219
ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ เสนทางสุราษฎร -กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ศรัญญา แกวศรี วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี พ.ศ. 2554 Copyright : Suratthani Rajabhat University

ป จจัยที่มีผลต อการตัดสินใจของผู ใช บริการรถโดยสารปรับ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sarunya_mba.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

ศรัญญา แกวศรี

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตสาขาวิชาบริหารธุรกิจ

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานีพ.ศ. 2554

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

FACTORS AFFECTING THE DECISION MAKING OF USERS SERVICES BY AIR CONDITIONED BUS ROUTES SURAT-BANGKOK

IN SURAT THANI PROVINCE

SARANYA KAEWSRI

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Master of Business Adminitration

Graduate SchoolSuratthani Rajabhat University

2011

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

ศรัญญา แกวศรี

วิทยานิพนธนี้ไดรับการพิจารณาอนุมัติใหเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี

วันที่ 21 เดือน กุมภาพันธ พ.ศ. 2554

คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ คณะกรรมการสอบ

...........................................ประธานกรรมการ .........................................ประธานกรรมการ(ผูชวยศาสตราจารย ดร.นันทวรรณ ชางคิด) (รองศาสตราจารยสุณีย ลองประเสริฐ)

...........................................กรรมการ .........................................กรรมการ(ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมศักดิ์ ชอบตรง) (ผูชวยศาสตราจารย ดร.นันทวรรณ ชางคิด)

.........................................กรรมการ(ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมศักดิ์ ชอบตรง)

.........................................กรรมการ(ดร.สุทธิจิตต เชิงทอง)

.........................................กรรมการและเลขานุการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร.นิตย หทัยวสีวงศ สุขศรี)

...................................................................(รองศาสตราจารย ดร.ชูศักดิ์ เอกเพชร)

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จสมบูรณไดดวยดี ดวยความอนุเคราะหชวยเหลือใหคําปรึกษาและแนะนําแนวทางในการดําเนินอยางดียิ่งจาก ผูชวยศาสตราจารย ดร.นันทวรรณ ชางคิด ประธาน กรรมการที่ปรึกษา และผูชวยศาสตราจารย ดร.สมศักดิ์ ชอบตรง กรรมการที่ปรึกษา รวมทั้งคณะกรรมการประจําหลักสูตร MBA ทุกทาน ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงมา ณ ที่นี้

ขอขอบพระคุณรองศาสตราจารยสุณีย ลองประเสริฐ คุณนิมิตร อินทรา และคุณอัจฉราภรณ ยาเดฟ ที่ใหความอนุเคราะหตรวจสอบความเที่ยงตรง ตลอดการเสนอแนะขอบกพรองของเครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ขอขอบพระคุณนายสถานีบขส. พนักงาน ตลอดจนผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ที่อํานวยความสะดวกและใหความรวมมือในการเก็บรวบรวมขอมูล การทําวิจัยในครั้งนี้เปนอยางดี

ขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา ครอบครัวและเพื่อน ๆ ที่คอยใหการสนับสนุนชวยเหลือและคอยเปนกําลังใจใหผูวิจัยดวยดีเสมอมา

ทายนี้ประโยชนที่เกิดจากการศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยขอมอบแตบุคคลขางตนที่มีสวนรวม ใหการศึกษาครั้งนี้สําเร็จไดดวยดี

ศรัญญา แกวศรี

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

สารบัญ

หนาบทคัดยอภาษาไทย ................................................................................................................. ขบทคัดยอภาษาอังกฤษ ............................................................................................................ งกิตติกรรมประกาศ ................................................................................................................. ฉสารบัญ ................................................................................................................................... ชสารบัญตาราง ......................................................................................................................... ฌสารบัญภาพ ............................................................................................................................ ฒบทที่

1 บทนํา ....................................................................................................................... 1ความเปนมาและความสําคัญของปญหา............................................................ 1วัตถุประสงคของการวิจัย.................................................................................. 3ความสําคัญของการวิจัย .................................................................................... 3ขอบเขตของการวิจัย ......................................................................................... 4กรอบแนวคิดในการวิจัย ................................................................................... 5สมมติฐานของการวิจัย...................................................................................... 7นิยามศัพทเฉพาะ............................................................................................... 7

2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ................................................................................ 9ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการของการขนสง................................................................9แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ.............................................................................................17งานวิจัยที่เกี่ยวของ ................................................................................................ 36

3 วิธีดําเนินการวิจัย ..................................................................................................... 44ประชากรและกลุมตัวอยาง ................................................................................................44เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล................................................................ 47การเก็บรวบรวมขอมูล ................................................................................................ 49การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช .......................................................................................49

4 ผลการวิเคราะหขอมูล ................................................................................................ 50สัญลักษณทางสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล................................................................50การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล ....................................................................................51ผลการวิเคราะหขอมูล ................................................................................................ 51

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

สารบัญ (ตอ)

บทที่ หนา 5 สรุปผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ ................................................................................173

สรุปผล...............................................................................................................................173อภิปรายผล.........................................................................................................................177ขอเสนอแนะ ......................................................................................................................180

บรรณานุกรม .......................................................................................................................... 184ภาคผนวก ............................................................................................................................... 198

ภาคผนวก ก หนังสือขอความอนุเคราะห ................................................................ 190ภาคผนวก ข คาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม ...............................................................193ภาคผนวก ค แบบสอบถามเพื่อการวิจัย ...........................................................................198

ประวัติผูทําวิทยานิพนธ ......................................................................................................... 206

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา2.1 ตารางเวลาการเดินรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร–กรุงเทพฯ

จําแนกตามบริษัทเดินรถ ................................................................................................ 152.2 รายชื่อบริษัทที่ใหบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ.....................163.1 การเก็บรวบรวมขอมูลในชวงวันและเวลาตาง ๆ ...............................................................464.1 จํานวนและรอยละ ขอมูลปจจัยสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม ................................524.2 จํานวนและรอยละ ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสาร

ปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ................................ 544.3 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ

รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี โดยรวม..............................................................................................................................58

4.4 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานรถโดยสารปรับอากาศ ................................................................................................59

4.5 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ดานราคา ............................................................................................................................60

4.6 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานชองทางการจัดจําหนาย ...............................................................................................61

4.7 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานการสงเสริมการตลาด ................................................................................................62

4.8 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานบุคลากร ......................................................................................................................63

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา

4.9 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานลักษณะทางกายภาพ................................................................................................ 64

4.10 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานกระบวนการใหบริการ ................................................................................................65

4.11 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานผลิตภาพและคุณภาพ ................................................................................................66

4.12 เปรียบเทียบความแตกตางปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามเพศ...............67

4.13 เปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามอายุ................................68

4.14 เปรียบเทียบดานชองทางการจัดจําหนาย จําแนกตามอายุรายคู ................................ 704.15 เปรียบเทียบดานการสงเสริมการตลาด จําแนกตามอายุรายคู .............................................714.16 เปรียบเทียบดานบุคลากรจําแนกตามอายุรายคู................................................................ 724.17 การวิเคราะหความแปรปรวนปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ

รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีจําแนกตามสถานภาพ ................................................................................................ 73

4.18 เปรียบเทียบดานรถโดยสารปรับอากาศ จําแนกตามสถานภาพรายคู ................................744.19 เปรียบเทียบดานชองทางการจัดจําหนาย จําแนกตามสถานภาพรายคู................................754.20 เปรียบเทียบดานการสงเสริมการตลาด จําแนกตามสถานภาพรายคู................................ 764.21 เปรียบเทียบดานลักษณะทางกายภาพ จําแนกตามสถานภาพรายคู ................................ 764.22 เปรียบเทียบดานผลิตภาพและคุณภาพ จําแนกตามสถานภาพรายคู ................................ 774.23 เปรียบเทียบโดยรวมทุกดาน จําแนกตามสถานภาพรายคู ..................................................78

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา4.24 การวิเคราะหความแปรปรวนปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ

รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีจําแนกตามระดับการศึกษา ................................................................................................79

4.25 เปรียบเทียบดานรถโดยสารปรับอากาศ จําแนกตามระดับการศึกษารายคู .........................814.26 เปรียบเทียบดานราคา จําแนกตามระดับการศึกษารายคู .....................................................824.27 เปรียบเทียบดานการสงเสริมการตลาด จําแนกตามระดับการศึกษารายคู ..........................834.28 เปรียบเทียบดานบุคลากร จําแนกตามระดับการศึกษารายคู ...............................................844.29 เปรียบเทียบดานลักษณะทางกายภาพ จําแนกตามระดับการศึกษารายคู ............................854.30 เปรียบเทียบดานกระบวนการใหบริการ จําแนกตามระดับการศึกษารายคู.........................864.31 เปรียบเทียบดานผลิตภาพและคุณภาพ จําแนกตามระดับการศึกษารายคู ...........................874.32 เปรียบเทียบโดยรวมทุกดาน จําแนกตามระดับการศึกษารายคู ................................ 884.33 การวิเคราะหความแปรปรวนปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ

รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามอาชีพ ...............................................................................................................

89

4.34 เปรียบเทียบดานรถโดยสารปรับอากาศ จําแนกตามอาชีพรายคู ................................ 914.35 เปรียบเทียบดานราคา จําแนกตามอาชีพรายคู ................................................................ 924.36 เปรียบเทียบดานชองทางการจัดจําหนาย จําแนกตามอาชีพรายคู ................................ 934.37 เปรียบเทียบดานการสงเสริมการตลาด จําแนกตามอาชีพรายคู ................................ 944.38 เปรียบเทียบดานบุคลากร จําแนกตามอาชีพรายคู ..............................................................954.39 เปรียบเทียบดานลักษณะทางกายภาพ จําแนกตามอาชีพรายคู............................................964.40 เปรียบเทียบดานกระบวนการใหบริการ จําแนกตามอาชีพรายคู ................................ 974.41 เปรียบเทียบดานผลิตภาพและคุณภาพ จําแนกตามอาชีพรายคู ................................ 984.42 เปรียบเทียบโดยรวมทุกดาน จําแนกตามอาชีพรายคู..........................................................994.43 การวิเคราะหความแปรปรวนปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ

รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีจําแนกตามรายไดตอเดือน ................................................................................................

100

4.44 เปรียบเทียบดานรถโดยสารปรับอากาศ จําแนกตามรายไดตอเดือนรายคู ..........................102

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา4.45 เปรียบเทียบดานราคา จําแนกตามรายไดตอเดือนรายคู......................................................1034.46 เปรียบเทียบดานชองทางการจัดจําหนาย จําแนกตามรายไดตอเดือนรายคู ........................1044.47 เปรียบเทียบดานการสงเสริมการตลาด จําแนกตามรายไดตอเดือนรายคู ...........................1054.48 เปรียบเทียบดานบุคลากร จําแนกตามรายไดตอเดือนรายคู ................................................1064.49 เปรียบเทียบดานกระบวนการใหบริการ จําแนกตามรายไดตอเดือนรายคู .........................1074.50 เปรียบเทียบดานผลิตภาพและคุณภาพ จําแนกตามรายไดตอเดือนรายคู ............................1084.51 เปรียบเทียบโดยรวมทุกดาน จําแนกตามรายไดตอเดือนรายคู ................................ 1094.52 การวิเคราะหความแปรปรวนปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ

รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีจําแนกตามภูมิลําเนา ................................................................................................

110

4.53 เปรียบเทียบดานการสงเสริมการตลาด จําแนกตามภูมิลําเนา .............................................1114.54 ผลสรุปการเปรียบเทียบโดยรวมระหวางปจจัยสวนบุคคลกับปจจัยที่มีผลตอ

การตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ................................................................................................

112

4.55 ความสัมพันธระหวางบริษัทที่เลือกใชกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ................................................................................................

113

4.56 ความสัมพันธระหวางเหตุผลที่เลือกใชบริการกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ................................................................................................

119

4.57 ความสัมพันธระหวางประเภทรถที่เลือกใชบริการกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ................................................................................................

124

4.58 ความสัมพันธระหวางคาโดยสารที่จายกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ................................................................................................

128

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา4.59 ความสัมพันธระหวางวัตถุประสงคที่ใชบริการกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจ

ของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ................................................................................................

132

4.60 ความสัมพันธระหวางวิธีการซื้อตั๋วและจองตั๋วกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯในจังหวัดสุราษฎรธานี ................................................................................................

137

4.61 ความสัมพันธระหวางลักษณะการเลือกซื้อตั๋วในการเดินทางกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ................................................................................................

141

4.62 ความสัมพันธระหวางการใชบริการตอเดือนกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ................................................................................................

144

4.63 ความสัมพันธระหวางชวงเวลาที่เลือกใชบริการกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ................................................................................................

148

4.64 ความสัมพันธระหวางชวงวันที่เลือกใชบริการกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ................................................................................................

152

4.65 ความสัมพันธระหวางผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯในจังหวัดสุราษฎรธานี ................................................................................................

156

4.66 ความสัมพันธระหวางแหลงขอมูลเพื่อการเดินทางกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯในจังหวัดสุราษฎรธานี ................................................................................................

161

4.67 ความสัมพันธระหวางบุคคลที่รวมเดินทางกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ................................................................................................

165

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา4.68 ผลสรุปความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ

กับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ................................................................

170

4.69 ขอเสนอแนะในการใชบริการของรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร- กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ......................................................................................

172

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา1.1 กรอบแนวคิดในการวิจัย ................................................................................................ 62.1 แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภคตาม S - R theory...............................................................272.2 กระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค ..............................................................................292.3 กระบวนการตัดสินใจของผูบริโภค ...................................................................................30

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

บทที่ 1

บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

การดําเนินชีวิตของมนุษยในทุก ๆ วันนั้นจะตองเกี่ยวของกับการเดินทางอยูเสมอ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อแสวงหาที่อยูอาศัย ในการประกอบอาชีพ การอุปโภคบริโภค การลงทุนทําธุรกิจ เปนตน ซึ่งในอดีตเมื่อมนุษยจะเดินทางไปยังสถานที่ใดนั้นจะตองเดินทางดวยเทาพรอมยังไดพัฒนาโดยการนํายานพาหนะมาชวยอํานวยความสะดวกในการเดินทาง และในเวลาตอมาการคมนาคมขนสงตาง ๆ ไมวาจะเปนการคมนาคมขนสงทางบก ทางน้ํา และทางอากาศ ก็ไดเริ่มเขามามีบทบาทเพื่ออํานวยความสะดวกและมีความสําคัญตอชีวิตเปนอยางมาก เนื่องจากการคมนาคมขนสงทั้ง การขนสงสินคาและการขนสงผูโดยสารนับเปนวาปจจัยอยางหนึ่งของการพัฒนาประเทศ เปนการเชื่อมโยงจากธุรกิจไปสูตลาดการคาและผูจัดหาวัตถุดิบ และระบบการขนสงที่มีประสิทธิภาพ ยังชวยใหเศรษฐกิจมีการเติบโตอยางตอเนื่อง เมื่อมนุษยตองการที่จะเดินทางไปยังสถานที่ตาง ๆ ไมวาจะเปนสถานที่ทํางาน สถานศึกษา การติดตอธุรกิจการคาตาง ๆ หรือเพื่อการทองเที่ยว และ ในการเดินทางนั้นมีชองทางการเดินทางใหเลือกใชหลายรูปแบบ เชน การเดินทางทางอากาศ โดยเครื่องบิน การเดินทางทางบกโดยรถโดยสารประจําทาง ทางรถไฟ รถยนตสวนบุคคล และ การเดินทางทางน้ําโดยเรือ ไมวาจะเลือกใชการเดินทางชองทางใดลวนขึ้นอยูกับความตองการและความพึงพอใจของผูใชเปนหลัก (ชุติมา ธนาวัฒนากร. 2547)

ในปจจุบันธุรกิจการคมนาคมขนสงทางบกถือเปนการคมนาคมขนสงที่สําคัญ เปนชองทาง การขนสงที่ใชกันมากที่สุด เนื่องจากมีความสะดวกรวดเร็ว คาบริการมีราคาถูก ชวยลดปญหาการจราจรและปญหามลพิษ ประกอบกับเสนทางการเดินรถไดมีการปรับปรุงพัฒนาใหมีประสิทธิภาพมากขึ้นเพื่อความสะดวกรวดเร็วในการเดินทาง จากสถิติของกระทรวงคมนาคม ป 2542 - 2551 การขนสงสินคาภายในประเทศทางบกมีจํานวนมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับการขนสงทางรถไฟ ทางนํ้า และทางอากาศ สวนการขนสงผูโดยสารภายในประเทศ การเดินทางของประชาชนสวนใหญเลือกการเดินทางโดยอาศัยรถโดยสารประจําทางเปนหลัก (กรมการขนสงทางอากาศ การรถไฟ แหงประเทศไทย บริษัทขนสงจํากัด และองคการขนสงมวลชนกรุงเทพ. 2551)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

2

จังหวัดสุราษฎรธานี ถือวาเปนศูนยกลางความเจริญของภาคใตเปนศูนยกลางของธุรกิจการคา การบริการ และการทองเที่ยวของภาคใตตอนบนที่มีความสําคัญของประเทศทั้งทางดานเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและการทองเที่ยว เปนจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในภาคใต และเปนอันดับ 6 ของประเทศ และจังหวัดสุราษฎรธานีถือเปนจังหวัดหนึ่งที่มีนักธุรกิจ นักทองเที่ยวและประชาชนเดินทางมาติดตอทางดานเศรษฐกิจ ดานการงาน การเรียน การทองเที่ยว และดานอื่น ๆ ในจังหวัด สุราษฎรธานี โดยพบวา ในการเดินทางนั้นสวนใหญจะเลือกใชบริการรถโดยสารประจําทาง เพราะมีความสะดวกในการเดินทาง มีความปลอดภัย และมีราคาที่เหมาะสม สามารถชวยลดคาใชจายไดดีกวาการเดินทางดวยรถสวนตัวหรือดวยชองทางอื่น ๆ ซึ่งรถโดยสารประจําทางนั้นอยูภายใต การดูแลและการควบคุมของคณะกรรมการควบคุมการขนสงทางบกกลาง หนวยงานของรัฐที่ดําเนินกิจการดานการเดินรถโดยสาร คือ บริษัทขนสง จํากัด มีรถยนตโดยสารไวบริการขนสงผูโดยสารทั้งรถโดยสารแบบธรรมดา รถโดยสารปรับอากาศชั้น 1 และรถโดยสารปรับอากาศชั้น 2 นอกจากนี้ยังมีรถโดยสารของบริษัทเอกชนเขามาใหบริการรถโดยสารปรับอากาศในเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ซึ่งในจังหวัดสุราษฎรธานีมีดวยกัน 7 บริษัท (บริษัทขนสง จํากัด. 2552) ในการประกอบการขนสงประจําทางดวยรถโดยสารทั้งของรัฐและเอกชนนั้นจะตองปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบ ขอบังคับตาง ๆ ตามเงื่อนไขที่กําหนดไว เนนการประชาสัมพันธและการใหบริการขอมูลเพื่อการเดินทาง รวมตลอดถึงการดูแล การอํานวยความสะดวกและการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินใหแกผูใชบริการ ณ สถานีขนสงผูโดยสารและในขณะเดินทาง เพื่อใหเกิดความพึงพอใจแกผูใชบริการ (บริษัทขนสง จํากัด. 2552) ดังนั้น แตละบริษัทจึงมีการจัดสิ่งจูงใจแบบตาง ๆ ในขณะการเดินทางซึ่งจะมีบริการแจกอาหาร เครื่องดื่ม ขนมและอื่น ๆ ที่แตกตางกันในแตละบริษัท เพื่อเปนการจูงใจใหผูใชบริการเขาไปใชบริการบริษัทของตนเองมากที่สุด

จากเหตุผลดังกลาว ผูวิจัยจึงเห็นความสําคัญที่จะศึกษาปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ซึ่งเปนผลตอบสนองดานอารมณ ความรูสึกตอคุณภาพของการบริการตาง ๆ ที่ไดรับจากการใชบริการ เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการใหบริการของรถโดยสารปรับอากาศใหเกิดประโยชนสําหรับผูประกอบการที่ดําเนินกิจการดานการเดินรถโดยสารปรับอากาศ เพื่อทําการแกไข ปรับปรุงคุณภาพการดําเนินกิจการในการวางแผนกลยุทธทางการตลาดและการบริการ ใหมีประสิทธิภาพ เปนที่ พึงพอใจและเกิดการประทับใจสําหรับผูใชบริการใหกลับมาใชบริการในครั้งตอ ๆ ไป

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

3

วัตถุประสงคของการวิจัย

การวิจัยเรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทาง สุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ผูวิจัยกําหนดขอบเขตของการวิจัย ดังนี้

1. เพื่อศึกษาปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

3. เพื่อเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล

4. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

5. เพื่อศึกษาปญหาและขอเสนอแนะของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

ความสําคัญของการวิจัย

การวิจัยเรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทาง สุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี มีความสําคัญของการวิจัย ดังนี้

1. ทราบถึงปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี เพื่อผูประกอบการเดินรถโดยสารปรับอากาศนําไปเปนขอมูลพื้นฐานในการกําหนดแนวทางดานการตลาดของธุรกิจ

2. ทราบถึงพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี เพื่อนําไปใชในการปรับปรุงพัฒนาการใหบริการใหสอดคลองกับพฤติกรรมของผูใชบริการ

3. ทราบถึงการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล

4. เพื่อนําขอมูลที่ไดไปเปนขอมูลพื้นฐานใหกับผูประกอบการที่จะเลือกทําธุรกิจบริการรถโดยสารปรับอากาศในจังหวัดสุราษฎรธานีหรือจังหวัดใกลเคียง

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

4

5. เพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพการดําเนินงานและรูปแบบการใหบริการของธุรกิจบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ใหสอดคลองกับความตองการของผูใชบริการที่มาใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ

ขอบเขตของการวิจัย

การศึกษาเรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ผูวิจัยมีขอบเขตและขอจํากัดของการวิจัย ดังนี้

1. ดานประชากรและกลุมตัวอยางที่จะศึกษา1.1 ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ ประชาชนที่ใชบริการรถโดยสาร

ปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ประกอบดวย บริษัทขนสง จํากัด นครศรีราชาทัวร โชคอนันตทัวร ทรัพยไพศาลทัวร กรุงสยามทัวร นครศรีรมเย็นทัวร สมบัติทัวร และบัส เอ็กซเพลส

1.2 กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ ประชาชนที่ใชบริการรถโดยสาร ปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ใชเกณฑกรณีที่ไมทราบขนาดของประชากร (Infinite Population) โดยการใชกลุมตัวอยางจากการสุมตัวอยางที่มีคาความเชื่อมั่น รอยละ 95 ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 คํานวณหาขนาดของกลุมตัวอยางโดยใชสูตร Cochran (กัลยา วาณิชยปญญา. 2549 : 74) ไดกลุมตัวอยางทั้งสิ้น 384.16 คน ซึ่งผูวิจัยปรับเพิ่มเปน 420 คน เพื่อลดความคลาดเคลื่อนของผลการวิเคราะหขอมูล

2. ดานตัวแปรที่จะศึกษา 2.1 ตัวแปรอิสระ ประกอบดวย

2.1.1 ปจจัยสวนบุคคล ไดแก เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ รายไดเฉลี่ยตอเดือน และภูมิลําเนา

2.1.2 พฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ไดแก บริษัทที่เลือก ใชบริการ เหตุผลที่ เลือกใชบริการรถโดยสาร ประเภทของรถโดยสาร ราคาที่ชําระแตละครั้ง วัตถุประสงคที่เลือกใชบริการ วิธีการซื้อตั๋วและจองตั๋ว ลักษณะการซื้อตั๋ว ความถี่ในการใชบริการ ชวงเวลาที่ใชบริการ วันที่มาใชบริการรถโดยสาร ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการ แหลงขอมูลและบุคคลที่รวมเดินทาง

2.2 ตัวแปรตาม ประกอบดวย ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก ดานรถโดยสารปรับอากาศ ดานราคา ดานชองทางการจัดจําหนาย ดานการสงเสริมการตลาด ดานบุคลากร ดานลักษณะทางกายภาพ ดานกระบวนการใหบริการ และดานผลิตภาพและคุณภาพ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

5

3. ดานเนื้อหาการศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ

รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี โดยศึกษาวาปจจัยใดบางที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัด สุราษฎรธานี ซึ่งประกอบดวย ดานรถโดยสารปรับอากาศ ดานราคา ดานชองทางการจัดจําหนาย ดานการสงเสริมการตลาด ดานบุคลากร ดานลักษณะทางกายภาพ ดานกระบวนการใหบริการ และดานผลิตภาพและคุณภาพ

กรอบแนวคิดในการวิจัย

จากการศึกษาเอกสารตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวของกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี มาประกอบในการกําหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย แสดงความสัมพันธ ของตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ดังภาพที่ 1.1

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

6

ภาพที่ 1.1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

ตัวแปรอิสระปจจัยสวนบุคคล

1. เพศ 2. อายุ 3. สถานภาพ 4. ระดับการศึกษา 5. อาชีพ 6. รายไดเฉลี่ยตอเดือน 7. ภูมิลําเนา

พฤติกรรมการใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ

1. บริษัทที่เลือกใชบริการ2. เหตุผลที่เลือกใชบริการรถโดยสาร3. ประเภทของรถโดยสาร4. ราคาที่ชําระแตละครั้ง5. วัตถุประสงคที่เลือกใชบริการ6. วิธีการซื้อตั๋วและจองตั๋ว7. ลักษณะการซื้อตั๋ว8. ความถี่ในการใชบริการ9. ชวงเวลาที่ใชบริการ10. วันที่มาใชบริการรถโดยสาร11. ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการ12. แหลงขอมูล13. บุคคลที่รวมเดินทาง

ตัวแปรตามปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ 1. ดานรถโดยสารปรับอากาศ 2. ดานราคา 3. ดานชองทางการจัดจําหนาย 4. ดานการสงเสริมการตลาด 5. ดานบุคลากร 6. ดานลักษณะทางกายภาพ 7. ดานกระบวนการใหบริการ 8. ดานผลิตภาพและคุณภาพ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

7

สมมติฐานของการวิจัย

การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ผูวิจัยไดตั้งสมมติฐานการวิจัย ดังนี้1. ปจจัยสวนบุคคลตางกันมีผลทําใหปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ

รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ตางกัน2. พฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศมีความสัมพันธกับปจจัยที่มีผล

ตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัด สุราษฎรธานี

นิยามศัพทเฉพาะ

ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ หมายถึง ปจจัย ที่ผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศคํานึงถึงในการใชบริการ ซึ่งในที่นี้คือ 8P’s ไดแก รถโดยสารปรับอากาศ ราคา ชองทางการจัดจําหนาย การสงเสริมการตลาด บุคลากร ลักษณะทางกายภาพกระบวนการใหบริการ และผลิตภาพและคุณภาพ

เสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ หมายถึง เสนทางตามทางหลวงหมายเลข 41 ที่มีตนทางจากจังหวัดสุราษฎรธานี ไปสูจังหวัดกรุงเทพฯ

ผูใชบริการ หมายถึง ประชาชนที่ใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ เฉพาะบริษัทและเที่ยวรถที่มีตนทางขึ้นรถโดยสาร ณ สถานีขนสงผูโดยสารจังหวัด สุราษฎรธานี

ปจจัยสวนบุคคล หมายถึง ขอมูลสวนตัวของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ รายไดเฉลี่ยตอเดือน และภูมิลําเนา

พฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ หมายถึง พฤติกรรมหรือการกระทํา ในการตัดสินใจใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ประกอบดวย บริษัทที่เลือกใชบริการ เหตุผลที่เลือกใชบริการรถโดยสาร ประเภทของรถโดยสาร ราคาที่ชําระแตละครั้ง วัตถุประสงคที่เลือกใชบริการ วิธีการซื้อตั๋วและจองตั๋ว ลักษณะการซื้อตั๋ว ความถี่ในการใชบริการ ชวงเวลาที่ใชบริการวันที่มาใชบริการรถโดยสาร ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการ แหลงขอมูล และบุคคลที่รวมเดินทาง

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

8

รถโดยสารปรับอากาศ หมายถึง รถโดยสารปรับอากาศพิเศษ (VIP) รถโดยสารปรับอากาศชั้น 1 และรถโดยสารปรับอากาศชั้น 2 ที่รวมถึงสภาพของตัวรถ เครื่องยนตและอุปกรณอํานวยความสะดวกภายในรถ เชน โทรทัศน เครื่องเลนวีดีโอ วิทยุเทป เครื่องปรับอากาศ หองน้ํา

ราคา หมายถึง ราคาของตั๋วโดยสารรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ชองทางการจัดจําหนาย หมายถึง ชองทางการจัดจําหนายตั๋วโดยสาร ไดแก สถานีขนสง

ผูโดยสาร ณ จุดจําหนายของตัวแทน ทางโทรศัพท เปนตนการสงเสริมการตลาด หมายถึง การดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ที่มีผลกับยอดขายและจํานวน

ลูกคาที่เพิ่มขึ้น เชน การมีสวนลดคาโดยสารพิเศษ การใหสวนลดคาโดยสารจากการสะสมตั๋ว เปนตน

บุคลากร หมายถึง บุคลากรหรือพนักงานที่สงมอบบริการใหเปนที่พึงพอใจแกผูใชบริการ ตามความสามารถและเชี่ยวชาญในงานนั้น ๆ ไดแก พนักงานจําหนายตั๋วโดยสาร พนักงานขับรถ พนักงานตอนรับ

ลักษณะทางกายภาพ หมายถึง ลักษณะและรูปแบบที่แสดงใหเห็นถึงคุณภาพของงานบริการที่สามารถมองเห็นหรือสัมผัสได ไดแก สถานที่จอดรถในการจองตั๋ว/ซื้อตั๋วมีความสะดวก ที่พักสําหรับผูโดยสารกวางขวางเพียงพอไมแออัด ความเปนระเบียบเรียบรอยความสะอาดของ จุดพักรถ รานจําหนายสินคาและหองสุขา เปนตน

กระบวนการใหบริการ หมายถึง วิธีการจัดหา ดําเนินการ เพื่อจัดสงบริการใหกับลูกคา ไดแก มีการบริการที่เปนมาตรฐาน เปดบริการทุกวัน ความตรงตอเวลารถเขา-ออก มีการบริการ รับฝากสัมภาระกอนขึ้นรถโดยสาร เปนตน

ผลิตภาพและคุณภาพ หมายถึง ผลผลิตที่เกิดจากการใหบริการของพนักงานที่ปฏิบัติ ตอผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศใหเกิดความพึงพอใจในการบริการ เชน การบริการที่ดี ความปลอดภัยจากอุบัติเหตุในขณะการเดินทาง ความรูสึกมั่นใจและความเชื่อมั่นตอบริษัทเดินรถ เปนตน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การวิจัยเรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทาง สุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี มีแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อเปนแนวทางในการศึกษา ดังนี้

1. ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการของการขนสง2. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ

2.1 แนวคิดการตลาดสําหรับธุรกิจบริการ2.2 แนวคิดเกี่ยวกับคุณภาพการบริการ2.3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค2.4 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการตัดสินใจ2.5 แนวคิดความปลอดภัย2.6 แนวคิดเกี่ยวกับการขนสงผูโดยสาร

3. งานวิจัยที่เกี่ยวของ

ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการของการขนสง

ประวัติความเปนมาของสถานีขนสงผูโดยสารกอนป พ.ศ. 2497 การขนสงดวยรถโดยสารประจําทางยังไมมีการควบคุมจัดระเบียบ

เอกชนรายใดมีทุนทรัพยเพียงพอที่จะซื้อรถมาวิ่งรับสงผูโดยสาร ก็จะดําเนินการไดโดยอิสระ ไมตองขออนุญาตจากทางราชการ ทําใหเกิดการแขงขันและแยงกันเดินรถโดยไรขอบเขต ไมมีจุดตนทางปลายทางหรือเสนทางเดินรถที่แนนอน ไมมีตารางการเดินรถหรือเที่ยววิ่งที่แนชัด อัตรา คาโดยสารก็ไมแนนอนเก็บคาโดยสารตามความตองการ เจาของรถพอใจจะเดินรถระยะทางแคไหนก็จะเดินรถเพียงแคนั้น ทั้งที่เก็บคาโดยสารเกินกวาระยะทางวิ่ง ผูขับรถแยงกันรับผูโดยสาร ขับรถเปนที่นาหวาดเสียวกอใหเกิดอุบัติเหตุรถชนหรือรถคว่ําบอยครั้ง ผูโดยสารไดรับความเสียหาย บางรายไดรับบาดเจ็บสาหัส บางรายถึงกับเสียชีวิต อีกทั้งพนักงานประจํารถ เชน ผูเก็บคาโดยสาร ก็ไมมีมารยาท ตะโกนเรียกผูโดยสารขึ้นรถแสดงกิริยาวาจาไมสุภาพเรียบรอย ทํารายรางกายผูโดยสารก็มีปรากฏอยูเสมอ ๆแตประการสําคัญก็คือไมมีสถานีขนสงผูโดยสารสําหรับใชเปนสถานที่

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

10

หยุดหรือจอดรถโดยสารประจําทาง จะมีก็เพียงทาจอดรถโดยสารแตละเสนทางอยูกระจัดกระจายไมเปนระเบียบ ดวยสาเหตุตาง ๆ เหลานี้ ทางราชการโดยกระทรวงคมนาคมจึงไดออกกฎหมายเรียกวาพระราชบัญญัติการขนสง พ.ศ. 2497 เพื่อควบคุมจัดระเบียบการขนสงทางถนนโดยเฉพาะและไดจัดตั้งกรมการขนสงทางบกเปนหนวยงานรองรับการปฏิบัติงานตามอํานาจหนาที่ของกฎหมายดังกลาว ซึ่งในบทบัญญัติของกฎหมายฉบับนี้ไดใหอํานาจกรมการขนสงทางบกที่จะดําเนินการจัดใหมีสถานีขนสงผูโดยสารขึ้น และไดจัดต้ังสถานีขนสงผูโดยสารในเขตกรุงเทพมหานครขึ้น 3 แหงแรกของประเทศไทยพรอมกัน เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2503 ดังนี้

1. สถานีขนสงสายเหนือและสายตะวันออกเฉียงเหนือ (หมอชิต)2. สถานีขนสงสายตะวันออกเลียบชายฝงทะเล (เอกมัย)3. สถานีขนสงสายใต (ขนสงสายใต)

สําหรับสถานีขนสงผูโดยสารในสวนภูมิภาค กรมการขนสงทางบกไดจัดใหมีขึ้นที่จังหวัดเชียงใหมเปนแหงแรก เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2509 และสถานีแหงอื่น ๆ ติดตามมา จนกระทั่งปจจุบันมีสถานีขนสงผูโดยสารซึ่งกรมการขนสงทางบกเปนผูบริหารเองและสถานีขนสงผูโดยสารซึ่งเอกชนเปนผูบริหารรวมทั้งสิ้น 87 แหง และไดมีการออกพระราชบัญญัติการขนสงทางบก พ.ศ. 2522 เพื่อใชแทนพระราชบัญญัติการขนสง พ.ศ. 2497

สถานีขนสงผูโดยสารประเภทจัดตั้งสถานีขนสงผูโดยสารประเภทนี้บริษัทเอกชนเปนผูไดรับใบอนุญาตจะเปนผูบริหารงานเอง

ทั้งหมดแตกรมการขนสงทางบกจะตองแตงตั้งนายสถานีไปกํากับดูแล เพื่อใหการดําเนินงานของสถานีเปนไปตามวัตถุประสงคของกฎหมายใบอนุญาตจัดตั้งสถานีมีอายุ 20 ป คาธรรมเนียม 100,000 บาท

ประเภทของสถานีขนสง จําแนกตามหนวยงานที่รับผิดชอบในประเทศไทยมีสถานีขนสงรวมทั้งหมด 103 แหง โดยแยกประเภทการดําเนินการ (ศูนยกลางขอมูลและขาวสารการคมนาคมขนสงของไทย. 2552) ดังนี้

1. กรมการขนสงทางบกดําเนินการ มีจํานวน 75 แหง1.1 ปจจุบันไดถายโอนใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวน 69 แหง1.2 อยูระหวางการดําเนินการถายโอน จํานวน 6 แหง

2. บขส. ดําเนินการ จํานวน 8 แหง3. เอกชนดําเนินการ จํานวน 18 แหง4. เทศบาลดําเนินการ จํานวน 2 แหง

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

11

ประวัติสถานีขนสงผูโดยสารจังหวัดสุราษฎรธานีกรมการขนสงทางบกไดประกาศเชิญชวนใหผูที่ประสงคจะจัดตั้งและดําเนินการสถานี

ขนสงผูโดยสารจังหวัดสุราษฎรธานี ยื่นคําขอรับใบอนุญาต และกรมการขนสงทางบกไดนําเรื่องการจัดตั้งและดําเนินการสถานีขนสงผูโดยสารจังหวัดสุราษฎรธานีเสนอคณะกรรมการควบคุม การขนสงทางบกกลาง ที่ประชุมมีมติอนุมัติใหกําหนดสถานที่ในการจัดตั้งสถานีขนสงผูโดยสารจังหวัดสุราษฎรธานี ทําสัญญาจัดตั้งและดําเนินการสถานีขนสงผูโดยสารจังหวัดสุราษฎรธานีกับบริษัทขนสง จํากัด สัญญาเลขที่ สน.1/2534 เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2534

การบริหารจัดการดานเที่ยวรถบริษัทเดินรถโดยสาร ไดกําหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการบริหารจัดการดานเที่ยวรถไว

ดังนี้1. จัดพนักงานขับรถ 2 นายประจํารถโดยสารที่มีเสนทางเดินรถมากกวา 4 ชั่วโมง

หรือ 400 กิโลเมตรขึ้นไปทุกคัน รวมทั้งจัดประชุมซักซอมผูประกอบการขนสงและพนักงานขับรถโดยสาร พรอมตรวจใบอนุญาตขับรถ ตรวจวัดระดับแอลกอฮอลในลมหายใจ ตรวจสารเสพติด ในปสสาวะ

2. ตรวจความพรอมของยานพาหนะทุกประเภทใหอยูในสภาพสมบูรณและพรอมใชงาน

3. ในชวงเทศกาลวันสําคัญ เชน วันปใหม วันสงกรานต จะมีการเพิ่มจํานวน รถโดยสารและเที่ยววิ่งเพิ่มขึ้นจากปกติ เพื่อสามารถรองรับผูโดยสารที่จะเดินทางกลับภูมิลําเนา

4. มีจุดพักรถโดยสารเพื่อไวบริการที่พักผูโดยสาร หองสุขา หองอาหาร ซอมรถ แจกผาเย็น น้ําดื่ม แนะนําเสนทาง และอื่น ๆ

5. จัดเจาหนาที่เวรยามและเพิ่มพนักงานรักษาความปลอดภัย รวมทั้งประสานเจาหนาที่ ตํารวจ/สารวัตรทหาร เพื่อดําเนินการ ดังนี้

5.1 เพิ่มความถี่และความเขมงวดในการออกตรวจพื้นที่5.2 เขมงวดในการเฝาระวังจากโทรทัศนวงจรปด5.3 เขมงวดการรับฝากสิ่งของสัมภาระ โดยจะตองมีการตรวจตราอยางละเอียด5.4 จัดใหมีการประชาสัมพันธใหประชาชนหรือผูที่จะเดินทางทราบถึงมาตรการ

ดานการรักษาความปลอดภัย ในเรื่องการเฝาระวัง กระเปาสัมภาระ การควบคุมการเขาและออกสถานที่ รวมทั้งการแนะนําการเดินทางอยางปลอดภัย

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

12

สิทธิประโยชน ของบริษัทขนสง จํากัดเงื่อนไขการลดหยอนคาโดยสารใหเหลือครึ่งหนึ่งของคาโดยสารปกติหรือรอยละ 50

1. นักเรียนสามัญในเครื่องแบบตั้งแตชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ลงมา2. พระภิกษุ สามเณร3. เด็กที่มีความสูงไมเกิน 130 ซม.4. คนตาบอดที่มีหนังสือรับรองจากสมาคมคนตาบอด5. ผูถือบัตร หรือเหรียญตราของทางราชการที่มีระเบียบระบุไววามีสิทธิไดรับ

การลดคาโดยสารรถประจําทาง6. พนักงานของผูประกอบการขนสง7. ทหาร ตํารวจ ในเครื่องแบบ เสียคาโดยสาร 1 ใน 3 8. ผูสูงอายุตามพระราชบัญญัติผูสูงอายุ พ.ศ. 2546 9. บุคคลตอไปนี้ รับการยกเวนคาโดยสาร ไดแก ผูตรวจการและผูถือบัตรอนุญาต

ของผูประกอบการวิธีการเดินทางอยางปลอดภัย

1. ซื้อตั๋วโดยสารจากชองจําหนายตั๋วเทานั้น2. อยาหลงเชื่อบุคคลที่มาชักชวนใหไปซื้อตั๋ว3. ขึ้นรถโดยสารตามจุดที่กําหนดไว อยาหลงเชื่อบุคคลที่มาชักจูงใด ๆ4. ตรวจสอบรายละเอียดเรื่องที่นั่ง เวลา ชานชาลาที่รถออกทุกครั้ง5. นําสิ่งของมีคาติดตัวไวตลอดเวลา6. ดูแลบุตรหลานอยางใกลชิด เขียนชื่อ เบอรโทรศัพทผูปกครอง ใสกระเปาเสื้อ

เด็กไว7. อยารับประทานอาหารหรือเครื่องดื่มจากบุคคลแปลกหนา (บริษัทขนสง จํากัด.

