4
ปี ที5 ฉบับที154 ประจำวนพุธท 25 กรกฎำคม 2555 มหาวิทยาลัยได้ร่วมจัดนิทรรศการ “พระมหากรุณาธิคุณสู่คนไทย...ใฝ่พระทัยมหาวิทยาลัยเปิดและการเรียนรู้ตลอดชีวิต” ใน นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เนื่องในโอกาสที่ทรงเจริญพระชนมายุครบ 5 รอบฯ นอกจากนี้ภายในงานมีการจัดนิทรรศการประวัติศาสตร์ของไทย รวมถึงพระราชประวัติและอัจฉริยภาพทั้งสี่ด้านของพระองค์ ทั้งด้าน การศึกษา สถาปัตยกรรม การแพทย์สาธารณสุข และด้านการบิน นอกจากนี้ไปรษณีย์ไทย ยังได้มีการเปิดตัวดวงตราไปรษณียากรเฉลิม พระเกียรติสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เนื่องในโอกาสมหามงคลนี้ด้วย รวมทั้งยังมีกิจกรรมไว้ให้สาหรับ ประชาชนได้เข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งเพื่อร่วมถวายเป็นพระราชกุศล ทั้งการบริจาคโลหิต และการไถ่ชีวิตโคกระบือ ซึ่งในส่วนกิจกรรมนี้ก็จะ มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฏาคม 2555 รวมถึงมีกิจกรรมการตรวจสุขภาพจากสถาบันการแพทย์อีกมากมาย เชิญชวนประชาชนทั่วประเทศ เข้าร่วมชมนิทรรศการนี้ ตั้งแต่บัดนี้จนถึง 31 กรกฎาคม 2555 ณ ลานอเนกประสงค์ ชั้น 2 อาคาร รัฐประศาสนภักดี ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ถ.แจ้งวัฒนะ ตั้งแต่เวลา 8.30 น. ไม่เว้นวันหยุดราชการ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดาเนินทรงเป็นประธานเปิดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เนื่องในโอกาส ที่ทรงเจริญพระชนมายุครบ 5 รอบฯ ณ ลานอเนกประสงค์ ชั้น 2 อาคารรัฐประศาสนภักดี ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ เมื่อวันที24 กรกฎาคม 2555 ในการนี้ รศ.ดร.สมจินต์ สันถวรักษ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ รักษาการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชพร้อมคณะ เฝ้าฯรับเสด็จ

ประจ ำวันพุธที่ 25 กรกฎำคม 2555 file23 ก.ค. 55 ส านักบรรณสารสนเทศมอบหนังสือสื่อการศึกษาและสิ่งของบ

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

ปีที่ 5 ฉบบัท่ี 154 ประจ ำวันพุธที ่25 กรกฎำคม 2555

มหาวิทยาลัยได้ร่วมจัดนิทรรศการ “พระมหากรุณาธิคุณสู่คนไทย...ใฝ่พระทัยมหาวิทยาลัยเปิดและการเรียนรู้ตลอดชีวิต” ในนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เนื่องในโอกาสที่ทรงเจริญพระชนมายุครบ 5 รอบฯ นอกจากนี้ภายในงานมีการจัดนิทรรศการประวัติศาสตร์ของไทย รวมถึงพระราชประวัติและอัจฉริยภาพทั้งสี่ด้านของพระองค์ ทั้งด้านการศึกษา สถาปัตยกรรม การแพทย์สาธารณสุข และด้านการบิน นอกจากนี้ไปรษณีย์ไทย ยังได้มีการเปิดตัวดวงตราไปรษณียากรเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เนื่องในโอกาสมหามงคลนี้ด้วย รวมทั้งยังมีกิจกรรมไว้ให้ส าหรับประชาชนได้เข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งเพ่ือร่วมถวายเป็นพระราชกุศล ทั้งการบริจาคโลหิต และการไถ่ชีวิตโคกระบือ ซึ่งในส่วนกิจกรรมนี้ก็จะมีข้ึนในวันที่ 27 กรกฏาคม 2555 รวมถึงมีกิจกรรมการตรวจสุขภาพจากสถาบันการแพทย์อีกมากมาย เชิญชวนประชาชนทั่วประเทศ เข้าร่วมชมนิทรรศการนี้ ตั้งแต่บัดนี้จนถึง 31 กรกฎาคม 2555 ณ ลานอเนกประสงค์ ชั้น 2 อาคาร รัฐประศาสนภักดี ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ถ.แจ้งวัฒนะ ตั้งแต่เวลา 8.30 น. ไม่เว้นวันหยุดราชการ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศม์ิ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชด าเนินทรงเป็นประธานเปิดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เนื่องในโอกาสที่ทรงเจริญพระชนมายุครบ 5 รอบฯ ณ ลานอเนกประสงค์ ชั้น 2 อาคารรัฐประศาสนภักดี ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2555 ในการนี้ รศ.ดร.สมจินต์ สันถวรักษ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ รักษาการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชพร้อมคณะ เฝ้าฯรับเสด็จ

