39
91 หนวยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการเรียนที6 เรื่อง การชนใน 1 มิติและ 2 มิติ เวลา 5 ชั่วโมง 1. สาระการเรียนรู/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรูที่เกี่ยวของ สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนทีมาตรฐาน ว 4.1 เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร มีกระบวนการ สืบ เสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางถูกตองและมีคุณธรรม มาตรฐาน ว 4.2 เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตางๆ ของวัตถุในธรรมชาติมีกระบวนการสืบเสาะหาความรู และจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใช สาระที8 ธรรมชาติวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.1 ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหา รูวาปรากฏการณ ตามธรรมชาติที่เกิดขึ้น สวนใหญมีรูปแบบที่แนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได ภายใตขอมูลและ เครื่องมือที่มีอยูในชวยเวลานั้นๆ เขาใจวา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดลอมมีความเกี่ยวของ และสัมพันธกัน ผลการเรียนรูขอที16. อธิบายและคํานวณการชนในหนึ่งและสองมิติทั้งแบบยืดหยุนและไมยืดหยุนได 17. ทําการทดลองเรื่องการชนในหนึ่งมิติทั้งแบบยืดหยุนและไมยืดหยุการดีดตัวออกของวัตถุใน หนึ่งมิติโดยใชชุดการทดลองรางลมได 37. นําขอมูลจากการสังเกต การสํารวจตรวจสอบหรือการทดลอง มาใชเปนหลักฐานหรือประจักษ พยานอางอิง ในการตอบคําถามหรือสรางคําอธิบายตางๆ 38. เชื่อมโยง วิเคราะห สังเคราะห คําอธิบายหรือคําตอบของคําถามตางๆ อยางมีเหตุผล เพื่อไปสู องคความรูทางวิทยาศาสตร ซึ่งอาจอยูในรูปของแนวความคิดหลักหลักการกฎหรือทฤษฎี 39. อธิบาย นําเสนอ เพื่อสื่อสารองคความรูไปยังผูอื่นอยางมีเหตุผลดวยความรอบรูเกี่ยวกับหลัก วิชาการที่เกี่ยวของอยางรอบดาน มีความรอบคอบที่จะนําความรูในสาขาตางๆ มาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน นําเสนอขอมูลดวยความเปนจริง ดวยวิธีการตาง ๆ ไดอยางนาสนใจและเหมาะสม 2. สาระสําคัญ การชน หมายถึง การที่วัตถุหนึ่งกระทบกับอีกวัตถุหนึ่งในชวงเวลาสั้น ๆ บางครั้งวัตถุ อาจไมตอง กระทบกันก็ได ลักษณะการชนของวัตถุมี 2 ลักษณะ คือ เมื่อโมเมนตัมของระบบมีคาคงที่แบงยอยเปนการชน แบบยืดหยุนกับการชนแบบไมยืดหยุน และเมื่อโมเมนตัมของระบบไมคงทีการชนในหนึ่งมิติ คือ การชนของวัตถุที่อยูในระนาบเดียวกัน เมื่อมีการชนแลวการเคลื่อนที่ของวัตถุ ทั้งสองก็จะอยูในแนวเดียวกัน เนื่องจากเปนการชนผานจุดศูนยกลางมวล

หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    9

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

91

หนวยท่ี 2 บทท่ี 1 โมเมนตัม การดลและการชน

แผนการจัดการเรียนท่ี 6 เรื่อง การชนใน 1 มิติและ 2 มิติ เวลา 5 ช่ัวโมง

1. สาระการเรียนรู/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรูท่ีเกี่ยวของ

สาระท่ี 4 แรงและการเคลื่อนท่ี

มาตรฐาน ว 4.1 เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร มีกระบวนการ สืบ

เสาะหาความรู สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางถูกตองและมีคุณธรรม

มาตรฐาน ว 4.2 เขาใจลักษณะการเคลื่อนท่ีแบบตางๆ ของวัตถุในธรรมชาติมีกระบวนการสืบเสาะหาความรู

และจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูและนําความรูไปใช

สาระท่ี 8 ธรรมชาติวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 8.1 ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหา รูวาปรากฏการณ

ตามธรรมชาติท่ีเกิดข้ึน สวนใหญมีรูปแบบท่ีแนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได ภายใตขอมูลและ

เครื่องมือท่ีมีอยูในชวยเวลานั้นๆ เขาใจวา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดลอมมีความเก่ียวของ

และสัมพันธกัน

ผลการเรียนรูขอท่ี

16. อธิบายและคํานวณการชนในหนึ่งและสองมิติท้ังแบบยืดหยุนและไมยืดหยุนได

17. ทําการทดลองเรื่องการชนในหนึ่งมิติท้ังแบบยืดหยุนและไมยืดหยุน การดีดตัวออกของวัตถุใน

หนึ่งมิติโดยใชชุดการทดลองรางลมได

37. นําขอมูลจากการสังเกต การสํารวจตรวจสอบหรือการทดลอง มาใชเปนหลักฐานหรือประจักษ

พยานอางอิง ในการตอบคําถามหรือสรางคําอธิบายตางๆ

38. เชื่อมโยง วิเคราะห สังเคราะห คําอธิบายหรือคําตอบของคําถามตางๆ อยางมีเหตุผล เพ่ือไปสู

องคความรูทางวิทยาศาสตร ซ่ึงอาจอยูในรูปของแนวความคิดหลักหลักการกฎหรือทฤษฎี

39. อธิบาย นําเสนอ เพ่ือสื่อสารองคความรูไปยังผูอ่ืนอยางมีเหตุผลดวยความรอบรูเก่ียวกับหลัก

วิชาการท่ีเก่ียวของอยางรอบดาน มีความรอบคอบท่ีจะนําความรูในสาขาตางๆ มาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน

นําเสนอขอมูลดวยความเปนจริง ดวยวิธีการตาง ๆ ไดอยางนาสนใจและเหมาะสม

2. สาระสําคัญ

การชน หมายถึง การท่ีวัตถุหนึ่งกระทบกับอีกวัตถุหนึ่งในชวงเวลาสั้น ๆ บางครั้งวัตถุ อาจไมตอง

กระทบกันก็ได ลักษณะการชนของวัตถุมี 2 ลักษณะ คือ เม่ือโมเมนตัมของระบบมีคาคงท่ีแบงยอยเปนการชน

แบบยืดหยุนกับการชนแบบไมยืดหยุน และเม่ือโมเมนตัมของระบบไมคงท่ี

การชนในหนึ่งมิติ คือ การชนของวัตถุท่ีอยูในระนาบเดียวกัน เม่ือมีการชนแลวการเคลื่อนท่ีของวัตถุ

ท้ังสองก็จะอยูในแนวเดียวกัน เนื่องจากเปนการชนผานจุดศูนยกลางมวล

Page 2: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

92

การชนในสองมิติ เปนการชนของวัตถุในแนวไมผานจุดศูนยกลางของมวล ทําใหทิศทางการเคลื่อนท่ี

ของวัตถุไมอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน เราแบงการชนในลักษณะนี้ออกไดเปน 3 ลักษณะ ไดแก การชนแบบ

ยืดหยุนสมบูรณ การชนแบบไมยืดหยุน และการระเบิด ซ่ึงจะเปนไปตามกฏการอนุรักษโมเมนตัมแตอาจไม

เปนไปตามกฏการอนุรักษพลังงาน

3. จุดประสงคการเรียนรู

ดานความรู

1. อธิบายการชนในหนึ่งมิติและสองมิติท้ังแบบยืดหยุนและไมยืดหยุนได

2. ยกตัวอยางสถานการณในชีวิตประจําวันท่ีเก่ียวของกับการชนในหนึ่งมิติและสองมิติได

ดานทักษะ/กระบวนการ

1. ทดลอง วิเคราะห รวบรวมขอมูลเพ่ือสรางคําอธิบายเก่ียวกับการชนในหนึ่งมิติและสองมิติได

2. เขียนสรุปสิ่งท่ีเรียนรูเก่ียวกับการชนในหนึ่งมิติและสองมิติได

3. ตั้งคําถามเก่ียวกับการชนในหนึ่งมิติและสองมิติได

4. ตอบคําถามเก่ียวกับการชนในหนึ่งมิติและสองมิติได

5. คํานวณเก่ียวกับการชนในหนึ่งมิติและสองมิติจากสถานการณท่ีกําหนดใหได

5. เขียนแผนผังความคิดสรุปเก่ียวกับเก่ียวกับการชนในหนึ่งมิติและสองมิติได

6. นําเสนอสิ่งท่ีไดเรียนรูเก่ียวกับการชนในหนึ่งมิติและสองมิติได

คุณลักษณะอันพึงประสงค

1. มีสมรรถนะสําคัญ ไดแก ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถ

ในการแกปญหา ความสามารถในการใชทักษะชีวิต ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

2. มีจิตวิทยาศาสตร ไดแก มีความซ่ือสัตยสุจริต มีวินัย ใฝเรียนรูมุงม่ัน อดทน รอบคอบประหยัด มี

ความรับผิดชอบ มีเหตุผล การรวมแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน การทํางานรวมกับ