2552)ขอมูลเกี่ยวกับการใหบริการ การขนสงผูโดยสารหมวดรถโดยสารประจําทางคณะกรรมการควบคุมการขนสงทางบกกลางในการประชุมครั้งที่ 14/2523 เมื่อวันที่ 14

สิงหาคม 2523 ไดกําหนดเสนทางการขนสงประจําทางดวยรถโดยสาร ดังนี้ การขนสงประจําทางดวยรถโดยสาร หมายถึง การขนสงคนเพื่อสินจางตามเสนทางที่คณะกรรมการกําหนด แบงเปน 4 หมวด คือ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

13

1. เสนทาง หมวด 1 หมายถึง เสนทางการขนสงประจําทางดวยรถโดยสารประจําทางภายในเขตกรุงเทพมหานคร เทศบาล สุขาภิบาล เมืองและเสนทางตอเนื่อง

หมวด 1 ในเขตกรุงเทพมหานคร หมายถึง เสนทางการขนสงประจําทางภายในเขตกรุงเทพมหานครและจังหวัดที่มีเสนทางตอเน่ืองในเขตปริมณฑล โดยลักษณะเสนทางการเดินรถสวนใหญผานถนนสายหลัก และถนนสายสําคัญที่เปนบริเวณชุมชนที่อยูอาศัยหนาแนน แหลงธุรกิจการคา สถาบันการศึกษา สถานที่ราชการ เปนตน

หมวด 1 ในสวนภูมิภาค หมายถึง เสนทางภายในเขตเทศบาล สุขาภิบาลเมือง ในสวนภูมิภาคมีลักษณะเสนทางผานถนนสายหลักที่มีประชาชนอาศัยหนาแนนรวมทั้งสถานที่สําคัญ ๆ เชน โรงเรียน โรงพยาบาล ตลาด สถานีขนสงผูโดยสาร สถานที่ราชการ เปนตน

2. เสนทาง หมวด 2 หมายถึง เสนทางการขนสงประจําทางดวยรถโดยสาร ซึ่งมีเสนทางเริ่มตนจากกรุงเทพมหานครไปยังจังหวัดในสวนภูมิภาค

3. เสนทาง หมวด 3 หมายถึง เสนทางการขนสงประจําทางดวยรถโดยสาร ซึ่งมีเสนทางระหวางจังหวัดหรือคาบเกี่ยวระหวางเขตจังหวัดในสวนภูมิภาค

4. เสนทาง หมวด 4 หมายถึง เสนทางการขนสงประจําทางดวยรถโดยสาร ในเขตจังหวัด ซึ่งอาจจะประกอบดวยเสนทางสายหลักสายเดียว หรือเสนทางสายหลักและเสนทางสายยอยซึ่งแยกออกจากเสนทางสายหลักไปยังอําเภอ หมูบาน หรือเขตชุมชน

หมวด 4 ในเขตกรุงเทพมหานคร หมายถึง เสนทางที่มีลักษณะเสนทางเดินรถสวนใหญผานถนนสายรองและถนนในซอยที่เชื่อมตอกับถนนสายหลัก มุงเนนการใหบริการเชื่อมตอกับเสนทางรถโดยสารประจําทางหมวด 1 ในเขตกรุงเทพมหานคร

หมวด 4 ในสวนภูมิภาค หมายถึง เสนทางรถโดยสารภายในเขตจังหวัดเพื่อเชื่อมโยงการเดินทางของประชาชนในเขตชุมชนตาง ๆ คือ หมูบาน อําเภอ และเมือง (กรมการขนสง ทางบก. 2552)

มาตรฐานรถปรับอากาศ รถมาตรฐาน 1 (ก) หมายถึง รถ VIP หรือรถปรับอากาศชั้น 1 ชนิดมีระวางที่นั่งไมเกิน

24 ที่นั่ง สามารถปรับเอนนอนได 135 องศา มีหองสุขภัณฑ มีบริการอาหารเครื่องดื่มและพนักงานตอนรับประจํารถ

รถมาตรฐาน 1 (ข) หมายถึง รถปรับอากาศชั้น 1 ชนิดมีระวางที่นั่งไมเกิน 42 ที่นั่ง สามารถปรับเอนนอนได 70 องศา มีหองสุขภัณฑ มีบริการอาหารเครื่องดื่มและพนักงานตอนรับประจํารถ

รถมาตรฐาน 1 (ข) ชนิดพิเศษ 32 ที่นั่ง หมายถึง รถปรับอากาศชั้น 1 ชนิดมีระวางที่นั่ง ไมเกิน 32 ที่นั่ง สามารถปรับเอนนอนได 70 องศา มีหองสุขภัณฑ มีบริการอาหารเครื่องดื่มและพนักงานตอนรับประจํารถ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

14

รถมาตรฐาน 1 (ข) ทะเบียน 30 หมายถึง รถปรับอากาศชั้น 1 ชนิดมีระวางที่นั่งไมเกิน 42 ที่นั่ง สามารถปรับเอนนอนได 70 องศา มีหองสุขภัณฑ มีบริการอาหารเครื่องดื่มและพนักงานตอนรับประจํารถ สวนมากจะใหผูโดยสารเชาเหมาออกนอกเสนทาง

รถมาตรฐาน 2 (ข) หมายถึง รถปรับอากาศชั้น 2 ชนิดมีระวางที่นั่งไมเกิน 60 ที่นั่ง ไมมีหองสุขภัณฑไมมีบริการอาหารเครื่องดื่มและพนักงานตอนรับ

รถมาตรฐาน 2 (ค) หมายถึง รถปรับอากาศชั้น 2 ขนาดกลางมีระวางที่นั่งระหวาง 21 - 30 ที่นั่ง ระยะหางพนักพิง 70 องศาขึ้นไป ไมมีหองสุขภัณฑ ไมมีบริการอาหารเครื่องดื่มและพนักงานตอนรับ

รถมาตรฐาน 2 (จ) หมายถึง รถปรับอากาศชั้น 2 ขนาดกลางมีระวางที่นั่งระหวาง 10 - 11 ที่นั่ง มีบริการในเสนทางหมวด 2

รถมาตรฐาน 4 (ก) 32 ที่นั่ง หมายถึง รถปรับอากาศ 2 ชั้น ชนิดมีระวางที่นั่งไมเกิน 32 ที่นั่งวางที่นั่งชั้นบน 26 ที่นั่ง ชั้นลาง 6 ที่นั่ง สามารถปรับเอนนอนได 135 องศา มีหองสุขภัณฑ มีบริการอาหารเครื่องดื่มและพนักงานตอนรับประจํารถ

รถมาตรฐาน 4 (ข) หมายถึง รถปรับอากาศ 2 ชั้น มีระวางที่นั่งชั้นบน 36 - 40 ที่นั่ง ระวางที่นั่งชั้นลาง 8 - 12 ที่นั่ง สามารถปรับเอนได 70 องศา มีหองสุขภัณฑ มีบริการอาหารเครื่องดื่มและพนักงานตอนรับประจํารถโดยสาร

รถมาตรฐาน 4 (ค) หมายถึง รถปรับอากาศชั้น 2 แบบ 2 ชั้น ชนิดมีระวางที่นั่งไมเกิน 55 ที่นั่ง ชั้นบน 42 ที่นั่ง ชั้นลาง 9 ที่นั่ง ไมมีหองสุขภัณฑไมมีบริการอาหารเครื่องดื่มและพนักงานตอนรับ

รถมาตรฐาน 4 (พ) ชนิดพิเศษ 42 ที่นั่ง หมายถึง รถปรับอากาศ 2 ชั้น ชนิดมีระวางที่นั่งไมเกิน 42 ที่นั่ง ที่นั่งชั้นบน 34 ที่นั่ง ชั้นลาง 8 ที่นั่ง สามารถปรับเอนนอนได 70 องศา มีหองสุขภัณฑ มีบริการอาหารเครื่องดื่มและพนักงานตอนรับประจํารถ (บริษัทขนสง จํากัด. 2552 )

ประเภทรถและเวลาที่ใหบริการบริษัทที่ใหบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ไดกําหนดประเภท

และเวลาการเดินรถโดยสาร ดังตารางที่ 2.1

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

15

ตารางที่ 2.1 ตารางเวลาการเดินรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร–กรุงเทพฯ จําแนกตามบริษัทเดินรถ

ชื่อบริษัท เวลา ประเภท1. บริษัทขนสง จํากัด 09.00 น. รถปรับอากาศชั้น 22. นครศรีราชาทัวร 08.45 น. รถปรับอากาศชั้น 1

11.00 น. รถปรับอากาศชั้น 119.00 น. รถปรับอากาศชั้น 119.30 น. รถปรับอากาศชั้น 1

3. โชคอนันตทัวร 09.15 น. รถปรับอากาศชั้น 119.15 น. รถปรับอากาศชั้น 119.30 น. รถปรับอากาศพิเศษ VIP 32 ที่นั่ง

4. ทรัพยไพศาลทัวร 10.00 น. รถปรับอากาศชั้น 113.00 น. รถปรับอากาศชั้น 119.00 น. รถปรับอากาศชั้น 120.00 น. รถปรับอากาศพิเศษ VIP 24 ที่นั่ง20.30 น. รถปรับอากาศชั้น 1

5. กรุงสยามทัวร 09.45 น. รถปรับอากาศชั้น 119.00 น. รถปรับอากาศพิเศษ VIP 32 ที่นั่ง19.15 น. รถปรับอากาศชั้น 119.30 น. รถปรับอากาศชั้น 1

6. นครศรีรมเย็นทัวร 11.00 น. รถปรับอากาศชั้น 119.30 น. รถปรับอากาศชั้น 1

7. สมบัติทัวร 07.30 น. รถปรับอากาศชั้น 119.15 น. รถปรับอากาศชั้น 119.30 น. รถปรับอากาศพิเศษ VIP 32 ที่นั่ง

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

16

ตารางที่ 2.1 (ตอ)

ชื่อบริษัท เวลา ประเภท8. บัส เอ็กซเพลส 09.00 น. รถปรับอากาศชั้น 2

11.00 น. รถปรับอากาศชั้น 213.00 น. รถปรับอากาศชั้น 217.00 น. รถปรับอากาศชั้น 219.00 น. รถปรับอากาศชั้น 220.00 น. รถปรับอากาศชั้น 2

ที่มา : บริษัทขนสง จํากัด. 2552

รายชื่อที่ใหบริการรถโดยสารปรับอากาศบริษัทที่ใหบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ประกอบดวย

8 บริษัท ดังตารางที่ 2.2

ตารางที่ 2.2 รายชื่อบริษัทที่ใหบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ

ลําดับที่ ชื่อบริษัท1. บริษัทขนสง จํากัด2. นครศรีราชาทัวร3. โชคอนันตทัวร4. ทรัพยไพศาลทัวร5. กรุงสยามทัวร6. นครศรีรมเย็นทัวร 7. สมบัติทัวร8. บัส เอ็กซเพลส

ที่มา : บริษัทขนสง จํากัด. 2552

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

17

แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ

แนวคิดการตลาดสําหรับธุรกิจบริการความหมายของการบริการการบริการ (Services) ไดมีผูใหความหมายไวหลายนัย ดังนี้ฉัตยาพร เสมอใจ และ มัทนียา สมมิ. (2545 : 15) การบริการเปนกิจกรรม ผลประโยชน

หรือความพึงพอใจ ที่จัดทําขึ้นเพื่อเสนอขายหรือกิจกรรมที่จัดทําขึ้นรวมกับการขายสินคาธนวรรณ แสงสุวรรณ. (2546 : 575) การบริการ หมายถึง การกระทําหรือการปฏิบัติซึ่ง

ฝายหนึ่งนําเสนอตออีกฝายหนึ่งเปนสิ่งที่ไมมีรูปลักษณหรือตัวตน จึงไมมีการโอนกรรมสิทธิ์ การเปนเจาของในสิ่งใด ๆ การผลิตบริการอาจผูกติดหรือไมผูกติดกับตัวสินคาก็ได

วีระรัตน กิจเลิศไพโรจน. (2547 : 14) ไดใหความหมายวา การบริการ หมายถึง การกระทําพฤติกรรมหรือการปฏิบัติการที่ฝายหนึ่งเสนอใหอีกฝายหนึ่ง กระบวนการที่เกิดขึ้นอาจมีตัวสินคา เขามาเกี่ยวของ แตโดยเนื้อแทของสิ่งที่เสนอใหนั้นเปนการกระทํา พฤติกรรม หรือการปฏิบัติ ซึ่งไมสามารถนําไปเปนเจาของได

ชัยสมพล ชาวประเสริฐ. (2547 : 18) การบริการ หมายถึง กิจกรรมของกระบวนการ สงมอบสินคาที่ไมมีตัวตน (Intangible Good) ของธุรกิจใหกับผูรับบริการ โดยสินคาที่ไมมีตัวตนนั้นจะตองตอบสนองความตองการของผูรับบริการจนนําไปสูความพึงพอใจได

ยุพาวรรณ วรรณวานิชย. (2549 : 1) บริการ หมายถึง สิ่งที่เราจับตองไมได แตสามารถนํามาซื้อขายได

จากความหมายดังกลาวขางตนสรุปไดวา การบริการ หมายถึง กิจกรรมที่เกิดขึ้นระหวางบุคคล 2 ฝาย ที่มีปฏิกิริยาที่สัมพันธตอกันเพื่อสนองตอบความตองการใหผูบริโภคเกิดความพึงพอใจโดยกิจกรรมที่เกิดขึ้นนั้น จะมีสินคาเปนองคประกอบรวมอยูดวยหรือไมรวมก็ได ประเภทของผลิตภัณฑ ผลิตภัณฑบริการสามารถแบงออกไดเปน 2 รูปแบบ คือ

1. ผลิตภัณฑบริการ เปนกิจกรรมหลัก ผลประโยชน หรือความพึงพอใจที่ผูขายจัดทําขึ้นเปนผลิตภัณฑรูปแบบหนึ่ง เพื่อตอบสนองความตองการแกผูบริโภค เชน การนวดในธุรกิจนวดแผนโบราณ การพักในธุรกิจโรงแรม การใหความรูในธุรกิจการศึกษา เปนตน

2. การบริการสวนควบ เปนกิจกรรม ผลประโยชน หรือความพึงพอใจที่ผูขายจัดทําขึ้นเพื่อนํามาเสริมกับสินคาเพื่อใหการขายและใชสินคามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เชน บริการติดตั้ง บริการซอมแซมเครื่องจักรหลังการซื้อหรือการใหคําแนะนําในการใชงาน เปนตน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

18

ความหมายของธุรกิจบริการ ธุรกิจบริการ (Service Business) ไดมีผูใหคํานิยามของคําวาธุรกิจบริการ ไวดังตอไปนี้

ฉัตยาพร เสมอใจ. (2545 : 15) ไดใหความหมายของธุรกิจบริการวา หมายถึง ธุรกิจ ที่ดําเนินกิจกรรมที่ตอบสนองความตองการของผูบริโภค เพื่อสรางความพึงพอใจแกผูบริโภคและผลประโยชนของธุรกิจ

ยุพาวรรณ วรรณวาณิชย. (2549 : 1) ไดกลาวถึงความหมายของธุรกิจบริการวา ธุรกิจบริการ คือ องคกรหรือหนวยงานที่จัดตั้งขึ้นเพื่อใหหรือขายบริการ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อแสวงหากําไร ซึ่งการใหหรือขายบริการดังกลาวอาจจะเปนการใหหรือขายโดยตรงสูลูกคาหรือโดยทางออมหรือโดยตอเนื่องก็ได

ฉลองศรี พิมลสมพงศ. (2546 : 12) ไดกลาวถึงธุรกิจบริการวา เปนธุรกิจที่ผูผลิตมุงจัดหาสินคาและกิจกรรมการบริการที่ใหประโยชน ตอบสนองความตองการและความพอใจของลูกคา ใหมากที่สุด

นิตย หทัยวสีวงศ สุขศรี. (2548 : 5) ไดใหความหมายของธุรกิจไววา หมายถึง กิจกรรมดานการผลิตสินคาและการบริการเพื่ออํานวยความสะดวกและตอบสนองความตองการของลูกคา เพื่อใหลูกคาสามารถใชบริการไดตามวัตถุประสงค โดยมีจุดมุงหมายเพื่อแสวงหากําไร

จากความหมายของธุรกิจบริการที่กลาวมาขางตนสามารถสรุปไดวา ธุรกิจบริการเปนธุรกิจที่ดําเนินกิจกรรมเพื่อประโยชนหรือความพอใจที่ไดเสนอเพื่อขาย หรือเปนกิจกรรมที่จัดขึ้นรวมกับการขายสินคา ความแตกตางของธุรกิจจําหนายสินคากับธุรกิจบริการ สินคานับเปนวัสดุที่สามารถจับตองได แตสําหรับการบริการถือวาเปนพฤติกรรม การกระทําหรือการปฏิบัติ ดังนั้น จึงมีความแตกตางกันสามารถอธิบาย (วีระรัตน กิจเลิศไพโรจน. 2547 : 18 - 25) ดังนี้

1. ไมสามารถจับตองได (Intangibility) หมายความวา บริการไมสามารถมองเห็นหรือเกิดความรูสึกไดกอนที่จะมีการซื้อ

2. ไมแนนอน (Variability) ลักษณะของบริการไมแนนอนขึ้นอยูกับวาผูขายบริการเปนใคร จะใหบริการเมื่อใด ที่ไหน อยางไร

3. ไมสามารถแบงแยกการใหบริการได (Inseparability) กลาวคือ การผลิตและ การบริโภคบริการเกิดขึ้นพรอม ๆ กัน ดังนั้น ผูใหบริการรายหนึ่งสามารถใหบริการลูกคาไดเพียงหนึ่งเดียวในชวงเวลาใดเวลาหนึ่งเทานั้น ไมเพียงเทานี้ ผูใหบริการแตละคนจะมีลักษณะเฉพาะตัว ที่ไมสามารถใหคนอื่นบริการแทนได เพราะตองผลิตและบริโภคในเวลาเดียวกัน สงผลใหการบริการมีขอจํากัดในเรื่องของเวลาในการใหบริการ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

19

4. ไมสามารถเก็บไวได (Perish Ability of Output) บริการไมสามารถผลิตเก็บไวไดเหมือนกับสินคา ถาความตองการมีอยางสม่ําเสมอการใหบริการก็จะไมมีปญหา แตถาลักษณะความตองการไมแนนอนจะทําใหเกิดปญหาขึ้นได คือใหบริการไมทัน หรือบางกรณีก็ไมมีลูกคา มาใชบริการ สวนประสมการตลาดสําหรับธุรกิจบริการ สวนประสมการตลาดที่เปนที่รูจักมากที่สุด ไดแก 4P’s ประกอบดวย ผลิตภัณฑ ราคา การจัดจําหนายและการสงเสริมการตลาด ตอมามีการรวมกันปรับปรุงและเพิ่มเติมสวนประสมการตลาดขึ้นใหมใหเหมาะสมสําหรับธุรกิจบริการ รูปแบบใหมนี้พัฒนาขึ้นโดยประกอบดวยปจจัย 8 ประการ (ยุพาวรรณ วรรณวานิชย. 2549 : 29 - 33) ดังตอไปนี้ 1. ผลิตภัณฑ (Product)

2. ราคา (Price)3. ชองทางการจัดจําหนาย (Place)4. การสงเสริมการตลาด (Promotion)5. บุคลากร (People)6. ลักษณะทางกายภาพ (Physical Evidence)7. กระบวนการ (Process)8. ผลิตภาพ (Productivity)

จะเห็นไดวาสวนประสมการตลาดที่ปรับปรุงใหมเพิ่มปจจัยขึ้นอีก 4 ประการ คือ บุคลากร ลักษณะทางกายภาพ กระบวนการ และผลิตภาพ ปจจัยทั้ง 8 ประการจะเปนปจจัยที่สามารถใชเปนหลักของธุรกิจบริการตาง ๆ หากธุรกิจบริการใดขาดปจจัยหนึ่งใดไปก็อาจสงผลถึงความสําเร็จหรือความลมเหลวของธุรกิจบริการได โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1. ผลิตภัณฑ (Product) การพิจารณาเกี่ยวกับผลิตภัณฑบริการ จะตองพิจารณาถึงขอบเขตของบริการ คุณภาพบริการ ระดับชั้นของบริการ ตราสินคา สายการบริการ การรับประกัน และการบริการหลังการขายนั้นคือสวนประสมดานผลิตภัณฑบริการจะตองครอบคลุมขอบขาย ที่กวาง เชน สังคมภายในอาคารเล็ก ๆ อาคารเดียว จนกระทั่งจุดที่ใหญที่สุดในประเทศ หรือจากรานอาหารขนาดเล็กไปจนทั่งหองอาหารของโรงแรม

สําหรับผลิตภัณฑของธุรกิจบริการรถโดยสารปรับอากาศ คือ ประเภทของ รถโดยสารปรับอากาศ เชน รถโดยสารปรับอากาศพิเศษ (VIP) รถโดยสารปรับอากาศชั้น 1 และ รถโดยสารปรับอากาศชั้น 2 ลักษณะของรถโดยสาร เปนตน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

20

2. ราคา (Price) การพิจารณาดานราคา จะตองรวมถึงระดับราคา สวนลด เงินชวยเหลือคานายหนา และเงื่อนไขการชําระเงิน สินเชื่อการคา เนื่องจากราคามีสวนในการทําใหบริการตาง ๆ มีความแตกตางกัน และมีผูบริโภคในการรับรูถึงคุณคาที่ไดรับจากบริการโดยเทียบระหวางราคา และคุณภาพของบริการ

ในธุรกิจบริการรถโดยสารปรับอากาศนั้น การกําหนดราคาตั๋วโดยสารของแตละบริษัทจะกําหนดราคาที่เทากัน โดยราคาคาโดยสารจะแตกตางกันตรงที่ประเภทของรถโดยสารปรับอากาศเทานั้น

3. การจัดจําหนาย (Place) ที่ตั้งของผูใหบริการและความยากงายในการเขาถึง เปนอีกปจจัยที่สําคัญของการตลาดบริการทั้งนี้ความยากงายในการเขาถึงบริการนั้นมิใชแตเฉพาะการเนนทางกายภาพเทานั้น แตยังรวมถึงการติดตอสื่อสาร ดังนั้นประเภทของชองทางการจัดจําหนายและความครอบคลุมจะเปนปจจัยสําคัญตอการเขาถึงบริการอีกดวย สําหรับชองทางการจัดจําหนายของธุรกิจบริการรถโดยสารปรับอากาศนั้น มีชองทางการจัดจําหนายตั๋วโดยสารที่หลากหลายชองทาง ไดแก สถานีขนสงผูโดยสาร ณ จุดจําหนายของตัวแทน ทางโทรศัพท เปนตน

4. การสงเสริมการตลาด (Promotion) การสงเสริมการตลาดรวบรวมวิธีการที่หลากหลายของการสื่อสารกับตลาดตาง ๆ ไมวาจะผานการโฆษณา กิจกรรมการขายโดยบุคคล กิจกรรมสงเสริมการขายและรูปแบบอื่น ๆ ทั้งทางตรงสูสาธารณะและทางออมผานสื่อตาง ๆ เชน การประชาสัมพันธ

การสงเสริมการตลาดของธุรกิจบริการรถโดยสารปรับอากาศของแตละบริษัท มีการแขงขันไมเดนชัดเหมือนธุรกิจอื่น ๆ แตในปจจุบันการแขงขันของธุรกิจบริการรถโดยสารปรับอากาศเริ่มมีคูแขงที่เพิ่มสูงขึ้น เชน การเดินทางดวยรถไฟ เครื่องบิน เปนตน

5. บุคลากร (People) จะครอบคลุม 2 ประเด็น ดังนี้5.1 บทบาทของบุคลากร สําหรับธุรกิจบริการ ผูใหบริการนอกจากจะทําหนาที่

ผลิตบริการแลว ยังตองทําหนาที่ขายผลิตภัณฑบริการไปพรอมๆกันดวย การสรางความสัมพันธกับลูกคามีสวนจําเปนอยางมากสําหรับการบริการ

5.2 ความสัมพันธระหวางลูกคาดวยกัน คุณภาพบริการของลูกคารายหนึ่งอาจมีผลมาจากลูกคารายอื่นแนะนํามา เชน กลุมลูกทัวรหรือลูกคาจากรานอาหารที่บอกตอกันไปแตปญหาหน่ึงที่ผูบริหารการตลาดจะพบก็คือการควบคุมระดับของคุณภาพการบริการใหอยูในระดับคงที่

สําหรับบุคลากรของธุรกิจบริการรถโดยสารปรับอากาศ คือ บุคลากรและพนักงานที่มอบการบริการ คําแนะนําตาง ๆ ที่ดีตอผูที่มาใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ไดแก พนักงานจําหนายตั๋ว พนักงานขับรถ พนักงานตอนรับ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

21

6. ลักษณะทางกายภาพ (Physical Evidence) มีธุรกิจบริการจํานวนไมมากนักที่นําลักษณะทางกายภาพเขามาใชในการกําหนดกลยุทธการตลาด แมวาลักษณะทางกายภาพจะเปนสวนประกอบที่มีผลตอการตัดสินใจของลูกคาหรือผูใชบริการก็ตาม ที่ปรากฏใหเห็นสวนใหญ จะเปนการสรางสภาพแวดลอม การสรางบรรยากาศ การเลือกใชสี แสงและเสียงภายในราน เปนตน หรือใชลักษณะทางกายภาพเพื่อสนับสนุนการขาย เชน ยี่หอและคุณภาพของรถบริษัทใหเชารถ เปนตน

สําหรับลักษณะทางกายภาพของธุรกิจบริการรถโดยสารปรับอากาศนั้นคือ บริเวณที่พักสําหรับผูโดยสารกวางขวาง เพียงพอ ไมแออัด ความเปนระเบียบเรียบรอย ความสะอาดของจุดพักรถ รานจําหนายสินคาและหองสุขา

7. กระบวนการ (Process) ในกลุมธุรกิจบริการกระบวนการในการสงมอบบริการ มีความสําคัญเชนเดียวกับเรื่องทรัพยากรบุคคล แมวาผูใหบริการจะมีความสนใจดูแลลูกคาอยางดี ก็ไมสามารถแกปญหาลูกคาไดทั้งหมด เชน การเขาแถวรอ ระบบการสงมอบบริการ จะครอบคลุมถึงนโยบายและกระบวนการที่นํามาใช ระดับการใชเครื่องจักรกลในการใหบริการ อํานาจการตัดสินใจของพนักงาน

สําหรับกระบวนการใหบริการของธุรกิจบริการรถโดยสารปรับอากาศนั้นคือ การบริการที่นอกเหนือจากบุคลากรหรือพนักงานโดยการเพิ่มความสะดวกใหกับผูใชบริการ เชน มีการบริการที่เปนมาตรฐาน เปดบริการทุกวัน ความตรงตอเวลารถเขา-ออก มีการบริการรับฝากสัมภาระกอนขึ้นรถโดยสาร เปนตน

8. ผลิตภาพ (Productivity) จากการที่บริการเปนการกระทําของบุคคล 2 ฝาย เมื่อฝายหนึ่งไดกระทําเพื่อใหเกิดงานบริการ อีกฝายหนึ่งก็จะไดรับบริการในเวลาเดียวกัน ไมสามารถแยกออกจากกันไดและไมสามรถเก็บเปนสินคาคงคลังไวได สงผลใหกิจการตองเขามาจัดการกับความตองการซื้อบริการของลูกคาเพื่อใหความตองการบริการของลูกคา กระจายไปตามชวงเวลาตาง ๆ ที่ใหบริการ เพื่อใหความตองการในแตละชวงเวลาตาง ๆ ที่ใหบริการ จะไดมีคุณภาพใกลเคียงกันดวย นอกจากนี้กิจการตองจัดการกับกําลังการผลิตงานบริการ เพื่อใหเกิดความสมดุลกับ ความตองการ

สําหรับผลิตภาพและคุณภาพของธุรกิจบริการรถโดยสารปรับอากาศนั้นคือ ผลผลิตที่เกิดจากการใหบริการของพนักงานที่ปฏิบัติตอผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศใหเกิดความพึงพอใจในการบริการ เชน การบริการที่ดี ความปลอดภัยจากอุบัติเหตุในขณะการเดินทาง เปนตน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

22

ดังนั้น ธุรกิจบริการรถโดยสารปรับอากาศ เปนธุรกิจที่เกี่ยวของโดยตรงกับผูใชบริการ และในการพัฒนาสวนตาง ๆ จะตองพิจารณาในสวนประกอบทั้ง 8 ประการดังกลาวเพื่อใหมี ความสอดคลองกับความตองการของผูบริโภคและรูปแบบของการดําเนินธุรกิจรถโดยสารปรับอากาศ พรอมเปนแนวทางในการพัฒนาธุรกิจบริการรถโดยสารปรับอากาศใหมีคุณภาพและเปนที่ตองการใชของผูใชบริการตลอดไป

แนวคิดเกี่ยวกับคุณภาพบริการ ความหมายของคุณภาพการบริการ คุณภาพการบริการ มีนักวิชาการหลายทานไดใหความหมายไว ดังนี้

วีระพงษ เฉลิมจิระรัตน. (2543 : 21 - 23) ไดใหความหมายของคําวาคุณภาพของบริการ (Service Quality) คือ ความสอดคลองกับความตองการของลูกคา ระดับของความสามารถของบริการในการบําบัดความตองการของลูกคาและระดับของความพึงพอใจของลูกคาหลังไดรับบริการไปแลว

วีระวัฒน ปนนิตามัย. (2543 : 234) ไดใหความหมายของคําวาคุณภาพบริการ หมายถึง คุณสมบัติคุณลักษณะทั้งที่จับตองไดและจับตองไมไดของการบริการที่ผูรับบริการ (ลูกคา) รับรูวา มีความโดดเดนตรงหรือเกินกวาความคาดหวังเปนที่นาประทับใจ

นิตย หทัยวสีวงศ สุขศรี. (2548 : 263) ใหความหมายของคุณภาพการบริการไววา คุณภาพการบริการ หมายถึง การบริการที่ดีเลิศตรงกับความตองการหรือเกินความตองการของลูกคา จนทําใหลูกคาเกิดความพอใจและเกิดความจงรักภักดี

Kotler. (2000 อางถึงใน ประภัสรา สุภัทรประทีป. 2552 : 22) กลาวถึงคุณภาพการบริการวา ในการแขงขันดานธุรกิจบริการ ผูใหบริการตองสรางบริการใหเทาเทียมกับหรือมากกวาคุณภาพบริการที่ผูรับบริการคาดหวัง ความหวังตอคุณภาพบริการของผูรับบริการมาจากประสบการณเดิม เมื่อผูรับบริการมารับบริการก็จะเปรียบเทียบบริการที่ตนไดรับจริงกับบริการที่คาดหวังได ถาผลพบวา บริการที่ไดรับจริงในสถานการณนั้นนอยกวาบริการที่คาดหวัง ผูรับบริการจะไมพึงพอใจ และจะไมกลับมาใชบริการอีกในทางตรงกันขาม ถาบริการที่ไดรับจริงเทากับหรือมากกวาบริการ ที่คาดหวังไว ผูรับบริการจะเกิดความพึงพอใจ ประทับใจและกลับมาใชบริการอีก

ศิริวรรณ เสรีรัตน. (2548 : 291 - 293) ไดกลาวถึงคุณภาพการใหบริการวา คุณภาพ การบริการ เปนสิ่งสําคัญสิ่งหนึ่งในการสรางความแตกตางของธุรกิจการใหบริการ กลาวคือ การรักษาระดับการใหบริการที่เหนือกวาคูแขงขันโดยเสนอคุณภาพการใหบริการตามที่ลูกคาคาดหวังไว ขอมูลตาง ๆ ที่เกี่ยวกับคุณภาพการใหบริการที่ลูกคาตองการซึ่งจะไดมาจากประสบการณในอดีต จากการพูดปากตอปาก จากการโฆษณาของธุรกิจใหบริการ ลูกคาจะเกิดความพอใจถาเขาไดรับในสิ่งที่เขาตองการ (What) เมื่อเขามีความตองการ (When) และในสถานที่ที่เขาตองการ (Where)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

23

ในรูปแบบที่เขาตองการ (How) เพราะฉะนั้นตองทําการวิจัยเพื่อใหทราบถึงเกณฑการตัดสินใจซื้อบริการของลูกคา โดยทั่วไปไมวาธุรกิจแบบใดก็ตามจะใชเกณฑตอไปนี้พิจารณาถึงคุณภาพของ การใหบริการ ดังนี้

1. การเขาถึงลูกคา (Access) การบริการที่ใหกับลูกคา ตองอํานวยความสะดวก ในดานเวลาและสถานที่แกลูกคา คือ ไมทําใหลูกคารอนาน ทําเลที่ตั้งเหมาะสม อันแสดงถึงความสามารถของการเขาถึงลูกคา

2. การติดตอสื่อสาร (Communication) ซึ่งมีการอธิบายไดอยางถูกตองโดยใชภาษาอยางที่ลูกคาเขาใจงาย ไมยุงยากในการทําความเขาใจ

3. ความสามารถ (Competence) คือ บุคคลที่จะเปนผูใหบริการจะตองมีความชํานาญและมีความรู ความสามารถเกี่ยวกับงานนั้น ๆ

4. ความมีน้ําใจ (Courtesy) คือ บุคลากรตองมีมนุษยสัมพันธที่ดีเปนที่นาเชื่อถือ มีความเปนกันเอง มีวิจารณญาณ

5. ความนาเชื่อถือ (Creditability) คือ หนวยธุรกิจและบุคลากรจะตองสามารถสรางความเชื่อมั่นและความไววางใจในการบริการ โดยเสนอบริการที่ดีที่สุดใหกับลูกคา

6. ความไววางใจ (Reliability) การบริการใหลูกคาที่ดีนั้นจะตองมีความสม่ําเสมอและถูกตอง ทําใหผูรับบริการสามารถไววางใจได