20 - 22 ก.ค.55 มสธ.จดัอบรมภาษาองักฤษเพื่อรองรับการเปิดประชาคมอาเซียน ณ ห้อง 231 -232 อาคารสมัมนา 2

23 ก.ค. 55 ส านักบรรณสารสนเทศมอบหนังสือสื่อการศึกษาและสิ่งของบ ารุงห้องสมุดในโครงการ “ความรู้สู่น้องน้อย” ให้แก่โรงเรียนวัดปรมัยยิกาวาส (แสนสวัสดิ์วิทยาคาร) โรงเรียนที่ขยายโอกาสและรองรับเด็กในพ้ืนที่เกาะเกร็ดและใกล้เคียง รวมทั้งครอบครัวสุนทรวินิต มอบเงินจ านวน 10,000 บาท เพ่ือจัดซื้อสิ่งของเพ่ิมเติมเพ่ือใช้ในกิจการห้องสมุด ณ โรงเรียนวัดปรมัยยิกาวาส อ.เกาะเกรด็ จ.นนทบุรี

18 ก.ค. 55 มสธ.จัดประชุม แผนปฏิบัติราชการประจ าปี งบประมาณ 2556 ณ ห้องสามศร อาคารอเนกนิทัศน์

19 ก.ค. 55 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ จัดบรรยายพิเศษ เร่ือง Human

Right Discourse โดย Assoc.Prof.Dr.Lisa Brooten จาก Southern

illinois University บรรยายพิเศษ ห้องสารนิเทศ 1 อาคารบริหาร

18 ก.ค. 55 มสธ.ร่วมพิธีมอบกล้าไม้และถวายราชสดุดีพระราชาน ุสาวรีย์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต ของสมเด็จยา่ ณ สวนสมเด็จ จ.นนทบรีุ

22 ก.ค. 55 “รับขวัญนักศึกษาใหม่ถักทอสายใยด้วยศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น” ให้แก่ชมรมนักศึกษา มสธ. ทั้งสิ้น 9 ชมรม ซึ่งเป็นนักศึกษาใหม่ ปี 55

เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.วศินา จันทรศิร ิ ประธานคณะอนุกรรมการด าเนินการรับฟัง ความคิดเห็นของประชาคมตามข้อบังคับฯ ว่าด้วยการสรรหาอธิการบดี ข้อ 16 ก (1) จัดกิจกรรมให้ประชาคม ร่วมกันแสดงความคิดเห็นอันเป็นประโยชน์ต่อการสรรหาอธิการบดี เป็นประธานเปิดการด าเนินการรับฟังความคิดเห็นฯ โดยมี รศ.ยุทธพร อิสรชัย เป็นผู้ด าเนินการรับฟังความคิดเห็นของประชาคม ณ ห้องประชุมใหญ่ อาคารวิทยทัศน์ การแสดงความคิดเห็นนี้ถือเป็นขั้นตอนแรกของการด าเนินการในขั้นที่ 2 ซึ่งมีคณะกรรมการสรรหาอธิการบดี คณาจารย์ ข้าราชการ พนักงาน เจ้าหน้าที่ มสธ. เข้าร่วมแสดงความคิดเห็นประมาณ 100 คน นอกจากนี้ได้มีการถ่ายทอดสดบน web casting ภายในเครือข่ายของมหาวิทยาลัย โดยคณะอนุกรรมการฯจะสรุปผลของประชาคมเพ่ือส่งมอบให้สภามหาวิทยาลัยใช้ประกอบการพิจารณาก าหนดเป็นนโยบายของสภามหาวิทยาลัย และจัดพิมพ์สรุปผลความคิดเห็นครั้งนี้เป็นเอกสารส่งให้แก่ประชาคมได้ทราบต่อไป

ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า รด าเนินการรับฟังความคิดเห็นของประชาคมฯ มีกรรมการทั้ งสิ้ น 6 ราย ได้แก่ ประธานก ร ร ม ก า ร ป ร ะ จ าสาขาวิชามนุษยนิเวศ

