือ

    |A|2 = A2xy + A2z (4)

    เน่ืองจาก A2xy = A2x + A2y ดังน้ัน

    |A|2 = A2x + A2y + A2z (5) x

    y

    z

    A

    Axy

    AxAy

    Az

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 8 / 53

  • ตัวอยาง 2.2จุด P อยูที่ตําแหนง (3, −4, 1) และจุด Q อยูที่ตําแหนง (−1, 2 − 1) จุดทัง้สองอยูหางกันกี่หนวย

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 9 / 53

  • การเทากันของเวกเตอรถา A = (Ax, Ay, Az) และ B = (Bx, By, Bz) เป็นเวกเตอรที่เทากันแลว องคประกอบในแตละแกนของเวกเตอรทัง้สองตองเทากันดวยน่ันคือ Ax = Bx, Ay = By และAz = Bz น่ันคือเวกเตอร A และ B จะตองมีขนาดเทากันและชีไ้ปในทิศทางเดียวกัน เราสามารถที่จะเลื่อนเวกเตอรตัวหน่ึงไปยังที่ใดก็ไดเทาที่เราตองการ เวกเตอรตัวน้ันจะยังคงรักษาขนาดและทิศทางไวเหมือนเดิม เครื่องหมายลบ (−) ที่อยูดานหนาของเวกเตอรเชน −A จะแสดงถึงเวกเตอรที่ชีใ้นทิศทางตรงกันขามกับเวกเตอร A แตขนาดของเวกเตอรทัง้สองจะมีคาเทากัน ดังรูป 2

    B

    A

    A = B

    Figure 1:

    A

    −A

    Figure 2:

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 10 / 53

  • 2.2 การดําเนินการของเวกเตอร (vector operations)การดําเนินการของเวกเตอรมีดังน้ี

    (i) การรวมเวกเตอร (addition of vectors)(ii) การคูณเวกเตอรดวยสเกลาร (multiplication by a scalar)(iii) ผลคูณเชิงสเกลารหรือผลคูณแบบดอท (scalar product or dot product)(iv) ผลคูณเชิงเวกเตอรหรือผลคูณแบบครอส (vector product or cross product)

    (i) การรวมเวกเตอร

    ในเชิงพีชคณิตน้ัน ผลรวมของเวกเตอร A และ B หาไดดังน้ีคือ

    A + B = (Ax + Bx, Ay + By, Az + Bz) (6)

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 11 / 53

  • คุณสมบัติของการรวมกันของเวกเตอร

    A + B = B + A ⇒ การสลับที่ (commutative)

    A + (B + C) = (A + B) + C ⇒ การเปลี่ยนกลุม (associative)

    A + 0 = 0 + A = A

    A + (−A) = 0

    (ii) การคูณเวกเตอรดวยสเกลาร

    การคูณเวกเตอร A = (Ax, Ay, Az) ดวยสเกลาร c โดยที่ c เป็นจํานวนจริงบวก จะเป็นผลใหเวกเตอรตัวน้ันมีขนาดเปลี่ยนแปลง แตยังคงรักษาทิศของเวกเตอรไวเหมือนเดิม

    cA = c (Ax, Ay, Az) = (c Ax, c Ay, c Az) (7)

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 12 / 53

  • คุณสมบัติของการคูณเวกเตอรดวยสเกลาร

    c(A + B) = cA + cB,(c + k)A = cA + kA,

    c(kA) = (ck)A,1A = A

    เวกเตอรหนวย (unit vectors)

    อีกรูปหน่ึงของเวกเตอรที่นิยมเขียนอยางกวางขวาง น่ันคือ เขียนในรูปเวกเตอรหนวย î, ĵ, k̂ ดังจะกลาวตอไปน้ี กําหนดให A = (Ax, Ay, Az) จะได

    A = Ax(1, 0, 0) + Ay(0, 1, 0) + Az(0, 0, 1)

    หรือ

    A = Ax̂i + Ay ĵ + Azk̂ (8)

    โดยที่î = (1, 0, 0), ĵ = (0, 1, 0), k̂ = (0, 0, 1) (9)