7. การตอบสนองลูกคา (Responsiveness) โดยบุคลากรจะตองใหบริการและแกปญหาใหลูกคาอยางรวดเร็วตามที่ลูกคาตองการ

8. ความปลอดภัย (Security) คือ การบริการที่ใหกับลูกคาจะตองปราศจากอันตรายและความเสี่ยง และปญหาตาง ๆ

9. การสรางบริการใหเปนที่รูจัก (Tangible) คือ บริการที่ลูกคาไดรับจะทําใหเขาสามารถคาดคะเนถึงคุณภาพดานบริการดังกลาวได และจากที่พวกเขาไดรับรูถึงคุณภาพของการใหบริการจากสถานที่นั้น ๆ แลวเขายอมจะบอกตอกับคนที่รูจัก

10. การเขาใจและรูจักลูกคา (Understanding/Knowing Customer) โดยหนวยธุรกิจและบุคลากรตองพยายามเขาใจถึงความตองการของลูกคา และใหความสนใจในการตอบสนองตอความตองการนั้น ๆ ของลูกคา

จากความหมายดังกลาวขางตนสรุปไดวา คุณภาพการบริการ หมายถึง คุณภาพของ การบริการโดยสรางความพึงพอใจตอผูบริโภคซึ่งจะสงผลตอในการซื้อซ้ํา ใชซ้ําและความจงรักภักดี ยอมสงผลตอกําไรสวนครองตลาดและความอยูรอดของธุรกิจในระยะยาว คุณภาพไมใชสิ่งฟุมเฟอยหรือรูปลักษณของสินคาที่มีราคาสูง หากแตจะเปนความพึงพอใจของลูกคาที่ซื้อสินคาหรือใชบริการนั้น ๆ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

24

องคประกอบของความสําเร็จในการใหบริการ มี 7 ประการ (ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ. 2546 : 441) ดังนี้

1. ความพึงพอใจของผูรับบริการ (Satisfaction) การใหบริการที่ดีตองมีเปาหมาย ที่ผูรับบริการหรือลูกคาเปนหลัก โดยผูใหบริการจะตองถือเปนหนาที่โดยตรงที่จะตองพยายามกระทําอยางใดอยางหนึ่งใหผูรับบริการเกิดความพึงพอใจมากที่สุดเทาที่จะทําได เพราะผูใชบริการจะมีจุดมุงหมายในการมารับบริการและคาดหวังใหมีการตอบสนองความตองการนั้น

2. ความคาดหวังของผูรับบริการ (Expectation) ผูใหบริการจําเปนจะตองรับรูและเรียนรูเกี่ยวกับความคาดหวังพื้นฐาน ตลอดจนสํารวจความคาดหวังเฉพาะของผูรับบริการ เพื่อสนองบริการที่ตรงกับความคาดหวัง ซึ่งจะทําใหผูรับบริการเกิดความพึงพอใจ

3. ความพรอมในการใหบริการ (Readiness) ประสิทธิภาพของการใหบริการขึ้นอยูกับความพรอมที่จะใหบริการในสิ่งที่ผูรับบริการตองการ ภายในเวลาและรูปแบบที่ตองการ

4. ความมีคุณคาของการบริการ (Values) คุณภาพของการใหบริการที่ตรงไปตรงมาไมเอาเปรียบลูกคารวมทั้งความพยายามที่จะทําใหลูกคาชอบและพอใจกับบริการที่ไดรับ ยอมแสดงถึงคุณคาของการบริการที่คุมคาสําหรับผูรับบริการ การใหบริการมีลักษณะและวิธีการที่แตกตางกัน ดังนั้น คุณคาของการใหบริการจึงขึ้นอยูกับสิ่งที่ผูรับบริการไดรับและเกิดความรูสึกพึงพอใจ

5. ความสนใจตอการใหบริการ (Interest) การใหความสนใจอยางจริงใจตอลูกคาทุกระดับและทุกคนอยางยุติธรรมหรือเทาเทียมกันนับเปนสิ่งที่สําคัญที่สุด เพราะลูกคาทุกคนตางก็ตองการไดรับบริการที่ดีดวยกันทั้งสิ้น

6. ความสุภาพในการใหบริการ (Courtesy) การตอนรับและใหบริการลูกคาดวยใบหนาที่แจมใสและทาทีที่สุภาพออนโยนของผูใหบริการ แสดงถึงความมีอัธยาศัยและบรรยากาศของการใหบริการที่เปนมิตรอบอุนและเปนกันเอง ซึ่งจะสงผลใหผูรับบริการเกิดความพึงพอใจ ตอบริการที่ไดรับ

7. ความมีประสิทธิภาพในการใหบริการ (Efficiency) ความสําเร็จของการใหบริการขึ้นอยูกับความเปนระบบที่มีขั้นตอนในการใหบริการที่ชัดเจน เนื่องจากการใหบริการเปนงาน ที่เกี่ยวของระหวางบุคคลกับบุคคลซึ่งการกําหนดปรัชญาหรือแผน และการพัฒนากลยุทธในการใหบริการเพื่อใหบริการที่มีคุณภาพสม่ําเสมอ ยอมแสดงใหเห็นถึงประสิทธิภาพของการใหบริการ

สรุป ธุรกิจบริการรถโดยสารปรับอากาศที่มีการใหบริการที่ดีจะตองมุงตอบสนอง ความพึงพอใจของผูใชบริการเปนสําคัญ โดยการพยายามที่จะสรางความแตกตางทางดานการบริการและการตอบสนองตอผูใชบริการเพื่อแสดงถึงความภักดีที่ผูใชบริการมีตอบริษัทที่ใหบริการรถโดยสาร

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

25

แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภคความหมายของพฤติกรรมผูบริโภคไดมีนักวิชาการหลายทานไดใหคํานิยามเกี่ยวกับความหมายของคําวา พฤติกรรม ดังนี้ดลยา จาตุรงกุล. (2545 : 6) ไดกลาววา พฤติกรรมของผูบริโภค หมายถึง กิจกรรมตาง ๆ

ที่บุคคลกระทําเมื่อไดรับการบริโภคหรือสินคาบริการ รวมไปถึงการขจัดสินคาหรือบริการหลังการบริโภคดวย

ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ. (2546 : 192) ไดอธิบายไววา พฤติกรรมของผูบริโภค (Consumer Behavior) หมายถึง การกระทําที่ผูบริโภคแสดงออก ไดแก การคนหา การคิด การเลือกซื้อ การเลือกใช การประเมินผลในการใชสอยผลิตภัณฑนั้น ๆ รวมถึงการบริการที่ผูบริโภคไดรับหรือพึงจะไดรับ ซึ่งการกระทําดังกลาวเปนที่คาดวาจะสนองตอความตองการของผูบริโภคนั้น ๆ ได

สุวิมล แมนจริง. (2546 : 137) พฤติกรรมผูบริโภค หมายถึง การกระทําที่ผูบริโภคแสดงออก ไดแก การคนหา การเลือกซื้อ การเลือกใช การประเมินผลในการใชสอยผลิตภัณฑนั้น รวมถึงการบริการที่ผูบริโภคไดรับหรือพึงจะไดรับ

วิรัช สงวนวงศวาน. (2548 : 56) ไดใหความหมายเกี่ยวกับพฤติกรรมของผูบริโภควา เปนกระบวนการทางสติปญญา อารมณ และกิจกรรมทางรางกายของบุคคลที่แสดงออกตอความตองการซึ่งสินคาตาง ๆ ทั้งสินคาประเภทอุปโภคและบริโภค และการแสดงออกตอความตองการเหลานั้นก็จะเปนผลตอเนื่องที่เกี่ยวของกับการเลือก การซื้อ การใชผลิตภัณฑหรือการกําจัดผลิตภัณฑ หรือการใชบริการเพื่อเปนการตอบสนองความตองการสวนบุคคล และวิธีชําระเงินของบุคคลนั้น ๆ ดวย และกระบวนการในการตองการซื้อสินคา การเลือก การประเมินคุณคาและคุณภาพของสินคา กระบวนการตาง ๆ เหลานี้ถือวาเปนพฤติกรรมของผูบริโภค

สุภาภรณ พลนิกร. (2548 : 1) ใหความหมายพฤติกรรมผูบริโภควา หมายถึง ทุก ๆ สิ่ง ที่เปนปรากฏการณสากลที่เกิดขึ้นจากมนุษยมีความตองการ (Wants) และความจําเปน (Needs) ในการบริโภค ซึ่งหมายถึง การรับประทานอาหารหรือการใชสิ่งของตาง ๆ และมีความจําเปน ในทางดานจิตวิทยา (Psychological Needs) เชน การยอมรับและความรักจากผูอื่น

ธงชัย สันติวงษ. (2551 : 29) ไดกลาววา พฤติกรรมของผูบริโภค (Consumer Behavior) หมายถึง การกระทําของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ซึ่งเกี่ยวของโดยตรงกับการจัดหาใหไดมาและการใชซึ่งสินคาและบริการ ทั้งนี้รวมถึง กระบวนการตัดสินใจซึ่งมีมาอยูกอนแลว และซึ่งมีสวนในการกําหนดใหมีการกระทํา

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

26

Blackwell. (2001 อางถึงใน สุธาสินี ทองเรือง.2549 : 24) กลาววา พฤติกรรมผูบริโภค หมายถึง กิจกรรมที่บุคคลดําเนินการเมื่อไดรับ เมื่อบริโภค และเมื่อจับจายใชสอย ซึ่งสินคาและบริการหรืออีกนัยหนึ่งคือ พฤติกรรมผูบริโภคเคยถูกกลาวถึงในแงวาเปนการศึกษาวาทําไมคนถึงซื้อ เมื่อนักการตลาดทราบถึงเหตุผลวาทําไมผูบริโภคถึงซื้อผลิตภัณฑหรือตราสินคา (ยี่หอ) นั้น นักการตลาดสามารถนําเหตุนั้นไปเปนหลักในการพัฒนาและวางกลยุทธที่สามารถมีอิทธิพลตอผูบริโภคในภายภาคหนา

สรุปไดวาพฤติกรรมผูบริโภค หมายถึง การกระทําของบุคคลหนึ่ง ซึ่งบุคคลนั้นแสดงออกโดยมีการเกี่ยวของกับการใชสินคาและบริการ รวมทั้งกระบวนการในการตัดสินใจที่มีผลโดยตรงกับการซื้อและการใชสินคาหรือบริการตาง ๆ รูปแบบพฤติกรรมผูบริโภคตาม S - R theory สิ่งเรา (Stimulus) ในทางการตลาดนั้นสามารถแบงสิ่งเราออกเปน 2 ประเภท คือ สิ่งเราทางการตลาดกับสิ่งแวดลอมอื่น ๆ ทางการตลาด ที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจและพฤติกรรมของผูบริโภค สิ่งเราทางการตลาด ไดแก สวนประสมทางการตลาดหรือ 4P’s อันไดแก ผลิตภัณฑ ราคา ชองทางการจัดจําหนาย และการสงเสริมการตลาด สิ่งแวดลอมอื่น ๆ ทางการตลาด ที่อยูลอมรอบผูบริโภค ไดแก เศรษฐกิจ เทคโนโลยี สังคม การเมือง/กฎหมาย และวัฒนธรรม ซึ่งมีอิทธิพลตอการตัดสินใจของผูบริโภค สิ่งเราเหลานี้นับเปนตัวนําเขาหรือ Input ที่จะเขาไปยังกลองดําของผูบริโภค และสงผลใหมีการตอบสนองออกมาเปน Output กลองดํา (Black Box) คํานี้เปนนามธรรม โดยสมมติวากลองดําเปนที่รวมเอาปจจัยตาง ๆที่วานี้ ไดแก วัฒนธรรม สังคม ลักษณะสวนบุคคล และลักษณะทางจิตวิทยาของผูบริโภคแตละคนเอาไว นอกจากนี้ในกลองดํายังมีกระบวนการตัดสินใจซื้อรวมอยูดวย สิ่งเราเมื่อมาถึงกลองดําจะถูกปจจัยตาง ๆ ตกแตง ขัดเกลา แปรรูปออกมาเปนการตอบสนอง ถาการตอบสนองเปนไปในทางบวก กระบวนการในการตัดสินใจซื้อจะเริ่มทํางาน จนกระทั่งเกิดการซื้อตามมา ถาการตอบสนองเปนไปในทางลบ กระบวนการตัดสินใจซื้อจะไมมี ทําใหไมมีการซื้อเกิดขึ้น การตอบสนอง (Response) เปนผลลัพธจากอิทธิพลของปจจัยและกลไกการทํางานของกระบวนการตัดสินใจซื้อที่อยูในกลองดําของผูบริโภค ถาการตอบสนองเปนไปในทางบวกจะสังเกตวาผูบริโภคไปเลือกผลิตภัณฑที่จะซื้อ เลือกตราผลิตภัณฑที่จะซื้อ เลือกรานคาที่จะซื้อ เลือกจังหวะเวลาที่จะซื้อ และเลือกจํานวนที่จะซื้อ ดังแบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภคตาม S - R theory ไดดังภาพที่ 2.1

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

27

ภาพที่ 2.1 แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภคตาม S - R theoryที่มา : ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ. 2546 : 110 - 112

โดยสรุปแลวการศึกษาพฤติกรรมผูบริโภคในการวิจัยนี้ หมายถึง พฤติกรรมการใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ไดแก การกระทําของบุคคลหนึ่งซึ่งเกี่ยวของโดยตรงกับกระบวนการตัดสินใจและมีสวนในการกําหนดใหมีการกระทํา ดังนั้น ในการศึกษารูปแบบพฤติกรรมผูบริโภคนั้นเพื่อตองการทราบวาผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศแตละคนมีความรูสึกนึกคิด (Black Box) อยูภายในใจที่จําเปนจะตองพยายามทายใหไดวาผูใชบริการมีความรูสึกอยางไร มีพฤติกรรมในการใชบริการรถโดยสารปรับอากาศอยางไร มีกลไกและแรงจูงใจในการใชบริการรถโดยสารปรับอากาศอยางไรบางเพื่อที่จะใชตัวกระตุนไดถูกตองและเมื่อใชตัวกระตุนนั้นแลวหวังวาผลตอบสนอง ที่เกิดขึ้นก็คือ ตองการใหผูใชบริการมาใชบริการรถโดยสารปรับอากาศนั่นเอง และผูใชบริการ แตละคนจะมีความตองการที่แตกตางกันและผันแปรไดตลอดเวลา ฉะนั้นเปนสิ่งจําเปนที่ทางบริษัท

สิ่งเรา

ผลิตภัณฑ

การสงเสริมการตลาด

สิ่งเราทางการตลาด

ชองทางการจัดจําหนาย

ราคา

สิ่งเราจากสิ่งแวดลอม

สังคม

วัฒนธรรม

การเมือง

เทคโนโลยี

เศรษฐกิจ

กลองดํา

การตัดสินใจ ที่ไมสามารถมองเห็นได

กระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค

ลักษณะนิสัยของผูบริโภค

การตอบสนอง

ผูคาปลีกที่เลือก

จํานวนที่ซื้อ

ตราที่เลือก

ผลิตภัณฑที่เลือก

เวลาที่ซื้อ

ปฏิกิริยาตอบสนอง

ของผูบริโภคตอสิ่งเรา

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

28

ขนสงจํากัดและบริษัทเอกชนจะตองศึกษาและทําความเขาใจพฤติกรรมของผูใชบริการที่ยากจะ คาดเดาได เพื่อตอบสนองความตองการนั้นใหมากที่สุด เพื่อครองใจผูใชบริการเหลานั้นและมาเปนผูใชบริการอีกในอนาคต

แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการตัดสินใจไดมีผูใหความหมายของการตัดสินใจไวหลายนัย ดังนี้ติน ปรัชญาพฤทธิ์. (2542 : 106) ไดใหความหมายการตัดสินใจ หมายถึง ทางเลือก

ในการดําเนินการหรือไมดําเนินการจากทางเลือกหลายๆ ทาง และเปนทางเลือกที่ดีที่สุด โดยมีขั้นตอนการตัดสินใจ ดังนี้

1. การทําความเขาใจในปญหาและขอเท็จจริงตาง ๆ2. การรวบรวมขาวสารและขอมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจ3. การวิเคราะหขาวสารและขอมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจ4. การเลือกปฏิบัติที่ดีที่สุดเพียงทางปฏิบัติเดียว5. การดําเนินการใหเปนไปตามผลของการตัดสินใจ6. การติดตามและประเมินผลของการดําเนินการ

วิรัช สงวนวงศวาน. (2548 : 49 - 50) ไดกลาววา การตัดสินใจ คือ การเลือกจะกระทําการอยางใดอยางหนึ่งในทางเลือกที่มีอยูตั้งแตสองทางขึ้นไปและจะมีกระบวนการตาง ๆ ในการตัดสินใจ 8 ขั้นตอน ดังนี้

1. ระบุปญหา2. ระบุเกณฑที่จะใชตัดสินใจ3. กําหนดน้ําหนักใหกับเกณฑเหลานั้น4. กําหนดทางเลือก5. วิเคราะหทางเลือก6. เลือกทางเลือก7. ดําเนินการตามทางเลือก8. ประเมินผลการตัดสินใจ

พิบูล ทีปะปาล. (2549 : 107) ไดกลาวถึงกระบวนการตัดสินใจวา กระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภคประกอบดวย 2 สวน สวนแรกเปนกระบวนการตัดสินใจ (Decision process) ของผูซื้อหรือผูใชบริการเอง สวนที่สองเปนปจจัยที่มีผลกระทบตอกระบวนการตัดสินใจซื้อ (Factors Affecting the Process) ซึ่งกระบวนการตัดสินใจซื้อประกอบดวย 6 ขั้นตอน ไดแก การรับรูสิ่งเรา การรับรูปญหา การคนหาขอมูล การประเมินทางเลือก การตัดสินใจซื้อ และพฤติกรรมหลังการซื้อ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

29

สวนปจจัยที่มีผลกระทบตอกระบวนการตัดสินใจซื้อ ไดแก ปจจัยเกี่ยวกับลักษณะประชากร หรือประชากรศาสตร และปจจัยทางสังคมจิตวิทยา แสดงไดดังภาพที่ 2.2

ภาพที่ 2.2 กระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภคที่มา : พิบูล ทีปะปาล. 2549 : 109

สรุปไดวา การตัดสินใจ หมายถึง กระบวนการตัดสินใจโดยการคิดวิเคราะหและการใชเหตุผลในการประเมินเลือกแนวทางจากหลายๆทางเลือกที่มีอยู โดยพิจารณาไตรตรองอยางรอบคอบ เพื่อเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดและที่เหมาะสมที่สุดเพื่อใหสามารถตอบสนองความตองการของตนเองไดมากที่สุด

ทฤษฎีเกี่ยวกับการตัดสินใจศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ. (2546 : 219) กลาวถึง กระบวนการตัดสินใจของผูบริโภค

วาเปนลําดับขั้นตอนในการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค จากการสํารวจรายงานของผูบริโภคจํานวนมากในกระบวนการตัดสินใจ พบวา ผูบริโภคผานกระบวนการ 5 ขั้นตอนของกระบวนการตัดสินใจของผูบริโภค แสดงดวยภาพที่ 2.3

สิ่งเรารับรู

ปญหาคนหาขอมูล

ตัดสินใจซื้อ

ประเมินทางเลือก

พฤติกรรมหลังการซื้อ

ลักษณะประชากร ปจจัยทางสังคมและจิตวิทยา

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

30

ภาพที่ 2.3 กระบวนการตัดสินใจของผูบริโภคที่มา : ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ. 2546 : 192

วรรณี ธรรมโชติ และคณะ. (2543 : 247) กลาวถึงการตัดสินใจวา เปนกระบวนการเลือกทางเลือกทางใดทางหนึ่งในหลาย ๆ ทางที่คิดวาดีที่สุด ซึ่งผูตัดสินใจจะตองใชดุลยพินิจในการตัดสินใจเพื่อใหไดผลที่คุมคาหรือบรรลุเปาหมาย ซึ่งผูตัดสินใจแตละคนจะใชเทคนิคตางกันในการตัดสินใจ โดยใชประสบการณที่ตนไดพบไดยินไดเห็นมาหรือตัดสินใจโดยใชขอมูลขาวสาร เปนองคประกอบ ซึ่งการตัดสินใจมี 2 ลักษณะ ดังนี้

สิ่งแวดลอมทางสังคมวัฒนธรรม ครอบครัว

อิทธิพลบุคคล วัฒนธรรมยอย

กระบวนการตัดสินใจของผูบริโภคการตระหนักถึงความตองการ

การคนหาขอมูล

การประเมินทางเลือก

การซื้อ

ความแตกตางระหวางบุคคล

บุคลิกภาพรูปแบบชีวิต

สิ่งจูงใจ

ปจจัยดานสถานการณ

สถานการณการใชสิ่งกระตุน

ความเห็นของคนอื่น

ผลที่ไดการเรียนรูของผูบริโภค

พฤติกรรมความไมพอใจ/ การรองเรียน

ความขัดแยงหลังการซื้อหรือใชบริการCop

yrigh

t : S

urat

than

i Raja

bhat

Univ

ersit

y

31

1. กระบวนการตัดสินใจเปนวิธีการดําเนินงานในกิจกรรมตาง ๆ เพื่อใหเกิดผลลัพธตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว การตัดสินใจที่เหมาะสมในการวางแผนที่ดีจะตองใชหลักเกณฑ ทางวิชาการควบคูการปฏิบัติและประสบการณ การรวบรวมขอมูลรวมทั้งการวิเคราะหในรูปแบบตาง ๆ ใหตรงตามวัตถุประสงคที่ตองการ

2. ลักษณะของการตัดสินใจภายใตสถานการณตาง ๆ สามารถแบงไดเปน 3 สวน คือ เปาหมายหรือมูลคาของเปาหมาย ทางเลือกหรือกิจกรรมและสถานการณตาง ๆ โดยจะพิจารณาตามขอมูลและลักษณะของกิจกรรมนั้น ๆ

สรุปทฤษฎีเกี่ยวกับการตัดสินใจไดวา เปนลําดับขั้นตอนในการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค ประกอบดวย 5 ขั้นตอน ไดแก สิ่งแวดลอมทางสังคม ความแตกตางระหวางบุคคล กระบวนการตัดสินใจของผูบริโภค ปจจัยดานสถานการณ และผลที่ไดคือ ทราบพฤติกรรมผูบริโภค

ในสวนของการตัดสินใจใชบริการรถโดยสารปรับอากาศของผูใชบริการก็จะมีกระบวนการตัดสินใจในการใชบริการ คือ รับรูถึงความตองการที่จะใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ดังนั้นผูใชบริการตองมีขอมูลหรือคนหาขอมูลของบริษัทที่ใหบริการดานรถโดยสารปรับอากาศวาจะเลือกของบริษัทใดในการที่จะไปใชบริการ อาจจะพิจารณาจากดานการบริการ ดานพนักงาน ดานการจัดจําหนาย หรือดานอื่น ๆ กอนที่จะตัดสินใจไปใชบริการ และหลังจากใชบริการรถโดยสารปรับอากาศของบริษัทนั้น ๆ แลวผูบริโภคก็สามารถที่จะประเมินความพึงพอใจของการใหบริการอันจะนําไปสูการตัดสินใจในการใชบริการในครั้งตอๆ ไปได

แนวคิดเกี่ยวกับความปลอดภัยพฤติกรรมการขับรถอยางปลอดภัย หมายถึง การกระทําและการปฏิบัติของบุคคลในขณะที่

กําลังขับรถใหมีความปลอดภัยไมกอใหเกิดอุบัติเหตุแกตัวเองและบุคคลอื่น แนวคิดเกี่ยวกับคุณสมบัติของคนขับรถที่ดีใหสามารถขับรถไดอยางปลอดภัยจะตองมีความรอบรูในสิ่งตาง ๆ ในเรื่องตอไปนี้ ไดแก รูสภาพตัวเอง รูเรื่องรถ รูและปฏิบัติตามหลักขับขี่ที่ปลอดภัย รูและปฏิบัติตามกฎจราจร (อดิศักดิ์ ศักดิ์ฤทธ. 2542 :48) โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1. การรูสภาพตัวเอง ไดแก1.1 รูขีดความสามารถและความชํานาญในการขับรถของตัวเอง การขับรถให

ปลอดภัยสามารถเรียนรู ฝกฝนและปฏิบัติตนใหพรอมเสมอ เมื่อมีเหตุการณเฉพาะหนาเกิดขึ้น ในสวนของความชํานาญของการควบคุมรถ สามารถเรียนรูตามคําแนะนํา รวมทั้งประสบการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นแกตนเอง

1.2 รูสภาพจิตใจของตัวเอง การขับรถไปบนทองถนนตองใชสมาธิพอสมควร ดังนั้น หากสภาพจิตใจไมปกติ เชน หงุดหงิดหรืออยูในอารมณโกรธ ควรงดการขับรถ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

32

1.3 รูสภาพรางกายของตัวเอง รางกายมนุษยมีขอจํากัดของชั่วโมงการทํางาน หลังการทํางานมาระยะหนึ่งรางกายตองการพักผอน คนขับรถสวนหนึ่งพยายามฝนสภาพรางกายเมื่อรูสึกวารางกายออนเพลียหรือเหน็ดเหนื่อยดวยการเสพสารกระตุนตาง ๆ รางกาย เพื่อใหสามารถทํางานไดเปนระยะเวลานาน ๆ ซึ่งการปฏิบัติดังกลาวเปนผลรายตอสุขภาพและเปนจุดที่กอใหเกิดอุบัติเหตุตาง ๆ

2. ความรูเรื่องรถ ในการขับรถแมจะมีความชํานาญเพียงใด หากตัวรถที่ขับมีสภาพไมมั่นคงแข็งแรง อุปกรณตาง ๆ ไมไดรับการดูแลรักษา ก็จะเปนสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุได ดังนั้น คนขับรถที่ดีจะตองใชเวลาสวนหนึ่งใหความสนใจกับรถและอุปกรณตาง ๆ ไมวาเรื่องของยาง เบรก ระบบไฟ ฯลฯ หมั่นดูแล แกไขซอมแซมอยูเสมอ

3. ความรูและปฏิบัติตามหลักขับขี่ปลอดภัย สิ่งที่สําคัญสิ่งหนึ่งของหลักการขับรถก็คือ รูเทคนิคของการขับขี่หรือเรียกโดยทั่วไปวา การขับขี่ในเชิงปองกันอุบัติเหตุ (Defensive Driving) การเรียนรูหลักขับขี่ปลอดภัยสามารถกระทําไดโดยการศึกษาอบรมตามสถานการณตาง ๆ เพื่อทําใหทราบแนวทางปฏิบัติเมื่อขับรถพบเหตุการณฉุกเฉิน

4. การรูและปฏิบัติตามกฎจราจร การขับรถโดยปฏิบัติตามกฎจราจรอยางเครงครัดเปนวิธีการอยางหนึ่งที่จะชวยลดอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากการใชรถใชถนน คนขับรถทุกคนจําเปน ตองมีความรูและทําความเขาใจในกฎจราจรอยางถูกตอง การไมรูหรือรูผิด ๆ ถูก ๆ แลวนําไป ถือปฏิบัติจะเปนสาเหตุใหผูอื่นที่รวมใชรถใชถนนเกิดความสับสนเขาใจผิด อาจกอใหเกิดอุบัติเหตุจนถึงบาดเจ็บหรือเสียชีวิตได

ประชด ไกรเนตร. (2543 : 49) ไดเสนอแนวคิดวิธีและองคประกอบสําคัญของการขับรถ (ปองกันตัว) อยางปลอดภัย (Defendsive Driving) วาเปนการใชความรูและความสามารถเพื่อประหยัดเงิน เวลา และรักษาชีวิต ที่เปนผลมาจากการกระทําของบุคคลอื่นและสภาพการณรอบ ๆ ตัวผูขับรถ

วิธีการขับรถอยางปลอดภัยที่จะชวยผูขับรถได มีดังนี้1. กําหนด (Define) วามีสิ่งใดสามารถทําใหเกิดอุบัติเหตุ2. วิเคราะห (Analyze) วาสิ่งใดในขอหนึ่ง จะกระทบถึงตัวทานซึ่งกําลังขับรถ3. ตัดสินใจ (Decide) ที่จะใชวิธีการเคลื่อนตัวที่ดีและปลอดภัยที่สุดในสภาพ

การขับรถตาง ๆ กัน4. ปฏิบัติ (Act) บังคับรถในลักษณะตาง ๆ ใหเกิดความปลอดภัย

สวนองคประกอบสําคัญของการขับรถอยางปลอดภัย มี 5 ประการคือ ตําแหนง สภาพการณ กฎขอบังคับ ทาทางการปฏิบัติในการขับรถ การปฏิบัติและการตัดสินใจ โดยมีรายละเอียด ดังนี้

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

33

1. ตําแหนง (Position) ของยานพาหนะตาง ๆ บนถนนซึ่งมีอยู 6 ตําแหนง ดวยสภาพการขับรถตาง ๆ และตําแหนงตาง ๆ กันนั้น อุบัติเหตุอาจเกิดขึ้นจากการชนกันระหวางยานพาหนะ 2 คัน ไดตําแหนงตาง ๆ ประกอบดวยยานพาหนะที่เคลื่อนที่อยู

1.1 ขางหนา (Infront)1.2 ขางหลัง (Behind)1.3 กําลังแซง (Passing)1.4 กําลังถูกแซง (Bebing Passed)1.5 เขามาจากดานขาง (From the Side)1.6 สวนทาง (On Coming)

2. สภาพการณ (Conditions) ที่เปนอยูในขณะขับรถซึ่งมี 6 สภาพการณที่สามารถนําไปสูการเกิดอุบัติเหตุที่เปนอันตรายได ประกอบดวย

2.1 ผูขับรถ (Driver) ในเรื่องของรางกายออนเพลีย สายตาไมดี การฟงไมชัดเจน การรับผลกระทบจากการใชยา

2.2 ยานพาหนะ (Vehicle) ในเร่ืองของการบํารุงรักษา การปฏิบัติงานไดดีเพียงใด ทานรูอะไรบาง

2.3 ถนน (Road) ในเรื่องของสภาพผิวขรุขระ ราบเรียบ นุมนวล มุมถนนไมดี 2.4 ดิน ฟา อากาศ (Wether) ในเรื่องของถนนเปยก ลื่น น้ําทวมถนน อากาศรอน

เย็น2.5 แสงสวาง (Light) ในเรื่องของมีแสงสวางมาก นอยเกินไป แสงสวางเขาตา2.6 ภาวะจราจร (Traffic) ในเรื่องของจราจรหนาแนน เคลื่อนไดเร็ว เคลื่อนไดชา

3. กฎบังคับ (Rules) ที่ชวยใหขับรถอยางถูกตองและปลอดภัย (แบบปองกันตัวที่ดี) ไดแก

3.1 การหยุดรถ (Stopping) 3.2 การเวนระยะขับรถ (Spacing)3.3 การแซงรถ (Passing)3.4 การหลีกการชนแบบประสานงาน (Head on Collision Avoidance)3.5 การผานสี่แยก (Intersecting)

4. ทาทางการปฏิบัติในการขับรถ (Maneuvers) ขั้นพื้นฐาน 7 อยาง คือ 4.1 ขับรถเขาไปในกระแสจราจร (Moving into the Traffic Stream)4.2 ขับรถไปบนถนน (Moving on the Road)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

34

4.3 ขับรถไปตามการไหลของจราจร (Moving With the Traffic Flow)4.4 ขับรถผาน (สี่แยก) (Moving Through)4.5 ขับรถแซง (Moving Pass)4.6 กลับรถ (Moving Back)4.7 ขับรถออกจากกระแสจราจร (Moving out of the traffic scene)

5. การปฏิบัติและการตัดสินใจ (Action/Decisions)5.1 กฎเกณฑการแซง (Passing) มี 10 ขั้นตอน ประกอบดวย ปรับทานั่งเตรียม

(Stay Back) 2 วินาที ตรวจสอบขางหนา (Check Ahead) ประมาณ 10 วินาทีที่จะแซงใหถึง ตรวจสอบขางหลัง (Check Behind) สัญญาณขวา (Signal Right) 5 วินาที เคลื่อนไปทางขวา (Move Right) เรงเครื่องยนต (Accelerate) ใหสัญญาณติดตอ (แตร) หรือไฟกระพริบ (Communicate) สัญญาณ ไฟซาย (Signal Left) 2 วินาที เคลื่อนไปทางซาย (Move Left) เรงเขาความเร็ว (Ream Speed) ตาม 2 วินาทีและ 10 วินาทีเพื่อตรวจสอบ

5.2 กฎเกณฑการผานสี่แยก (Intersection Rules) เพื่อความปลอดภัยในการขับรถผานสี่แยก ผูขับรถควรปฏิบัติ คือ รูเสนทางและแผนขางหนา (Know your Route and Plan Ahead) ขับชาลงเมื่อจะถึงสี่แยกและคาดวาจะมีผูไมปฏิบัติเชนตน (Slow for Intersection and Expect Unorthodox) แสดงตนเมื่อถึงสี่แยกดวยตําแหนงและสัญญาณ (Slow your Intersection by Position and Signals) เคลื่อนที่ตอไปดวยความระมัดระวัง (Go with Care)

5.3 การหลีกเลี่ยงการชนแบบประสานงาน (Head on Condition Rules) ซึ่ง ประกอบดวย อานสภาพถนนขางหนา (Read the Road Ahead) มีปฏิกิริยาดวยการเคลื่อนทางซาย (React by Moving Left) ลดความเร็ว (Reduce Speed) ขับพุงออกไปขางหนา (Ride Right off the Road)

จะเห็นไดวา การมีพฤติกรรมการขับรถอยางปลอดภัยนั้นเกี่ยวของกับปจจัยหลายประการไมวาจะเปนเรื่องของความรูความเขาใจในกฎจราจร เรื่องการดูแลรถ ความชํานาญและทักษะ ในการขับขี่ สภาพรางกายและจิตใจที่เหมาะสม ซึ่งปจจัยตาง ๆ เหลานี้จะตองประสานและปฏิบัติไปพรอม ๆ กัน โดยตระหนักสํานึกในความรับผิดชอบตอสังคมเปนพื้นฐานสําคัญจึงจะทําใหเกิดความปลอดภัยในการขับขี่ไดมากที่สุด

ดังนั้นสรุปวา พฤติกรรมการขับรถอยางปลอดภัย หมายถึง การปฏิบัติตัวของพนักงานขับรถโดยสารปรับอากาศที่พยายามหลีกเลี่ยงและปองกันการเกิดอุบัติเหตุ อันตราย การบาดเจ็บ การสูญเสียชีวิต หรือทรัพยสิน อันเนื่องมาจากการใชรถใชถนนเพื่อไมใหตนเองและผูโดยสารไดรับความเดือดรอนและพฤติกรรมการขับรถอยางปลอดภัยนั้นจะประกอบไปดวยการปฏิบัติ ในดานการดูแลตนเอง และการปฏิบัติตามกฎจราจร

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

35

แนวคิดเกี่ยวกับการขนสงผูโดยสารกอนทําความเขาใจความหมายของการขนสงผูโดยสาร จําเปนที่ตองเขาใจความหมาย

ของการขนสงเสียกอน ซึ่งมีผูใหคํานิยามความหมายของการขนสงไวหลายอยาง (ประชด ไกรเนตร. 2541 : 1 - 2) ดังนี้

สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิต ใหความหมายของการขนสงไววา “ขน” หมายถึง การนําเอาของมาก ๆ จากที่หนึ่งไปไวในอีกที่หนึ่ง สวน “สง” หมายถึง การยื่นใหถึงมือ พาไปใหถึงที่ ดังนั้น “ขนสง” จึงหมายถึง การนําไปและนํามาซึ่งของมาก ๆ จากที่หนึ่งไปไวอีกที่หนึ่ง

พระราชบัญญัติการขนสง พ.ศ. 2497 มาตรา 4 ใหความหมายของการขนสงไววา การขนสง หมายถึง การลําเลียงหรือเคลื่อนยายบุคคลหรือสิ่งของดวยเครื่องมืออุปกรณการขนสง ซึ่งอุปกรณการขนสงนี้ หมายถึง ยานพาหนะที่ใชในการขนสงรวมทั้งเครื่องทุนแรงดวย

วิชาเศรษฐศาสตร ใหความหมายของการขนสงไววา การขนสงเปนกิจกรรมทางเศรษฐกิจอยางหนึ่งที่จัดใหมีการเคลื่อนยายคน สัตว และสิ่งของจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง

จากความหมายขางตนสรุปไดวา การขนสง หมายถึง การจัดใหมีการเคลื่อนยายบุคคล สัตว และสิ่งของดวยอุปกรณการขนสง จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งตามความประสงคของมนุษย ถาเปนการขนสงบุคคล เรียกวา การขนสงผูโดยสาร แตถาเปนการขนสงสัตวหรือสิ่งของ ก็เรียกวา การขนสงสินคา

ความหมายของการขนสงผูโดยสารการขนสงผูโดยสาร หมายถึง การจัดใหมีการเคลื่อนยายบุคคลดวยเครื่องมืออุปกรณ

การขนสงจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งตามความประสงคของบุคคลนั้น ๆ จากความหมายนี้กลาววา การขนสงผูโดยสารจะตองประกอบไปดวยลักษณะที่สําคัญ 3 ประการ ไดแก

1. เปนกิจกรรมที่ตองมีการเคลื่อนยายบุคคลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง2. เปนการเคลื่อนยายที่ตองกระทําดวยอุปกรณการขนสง คือ ยานพาหนะที่ใช

ในการขนสงนั้นเอง3. เปนการเคลื่อนยายที่ตองเปนไปตามความประสงคของบุคคลผูที่ตองการขนสง