ศาสตร์ (รศ.ดร.วศินา จันทรศิริ) ประธานกรรมการประจ าสาขาวิชารัฐศาสตร์ (รศ.ยุทธพร อิสรชัย) ผู้อ านวยการส านักบรรณสารสนเทศ (รศ.ดร.สมพร พุทธาพิทักษ์ผล) ผู้อ านวยการส านักการศึกษาต่อเนื่อง (รศ.วรวุฒิ เทพทอง) ผู้แทนสาขาวิชานิติศาสตร์ (ผศ.ดร.ภาณุมาศ ขัดเงางาม) ผู้แทนสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ ทั้งนี้คณะอนุกรรมการฯได้ร่วมรับฟังความคิดเห็นจากชมรมนักศึกษาจังหวัดต่างๆที่มาประชุมสัมมนาที่มหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 2 - 3 มิถุนายน 2555 และได้น าประเด็นและแผนงานการรับฟังความคิดเห็นเสนอสภาวิชาการ ในการประชุม ครั้งที่ 11/2555 เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2555รวมทั้งได้รวบรวมแบบสอบถามเพ่ือส ารวจความพึงพอใจของบุคลากรที่มีต่อการพัฒนาระบบบริหารจัดการของ มสธ. ซึ่งเป็นตัวชี้วัดหนึ่งที่คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานที่แต่งตั้งโดย สภามหาวิทยาลัยจะท าการส ารวจความ

คิ ด เ ห็ น ข อ ง บุ ค ล า ก ร ต่ อ เ นื่ อ ง จ า กปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 เพ่ือให้ทราบพัฒนาการของการพัฒนาระบบบริหารจัดการของมหาวิทยาลัย แล้วจะน าผลการประ เ มิ น ในภาพร วมราย ง านต่ อสภ ามหาวิทยาลัย แบบสอบถามนี้ให้ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานมหาวิทยาลัย นักศึกษาและศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัย สามารถแสดงความคิดเห็นโดยกรอกข้อมูลตามแบบฟอร์ม ใส่กล่องตามจุดต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยตาม รวม 8 จุด ซึ่งเก็บรวบรวมไปเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2555

ข่าวสภามหาวิทยาลัย

สื่อสัมพันธ์เพื่อความเข้าใจและข่าวสารภายใน มสธ. เผยแพร่ทุกวันพุธ ปีที่ 5 ฉบับที่ 154 ประจ าวันพุธที ่25 กรกฎาคม 2555 จัดท าโดย งานประชาสัมพันธ ์ส านักงานอธิการบด ีที่ปรึกษา: นายธรรมรงค ์ใจสมคม บรรณาธิการ: น.ส.ชุติมา ศรีเอม กองบรรณาธิการ: นายนิติ พานนาค ถา่ยภาพ: นายธีรพล ศรีเป๊ะบัว ติชม/เสนอแนะ E-mail: [email protected] หรือ [email protected]

ประชาคมอาเซียนคืออะไร?