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 13 / 53

  • x

    y

    z

    î ĵk̂

    x

    y

    z

    P

    A

    Ax̂i

    Ay ĵ

    Azk̂

    กําหนดเวกเตอร A เป็นเวกเตอรใดๆ เราสามารถที่จะเขียนเวกเตอรน้ีในรูปของเวกเตอรหนวย,êA กลาวคือ

    A = |A|êA ⇒ êA =A|A|

    (10)

    โดยที่ |A| ก็คือขนาดของ A และ êA เป็นเวกเตอรหนวยที่ชีใ้นทิศเดียวกับเวกเตอร A

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 14 / 53

  • ตัวอยาง 2.3จงหาเวกเตอรหนวยที่ชีใ้นทิศเดียวกับเวกเตอร A = 2̂i + ĵ − 2k̂

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 15 / 53

  • (iii) ผลคูณเชิงสเกลารหรือผลคูณแบบดอท(scalar product หรือ dot-product หรือ inner product)

    ในรูปขององคประกอบเวกเตอร ถา A = (Ax, Ay, Az) และ B = (Bx, By, Bz) ผลคูณเชิงสเกลารของเวกเตอร, A · B (อานวา ”เอ-ดอท-บี”) ดังกลาว นิยามดังน้ีคือ

    A · B ≡ AxBx + AyBy + AzBz (11)

    ในเชิงเรขาคณิต ถาเราทราบมุมระหวางเวกเตอรA และ B เชน ถาเวกเตอรทัง้สองทํามุมกัน θผลดอทของเวกเตอรทัง้สองเขียนไดอีกรูปแบบคือ

    A · B = |A||B| cos θ (12)

    โดยที่มุม 0 ≥ θ ≥ π

    A

    Figure 3: การดอทเวกเตอร

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 16 / 53

  • จากสมการ (12) เวกเตอร A และ B จะเป็นเวกเตอรที่ตัง้ฉาก (orthogonal) ซึ่งกันและกัน(θ = π/2) (โดยที่ A, B ̸= 0) ก็ตอเมื่อผลคูณเชิงสเกลารของเวกเตอรทัง้สองจะเทากับศูนย

    ถา A · B = 0 ตีความไดวา ⇒ A และ B ตัง้ฉากกัน

    จากนิยามการดอทเวกเตอร ขนาดของเวกเตอรกําลังสองใดๆสามารถหาไดจากผลดอทเวกเตอร

    |A|2 = A · A = A2x + A2y + A2z (13)

    ตัวอยาง 2.4จงหา dot product ของเวกเตอร A = (3, 2, −1) และเวกเตอร B = (1, −1, 0)

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 17 / 53

  • ตัวอยาง 2.5จงหามุมระหวางเวกเตอรสองตัว, A และ B ที่ชีจ้ากจุดกําเนิดไปยังจุด (1, 0, 1) และ (0, 1, 1)ตามลําดับ

    xy

    z

    A B

    (1,0,1) (0,1,1)

    θ

    Figure 4: รูปสําหรับตัวอยาง

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 18 / 53

  • คุณสมบัติของผลคูณเชิงสเกลาร

    A · B = B · A ⇒ สมมาตร (symmetry)

    A · (B + C) = A · B + A · C ⇒ การแจกแจง (distributive)

    A · A = A2 ≥ 0

    โดยที่ A · A = 0 ก็ตอเมื่อ A = 0

    จากการนิยาม (11) พบวาî · î = ĵ · ĵ = k̂ · k̂ = 1

    และเน่ืองจาก î, ĵ และ k̂ เป็นเวกเตอรหนวยตัง้ฉาก (orthonormal) กันทัง้สามตัว ดังน้ัน

    î · ĵ = ĵ · k̂ = k̂ · î = 0

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 19 / 53

  • กฎของโคไซน (cosine law)ถา C เป็นเวกเตอรที่เกิดจาก A − B ดังรูป ให C ≡ |C|, A ≡ |A| และ B ≡ |B| จะได

    C2 = C · C = (A − B) · (A − B)

    = A · A + B · B − 2(A · B)

    เน่ืองจาก A · A = A2, B · B = B2 และA · B = AB cos θ

    B

    A C = A − Bθ

    จะได

    C2 = A2 + B2 − AB cos θ (14)

    ซึ่งเรียกวากฎของโคไซน (cosine law)Note! สังเกตวากรณีที่มุม θ = 90◦ กฎของโคไซนลดรูปเป็นกฎของสามเหลี่ยมปิธากอรัส