ปจจัยสําคัญในการขนสง ในการประกอบธุรกิจทางดานการขนสงนั้น จะมีองคประกอบที่มีความสําคัญเปนอยางมาก คือ เสนทาง (Way or Route) รถยนต (Vehicle) อุปกรณ (Equipment) สถานี (Terminal) และยังมีองคประกอบอื่น ๆ ที่จะตองพิจารณาอีก เชน ผูประกอบการ (Operator or Carrier) กฎระเบียบ ขอบังคับตาง ๆ (Regulations) โดยมีรายละเอียด (โลจิสติกนิวส. 2553) ดังนี้

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

36

1. เสนทางในการขนสง (Way, Route) หมายถึง ถนน แมน้ํา ทะเล ทางรถไฟและอากาศ ซึ่งจะเปนเสนทางที่ใชเดินทางเพื่อการขนสงอาจจะเปนเสนทางบนอากาศหรือในทะเล นอกจากนี้เสนทางในการขนสงอาจจะเปนเสนทางที่มีการใชอยูเปนประจําหรือเปนครั้งคราวหรืออาจจะเปนเสนทางที่ถูกกําหนดขึ้นตามความตองการก็ได 2. รถยนตในการขนสง (Vehicle) ในที่นี้ หมายถึง รถยนต รถไฟ เรือ เครื่องบิน ในการขนสงนี้ก็อาจจะแบงออกเปนอุปกรณในการเคลื่อนยายและอํานวยความสะดวกใหกับผูโดยสารและอุปกรณเพื่อการสงสินคาและบริการหรืออาจจะเปนอุปกรณเพื่อการขนสงสิ่งใดสิ่งหนึ่งเฉพาะก็ได 3. อุปกรณในการขนสง (Equipment) อุปกรณที่ใชอํานวยความสะดวกในการขนสงในที่นี้ หมายถึง รถยก อุปกรณขึ้นสินคา อาจจะแบงออกเปนอุปกรณในการเคลื่อนยายและยก ขนสินคา 4. สถานีในการขนสง (Terminal) เปนสถานที่ซึ่งใชเปนจุดสําหรับหยุดรับสงผูโดยสารหรือสินคาและบริการ สําหรับการขนสงแตละประเภท ซึ่งอาจจะเปนสถานีตนทางหรือระหวางเสนทางก็ได การเรียกชื่อสถานีในการขนสงนี้ก็มีการเรียกที่แตกตางกันออกไป เชน ทาอากาศยานใชสําหรับการขนสงทางอากาศ ทาเรือใชสําหรับการขนสงทางน้ํา สถานีขนสงผูโดยสารและสถานีขนสงสินคาใชสําหรับการขนสงทางบก ปจจัยหรือองคประกอบทั้ง 4 ประการ ถือไดวาเปนปจจัยที่สําคัญสําหรับการขนสงซึ่งจําเปนจะตองมีและจะขาดสิ่งหนึ่งสิ่งใดไมไดเลย เชน ถามีเสนทางและมีสถานีในการขนสง แตขาดอุปกรณในการขนสงก็ไมสามารถที่จะดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ได หรือมีสถานีในการขนสงและอุปกรณทุกอยางพรอมแตขาดเสนทางสําหรับการขนสง ก็ไมสามารถดําเนินการใหเปนไปตามวัตถุประสงคไดเชนกัน ดังนั้น ปจจัยทั้ง 4 อยางนี้จึงเปนสิ่งที่ถือไดวาจําเปนและเปนปจจัยที่สําคัญสําหรับการขนสงซึ่งจะขาดไมได

งานวิจัยที่เกี่ยวของ

การศึกษาปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทาง สุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ผูวิจัยไดนําเอาผลงานวิจัยที่ใกลเคียงมาเสนอเปนแนวทางในการศึกษา สรุปเปนงานวิจัยในประเทศ 10 เรื่อง และงานวิจัยตางประเทศ 5 เรื่อง ดังนี้

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

37

งานวิจัยในประเทศจิตรา วีแกว. (2546) ไดศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมการใชบริการรถโดยสารประจําทาง

ปรับอากาศ ขสมก. ของผูใชบริการในเขตกรุงเทพมหานคร ผลการศึกษา พบวา ผูใชบริการมีทัศนคติตอการใชบริการรถโดยสารประจําทางปรับอากาศ ขสมก. อยูในระดับปานกลาง ในดานสภาพรถและความสะอาด ดานความสะดวก ดานความปลอดภัย ดานการบริการของพนักงาน และดาน การประชาสัมพันธ สวนในดานราคาคาโดยสารมีทัศนคติอยูในระดับไมดี สวนจากการศึกษาพฤติกรรมพบวา รถโดยสารปรับอากาศยูโร 2 มีผูใชบริการมากที่สุดเนื่องจากเปนรถปรับอากาศ รุนใหมมีความสะดวกสบายในการใชบริการ ใชบริการรถโดยสารประจําทางปรับอากาศบอยที่สุดในวันธรรมดาเนื่องจากเปนวันทํางาน และชวงเวลาที่มีผูใชบริการบอยที่สุด คือเวลา 17.01 - 21.00 น. ในการเดินทางโดยเฉลี่ยมีการตอรถจํานวน 2 ครั้ง เวลาในการคอยรถโดยสารโดยเฉลี่ยเทากับ 21 นาที และเวลาในการเดินทางอยูบนรถโดยสารโดยเฉลี่ยเทากับ 57 นาที คาใชจายในการเดินทางตอวันโดยเฉลี่ยเทากับ 30 บาท และความถี่ในการเดินทางโดยรถโดยสารประจําทางปรับอากาศ ตอสัปดาหโดยเฉลี่ยเทากับ 4 วัน

นิดา พันธไชย. (2546) ไดศึกษาความพึงพอใจของผูใชบริการรถโดยสารประจําทาง ปรับอากาศสายรอยเอ็ด-กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบวา ผูใชบริการสวนใหญเปนเพศชาย อายุต่ํากวา 26 ป เปนนักเรียน/นักศึกษา สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. และมีรายไดเฉลี่ยตอเดือน 5,000 - 10,000 บาท ผูใชบริการสวนใหญใชบริการรถโดยสารประจําทางปรับอากาศชั้น 1 ชวงเวลา 20.20 - 21.00 น. ในวันศุกร - อาทิตย ใชบริการมากกวา 3 เดือนตอครั้ง และสวนใหญเคยใชบริการของบริษัทเชิดชัยทัวร จํากัด ผูใชบริการมีความพึงพอใจในการใชบริการรถโดยสารประจําทางปรับอากาศสายรอยเอ็ด-กรุงเทพมหานคร โดยรวมเปนรายดาน คือ ดานลักษณะทางกายภาพ ดานบริการและดานราคาอยูในระดับปานกลาง มีความพึงพอใจดานบุคคลหรือพนักงานดานชองทางการจัดจําหนาย และดานกระบวนการใหบริการอยูในระดับมาก และมีความพึงพอใจดานการสงเสริมการตลาดอยูในระดับนอย ผูใชบริการที่มีความแตกตางในเรื่อง เพศ อาชีพ รายไดและประเภทของรถโดยสารประจําทางปรับอากาศ มีความพึงพอใจในการใชบริการรถโดยสารประจําทางปรับอากาศสายรอยเอ็ด-กรุงเทพมหานคร โดยรวมและเปนรายดานทั้ง 7 ดานแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

อนันต รามโคตร. (2546) ไดศึกษาการศึกษาปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกใชบริการรถโดยสารปรับอากาศชั้น 1 เสนทางอุดรธานี - กรุงเทพฯ ในเขตอําเภอเมืองอุดรธานี ผลการศึกษาพบวา ผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศชั้น 1 สวนใหญเคยใชบริการมาแลว ใชบริการ 1 ครั้งตอเดือนเดินทางในโอกาสเยี่ยมญาติ/เพื่อน โดยใชบริการกับบริษัท 407 พัฒนา ไปกรุงเทพในชวงเวลา

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

38

19.00 - 22.00 น. และกลับอุดรธานีในชวงเวลา 06.00 - 09.00 น. และเวลา 19.01 - 22.00 น. สวนใหญไมเคยไดรับการแนะนําในการใชบริการ มีบางสวนไดรับการแนะนําการใชบริการจากเพื่อน/ญาติผูใชบริการเห็นวา ปจจัยโดยรวมและปจจัยดานการบริการและดานการจัดจําหนายมีความสําคัญตอการตัดสินใจเลือกใชบริการอยูในระดับปานกลาง และเห็นวา ดานพนักงานที่ใหบริการ ดานลักษณะทางกายภาพ และดานกระบวนการใหบริการ มีความสําคัญตอการตัดสินใจเลือกใชบริการ อยูในระดับมาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

ชุติมา ธนาวัฒนากร. (2547) ไดศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือกใชบริการรถโดยสารปรับอากาศของประชาชนในเขตอําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ผลการวิจัยพบวา ในดานปจจัยสวนบุคคลพบวา ผูโดยสารสวนใหญเปนผูชาย มีอายุระหวาง 20 - 29 ป มีสถานภาพโสด มีการศึกษาระดับปริญญาตรี และประกอบอาชีพลูกจางพนักงานบริษัท/หางราน มีรายไดตอเดือน 5,000 -10,000 บาท ในดานพฤติกรรมพบวา ผูโดยสารสวนใหญมีพฤติกรรมในการใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ เพื่อเดินทางกลับภูมิลําเนา โดยซื้อตั๋วที่สถานีในวันที่เดินทาง ลักษณะการซื้อตั๋วแบบ ซื้อตั๋วเที่ยวเดียว ชวงเวลาที่ใชบริการมากที่สุดอยูระหวาง 12.01 - 18.00 น. และสวนใหญใชบริการ 1 - 2 ครั้งตอเดือน ในดานปจจัยทางการตลาด พบวา ดานลักษณะทางกายภาพ ในเรื่องของรถโดยสารมีสภาพดี เครื่องยนตไมขัดของระหวางเดินทาง ดานบริการ ในเรื่องจํานวนรถโดยสารที่มีใหบริการอยางเพียงพอ ดานการจัดจําหนายในเรื่องความสะดวกของสถานที่จอดรถในการเขาไปซื้อตั๋วและจองต๋ัว ดานการสงเสริมการตลาดในเรื่องการโฆษณาและประชาสัมพันธโดยสื่อตาง ๆ ดานพนักงาน ที่ใหบริการในเรื่องการแตงกายที่สุภาพเรียบรอยของพนักงานในขณะปฏิบัติหนาที่ ทั้งพนักงาน ขับรถและพนักงานประจํารถ ดานกระบวนการใหบริการในเรื่องความตรงเวลาของรถโดยสาร และดานอื่น ๆ (จิตวิทยา เศรษฐกิจ เทคโนโลยี สังคมและวัฒนธรรม) ในเรื่องรูสึกมั่นใจและความเชื่อมั่นและตอบริษัทเดินรถ

สนณรงค สุอังคะ. (2547) ไดศึกษาการใหบริการรถโดยสารประจําทางในเขตเทศบาลนครราชสีมา ผลการศึกษา พบวา ปญหาในการใหบริการ ไดแก ความตรงตอเวลาในการปลอยรถซึ่งสงผลตอเวลาในการรอรถ ความแออัดของผูโดยสารบนรถ สภาพของรถที่ทรุดโทรม และระยะเวลาที่เดินทาง ซึ่งสงผลตอการเลือกใชรถโดยสารประจําทาง จากสภาพปญหาดังกลาวไดนํา ไปพิจารณาสําหรับการวิเคราะหในสวนที่สามเพื่อหาสัดสวนของการเปลี่ยนรูปแบบการเดินทางหลังจากมีการปรับปรุงการใหบริการรถโดยสารดวยแบบจําลอง Logit โดยแยกการวิเคราะหออกเปน 2 กลุม ไดแก กลุมผูเดินทางดวยรถยนตสวนตัวและผูเดินทางดวยรถจักรยานยนตสวนตัว จากการสรางแบบจําลองพบวา ปจจัยที่มีผลตอการเลือกรูปแบบการเดินทางมี 4 ปจจัยหลัก คือ ระยะเวลาในการเดินทาง คาใชจายในการเดินทาง ระยะเวลารอรถ และลักษณะของรถโดยสาร ผลการศึกษาพบวา

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

39

ตัวแปรทางดานระยะเวลาในการรอรถโดยสารและประเภทของรถโดยสารนั้นมีผลตอการเปลี่ยนรูปแบบในการเดินทางของกลุมผูใชรถยนตสวนตัวมากกวากลุมผูเดินทางดวยรถจักรยานยนตสวนตัว ในสวนของตัวแปรทางดานระยะเวลาในการเดินทางบนรถโดยสารและตัวแปรทางดานคาโดยสารจะมีผลตอการเปลี่ยนรูปแบบในการเดินทางของกลุมผูเดินทางดวนรถจักรยานยนตสวนตัวมากกวากลุมผูเดินทางดวยรถยนตสวนตัว

ธีรยสถ ปานกลาง. (2548) ไดศึกษาปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการใชรถโดยสารประจําทางภายใตการกํากับดูแลขององคการขนสงมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) ในกรุงเทพมหานครผลการวิจัย พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนผูหญิง สถานภาพโสด อายุระหวาง 20 - 24 ป รายไดเฉลี่ยตอเดือนระหวาง 5,000 - 9,999 บาท พฤติกรรมในการใชบริการสวนใหญมีวัตถุประสงคเพื่อไปทํางาน มีความถี่ในการใชบริการมากกวา 5 ครั้งตอสัปดาห ชวงเวลาที่ใชบริการมากที่สุดคือ 0.00 - 8.59 น. สวนประสมทางการตลาดที่มีผลตอการตัดสินใจใชบริการเปนอันดับหนึ่ง คือ ดานผลิตภัณฑ สวนการทดสอบสมมติฐานพบวา ประเภทของรถโดยสารที่ใชบริการมีความสัมพันธกับสถานภาพสมรส ระดับการศึกษาสูงสุด อาชีพ การครอบครองรถยนต การใหอันดับความสําคัญสวนผสม ทางการตลาดดานผลิตภัณฑ และดานการสงเสริมการตลาด สวนปริมาณ/ความถี่ในการใชบริการตอสัปดาห มีความสัมพันธกับสถานภาพสมรส อายุ ระดับการศึกษาสูงสุด อาชีพ รายไดเฉลี่ยตอเดือน และการครอบครองรถยนตของครอบครัว ดานของชวงเวลาในการใชบริการมีความสัมพันธกับ อายุ ระดับการศึกษาสูงสุด อาชีพ การครอบครองรถยนต การใหอันดับความสําคัญสวนประสม ทางการตลาดดานผลิตภัณฑ และดานสถานที่

วิวัฒน พิทูรโอฬาร. (2549) ไดศึกษาความสัมพันธระหวางสวนประสมธุรกิจบริการกับความพึงพอใจของผูใชบริการรถโดยสารประจําทางปรับอากาศพิเศษบริษัท นครชัยแอร จํากัดกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัย พบวา ในดานปจจัยสวนบุคคลสวนใหญเปนเพศชาย อายุระหวาง 20 - 30 ป สถานภาพสมรส การศึกษาปริญญาตรี มีอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน และมีรายไดเฉลี่ยตอเดือนต่ํากวา 10,000 บาท ในดานของขอมูลการใชบริการของผูใชบริการสวนใหญมีจุดประสงคในการเดินทางเพื่อเดินทางกลับบาน มีความถี่ในการใชบริการอยูที่ 1 ครั้งตอ 6 เดือน เดินทางไปกับเพื่อน เลือกชวงเวลาในการเดินทาง 21.01 - 24.00 น. วิธีในการซื้อตั๋วและจองตั๋วโดยสารที่สถานีนครชัยแอร การรับขาวสาร การประชาสัมพันธและโฆษณาของบริษัทโดยทางสถานี นครชัยแอรในดานความสําคัญของสวนประสมธุรกิจบริการของผูใชบริการใหความสําคัญอยูในระดับมาก ทุกประเด็น ในดานความพึงพอใจของผูใชบริการตอการบริการของรถประจําทางปรับอากาศอยูในระดับมาก คือ ดานราคาและบุคลากร สวนดานการบริการ การจัดจําหนาย การสงเสริมการตลาดลักษณะทางกายภาพและกระบวนการบริการอยูในระดับปานกลาง ในดานความสัมพันธระหวาง

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

40

สวนประสมธุรกิจบริการกับความพึงพอใจของผูใชบริการตอการบริการของรถประจําทางปรับอากาศพบวา โดยภาพรวมมีความสัมพันธซึ่งเปนไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว

พจมาส จันทรเครื่อง. (2550) ไดศึกษาความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอการเลือกใชบริการของบริษัทเดินรถโดยสาร กรณีศึกษา บริษัทไทยพัฒนกิจขนสง จํากัด ผลการศึกษา พบวา ประชาชนมีความพึงพอใจในการเลือกใชบริการของบริษัทไทยพัฒนกิจขนสง จํากัด อยูในระดับปานกลาง มีการเดินทางไปจังหวัดเชียงใหมมากเปนสวนใหญ ซึ่งปจจัยที่มีผลตอความพึงพอใจ ในการเลือกใชบริการของบริษัทไทยพัฒนกิจขนสง จํากัด โดยเรียงตามคาเฉลี่ยจากมากไปนอย คือ ดานทําเลที่ตั้ง ดานการบริหารจัดการ ดานการบริการของพนักงาน ดานการบริการ และดานราคา เมื่อเปรียบเทียบปจจัยของประชาชนทั้ง 6 ดาน ผลการศึกษาพบวา อายุ สถานภาพทางครอบครัวและระดับการศึกษา มีความพึงพอใจแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.50 และเพศ อาชีพ รายไดที่แตกตางกันมีความพึงพอใจในการเลือกใชบริการไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05

หมอนทอง บัวแสงทอง. (2550) ไดศึกษาความคิดเห็นของนิสิตปริญญาตรีที่มีตอการใชบริการรถโดยสารของรัฐวิสาหกิจรถเมลในนครหลวงเวียงจันทน ผลการวิจัยพบวา ความคิดเห็นของนิสิตปริญญาตรีที่มีตอการใชบริการรถโดยสารของรัฐวิสาหกิจรถเมลในนครหลวงจันทนอยูในระดับปานกลางในทุกดาน ยกเวนทางดานการประชาสัมพันธอยูในระดับนอย สวนนิสิตที่ใชบริการรถโดยสารของรัฐวิสาหกิจรถเมลในนครหลวงเวียงจันทนที่มีความแตกตางกันมีความคิดเห็น ทางดานการประชาสัมพันธตางกัน สวนดานอื่น ๆ ระดับความคิดเห็นไมแตกตางกัน นิสิตปริญญาตรีที่เรียนมหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชนแตกตางกัน มีความคิดเห็นตอการใชบริการรถโดยสารของรัฐวิสาหกิจรถเมลตางกัน ในดานการบริการของพนักงาน สวนดานอื่น ๆ พบวาไมมีความแตกตางกัน นิสิตปริญญาตรีที่เรียนสาขาวิชาแตกตางกัน มีความคิดเห็นตอการใชบริการรถโดยสารของรัฐวิสาหกิจรถเมล ตางกัน ในดานสภาพรถโดยสาร การบริการของพนักงาน สถานที่ใหการบริการ และดานหลักฐานทางดานกายภาพ สวนดานอื่น ๆ พบวา ไมมีความแตกตางกัน ความตองการบริการใหม ๆ ไดแก การติดตั้งเครื่องปรับอากาศในรถโดยสารประจําทาง ขยายเสนทางบริการ เปดใหบริการขนสงภายในจังหวัดนครหลวงเวียงจันทนในชวงเวลา 17.00 - 21.00 น. ราคาคาตั๋วรถสามารถ ปรับเพิ่มจากราคาเดิมรอยละ 20 สายที่นิสิตตองการใหรถโดยสารวิ่งผานมากที่สุดคือ สายดงโดก

สิริกุล พรหมชาติ. (2552) ไดศึกษาความพึงพอใจของผูใชบริการรถโดยสารประจําทางปรับอากาศของบริษัท 407 พัฒนา จํากัด ผลการวิจัยพบวา ผูโดยสารมีความพึงพอใจโดยรวมและรายดานพบวา มีความพึงพอใจอยูในระดับปานกลางและเมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา ดานผลิตภัณฑราคา และการนําเสนอลักษณะทางกายภาพของผูโดยสารมีความพึงพอใจอยูในระดับนอย สวน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

41

ดานอื่น ๆ ผูโดยสารมีความพึงพอใจอยูในระดับปานกลาง ในดานปจจัยสวนบุคคลพบวา อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได มีความพึงพอใจตอการใชบริการแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.01 และเพศ อายุ วัตถุประสงคการเดินทางที่แตกตางกันมีความพึงพอใจตอ การใชบริการไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

งานวิจัยตางประเทศMark, Ho and Papacostas. (1998) ไดทําการศึกษากรณีศึกษารถโดยสารสายพิเศษ

ในฮอนอลูลู ผลการสํารวจคณะกรรมการดําเนินการตรวจสอบการใชยอดรถโดยสารประจําทาง ในฮอนอลูลู ไดแสดงและเปรียบเทียบกับผลการสํารวจแบบการเดินเก็บขอมูลตามบานเกี่ยวกับ การใหบริการรถโดยสารพิเศษในสองเสนทาง คือ เสนทางในเมืองฮอนอลูลู และมหาวิทยาลัยฮาวาย การสํารวจพิจารณาในขอมูลเศรษฐกิจและสังคมขั้นพื้นฐาน รูปแบบการเดินทางในอดีต และปจจุบัน และความรูสึกของผูใชเกี่ยวกับการปรับปรุงบริการ ผลการศึกษาพบวา รถประจําทางสายพิเศษมีการเพิ่มคาทางสถิติมากกวารถโดยสารแบบเดิมจะมีการเพิ่มในสวนของการเดินทางไปแตไมเพิ่มในสวนของการเดินทางกลับ สัดสวนของผูโดยสารชายหญิงไมแตกตางกัน ผูโดยสารสวนใหญมีอาชีพเปนอาจารยและชางเทคนิค ครึ่งหนึ่งของผูโดยสารมาจากครัวเรือนที่มีรถสองคันและรอยละ 60 ของผูโดยสารเสนทางในเมืองฮอนอลูลู และรอยละ 40 ของเสนทางมหาวิทยาลัยฮาวายเปนผูที่ขับรถยนตมากอน การสํารวจนี้มีคาเพิ่มขึ้นจากการสํารวจในชวงขาดแคลนน้ํามันในชวงเดือนแรกของป 1974 กลุมที่ไดรับผลกระทบมากที่สุดเรื่องการขาดแคลนน้ํามันคือ กลุมนักเรียนนักศึกษา มีขอมูลระบุวา กลุมนี้ไดมีการปรับกิจกรรมของตนเองเพื่อโดยสารดวยรถประจําทางไดตามเวลา

Singh. (2004) ไดศึกษานโยบายรถโดยสารในเมือง เพื่อลดอากาศเสียและความแออัด ซึ่งพบวา กอนหนานี้หนาที่หลักของรถโดยสารในเมืองคือ เพื่อตอบสนองความตองการของบุคคลสวนนอยในสังคม แตในปจจุบันจะตองชวยบรรเทาความแออัดและอนุรักษสิ่งแวดลอมดวย ความตองการนี้เปนการเปลี่ยนแปลงเพื่อใหสอดคลองกับกฎระเบียบใหม ซึ่งชักจูงใหคนที่ใชรถยนตสวนตัวและรถจักรยานยนตมาใชรถโดยสาร โดยในแหลงชุมชนของอินเดียไมสามารถรองรับและใหความสําคัญเฉพาะรถสวนตัว จึงควรมีนโยบายที่ลดความตองการใชรถสวนตัว พรอมทั้งควรมีนโยบายดานระบบรถโดยสารขึ้น สองคุณสมบัตินี้จะทําไดตองมีการเพิ่มปริมาณและคุณภาพของรถโดยสาร นําอุปสงคมากําหนดประสิทธิภาพ รวมทั้งตองจัดหามาตรการบริหารจัดการดวย ซึ่งเปนความจําเปนของการแขงขันทางธุรกิจรถโดยสารที่จะตองระบุความแตกตางของกลุมผูโดยสาร การใหบริการที่หลากหลายและในราคาที่ผูโดยสารพึงพอใจ เพื่อใหสามารถดึงดูดลูกคาใหมาใชบริการ ในขณะเดียวกันรัฐบาลก็ควรใชเครื่องมือทางการตลาดเพื่อสงเสริมการใชเทคโนโลยีและเชื้อเพลิงที่อนุรักษสิ่งแวดลอม รวมทั้งการสนับสนุนใหประชาชนใชรถโดยสารเพิ่มขึ้น

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

42

William and Kai-Chieh. (2004) ไดทําการศึกษาปจจัยที่มีผลตอการใชรถโดยสารประจําทาง กรณีศึกษาในเมืองไทเป ซึ่งในงานวิจัยและการทดสอบนี้เนนถึงปจจัยที่มีผลตอผูโดยสารตอการเลือกใชรถประจําทาง โดยเนนในเรื่องของประโยชน และคุณภาพการบริการที่ผูโดยสารไดรับ เมื่อเปรียบเทียบกับราคาคาโดยสาร โดยการวิจัยจัดทําโดย การวัดคุณภาพการบริการ ศึกษาโดย การใชการวัดแบบ A Multiple-Items Scale การศึกษารับรูดานการบริการเมื่อคํานึงถึงคาบริการและเมื่อไมคิดถึงคาบริการ ในขณะเดียวกันก็ศึกษาปจจัยแวดลอมอื่น ๆ ที่นาจะมีผลตอการเลือกใชบริการรถประจําทางดวย กลุมตัวอยางที่ตอบแบบสอบถามคือ กลุมคนในเมืองไทเป ประเทศไตหวันและใชโปรแกรม LISREL ผลการวิจัยมีผลทางสถิติ คือราคามีผลตอการเลือกใชรถประจําทางและมีผลตอการรับรูการบริการดวย

Talvitie. (2006) ไดศึกษารูปแบบความตองการของการเดินทางไปทํางานในเมือง ซึ่งงานวิจัยนี้ไดศึกษาเพื่อพัฒนารูปแบบการเดินทางโดยรถโดยสารและรถไฟ สมมติฐานของงานวิจัยคือ การเลือกใชบริการในการเดินทางไปทํางานขึ้นอยูกับระยะเวลา ราคาคาโดยสาร จํานวนของงาน ขนาดและลักษณะสังคมเศรษฐกิจของงานที่ทํา ในการวิจัยนี้จะวิเคราะหโดยใชทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภคดานเศรษฐกิจ จากการวิจัยพบวา ความสําเร็จของการจัดการขนสงมวลชนในเมืองขึ้นอยูกับการจัดบริการที่ดี ความสําเร็จนี้สามารถยืนยันไดจากการแขงขันที่สูงขึ้นของบริษัทขนสง ราคา มีอิทธิพลไมมากนักในการตัดสินใจในการเลือกใชบริการ

Jones. (2009) ไดศึกษาขอกําหนดทางการแขงขันในการบริการรถโดยสารประจําทาง ในประเทศจาไมกา ซึ่งในการศึกษาไดแสดงถึงการปฏิบัติงานที่ไดผลดีที่สุดของโครงสรางตลาดและองคกรการขนสงรถประจําทางสาธารณะในเมืองที่มีมากวา 30 ป แสดงใหเห็นถึงความนิยมรูปแบบการขนสงแบบผสม คือ รูปแบบที่มีรัฐบาลและภาคเอกชนรวมกันรับผิดชอบใหบริการ การขนสง จากการตรวจสอบแสดงใหเห็นวามีความกาวหนา และผลการดําเนินงานที่ดี จากการ ที่รัฐบาลเขารวมบริหารในการขนสงแบบผสมนี้ ไดมีการพิจารณารูปแบบการขนสงของชิลีที่มี การพัฒนาคลายคลึงและชวงเวลาใกลเคียงกับจาไมกา เพื่อพิจารณานโยบายทางดานการตลาดพบวา สามารถเพิ่มระบบ JUTC (Jamaican Urban Transport System) ไดหรือไม

สรุปจากงานวิจัยดังกลาว ทําใหทราบถึงพฤติกรรมตาง ๆ ของผูใชบริการในธุรกิจบริการรถโดยสารปรับอากาศและปจจัยที่มีผลตอความพึงพอใจของผูใชบริการที่มีตอการบริการ ทําให มีผลตอการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจบริการรถโดยสารปรับอากาศ ซึ่งสามารถนําไปปรับปรุงและประยุกตใชในการทําวิจัยและยังสามารถเปนแนวทางในการพัฒนาธุรกิจบริการรถโดยสารปรับอากาศ เพื่อใหสามารถตอบสนองความตองการของผูใชบริการได และจากการวิจัยดังกลาวผูวิจัยไดทําการศึกษาและนํามาอางอิงในงานวิจัย ทําใหทราบถึงตัวแปรตาง ๆ ที่ตองนํามาใชในการศึกษา

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

43

ครั้งนี้ คือ ตัวแปรตน ประกอบดวย ปจจัยสวนบุคคล ซึ่งเปนตัวแปรที่ใชในการศึกษาถึงขอมูลเบื้องตนของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ไดแก เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ รายไดเฉลี่ยตอเดือน ภูมิลําเนา และพฤติกรรมการใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ซึ่งเปนตัวแปร ที่ใชในการศึกษาพฤติกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ไดแก บริษัทที่เลือกใชบริการ เหตุผลที่เลือกใชบริการรถโดยสาร ประเภทของรถโดยสาร ราคาที่ชําระ แตละครั้ง วัตถุประสงคที่เลือกใชบริการ วิธีการซื้อตั๋วและจองตั๋ว ลักษณะการซื้อตั๋ว ความถี่ในการใชบริการ ชวงเวลาที่ใชบริการ วันที่มาใชบริการรถโดยสาร ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการแหลงขอมูล บุคคลที่รวมเดินทาง และตัวแปรตาม เปนการศึกษาการเลือกใชบริการรถโดยสาร ปรับอากาศ โดยใชปจจัยทางการตลาดบริการเปนตัวตัดสินใจ ไดแก รถโดยสารปรับอากาศ ราคา ชองทางการจัดจําหนาย การสงเสริมการตลาด บุคลากร ลักษณะทางกายภาพ กระบวนการใหบริการ ผลิตภาพและคุณภาพ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

บทที่ 3

วิธีดําเนินการวิจัย

ในการศึกษา ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี มีขั้นตอนในการดําเนินการวิจัย ดังนี้

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง2. เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล3. การเก็บรวบรวมขอมูล4. การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช

ประชากรและกลุมตัวอยาง

ประชากร ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ ประชาชนที่ใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทาง

สุราษฎร-กรุงเทพฯ ประกอบดวย บริษัทขนสง จํากัด นครศรีราชาทัวร โชคอนันตทัวร ทรัพยไพศาลทัวร กรุงสยามทัวร นครศรีรมเย็นทัวร สมบัติทัวร และบัส เอ็กซเพลส

กลุมตัวอยางการกําหนดขนาดกลุมตัวอยาง เนื่องจากไมทราบจํานวนที่แนนอนของประชากรที่ใช

บริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ผูวิจัยจึงใชเกณฑกรณีที่ไมทราบขนาดของประชากร (Infinite Population) ในการกําหนดกลุมตัวอยาง จากการสุมตัวอยางที่มีคาความเชื่อมั่น รอยละ 95 ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 คํานวณหาขนาดของกลุมตัวอยางโดยใชสูตร Cochran (กัลยา วาณิชยปญญา. 2549 : 74) ดังนี้

สูตร n = 22

EP)ZP(1

เมื่อ n แทน ขนาดตัวอยางP แทน สัดสวนของประชากรที่ผูวิจัยกําลังสุม 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

45

Z แทน ระดับความเชื่อมั่นที่ผูวิจัยกําหนดไว Z มีคาเทากับ 1.96 ที่ระดับความเชื่อมั่น รอยละ 95 (ระดับ 0.05) E แทน คาความผิดพลาดสูงสุดที่เกิดขึ้น = 0.05

แทนคา n = 22

(0.05)0.5)(1.96)(0.5)(1

= 384.16

กลุมตัวอยางที่คํานวณไดมีคาเทากับ 384.16 ตัวอยาง เพื่อลดความคลาดเคลื่อนและเพื่อความเหมาะสมในการเก็บขอมูล ผูวิจัยจึงใชกลุมตัวอยางทั้งหมด เทากับ 420 คน

การสุมตัวอยางการสุมตัวอยางในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยใชวิธีสุมตัวอยางแบบสะดวก (Convenience

Sampling) เก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถามจากผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ เฉพาะบริษัทและเที่ยวรถที่มีตนทางขึ้นรถโดยสารปรับอากาศ ณ สถานีขนสงจังหวัด สุราษฎรธานี โดยทําการเก็บขอมูลในวันจันทร-วันอาทิตย ใชวิธีกําหนดตามสัดสวนวันละ 15 ชุด แบงเปน 2 ชวงเวลา คือ ชวงเวลาเชา - เที่ยง จํานวน 5 ชุด และชวงเวลาบาย - เย็น จํานวน 10 ชุด โดยใชเวลาเก็บ 4 สัปดาหในเดือนมกราคม 2553 จนครบจํานวนกลุมตัวอยางทั้งสิ้นรวม 420 ชุด ดังตารางที่ 3.1

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

46

ตารางที่ 3.1 การเก็บรวบรวมขอมูลในชวงวันและเวลาตาง ๆ

วันเวลา

รวมเชา - เที่ยง07.30 - 11.00 น.

จํานวนชุด

บาย - เย็น13.00-20.30 น.