ผูอ่ืนไดอยางสรางสรรค

4. สาระการเรียนรู

- การชนในหนึ่งมิติและสองมิติได

- การระเบิดและการดีดตัวออกจากกัน

Page 3: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

93

5. หลักฐานหรือรองรอยของการเรียนรู / การวัดและประเมินผล

ดานความรู

ภาระงาน/ ช้ินงาน วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑท่ีใช

ประเมิน

ผู

ประเมิน

สรุปสิ่งท่ีเรียนรูเก่ียวกับการชนใน 1

มิติและ 2 มิติ การระเบิด การดีดตัว

ออกของวัตถุ

-ตรวจสมุดบันทึก -ความสมบูรณ

ถูกตองของ

แนวคิดท่ีสรุปได

ผานเกณฑรอย

ละ 70

ครู

แบบฝกเรื่อง การชนใน 1 มิติ

แบบฝก เรื่อง การชนใน 2 มิติ

แบบฝก เรื่อง การระเบิด

-ความถูกตองของ

คําตอบของ

คําถาม

-คําตอบของ

คําถาม

ผานเกณฑรอย

ละ 60

ครู

แผนผังความคิดหลักแสดงเก่ียวกับ

การชนและการชนใน 1 มิติ

ความสมบูรณของ

ขอมูล

แบบประเมิน

แผนผังความคิด

หลัก

ผานเกณฑอยาง

นอยรอยละ 70

ครู/

นักเรียน

รายงานการทดลองกิจกรรมท่ี 2.1

– 2.3

คุณภาพผลงาน แบบประเมิน

รายงาน

ผานเกณฑรอย

ละ 60

ครู

kiss report เก่ียวกับการทดลอง

ตามกิจกรรมท่ี 2.1 – 2.3

-คุณภาพของ

ผลงาน

-กําหนดเกณฑ

รูบริกส 3 ระดับ

-ระดับ 3 ดาว ดี

เยี่ยม ระดับ 2

ดาว ดี ระดับ 1

ดาว พอใช

ครู/

นักเรียน

ยกตัวอยางสถานการณใน

ชีวิตประจําวันท่ีเก่ียวของกับ การชน

ใน 1 มิติและ 2 มิติ การระเบิด การ

ดีดตัวออกของวัตถุ

เปนการประเมินเชิงคุณภาพเพ่ือการปรับปรุงการเรียนการสอน

( Formative Assessment : FA ) ไมมีการใหคะแนน

การอธิบายวิธีการแกโจทยปญหา

จากสถานการณท่ีกําหนดใหเก่ียวกับ

การชนใน 1 มิติและ 2 มิติ การ

ระเบิด การดีดตัวออกของวัตถุ

เปนการประเมินเชิงคุณภาพเพ่ือการปรับปรุงการเรียนการสอน

( Formative Assessment : FA ) และใหคะแนนโบนัสสําหรับกลุม

ท่ีรวมนําเสนอผลงาน

Page 4: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

94

ดานทักษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ ช้ินงาน วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑท่ีใชประเมิน ผูประเมิน

การตอบคําถาม/ตั้งคําถามท่ีอยากรู

เก่ียวกับการชนใน 1 มิติและ 2 มิติ

การระเบิด การดีดตัวออกของวัตถุ

เปนการประเมินเชิงคุณภาพเพ่ือการปรับปรุงการเรียนการสอน

( Formative Assessment : FA ) ไมมีการใหคะแนน

การคํานวณ วิเคราะหโจทยปญหา

จากสถานการณท่ีกําหนดเก่ียวกับ

การชนใน 1 มิติและ 2 มิติ การ

ระเบิด การดีดตัวออกของวัตถุ

เปนการประเมินเชิงคุณภาพเพ่ือการปรับปรุงการเรียนการสอน

( Formative Assessment : FA ) ไมมีการใหคะแนน

การนําเสนอผลงานแผนผังความคิด

-คุณภาพ

ผลงาน

-กําหนดเกณฑ

รูบริกส 3

ระดับ

- 3 ดาว ระดับยอดเยี่ยม

2 ดาว ระดับดี 1 ดาว

ระดับพอใช

ครู/

นักเรียน

สะทอนความคิดเก่ียวกับบทเรียน เปนการประเมินเชิงคุณภาพเพ่ือการปรับปรุงการเรียนการสอน

( Formative Assessment : FA ) ไมมีการใหคะแนน

การใชทักษะการสืบเสาะหาความรู

ในกระบวนการเรียนรู

สังเกต

พฤติกรรม แบบประเมิน

ระดับดีเยี่ยม 5 คะแนน

ระดับดี 4 คะแนน ระดับ

พอใช 3 คะแนน ระดับ

ปรับปรุง 2 คะแนน

ครู

ดานคุณลักษณะท่ีพึงประสงคและเจตคต ิ

ภาระงาน/ช้ินงาน/

พฤติกรรม วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑท่ีใชประเมิน ผูประเมิน

- การปฏิบัติงานท่ี

ไดรับมอบหมาย

ในขณะเรียน

- พฤติกรรม

ระหวางเรียน

สังเกตตามตัวชี้วัด

สมรรถนะสําคัญและ

จิตวิทยาศาสตร

-แบบสังเกต

พฤติกรรม

ระดับดีเยี่ยม 5 คะแนน

ระดับดี 4 คะแนน

ระดับพอใช 3 คะแนน

ระดับปรับปรุง 2 คะแนน

ครู

Page 5: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

95

6. คําถามสําคัญ

6.1 การชนเปนอยางไร

6.2 แรง การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม กฏการเคลื่อนท่ีของนิวตัน กฎการอนุรักษโมเมนตัมเก่ียวของกับ

การชนในหนึ่งมิติและสองมิติอยางไร

6.3 การชนในหนึ่งมิติเปนอยางไร

6.4 การชนในสองมิติเปนอยางไร

6.5 การชนในหนึ่งมิติกับสองมิติมีความเหมือนกันหรือแตกตางกันอยางไร

6.6 นักเรียนอธิบายสถานการณท่ีพบเห็นในชีวิตประจําวันหรือสถานการณท่ีกําหนดใหโดยดวยการชน

ในหนึ่งมิติและสองมิติไดอยางไร

6.7 สามารถระบุและเขียนสัญลักษณเพ่ือเก่ียวกับการชนในหนึ่งมิติและสองมิติไดอยางไร

6.8 จะสามารถแกปญหาโจทยหรือสถานการณการท่ีกําหนดดวย ความรูเก่ียวกับการชนในหนึ่งมิติและ

สองมิติได ไดอยางไร

7. กระบวนการเรียนรู

ช่ัวโมงท่ี 1 - 2 เรื่อง การชนในหนึ่งมิติ

-แบงนักเรียนเปนกลุม ๆ ละ 4 คน แบบคละหญิงชายและความสามารถ และใหนักเรียน

มอบหมายหนาท่ีการทํางานโดยไมใหซํ้ากัน

ข้ันเราความสนใจ

1. นักเรียนและครูสนทนาทบทวนเก่ียวกับแรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม

2. นักเรียนท่ีทําหนาท่ีเปนผูจัดการดานวัตถุ รับกระดาน response board พรอมตะกราอุปกรณ

ของกลุม

3. ตั้งคําถามนักเรียนเพ่ือทบทวนเก่ียวกับกฎการอนุรักษโมเมนตัม

“นักเรียนรูอะไรมาบางเก่ียวกับกฏการอนุรักษโมเมนตัม”

ทุกกลุมระดมความคิดเขียนสิ่งท่ีกลุมรูแลวเก่ียวกับกฏการอนุรักษโมเมนตัมลงบนกระดาน ภายใน

เวลา 2 นาที เม่ือหมดเวลา ใหผูตรวจสอบผลงานของกลุมในวันนี้นําเสนอสิ่งท่ีรูแลวเก่ียวกับกฏการอนุรักษ

โมเมนตัม กลุมละ 1 นาที พรอมวิเคราะหสิ่งท่ีรูแลวของกลุมตนเองเก่ียวกับกฏการอนุรักษโมเมนตัมท่ีซํ้ากับ

กลุมเพ่ือน ๆ ทําเครื่องหมายกํากับ และแยกประเด็นท่ีไมซํ้ากับเพ่ือน ทําเครื่องหมายกํากับ

4. ครูสอบถามเก่ียวกับสิ่งท่ีนักเรียนรูมาแลวท่ีซํ้ากันและท่ีไมซํ้ากันเก่ียวกับกฏการอนุรักษโมเมนตัม

และเขียนบนกระดาษแผนใหญ พรอมรวมกันพิจารณาประเด็นท่ีนักเรียนรูมาแลวเก่ียวกับกฏการอนุรักษ

โมเมนตัม มีสิ่งใดท่ีนักเรียนเขาใจไมถูกตองและสิ่งไหนท่ีนักเรียนเขาใจถูกตองแลว พรอมรวมกันแกไขสิ่งท่ี

Page 6: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

96

นักเรียนเขาใจคลาดเคลื่อน (ถามี) ซ่ึงในการศึกษาในหัวขอตอไปนี้ นักเรียนจําเปนตองใชความรูเก่ียวกับกฏ