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 20 / 53

  • การประยุกตใชผลคูณเชิงสเกลาร

    งาน (work) ที่เกิดจากแรงที่กระทํากับวัตถุ เราสามารถเขียนในรูปผลคูณเชิงสเกลารคือ

    W = F · s = Fs cos θ (15)

    เมื่อ W คืองานที่เกิดจากแรงคงตัว F กระทํากับวัตถุใหเกิดการเคลื่อนที่เป็นระยะกระจัด s

    F

    s

    θ

    ตัวอยาง 2.6จงหางานที่เกิดจากแรงคงตัวขนาด 10 นิวตัน ลากมวล m ไปกับพื้น(ดังรูปดานบน)จากจุดกําเนิดไปยังจุด (2, 4, 0) โดยแรงน้ีมีมุมกระทํากับพื้น 30 องศา

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 21 / 53

  • Orthonormal basisพิจารณาเวกเตอรหนวย {̂i, ĵ, k̂} ซึ่งเป็นเวกเตอรที่ตัง้ฉากกันทัง้สามตัว โดยเราจะเรียกทัง้สามน้ีวา orthonormal basisa ถาเรามีเวกเตอรใดๆที่อยูในรูป

    v = v1̂i + v2̂j + v3k̂

    เราจะไดวา v1 = î · v, v2 = ĵ · v และ v3 = k̂ · v สําหรับ orthonormal basis î, ĵ และ k̂ในพิกัดคารทีเซียน จะเรียกวา standard basis

    aโดยทัว่ไปแลว orthonormal basis อาจเป็นเวกเตอรหนวยอื่นๆที่ตัง้ฉากกันทัง้หมด นอกเหนือจาก î, ĵและ k̂ ก็ได

    ตัวอยาง 2.7: เสนตรงที่ตัง้ฉากกันบนระนาบจงหาสมการเสนตรง L1 ที่ผานจุด (1, 3) บนระนาบ xy และเสนตรงน้ีตัง้ฉากกับเสนตรง L2ซึ่งมีสมการเสนตรงเป็น x − 2y + 2 = 0

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 22 / 53

  • ตัวอยาง 2.7 (ตอ)

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 23 / 53

  • ตัวอยาง 2.8จงหาเวกเตอรหนวยที่ตัง้ฉากกับระนาบ 4x + 2y + 4z = −7

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 24 / 53

  • แบบฝึกหัด 2.1

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 25 / 53

  • (iv) ผลคูณเชิงเวกเตอรหรือผลคูณแบบครอส

    ผลคูณเชิงเวกเตอรของเวกเตอรสองตัวนิยามดังน้ี

    A × B ≡ |A||B| sin θ n̂ (16)

    โดยขนาดของเวกเตอร |A × B|= |A||B| sin θ เมื่อ θ คือมุมระหวางเวกเตอร A และ Bและ 0 ≤ θ ≤ π เวกเตอรหนวย n̂ เป็นเวกเตอรหนวยที่ชีต้ัง้ฉากกับระนาบของเวกเตอร Aและ B ทิศของ n̂ ถูกนิยามใหคลอยตามกฎมือขวา ดังรูป

    |A||B| sin θ n̂

    A

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 26 / 53

  • พื้นที่สี่เหลี่ยมดานขนานถา A และ B เป็นเวกเตอรที่ประกอบเป็นดานของสี่แหลี่ยมดานขนานดังรูป แลว ขนาดของA × B จะเทากับพื้นที่ของสี่เหลี่ยมดานขนานน้ัน

    A

    B

    θB sin θ

    พื้นที่สี่เหลี่ยมดานขนาน = ฐาน × สูง = (A)(B sin θ) = |A × B|.