จํานวนชุด

จันทร-

อาทิตย

07.30 น. สมบัติทัวร

35

13.00 น. ทรัพยไพศาลทัวร

70

08.45 น. นครศรีราชาทัวร บัส เอ็กซเพลส09.00 น. บริษัทขนสง จํากัด 17.00 น. บัส เอ็กซเพลส

บัส เอ็กซเพลส 19.00 น. นครศรีราชาทัวร09.15 น. โชคอนันตทัวร ทรัพยไพศาลทัวร09.45 น. กรุงสยามทัวร กรุงสยามทัวร10.00 น. ทรัพยไพศาลทัวร บัส เอ็กซเพลส11.00 น. นครศรีราชาทัวร 19.15 น. โชคอนันตทัวร

นครศรีรมเย็นทัวร กรุงสยามทัวรบัส เอ็กซเพลส สมบัติทัวร

19.30 น. นครศรีราชาทัวรโชคอนันตทัวรกรุงสยามทัวรนครศรีรมเย็นทัวรสมบัติทัวร

20.00 น. ทรัพยไพศาลทัวรบัส เอ็กซเพลส

20.30 น. ทรัพยไพศาลทัวรสัปดาหที่ 1 35 70 105สัปดาหที่ 2 35 70 105สัปดาหที่ 3 35 70 105สัปดาหที่ 4 35 70 105

รวมทั้งสิ้น 420ที่มา : บริษัทขนสง จํากัด. 2552

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

47

เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลในการศึกษาครั้งนี้เปนแบบสอบถามที่ผูวิจัย สรางขึ้น โดยคนควาและสังเคราะหจากหนังสือและเอกสารตาง ๆ และบูรณาการจากแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ ซึ่งแบงเปน 4 ตอน ดังตอไปนี้

ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับปจจัยสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม เปนคําถามแบบเลือกตอบ (Check List) จํานวน 7 ขอ ประกอบดวย เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ รายไดเฉลี่ยตอเดือน และภูมิลําเนา

ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี แบบสอบถามมีลักษณะเปนแบบเลือกตอบ (Check List) จํานวน 13 ขอ

ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี มีจํานวน 40 ขอ โดยคําถามจะเปนแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) ใหคะแนนเปนรายขอมีคําตอบใหเลือก 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย และนอยที่สุด ซึ่งมีเกณฑที่กําหนดใหคะแนนคําตอบแบบสอบถามในแตละระดับ (อภินันท จันตะนี.2547 : 98) ดังนี้

มากที่สุด ให 5 คะแนนมาก ให 4 คะแนนปานกลาง ให 3 คะแนนนอย ให 2 คะแนนนอยที่สุด ให 1 คะแนน

คาเฉลี่ยที่ไดนํามาแปลความหมาย (ประคอง กรรณสูตร. 2547 : 63) มีดังนี้คาเฉลี่ย ระดับความสําคัญ4.51 - 5.00 หมายถึง มากที่สุด3.50 - 4.50 หมายถึง มาก2.50 - 3.49 หมายถึง ปานกลาง1.50 - 2.49 หมายถึง นอย1.00 - 1.49 หมายถึง นอยที่สุด

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

48

กรณีพบความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิต 0.05 จะทําการทดสอบความสัมพันธดวยสถิติ Cramer’s V โดยใชเกณฑการวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. 2543: 348) ดังนี้

คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ 0.71 - 0.99 หมายความวา มีความสัมพันธระดับสูงคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ 0.31 - 0.70 หมายความวา มีความสัมพันธ ระดับ

ปานกลางคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ 0.01 - 0.30 หมายความวา มีความสัมพันธระดับต่ํา

ตอนที่ 4เปนแบบสอบถามปลายเปดเกี่ยวกับขอคิดเห็นและขอเสนอแนะอื่น ๆขั้นตอนการสรางเครื่องมือวิจัยแบบสอบถามที่ใชเปนเครื่องมือในการรวบรวมขอมูลครั้งนี้ ผูวิจัยดําเนินการสรางตาม

ขั้นตอน ดังนี้1. ศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อนํามาใชเปนแนวทางในการสราง

แบบสอบถาม2. นําแบบสอบถามที่สรางขึ้น เสนอตอคณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธและ

ผูทรงคุณวุฒิตรวจสอบความถูกตอง และเสนอเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงแกไขใหถูกตองกอนนําไปใช3. นําแบบสอบถามที่ไดรับการปรับปรุงแกไขใหถูกตองแลวไปทดลองเก็บขอมูล

จากผูใชบริการที่ไมใชกลุมตัวอยางดังกลาว จํานวน 40 ชุด 4. ทําการตรวจสอบแบบสอบถามและปรับปรุงแบบสอบถามใหถูกตองสมบูรณ

กอนนําไปใชจริงการทดสอบเครื่องมือการวิจัยครั้งนี้ไดกําหนดวิธีการทดลองเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ดังนี้

1. หาความเที่ยงตรง (Validity) ของเครื่องมือ โดยนําแบบสอบถามที่สรางขึ้น ไปใหผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 3 ทาน ตรวจสอบความเที่ยงตรงและความเหมาะสมของเนื้อหา จากนั้นนําแบบสอบถามมาปรับปรุงแกไขเสนอตอคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธเพื่อทําการตรวจสอบอีกครั้งหนึ่ง

2. หาความเชื่อมั่น (Reliability) โดยนําแบบสอบถามที่ไดรับการปรับปรุงแลว ไปหาคาความเชื่อมั่น โดยใชวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟา ( - Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach) โดยนําไปทดสอบกับผูใชบริการที่ไมใชกลุมตัวอยาง จํานวน 40 ชุด ไดคาความเชื่อมั่น 0.9016

3. นําแบบสอบถามที่ไดหาคาความเที่ยงตรงและหาคาความเชื่อมั่นมาปรับปรุงแกไข เพื่อใหแบบสอบถามมีความสมบูรณและครอบคลุมเนื้อหามากขึ้น และนํามาใชในการเก็บรวบรวมขอมูลกับประชากรและกลุมตัวอยางที่ศึกษาตอไป

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

49

การเก็บรวบรวมขอมูล

การเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อนํามาวิเคราะหนั้น ผูวิจัยไดเก็บรวบรวมขอมูลตามขั้นตอน ดังตอไปนี้

1. ผูวิจัยไดติดตอบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี เพื่อขอหนังสือแนะนําตัวจากทางมหาวิทยาลัย เพื่อขอขอมูลและขออนุญาตจากหนวยงานที่เกี่ยวของในการวิจัยครั้งนี้

2. ผูวิจัยเตรียมแบบสอบถามใหเพียงพอกับจํานวนของกลุมตัวอยางหรือผูตอบแบบสอบถาม

3. ทําการเก็บแบบสอบถามดวยตัวเองโดยผูวิจัยทําการชี้แจงแกผูตอบแบบสอบถามใหเขาใจกับวัตถุประสงคและวิธีในการเก็บแบบสอบถามกอนลงมือแจกแบบสอบถาม

4. ผูวิจัยรวบรวมขอมูลโดยการบันทึกและตรวจสอบความสมบูรณของแบบสอบถามแตละฉบับ จากนั้นจึงวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช

เมื่อเก็บขอมูลแบบสอบถามเรียบรอยแลวผูวิจัยจะทําการตรวจสอบความสมบูรณและความถูกตองแลวนําขอมูลที่ไดนําไปวิเคราะหทางสถิติดวยเครื่องคอมพิวเตอร โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows และใชสถิติวิเคราะหขอมูล ดังนี้

1. คาสถิติ ความถี่ และรอยละ ใชวิเคราะหขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยางและพฤติกรรมการใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ

2. คาเฉลี่ย (Mean) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) ใชวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

3. ใชสถิติ t–test และ F–test และทดสอบความแตกตางรายคูดวยวิธี LSD เพื่อเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล

4. สถิติทดสอบไคสแควร (Chi - Square) และ Cramer’s V ซึ่งเปนการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

บทที่ 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

จากการศึกษาวิจัยเรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ผูวิจัยไดดําเนินการวิเคราะหขอมูลตาง ๆ ซึ่งประกอบไปดวย สาระสําคัญเกี่ยวกับสัญลักษณทางสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล การนําเสนอ ผลการวิเคราะหขอมูล และผลการวิเคราะหขอมูลตามลําดับ ดังนี้

สัญลักษณทางสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

เพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกันในการแปลความหมายของการวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดกําหนดสัญลักษณตาง ๆ และอักษรยอที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ดังนี้

X แทน คาเฉลี่ย (Mean)S.D. แทน คาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)n แทน จํานวนกลุมตัวอยางt แทน คาสถิติที่ใชทดสอบสมมติฐาน t (t-test : Independent Samples)F แทน คาสถิติที่ใชพิจารณานัยสําคัญจากการแจกแจงแบบ F (F-Distribution)df แทน คาความเปนอิสระ (Degree of Freedom)SS แทน คาผลรวมกําลังสอง (Sum of Squares)Sig. แทน นัยสําคัญทางสถิติ (Significance)MS แทน คาเฉลี่ยกําลังสอง (Mean of Squares)2 แทน คาความสัมพันธ* แทน คานัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Cramer’s V แทน คาสัมประสิทธิ์ Cramer’s V

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

51

การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล

ในสวนการนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล แบงออกเปน 6 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 แสดงการวิเคราะหขอมูลปจจัยสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม โดยวิเคราะหหาความถี่และรอยละ

ตอนที่ 2 แสดงการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสาร ปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี โดยวิเคราะหหาความถี่และรอยละ

ตอนที่ 3 แสดงการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี โดยวิเคราะหหาคาเฉลี่ย และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ตอนที่ 4 แสดงการวิเคราะหการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามปจจัยสวนบุคคลโดยทดสอบความแตกตางใชสถิติ Independent Sample t-test, One-Way Analysis of Variance (ความแปรปรวนทางเดียว) และทดสอบความแตกตางรายคูโดยวิธี Least Significant Difference (LSD)

ตอนที่ 5 แสดงการวิเคราะหความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี โดยทดสอบความสัมพันธใชสถิติไคสแควร (Chi-SquareTest) และ Cramer’s V

ตอนที่ 6 สรุปขอคิดเห็นและขอเสนอแนะเพิ่มเติม

ผลการวิเคราะหขอมูล

ตอนที่ 1 ขอมูลปจจัยสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม แสดงดวยตารางที่ 4.1

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

52

ตารางที่ 4.1 จํานวนและรอยละ ขอมูลปจจัยสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม

ปจจัยสวนบุคคลจํานวน

(n = 420)รอยละ

1. เพศ1.1 ชาย 185 44.051.2 หญิง 235 55.95

2. อายุ2.1 ไมเกิน 20 ป 133 31.672.2 21 - 30 ป 141 33.572.3 31 - 40 ป 73 17.382.4 41 - 50 ป 50 11.902.5 50 - 60 ป 17 4.052.6 มากกวา 60 ป 6 1.43

3. สถานภาพ 3.1 โสด 258 61.43

3.2 สมรส 125 29.763.3 หมาย/หยาราง 20 4.763.4 แยกกันอยู 17 4.05

4. ระดับการศึกษา 4.1 ประถมศึกษา 10 2.384.2 มัธยมศึกษาตอนตน 28 6.674.3 มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 139 33.10

4.4 ปวส./อนุปริญญา 77 18.334.5 ปริญญาตรี 119 28.334.6 สูงกวาปริญญาตรี 47 11.19

5. อาชีพ5.1 นักเรียน/นักศึกษา 172 40.955.2 รับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 42 10.00

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

53

ตารางที่ 4.1 (ตอ)

ปจจัยสวนบุคคลจํานวน

(n = 420)รอยละ

5.3 ลูกจางพนักงานบริษัท / หางราน 47 11.195.4 ธุรกิจสวนตัว /เจาของกิจการ 77 18.33

5.5 เกษตรกร 44 10.485.6 รับจางทั่วไป 25 5.955.7 อื่น ๆ ไดแก

5.8 พระภิกษุ สามเณร 7 1.675.9 พอบาน แมบาน 6 1.43

6. รายไดเฉลี่ยตอเดือน6.1 ต่ํากวา 7,500 บาท 203 48.336.2 7,500 - 15,000 บาท 114 27.146.3 15,001 - 22,500 บาท 58 13.816.4 22,501 - 30,000 บาท 37 8.816.5 มากกวา 30,000 บาท ขึ้นไป 8 1.91

7. ภูมิลําเนา7.1 อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี 156 37.147.2 อําเภออื่น ๆ ในจังหวัดสุราษฎรธานี 206 49.057.3 จังหวัดอื่น ๆ ไดแก

7.3.1 กรุงเทพมหานคร 30 7.14 7.3.2 นครศรีธรรมราช 5 1.19 7.3.3 ชุมพร 2 0.48 7.3.4 ขอนแกน 3 0.71 7.3.5 นครราชสีมา 4 0.95 7.3.6 ราชบุรี 8 1.90 7.3.7 เพชรบุรี 3 0.71 7.3.8 กระบี่ 2 0.48 7.3.9 พังงา 1 0.25

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

54

จากตารางที่ 4.1 ผลการวิเคราะหจํานวนและรอยละขอมูลปจจัยสวนบุคคล พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง อายุระหวาง 21 - 30 ป สถานภาพโสด การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. อาชีพนักเรียน/นักศึกษา รายไดเฉลี่ยตอเดือนต่ํากวา 7,500 บาท และ มีภูมิลําเนาอยูใน อําเภออื่น ๆ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

ตอนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทาง สุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี แสดงดวยตารางที่ 4.2

ตารางที่ 4.2 จํานวนและรอยละ ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

พฤติกรรมของผูใชบริการจํานวน

(n = 420)รอยละ

1. บริษัทที่เลือกใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ1.1 บริษัทขนสง จํากัด1.2 นครศรีราชาทัวร1.3 โชคอนันตทัวร1.4 ทรัพยไพศาลทัวร1.5 กรุงสยามทัวร 1.6 นครศรีรมเย็นทัวร1.7 สมบัติทัวร1.8 บัส เอ็กซเพลส

3347887649444340

7.8611.1920.9518.1011.6710.4810.249.51

2. เหตุผลที่เลือกใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ2.1 ชื่อเสียง ความนาเชื่อถือของบริษัท2.2 การใหบริการของพนักงาน2.3 สถานที่ซื้อตั๋วมีความสะดวก2.4 สภาพรถดี นั่งสะดวกสบาย2.5 อื่นๆ ไดแก การดูแลและคุณภาพ

113124691131

26.9029.5216.4326.900.25

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

55

ตารางที่ 4.2 (ตอ)

พฤติกรรมของผูใชบริการจํานวน

(n = 420)รอยละ

3. ประเภทรถโดยสารปรับอากาศที่เลือกใช 3.1 รถโดยสารปรับอากาศพิเศษ V.I.P 24 ที่นั่ง

3.2 รถโดยสารปรับอากาศพิเศษ V.I.P 32 ที่นั่ง3.3 รถโดยสารปรับอากาศชั้น 13.4 รถโดยสารปรับอากาศชั้น 2

6812715372

16.1930.2436.4317.14

4. คาโดยสารโดยเฉลี่ยตอครั้ง4.1 759 บาท4.2 569 บาท4.3 488 บาท4.4 379 บาท4.5 อื่น ๆ ไดแก

4.5.1 434 บาท4.5.2 380 บาท4.5.3 285 บาท4.5.4 245 บาท

6712114372

21410

15.9528.8134.0517.14

0.480.250.952.37

5. วัตถุประสงคที่ใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ5.1 กลับภูมิลําเนา5.2 เยี่ยมญาติ/เพื่อน5.3 การเรียน/การศึกษา5.4 ทํางาน/ติดตอธุรกิจ/คาขาย5.5 ทัศนศึกษาทองเที่ยว/พักผอน

481096078125

11.4325.9514.2918.5729.76

6. วิธีการซื้อตั๋วและจองตั๋วโดยสาร6.1 ซื้อตั๋วที่สถานีในวันที่เดินทาง6.2 ซื้อตั๋วลวงหนา ณ สถานีขายตั๋ว6.3 ซื้อ ณ จุดจําหนายของตัวแทน6.4 จองตั๋วทางโทรศัพท6.5 จองตั๋วทางอินเทอรเน็ต

108160796112

25.7138.1018.8114.522.86

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

56

ตารางที่ 4.2 (ตอ)

พฤติกรรมของผูใชบริการจํานวน

(n = 420)รอยละ

7. ลักษณะการเลือกซื้อตั๋วในการเดินทางโดยสวนใหญ7.1 ซื้อเที่ยวเดียว7.2 ซื้อตั๋วไป - กลับ

278142

66.1933.81

8. จํานวนครั้งในการเดินทางโดยรถโดยสารปรับอากาศ เฉลี่ยตอเดือน (แยกขาไป–ขากลับ)

8.1 1 ครั้ง8.2 2 ครั้ง 8.3 3 ครั้ง8.4 มากกวา 3 ครั้ง

1592121732

37.8650.484.057.61

9. ชวงเวลาที่เลือกใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ 9.1 07.00 - 11.00 น.9.2 11.01 - 15.00 น.9.3 15.01 - 19.00 น.9.4 19.01 - 21.00 น.

1501246212

35.712.8610.9550.48

10. ชวงวันที่เลือกใชบริการรถโดยสารปรับอากาศมากที่สุด10.1 จันทร – ศุกร10.2 เสาร – อาทิตย10.3 วันหยุดนักขัตฤกษ10.4 ไมแนนอน

468256236

10.9519.5213.3356.20

11. ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจเลือกใชบริการรถโดยสาร ปรับอากาศ

11.1 ตนเอง11.2 เพื่อน11.3 ญาติ11.4 คูสมรส11.5 อื่น ๆ ไดแก ผูปกครอง

20210457507

48.1024.7613.5711.901.67

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

57

ตารางที่ 4.2 (ตอ)

พฤติกรรมของผูใชบริการจํานวน

(n = 420)รอยละ

12. สวนมากหาขอมูลเพื่อการเดินทางจากแหลงใด12.1 สอบถามจากบุคคลอื่น 12.2 สอบถามจากพนักงานหรือผูใหบริการ12.3 ปายบอกเสนทางขางตัวรถ12.4 ปายประชาสัมพันธบริเวณที่พักผูโดยสาร12.5 อื่น ๆ ไดแก

12.5.1 อินเทอรเน็ต12.5.2 สอบถามจากเพื่อน

14511027125

112

34.5226.196.4329.76

2.620.48

13. บุคคลที่รวมเดินทางไปดวยเสมอ ๆ13.1 ไมมี13.2 ญาติ13.3 ครอบครัว13.4 เพื่อน13.5 อื่น ๆ ไดแก13.6 คูสมรส13.7 ผูปกครอง

1397177118

132

33.1016.9018.3328.10

3.090.48

จากตารางที่ 4.2 ผลการวิเคราะหจํานวนและรอยละดานพฤติกรรม พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญใชบริการรถโดยสารปรับอากาศของบริษัทโชคอนันตทัวร เหตุผลที่เลือกใชเพราะการใหบริการของพนักงาน ใชบริการรถโดยสารปรับอากาศชั้น 1 คาโดยสาร 488 บาท วัตถุประสงคตองการทัศนศึกษาทองเที่ยว/พักผอน การซื้อตั๋วโดยสารและจองตั๋วสวนใหญซื้อตั๋วลวงหนา ณ สถานีขายตั๋ว ลักษณะที่ซื้อซื้อเที่ยวเดียว ใชบริการ 2 ครั้งตอเดือน ใชบริการในชวงเวลา19.01 - 21.00 น. ชวงวันที่ใชบริการไมแนนอน ตัดสินใจใชบริการดวยตนเอง หาขอมูลเพื่อ การเดินทางโดยสอบถามจากบุคคลอื่น และไมมีบุคคลที่รวมเดินทาง

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

58

ตอนท่ี 3 ขอมูลเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี แสดงดวยตารางที่ 4.3 - 4.11

ตารางที่ 4.3 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี โดยรวม

ปจจัยแตละดาน X S.D. ระดับการตัดสินใจ ลําดับที่1. ดานรถโดยสารปรับอากาศ2. ดานราคา3. ดานชองทางการจัดจําหนาย4. ดานการสงเสริมการตลาด5. ดานบุคลากร6. ดานลักษณะทางกายภาพ7. ดานกระบวนการใหบริการ8. ดานผลิตภาพและคุณภาพ

3.923.853.613.563.893.893.873.87

0.500.500.540.540.590.550.560.53

มากมากมากมากมากมากมากมาก

16782345

รวม 3.81 0.44 มาก

การวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทาง สุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี โดยรวมมีผลตอการตัดสินใจในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา มีผลตอการตัดสินใจในระดับมากทุกดาน โดยเรียงลําดับจากมากไปนอย ไดแก ดานรถโดยสารปรับอากาศ ดานบุคลากร ดานลักษณะทางกายภาพ ดานกระบวนการใหบริการดานผลิตภาพและคุณภาพ ดานราคา ดานชองทางการจัดจําหนาย และดานการสงเสริมการตลาด ตามลําดับ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

59

ตารางที่ 4.4 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานรถโดยสารปรับอากาศ

ปจจัยดานรถโดยสารปรับอากาศ X S.D. ระดับการตัดสินใจ1. จํานวนรถโดยสารมีใหบริการเพียงพอ/มีรถโดยสาร

หลายประเภทใหเลือก2. รถโดยสารมีสภาพดี เครื่องยนตไมขัดของระหวาง

เดินทาง อากาศเย็นสบาย3. อุปกรณสรางความบันเทิงภายในรถ เชน ภาพยนตร

เครื่องเสียง สรางความบันเทิงใหกับผูใชบริการ4. ความสมบูรณของเบาะและพนักเกาอี้ที่ใหบริการ5. ความสะอาดภายในตัวรถโดยสาร

3.82

4.01

3.883.963.92

0.81

0.59

0.710.610.74

มาก

มาก

มากมากมาก

รวม 3.92 0.50 มาก

การวิเคราะหปจจัยดานรถโดยสารปรับอากาศที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการโดยรวมมีผลตอการตัดสินใจในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา มีผลตอการตัดสินใจ ในระดับมากทุกขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปนอย ไดแก รถโดยสารมีสภาพดี เครื่องยนตไมขัดของระหวางเดินทาง อากาศเย็นสบาย ความสมบูรณของเบาะและพนักเกาอี้ที่ใหบริการ ความสะอาดภายในตัวรถโดยสาร อุปกรณสรางความบันเทิงภายในรถ เชน ภาพยนตร เครื่องเสียง สรางความบันเทิงใหกับผูใชบริการ และจํานวนรถโดยสารมีใหบริการเพียงพอ/มีรถโดยสารหลายประเภท ใหเลือก ตามลําดับ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

60

ตารางที่ 4.5 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ดานราคา

ปจจัยดานราคา X S.D. ระดับการตัดสินใจ1. คาโดยสารมีความเหมาะสมกับระยะทาง2. ความเหมาะสมระหวางราคาและบริการที่ไดรับ3. ความคงที่ของราคาคาโดยสาร4. ราคาคาโดยสารมีหลายระดับราคาใหเลือก5. แสดงราคาคาบริการไวชัดเจน

3.923.853.843.693.95

0.650.650.680.760.75

มากมากมากมากมาก

รวม 3.85 0.50 มาก

การวิเคราะหปจจัยดานราคาที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการโดยรวมมีผลตอการตัดสินใจในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา มีผลตอการตัดสินใจในระดับมากทุกขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปนอย ไดแก การแสดงราคาคาบริการไวชัดเจน คาโดยสารมีความเหมาะสมกับระยะทาง ความเหมาะสมระหวางราคาและบริการที่ไดรับ ความคงที่ของราคาคาโดยสาร และราคาคาโดยสารมีหลายระดับราคาใหเลือก ตามลําดับ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

61

ตารางที่ 4.6 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานชองทางการจัดจําหนาย

ปจจัยดานชองทางการจัดจําหนาย X S.D. ระดับการตัดสินใจ1. ความสะดวกและงายตอการซื้อตั๋ว/จองตั๋ว/เปลี่ยนตั๋ว

/คืนตั๋ว2. การจองตั๋วทางโทรศัพท3. การจองตั๋วทางอินเทอรเน็ต4. การจําหนายตั๋วของตัวแทน5. การคนหาขอมูลการเดินทางทางอินเทอรเน็ต

3.853.763.343.773.33

0.740.760.810.780.80

มากมาก

ปานกลางมาก

ปานกลางรวม 3.61 0.54 มาก

การวิเคราะหปจจัยดานชองทางการจัดจําหนายที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการโดยรวมมีผลตอการตัดสินใจในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา มีผลตอการตัดสินใจ ในระดับมาก 3 ขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปนอย คือ ความสะดวกและงายตอการซื้อตั๋ว/จองตั๋ว/ เปลี่ยนตั๋ว/คืนตั๋ว การจําหนายตั๋วของตัวแทน การจองตั๋วทางโทรศัพท และมีผลตอการตัดสินใจ ในระดับปานกลาง 2 ขอ คือ การจองตั๋วทางอินเทอรเน็ต และการคนหาขอมูลการเดินทางทางอินเทอรเน็ต ตามลําดับ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

62

ตารางที่ 4.7 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานการสงเสริมการตลาด

ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด X S.D. ระดับการตัดสินใจ1. การมีสวนลดคาโดยสารพิเศษ เชน นักเรียน ทหาร

ตํารวจในเครื่องแบบ ผูสูงอายุ2. การใหสวนลดคาโดยสารจากการสะสมตั๋ว3. ความสะดวกในการติดตอสอบถามขอมูลการเดินทาง4. การติดตอสื่อสารผานตัวแทนจําหนาย5. การโฆษณาประชาสัมพันธหรือการเสนอขอมูล

ขาวสารที่เปนประโยชน

3.233.403.743.78

3.63

0.890.870.770.67

0.75

ปานกลางปานกลาง

มากมาก

มากรวม 3.56 0.54 มาก

การวิเคราะหปจจัยดานการสงเสริมการตลาดที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการโดยรวมมีผลตอการตัดสินใจในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา มีผลตอการตัดสินใจ ในระดับมาก 3 ขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปนอย คือ การติดตอสื่อสารผานตัวแทนจําหนาย ความสะดวกในการติดตอสอบถามขอมูลการเดินทาง การโฆษณาประชาสัมพันธหรือการเสนอขอมูลขาวสารที่เปนประโยชน และมีผลตอการตัดสินใจในระดับปานกลาง 2 ขอ คือ การใหสวนลดคาโดยสารจากการสะสมตั๋ว และการมีสวนลดคาโดยสารพิเศษ เชน นักเรียน ทหาร ตํารวจ ในเครื่องแบบ ผูสูงอายุ ตามลําดับCop

yrigh

t : S

urat

than

i Raja

bhat

Univ

ersit

y

63

ตารางที่ 4.8 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานบุคลากร

ปจจัยดานบุคลากร X S.D. ระดับการตัดสินใจ1. พนักงานจําหนายตั๋วใหบริการดวยความเต็มใจ

ยิ้มแยม แจมใส2. พนักงานใหบริการดวยความเสมอภาคทุกระดับ

อยางเทาเทียมกัน3. พนักงานใหบริการดวยความกระตือรือรนและ

เอาใจใสผูใชบริการ4. พนักงานขับรถขับขี่ดวยอัตราความเร็วที่เหมาะสม

ปฏิบัติตามกฎจราจร5. การแตงกายของพนักงานขับรถ พนักงานประจํารถ

สุภาพเรียบรอยในขณะปฏิบัติหนาที่

3.96

3.80

3.83

3.91

3.95

0.79

0.81

0.75

0.69

0.72

มาก

มาก

มาก

มาก

มากรวม 3.89 0.59 มาก

การวิเคราะหปจจัยดานบุคลากรที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการโดยรวมมีผลตอการตัดสินใจในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา มีผลตอการตัดสินใจในระดับมากทุกขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปนอย ไดแก พนักงานจําหนายตั๋วใหบริการดวยความเต็มใจ ยิ้มแยมแจมใส การแตงกายของพนักงานขับรถและพนักงานประจํารถสุภาพเรียบรอยในขณะปฏิบัติหนาที่พนักงานขับรถขับขี่ดวยอัตราความเร็วที่เหมาะสม ปฏิบัติตามกฎจราจร พนักงานใหบริการดวยความกระตือรือรนและเอาใจใสผูใชบริการ และพนักงานใหบริการดวยความเสมอภาคทุกระดับอยางเทาเทียมกัน ตามลําดับ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

64

ตารางที่ 4.9 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานลักษณะทางกายภาพ

ปจจัยดานลักษณะทางกายภาพ X S.D. ระดับการตัดสินใจ1. สถานที่จอดรถในการซื้อตั๋ว/จองตั๋วมีความสะดวก2. บริเวณที่พักผูโดยสารกวางขวางเพียงพอ ไมแออัด3. ปายชื่อบริษัทจําหนายตั๋วติดไวอยางชัดเจน4. ปายชื่อบอกประเภทรถสําหรับขึ้นรถโดยสารติดไว

อยางชัดเจน5. ความเปนระเบียบเรียบรอย ความสะอาดของจุดพักรถ

รานจําหนายสินคาและหองสุขา

3.953.923.94

3.79

3.83

0.750.690.74

0.75

0.73

มากมากมาก

มาก

มากรวม 3.89 0.55 มาก

การวิเคราะหปจจัยดานลักษณะทางกายภาพที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการโดยรวมมีผลตอการตัดสินใจในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา มีผลตอการตัดสินใจ ในระดับมากทุกขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปนอย ไดแก สถานที่จอดรถในการซื้อตั๋ว/จองตั๋ว มีความสะดวก ปายชื่อบริษัทจําหนายตั๋วติดไวอยางชัดเจน บริเวณที่พักผูโดยสารกวางขวาง เพียงพอไมแออัด ความเปนระเบียบเรียบรอย ความสะอาดของจุดพักรถ รานจําหนายสินคาและหองสุขาและปายชื่อบอกประเภทรถสําหรับขึ้นรถโดยสารติดไวอยางชัดเจน ตามลําดับ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

65

ตารางที่ 4.10 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานกระบวนการใหบริการ

ปจจัยดานกระบวนการใหบริการ X S.D. ระดับการตัดสินใจ1. การบริการที่เปนมาตรฐานเปดบริการทุกวัน2. ตารางเวลาเดินรถแนนอนไมเปลี่ยนแปลงบอย3. ความตรงตอเวลารถเขา - ออก4. การบริการรับฝากสัมภาระกอนขึ้นรถโดยสาร5. การดูแลสัมภาระที่ผูโดยสารนําติดตัวในการเดินทาง

เปนอยางดี

4.143.993.893.70

3.61

0.760.730.760.70

0.69

มากมากมากมาก

มากรวม 3.87 0.56 มาก

การวิเคราะหปจจัยดานกระบวนการใหบริการที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการโดยรวมมีผลตอการตัดสินใจในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา มีผลตอการตัดสินใจ ในระดับมากทุกขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปนอย ไดแก การบริการที่เปนมาตรฐาน เปดบริการ ทุกวัน ตารางเวลาเดินรถแนนอนไมเปลี่ยนแปลงบอย ความตรงตอเวลารถเขา - ออก การบริการ รับฝากสัมภาระกอนขึ้นรถโดยสาร และการดูแลสัมภาระที่ผูโดยสารนําติดตัวในการเดินทาง เปนอยางดี ตามลําดับ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

66

ตารางที่ 4.11 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานผลิตภาพและคุณภาพ

ปจจัยดานผลิตภาพและคุณภาพ X S.D. ระดับการตัดสินใจ1. บริษัทมีการบริการที่ดีกวาบริษัทอื่น2. ความปลอดภัยจากอุบัติเหตุในขณะการเดินทาง3. ความรูสึกมั่นใจและความเชื่อมั่นตอบริษัทเดินรถ4. ความจงรักภักดีตอบริษัทเดินรถ5. ภาพพจนและชื่อเสียงของบริษัทเปนที่รูจัก

3.903.983.873.653.94

0.750.630.710.700.73

มากมากมากมากมาก

รวม 3.87 0.53 มาก

การวิเคราะหปจจัยดานผลิตภาพและคุณภาพที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการโดยรวมมีผลตอการตัดสินใจในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา มีผลตอการตัดสินใจ ในระดับมากทุกขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปนอย ไดแก ความปลอดภัยจากอุบัติเหตุในขณะ การเดินทาง ภาพพจนและชื่อเสียงของบริษัทเปนที่รูจัก บริษัทมีการบริการที่ดีกวาบริษัทอื่นความรูสึกมั่นใจและความเชื่อมั่นตอบริษัทเดินรถ และความจงรักภักดีตอบริษัทเดินรถ ตามลําดับ

ตอนที่ 4 การเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสาร ปรับอากาศ เสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล

โดยมีสมมติฐานขอที่ 1 เพื่อการทดสอบ ดังนี้ H0 : ปจจัยสวนบุคคลตางกันไมมีผลทําใหปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ

โดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีตางกันH1 : ปจจัยสวนบุคคลที่ตางกันมีผลทําใหปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ

รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

67

ตารางที่ 4.12 เปรียบเทียบความแตกตางปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามเพศ

ปจจัยแตละดานชาย (n = 185) หญิง (n = 235)

t Sig.X S.D. X S.D.

1. ดานรถโดยสารปรับอากาศ2. ดานราคา3. ดานชองทางการจัดจําหนาย4. ดานการสงเสริมการตลาด5. ดานบุคลากร6. ดานลักษณะทางกายภาพ7. ดานกระบวนการใหบริการ8. ดานผลิตภาพและคุณภาพ

3.943.893.603.583.973.943.903.91

0.520.520.570.590.610.560.590.51

3.903.823.823.543.833.843.843.84

0.480.520.510.500.560.550.530.54

0.8351.316-0.5800.7052.3481.7461.1711.386

0.6010.1420.100

0.039*0.2410.9350.0860.362

รวม 3.84 0.46 3.78 0.43 1.746 0.594*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.12 ผลการเปรียบเทียบระหวางปจจัยสวนบุคคลกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามเพศ พบวา ผูใชบริการที่มีเพศตางกันมีผลตอปจจัยการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี โดยรวมไมแตกตางกัน เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา เพศตางกันมีผลตอการสงเสริมการตลาดที่แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

68

ตารางที่ 4.13 เปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามอายุ

ปจจัยแตละดานแหลงความแปรปรวน

SS df MS F Sig.

1. ดานรถโดยสารปรับอากาศ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

2.295102.015104.310

5414419

0.4590.246

1.863 0.100

2. ดานราคา ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

1.980102.670104.649

5414419

0.3960.248

1.596 0.160

3. ดานชองทางการจัดจําหนาย ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

4.542116.709121.251

5414419

0.9080.282

3.222 0.007*

4. ดานการสงเสริมการตลาด ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

4.991117.312122.302

5414419

0.9980.283

3.522 0.004*

5. ดานบุคลากร ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

3.817141.636145.452

5414419

0.7630.342

2.231 0.050*

6. ดานลักษณะทางกายภาพ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

3.130125.779128.908

5414419

0.6260.304

2.060 0.069

7. ดานกระบวนการใหบริการ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

1.369129.057130.426

5414419

0.2740.312

0.879 0.495

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

69

ตารางที่ 4.13 (ตอ)

ปจจัยแตละดานแหลงความแปรปรวน

SS df MS F Sig.

8. ดานผลิตภาพและคุณภาพ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

1.735114.702116.438

5414419

0.3470.277

1.253 0.284

รวม ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

1.93880.03881.977

5414419

0.3880.193

2.005 0.077

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.13 ผลการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามอายุ พบวา โดยรวม ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายดานพบวา แตกตางกัน 3 ดาน ไดแก ดานชองทางการจัดจําหนาย ดานการสงเสริมการตลาด และดานบุคลากร แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนดานอื่น ๆ ไมแตกตางกันจึงเปรียบเทียบเปนรายคูโดยใชสถิติ Least Significant Difference (LSD) ดังแสดงไวในตารางที่ 4.14 - 4.16

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

70

ตารางที่ 4.14 เปรียบเทียบดานชองทางการจัดจําหนาย จําแนกตามอายุรายคู

อายุ Xไมเกิน 20 ป 21 - 30 ป 31 - 40 ป 41 - 50 ป 50 - 60 ป มากกวา 60 ป

3.68 3.63 3.60 3.57 3.26 3.10ไมเกิน 20 ป21 - 30 ป31 - 40 ป41 - 50 ป50 - 60 ปมากกวา 60 ป

3.683.633.603.573.263.10

0.41 0.290.71

0.190.470.29

0.00*0.01*0.02*0.04*

0.01*0.02*0.03*0.04*0.53

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.14 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ดานชองทางการจัดจําหนาย จําแนกตามอายุรายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 8 คู ไดแก ผูใชบริการ ที่มีอายุไมเกิน 20 ป ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมอายุ 50 - 60 ป และกลุมอายุมากกวา 60 ป สวนผูใชบริการที่มีอายุ 21 - 30 ป ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวา กลุมอายุ 50 - 60 ป และกลุมอายุมากกวา 60 ป สวนผูใชบริการที่มีอายุ 31 - 40 ป ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมอายุ 50 - 60 ป และกลุมอายุมากกวา 60 ป สวนผูใชบริการที่มีอายุ 41 - 50 ป ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมอายุ 50 - 60 ป และกลุมอายุมากกวา 60 ป แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

71

ตารางที่ 4.15 เปรียบเทียบดานการสงเสริมการตลาด จําแนกตามอายุรายคู

อายุ Xไมเกิน 20 ป 21 - 30 ป 31 - 40 ป 41 - 50 ป 50 - 60 ป มากกวา 60 ป

3.61 3.52 3.69 3.49 3.14 3.57ไมเกิน 20 ป21 - 30 ป31 - 40 ป41 - 50 ป50 - 60 ปมากกวา 60 ป

3.613.523.693.493.143.57

0.15 0.31 0.03*

0.190.78

0.05*

0.00*0.01*0.00*0.02*

0.850.820.590.750.09

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.15 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ดานการสงเสริมการตลาด จําแนกตามอายุรายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 6 คู ไดแก ผูใชบริการที่มีอายุไมเกิน 20 ป ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมอายุ 50 - 60 ป สวนผูใชบริการ ที่มีอายุ 21 - 30 ป ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมอายุ 31 - 40 ป และกลุมอายุ 50 - 60 ป สวนผูใชบริการที่มีอายุ 31 - 40 ป ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมอายุ 50 - 60 ป สวนผูใชบริการที่มีอายุ 41 - 50 ป ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมอายุ 41 - 50 ป และกลุมอายุ 50 - 60 ป แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

72

ตารางที่ 4.16 เปรียบเทียบดานบุคลากรจําแนกตามอายุรายคู

อายุ Xไมเกิน 20 ป 21 - 30 ป 31 - 40 ป 41 - 50 ป 50 - 60 ป มากกวา 60 ป

3.84 3.90 4.07 3.76 3.80 4.00ไมเกิน 20 ป21 - 30 ป31 - 40 ป41 - 50 ป50 - 60 ปมากกวา 60 ป

3.843.904.073.763.804.00

0.37 0.01*0.05*

0.420.14

0.00*

0.800.500.090.81

0.510.690.770.340.47

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.16 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ดานบุคลากร จําแนกตามอายุรายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 3 คู ไดแก ผูใชบริการที่มีอายุไมเกิน 20 ป ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมอายุ 31 - 40 ป สวนผูใชบริการที่มีอายุ 21 - 30 ป ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุม 31 - 40 ป สวนผูใชบริการที่มีอายุ 31 - 40 ป ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุม 41 - 50 ป แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

73

ตารางที่ 4.17 การวิเคราะหความแปรปรวนปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามสถานภาพ

ปจจัยแตละดานแหลงความแปรปรวน

SS df MS F Sig.

1. ดานรถโดยสารปรับอากาศ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

2.602101.708104.310

3416419

0.8670.244

3.548 0.015*

2. ดานราคา ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

1.773102.876104.649

3416419

0.5910.247

2.390 0.068

3. ดานชองทางการจัดจําหนาย ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

7.800113.450121.251

3416419

2.6000.273

9.534 0.000*

4. ดานการสงเสริมการตลาด ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

4.549117.754122.302

3416419

1.5160.283

5.356 0.001*

5. ดานบุคลากร ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

2.513142.940145.452

3416419

0.8380.344

2.438 0.064

6. ดานลักษณะทางกายภาพ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

2.978125.930128.908

3416419

0.9930.303

3.280 0.021*

7. ดานกระบวนการใหบริการ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

0.605129.821130.426

3416419

0.2020.312

0.646 0.586

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

74

ตารางที่ 4.17 (ตอ)

ปจจัยแตละดานแหลงความแปรปรวน

SS df MS F Sig.