การอนุรักษโมเมนตัมเปนพ้ืนฐานในการเรียนรู ซ่ึงเราจะศึกษาในเรื่องของการชนในหนึ่งมิติ

5. ใหนักเรียนทุกกลุม ระดมความคิดในกลุม ตั้งคําถามท่ีอยากรูเก่ียวกับการชนในหนึ่งมิติ กลุมละ

2 คําถาม เขียนคําถามบนกระดาน จากนั้นใหผูประสานของกลุมในวันนี้ นําเสนอคําถามของกลุม และเขียน

คําถามของกลุมลงสมุดบันทึก จากนั้นครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ

ข้ันสํารวจและคนหา

6. จากนั้นใหนักเรียนทุกกลุมทํากิจกรรมท่ี 2.1 เรื่อง การชนในหนึ่งมิติแบบยืดหยุนและไม

ยืดหยุนดวยชุดรางลม และใบกิจกรรม 2.2 และ 2.3 การศึกษาการชนใน 1 มิติแบบยืดหยุนและไมยืดหยุนดวย

สื่อ animation โดยนักเรียนท่ีทําหนาท่ีเปนผูจัดการดานวัสดุ รับใบกิจกรรมตรวจเช็คอุปกรณการทดลอง ผู

ตรวจสอบผลงานของกลุมในวันนี้นําอภิปรายรายละเอียดกิจกรรมท่ี 2.1 ใหสมาชิกกลุมรับทราบ นํากลุมใน

การวางแผนการทดลอง การเก็บรวบรวมขอมูล การบันทึกผลการทดลอง ตลอดจนการกําหนดสมมุติฐานและ

ตัวแปรท่ีเก่ียวของ เม่ือทุกคนในกลุมเขาใจตรงกันแลวใหปฏิบัติการทดลองตามท่ีกลุมนักเรียนไดวางแผนไว

ใหเสร็จภายในเวลาท่ีกําหนด

7. นําขอมูลท่ีไดจากการทํากิจกรรมท่ี 2.1 มารวมกันวิเคราะห แปลความหมาย จัดกระทํา ลง

ขอสรุปแลวจัดทํารายงานและนําเสนอผลงานบนกระดาษท่ีแจกใหในรูป kiss report พรอมอธิบายซักถามกัน

ภายในกลุมจนเขาใจตรงกัน

**** หากเวลาไมพอครูมอบหมายใหนักเรียนทําตอนอกตารางเรียน****

ช่ัวโมงท่ี 3

**** กอนทําการอธิบายและลงขอสรุป****

ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาทบทวนเกี่ยวกับกิจกรรม และส่ิงท่ีไดเรียนรูจากการทํากิจกรรมใน

ช่ัวโมงท่ีผานมา

ข้ันอธิบายและลงขอสรุป (explanation)

8. นักเรียนทุกกลุมสงรายงานการทดลองท่ีครูและใหนักเรียนนํา kiss report ของกลุมไปติดท่ีโตะ

ของกลุมตนเอง จากนั้นใหจับคูกันกลุมแลกเปลี่ยนเรียนรู ซ่ึงกันและกันโดยไมซํ้ากับกิจกรรมท่ีผานมา โดยให

เขียนเครื่องหมาย กรณีท่ีนักเรียนเห็นดวย เขียนเครื่องหมาย ? กรณีท่ีไมเขาใจหรือสงสัยพรอมเขียนขอ

สงสัยลงบนผลงานเพ่ือน(ถามี) เขียนเครื่องหมาย กรณีท่ีไมเห็นดวยพรอมใหดาวผลงานของเพ่ือนโดยเขียน

จํานวน และเขียนขอเสนอแนะเก่ียวกับผลงานตามความคิดเห็นของกลุม ท่ีผลงานของกลุมอ่ืน ดังนี้

Page 7: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

97

ถานําเสนอประเด็นสําคัญไดครอบคลุมมากท่ีสุด มีองคประกอบตางๆ ครบถวน ตั้งแต

ชื่อเรื่อง สมาชิกกลุม จุดประสงค สมมติฐาน ตัวแปร วิธีการทดลอง ผลการาทดลองหรือตารางบันทึกผลการ

ทดลอง สรุปผลการทดลอง การอภิปรายผลการทดลองและคําถามหลังการทดลอง(ถามี) ศึกษาเรียนรูเขาใจได

งาย สื่อความหมายไดชัดเจน นาสนใจ และ สรางสรรค

ถานําเสนอประเด็นสําคัญไดครอบคลุมคอนขางมาก มีองคประกอบสําคัญหายไป 1 – 2

ประเด็น ดูเขาใจได มีความนาสนใจ สรางสรรคและสื่อความหมายไดในระดับดี

ถาการนําเสนอขาดประเด็นสําคัญหลายประเด็น มีความนาสนใจนอย สื่อความหมายไม

ชัดเจน

9. จากนั้นใหทุกกลุมนํา kiss report ของกลุมตนเองมาพิจารณาขอสงสัยและขอเสนอแนะท่ี

เพ่ือนเขียน รวมกันหาคําตอบโดยเขียนลงบนผลงาน กอนท่ีจะสงผลงานท่ีครู

10. สุมตัวแทนกลุม 1 กลุมโดยการจับฉลาก นําเสนอผลงานโดยกลุมนี้จะไดรับโบนัสการนําเสนอ

ผลงาน 2 ดาว จากนั้นเปดโอกาสใหนักเรียนกลุมอ่ืนรวมอภิปรายซักถาม แสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติม หรือ

ใหขอมูลเพ่ิมเติมในกรณีท่ีเห็นตาง ครูนําอภิปรายผลการทํากิจกรรมเพ่ือใหไดขอสรุปท่ีสมบูรณท่ีสุด

รวมกัน

ข้ันขยายความรู (elaboration)

11. ครูใหความรูเพ่ิมเติมเก่ียวกับการชนใน 1 มิติ ท้ังแบบยืดหยุนและไมยืดหยุน โดยใช

ภาพเคลื่อนไหวจากเว็บไซด

http://www.atom.rmutphysics.com/charud/virtualexperiment/Explore/Elastic/Elastic.htm

และ http://www.upscale.utoronto.ca/GeneralInterest/Harrison/Flash/

Page 8: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

98

และสื่อ power point เพ่ือสรางความเขาใจเพ่ิมเติมเก่ียวเก่ียวกับการชน ประเภทของการชนและการชนใน

หนึ่งมิติท้ังแบบยืดหยุนและไมยืดหยุน นําเสนอตัวอยางการวิเคราะหโจทยสถานการณเก่ียวกับการชนในหนึ่ง

มิติท้ังแบบยืดหยุนและไมยืดหยุน โดยใชสื่อ power point

ครูเนนย้ําใหนักเรียน จดบันทึก สรุปยอสิ่งท่ีไดเรียนรูในสมุดของตนเอง

12. ใหนักเรียนแตละกลุมระดมความคิดในกลุม วิเคราะหโจทยปญหาจากสถานการณตัวอยางท่ี

ครูนําเสนอบน power point บนกระดาน response board ของกลุม ครูทําการประเมินเพ่ือปรับปรุงการ

เรียนการสอนโดยการเดินไปตามกลุมตางๆ สังเกตการทํางานของกลุม เขาชวยเหลือปรับปรุงความเขาใจของ

นักเรียนกรณีท่ีมีปญหา จากนั้นสุมกลุมนักเรียนนําเสนอเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู โดยใชสถานการณประมาณ

1 – 2 สถานการณตามเวลา

Page 9: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

99

13. ใหนักเรียนยกตัวอยางการชนใน 1 มิติท่ีนักเรียนพบเห็นในชีวิตประจําวัน พรอมใหเหตุผล

วาเปนการชนแบบยืดหยุนหรือไมยืดหยุนเพราะเหตุใด

14. ทุกกลุมพิจารณาคําถามสําคัญของกลุม นักเรียนสามารถตอบคําถามของกลุมไดหรือไม

อยางไร

15. ครูมอบหมายใหนักเรียนทุกคนไปทําแผนผังความคิด ในหัวขอ “การชนและการชนในหนึ่ง

มิติและแบบฝกท่ี 2.3 สงครูในชั่วโมงถัดไป

ข้ันประเมิน

16. สุมนักเรียนประมาณ 1 -2 คน สรุปเก่ียวกับการเรียนในครั้งนี้

17. ใหนักเรียนเขียนสะทอนการเรียนรูในสมุดตามหัวขอตอไปนี้

* กิจกรรมการเรียนรูทําใหนักเรียนเขาใจเก่ียวกับการชนและการชนในหนึ่งมิติ หรือไม

อยางไร

* นักเรียนคิดวา สิ่งท่ีครูควรปรับปรุงสําหรับกิจกรรมนี้คืออะไร เพราะเหตุใด

* ในการเรียนเรื่องนี้ นักเรียนยังมีขอสงสัย หรือไมเขาใจ หรือไม อยางไร

18. ครูประเมินนักเรียน จากประจักษพยานและวิธี/เกณฑการประเมินตามสภาพจริงใน

สิ่งตอไปนี้

• ทักษะการสืบเสาะหาความรู

• การอธิบายคําตอบและการแสดงความคิดเห็น

• ความสามารถของนักเรียนในการเชื่อมโยงสิ่งท่ีไดเรียน

• ผลงานนักเรียน ไดแก - สมุดบันทึก - แบบฝกหัด - แผนผังความคิด - รายงานการทดลอง 2.1 – 2.3