    ตัวอยาง 2.9จงหาพื้นที่สี่เหลี่ยมดานขนานที่มีดานสองดานเป็นเวกเตอร A = (1, 0, 1) และB = (0, 1, 1)

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 27 / 53

  • ตัวอยาง 2.9 (ตอ)

    ผลคูณเชิงเวกเตอรของเวกเตอรหนวยแสดงไดดังน้ี

    î × î = ĵ × ĵ = k̂ × k̂ = 0î × ĵ = −ĵ × î = k̂

    ĵ × k̂ = −k̂ × ĵ = îk̂ × î = −̂i × k̂ = ĵ

    ผลคูณเชิงเวกเตอรของเวกเตอรหนวยน้ีใชไดเฉพาะกับระบบพิกัดแบบมือขวา (right- handedsystem)

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 28 / 53

  • ดังน้ัน ผลคูณเชิงเวกเตอรในรูปขององคประกอบเขียนไดดังน้ีคือ

    (17)A × B = (Ax̂i + Ay ĵ + Azk̂) × (Bx̂i + By ĵ + Bzk̂)= (AyBz − AzBy )̂i + (AzBx − AxBz )̂j + (AxBy − AyBx)k̂

    เราามารถหาคาผลคูณเชิงเวกเตอรสามารถคํานวณไดจากดีเทอรมิแนนท (determinant) ของเมทริกดังน้ี

    A × B =

    ∣∣∣∣∣∣∣∣∣∣î ĵ k̂

    Ax Ay Az

    Bx By Bz

    ∣∣∣∣∣∣∣∣∣∣(18)

    หรือ

    A × B =

    ∣∣∣∣∣∣∣Ay Az

    By Bz

    ∣∣∣∣∣∣∣ î −∣∣∣∣∣∣∣Ax Az

    Bx Bz

    ∣∣∣∣∣∣∣ ĵ +∣∣∣∣∣∣∣Ax Ay

    Bx By

    ∣∣∣∣∣∣∣ k̂ (19)

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 29 / 53

  • ตัวอยาง 2.10จงหาเวกเตอรหนวย n̂ ที่ตัง้ฉากกับระนาบ ดังแสดงในรูป

    วิธิทํา

    x

    y

    z

    (0, 0, 1)

    (0, 1, 0)

    (1, 0, 0)

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 30 / 53

  • ตัวอยาง 2.10 (ตอ)

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 31 / 53

  • 2.3 ผลคูณของสามเวกเตอร (Triple products)การคูณกันของเวกเตอรสามตัว แบงไดเป็นสองชนิด คือ ผลลัพธเป็นสเกลาร และผลลัพธเป็นเวกเตอร เราแยกพิจารณาไดดังน้ี

    (i) ผลลัพธเป็นสเกลาร ผลการคูณเวกเตอรจะอยูในรูป A · (B × C) โดยที่

    A · (B × C) = B · (C × A) = C · (A × B) (20)

    ในรูปขององคประกอบเวกเตอรสามารถหาไดจากทีเทอรมิแนนทของเมทริกดังน้ี

    A · (B × C) =

    ∣∣∣∣∣∣∣∣∣∣Ax Ay Az

    Bx By Bz

    Cx Cy Cz

    ∣∣∣∣∣∣∣∣∣∣(21)

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 32 / 53

  • ความหมายเชิงเรขาคณิตคือ ขนาดของผลคูณเชิงสเกลารของการคูณทับสามครัง้มีคาเทากับปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมดานขนาน (parallelepiped) ที่มีขอบยาวเทากับขนาดของเวกเตอรทัง้ 3 ดังรูป

    BC sin θn̂ A

    B

    θ

    A cos ϕ

    เน่ืองจาก |B × C| = BC sin θ ดังน้ันปริมาตร = (BC sin θ)︸ ︷︷ ︸

    พื้นที่ฐาน

    (A cos ϕ)︸ ︷︷ ︸สูง

    = A|B × C| cos ϕ = A · |B × C|

    (ii) ผลลัพธเป็นเวกเตอร ผลคูณน้ีเป็นปริมาณเวกเตอร อยูในรูป A × (B × C) โดยที่

    A × (B × C) = B(A · C) − C(A · B) (22)

    เราอาจใชวิธีการจําสมการน้ีงายๆวา กฎ BAC-CABจักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 33 / 53

  • แบบฝึกหัด 2.2

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 34 / 53

  • 2.4 เวกเตอรตําแหนงและเวกเตอรระยะกระจัดนอยยิ่งเวกเตอรที่ชีไ้ปยังจุดใดๆในปริภูมิเรียกวาเวกเตอรตําแหนง (position vector) มักใชสัญลักษณ rซึ่งนิยามดังน้ี

    r = (x, y, z) = x̂i + ŷj + zk̂ (23)