8. ดานผลิตภาพและคุณภาพ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

2.374114.064116.438

3416419

0.7910.274

2.886 0.035*

รวม ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

2.60179.37681.977

3416419

0.8670.191

4.544 0.004*

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.17 ผลการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามอายุ พบวา โดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายดานพบวา แตกตางกัน 5 ดาน ไดแก ดานรถโดยสารปรับอากาศ ดานชองทางการจัดจําหนาย ดานการสงเสริมการตลาด ดานลักษณะ ทางกายภาพ และดานผลิตภาพและคุณภาพ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนดานอื่น ๆ ไมแตกตางกันจึงเปรียบเทียบเปนรายคูโดยใชสถิติ Least Significant Difference (LSD) ดังแสดงไวในตารางที่ 4.18 - 4.23

ตารางที่ 4.18 เปรียบเทียบดานรถโดยสารปรับอากาศ จําแนกตามสถานภาพรายคู

สถานภาพ Xโสด สมรส หมาย/หยาราง แยกกันอยู3.94 3.94 3.68 3.65

โสดสมรสหมาย/หยารางแยกกันอยู

3.943.943.683.65

0.99 0.02*0.03*

0.02*0.02*0.84

*Sig. < 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

75

จากตารางที่ 4.18 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานรถโดยสารปรับอากาศ จําแนกตามสถานภาพรายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 4 คู ไดแกผูใชบริการที่มีสถานภาพโสด ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีสถานภาพหมาย/หยาราง และสถานภาพแยกกันอยู สวนผูใชบริการที่มีสถานภาพสมรส ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีสถานภาพหมาย/หยาราง และสถานภาพแยกกันอยู แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

ตารางที่ 4.19 เปรียบเทียบดานชองทางการจัดจําหนาย จําแนกตามสถานภาพรายคู

สถานภาพ Xโสด สมรส หมาย/หยาราง แยกกันอยู3.66 3.64 3.23 3.12

โสดสมรสหมาย/หยารางแยกกันอยู

3.663.643.233.12

0.76 0.00*0.00*

0.00*0.00*

0.51

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.19 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานชองทางการจัดจําหนาย จําแนกตามสถานภาพรายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 4 คู ไดแกผูใชบริการที่มีสถานภาพโสด ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีสถานภาพหมาย /หยาราง และสถานภาพแยกกันอยู สวนผูใชบริการที่มีสถานภาพสมรส ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมสถานภาพหมาย/หยาราง และสถานภาพแยกกันอยู แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

76

ตารางที่ 4.20 เปรียบเทียบดานการสงเสริมการตลาด จําแนกตามสถานภาพรายคู

สถานภาพ Xโสด สมรส หมาย/หยาราง แยกกันอยู3.61 3.54 3.32 3.16

โสดสมรสหมาย/หยารางแยกกันอยู

3.613.543.323.16

0.21 0.02* 0.09

0.00*0.01*

0.38

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.20 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานการสงสริมการตลาด จําแนกตามสถานภาพรายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 3 คู ไดแก ผูใชบริการที่มีสถานภาพโสด ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีสถานภาพหมาย/หยาราง และสถานภาพแยกกันอยู สวนผูใชบริการที่มีสถานภาพสมรส ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีสถานภาพแยกกันอยู แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

ตารางที่ 4.21 เปรียบเทียบดานลักษณะทางกายภาพ จําแนกตามสถานภาพรายคู

สถานภาพ Xโสด สมรส หมาย/หยาราง แยกกันอยู3.88 3.96 3.60 3.69

โสดสมรสหมาย/หยารางแยกกันอยู

3.883.963.603.69

0.19 0.03*0.01*

0.170.060.60

*Sig. < 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

77

จากตารางที่ 4.21 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานลักษณะทางกายภาพ จําแนกตามสถานภาพรายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 2 คู ไดแก ผูใชบริการที่มีสถานภาพโสด ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีสถานภาพหมาย/หยาราง สวนผูใชบริการที่มีสถานภาพสมรส ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีสถานภาพหมาย/หยาราง แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

ตารางที่ 4.22 เปรียบเทียบดานผลิตภาพและคุณภาพ จําแนกตามสถานภาพรายคู

สถานภาพ Xโสด สมรส หมาย/หยาราง แยกกันอยู3.88 3.92 3.59 3.69

โสดสมรสหมาย/หยารางแยกกันอยู

3.883.923.593.69

0.54 0.02*0.01*

0.160.100.55

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.22 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานผลิตภาพและคุณภาพ จําแนกตามสถานภาพรายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 2 คู ไดแก ผูใชบริการที่มีสถานภาพโสด ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีสถานภาพหมาย/หยาราง สวนผูใชบริการที่มีสถานภาพสมรส ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีสถานภาพหมาย/หยาราง แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่นไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

78

ตารางที่ 4.23 เปรียบเทียบโดยรวมทุกดาน จําแนกตามสถานภาพรายคู

สถานภาพ Xโสด สมรส หมาย/หยาราง แยกกันอยู3.82 3.84 3.56 3.55

โสดสมรสหมาย/หยารางแยกกันอยู

3.823.843.563.55

0.70 0.01*0.01*

0.01*0.01*

0.95

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.23 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีโดยรวมทุกดาน จําแนกตามสถานภาพรายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 4 คู ไดแก ผูใชบริการที่มีสถานภาพโสด ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีสถานภาพหมาย/หยาราง และสถานภาพแยกกันอยู สวนผูใชบริการที่มีสถานภาพสมรส ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีสถานภาพหมาย/หยาราง และสถานภาพแยกกันอยู แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

79

ตารางที่ 4.24 การวิเคราะหความแปรปรวนปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีจําแนกตามระดับการศึกษา

ปจจัยแตละดานแหลงความแปรปรวน

SS df MS F Sig.

1. ดานรถโดยสารปรับอากาศ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

10.52193.789

104.310

5414419

2.1040.227

9.288 0.000*

2. ดานราคา ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

7.62197.028

104.649

5414419

1.5240.234

6.504 0.000*

3. ดานชองทางการจัดจําหนาย ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

2.840118.411121.251

5414419

0.5680.286

1.986 0.080

4. ดานการสงเสริมการตลาด ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

4.522117.780122.302

5414419

0.9040.284

3.179 0.008*

5. ดานบุคลากร ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

11.417134.035145.452

5414419

2.2830.324

7.053 0.000*

6. ดานลักษณะทางกายภาพ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

8.468120.440128.908

5414419

1.6940.291

5.822 0.000*

7. ดานกระบวนการใหบริการ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

12.510117.916130.426

5414419

2.5020.285

8.785 0.000*

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

80

ตารางที่ 4.24 (ตอ)

ปจจัยแตละดานแหลงความแปรปรวน

SS df MS F Sig.

8. ดานผลิตภาพและคุณภาพ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

12.403104.034116.438

5414419

2.4810.251

9.872 0.000*

รวม ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

7.84674.13181.977

5414419

1.5690.179

8.764 0.000*

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.24 ผลการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามอายุ พบวา โดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายดานพบวา แตกตางกัน 7 ดาน ไดแก ดานรถโดยสารปรับอากาศ ดานราคา ดานการสงเสริมการตลาด ดานบุคลากร ดานลักษณะทางกายภาพ ดานกระบวนการใหบริการ และดานผลิตภาพและคุณภาพ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนดานอื่น ๆ ไมแตกตางกันจึงเปรียบเทียบเปนรายคูโดยใชสถิติ Least Significant Difference (LSD) ดังแสดงไวในตารางที่ 4.25 - 4.32

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

81

ตารางที่ 4.25 เปรียบเทียบดานรถโดยสารปรับอากาศ จําแนกตามระดับการศึกษารายคู

สถานภาพ Xประถมศึกษา

ม.ตนม.ปลาย/

ปวช.ปวส./

อนุปริญญาปริญญาตรี

สูงกวาปริญญาตรี

3.86 3.82 3.82 3.72 4.09 4.14ประถมศึกษาม.ตนม.ปลาย/ปวช.ปวส. /อนุปริญญาปริญญาตรีสูงกวาปริญญาตรี

3.863.823.823.724.094.14

0.81 0.390.340.14

0.01*0.00*0.00*

0.01*0.00*0.00*0.57

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.25 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานรถโดยสารปรับอากาศ จําแนกตามระดับการศึกษารายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 6 คู ไดแกผูใชบริการที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนตน ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี และระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี สวนผูใชบริการที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี และระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี สวนผูใชบริการที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาปวส./อนุปริญญา ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี และระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

82

ตารางที่ 4.26 เปรียบเทียบดานราคา จําแนกตามระดับการศึกษารายคู

สถานภาพ Xประถมศึกษา

ม.ตนม.ปลาย/

ปวช.ปวส./

อนุปริญญาปริญญาตรี

สูงกวาปริญญาตรี

3.88 3.94 3.75 3.68 4.01 3.98ประถมศึกษาม.ตนม.ปลาย/ปวช.ปวส. /อนุปริญญาปริญญาตรีสูงกวาปริญญาตรี

3.883.943.753.684.013.98

0.42 0.21 0.01*

0.26 0.53

0.00*0.00*

0.01*0.00*0.74

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.26 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานราคา จําแนกตามระดับการศึกษารายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 5 คู ไดแก ผูใชบริการที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนตน ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญา สวนผูใชบริการที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี และระดับการศึกษา สูงกวาปริญญาตรี สวนผูใชบริการที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาปวส./อนุปริญญา ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี และระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกันCop

yrigh

t : S

urat

than

i Raja

bhat

Univ

ersit

y

83

ตารางที่ 4.27 เปรียบเทียบดานการสงเสริมการตลาด จําแนกตามระดับการศึกษารายคู

สถานภาพ Xประถมศึกษา

ม.ตนม.ปลาย/

ปวช.ปวส./

อนุปริญญาปริญญาตรี

สูงกวาปริญญาตรี

3.32 3.64 3.58 3.37 3.62 3.67ประถมศึกษาม.ตนม.ปลาย/ปวช.ปวส. /อนุปริญญาปริญญาตรีสูงกวาปริญญาตรี

3.323.643.583.373.623.67

0.140.60 0.02*

0.01*0.870.55

0.00*0.31

0.00*0.58

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.27 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานการสงเสริมการตลาด จําแนกตามระดับการศึกษารายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 4 คู ไดแกผูใชบริการที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนตน ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวา กลุมที่มีระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญา สวนผูใชบริการที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญา สวนผูใชบริการที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาปวส./อนุปริญญา ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี และการศึกษาระดับสูงกวาปริญญาตรี แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกันCop

yrigh

t : S

urat

than

i Raja

bhat

Univ

ersit

y

84

ตารางที่ 4.28 เปรียบเทียบดานบุคลากร จําแนกตามระดับการศึกษารายคู

สถานภาพ Xประถมศึกษา

ม.ตนม.ปลาย/

ปวช.ปวส./

อนุปริญญาปริญญาตรี

สูงกวาปริญญาตรี

3.98 3.89 3.80 3.64 4.08 4.07ประถมศึกษาม.ตนม.ปลาย/ปวช.ปวส. /อนุปริญญาปริญญาตรีสูงกวาปริญญาตรี

3.983.893.803.644.084.07

0.350.45 0.05*

0.05*0.13

0.00* 0.00*

0.01*0.00*

0.97

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.28 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานบุคลากร จําแนกตามระดับการศึกษารายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 6 คู ไดแก ผูใชบริการที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนตน ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญา สวนผูใชบริการที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญา ระดับการศึกษาปริญญาตรี และระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี สวนผูใชบริการที่มีระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญาที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี และระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกันCop

yrigh

t : S

urat

than

i Raja

bhat

Univ

ersit

y

85

ตารางที่ 4.29 เปรียบเทียบดานลักษณะทางกายภาพ จําแนกตามระดับการศึกษารายคู

สถานภาพ Xประถมศึกษา

ม.ตนม.ปลาย/

ปวช.ปวส./

อนุปริญญาปริญญาตรี

สูงกวาปริญญาตรี

3.92 3.95 3.80 3.68 4.06 4.00ประถมศึกษาม.ตนม.ปลาย/ปวช.ปวส. /อนุปริญญาปริญญาตรีสูงกวาปริญญาตรี

3.923.953.803.684.064.00

0.490.18 0.02*

0.12 0.00*0.00*

0.03* 0.00*

0.55

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.29 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานลักษณะทางกายภาพ จําแนกตามระดับการศึกษารายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 5 คู ไดแกผูใชบริการที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนตน ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญา สวนผูใชบริการที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี และระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี สวนผูใชบริการที่มีระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญา ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี และระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกันCop

yrigh

t : S

urat

than

i Raja

bhat

Univ

ersit

y

86

ตารางที่ 4.30 เปรียบเทียบดานกระบวนการใหบริการ จําแนกตามระดับการศึกษารายคู

สถานภาพ Xประถมศึกษา

ม.ตนม.ปลาย/

ปวช.ปวส./

อนุปริญญาปริญญาตรี

สูงกวาปริญญาตรี

3.86 3.94 3.78 3.59 4.06 4.02ประถมศึกษาม.ตนม.ปลาย/ปวช.ปวส. /อนุปริญญาปริญญาตรีสูงกวาปริญญาตรี

3.863.943.783.594.064.02

0.650.16 0.00*

0.01* 0.00*0.00*

0.01* 0.00*

0.66

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.30 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานกระบวนการใหบริการ จําแนกตามระดับการศึกษารายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 6 คู ไดแกผูใชบริการที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนตน ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวา กลุมที่มีระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญา สวนผูใชบริการที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญา ระดับการศึกษาปริญญาตรี และระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี สวนผูใชบริการที่มีระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญา ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรีและระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

87

ตารางที่ 4.31 เปรียบเทียบดานผลิตภาพและคุณภาพ จําแนกตามระดับการศึกษารายคู

สถานภาพ Xประถมศึกษา

ม.ตนม.ปลาย/

ปวช.ปวส./

อนุปริญญาปริญญาตรี

สูงกวาปริญญาตรี

3.86 4.02 3.78 3.60 4.03 4.07ประถมศึกษาม.ตนม.ปลาย/ปวช.ปวส. /อนุปริญญาปริญญาตรีสูงกวาปริญญาตรี

3.864.023.783.604.034.07

0.38 0.640.02* 0.00*

0.01* 0.00*0.00*

0.00* 0.00*

0.63

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.31 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานผลิตภาพและคุณภาพ จําแนกตามระดับการศึกษารายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 7 คู ไดแกผูใชบริการที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนตน ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวา กลุมที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย /ปวช. และระดับการศึกษาปวส. /อนุปริญญา สวนผูใชบริการที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญา ระดับการศึกษาปริญญาตรี และระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี สวนผูใชบริการที่มีระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญา ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี และระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

88

ตารางที่ 4.32 เปรียบเทียบโดยรวมทุกดาน จําแนกตามระดับการศึกษารายคู

สถานภาพ Xประถมศึกษา

ม.ตนม.ปลาย/

ปวช.ปวส./

อนุปริญญาปริญญาตรี

สูงกวาปริญญาตรี

3.79 3.85 3.74 3.60 3.95 3.96ประถมศึกษาม.ตนม.ปลาย/ปวช.ปวส. /อนุปริญญาปริญญาตรีสูงกวาปริญญาตรี

3.793.853.743.603.953.96

0.690.18 0.01*

0.02* 0.00*0.00*

0.00* 0.00*

0.92

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.32 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีโดยรวมทุกดาน จําแนกตามระดับการศึกษารายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 6 คู ไดแก ผูใชบริการ ที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนตน ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญา สวนผูใชบริการที่มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญา ระดับการศึกษาปริญญาตรี และระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี สวนผูใชบริการที่มีระดับการศึกษาปวส./อนุปริญญา ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี และระดับการศึกษาสูงกวาปริญญาตรี แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

89

ตารางที่ 4.33 การวิเคราะหความแปรปรวนปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามอาชีพ

ปจจัยแตละดานแหลงความแปรปรวน

SS df MS F Sig.

1. ดานรถโดยสารปรับอากาศ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

4.32799.983

104.310

6413419

0.7210.242

2.979 0.007*

2. ดานราคา ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

4.282100.367104.649

6413419

0.7140.243

2.937 0.008*

3. ดานชองทางการจัดจําหนาย ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

8.127113.124121.251

6413419

1.3540.274

4.945 0.000*

4. ดานการสงเสริมการตลาด ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

4.636117.666122.302

6413419

0.7730.285

2.712 0.014*

5. ดานบุคลากร ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

7.987137.465145.452

6413419

1.3310.333

4.000 0.001*

6. ดานลักษณะทางกายภาพ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

4.892124.017128.908

6413419

0.8150.300

2.715 0.013*

7. ดานกระบวนการใหบริการ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

4.990125.437130.426

6413419

0.8320.304

2.738 0.013*

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

90

ตารางที่ 4.33 (ตอ)

ปจจัยแตละดานแหลงความแปรปรวน

SS df MS F Sig.

8. ดานผลิตภาพและคุณภาพ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

6.507109.931116.438

6413419

1.0850.266

4.074 0.001*

รวม ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

4.78877.18981.977

6413419

0.7980.187

4.269 0.000*

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.33 ผลการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามอายุ พบวา โดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายดานพบวา แตกตางกันทุกดาน ไดแก ดานรถโดยสารปรับอากาศ ดานราคา ดานชองทางการจัดจําหนาย ดานการสงเสริมการตลาด ดานบุคลากร ดานลักษณะทางกายภาพ ดานกระบวนการใหบริการ และดานผลิตภาพและคุณภาพ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงเปรียบเทียบเปนรายคูโดยใชสถิติ Least Significant Difference (LSD) ดังแสดงไวในตารางที่ 4.34 - 4.42

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

91

ตารางที่ 4.34 เปรียบเทียบดานรถโดยสารปรับอากาศ จําแนกตามอาชีพรายคู

อาชีพ Xนักเรียน/นักศึกษา

รับราชการ/พนักงาน

รัฐวิสาหกิจ

ลูกจางพนักงานบริษัท/หางราน

ธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการ

เกษตรกร รับจางทั่วไป อื่น ๆ

3.90 4.08 3.99 3.96 3.84 3.61 4.02นักเรียน/นักศึกษารับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจลูกจางพนักงานบริษัท/หางรานธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการเกษตรกรรับจางทั่วไปอื่นๆ

3.904.083.993.963.843.614.02

0.04* 0.27 0.330.230.80

0.46 0.02*

0.140.17

0.01* 0.00* 0.00* 0.00*

0.060.01*

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.34 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานรถโดยสารปรับอากาศ จําแนกตามอาชีพรายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 7 คู ไดแก ผูใชบริการที่มีอาชีพนักเรียน/นักศึกษา ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีอาชีพรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ และอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพเกษตรกร และอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพลูกจางพนักงานบริษัท/หางราน ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการ ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพรับจางทั่วไปที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีอาชีพอื่น ๆ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

92

ตารางที่ 4.35 เปรียบเทียบดานราคา จําแนกตามอาชีพรายคู

อาชีพ Xนักเรียน/นักศึกษา

รับราชการ/พนักงาน

รัฐวิสาหกิจ

ลูกจางพนักงานบริษัท/หางราน

ธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการ

เกษตรกร รับจางทั่วไป อื่น ๆ

3.84 3.94 3.96 3.85 3.82 3.53 4.08นักเรียน/นักศึกษารับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจลูกจางพนักงานบริษัท/หางรานธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการเกษตรกรรับจางทั่วไปอื่นๆ

3.843.943.963.853.823.534.08

0.830.34

0.820.240.170.72

0.00*0.00*0.00*0.00*0.02* 0.10

0.00*

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.35 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานราคา จําแนกตามอาชีพรายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 6 คู ไดแก ผูใชบริการที่มีอาชีพนักเรียน /นักศึกษา ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการ ที่มีอาชีพรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพลูกจางพนักงานบริษัท/หางรานที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการ ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพเกษตรกร ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการ ที่มีอาชีพรับจางทั่วไป ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีอาชีพอื่น ๆ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

93

ตารางที่ 4.36 เปรียบเทียบดานชองทางการจัดจําหนาย จําแนกตามอาชีพรายคู

อาชีพ Xนักเรียน/นักศึกษา

รับราชการ/พนักงาน

รัฐวิสาหกิจ

ลูกจางพนักงานบริษัท/หางราน

ธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการ

เกษตรกร รับจางทั่วไป อื่น ๆ

3.68 3.65 3.67 3.68 3.44 3.15 3.51นักเรียน/นักศึกษารับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจลูกจางพนักงานบริษัท/หางรานธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการเกษตรกรรับจางทั่วไปอื่นๆ

3.683.653.673.683.443.153.51

0.88 0.930.780.94

0.01*0.060.04*0.02*

0.00*0.00*0.00*0.00*0.03*

0.05*

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.36 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานชองทางการจัดจําหนาย จําแนกตามอาชีพรายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 9 คู ไดแก ผูใชบริการที่มีอาชีพนักเรียน/นักศึกษา ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพเกษตรกรและอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพลูกจางพนักงานบริษัท/หางราน ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพเกษตรกร และอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการ ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพเกษตรกร และอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพเกษตรกร ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการ ที่มีอาชีพรับจางทั่วไป ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีอาชีพอื่น ๆ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

94

ตารางที่ 4.37 เปรียบเทียบดานการสงเสริมการตลาด จําแนกตามอาชีพรายคู

อาชีพ Xนักเรียน/นักศึกษา

รับราชการ/พนักงาน

รัฐวิสาหกิจ

ลูกจางพนักงานบริษัท/หางราน

ธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการ

เกษตรกร รับจางทั่วไป อื่น ๆ

3.60 3.53 3.58 3.61 3.55 3.15 3.55นักเรียน/นักศึกษารับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจลูกจางพนักงานบริษัท/หางรานธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการเกษตรกรรับจางทั่วไปอื่นๆ

3.603.533.583.613.553.153.55

0.850.45

0.610.880.800.55

0.00*0.00*0.00*0.00*0.00*

0.03*

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.37 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานการสงเสริมการตลาด จําแนกตามอาชีพรายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 6 คู ไดแก ผูใชบริการ ที่มีอาชีพนักเรียน/นักศึกษา ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไปสวนผูใชบริการที่มีอาชีพรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพลูกจางพนักงานบริษัท/หางราน ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพ ธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการ ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไปสวนผูใชบริการที่มีอาชีพเกษตรที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพรับจางทั่วไป ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุม ที่มีอาชีพอื่น ๆ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

95

ตารางที่ 4.38 เปรียบเทียบดานบุคลากร จําแนกตามอาชีพรายคู

อาชีพ Xนักเรียน/นักศึกษา

รับราชการ/พนักงาน

รัฐวิสาหกิจ

ลูกจางพนักงานบริษัท/หางราน

ธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการ

เกษตรกร รับจางทั่วไป อื่น ๆ

3.88 3.99 3.90 3.94 3.99 3.38 4.09นักเรียน/นักศึกษารับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจลูกจางพนักงานบริษัท/หางรานธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการเกษตรกรรับจางทั่วไปอื่นๆ

3.883.993.903.943.993.384.09

0.81 0.480.62

0.251.000.460.61

0.00*0.00*0.00*0.00*0.00*

0.00*

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.38 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานบุคลากร จําแนกตามอาชีพรายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 6 คู ไดแก ผูใชบริการที่มีอาชีพนักเรียน /นักศึกษา ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการ ที่มีอาชีพรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพลูกจางพนักงานบริษัท/หางราน ที่มีคาเฉลี่ยระดับ การใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพธุรกิจสวนตัว/ เจาของกิจการ ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพเกษตร ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพรับจางทั่วไป ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีอาชีพอื่น ๆ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

96

ตารางที่ 4.39 เปรียบเทียบดานลักษณะทางกายภาพ จําแนกตามอาชีพรายคู

อาชีพ Xนักเรียน/นักศึกษา

รับราชการ/พนักงาน

รัฐวิสาหกิจ

ลูกจางพนักงานบริษัท/หางราน

ธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการ

เกษตรกร รับจางทั่วไป อื่น ๆ

3.89 3.99 3.93 3.86 3.95 3.50 4.06นักเรียน/นักศึกษารับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจลูกจางพนักงานบริษัท/หางรานธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการเกษตรกรรับจางทั่วไปอื่นๆ

3.893.993.933.863.953.504.06

0.64 0.780.25

0.520.730.880.44

0.00*0.00*0.00*0.00*0.00*

0.00*

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.39 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานลักษณะทางกายภาพ จําแนกตามอาชีพรายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 6 คู ไดแก ผูใชบริการ ที่มีอาชีพนักเรียน/นักศึกษา ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไปสวนผูใชบริการที่มีอาชีพรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพลูกจางพนักงานบริษัท/หางราน ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการ ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไปสวนผูใชบริการที่มีอาชีพเกษตร ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพรับจางทั่วไป ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีอาชีพอื่น ๆ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

97

ตารางที่ 4.40 เปรียบเทียบดานกระบวนการใหบริการ จําแนกตามอาชีพรายคู

อาชีพ Xนักเรียน/นักศึกษา

รับราชการ/พนักงาน

รัฐวิสาหกิจ

ลูกจางพนักงานบริษัท/หางราน

ธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการ

เกษตรกร รับจางทั่วไป อื่น ๆ

3.86 4.01 3.93 3.89 3.83 3.48 3.95นักเรียน/นักศึกษารับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจลูกจางพนักงานบริษัท/หางรานธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการเกษตรกรรับจางทั่วไปอื่นๆ

3.864.013.933.893.833.483.95

0.43 0.710.25

0.760.140.390.59

0.00*0.00*0.00*0.00*0.01*

0.01*

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.40 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานกระบวนการใหบริการ จําแนกตามอาชีพรายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 6 คู ไดแก ผูใชบริการที่มีอาชีพนักเรียน/นักศึกษา ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไปสวนผูใชบริการที่มีอาชีพรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพลูกจางพนักงานบริษัท/หางราน ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการ ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพเกษตร ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไปสวนผูใชบริการที่มีอาชีพรับจางทั่วไป ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีอาชีพอื่น ๆ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

98

ตารางที่ 4.41 เปรียบเทียบดานผลิตภาพและคุณภาพ จําแนกตามอาชีพรายคู

อาชีพ Xนักเรียน/นักศึกษา

รับราชการ/พนักงาน

รัฐวิสาหกิจ

ลูกจางพนักงานบริษัท/หางราน

ธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการ

เกษตรกร รับจางทั่วไป อื่น ๆ

3.84 4.02 3.92 3.91 3.89 3.44 4.08นักเรียน/นักศึกษารับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจลูกจางพนักงานบริษัท/หางรานธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการเกษตรกรรับจางทั่วไปอื่นๆ

3.844.023.923.913.893.444.08

0.05* 0.360.36

0.320.280.94

0.610.230.760.80

0.00*0.00*0.00*0.00*0.00*

0.00*

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.41 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานผลิตภาพและคุณภาพ จําแนกตามอาชีพรายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 7 คู ไดแก ผูใชบริการ ที่มีอาชีพนักเรียน/นักศึกษา ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีอาชีพรับราชการ/ พนักงานรัฐวิสาหกิจและอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพลูกจางพนักงานบริษัท/หางราน ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการ ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพเกษตร ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพรับจางทั่วไป ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีอาชีพอื่น ๆ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

99

ตารางที่ 4.42 เปรียบเทียบโดยรวมทุกดาน จําแนกตามอาชีพรายคู

อาชีพ Xนักเรียน/นักศึกษา

รับราชการ/พนักงาน

รัฐวิสาหกิจ

ลูกจางพนักงานบริษัท/หางราน

ธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการ

เกษตรกร รับจางทั่วไป อื่น ๆ

3.81 3.90 3.86 3.84 3.79 3.41 3.92นักเรียน/นักศึกษารับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจลูกจางพนักงานบริษัท/หางรานธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการเกษตรกรรับจางทั่วไปอื่นๆ

3.813.903.863.843.793.413.92

0.49 0.640.45

0.750.220.420.53

0.00*0.00*0.00*0.00*0.00*

0.00*

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.42 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี โดยรวมทุกดาน จําแนกตามอาชีพรายคู พบวา แตกตางกันจํานวน 6 คู ไดแก ผูใชบริการที่มีอาชีพนักเรียน/นักศึกษา ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพลูกจางพนักงานบริษัท/หางราน ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการ ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไป สวนผูใชบริการที่มีอาชีพเกษตร ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีอาชีพรับจางทั่วไปสวนผูใชบริการที่มีอาชีพรับจางทั่วไป ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีอาชีพอื่น ๆ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

100

ตารางที่ 4.43 การวิเคราะหความแปรปรวนปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีจําแนกตามรายไดตอเดือน

ปจจัยแตละดานแหลงความแปรปรวน

SS df MS F Sig.

1. ดานรถโดยสารปรับอากาศ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

4.036100.274104.310

4415419

1.0090.242

4.176 0.003*

2. ดานราคา ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

3.229101.420104.649

4415419

0.8070.244

3.303 0.011*

3. ดานชองทางการจัดจําหนาย ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

2.793118.457121.251

4415419

0.6980.285

2.446 0.046*

4. ดานการสงเสริมการตลาด ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

3.233119.070122.302

4415419

0.8080.287

2.817 0.025*

5. ดานบุคลากร ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

4.124141.329145.452

4415419

1.0310.341

3.027 0.018*

6. ดานลักษณะทางกายภาพ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

2.364126.544128.908

4415419

0.5910.305

1.938 0.103

7. ดานกระบวนการใหบริการ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

3.716126.710130.426

4415419

0.9260.305

3.043 0.017*

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

101

ตารางที่ 4.43 (ตอ)

ปจจัยแตละดานแหลงความแปรปรวน

SS df MS F Sig.

8. ดานผลิตภาพและคุณภาพ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

4.921111.517116.438

4415419

1.2300.269

4.578 0.001*

รวม ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

3.25678.72181.977

4415419

0.8140.190

4.291 0.002*

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.43 ผลการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามอายุ พบวาโดยรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายดานพบวา แตกตางกัน 7 ดาน ไดแก ดานรถโดยสารปรับอากาศ ดานราคา ดานชองทางการจัดจําหนาย ดานการสงเสริมการตลาด ดานบุคลากร ดานกระบวนการใหบริการ และดานผลิตภาพและคุณภาพ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนดานอื่น ๆ ไมแตกตางกันจึงเปรียบเทียบเปนรายคูโดยใชสถิติ Least Significant Difference (LSD) ดังแสดงไวในตารางที่ 4.44 - 4.51

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

102

ตารางที่ 4.44 เปรียบเทียบดานรถโดยสารปรับอากาศ จําแนกตามรายไดตอเดือนรายคู

รายได Xต่ํากวา

7,500 บาท7,500 -

15,000 บาท15,001 -

22,500 บาท22,501 -

30,000 บาท

มากกวา 300000

บาทขึ้นไป

3.88 3.84 4.11 4.06 3.88ต่ํากวา 7,500 บาท7,500 - 15,000 บาท15,001 - 22,500 บาท22,501 - 30,000 บาทมากกวา 300000 บาทขึ้นไป

3.883.844.114.063.88

0.46 0.00*0.00*

0.04* 0.02*

0.64 0.200.32

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.44 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ดานรถโดยสารปรับอากาศ จําแนกตามรายไดตอเดือนรายคู พบวา แตกตางกัน 4 คู ไดแก ผูใชบริการที่มีรายไดต่ํากวา 7,500 บาท ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีรายได 15,001 -22,500 บาท และมีรายได 22,501 - 30,000 บาท สวนผูใชบริการที่มีรายได 7,500 - 15,000 บาท ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีรายได 15,001 - 22,500 บาท และมีรายได 22,501 - 30,000 บาท แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

103

ตารางที่ 4.45 เปรียบเทียบดานราคา จําแนกตามรายไดตอเดือนรายคู

รายได Xต่ํากวา

7,500 บาท7,500 -

15,000 บาท15,001 -

22,500 บาท22,501 -

30,000 บาท

มากกวา 300000

บาทขึ้นไป

3.82 3.78 4.03 3.97 3.85ต่ํากวา 7,500 บาท7,500 - 15,000 บาท15,001 - 22,500 บาท22,501 - 30,000 บาทมากกวา 300000 บาทขึ้นไป

3.823.784.033.973.85

0.55 0.00*0.00* 0.05*

0.52 0.320.54

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.45 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานราคา จําแนกตามรายไดตอเดือนรายคู พบวา แตกตางกัน 3 คู ไดแก ผูใชบริการที่มีรายไดต่ํากวา 7,500 บาท ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีรายได 15,001 - 22,500 บาท สวนผูใชบริการที่มีรายได 7,500 - 15,000 บาท ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีรายได 15,001 - 22,500 บาท และมีรายได 22,501 - 30,000 บาท แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

104

ตารางที่ 4.46 เปรียบเทียบดานชองทางการจัดจําหนาย จําแนกตามรายไดตอเดือนรายคู

รายได Xต่ํากวา

7,500 บาท7,500 -

15,000 บาท15,001 -

22,500 บาท22,501 -

30,000 บาท

มากกวา 300000

บาทขึ้นไป

3.61 3.53 3.78 3.66 3.43ต่ํากวา 7,500 บาท7,500 - 15,000 บาท15,001 - 22,500 บาท22,501 - 30,000 บาทมากกวา 300000 บาทขึ้นไป

3.613.533.783.663.43

0.22 0.03*0.00* 0.21

0.27 0.080.26

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.46 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานชองทางการจัดจําหนาย จําแนกตามรายไดตอเดือนรายคู พบวา แตกตางกัน 2 คู ไดแก ผูใชบริการที่มีรายไดต่ํากวา 7,500 บาท ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีรายได 15,001 -22,500 บาท สวนผูใชบริการที่มีรายได 7,500 - 15,000 บาท ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีรายได 15,001 - 22,500 บาท แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

105

ตารางที่ 4.47 เปรียบเทียบดานการสงเสริมการตลาด จําแนกตามรายไดตอเดือนรายคู

รายได Xต่ํากวา

7,500 บาท7,500 -

15,000 บาท15,001 -

22,500 บาท22,501 -

30,000 บาท

มากกวา 300000

บาทขึ้นไป

3.56 3.47 3.76 3.52 3.48ต่ํากวา 7,500 บาท7,500 - 15,000 บาท15,001 - 22,500 บาท22,501 - 30,000 บาทมากกวา 300000 บาทขึ้นไป

3.563.473.763.523.48

0.15 0.02*0.00* 0.59

0.04* 0.170.81

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.47 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานการสงเสริมการตลาด จําแนกตามรายไดตอเดือนรายคู พบวา แตกตางกัน 3 คู ไดแก ผูใชบริการที่มีรายไดต่ํากวา 7,500 บาท ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีรายได 15,001 -22,500 บาท สวนผูใชบริการที่มีรายได 7,500 - 15,000 บาท ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีรายได 15,001 - 22,500 บาท สวนผูใชบริการที่มีรายได 15,001 - 22,500 บาท ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญมากกวากลุมที่มีรายได 22,501 - 30,000 บาท แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกันCop

yrigh

t : S

urat

than

i Raja

bhat

Univ

ersit

y

106

ตารางที่ 4.48 เปรียบเทียบดานบุคลากร จําแนกตามรายไดตอเดือนรายคู

รายได Xต่ํากวา

7,500 บาท7,500 -

15,000 บาท15,001 -

22,500 บาท22,501 -

30,000 บาท

มากกวา 300000

บาทขึ้นไป

3.86 3.82 4.11 3.98 3.78ต่ํากวา 7,500 บาท7,500 - 15,000 บาท15,001 - 22,500 บาท22,501 - 30,000 บาทมากกวา 300000 บาทขึ้นไป

3.863.824.113.983.78

0.58 0.00*0.00* 0.14

0.29 0.120.36

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.48 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานบุคลากร จําแนกตามรายไดตอเดือนรายคู พบวา แตกตางกัน 2 คู ไดแก ผูใชบริการที่มีรายได ต่ํากวา 7,500 บาท ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีรายได 15,001 - 22,500 บาทสวนผูใชบริการที่มีรายได 7,500 - 15,000 บาท ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีรายได 15,001 - 22,500 บาท แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

107

ตารางที่ 4.49 เปรียบเทียบดานกระบวนการใหบริการ จําแนกตามรายไดตอเดือนรายคู

รายได Xต่ํากวา

7,500 บาท7,500 -

15,000 บาท15,001 -

22,500 บาท22,501 -

30,000 บาท

มากกวา 300000

บาทขึ้นไป

3.83 3.79 4.03 4.04 3.83ต่ํากวา 7,500 บาท7,500 - 15,000 บาท15,001 - 22,500 บาท22,501 - 30,000 บาทมากกวา 300000 บาทขึ้นไป

3.833.794.034.043.83

0.62 0.01*0.01*

0.03* 0.02*

0.94 0.320.31

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.49 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานกระบวนการใหบริการ จําแนกตามรายไดตอเดือนรายคู พบวา แตกตางกัน 4 คู ไดแก ผูใชบริการที่มีรายไดต่ํากวา 7,500 บาท ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีรายได 15,001 -22,500 บาท และมีรายได 22,501 - 30,000 บาท สวนผูใชบริการที่มีรายได 7,500 - 15,000 บาท ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีรายได 15,001 – 22,500 บาท และมีรายได 22,501 - 30,000 บาท แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

108

ตารางที่ 4.50 เปรียบเทียบดานผลิตภาพและคุณภาพ จําแนกตามรายไดตอเดือนรายคู

รายได Xต่ํากวา

7,500 บาท7,500 -

15,000 บาท15,001 -

22,500 บาท22,501 -

30,000 บาท

มากกวา 300000

บาทขึ้นไป

3.82 3.79 4.07 4.06 3.85ต่ํากวา 7,500 บาท7,500 - 15,000 บาท15,001 - 22,500 บาท22,501 - 30,000 บาทมากกวา 300000 บาทขึ้นไป

3.823.794.074.063.85

0.60 0.00*0.00*

0.01*0.01*0.91 0.26

0.30

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.50 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานผลิตภาพและคุณภาพ จําแนกตามรายไดตอเดือนรายคู พบวา แตกตางกัน 4 คู ไดแก ผูใชบริการที่มีรายไดต่ํากวา 7,500 บาท ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีรายได 15,001 -22,500 บาท และมีรายได 22,501 - 30,000 บาท สวนผูใชบริการที่มีรายได 7,500 - 15,000 บาท ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีรายได 15,001 – 22,500 บาท และมีรายได 22,501 - 30,000 บาท แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

109

ตารางที่ 4.51 เปรียบเทียบโดยรวมทุกดาน จําแนกตามรายไดตอเดือนรายคู

รายได Xต่ํากวา

7,500 บาท7,500 -

15,000 บาท15,001 -

22,500 บาท22,501 -

30,000 บาท

มากกวา 300000

บาทขึ้นไป

3.78 3.73 3.99 3.91 3.73ต่ํากวา 7,500 บาท7,500 - 15,000 บาท15,001 - 22,500 บาท22,501 - 30,000 บาทมากกวา 300000 บาทขึ้นไป

3.783.733.993.913.73

0.32 0.00*0.00* 0.03*

0.38 0.110.28

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.51 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีโดยรวมทุกดาน จําแนกตามรายไดตอเดือนรายคู พบวา แตกตางกัน 3 คู ไดแก ผูใชบริการที่มีรายไดต่ํากวา 7,500 บาท ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีรายได 15,001 - 22,500 บาทสวนผูใชบริการที่มีรายได 7,500 - 15,000 บาท ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีรายได 15,001 - 22,500 บาท และมีรายได 22,501 - 30,000 บาท แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

110

ตารางที่ 4.52 การวิเคราะหความแปรปรวนปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสาร ปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามภูมิลําเนา

ปจจัยแตละดานแหลงความแปรปรวน

SS df MS F Sig.