• คุณลักษณะอันพึงประสงคของนักเรียน

Page 10: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

100

ช่ัวโมงท่ี 4 - 5 เรื่อง การชนในสองมิติ

-แบงนักเรียนเปนกลุม ๆ ละ 4 คน แบบคละหญิงชายและความสามารถ และใหนักเรียน

มอบหมายหนาท่ีการทํางานโดยไมใหซํ้ากัน

ข้ันสรางความสนใจ(engagement)

1. นักเรียนและครูสนทนาทบทวนความรูเดิมเก่ียวกับการชนใน 1 มิติ

2. ครูนําเสนอคลิปวิโอการชนในสองมิติจากเว็บไซด

http://www.youtube.com/watch?v=3142NbgX_Rs และ

http://www.youtube.com/watch?v=mqlJDPo5N-E

จากคลิปวิดีโอท่ีใหนักเรียนสังเกต เปนการแสดงการชนกันของวัตถุในสองมิติ

คําถาม...

เม่ือเปรียบเทียบกับการชนในหนึ่งมิติท่ีนักเรียนเรียนผานมาแลว มีความแตกตางกันหรือไม

อยางไร

Page 11: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

101

เปดโอกาสใหนักเรียนรวมแสดงความคิดเห็น

3. นักเรียนท่ีทําหนาท่ีเปนผูจัดการดานวัตถุ รับกระดาน response board พรอมตะกราอุปกรณ

ของกลุม

4. นักเรียนทุกกลุมระดมความคิด ตั้งคําถามท่ีนักเรียนอยากรูเก่ียวกับการชนในสองมิติ กลุมละ

2 คําถาม เขียนคําถามบนกระดาน จากนั้นใหผูประสานของกลุมในวันนี้ นําเสนอคําถามของกลุม และเขียน

คําถามของกลุมลงสมุดบันทึก จากนั้นครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ

ข้ันสํารวจและคนหา (exploration)

5. ครูเริ่มตนกระตุนนักเรียนเพ่ือสืบคนขอมูล รวบรวมขอมูล เพ่ือสรางคําอธิบายเก่ียวกับการชน

ในสองมิติโดย

ใหตัวแทนนักเรียนออกมาสาธิตการกลิ้งลูกเทนนิสลูกหนึ่งใหไปชนกับลูกเทนนิสอีกลูกหนึ่งท่ีวาง

นิ่งอยูแบบตรง ๆ และแบบเฉียง ๆ ใหนักเรียนสังเกตและอธิบายวาเหตุใดการแยกตัวออกจากกันของลูกเทนนิส

จากการชนท้ังสองแบบจึงแตกตางกัน

6. ครูกระตุนนักเรียนตอโดยการสาธิตการชนของแทงไม 2 แทง บนถาดลดแรงเสียดทาน โดยวาง

แทงไม 1 แทง ท่ีกลางถาดลดแรงเสียดทาน ซ่ึงโรยเม็ดพลาสติกไว นําแทงไมอีก 1 แทงมาวางท่ีใกลขอบถาด

ดานหนึ่ง ผลักแทงไมนี้ใหไปชนกับแทงไมแทงแรกซ่ึงอยูกลางถาดหลาย ๆ ครั้ง ดวยแรงท่ีมีขนาดและทิศทาง

ตาง ๆ กัน ทุกครั้งใหนักเรียนสังเกตลักษณะการเคลื่อนท่ีของแทงไมท้ังสอง ท้ังกอนการชนและภายหลัง

การชน พรอมตั้งคําถามวา

- การผลักแทงไมอันท่ีหนึ่งไปชนกับแทงไมอันท่ีสองลักษณะใดจึงจะทําใหแทงไมท้ังสองเคลื่อนท่ีไป

ในแนวเสนตรงเดียวกัน

- การผลักแทงไมอันท่ีหนึ่งไปชนแทงไมอันท่ีสองในลักษณะใดจึงจะทําใหแทงไมท้ังสองแยกตัวออก

จากกันไมเปนแนวเดียวกัน

ดังนั้น การชนในสองมิติเกิดข้ึนเม่ือใด มีลักษณะแตกตางจากการชนในหนึ่งมิติอยางไร

7. การชนในสองมิติจะเปนไปตามกฎการอนุรักษโมเมนตัมและกฎการอนุรักษพลังงานหรือไม

อยางไร และสามารถจัดจําแนกไดอยางไร ใหนักเรียนศึกษาจาก การทดลองเสมือนจริง เก่ียวกับการชน 2 มิติ

แบบยืดหยุนในเว็บไซด http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/15/3/1/

virtual/Momentum/elastic.swf ซ่ึงนักเรียนจะพบกับหนาตางการทดลองดังรูป

Page 12: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

102

และท่ีเว็บไซด http://www.atom.rmutphysics.com/charud/virtualexperiment/

Explore/2Dcollisions/2Dcollisions.htm ซ่ึงนักเรียนจะไดพบกับหนาตางการทดลองดังรูป

และนักเรียนแตละกลุมสามารถสืบคนขอมูลเก่ียวกับการชนใน 2 และ 3 มิติ จากแหลงเรียนรูตางๆ

(ครูอนุญาตใหนักเรียนใชอินเตอรเนทจากหองสืบคนขอมูล) พรอมสรุปองคความรูในรูปแผนผังความคิดใน

กระดาษแผนใหญ โดยใชเวลา 30 นาที

ข้ันอธิบายและลงขอสรุป

8. ใหนักเรียนนําผลงานของกลุมไปติดท่ีโตะของกลุม จากนั้นใหนักเรียนทุกกลุมแลกเปลี่ยนเรียนรู

ซ่ึงกันและกันโดยการจับคูกันโดย

Page 13: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

103

กลุมท่ี 1 คูกับ กลุมท่ี 4

กลุมท่ี 2 คูกับ กลุมท่ี 5

กลุมท่ี 3 คูกับ กลุมท่ี 6

และครูกําหนดใหแตกลุมถือปากกาสีประจํากลุมดังนี้

กลุมท่ี 1 สีแดง

กลุมท่ี 2 สีน้ําเงิน

กลุมท่ี 3 สีเขียว

กลุมท่ี 4 สีฟา

กลุมท่ี 5 สีมวง

กลุมท่ี 6 สีน้ําตาล

ใหแตละกลุมพิจารณาผลงานของเพ่ือนโดยใหเขียนเครื่องหมาย กรณีท่ีนักเรียนเห็นดวย

เขียนเครื่องหมาย ? กรณีท่ีไมเขาใจหรือสงสัยพรอมเขียนขอสงสัยลงบนผลงานเพ่ือน(ถามี) เขียนเครื่องหมาย

กรณีท่ีไมเห็นดวยดวยปากกาประจํากลุม พรอมใหดาวผลงานของเพ่ือนโดยเขียนจํานวน และเขียน

ขอเสนอแนะเก่ียวกับผลงานตามความคิดเห็นของกลุมท่ีผลงานของกลุมอ่ืน ดังนี้

ถานําเสนอประเด็นสําคัญไดครอบคลุมมากท่ีสุดตามแบบประเมินแผนผังความคิด

ศึกษาเรียนรูเขาใจไดงาย สื่อความหมายไดชัดเจน นาสนใจ และ สรางสรรค

ถานําเสนอประเด็นสําคัญไดครอบคลุมคอนขางมาก มีองคประกอบสําคัญหายไป 1 – 2

ประเด็น ดูเขาใจได มีความนาสนใจ สรางสรรคและสื่อความหมายไดในระดับดี

ถาการนําเสนอขาดประเด็นสําคัญหลายประเด็น มีความนาสนใจนอย สื่อความหมายไม

ชัดเจน

และใหคะแนนแผนผังความคิดตามรายละเอียดในแบบประเมินแผนผังความคิด

9. จากนั้นใหทุกกลุมกลับมาท่ีกลุมตนเอง รวมกันพิจารณาขอสงสัยและขอเสนอแนะท่ีเพ่ือน

เขียน รวมกันหาคําตอบโดยเขียนลงบนผลงาน กอนท่ีจะสงผลงานท่ีครู

10. สุมตัวแทนกลุม 1 กลุม โดยการพิจารณาผลงานท่ียอดเยี่ยมท่ีสุดจากการประเมินของครูเอง

นําเสนอผลงานโดยกลุมนี้จะไดรับโบนัสการนําเสนอผลงาน 2 ดาว จากนั้นเปดโอกาสใหนักเรียนกลุมอ่ืนรวม

อภิปรายซักถาม แสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติม หรือใหขอมูลเพ่ิมเติมในกรณีท่ีเห็นตาง ครูนําอภิปรายผล