    ขนาดของเวกเตอร r จึงอยูในรูป

    r =√

    x2 + y2 + z2 (24)

    ดังน้ัน เวกเตอรหนวย r̂ ที่ชีท้ิศเดียวกับเวกเตอร r สามารถหาไดจาก

    r̂ = rr

    = x̂i + ŷj + zk̂√x2 + y2 + z2

    (25)

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 35 / 53

  • xy

    z

    r

    ds

    Figure 5: เวกเตอรระบุตําแหนง

    xy

    z

    r r + dr

    dr

    Figure 6: ระยะกระจัดนอยยิ่ง

    เวกเตอรระยะกระจัดนอยยิ่ง (infinitesimal displacement vector) ที่ชีจ้ากจุด (x, y, z) ไปยังจุด(x + dx , y + dy , z + dz) คือ

    dr = (dx , dy , dz) = dx î + dy ĵ + dz k̂ (26)

    และds2 = dr · dr = dx2 + dy2 + dz2 (27)

    เราเรียก ds เรียกวา line elementจักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 36 / 53

  • 2. แคลคูลัสเชิงอนุพันธ

    2.1 แกรเดียนต (Gradient)ถาให f(x) เป็นฟังกชันสเกลารฟังกชันหน่ึง อัตราการเปลี่ยนแปลงของฟังกชัน f(x) เมื่อ xเปลี่ยนไปเป็นระยะนอยๆ x + dx จะอยูในรูป

    df =(df

    dx

    )dx (28)

    โดย df/dx จะบอกถึงความชัน (slope) ของกราฟระหวาง f(x) และ x

    ในกรณีที่ f ฟังกชันในปริภูมิ x, y, z1 เชน f = f(x, y, z) อัตราการเปลี่ยนแปลงของฟังกชัน f(x, y, z) จะอยูในรูป

    df (x, y, z) = ∂f∂x

    dx + ∂f∂y

    dy + ∂f∂z

    dz (29)

    1เราอาจเรียก f(x, y, z) วาฟังกชันสเกลาร (scalar function) หรือ สนามสเกลาร (scalar field)จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 37 / 53

  • สมการ (29) สามารถถูกเขียนไดอีกรูปคือ

    df =(

    ∂f

    ∂xî + ∂f

    ∂yĵ + ∂f

    ∂zk̂

    (dx̂i + dŷj + dzk̂

    )= ∇f · dr

    เมื่อ

    ∇f = ∂f∂x

    î + ∂f∂y

    ĵ + ∂f∂z

    k̂ (30)

    สัญลักษณ ∇f เรียกวาแกรเดียนต (gradient) ของฟังกชัน f หรือเราอาจเรียกสัน้ๆวา”แกรด-เอฟ”

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 38 / 53

  • ตัวดําเนินการ ∇ เป็นตัวดําเนินการเชิงเวกเตอร เรียกวา ตัวดําเนินการเดล (Del operator) ในพิกัดคารทีเซียนจะอยูในรูป

    ∇ = ∂∂x

    î + ∂∂y

    ĵ + ∂∂z

    k̂ (31)

    สนามสเกลารในทางฟิสิกสเชน อุณหภูมิ, พลังงานศักยโนมถวง, ความดัน เป็นตน

    Figure 7: ความตางของอุณหภูมิในปริภูมิ

    V (x, y, z) = −k√

    x2 + y2 + z2

    Figure 8: พลังงานศักยโนมถวงในปริภูมิ

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 39 / 53

  • ตัวอยาง 2.11จงหาแกรเดียนตของสนามสเกลาร T (x, y, z) = x2y + z3

    ตัวอยาง 2.12จงหาแกรเดียนตของขนาดของเวกเตอรระบุตําแหนง r =

    √x2 + y2 + z2

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 40 / 53

  • แบบฝึกหัด 2.3จงหาแกรเดียนตของฟังกชันตอไปน้ี

    1 h(x, y, z) = xy2 ln z2 g(x, y, z) = xyz + xey + y cos z

    กําหนดใหเวกเตอร r = r − r′ และ r = |r − r′| โดยที่ r = (x, y, z) และr′ = (x′, y′, z′) จงพิสูจนวา