1. ดานรถโดยสารปรับอากาศ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

0.542103.768104.310

2417419

0.2710.249

1.088 0.338

2. ดานราคา ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

0.434104.215104.649

2417419

0.2170.250

0.869 0.420

3. ดานชองทางการจัดจําหนาย ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

0.913120.338121.251

2417419

0.4560.289

1.582 0.207

4. ดานการสงเสริมการตลาด ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

2.400119.902122.302

2417419

1.2000.288

4.174 0.016*

5. ดานบุคลากร ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

1.012144.441145.452

2417419

0.5060.346

1.461 0.233

6. ดานลักษณะทางกายภาพ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

1.968127.941128.908

2417419

0.4840.307

1.577 0.208

7. ดานกระบวนการใหบริการ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

0.414130.013130.426

2417419

0.2070.312

0.663 0.516

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

111

ตารางที่ 4.52 (ตอ)

ปจจัยแตละดานแหลงความแปรปรวน

SS df MS F Sig.

8. ดานผลิตภาพและคุณภาพ ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

1.035115.403116.438

2417419

0.5170.277

1.869 0.156

รวม ระหวางกลุมภายในกลุมรวม

0.57281.40582.977

2417419

0.2860.195

1.466 0.232

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.52 ผลการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามอายุ พบวา โดยรวมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายดานมีเพียงดานเดียว คือ ดานการสงเสริมการตลาด แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนดานอื่น ๆ ไมแตกตางกันจึงเปรียบเทียบเปนรายคูโดยใชสถิติ Least Significant Difference (LSD) ดังแสดงไวในตารางที ่4.53 - 4.54

ตารางที่ 4.53 เปรียบเทียบดานการสงเสริมการตลาด จําแนกตามภูมิลําเนา

ภูมิลําเนา Xอําเภอเมือง

จังหวัดสุราษฎรธานีอําเภออื่น ๆ ในจังหวัด

สุราษฎรธานีจังหวัดอื่น ๆ

3.63 3.54 3.40อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานีอําเภออื่น ๆ ในจังหวัดสุราษฎรธานีจังหวัดอื่นๆ

3.633.543.40

0.11 0.00*0.07

*Sig. < 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

112

จากตารางที่ 4.53 ผลการเปรียบเทียบความแตกตางเปนรายคูของปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีดานการสงเสริมการตลาด จําแนกตามภูมิลําเนารายคู พบวา แตกตางกัน 1 คู ไดแก ผูใชบริการ ที่มีภูมิลําเนาอยูใน อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ที่มีคาเฉลี่ยระดับการใหความสําคัญนอยกวากลุมที่มีภูมิลําเนาในจังหวัดอื่น ๆ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

ตารางที่ 4.54 ผลสรุปการเปรียบเทียบโดยรวมระหวางปจจัยสวนบุคคลกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

ปจจัยสวนบุคคล

ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ

ดานรถโดยสารปรับอากาศ

ดานราคา

ดานชองทางการจัด

จําหนาย

ดานการสงเสริมการตลาด

ดานบุคลากร

ดานลักษณะ

ทางกายภาพ

ดานกระบวนการ

ใหบริการ

ดานผลิตภาพ

และคุณภาพรวม

1. เพศ2. อายุ3. สถานภาพ4. ระดับการศึกษา5. อาชีพ6. รายไดเฉลี่ยตอเดือน7. ภูมิลําเนา

--****-

---***-

-**-**-

*******

-*-***-

--***--

---***-

--*****

--****-

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.54 สรุปผลการเปรียบเทียบโดยรวมระหวางปจจัยสวนบุคคลกับปจจัย ที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัด สุราษฎรธานี พบวา โดยรวมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ไดแก สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายไดเฉลี่ยตอเดือน สวนเพศ อายุ และภูมิลําเนาไมมี ความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

113

ตอนที่ 5 การวิเคราะหความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสาร ปรับอากาศกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

โดยมีสมมติฐานขอที่ 2 เพื่อการทดสอบ ดังนี้H0 : พฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศไมมีความสัมพันธกับปจจัย

ที่มีผลตอการตัดสินใจใชบริการรถโดยสารปรับอากาศH1 : พฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศมีความสัมพันธกับปจจัยที่มีผล

ตอการตัดสินใจใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ

ตารางที่ 4.55 ความสัมพันธระหวางบริษัทที่เลือกใชกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานรถโดยสารปรับอากาศ1. บริษัทขนสง จํากัด

2. นครศรีราชาทัวร

3. โชคอนันตทัวร

4. ทรัพยไพศาลทัวร

5. กรุงสยามทัวร

6. นครศรีรมเย็นทัวร

7. สมบัติทัวร

8. บัส เอ็กซเพลส

รวม

40.95%

40.95%

122.86%

143.33%

61.43%

61.43%

51.19%

30.71%

5412.86%

194.52%

337.86%

6114.52%

4811.43%

358.33%

194.52%

358.33%

294.76%

27064.29%

102.38%

102.38%

153.57%

143.33%

81.90%

194.53%

30.72%

174.04%

9622.85%

337.86%

4711.19%

8820.95%

7618.10%

4911.67%

4410.48%

4310.24%

409.51%

420100.00%

42.154 0.004* 0.183

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

114

ตารางที่ 4.55 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานราคา1. บริษัทขนสง จํากัด

2. นครศรีราชาทัวร

3. โชคอนันตทัวร

4. ทรัพยไพศาลทัวร

5. กรุงสยามทัวร

6. นครศรีรมเย็นทัวร

7. สมบัติทัวร

8. บัส เอ็กซเพลส

รวม

40.95%

51.19%

102.38%

122.86%

30.71%

92.14%

20.48%

20.48%

4711.19%

225.24%

235.48%

5713.57%

4210.00%

368.57%

266.19%

368.57%

245.71%

26663.33%

71.67%

194.52%

215.00%

225.24%

102.38%

92.14%

51.19%

143.33%

10725.48%

337.86%

4711.19%

8820.95%

7618.10%

4911.67%

4410.48%

4310.24%

409.52%

420100.00%

34.728 0.030* 0.166

ดานชองทางการจัดจําหนาย1. บริษัทขนสง จํากัด

2. นครศรีราชาทัวร

3. โชคอนันตทัวร

4. ทรัพยไพศาลทัวร

5. กรุงสยามทัวร

10.24%

20.48%

61.43%

61.43%

20.48%

184.29%

245.71%

5412.86%

368.57%

317.38%

143.34%

215.00%

286.67%

348.10%

163.81%

337.86%

4711.19%

8820.95%

7618.10%

4911.67%

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

115

ตารางที่ 4.55 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

6. นครศรีรมเย็นทัวร

7. สมบัติทัวร

8. บัส เอ็กซเพลส

รวม

51.19%

20.48%

20.48%

266.21%

163.81%

225.24%

122.86%

21350.67%

235.48%

194.54%

266.19%

18143.12%

4410.48%

4310.22%

409.51%

420100.00%

30.319 0.086 0.155

ดานการสงเสริมการตลาด1. บริษัทขนสง จํากัด

2. นครศรีราชาทัวร

3. โชคอนันตทัวร

4. ทรัพยไพศาลทัวร

5. กรุงสยามทัวร

6. นครศรีรมเย็นทัวร

7. สมบัติทัวร

8. บัส เอ็กซเพลส

รวม

10.24%

--1

0.24%2

0.48%49

11.67%9

2.14%3

0.71%1

0.24%17

4.05%

194.52%

194.52%

4711.19%

358.33%

255.95%

153.57%

215.00%

153.57%

19646.67%

133.10%

286.66%

409.53%

399.29%

245.72%

204.77%

194.53%

245.70%

20749.28%

337.86%

4711.19%

8820.95%

7618.10%

4911.67%

4410.48%

4310.24%

409.51%

420100.00%

55.699 0.000* 0.210

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

116

ตารางที่ 4.55 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานบุคลากร

1. บริษัทขนสง จํากัด

2. นครศรีราชาทัวร

3. โชคอนันตทัวร

4. ทรัพยไพศาลทัวร

5. กรุงสยามทัวร

6. นครศรีรมเย็นทัวร

7. สมบัติทัวร

8. บัส เอ็กซเพลส

รวม

51.19%

81.90%

174.05%

153.57%

102.38%

133.10%

102.38%

20.48%

8019.05%

194.52%

225.24%

5513.10%

378.81%

286.67%

133.10%

296.90%

225.24%

22553.58%

92.14%

174.05%

163.81%

245.71%

112.62%

184.29%

40.95%

163.80%

11527.37%

337.86%

4711.19%

8820.95%

7618.10%

4911.67%

4410.48%

4310.24%

409.51%

420100.00%

36.937 0.017* 0.171

ดานลักษณะทางกายภาพ1. บริษัทขนสง จํากัด

2. นครศรีราชาทัวร

3. โชคอนันตทัวร

4. ทรัพยไพศาลทัวร

71.67%

81.90%

174.05%

92.14%

184.29%

235.48%

5212.38%

4310.24%

81.91%

163.81%

194.53%

245.71%

337.87%

4711.19%

8820.96%

7618.09%

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

117

ตารางที่ 4.55 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

5. กรุงสยามทัวร

6. นครศรีรมเย็นทัวร

7. สมบัติทัวร

8. บัส เอ็กซเพลส

รวม

92.14%

133.10%

81.90%

10.24%

7217.14%

296.90%

194.52%

296.90%

307.14%

24357.85%

112.62%

122.86%

61.43%

92.14%

10525.01%

4911.66%

4410.48%

4310.23%

409.52%

420100.00%

28.922 0.116 0.152

ดานกระบวนการใหบริการ1. บริษัทขนสง จํากัด

2. นครศรีราชาทัวร

3. โชคอนันตทัวร

4. ทรัพยไพศาลทัวร

5. กรุงสยามทัวร

6. นครศรีรมเย็นทัวร

7. สมบัติทัวร

8. บัส เอ็กซเพลส

รวม

51.19%

71.67%

184.29%

102.38%

122.86%

81.90%

61.43%

40.95%

7016.67%

215.00%

255.95%

5212.38%

4210.00%

266.19%

204.76%

317.38%

235.48%

24057.14%

71.67%

153.57%

184.29%

245.71%

112.62%

163.81%

61.43%

133.10%

11026.19%

337.86%

4711.19%

8820.96%

7618.09%

4911.67%

4410.47%

4310.24%

409.52%

420100.00%

23.305 0.328 0.136

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

118

ตารางที่ 4.55 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานผลิตภาพและคุณภาพ

1. บริษัทขนสง จํากัด

2. นครศรีราชาทัวร

3. โชคอนันตทัวร

4. ทรัพยไพศาลทัวร

5. กรุงสยามทัวร

6. นครศรีรมเย็นทัวร

7. สมบัติทัวร

8. บัส เอ็กซเพลส

รวม

71.67%

51.19%

143.33%

102.38%

51.19%

81.90%

61.43%

20.48%

5713.57%

215.00%

255.95%

5613.33%

4410.48%

337.86%

215.00%

327.62%

143.33%

24658.57%

51.19%

174.05%

184.29%

225.24%

112.62%

153.57%

51.19%

245.71%

11727.86%

337.86%

4711.19%

8820.95%

7618.10%

4911.67%

4410.48%

4310.24%

409.51%

420100.00%

38.155 0.000* 0.213

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.55 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศดานบริษัทที่เลือกใชกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี พบวา มีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 จํานวน 5 ปจจัย ไดแก ปจจัยดานรถโดยสารปรับอากาศ ปจจัยดานราคา ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด ปจจัยดานบุคลากร และปจจัยดานผลิตภาพและคุณภาพ สวนปจจัยดานอื่น ๆ ไมมีความสัมพันธกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

119

เมื่อทดสอบความสัมพันธดวยสถิติ Cramer’s V พบวา ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศดานบริษัทที่เลือกใชกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใช บริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี โดยมีความสัมพันธในระดับต่ํา ไดแก ปจจัยดานรถโดยสารปรับอากาศ ปจจัยดานราคา ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด ปจจัยดานบุคลากร และปจจัยดานผลิตภาพและคุณภาพ โดยมีคาสัมประสิทธิ์ Cramer’s V เทากับ 0.183, 0.166, 0.210, 0.171, 0.213 ตามลําดับ สวนปจจัยดานอื่น ๆ ไมมีความสัมพันธกัน

ตารางที่ 4.56 ความสัมพันธระหวางเหตุผลที่เลือกใชบริการกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานรถโดยสารปรับอากาศ

1. ชื่อเสียง ความนาเชื่อถือของบริษัท

2. การใหบริการของ พนักงาน3. สถานที่ซื้อตั๋ว

มีความสะดวก 4. สภาพรถดี นั่งสะดวก

สบาย5. อื่น ๆ

รวม

184.29%

102.38%

71.67%

194.52%

--

5412.86%

7116.90%

8420.00%

4210.00%

7317.38%

--

27064.28%

245.72%

307.14%

204.76%

215.00%

10.24%

9622.86%

11326.91%

12429.52%

6916.43%

11326.90%

10.24%

420100.00%

13.231 0.352 0.102

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

120

ตารางที่ 4.56 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานราคา

1. ชื่อเสียง ความนาเชื่อถือของบริษัท

2. การใหบริการของ พนักงาน3. สถานที่ซื้อตั๋ว

มีความสะดวก 4. สภาพรถดี นั่งสะดวก

สบาย5. อื่น ๆ

รวม

184.29%

81.90%

40.95%

174.05%

--

4711.19%

6816.19%

8119.29%

4410.48%

7217.14%

10.24%

26663.33%

276.43%

358.33%

215.00%

245.71%

--

10725.48%

11326.91%

12429.52%

6916.43%

11326.90%

10.24%

420100.00%

13.718 0.319 0.104

ดานชองทางการจัดจําหนาย1. ชื่อเสียง ความนาเชื่อถือ

ของบริษัท2. การใหบริการของ

พนักงาน3. สถานที่ซื้อตั๋ว

มีความสะดวก 4. สภาพรถดี นั่งสะดวก

สบาย5. อื่น ๆ

รวม

122.86%

20.48%

51.19%

71.67%

--

26

5412.86%

6615.71%

286.67%

6415.24%

10.24%

213

4711.19%

5613.34%

368.57%

4210.00%

--

181

11326.91%

12429.52%

6916.43%

11326.90%

10.24%

420 16.986 0.150 0.1166.20% 50.71% 43.09% 100.00%

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

121

ตารางที่ 4.56 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานการสงเสริมการตลาด

1. ชื่อเสียง ความนาเชื่อถือของบริษัท

2. การใหบริการของ พนักงาน3. สถานที่ซื้อตั๋ว

มีความสะดวก 4. สภาพรถดี นั่งสะดวก

สบาย5. อื่น ๆ

รวม

20.48%

40.95%

20.48%

92.14%

--

174.05%

6315.00%

5112.14%

235.48%

5813.81%

10.24%

19646.67%

4811.43%

6916.42%

4410.48%

4610.95%

--

20749.28%

11326.91%

12429.51%

6916.44%

11326.90%

10.24%

420100.00%

21.010 0.050* 0.129

ดานบุคลากร1. ชื่อเสียง ความนาเชื่อถือ

ของบริษัท2. การใหบริการของ

พนักงาน3. สถานที่ซื้อตั๋ว

มีความสะดวก 4. สภาพรถดี นั่งสะดวก

สบาย5. อื่น ๆ

รวม

286.67%

204.76%

92.14%

235.48%

--

8019.05%

5713.57%

6415.24%

378.81%

6715.95%

--

22553.57%

286.67%

409.53%

235.48%

235.47%

10.24%

11527.38%

11326.91%

12429.52%

6916.43%

11326.90%

10.24%

420100.00%

18.087 0.113 0.120

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

122

ตารางที่ 4.56 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานลักษณะทางกายภาพ1. ชื่อเสียง ความนาเชื่อถือ

ของบริษัท2. การใหบริการของ

พนักงาน3. สถานที่ซื้อตั๋ว

มีความสะดวก 4. สภาพรถดี นั่งสะดวก

สบาย5. อื่น ๆ

รวม

245.71%

204.76%

51.19%

235.48%

--

7217.14%

6615.71%

6916.43%

4210.00%

6515.48%

10.24%

24357.86%

235.48%

358.34%

225.24%

255.95%

--

10525.00%

11326.90%

12429.53%

6916.43%

11326.90%

10.24%

420100.00%

13.050 0.365 0.102

ดานกระบวนการใหบริการ1. ชื่อเสียง ความนาเชื่อถือ

ของบริษัท2. การใหบริการของ

พนักงาน3. สถานที่ซื้อตั๋ว

มีความสะดวก 4. สภาพรถดี นั่งสะดวก

สบาย5. อื่น ๆ

รวม

266.19%

153.57%

61.43%

235.48%

--

7016.67%

6315.00%

7116.90%

378.81%

6816.19%

10.24%

24057.14%

245.72%

389.05%

266.19%

225.24%

--

11026.19%

11326.91%

12429.52%

6916.43%

11326.90%

10.24%

420100.00%

17.785 0.122 0.119

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

123

ตารางที่ 4.56 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานผลิตภาพและคุณภาพ1. ชื่อเสียง ความนาเชื่อถือ

ของบริษัท2. การใหบริการของ

พนักงาน3. สถานที่ซื้อตั๋ว

มีความสะดวก 4. สภาพรถดี นั่งสะดวก

สบาย5. อื่น ๆ

รวม

194.52%

174.05%

51.19%

163.81%

--

5713.57%

6715.95%

6916.43%

378.81%

7217.14%

10.24%

24658.57%

276.43%

389.05%

276.43%

255.95%

--

11727.86%

11326.90%

12429.53%

6916.43%

11326.90%

10.24%

420100.00%

10.102 0.258 0.110

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.56 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศดานเหตุผลที่เลือกใชบริการกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี พบวา มีความสัมพันธกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จํานวน 1 ปจจัย ไดแก ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด สวนปจจัยดานอื่น ๆ ไมมีความสัมพันธกัน

เมื่อทดสอบความสัมพันธดวยสถิติ Cramer’s V พบวา ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศดานเหตุผลที่เลือกใชบริการกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี โดยมีความสัมพันธในระดับต่ํา ไดแก ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด โดยมีคาสัมประสิทธิ์ Cramer’s V เทากับ 0.129 สวนปจจัยดานอื่น ๆ ไมมีความสัมพันธกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

124

ตารางที่ 4.57 ความสัมพันธระหวางประเภทรถที่เลือกใชบริการกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานรถโดยสารปรับอากาศ1. รถโดยสารปรับอากาศ

พิเศษ V.I.P 24 ที่นั่ง2. รถโดยสารปรับอากาศ

พิเศษ V.I.P 32 ที่นั่ง3. รถโดยสารปรับอากาศ

ชั้น 14. รถโดยสารปรับอากาศ

ชั้น 2รวม

133.10%

184.29%

163.81%

71.67%

5412.87%

4210.00%

9121.67%

9923.57%

389.05%

27064.29%

133.10%

184.29%

389.05%

276.40%

9622.84%

6816.20%

12730.25%

15336.43%

7217.12%

420100.00%

19.623 0.020* 0.125

ดานราคา1. รถโดยสารปรับอากาศ

พิเศษ V.I.P 24 ที่นั่ง2. รถโดยสารปรับอากาศ

พิเศษ V.I.P 32 ที่นั่ง3. รถโดยสารปรับอากาศ

ชั้น 14. รถโดยสารปรับอากาศ

ชั้น 2รวม

102.38%

133.10%

184.29%

61.43%

4711.19%

378.81%

8620.48%

9823.33%

4510.71%

26663.33%

215.00%

286.67%

378.81%

215.00%

10725.48%

6816.19%

12730.24%

15336.43%

7217.14%

420100.00%

6.418 0.697 0.071

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

125

ตารางที่ 4.57 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานชองทางการจัดจําหนาย1. รถโดยสารปรับอากาศ

พิเศษ V.I.P 24 ที่นั่ง2. รถโดยสารปรับอากาศ

พิเศษ V.I.P 32 ที่นั่ง3. รถโดยสารปรับอากาศ

ชั้น 14. รถโดยสารปรับอากาศ

ชั้น 2รวม

51.19%

81.90%

102.38%

30.71%

266.18%

337.86%

7317.38%

7818.57%

296.90%

21350.71%

307.14%

4610.95%

6515.47%

409.52%

18143.09%

6816.19%

12730.24%

15336.43%

7217.14%

420100.00%

10.928 0.281 0.093

ดานการสงเสริมการตลาด1. รถโดยสารปรับอากาศ

พิเศษ V.I.P 24 ที่นั่ง2. รถโดยสารปรับอากาศ

พิเศษ V.I.P 32 ที่นั่ง3. รถโดยสารปรับอากาศ

ชั้น 14. รถโดยสารปรับอากาศ

ชั้น 2รวม

20.48%

40.95%

92.14%

20.48%

174.05%

327.62%

7116.90%

6014.29%

337.86%

19646.67%

348.09%

5212.38%

8420.00%

378.81%

20749.28%

6816.19%

12730.24%

15336.43%

7217.14%

420100.00%

14.957 0.092 0.109

ดานบุคลากร1. รถโดยสารปรับอากาศ

พิเศษ V.I.P 24 ที่นั่ง2. รถโดยสารปรับอากาศ

พิเศษ V.I.P 32 ที่นั่ง3. รถโดยสารปรับอากาศ

ชั้น 1

122.86%

307.14%

317.38%

348.10%

7217.14%

7818.57%

225.24%

255.95%

4410.47%

6816.19%

12730.24%

15336.43%

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

126

ตารางที่ 4.57 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

4. รถโดยสารปรับอากาศชั้น 2รวม

71.67%

8019.05%

419.76%

22553.57%

245.72%

11527.38%

7217.14%

420100.00%

13.023 0.162 0.102

ดานลักษณะทางกายภาพ1. รถโดยสารปรับอากาศ

พิเศษ V.I.P 24 ที่นั่ง2. รถโดยสารปรับอากาศ

พิเศษ V.I.P 32 ที่นั่ง3. รถโดยสารปรับอากาศ

ชั้น 14. รถโดยสารปรับอากาศ

ชั้น 2รวม

81.90%

276.43%

296.90%

81.90%

7217.14%

378.81%

7217.14%

8720.71%

4711.19%

24357.86%

235.48%

286.67%

378.81%

174.05%

10525.00%

6816.19127

30.24%153

36.43%72

17.14%420

100.00%10.051 0.346 0.089

ดานกระบวนการใหบริการ1. รถโดยสารปรับอากาศ

พิเศษ V.I.P 24 ที่นั่ง2. รถโดยสารปรับอากาศ

พิเศษ V.I.P 32 ที่นั่ง3. รถโดยสารปรับอากาศ

ชั้น 14. รถโดยสารปรับอากาศ

ชั้น 2รวม

92.14%

266.19%

266.19%

92.14%

7016.67%

368.57%

7517.86%

8620.48%

4310.24%

24057.14%

235.48%

266.19%

419.76%

204.77%

11026.19%

6816.19%

12730.24%

15336.43%

7217.14%

420100.00%

11.576 0.238 0.096

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

127

ตารางที่ 4.57 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานผลิตภาพและคุณภาพ1. รถโดยสารปรับอากาศ

พิเศษ V.I.P 24 ที่นั่ง2. รถโดยสารปรับอากาศ

พิเศษ V.I.P 32 ที่นั่ง3. รถโดยสารปรับอากาศ

ชั้น 14. รถโดยสารปรับอากาศ

ชั้น 2รวม

81.90%

215.00%

194.52%

92.14%

5713.57%

389.05%

8219.52%

9221.90%

348.10%

24658.57%

225.24%

245.71%

4210.00%

296.90%

11727.86%

6816.19%

12730.24%

15336.43%

7217.14%

420100.00%

11.856 0.065 0.119

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.57 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศดานประเภทรถที่ เลือกใชบริการกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี พบวา มีความสัมพันธกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จํานวน 1 ปจจัย ไดแก ปจจัยดานรถโดยสารปรับอากาศ สวนปจจัยดานอื่น ๆ ไมมีความสัมพันธกัน

เมื่อทดสอบความสัมพันธดวยสถิติ Crame’s V พบวา ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศดานประเภทรถที่เลือกใชบริการกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี โดย มีความสัมพันธในระดับต่ํา ไดแก ปจจัยดานรถโดยสารปรับอากาศ โดยมีคาสัมประสิทธิ์ Cramer’s V เทากับ 0.125 สวนปจจัยดานอื่น ๆ ไมมีความสัมพันธกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

128

ตารางที่ 4.58 ความสัมพันธระหวางคาโดยสารที่จายกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานรถโดยสารปรับอากาศ1. 759 บาท

2. 569 บาท

3. 488 บาท

4. 379 บาท

5. อื่น ๆ

รวม

133.10%

184.29%

163.81%

71.67%

--

5412.87%

419.76%

8620.48%

8921.19%

389.05%

163.81%

27064.29%

133.10%

174.05%

389.05%

276.40%

10.24%

9622.84%

6715.96%

12128.82%

14334.05%

7217.12%

174.05%

420100.00%

26.764 0.008* 0.146

ดานราคา1. 759 บาท

2. 569 บาท

3. 488 บาท

4. 379 บาท

5. อื่น ๆ

รวม

102.38%

133.10%

184.29%

61.43%

--

4711.19%

368.57%

8019.05%

8820.95%

4510.71%

174.05%

26663.33%

215.00%

286.67%

378.81%

215.00%

--

10725.48%

6715.95%

12128.81%

14334.05%

7217.14%

174.05%

420100.00%

16.215 0.182 0.113

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

129

ตารางที่ 4.58 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานชองทางการจัดจําหนาย1. 759 บาท

2. 569 บาท

3. 488 บาท

4. 379 บาท

5. อื่น ๆ

รวม

51.19%

81.90%

102.38%

30.71%

--

266.19%

327.62%

7016.67%

7317.38%

296.90%

92.14%

21350.71%

307.14%

4310.24%

6014.28%

409.52

81.92%

18143.10%

6715.95%

12128.81%

14334.04%

7217.14%

174.06%

420100.00%

13.200 0.355 0.102

ดานการสงเสริมการตลาด1. 759 บาท

2. 569 บาท

3. 488 บาท

4. 379 บาท

5. อื่น ๆ

รวม

20.48%

40.95%

92.14%

20.48%

--

174.05%

317.38%

6816.19%

5412.86%

337.86%

102.38%

1946.67%

348.10%

4911.67%

8019.04%

378.81%

71.67%

20749.28%

6715.95%

12128.81%

14334.05%

7217.14%

174.05%

420100.00%

18.849 0.092 0.122

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

130

ตารางที่ 4.58 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานบุคลากร1. 759 บาท

2. 569 บาท

3. 488 บาท

4. 379 บาท

5. อื่น ๆ

รวม

122.86%

307.14%

317.38%

71.67%

--

8019.05%

337.86%

6615.71%

6816.19%

419.76%

174.05%

22553.57%

225.24%

255.95%

4410.47%

245.72%

--

11527.38%

6715.95%

12128.81%

14334.05%

7217.14%

174.05%

420100.00% 29.411 0.003* 0.153

ดานลักษณะทางกายภาพ1. 759 บาท

2. 569 บาท

3. 488 บาท

4. 379 บาท

5. อื่น ๆ

รวม

81.90%

276.43%

296.90%

81.90%

--

7217.14%

368.57%

6615.71%

7718.33%

4711.19%

174.05%

24357.86%

235.48%

286.67%

378.81%

174.05%

--

10525.00%

6715.95%

12128.81%

14334.05%

7217.14%

174.05%

420100.00%

24.138 0.019* 0.138

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

131

ตารางที่ 4.58 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานกระบวนการใหบริการ1. 759 บาท

2. 569 บาท

3. 488 บาท

4. 379 บาท

5. อื่น ๆ

รวม

92.14%

266.19%

266.19%

92.14%

--

7016.67%

358.33%

6916.43%

7818.57%

4310.24%

153.57%

24057.14%

235.48%

266.19%

399.29%

204.77%

20.48%

11026.19%

6715.95%

12128.81%

14334.05%

7217.14%

174.05%

420100.00%

19.201 0.084 0.123

ดานผลิตภาพและคุณภาพ1. 759 บาท

2. 569 บาท

3. 488 บาท

4. 379 บาท

5. อื่น ๆ

รวม

81.90%

215.00%

194.52%

92.14%

--

5713.57%

378.81%

7618.10%

8319.76%

348.10%

163.81%

24658.57%

225.24%

245.71%

419.76%

296.90%

10.24%

11727.86%

6715.95%

12128.81143

34.05%72

17.14%17

4.05%420

100.00%19.901 0.011* 0.154

*Sig. < 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

132

จากตารางที่ 4.58 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศดานคาโดยสารที่จายกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี พบวา มีความสัมพันธกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จํานวน 4 ปจจัย ไดแก ปจจัยดานรถโดยสารปรับอากาศ ปจจัย ดานบุคลากร ปจจัยดานลักษณะทางกายภาพ และปจจัยดานผลิตภาพและคุณภาพ สวนปจจัย ดานอื่น ๆ ไมมีความสัมพันธกัน

เมื่อทดสอบความสัมพันธดวยสถิติ Cramer’s V พบวา ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศดานคาโดยสารที่จายกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี โดยมีความสัมพันธในระดับต่ํา ไดแก ปจจัยดานรถโดยสารปรับอากาศ ปจจัยดานบุคลากร ปจจัย ดานลักษณะทางกายภาพ และปจจัยดานผลิตภาพและคุณภาพ โดยมีคาสัมประสิทธิ์ Cramer’s V เทากับ 0.146, 0.153, 0.138, 0.154 สวนปจจัยดานอื่น ๆ ไมมีความสัมพันธกัน

ตารางที่ 4.59 ความสัมพันธระหวางวัตถุประสงคที่ใชบริการกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานรถโดยสารปรับอากาศ1. กลับภูมิลําเนา

2. เยี่ยมญาติ/เพื่อน

3. การเรียน/การศึกษา

4. ทํางาน/ติดตอธุรกิจ /คาขาย

5. ทัศนศึกษาทองเที่ยว /พักผอนรวม

30.71%

92.14%

122.86%

194.52%

112.62%

5412.86%

337.86%

6214.76%

419.76%

5011.90%

8420.00%

27064.28%

122.86%

389.05%

71.67%

92.14%

307.14%

9622.86%

4811.43%

10925.95%

6014.29%

7818.57%

12529.76%

420100.00%

32.306 0.001* 0.160

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

133

ตารางที่ 4.59 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานราคา1. กลับภูมิลําเนา

2. เยี่ยมญาติ/เพื่อน

3. การเรียน/การศึกษา

4. ทํางาน/ติดตอธุรกิจ /คาขาย

5. ทัศนศึกษาทองเที่ยว /พักผอนรวม

40.95%

81.90%

112.62%

143.33%

102.38%

4711.19%

307.14%

6515.48%

4410.48%

5212.38%

7517.86%

26663.33%

143.33%

368.57%

51.19%

122.86%

409.52%

10725.48%

4811.43%

10925.95%

6014.29%

7818.57%

12529.76%

420100.00%

27.641 0.006* 0.148

ดานชองทางการจัดจําหนาย1. กลับภูมิลําเนา

2. เยี่ยมญาติ/เพื่อน

3. การเรียน/การศึกษา

4. ทํางาน/ติดตอธุรกิจ /คาขาย

5. ทัศนศึกษาทองเที่ยว /พักผอนรวม

40.95%

40.95%

51.19%

71.67%

61.43%

266.19%

225.24%

348.10%

4310.24%

4811.43%

6615.71%

21350.72%

225.23%

7116.91%

122.86%

235.48%

5312.62%

18143.09%

4811.43%

10925.95%

6014.29%

7818.57%

12529.76%

420100.00%

48.309 0.000* 0.196

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

134

ตารางที่ 4.59 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานการสงเสริมการตลาด1. กลับภูมิลําเนา

2. เยี่ยมญาติ/เพื่อน

3. การเรียน/การศึกษา

4. ทํางาน/ติดตอธุรกิจ /คาขาย

5. ทัศนศึกษาทองเที่ยว /พักผอนรวม

10.24%

20.48%

40.95%

92.14%

10.24%

174.05%

153.57%

4510.71%

378.81%

4410.48%

5513.10%

19646.67%

326.81%

6214.76%

194.53%

255.95%

6916.42%

20749.28%

4811.43%

10925.95%

6014.29%

7818.57%

12529.76%

420100.00%

39.890 0.000* 0.178

ดานบุคลากร1. กลับภูมิลําเนา

2. เยี่ยมญาติ/เพื่อน

3. การเรียน/การศึกษา

4. ทํางาน/ติดตอธุรกิจ /คาขาย

5. ทัศนศึกษาทองเที่ยว /พักผอนรวม

71.67%

133.10%

245.71%

245.71%

122.86%

8019.05%

255.95%

5513.10%

245.71%

419.76%

8019.05%

22553.57%

163.81%

419.77%

122.86%

133.10%

337.85%

11527.38%

4811.43%

10925.95%

6014.29%

7818.57%

12529.76%

420100.00%

44.869 0.000* 0.189

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

135

ตารางที่ 4.59 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานลักษณะทางกายภาพ1. กลับภูมิลําเนา

2. เยี่ยมญาติ/เพื่อน

3. การเรียน/การศึกษา

4. ทํางาน/ติดตอธุรกิจ /คาขาย

5. ทัศนศึกษาทองเที่ยว /พักผอนรวม

40.95%

102.38%

174.05%

255.95%

163.81%

7217.14%

307.14%

6014.29%

358.33%

419.76%

7718.33243

57.86%

143.33%

399.29%

81.91%

122.86%

327.62%

10525.00%

4811.43%

10925.95%

6014.29%

7818.57%

12529.76%

420100.00%

37.249 0.000* 0.172

ดานกระบวนการใหบริการ1. กลับภูมิลําเนา

2. เยี่ยมญาติ/เพื่อน

3. การเรียน/การศึกษา

4. ทํางาน/ติดตอธุรกิจ /คาขาย

5. ทัศนศึกษาทองเที่ยว /พักผอนรวม

20.48%

92.14%

215.00%

194.52%

194.52%

7016.67%

327.62%

5513.10%

307.14%

4711.19%

7618.10240

57.14%

143.33%

4510.72%

92.15%

122.86%

307.14%

11026.19%

4811.43%

10925.95%

6014.29%

7818.57%

12529.76%

420100.00%

51.808 0.000* 0.203

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

136

ตารางที่ 4.59 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานผลิตภาพและคุณภาพ1. กลับภูมิลําเนา

2. เยี่ยมญาติ/เพื่อน

3. การเรียน/การศึกษา

4. ทํางาน/ติดตอธุรกิจ /คาขาย

5. ทัศนศึกษาทองเที่ยว /พักผอนรวม

20.48%

112.62%

174.05%

174.05%

102.38%

5713.57%

296.90%

5112.14%

337.86%

5212.38%

8119.29%

24658.57%

174.05%

4711.19%

102.38%

92.14%

348.10%

11727.86%

4811.43%

10925.95%

6014.29%

7829.76%

--

420100.00%

49.195 0.000* 0.232

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.59 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศดานวัตถุประสงคที่ใชบริการกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี พบวา มีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทุกปจจัย

เมื่อทดสอบความสัมพันธดวยสถิติ Cramer’s V พบวา ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศดานวัตถุประสงคที่ใชบริการกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี โดย มีความสัมพันธในระดับต่ําทุกปจจัย โดยมีคาสัมประสิทธิ์ Cramer’s V เทากับ 0.160, 0.148, 0.196, 0.178, 0.189, 0.172, 0.203, 0.232 ตามลําดับ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

137

ตารางที่ 4.60 ความสัมพันธระหวางวิธีการซื้อตั๋วและจองตั๋วกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯในจังหวัดสุราษฎรธานี

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานรถโดยสารปรับอากาศ1. ซื้อตั๋วที่สถานีในวันที่

เดินทาง2. ซื้อตั๋วลวงหนา

ณ สถานีขายตั๋ว3. ซื้อ ณ จุดจําหนาย

ของตัวแทน 4. จองตั๋วทางโทรศัพท

5. จองตั๋วทางอินเทอรเน็ตรวม

81.90%

225.24%

102.38%

122.86%

20.48%

5412.86%

7417.62%

9021.43%

5813.81%

399.29%

92.14%

27064.29%

266.19%

4811.43%

112.62%

102.38%

10.24%

9622.85%

10825.71%

16038.10%

7918.81%

6114.52%

122.86%

420100.00%

20.817 0.053 0.129

ดานราคา1. ซื้อตั๋วที่สถานีในวันที่

เดินทาง2. ซื้อตั๋วลวงหนา

ณ สถานีขายตั๋ว3. ซื้อ ณ จุดจําหนาย

ของตัวแทน 4. จองตั๋วทางโทรศัพท

5. จองตั๋วทางอินเทอรเน็ตรวม

133.10%

194.52%

61.43%

71.67%

20.48%

4711.19%

7317.38%

9322.14%

4911.67%

419.76%

102.38%

26663.33%

225.24%

4811.43%

245.71%

133.10%

--

10725.48%

10825.71%

16938.10%

7918.81%

6114.52%

122.86%

420100.00%

16.235 0.181 0.114

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

138

ตารางที่ 4.60 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานชองทางการจัดจําหนาย1. ซื้อตั๋วที่สถานีในวันที่