การทํากิจกรรมเพ่ือใหไดขอสรุปท่ีสมบูรณท่ีสุดรวมกัน

11. ใหนักเรียนเขียนสรุปสิ่งท่ีไดเรียนรูลงสมุด ภายในเวลา 5 นาที

Page 14: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

104

ข้ันขยายความรู

12. ครูนําเสนอความรูเพ่ิมเติมเก่ียวกับการชนในสองมิติ เพ่ือสรางความเขาใจเพ่ิมเติมเก่ียว

เก่ียวกับการชนในสองมิติท้ังแบบยืดหยุนและไมยืดหยุน นําเสนอตัวอยางการวิเคราะหโจทยสถานการณ

เก่ียวกับการชนในสองมิติท้ังแบบยืดหยุนและไมยืดหยุน โดยใชสื่อ power point

ครูเนนย้ําใหนักเรียน จดบันทึก สรุปยอสิ่งท่ีไดเรียนรูในสมุดของตนเอง

13. ใหนักเรียนแตละกลุมระดมความคิดในกลุม วิเคราะหโจทยปญหาจากสถานการณตัวอยางท่ี

ครูนําเสนอบน power point บนกระดาน response board ของกลุม ครูทําการประเมินเพ่ือปรับปรุงการ

เรียนการสอนโดยการเดินไปตามกลุมตางๆ สังเกตการทํางานของกลุม เขาชวยเหลือปรับปรุงความเขาใจของ

นักเรียนกรณีท่ีมีปญหา จากนั้นสุมกลุมนักเรียนนําเสนอเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู โดยใชสถานการณประมาณ

1 – 2 สถานการณตามเวลา

14. ใหนักเรียนยกตัวอยางการชนในสองมิติท่ีนักเรียนพบเห็นในชีวิตประจําวัน พรอมใหเหตุผล

วาเปนการชนแบบยืดหยุนหรือไมยืดหยุนเพราะเหตุใด

15. ทุกกลุมพิจารณาคําถามสําคัญของกลุม นักเรียนสามารถตอบคําถามของกลุมไดหรือไม

อยางไร

16. ครูมอบหมายใหนักเรียนทุกคนไปทําแบบฝกท่ี 2.4 สงครูในชั่วโมงถัดไป

ข้ันประเมิน

17. สุมนักเรียนประมาณ 1 -2 คน สรุปเก่ียวกับการเรียนในครั้งนี้

18. ใหนักเรียนเขียนสะทอนการเรียนรูในสมุดตามหัวขอตอไปนี้

* กิจกรรมการเรียนรูทําใหนักเรียนเขาใจเก่ียวกับการชนและการชนในหนึ่งมิติ หรือไม

อยางไร

* นักเรียนคิดวา สิ่งท่ีครูควรปรับปรุงสําหรับกิจกรรมนี้คืออะไร เพราะเหตุใด

Page 15: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

105

* ในการเรียนเรื่องนี้ นักเรียนยังมีขอสงสัย หรือไมเขาใจ หรือไม อยางไร

18. ครูประเมินนักเรียน จากประจักษพยานและวิธี/เกณฑการประเมินตามสภาพจริงใน

สิ่งตอไปนี้

• ทักษะการสืบเสาะหาความรู

• การอธิบายคําตอบและการแสดงความคิดเห็น

• ความสามารถของนักเรียนในการเชื่อมโยงสิ่งท่ีไดเรียน

• ผลงานนักเรียน ไดแก - สมุดบันทึก - แบบฝกหัด - แผนผังความคิด - รายงานการทดลอง - Kiss report

• คุณลักษณะอันพึงประสงคของนักเรียน

ช่ัวโมงท่ี 5 การระเบิดหรือการดีดตัว

ข้ันสรางความสนใจ

1. นักเรียนและครูสนทนาทบทวนความรูเดิมเก่ียวกับการชนใน 1 มิติและ 2 มิติ

2. ครูนําเสนอคลิปวิโอการระเบิดจากเว็บไซดhttp://www.neutron.rmutphysics.com/teaching-

glossary/index.php?option=com_content&task=view&id=9117&Itemid=11 จะพบหนาตางดังรูป

คําถาม...

จากคลิปวิดีโอท่ีใหนักเรียนสังเกต นักเรียนคิดวา เหตุการณดังกลาวเก่ียวของกับโมเมนตัมหรือไม

เพราะเหตุใด นักเรียนสังเกตจากปริมาณใด

Page 16: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

106

เปดโอกาสใหนักเรียนรวมแสดงความคิดเห็น

3. จากคลิปวิโอท่ีนักเรียนเห็น เปนการระเบิดหรือการดีดตัวออกจากกันของวัตถุ

คําถาม...

เม่ือนักเรียนพิจารณาโมเมนตัมกอนระเบิดหรือกอนแยกออกจากกันของวัตถุ นักเรียนคิดวา

โมเมนตัมกอนระเบิด อยางไร เพราะเหตุใด

และเม่ือนักเรียนพิจารณาโมเมนตัมหลังการระเบิดหรือหลังแยกออกจากกันของวัตถุ นักเรียน

คิดวาโมเมนตัมเปนอยางไร เพราะเหตุใด

และในวันนี้เราจะมาศึกษาเรียนรูเก่ียวกับการระเบิดและการดีดตัวออกจากกันของวัตถุ

4. นักเรียนท่ีทําหนาท่ีเปนผูจัดการดานวัตถุ รับกระดาน response board พรอมตะกราอุปกรณ

ของกลุม นักเรียนทุกกลุมระดมความคิด ตั้งคําถามท่ีนักเรียนอยากรูเก่ียวกับการระเบิดและการดีดตัวแยก

จากกัน กลุมละ 2 คําถาม เขียนคําถามบนกระดาน จากนั้นใหผูตรวจสอบผลงานของกลุมในวันนี้ นําเสนอ

คําถามของกลุม และเขียนคําถามของกลุมลงสมุดบันทึก จากนั้นครูแจงจุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบ

ข้ันสํารวจและคนหา

5. ครูเริ่มตนกระตุนนักเรียนเพ่ือสืบคนขอมูล รวบรวมขอมูล เพ่ือสรางคําอธิบายเก่ียวกับการ

ระเบิดและการดีดตัวแยกจากกัน ดวยคําถาม

นักเรียนคิดวาจากการระเบิดท่ีนักเรียนสังเกตเห็นจากคลิปวิดีโอ โมเมนตัมท่ีเกิดข้ึนจะเปนไป

ตามกฎการอนุรักษโมเมนตัมหรือไม เราจะมีวิธีการพิจารณาอยางไร

จากการระเบิดท่ีนักเรียนสังเกตเห็นจากคลิปวิดีโอ เก่ียวของกับพลังงานจลนหรือไม นักเรียน

คิดวาพลังงานจลนท่ีเกิดข้ึนจะเปนไปตามกฎการอนุรักษพลังงานหรือไม เราจะมีวิธีการพิจารณาอยางไร

ข้ันสํารวจและคนหา

6. มอบหมายใหผูจัดการดานวัสดุของกลุมใบความรูเรื่อง การระเบิดและการดีดตัวออกของวัตถุ

ใหเวลาในการศึกษา 15 นาที โดยใหนักเรียนขีดเสนใตประเด็นสําคัญ และเขียนสรุปประเด็นสําคัญเก่ียวกับ

การระเบิดและการดีดตัวออกของวัตถุ โดยสรางคําอธิบายเก่ียวกับการระเบิดและการดีดตัวออกของวัตถุ ดวย

ภาษาของตนเอง วิเคราะหโมเมนตัมและพลังงานจลนท่ีเกิดข้ึนกอนการระเบิดและหลังการระเบิด เปนไปตาม

กฏการอนุรักษโมเมนตัมและกฏการอนุรักษพลังงานหรือไม อยางไร ลงในสมุดบันทึกของตนเอง ความยาวไม

เกิน 10 บรรทัด ใชสีของปากกา หรือสีระบาย เพ่ือเนนประเด็นสําคัญ (ครูผูสอนประเมินพฤติกรรมของ

นักเรียนเพ่ือการปรับปรุง โดยการเดินไปตามกลุมตาง ๆ เพ่ือสังเกตการทํางานของนักเรียนกระตุนและให

ความชวยเหลือนักเรียนกรณีท่ีนักเรียนตองการความชวยเหลือ)

Page 17: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

107

ข้ันอธิบายและลงขอสรุป (explanation)

6. ครูเปดโอกาสใหนําเสนอผลงาน ประมาณ 1 – 2 คน โดยการใหนักเรียนยกมือ นักเรียน

นําเสนอผลงานจะไดรับโบนัสดาวนําเสนอ 2 ดาว จากนั้นรวมกันอภิปรายซักถาม และเปดโอกาสใหนักเรียน

คนอ่ืน ๆ แสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติมเก่ียวกับประเด็นตาง ๆ จนเขาใจตรงกัน

ข้ันขยายความรู (elaboration)

7. ครูนําเสนอความรูเพ่ิมเติมเก่ียวกับ การระเบิดและการดีดตัวออกของวัตถุ ดวยคลิปวิดีโอจาก

เว็บไซด

http://www.electron.rmutphysics.com/teachingglossary/index.php?option=com_content&task