ประชาคมอาเซียนทั้งสามเสาหลักมีความส าคัญต่อแบบแผนการสร้างความร่วมมือกันระหว่างประเทศ หากเป็นในอดีตเรื่องท านองนี้จะถูกปัดไปเป็นเรื่องในความรับผิดชอบของรัฐบาล ประชาชนไม่เกี่ยวข้องโดยตรง แต่ในเมื่ออาเซียนพลิกความคิดใหมต่ามกฏบัตรอาเซยีนที่ประกาศให้มีผลบังคับใช้ในเดือนธันวาคม 2551/2008 ดุจเป็นรัฐธรรมนญูร่วมของอาเซียนทีร่ัฐสมาชิกทั้งหายต้องยึดถือและปฏิบัตติาม เมื่อเป็นดังน้ีแล้วทุกเรื่องที่เกิด ทุกอย่างท า จะมีผลกระทบต่อประชาชนพลเมืองไทยและพลเมืองอีก 9 ประเทศของอาเซียนโดยตรง ท้ังการเมืองและความมั่นคง ทั้งการเศรษฐกิจ และทั้งด้านสังคมและวัฒนธรรม เพราะอะไรที่ก าหนดแล้วว่าจะท า ก็ต้องท าเหมือนกันหมด กระทบเท่ากันหมดในทุกประเทศที่เป็นสมาชิกอาเซยีน หากลงนามสร้างสันติภาพร่วมกัน พลเมืองทั้งหลายก็ต้องช่วยกันสร้างสันติภาพระหว่างกัน หากตกลงว่าจะเปิดพรมแดนไปมาหาสู่ ท ามาค้าขายกันอย่่างเสรี ไม่มีก าแพงขวางกั้น ทั้งก าแพงภาษีและกระบวนงานด่านศุลกากร อาเซยีนบอกว่าให้สะดวกรวดเร็วก็จะต้องท าให้ได้สะดวกรวดเร็วเสมอเหมือนเท่าเทียมกันท้ังหมด เมื่ออาเซียนตกลงให้เปิดเขตการค้าเสรีก็ต้องเปิดเสรีพร้อมกันทั้งหมด หากอาเซยีนตกลงว่าจะต้องจรรโลงรักษาความแตกต่างหลากหลายทางภาษา ศาสนา และวัฒนธรรมในอาเซียนให้เป็นอัตลักษณ์เฉพาะของอาเซียนร่วมกันเป็นหน่ึงเดียวกัน ทุกชาติทุกกลุ่มวัฒนธรรมธรรมในท้องถิ่นต่างๆของอาเซียนก็จะต้องมีจิตส านึกร่วมอัตลกัษณ์เดียวกันให้ได้ รวมความว่าความตกลงของอาเซียนผ่านการลงนามของผู้น าในระดับต่างๆล้วนมผีลกระทบต่อพลเมืองไทยและพลเมืองอาเซียนทั้งสิ้น

พลเมืองไทย ยังไม่พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

การเกิดของประชาคมอาเซียนเปน็การค่อยๆเกิด ค่อยๆพัฒนา ค่อยๆเติบโต และค่อยเป็นค่อยไป เปน็กระบวนการที่ถูกปล่อยให้พัฒนาไปช้าๆมาแตแรกเริ่ม แต่มาถูกเร่งให้เป็นรูปธรรมโดยตั้งเป้าหมายไว้ในปี 2558/2015 และมีเอกสารคู่มือการท างานไปสู่ประชาคมอาเซียนทีเ่รียกว่า “Roadmap for an ASEAN Community” และเอกสารที่ว่านีก้็เพิ่งจัดท าไดม้าเพียงสามปีเท่าน้ัน นับจากปี 2552/2009 เหลือเวลาอีกเพียงสี่ปเีท่านั้นท่ีจะถึงปีเป้าหมายของการเกดิประชาคมอาเซียน เวลาของการเตรียมพร้อมนั้นน้อยมาก ความตื่นตัวในหมู่ประชาชนไทยเองยังไม่ปรากฏ นอกเหนือไปจากการท ากิจกรรมในสถาบันการศึกษาจ านวนไมม่ากนกั ยิ่งไปกว่าน้ันก็ยังพบว่ารัฐบาลเองก็ยังไม่ตื่นตัว ยังไม่มีแผนยุทธศาสตร์ใดๆเลยในอันท่ีจะน าทางประชาชนไปสู่ประชาคมอาเซียน รัฐบาลปัจจุบันยังไม่ประกาศแผนปฏิบตัิการส่วนของไทยในการไปสู่ประชาคมอาเซยีนเลย

ดังนั้นภาคประชาชนจึงไม่มีทิศทางในการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ไม่รู้ว่าต้องท าอะไรอย่างไร เมื่อไร และจะพึ่งใครได้ ถ้าต้องการข้อมูลข่าวสารเพื่อเตรียมตัวให้พร้อม

นี่คือความน่าเป็นห่วงส าหรับประเทศไทยและพลเมืองไทย

สมเกียรติ อ่อนวิมล

อาม็อก (Amok) เป็นอาหารคาวยอดนิยมของกัมพูชา มีลักษณะคล้ายห่อหมกของไทย โดยเป็นการน าเนื้อปลาสด ๆ ลวกพริกเครื่องแกง และกะทิ แล้วท าให้สุกโดยการน าไปนึ่ง ซึ่งนอกจากจะใช้เนื้อปลาแล้ว อาจเลือกใช้เนื้อไก่แทนก็ได้ ส่วนสาเหตุท่ีคนในประเทศกัมพูชานิยมรับประทานปลา เนื่องจากสภาพภูมิประเทศของกัมพูชามีแหล่งน้ าอุดมสมบูรณ์ ท าให้ปลาเป็นอาหารที่หารับประทานได้ง่ายนั่นเอง อาม็อก(Amok)