    3 ∇(r2

    )= 2 r

    4 ∇(1/r) = −r̂/r

    แบบฝึกหัด 2.4

    จงพิสูจนวาแรงโนมถวง F(r) = −GMm

    r2r̂ ระหวางมวล M และมวลทดสอบ m มีคาเทากับ

    คาลบแกรเดียนตของพลังงานศักยโนมถวงของมวล M กลาวคือ

    F = −∇V

    เมื่อ V (r) = −GMm/r คือพลังงานศักยโนมถวงจักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 41 / 53

  • สําหรับระยะกระจัด dr ใดๆ อัตราการเปลี่ยนแปลง df เขียนไดอีกรูปคือ

    df = ∇f · dr = |∇f ||dr |cos θ (32)

    เมื่อ θ คือมุมระหวางเวกเตอร ∇f และ dr สมการ (32) จริงๆแลวก็คือรูปแบบสามมิติของสมการ (28) |∇f | จึงแสดงถึงอัตราการเปลี่ยนแปลงของ f ซึ่งจะมีคามากสุดเมื่อ θ = 0

    แกรเดียนของพื้นผิวใดๆจะแสดงถึงเวกเตอรตัง้ฉากกับพื้นผิวน้ันในทางเรขาคณิต ถาเรามีฟังกชันพื้นผิว ซึ่งอยูในรูป

    f(x, y, z) = c

    เมื่อ c เป็นคาคงตัวคาหน่ึง จะเป็นผลให df = ∇f · dr = 0 ดังน้ัน ∇f จะตัง้ฉากกับ drใดๆที่อยูบนพื้นผิวน้ี

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 42 / 53

  • x

    y

    z

    พื้นผิวf(x, y, z) = c

    ∇f

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 43 / 53

  • dr

    x

    y

    0.15

    0.4

    0.8

    0.8

    1.1

    1.1

    1.1

    1.4

    1.4

    1.7

    1.7

    2.3

    2.6

    2

    3

    ∇f

    f(x, y) = c

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 44 / 53

  • ตัวอยาง 2.13จงหาเวกเตอรหนวย n̂ ที่ตัง้ฉากกับผิวกรวยที่มีสมการเป็น z2 = 4(x2 + y2) ที่จุด (1, 0, 2)

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 45 / 53

  • ตัวอยาง 2.14เทือกเขาหน่ึงมีความสูง h(x, y) เป็นฟังกชันดังน้ีคือ (ในหนวยเมตร)

    h(x, y) = 10(2xy − 3x2 − 4y2 − 18x + 28y + 12)

    1. จุดสูงสุดของภูเขาอยูตรงจุดใด?2. จุดที่สูงสุดอยูสูงกี่เมตร?

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 46 / 53

  • ตัวอยาง 2.15ศักยไฟฟาของประจุขัว้คู (electric dipole) q และ −q อยูในรูปของฟังกชัน

    V (x, y, z) = q4πϵ0

    [1√

    x2 + (y − 1)2 + z2− 1√

    x2 + (y + 1)2 + z2

    ]

    จงหาสนามไฟฟารวมของประจุทัง้สองน้ี

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 47 / 53

  • ตัวอยาง 2.15 (ตอ)

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 48 / 53

  • แบบฝึกหัด 2.5

    แบบฝึกหัด 2.6จงหาเวกเตอรหนวยที่ตัง้ฉากกับพื้นผิวของทรงกระบอก x2 + y2 = 5 ณ จุด (

    √3, 1, 3)

    จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 49 / 53

  • จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 50 / 53

  • จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 51 / 53

  • จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 52 / 53

  • จักรกฤษ แกวนิคม (Physics CMRU) บทที่ 2 การวิเคราะหเวกเตอร (Vector Analysis) October 14, 2014 53 / 53

    พีชคณิตเวกเตอร์บทนำการดำเนินการของเวกเตอร์ผลคูณของสามเวกเตอร์เวกเตอร์ตำแหน่ง

    แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์แกรเดียนต์ไดเวอร์เจนซ์เคิร์ลอนุพันธ์อันดับสอง

    แคลคูลัสเชิงปริพันธ์ระบบพิกัดโค้งฟังก์ชันดิแรกเดลตา