=view&id=7834&Itemid=11

เพ่ือสรางความเขาใจเพ่ิมเติม นําเสนอตัวอยางการวิเคราะหโจทยสถานการณเก่ียวกับการะเบิดและการดีดตัว

ออกของวัตถุ โดยใชสื่อ power point

Page 18: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

108

ครูเนนย้ําใหนักเรียน จดบันทึก สรุปยอสิ่งท่ีไดเรียนรูในสมุดของตนเอง

8. ใหนักเรียนแตละกลุมระดมความคิดในกลุม วิเคราะหโจทยปญหาจากสถานการณตัวอยางท่ี

ครูนําเสนอบน power point บนกระดาน response board ของกลุม ครูทําการประเมินเพ่ือปรับปรุงการ

เรียนการสอนโดยการเดินไปตามกลุมตางๆ สังเกตการทํางานของกลุม เขาชวยเหลือปรับปรุงความเขาใจของ

นักเรียนกรณีท่ีมีปญหา จากนั้นสุมกลุมนักเรียนนําเสนอเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู โดยใชสถานการณประมาณ

1 – 2 สถานการณตามเวลา

9. ใหนักเรียนยกตัวอยางการระเบิดหรือการดีดตัวออกของวัตถุท่ีนักเรียนพบเห็นใน

ชีวิตประจําวัน พรอมใหเหตุผลประกอบการนําเสนอ

10. ทุกกลุมพิจารณาคําถามสําคัญของกลุม นักเรียนสามารถตอบคําถามของกลุมไดหรือไม

อยางไร

11. ครูมอบหมายใหนักเรียนทุกคนไปทําแบบฝกท่ี 2.5 สงครูในชั่วโมงถัดไป

ข้ันประเมิน

12. สุมนักเรียนประมาณ 1 -2 คน สรุปเก่ียวกับการเรียนในครั้งนี้

13. ใหนักเรียนเขียนสะทอนการเรียนรูในสมุดตามหัวขอตอไปนี้

* กิจกรรมการเรียนรูทําใหนักเรียนเขาใจเก่ียวกับการชนและการชนในหนึ่งมิติ หรือไม

อยางไร

* นักเรียนคิดวา สิ่งท่ีครูควรปรับปรุงสําหรับกิจกรรมนี้คืออะไร เพราะเหตุใด

* ในการเรียนเรื่องนี้ นักเรียนยังมีขอสงสัย หรือไมเขาใจ หรือไม อยางไร

14. ครูประเมินนักเรียน จากประจักษพยานและวิธี/เกณฑการประเมินตามสภาพจริงใน

สิ่งตอไปนี้

• ทักษะการสืบเสาะหาความรู

• การอธิบายคําตอบและการแสดงความคิดเห็น

• ความสามารถของนักเรียนในการเชื่อมโยงสิ่งท่ีไดเรียน

• ผลงานนักเรียน ไดแก - สมุดบันทึก - แบบฝกหัด

• คุณลักษณะอันพึงประสงคของนักเรียน

Page 19: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

109

8. ส่ือ วัสดุ อุปกรณ/แหลงเรียนรู ส่ือ วัสดุ -อุปกรณ

1. หนังสือแบบเรียนวิชาฟสิกส

2. กระดาน response board

3. ปากกาเคมี

4. กระดาษแผนใหญ

5. ดาว

6. ใบความรู เรื่อง การระเบิดและการดีดตัวออกของวัตถุ

7. ใบกิจกรรมท่ี 2.1 การชนแบบยืดหยุนและไมยืดหยุนในหนึ่งมิติดวยชุดรางลม

8. ใบกิจกรรมท่ี 2.2 การชนแบบยืดหยุนของรถทดลอง (animation)

9. ใบกิจกรรมท่ี 2.3 การชนแบบไมยืดหยุนของรถทดลอง (animation)

10. แบบฝกท่ี 2.3 การชนใน 1 มิติ

11. แบบฝกท่ี 2.4 การชนใน 2 มิติ

12. แบบฝกท่ี 2.5 การระเบิดและการดีดตัวออกของวัตถุ

13. ใบความรูเรื่อง การระเบิดและการดีดตัวออกของวัตถุ

14. ชุดทดลองรางลม

15. แบบประเมิน

16. สื่อ power point และสื่อ animation คลิปวิดีโอ

17. ลูกเทนนิส

18. ชุดสาธิตการชนบนถาดไรแรงเสียดทาน

แหลงเรียนรู

1) www.google.com

2) http://phet.colorado.edu

3) http://www.atom.rmutphysics.com/charud/

virtualexperiment/Explore/Elastic/Elastic.htm

4) http://www.upscale.utoronto.ca/GeneralInterest/Harrison/Flash/

5) http://www.youtube.com/watch?v=3142NbgX_Rs และ

6) http://www.youtube.com/watch?v=mqlJDPo5N-E

7) http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/15/3/1/

virtual/Momentum/elastic.swf

8) http://www.atom.rmutphysics.com/charud/virtualexperiment/

Page 20: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

110

Explore/2Dcollisions/2Dcollisions.htm

9) http://www.neutron.rmutphysics.com/teaching-

glossary/index.php?option=com_content&task=view&id=9117&Itemid=11

10) http://www.electron.rmutphysics.com/teaching-

glossary/index.php?option=com_content&task=view&id=7834&Itemid=11

11) หองสมุดโรงเรียน

9. กิจกรรมเสนอแนะ

กอนสอนในหัวขอนี้ ครูผูสอนควรเตรียมคลิปวิดีโอ สื่อการเรียนรู และทําความเขาใจกับกลวิธี

สอนแบบตางๆ ซ่ึงไดแก กลวิธี Gallery Walk การเรียนแบบกลุมรวมมือรวมใจ KWL การระดมความคิด

เปนตน การประเมินผลงานของนักเรียน การสอนดวยกระบวนการสืบเสาะหาความรู

10. บันทึกหลังสอน

บันทึกหลังสอน

ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดท่ีควรปรับปรุง

1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

2. การใชสื่อการเรียนรู

3. การประเมินผลการเรียนรู

Page 21: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

111

บันทึกหลังสอน

ประเด็นการบันทึก จุดเดน จุดท่ีควรปรับปรุง

4. การบรรลุผลการเรียนรูของ

ผูเรียน

บันทึกเพ่ิมเติม

ลงชื่อ ................................................... ผูสอน

(นางณัฐภัสสร เหลาเนตร)

ครูเชี่ยวชาญกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู

………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ .................................................................

(วาท่ีรอยตรี สิทธิชัย พุมบานเซา)

ตําแหนงรองผูอํานวยการกลุมงานวิชาการ

Page 22: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

112

ชื่อกลุม............................................กลุมท่ี..................หอง................

กิจกรรมท่ี 2.1

การชนแบบยืดหยุนและไมยืดหยุนในหนึ่งมิติ

สมาชิกในกลุม

1. ………………………………………………………………………..หอง.....................เลขท่ี....................

2. ………………………………………………………………………..หอง.....................เลขท่ี....................

3. ………………………………………………………………………..หอง.....................เลขท่ี....................

4. ………………………………………………………………………..หอง.....................เลขท่ี....................

วัตถุประสงค

1. เพ่ือศึกษาการอนุรักษโมเมนตัมกอนการชนและหลังการชนของวัตถุใน 1 มิติ

2. เพ่ือศึกษาการอนุรักษพลังงานกอนการชนและหลังการชนของวัตถุใน 1 มิติ

ปญหาของการทดลอง

โมเมนตัมและพลังงานจลนกอนการชนแบบยืดหยุนและไมยืดหยุนในหนึ่งมิติจะเทากับโมเมนตัมและ

พลังงานจลนหลังการชนแบบยืดหยุนและไมยืดหยุนในหนึ่งมิติหรือไม

สมมติฐาน

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

ทฤษฎีท่ีเกี่ยวของ

Page 23: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

113

2.

Page 24: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

114

3.

Page 25: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

115

4.

วิธีการทดลอง

Page 26: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

116

5.

ตารางบันทึกผลการทดลอง

Page 27: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

117

6.

แสดงวิธีการทําคํานวณ (พรอมเปรียบเทียบโมเมนตัม และพลังงานอยางละเอียด)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

สรุปผลการทดลอง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

อภิปรายผลการทดลอง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 28: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

118

ใบกิจกรรมท่ี 2.2

เรื่อง การชนกันของรถทดลองแบบยืดหยุน

คําช้ีแจง… ใหนักเรียนทําการทดลองเพ่ือศึกษาเก่ียวกับการชนของวัตถุท่ี 1 มิติ ซ่ึงเปนการชนแบบ

ยืดหยุน จากสื่อ CD Physics Cyber Lab เรื่อง การชนแบบยืดหยุนและไมยืดหยุน พรอมบันทึกผลการ

ทดลองท่ีไดลงในใบงานนี้และวิเคราะหและสรุปผลการทดลองท่ีได

จุดประสงค

1. เพ่ือศึกษาผลท่ีเกิดข้ึนจากการชนของวัตถุใน 1 มิติแบบยืดหยุน

2. เพ่ือตรวจสอบโมเมนตัมและพลังงานจลนของวัตถุกอนและหลังการชนของวัตถุแบบยืดหยุน

วัสดุอุปกรณในการทดลอง

1. ชุดคอมพิวเตอร

2. สื่อ CD Physics Cyber Lab เรื่อง การชนแบบยืดหยุนและไมยืดหยุน

3. ใบงานท่ี 6.4

วิธีการทดลอง

1. ใหนักเรียนทําการศึกษาผลท่ีเกิดข้ึนจากการชนของวัตถุแบบยืดหยุนจากสื่อสื่อ CD Physics Cyber

Lab เรื่อง การชนแบบยืดหยุนและไมยืดหยุน เม่ือนักเรียนเขาไปในโปรแกรมของสื่อและเลือกโปรแกรม

เรียบรอยแลวนักเรียนจะพบหนาตางของการทดลองดังรูป

2. ใหเลือกการทดลองท่ีหมายเลข 1 โดยเลือก Elastic collision (การชนแบบยืดหยุน) ใสคาตาง ๆ ท่ี

ตามท่ีระบุในตารางบันทึกผลการทดลองท่ีหมายเลข 2

1

2

3

Page 29: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

119

3. บันทึกผลท่ีไดจากการทดลองโดยเลือกท่ีหมายเลข 3 บันทึกผลท่ีไดลงในตารางบันทึกผลการทดลอง

ใหครบถวน นําผลการทดลองท่ีไดมาวิเคราะห และสรุปผลการทดลอง

ตารางบันทึกผลการทดลอง ตารางท่ี 1

คร้ังที่ กอนการชน หลังการชน

รถคัน

ที่

m

(kg)

u

(m/s)

mu

(kgm/s

)

2

21mu

(J)

∑m

u(kg

m/s)

2

2

1mu∑ (J)

รถ

คันที่

m

(kg)

v

(m/s

)

mv

(kgm

/ s)

2mv21

(J)

∑m

v(kg

m/s)

2mv21∑ (J)

1 1 0.5 0.2 1 0.5

2 0.5 0 2 0.5

2 1 0.5 0.2 1 0.5

2 1.0 0 2 1.0

3 1 1.0 0.2 1 1.0

2 0.5 0 2 0.5

4 1 0.5 0.2 1 0.5

2 1.0 0.1 2 1.0

5 1 1.0 0.2 1 1.0

2 0.5 0.1 2 0.5

หมายเหตุ มวล 1 คือมวลท่ีวิ่งเขาไปชน มวล 2 คือมวลท่ีถูกชน

ตารางบันทึกผลการทดลอง ตารางท่ี 2

การชนคร้ังท่ี ลักษณะของมวลท้ังสองหลังการชน

1

2

3

4

5

การวิเคราะหผลการทดลอง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

สรุปผลการทดลอง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 30: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

120

ใบงานท่ี 2.3

เรื่อง การชนกันของรถทดลองแบบไมยืดหยุน

คําช้ีแจง… ใหนักเรียนทําการทดลองเพ่ือศึกษาเก่ียวกับการชนของวัตถุท่ี 1 มิติ ซ่ึงเปนการชนแบบไม

ยืดหยุน จากสื่อ CD Physics Cyber Lab เรื่อง การชนแบบยืดหยุนและไมยืดหยุน พรอมบันทึกผล

การทดลองท่ีไดลงในใบงานนี้และวิเคราะหและสรุปผลการทดลองท่ีได

จุดประสงค

1. เพ่ือศึกษาผลท่ีเกิดข้ึนจากการชนของวัตถุใน 1 มิติแบบไมยืดหยุน

2. เพ่ือตรวจสอบโมเมนตัมและพลังงานจลนของวัตถุกอนและหลังการชนของวัตถุแบบไมยืดหยุน

วัสดุอุปกรณในการทดลอง

1. ชุดคอมพิวเตอร

2. สื่อ CD Physics Cyber Lab เรื่อง การชนแบบยืดหยุนและไมยืดหยุน

3. ใบงานท่ี 6.4

วิธีการทดลอง

1. ใหนักเรียนทําการศึกษาผลท่ีเกิดข้ึนจากการชนของวัตถุแบบยืดหยุนจากสื่อสื่อ CD Physics Cyber

Lab เรื่อง การชนแบบยืดหยุนและไมยืดหยุน เม่ือนักเรียนเขาไปในโปรแกรมของสื่อและเลือก

โปรแกรมเรียบรอยแลวนักเรียนจะพบหนาตางของการทดลองดังรูป

2. ใหเลือกการทดลองท่ีหมายเลข 1 โดยเลือก Inelastic collision (การชนแบบยืดหยุน) ใสคาตาง ๆ ท่ี

ตามท่ีระบุในตารางบันทึกผลการทดลองท่ีหมายเลข 2

3. บันทึกผลท่ีไดจากการทดลองโดยเลือกท่ีหมายเลข 3 บันทึกผลท่ีไดลงในตารางบันทึกผล การทดลอง

ใหครบถวน

1

2

3

Page 31: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

121

2.

4. นําผลการทดลองท่ีไดมาวิเคราะห และสรุปผลการทดลอง

ตารางบันทึกผลการทดลอง ตารางท่ี 1

คร้ังที่ กอนการชน หลังการชน

รถคัน

ที่

m

(kg)

u

(m/s)

mu

(kgm/s

)

2

21mu

(J)

∑m

u(kg

m/s)

2

2

1mu∑ (J)

รถ

คันที่

m

(kg)

v

(m/s

)

mv

(kgm

/ s)

2mv21

(J)

∑m

v(kg

m/s)

2mv21∑ (J)

1 1 0.5 0.2 1 0.5

2 0.5 0 2 0.5

2 1 0.5 0.2 1 0.5

2 1.0 0 2 1.0

3 1 1.0 0.2 1 1.0

2 0.5 0 2 0.5

4 1 0.5 0.2 1 0.5

2 1.0 0.1 2 1.0

5 1 1.0 0.2 1 1.0

2 0.5 0.1 2 0.5

หมายเหตุ มวล 1 คือมวลท่ีวิ่งเขาไปชน มวล 2 คือมวลท่ีถูกชน

ตารางบันทึกผลการทดลอง ตารางท่ี 2

การชนคร้ังท่ี ลักษณะของมวลท้ังสองหลังการชน

1

2

3

4

5

การวิเคราะหผลการทดลอง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

สรุปผลการทดลอง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 32: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

122

ใบความรู

เรื่อง การระเบิดและการดีดตัวออกของวัตถุ

โดย ณัฐภัสสร เหลาเนตร

การระเบิดหรือการดีดตัว

การระเบิดหรือการแยกออกจากกัน หมายถึง การท่ีวัตถุมีการแยกหรือแตกออกจากกัน โดยไมมี

แรงภายนอกมากระทํา ซ่ึงมีเง่ือนไขเหมือนกับการชนกันของวัตถุ การระเบิดและการแยกตัวออกของวัตถุ

ยังคงใชหลักการอนุรักษโมเมนตัมไดเชนกัน ในกรณีท่ีแนวแกนนั้นไมมีแรงภายนอกมากระทํา เพราะแรงลัพธ

ภายในระบบเม่ือเกิดการระเบิดหรือการแยกตัวออกยังคงมีคาเทากับศูนย เนื่องจากแรงของชิ้นสวนท่ีแยกออก

จากกันจะกระทําซ่ึงกันและกันในลักษณะของแรงคูกิริยา – ปฏิกิริยา จึงมีขนาดเทากันแตทิศทางตรงกันขาม

ดังรูป

รูปท่ี 1 แสดงการระเบิดของวัตถุ

ดังนั้นจะไดเง่ือนไขของโมเมนตัมดังสมการ

∑ กอนชนP

= ∑ หลังชนP

สวนพลังงานจลนของวัตถุในการระเบิด พบวา ผลรวมพลังงานจลนหลังการระเบิดจะมีคา

มากกวาผลรวมของพลังงานจลนกอนระเบิด เนื่องจากในการระเบิดมีการเปลี่ยนรูปพลังงานรูปตาง ๆ เปน

พลังงานจลน จึงสรุปไดวา

∑ กอนชนE

= ∑ หลังชนE

ลักษณะของการระเบิดแยกออกเปน 2 ลักษณะ ไดแก

1) การระเบิดแบบแยกออกจากกัน

การระเบิดของวัตถุลักษณะนี้วัตถุจะแยกอออกจากกันเปนสวน ๆ เชน

Page 33: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

123

2.

การยิงปน เดิมกระสุนและปนอยูดวยกัน ตัวปนมีมวล M ลูกปนมีมวล m หลงัยิงลูกปนมีความเร็ว v

พุงไปขางหนา ตัวปนมีความเร็ว V ถอยหลัง ดังรูป

กอนระเบิด หลังระเบิด

รูปท่ี 2 การระเบิดของปน

มวลอัดสปริง เม่ือวัตถุ M และ m ผูกติดกันดวยเชือกและมีสปริงติดอยูท่ีมวลกอนใดกอนหนึ่ง เม่ือตัด

เชือกขาด มวล M และ m จะเคลื่อนท่ีออกจากกันดวยความเร็ว V และ v ตามลําดับดังรูป

รูปท่ี 3 การระเบิดของมวลติดสปริง

คนกระโดดจากเรือ ซ่ึงเดิมคนมีมวล m อยูบนเรือซ่ึงมีมวล M เม่ือคนกระโดดออกจากเรือดวย

ความเร็ว v เรือจะเคลื่อนท่ีถอยหลังดวยความเร็ว V ดังรูป

กอนระเบิด หลังระเบิด

รูปท่ี 4 การแยกออกจากกันของคนกับเรือ

จากตัวอยางการระเบิดแบบแยกออกจากกัน ทําใหไดสมการ

∑ กอนชนP

= ∑ หลังชนP

0 = 2211 vmvm +

M

m

Mm

vV

Page 34: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

124

3.

จะได 0 = mvVM +− )(

หรือ mv = MV

2) การระเบิดแบบสัมพัทธ โดยภายหลังการระเบิดวัตถุยังอยูดวยกัน การคํานวณความเร็ว

ของวัตถุแตละกอน ใหคิดเทียบกับพ้ืนโลก เชน

คนเดินบนเรือซ่ึงอยูนิ่ง ใหคนมีมวล m อยูนิ่งบนเรือมวล M เม่ือคนเดินดวยความเร็ว v จะ

ทําใหเรือเคลื่อนท่ีในทิศทางตรงขามดวยความเร็ว V ดังรูป

รูปท่ี 5 การแยกออกจากกันของคนเดินบนเรือซ่ึงเคลื่อนท่ีดวยความเร็ว

ขณะท่ีคนเดินดวยความเร็ว v เรือจะเคลื่อนท่ีถอยหลังจากคน V เม่ือเทียบกับพ้ืนโลก ดังนั้น

ความเร็วคนจะมีความเร็ว (v – V ) เม่ือเทียบกับโลก ดังนั้น

∑ กอนชนP

= ∑ หลังชนP

0 = )()( VMVvm −+−

0 = MVVvm +− )(

)( Vvm − = MV

mVmv− = MV

mv = VMm )( +

หรือ V = Mm

mv

+

คนเดินบนเรือซ่ึงกําลังเคล่ือนท่ี กําหนดใหคนมีมวล m ยืนนิ่งบนเรือมวล M ซ่ึงมีความเร็ว u

เม่ือคนเริ่มเดินดวยความเร็ว v เรือจะมีความเร็ว V ดังรปู

รูปท่ี 6 การแยกออกจากกันของคนเดินบนเรือกําลังเคลื่อนท่ี

Page 35: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

125

4.

ขณะท่ีคนเดินดวยความเร็ว v ความเร็วของเรือ V ความเร็วของคนท่ีสัมพัทธกับพ้ืนโลกจะเทากับ

v + V ดังนั้นจาก

∑ กอนชนP

= ∑ หลังชนP

uMm )( + = MVVvm ++ )(

Mumu+ = MVmVmv ++

Mumvmu +− = VMm )( +

หรือ V = Mm

Muvum

++− )(

คนกระโดดจากเรือซ่ึงกําลังเคล่ือนท่ี เดิมคนมีมวล m ยืนอยูบนเรือ M ซ่ึงกําลังเคลื่อนท่ีดวย

ความเร็ว u แลวคนกระโดดออกจากเรือทางดานหนาดวยความเร็ว v ทําใหเรือมีความเร็ว V ดังรูป

รูปท่ี 7 การกระโดดจากเรือซ่ึงกําลังเคลื่อนท่ี

เม่ือคนกระโดดออกจากเรือแลว จะไดวา

∑ กอนชนP

= ∑ หลังชนP

uMm )( + = MVmv+

mvMumu −+ = MV

Mu)vu(m +− = MV

หรือ V = M

Muvum +− )(

Page 36: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

126

ชื่อ………………………………………………..ชั้น………… เลขท่ี…………กลุมท่ี………..

แบบฝกท่ี 2.3

เรื่อง การชนใน 1 มิติ

คําช้ีแจง… ใหนักเรียนแกปญหาโจทยตอไปนี้

1. มวล 2 m วิ่งดวยความเร็ว 10 m/s เขาชนมวล 3m ซ่ึงวิ่งดวยความเร็ว 4 m/s ในทิศทางเดียวกัน ถา

ในการชนไมมีการสูญเสียพลังงานจลน จงหาความเร็วของมวลท้ังสอง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ลูกปนมวล 2 กรัม ถูกยิงออกตามแนวระดับไปดวยความเร็ว 400 m/s เขาชนแทงไมมวล 3 kg ท่ีวาง

อยูนิ่งบนพ้ืนระดับซ่ึงมีสัมประสิทธิ์ความเสียดทานเทากับ 0.1 ถาลูกปนทะลุออกจากแทงไมดวย

ความเร็ว 100 m/s จงหาความเร็วของแทงไมหลังกระทบลูกปนและแทงไมจะไถลไปไดไกลเทาใดจึง

หยุดนิ่ง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ยิงลูกปนมวล 25 g เขาไปฝงในถุงทรายมวล 6 kg ซ่ึงแขวนอยู และทําใหถุงทรายโยนสูงข้ึนเปน

ระยะ 20 cm จงหาความเร็วของลูกปนในหนวย m/s

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 37: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

127

2.

4. มวล 3 kg เคลื่อนท่ีไปบนพ้ืนโตะท่ีไมมีความฝดดวย

ความเร็ว 8 เมตร/วินาที ไปชนกับมวล 1 กิโลกรัม ซ่ึง

ติดกับ สปริงท่ีมีคานิจ 1,600 นิวตัน/เมตร ตามรูป หลังชนมวล 3 กิโลกรัม ติดไปกับมวล 1 กิโลกรัม

และมวล 1 กิโลกรัม จะเคลื่อนท่ีเขาไปไดมากท่ีสุดเทาใด

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 38: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

128

ชื่อ………………………………..……………….…ชั้น……..เลขท่ี………..กลุมท่ี………

แบบฝกท่ี 2.4

เรื่อง…การชนใน 2 มิติ

คําช้ีแจง…ใหนักเรียนคิดแกปญหาโจทยเหลานี้ แลวแสดงวิธีคิดลงในแบบฝก

1. โมเลกุลของกาซตัวท่ี 1 มีความเร็ว 200 เมตร/วินาที ชนกับโมเลกุลของกาซตัวท่ี 2 ซ่ึงเดิมอยูนิ่งและมี

มวลเทากันภายหลังการชนโมเลกุลตัวท่ี 1 เบนออกจากแนวเดิม 37 องศา จงหาอัตราเร็วของโมเลกุลท้ัง

สองภายหลังการชน

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. มวล 6 กิโลกรัม เคลื่อนท่ีดวยความเร็ว 5 เมตร/วินาที ในทิศตะวันออกเขาชนกับมวล 4 กิโลกรัม

เคลื่อนท่ีดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที ในทิศทางเหนือ หลังชนปรากฏวามวลท้ังสองติดกันไป จงหา

ความเร็วของมวลท้ังสองหลังชนกัน

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ลูกกลม ก. และ ข. มีมวลเทากัน ลูกกลม ก. วิ่งเขาชนลูกกลม ข. ซ่ึงอยูนิ่ง ในแนวท่ีไมผานจุดศูนยกลาง

มวล ทําใหลูกกลม ก. กระเด็นไปจากแนวเดิมเปนมุม 30 องศา ถาลูกกลม ก. มีความเร็วกอนเขาชน

6 เมตรตอวินาที และการชนนี้เปนแบบยืดหยุน หลังจากชนแลวลูกกลม ก. และลูกกลม ข. จะมีขนาด

ความเร็วเทาไร

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 39: หน วยที่ 2 บทที่ 1 โมเมนตัม การดลและการชน แผนการจัดการ ...km.pccpl.ac.th/files/1205091111050695_14032210104449.pdf ·

129

ชื่อ………………………………..……………….…ชั้น……..เลขท่ี………..กลุมท่ี………

แบบฝกท่ี 2.5

เรื่อง…การระเบิดและการดีดตัวออกของวัตถุ

คําช้ีแจง…ใหนักเรียนคิดแกปญหาโจทยเหลานี้ แลวแสดงวิธีคิดลงในแบบฝก

1. รถสองคันมีมวล 1.0 kg และมีมวล M ผูกติดกันดวยสปริง เม่ือออกแรงดันรถท้ังสองอัดสปริงเขาหากัน

แลวปลอยทันที ปรากฏวารถคันท่ีมีมวล M มีอัตราเร็วเทากับ 4

1 ของอัตราเร็วของรถคันท่ีมีมวล

10 Kg มวล M มีคาเทาใด

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ลูกกระสุนปนใหญมวล 10 kg ถูกยิงออกจากปนใหญท่ีมีมวล 300 kg โดยท่ีปากกระบอกปน ทํามุม 30 ° กับแนวระดับ จงหาอัตราสวนของพลังงานจลนของลูกกระสุนปนตอพลังงานจลนท่ีเกิดจากการถอยหลัง

ของปนใหญขณะยิง(ไมคิดแรงเสียดทาน)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………