เดินทาง2. ซื้อตั๋วลวงหนา

ณ สถานีขายตั๋ว3. ซื้อ ณ จุดจําหนาย

ของตัวแทน 4. จองตั๋วทางโทรศัพท

5. จองตั๋วทางอินเทอรเน็ตรวม

92.14%

102.38%

40.95%

30.71%

--

266.19%

4510.71%

7618.10%

4510.71%

378.81%

102.38%

21350.71%

5412.86%

7417.61%

307.14%

215.00%

20.48%

18143.10%

10825.71%

16038.10%

7918.81%

6114.52%

122.86%

420100.00%

18.528 0.101 0.121

ดานการสงเสริมการตลาด1. ซื้อตั๋วที่สถานีในวันที่

เดินทาง2. ซื้อตั๋วลวงหนา

ณ สถานีขายตั๋ว3. ซื้อ ณ จุดจําหนาย

ของตัวแทน 4. จองตั๋วทางโทรศัพท

5. จองตั๋วทางอินเทอรเน็ตรวม

40.95%

71.67%

20.48%

30.71%

10.24%

174.05%

5312.62%

7317.38%

399.29%

266.19%

51.19%

19646.67%

5112.15%

8019.04%

389.05%

327.62%

61.43%

20749.28%

10825.71%

16038.10%

7918.81%

6114.52%

122.86%

420100.00%

12.025 0.444 0.098

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

139

ตารางที่ 4.60 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานบุคลากร1. ซื้อตั๋วที่สถานีในวันที่

เดินทาง2. ซื้อตั๋วลวงหนา

ณ สถานีขายตั๋ว3. ซื้อ ณ จุดจําหนาย

ของตัวแทน 4. จองตั๋วทางโทรศัพท

5. จองตั๋วทางอินเทอรเน็ตรวม

112.62%

337.86%

194.52%

153.57%

20.48%

8019.05%

6816.19%

7618.10%

4310.24%

317.38%

71.67%

22553.57%

296.91%

5112.15%

174.05%

153.57%

30.71%

11527.38%

10825.71%

16038.10%

7918.81%

6114.52%

122.86%

420100.00%

18.253 0.108 0.120

ดานลักษณะทางกายภาพ1. ซื้อตั๋วที่สถานีในวันที่

เดินทาง2. ซื้อตั๋วลวงหนา

ณ สถานีขายตั๋ว3. ซื้อ ณ จุดจําหนาย

ของตัวแทน 4. จองตั๋วทางโทรศัพท

5. จองตั๋วทางอินเทอรเน็ตรวม

153.5734

8.10%14

3.33%7

1.67%2

0.48%72

17.14%

6515.48%

7618.10%

5212.38%

4210.00%

81.90%

24357.86%

286.67%

5011.91%

133.10%

122.86%

20.48%

10525.00%

10825.71%

16038.10%

7918.81%

6114.52%

122.86%

420100.00%

16.136 0.185 0.113

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

140

ตารางที่ 4.60 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานกระบวนการใหบริการ1. ซื้อตั๋วที่สถานีในวันที่

เดินทาง2. ซื้อตั๋วลวงหนา

ณ สถานีขายตั๋ว3. ซื้อ ณ จุดจําหนาย

ของตัวแทน 4. จองตั๋วทางโทรศัพท

5. จองตั๋วทางอินเทอรเน็ตรวม

153.57%

296.90%

153.57%

81.90%

30.71%

7016.67%

6415.24%

7618.10%

4811.43%

4510.71%

71.67%

24057.14%

296.90%

5513.10%

163.81%

81.91%

20.48%

11026.19%

10825.71%

16038.10%

7918.81%

6114.52%

122.86%

430100.00%

30.885 0.002* 0.157

ดานผลิตภาพและคุณภาพ1. ซื้อตั๋วที่สถานีในวันที่

เดินทาง2. ซื้อตั๋วลวงหนา

ณ สถานีขายตั๋ว3. ซื้อ ณ จุดจําหนาย

ของตัวแทน 4. จองตั๋วทางโทรศัพท

5. จองตั๋วทางอินเทอรเน็ตรวม

122.86%

194.52%

143.33

92.14%

30.71%

5713.57%

6816.19%

8820.95%

4410.48%

399.29%

71..67%

24658.57%

286.67%

5312.62%

215.00%

133.10%

20.48%

11727.86%

10825.71%

16038.10%

7918.81%

6114.52%

122.86%

420100.00%

7.419 0.492 0.094

*Sig. < 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

141

จากตารางที่ 4.60 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศดานวิธีการซื้อตั๋วและจองตั๋วกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี พบวา มีความสัมพันธกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จํานวน 1 ปจจัย ไดแก ปจจัยดานกระบวนการใหบริการ สวนปจจัยดานอื่น ๆ ไมมีความสัมพันธกัน

เมื่อทดสอบความสัมพันธดวยสถิติ Cramer’s V พบวา ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศดานวิธีการซื้อตั๋วและจองตั๋วกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี โดย มีความสัมพันธในระดับต่ํา ไดแก ปจจัยดานกระบวนการใหบริการ โดยมีคาสัมประสิทธิ์ Cramer’s V เทากับ 0.157 สวนปจจัยดานอื่น ๆ ไมมีความสัมพันธกัน

ตารางที่ 4.61 ความสัมพันธระหวางลักษณะการเลือกซื้อตั๋วในการเดินทางกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานรถโดยสารปรับอากาศ1. ซือ้เที่ยวเดียว

2. ซื้อตั๋วไป - กลับ

รวม

419.76%

133.10%

5412.86%

18143.10%

8921.19%

27064.29%

5613.34%

409.53%

9622.85%

27866.19%

4233.81%

420100.00%

5.085 0.166 0.110

ดานราคา1. ซื้อเที่ยวเดียว

2. ซื้อตั๋วไป - กลับ

รวม

389.05%

92.14%

4711.19%

18243.33%

8420.00%

26663.33%

5813.81%

4911.67%

10725.48%

27866.19%

14233.81420

100.00%13.299 0.004* 0.178

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

142

ตารางที่ 4.61 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานชองทางการจัดจําหนาย1. ซื้อเที่ยวเดียว

2. ซื้อตั๋วไป - กลับ

รวม

215.00%

51.19%

266.19%

15336.43%

6014.29%

21350.71%

10424.76%

7718.33%

18143.10%

27866.19%

14233.81%

420100.00%

11.872 0.008* 0.168

ดานการสงเสริมการตลาด1. ซื้อเที่ยวเดียว

2. ซื้อตั๋วไป - กลับ

รวม

1433.33%

30.71%

174.05%

1433.33%

5613.33%

19646.67%

12429.52%

8319.76%

20749.28%

27666.19%

14233.81%

420100.00%

8.897 0.031* 0.146

ดานบุคลากร1. ซื้อเที่ยวเดียว

2. ซื้อตั๋วไป - กลับ

รวม

6415.24%

163.81%

8019.05%

15436.67%

7116.90%

22553.57%

6014.28%

5513.09%

11527.38%

27866.19%

14233.81%

420100.00%

17.713 0.001* 0.205

ดานลักษณะทางกายภาพ1. ซื้อเที่ยวเดียว

2. ซื้อตั๋วไป - กลับ

รวม

5813.81%

143.33%

7217.14%

16639.52%

7718.33%

24357.86%

5412.86%

5112.15%

10525.00%

27866.19%

14233.81%

420100.00%

17.356 0.001* 0.203

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

143

ตารางที่ 4.61 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานกระบวนการใหบริการ1. ซื้อเที่ยวเดียว

2. ซื้อตั๋วไป - กลับ

รวม

5412.86%

163.81%

7016.67%

16639.52%

7417.62%

24057.14%

5813.81%

5212.38%

11026.19%

27866.19%

14233.81%

420100.00%

14.130 0.003* 0.183

ดานผลิตภาพและคุณภาพ1. ซื้อเที่ยวเดียว

2. ซื้อตั๋วไป - กลับ

รวม

4410.48%

133.10%

5713.57%

17341.19%

7317.38%

24658.57%

6114.52%

5613.33%

11727.86%

27866.19%

14233.81%

420100.00%

15.289 0.000* 0.191

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.61 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศดานลักษณะการเลือกซื้อตั๋วในการเดินทางกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี พบวา มีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จํานวน 7 ปจจัย ไดแก ปจจัยดานราคา ปจจัยดานชองทางการจัดจําหนาย ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด ปจจัยดานบุคลากร ปจจัย ดานลักษณะทางกายภาพ ปจจัยดานกระบวนการใหบริการ และปจจัยดานผลิตภาพและคุณภาพ สวนปจจัยดานรถโดยสารปรับอากาศ ไมมีความสัมพันธกัน

เมื่อทดสอบความสัมพันธดวยสถิติ Cramer’s V พบวา ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศดานลักษณะการเลือกซื้อตั๋วในการเดินทางกับปจจัยที่มีผล ตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัด สุราษฎรธานี โดยมีความสัมพันธในระดับต่ํา ไดแก ปจจัยดานราคา ปจจัยดานชองทางการจัดจําหนาย

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

144

ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด ปจจัยดานบุคลากร ปจจัยดานลักษณะทางกายภาพ ปจจัย ดานกระบวนการใหบริการ และปจจัยดานผลิตภาพและคุณภาพ โดยมีคาสัมประสิทธิ์ Cramer’s V เทากับ 0.178, 0.168, 0.146, 0.205, 0.203, 0.183, 0.191 สวนปจจัยดานรถโดยสารปรับอากาศ ไมมีความสัมพันธกัน

ตารางที่ 4.62 ความสัมพันธระหวางการใชบริการตอเดือนกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานรถโดยสารปรับอากาศ1. 1 ครั้ง

2. 2 ครั้ง

3. 3 ครั้ง

4. มากกวา 3 ครั้ง

รวม

1737.86%

276.43%

51.19%

51.19%

5412.86%

11026.19%

13632.38%

71.67%

174.05%

27064.29%

327.62%

4911.67%

51.19%

102.38%

9622.85%

15937.86%

21250.48%

174.05%

327.62%

420100.00%

20.473 0.015* 0.127

ดานราคา1. 1 ครั้ง

2. 2 ครั้ง

3. 3 ครั้ง

4. มากกวา 3 ครั้ง

รวม

174.05%

225.24%

30.71%

51.19%

4711.19%

11026.19%

12730.24%

102.38%

194.52%

26663.33%

327.62%

6315.00%

40.95%

81.90%

10725.48%

15937.86%

21250.48%

174.05%

327.61%

420100.00%

30.169 0.000* 0.155

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

145

ตารางที่ 4.62 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานชองทางการจัดจําหนาย1. 1 ครั้ง

2. 2 ครั้ง

3. 3 ครั้ง

4. มากกวา 3 ครั้ง

รวม

133.10%

81.90%

20.48%

30.71%

266.19%

8420.00%

10525.00%

92.14%

153.57%

21350.71%

6214.77%

9923.57%

61.43%

143.33%

18143.10%

15937.86%

21250.48%

174.05%

327.61%

420100.00%

8.894 0.447 0.084

ดานการสงเสริมการตลาด1. 1 ครั้ง

2. 2 ครั้ง

3. 3 ครั้ง

4. มากกวา 3 ครั้ง

รวม

20.48%

92.14%

30.71%

30.71%

174.05%

8119.29%

9322.14%

71.67%

153.57%

19646.67%

7618.10%

11026.19%

71.67%

143.34%

20749.28%

15937.86%

21250.48%

174.05%

327.61%

420100.00%

21.021 0.013* 0.129

ดานบุคลากร1. 1 ครั้ง

2. 2 ครั้ง

3. 3 ครั้ง

296.90%

368.57%

81.90%

9622.86%

10725.48%

61.43%

348.10%

6916.43%

30.72%

15937.86%

21250.48%

174.05%

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

146

ตารางที่ 4.62 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

4. มากกวา 3 ครั้ง

รวม

71.67%

8019.05%

163.81%

22553.57%

92.14%

11527.38%

327.61%

420100.00%

18.432 0.030* 0.121

ดานลักษณะทางกายภาพ1. 1 ครั้ง

2. 2 ครั้ง

3. 3 ครั้ง

4. มากกวา 3 ครั้ง

รวม

286.67%

348.10%

40.95%

61.43%

7217.14%

9823.33%

12028.57%

92.14%

163.81%

24357.86%

337.86%

5813.81%

40.95%

102.38%

10525.00%

15937.86%

21250.48%

174.05%

327.61%

420100.00%

10.338 0.324 0.091

ดานกระบวนการใหบริการ1. 1 ครั้ง

2. 2 ครั้ง

3. 3 ครั้ง

4. มากกวา 3 ครั้ง

รวม

266.19%327.62%51.19%71.67%

7016.67%

9622.86%12128.81%71.69%163.81%

24057.14%

378.81%5914.05%51.19%92.14%

11026.19%

15937.86%21250.48%174.05%327.61%

420100.00%

12.296 0.197 0.099

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

147

ตารางที่ 4.62 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานผลิตภาพและคุณภาพ20

4.76%28

6.67%2

0.48%7

1.67%57

13.57%

10324.52%

11727.86%

102.38%

163.81%

24658.57%

368.57%

6715.95%

51.19%

92.14%

11727.86%

15937.86%

21250.48%

174.05%

327.61%

420100.00%

6.301 0.390 0.087

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.62 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศดานการใชบริการตอเดือนกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี พบวา มีความสัมพันธกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จํานวน 4 ปจจัย ไดแก ปจจัยดานรถโดยสารปรับอากาศ ปจจัยดานราคา ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด และปจจัยดานบุคลากร สวนปจจัยดานอื่น ๆ ไมมีความสัมพันธกัน

เมื่อทดสอบความสัมพันธดวยสถิติ Cramer’s V พบวา ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศดานการใชบริการตอเดือนกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี โดย มีความสัมพันธในระดับต่ํา ไดแก ปจจัยดานรถโดยสารปรับอากาศ ปจจัยดานราคา ปจจัยดาน การสงเสริมการตลาด และปจจัยดานบุคลากร โดยมีคาสัมประสิทธิ์ Cramer’s V เทากับ 0.127, 0.155, 0.129, 0.121 สวนปจจัยดานอื่น ๆ ไมมีความสัมพันธกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

148

ตารางที่ 4.63 ความสัมพันธระหวางชวงเวลาที่เลือกใชบริการกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานรถโดยสารปรับอากาศ1. 07.00 - 11.00 น.

2. 11.01 - 15.00 น.

3. 15.01 - 19.00 น.

4. 19.01 - 21.00 น.

รวม

163.81%

--5

1.19%33

7.86%54

12.86%

9021.43%

112.62%

276.43%

14233.81%

27064.29%

4410.48%

10.24%

143.33%

378.81%

9622.85%

15035.71%

122.86%

4610.95%

21250.48%

420100.00%

13.937 0.125 0.105

ดานราคา1. 07.00 - 11.00 น.

2. 11.01 - 15.00 น.

3. 15.01 - 19.00 น.

4. 19.01 - 21.00 น.

รวม

163.81%

--6

1.43%25

5.95%47

11.19%

10625.24%

92.14%

235.48%

12830.48%

26663.33%

286.67%

30.71%

174.05%

5914.05%

10725.48%

15035.71

122.86%

4610.95%

21250.48%

420100.00%

12.686 0.177 0.100

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

149

ตารางที่ 4.63 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานชองทางการจัดจําหนาย1. 07.00 - 11.00 น.

2. 11.01 - 15.00 น.

3. 15.01 - 19.00 น.

4. 19.01 - 21.00 น.

รวม

112.62%

--2

0.48%13

3.10%26

6.19%

7417.62%

61.43%

215.00%

11226.67%

21350.71%

6515.48%

61.43%

235.48%

8720.72%

18143.10%

15035.71%

122.86%

4610.95%

21250.48%

420100.00%

12.026 0.212 0.098

ดานการสงเสริมการตลาด1. 07.00 - 11.00 น.

2. 11.01 - 15.00 น.

3. 15.01 - 19.00 น.

4. 19.01 - 21.00 น.

รวม

112.62%

----6

1.43%17

4.05%

6515.48%

20.48%

235.48%

10625.24%

19646.67%

7417.62%

102.38%

235.48%

10023.81%

20749.28%

15035.71%

122.86%

4610.95%

21250.48%

420100.00%

16.857 0.051 0.116

ดานบุคลากร1. 07.00 - 11.00 น.

2. 11.01 - 15.00 น.

3. 15.01 - 19.00 น.

155.95%

10.24%

102.38%

8620.48%

71.67%

194.52%

399.28%

40.95%

174.05%

15035.71%

122.86%

4610.95%

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

150

ตารางที่ 4.63 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

4. 19.01 - 21.00 น.

รวม

4410.48%

8019.05%

11326.90%

22553.57%

5513.09%

11527.38%

21250.48%

420100.00%

5.892 0.751 0.068

ดานลักษณะทางกายภาพ1. 07.00 - 11.00 น.

2. 11.01 - 15.00 น.

3. 15.01 - 19.00 น.

4. 19.01 - 21.00 น.

รวม

266.19%

--8

1.90%38

9.05%72

17.14%

9221.90%

112.62%

245.71%

11637.62%

24357.86%

327.62%

10.24%

143.33%

5813.81%

10525.00%

15035.71%

122.86%

4610.95%

21250.48%

420100.00%

9.750 0.371 0.088

ดานกระบวนการใหบริการ1. 07.00 - 11.00 น.

2. 11.01 - 15.00 น.

3. 15.01 - 19.00 น.

4. 19.01 - 21.00 น.

รวม

245.71%

--8

1.90%38

9.05%70

16.67%

8620.48%

102.38%

255.95%

11928.33%

24057.14%

409.53%

20.48%

133.10%

5513.10%

11026.19%

15035.71%

122.86%

4610.95%

21250.48%

420100.00%

7.966 0.538 0.080

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

151

ตารางที่ 4.63 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานผลิตภาพและคุณภาพ1. 07.00 - 11.00 น.

2. 11.01 - 15.00 น.

3. 15.01 - 19.00 น.

4. 19.01 - 21.00 น.

รวม

215.00%

10.24%

40.95%

317.38%

5713.57%

8921.19%

81.90%

235.48%

12630.00%

24658.57%

409.52%

30.71%

194.52%

5513.10%

11727.86%

15035.71%

122.86%

4610.95%

21250.48%

420100.00%

5.371 0.497 0.080

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.63 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศดานชวงเวลาที่เลือกใชบริการกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี พบวา ไมมีความสัมพันธกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

152

ตารางที่ 4.64 ความสัมพันธระหวางชวงวันที่เลือกใชบริการกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานรถโดยสารปรับอากาศ1. จันทร - ศุกร

2. เสาร - อาทิตย

3. วันหยุดนักขัตฤกษ

4. ไมแนนอน

รวม

61.43%

92.14%

71.67%

327.62%

5412.86%

276.43%

5312.62%

419.76%

14935.48%

27064.29%

133.10%

204.76%

81.90%

5513.10%

9622.85%

4610.96%

8219.52%

5613.33%

23656.19%

420100.00%

5.142 0.822 0.064

ดานราคา1. จันทร - ศุกร

2. เสาร - อาทิตย

3. วันหยุดนักขัตฤกษ

4. ไมแนนอน

รวม

81.90%

81.90%

102.38%

215.00%

4711.19%

307.14%

5813.81%

368.57%

14233.81%

26663.33%

81.90%

163.81%

102.38%

7317.38%

10725.48%

4610.96%

8219.52%

5613.33%

23656.19%

420100.00%

17.231 0.045* 0.117

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

153

ตารางที่ 4.64 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานชองทางการจัดจําหนาย1. จันทร - ศุกร

2. เสาร - อาทิตย

3. วันหยุดนักขัตฤกษ

4. ไมแนนอน

รวม

40.95%

40.95%

40.95%

143.33%

266.19%

266.19%

419.76%

337.86%

11326.90%

21350.71%

163.81%

378.81%

194.53%

10925.95%

18143.10%

4610.96%

8219.52%

5613.33%

23656.19%

420100.00%

5.071 0.828 0.063

ดานการสงเสริมการตลาด1. จันทร - ศุกร

2. เสาร - อาทิตย

3. วันหยุดนักขัตฤกษ

4. ไมแนนอน

รวม

10.24%

30.71%

51.19%

81.90%

174.05%

307.14%

358.33%

266.19%

10525.00%

19646.67%

153.5744

10.48%25

5.95%123

29.29%207

49.28%

4610.96%

8219.52%

5613.33236

56.19420

100.00%11.639 0.234 0.096

ดานบุคลากร1. จันทร - ศุกร

2. เสาร - อาทิตย

3. วันหยุดนักขัตฤกษ

61.43%

133.10%

143.33

348.10%

4711.19%

286.67%

61.43%

225.24%

143.33%

4610.96%

8219.52%

5613.33%

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

154

ตารางที่ 4.64 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

4. ไมแนนอน

รวม

4711.19%

8019.05%

11627.62%

22553.57%

7317.38%

11527.38%

23656.19%

420100.00%

13.653 0.135 0.104

ดานลักษณะทางกายภาพ1. จันทร - ศุกร

2. เสาร - อาทิตย

3. วันหยุดนักขัตฤกษ

4. ไมแนนอน

รวม

102.38%

133.10%

92.14%

409.52%

7217.14%

307.14%

5212.38%

399.29%

12229.05%

24357.86%

61.43%

174.05%

81.91%

7417.62%

10525.00%

4610.96%

8219.52%

5613.33%

23656.19%

420100.00%

18.114 0.034* 0.120

ดานกระบวนการใหบริการ1. จันทร - ศุกร

2. เสาร - อาทิตย

3. วันหยุดนักขัตฤกษ

4. ไมแนนอน

112.62%

122.86%

71.67%

409.52%

225.24%

5312.62%

409.52%

12529.76%

133.10%

174.05%

92.14%

7116.91%

4610.96%

8219.52%

5613.33%

23656.19%

รวม 7016.67%

24057.14%

11026.19%

420100.00%

13.534 0.140 0.104

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

155

ตารางที่ 4.64 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานผลิตภาพและคุณภาพ1. จันทร - ศุกร

2. เสาร - อาทิตย

3. วันหยุดนักขัตฤกษ

4. ไมแนนอน

รวม

122.86%

92.14%

102.38%

266.19%

5713.57%

286.67%

5011.90%

368.57%

13231.43%

24658.57%

61.43%

235.48%

102.38%

7818.57%

11727.86%

4610.96%

8219.52%

5613.33%

23656.19%

420100.00%

16.244 0.013* 0.139

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.64 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศดานชวงวันที่เลือกใชบริการกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี พบวา มีความสัมพันธกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จํานวน 3 ปจจัย ไดแก ปจจัยดานราคา ปจจัยดานลักษณะ ทางกายภาพ และปจจัยดานผลิตภาพและคุณภาพ สวนปจจัยดานอื่น ๆ ไมมีความสัมพันธกัน

เมื่อทดสอบความสัมพันธดวยสถิติ Cramer’s V พบวา ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศดานชวงวันที่เลือกใชบริการกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี โดย มีความสัมพันธในระดับต่ํา ไดแก ปจจัยดานราคา ปจจัยดานลักษณะทางกายภาพ และปจจัย ดานผลิตภาพและคุณภาพโดยมีคาสัมประสิทธิ์ Cramer’s V เทากับ 0.117, 0.120, 0.139 สวนปจจัยดานอื่น ๆ ไมมีความสัมพันธกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

156

ตารางที่ 4.65 ความสัมพันธระหวางผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯในจังหวัดสุราษฎรธานี

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานรถโดยสารปรับอากาศ1. ตนเอง

2. เพื่อน

3. ญาติ

4. คูสมรส

5. อื่น ๆ

รวม

348.10%

92.14%

20.48%

92.14%

--

5412.86%

12730.24%

6014.29%

4210.00%

348.10%

71.67%

27064.29%

419.76%

358.33%

133.10%

71.67%

--

9622.85%

20248.10%

10424.76%

5713.57%

5011.90%

71.67%

420100.00%

26.483 0.009* 0.145

ดานราคา1. ตนเอง

2. เพื่อน

3. ญาติ

4. คูสมรส

5. อื่น ๆ

รวม

276.43%

112.62

30.71%

61.43%

--

4711.19%

13231.43%

5412.86%

348.10%

399.29%

71.67%

26663.33%

4310.24%

399.29%

204.76%

51.19%

--

10725.48%

20248.10%

10424.76%

5713.57%

5011.90%

71.67%

420100.00%

33.755 0.001* 0.164

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

157

ตารางที่ 4.65 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานชองทางการจัดจําหนาย1. ตนเอง

2. เพื่อน

3. ญาติ

4. คูสมรส

5. อื่น ๆ

รวม

122.86%

71.67%

20.48%

51.19%

--

266.19%

11627.62%

399.29%

276.43%

245.71%

71.67%

21350.71%

7417.62%

5813.81%

286.67%

215.00%

--

18143.10%

20248.10%

10424.76%

5713.57%

5011.90%

71.67%

420100.00%

20.980 0.051 0.129

ดานการสงเสริมการตลาด1. ตนเอง

2. เพื่อน

3. ญาติ

4. คูสมรส

5. อื่น ๆ

รวม

61.43%

51.19%

--6

1.43%--

174.05%

10725.48%

399.29%

266.19%

204.76%

40.95%

19646.67%

8921.19%

6014.29%

317.38%

245.72%

30.71%

20749.28%

20248.10%

10424.76%

5713.57%

5011.90%

71.67%

420100.00%

23.174 0.026* 0.136

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

158

ตารางที่ 4.65 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานบุคลากร1. ตนเอง

2. เพื่อน

3. ญาติ

4. คูสมรส

5. อื่น ๆ

รวม

4811.43%

122.86%

40.95%

163.81%

--

8019.05%

10023.81%

5513.10%

358.33%

286.67%

71.67%

22553.57%

5412.86%

378.81%

184.29%

61.43%

--

11527.38%

20248.10%

10424.76%

5713.57%

5011.90%

71.67%

420100.00%

32.599 0.001* 0.161

ดานลักษณะทางกายภาพ1. ตนเอง

2. เพื่อน

3. ญาติ

4. คูสมรส

5. อื่น ๆ

รวม

409.52%

143.33%

51.19%

133.10%

--

7217.14%

11627.62%

5112.14%

399.29%

327.62%

51.19%

24357.86%

4610.96%

399.29%

133.10%

51.19%

20.48%

10525.00%

20248.10%

10424.76%

5713.57%

5011.90%

71.67%

420100.00%

26.432 0.009* 0.145

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

159

ตารางที่ 4.65 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานกระบวนการใหบริการ1. ตนเอง

2. เพื่อน

3. ญาติ

4. คูสมรส

5. อื่น ๆ

รวม

419.76%

143.33%

61.43%

92.14%

--

7016.67%

11627.62%

5011.90%

368.57%

348.10%

40.95%

24057.14%

4510.72%

409.52%

153.57%

71.67%

30.71%

11026.19%

20248.10%

10424.76%

5713.57%

5011.90%

71.67%

420100.00%

22.896 0.029* 0.135

ดานผลิตภาพและคุณภาพ1. ตนเอง

2. เพื่อน

3. ญาติ

4. คูสมรส

5. อื่น ๆ

รวม

378.81%

81.90%

40.95%

81.90%

--

5713.57%

11727.86%

5011.90%

389.05%

348.10%

71.67%

24658.57%

4811.43%

4610.95%

153.57%

81.90%

--

11727.86%

20248.10%

10424.76%

5713.57%

5011.90%

71.67%

420100.00%

30.137 0.000* 0.189

*Sig. < 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

160

จากตารางที่ 4.65 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศดานผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี พบวา มีความสัมพันธกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จํานวน 7 ปจจัย ไดแก ปจจัยดานรถโดยสารปรับอากาศ ปจจัยดานราคา ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด ปจจัยดานบุคคล ปจจัยดานลักษณะทางกายภาพ ปจจัยดานกระบวนการใหบริการ และปจจัยดานผลิตภาพและคุณภาพ สวนปจจัย ดานชองทางการจัดจําหนาย ไมมีความสัมพันธกัน

เมื่อทดสอบความสัมพันธดวยสถิติ Cramer’s V พบวา ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศดานผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการกับปจจัยที่มีผล ตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัด สุราษฎรธานี โดยมีความสัมพันธในระดับต่ํา ไดแก ปจจัยดานรถโดยสารปรับอากาศ ปจจัยดานราคา ปจจัยการสงเสริมการตลาด ปจจัยดานบุคคล ปจจัยดานลักษณะทางกายภาพ ปจจัยดานกระบวนการใหบริการ และปจจัยดานผลิตภาพและคุณภาพ โดยมีคาสัมประสิทธิ์ Cramer’s V เทากับ 0.145, 0.164, 0.136, 0.161, 0.145, 0.135, 0.189 สวนปจจัยดานชองทางการจัดจําหนาย ไมมีความสัมพันธกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

161

ตารางที่ 4.66 ความสัมพันธระหวางแหลงขอมูลเพื่อการเดินทางกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯในจังหวัดสุราษฎรธานี

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานรถโดยสารปรับอากาศ1. สอบถามจากบุคคลอื่น 2. สอบถามจากพนักงาน

หรือผูใหบริการ3. ปายบอกเสนทาง

ขางตัวรถ4. ปายประชาสัมพันธ

บริเวณที่พักผูโดยสาร5. อื่น ๆ

รวม

143.33%

163.81%

10.24%

235.48%

--

5412.86%

8820.95%

7116.90%

174.05%

8820.95%

61.43%

27064.29%

4310.24%

235.48%

92.14%

143.34%

71.67%

9622.85%

14534.52%

11026.19%

276.43%

12529.76%

133.10%

420100.00%

28.769 0.004* 0.151

ดานราคา1. สอบถามจากบุคคลอื่น 2. สอบถามจากพนักงาน

หรือผูใหบริการ3. ปายบอกเสนทาง

ขางตัวรถ4. ปายประชาสัมพันธ

บริเวณที่พักผูโดยสาร5. อื่น ๆ

รวม

102.38%

133.10%

10.24%

235.48%

--

4711.19%

8520.24%

7116.90%

163.81%

8620.48%

81.90%

26663.33%

5011.90%

266.19%

102.38%

163.81%

51.19%

10725.48%

14534.52%

11026.19%

276.43%

12529.76%

133.10%

420100.00%

30.694 0.002* 0.156

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

162

ตารางที่ 4.66 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานชองทางการจัดจําหนาย1. สอบถามจากบุคคลอื่น 2. สอบถามจากพนักงาน

หรือผูใหบริการ3. ปายบอกเสนทาง

ขางตัวรถ4. ปายประชาสัมพันธ

บริเวณที่พักผูโดยสาร5. อื่น ๆ

รวม

30.71%

81.90%

30.71%

122.86%

--

266.19%

6515.48%

5112.14%

92.14%

8219.52%

61.43%

21350.71%

7718.33%

5112.15%

153.57%

317.38%

71.67%

18143.10%

14534.52%

11026.19%

276.43%

12529.76%

133.10%

420100.00%

32.455 0.001* 0.160

ดานการสงเสริมการตลาด1. สอบถามจากบุคคลอื่น 2. สอบถามจากพนักงาน

หรือผูใหบริการ3. ปายบอกเสนทาง

ขางตัวรถ4. ปายประชาสัมพันธ

บริเวณที่พักผูโดยสาร5. อื่น ๆ

รวม

10.24%

81.90%

20.48%

61.43%

--

174.05%

6415.24%

4911.67%

102.38%

7116.90%

20.48%

19646.67%

8019.05%

5312.62%

153.57%

4811.43%

112.62%

20749.28%

14534.52%

11026.19%

276.43%

12529.76%

133.10%

420100.00%

33.448 0.001* 0.163

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

163

ตารางที่ 4.66 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานบุคลากร1. สอบถามจากบุคคลอื่น 2. สอบถามจากพนักงาน

หรือผูใหบริการ3. ปายบอกเสนทาง

ขางตัวรถ4. ปายประชาสัมพันธ

บริเวณที่พักผูโดยสาร5. อื่น ๆ

รวม

122.86%

194.52%

20.48%

4711.19%

--

8019.05%

8119.29%

6214.76%

174.05%

5813.81%

71.67%

22553.57%

5212.38%

296.91%

81.90%

204.76%

61.43%

11527.38%

14534.52%

11026.19%

276.43%

12529.76%

133.10%

420100.00%

51.013 0.000* 0.201

ดานลักษณะทางกายภาพ1. สอบถามจากบุคคลอื่น 2. สอบถามจากพนักงาน

หรือผูใหบริการ3. ปายบอกเสนทาง

ขางตัวรถ4. ปายประชาสัมพันธ

บริเวณที่พักผูโดยสาร5. อื่น ๆ

รวม

92.14%

215.00%

10.24%

419.76%

--

7217.14%

8520.24%

6415.24%

194.52%

6715.95%

81.90%

24357.86%

5112.15%

255.95%

71.67%

174.05%

51.19%

10525.00%

14534.52%

11026.19%

276.43%

12529.76%

133.10%

420100.00%

48.861 0.000* 0.197

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

164

ตารางที่ 4.66 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานกระบวนการใหบริการ1. สอบถามจากบุคคลอื่น 2. สอบถามจากพนักงาน

หรือผูใหบริการ3. ปายบอกเสนทาง

ขางตัวรถ4. ปายประชาสัมพันธ

บริเวณที่พักผูโดยสาร5. อื่น ๆ

รวม

102.38%

194.52%

30.71%

389.05%

--

7016.67%

8319.76%

6415.24%

153.57%

6916.43%

92.14%

24057.14%

5212.38%

276.43%

92.14%

184.29%

40.95%

11026.19%

14534.52%

11026.19%

276.43%

12529.76%

133.10%

420100.00%

49.640 0.000* 0.198

ดานผลิตภาพและคุณภาพ1. สอบถามจากบุคคลอื่น 2. สอบถามจากพนักงาน

หรือผูใหบริการ3. ปายบอกเสนทาง

ขางตัวรถ4. ปายประชาสัมพันธ

บริเวณที่พักผูโดยสาร5. อื่น ๆ

รวม

102.38%

153.57%

--

327.62%

--

5713.57%

8219.52%

6715.95%

184.29%

7317.38%

61.43%

24658.57%

5312.62%

286.67%

92.14%

204.76%

71.67%

11727.86%

14534.52%

11026.19%

276.43%

12529.76%

133.10%

420100.00%

38.278 0.000* 0.213

*Sig. < 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

165

จากตารางที่ 4.66 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศดานแหลงขอมูลเพื่อการเดินทางกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี พบวา มีความสัมพันธกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทุกปจจัย

เมื่อทดสอบความสัมพันธดวยสถิติ Cramer’s V พบวา ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศดานแหลงขอมูลเพื่อการเดินทางกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี โดย มีความสัมพันธในระดับต่ําทุกปจจัย โดยมีคาสัมประสิทธิ์ Cramer’s V เทากับ 0.151, 0.156, 0.160, 0.163, 0.201, 0.197, 0.198, 0.213 ตามลําดับ

ตารางที่ 4.67 ความสัมพันธระหวางบุคคลที่รวมเดินทางกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของ ผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานรถโดยสารปรับอากาศ1. ไมมี

2. ญาติ

3. ครอบครัว

4. เพื่อน

5. อื่น ๆ

รวม

255.95%

30.71%

122.86%

143.33%

--

5412.86%

7618.10%

4811.43%

5713.57%

7618.10%

133.10%

27064.29%

389.05%

204.76%

81.90%

286.67%

20.4896

22.85%

13933.10%

7116.90%

7718.33%

11828.10%

153.57%

420100.00%

27.056 0.008* 0.147

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

166

ตารางที่ 4.67 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานราคา1. ไมมี

2. ญาติ

3. ครอบครัว

4. เพื่อน

5. อื่น ๆ

รวม

204.76%

40.95%

112.62%

122.86%

--

4711.19%

8720.71%

419.76%

5011.90%

7417.62%

143.33%

26663.33%

327.62%

266.19%

163.81%

327.62%

10.24%

10725.48%

13933.10%

7116.90%

7718.33%

11828.10%

153.57%

420100.00%

17.390 0.136 0.117

ดานชองทางการจัดจําหนาย1. ไมมี

2. ญาติ

3. ครอบครัว

4. เพื่อน

5. อื่น ๆ

รวม

112.62%

40.95%

61.43%

51.19

--

266.19%

7016.67%

296.90%

399.29%

6715.95%

81.90%

21350.71%

5813.81%

389.05%

327.62%

4610.95%

71.67%

18143.10%

13933.10%

7116.90%

7718.33%

11828.10%

153.57%

420100.00%

9.586 0.652 0.087

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

167

ตารางที่ 4.67 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานการสงเสริมการตลาด1. ไมมี

2. ญาติ

3. ครอบครัว

4. เพื่อน

5. อื่น ๆ

รวม

51.19%

20.48%

71.67%

30.71%

--

174.05%

6615.71%

307.14%

378.81%

6014.29%

30.71%

19646.67%

6816.19%

399.29%

337.86%

5513.09%

122.86%

20749.28%

13933.10%

7116.90%

7718.33%

11828.10%

153.57%

420100.00%

21.938 0.038* 0.132

ดานบุคลากร1. ไมมี

2. ญาติ

3. ครอบครัว

4. เพื่อน

5. อื่น ๆ

รวม

276.43%

81.90%

215.00%

245.71%

--

8019.05%

7016.67%

499.52%

4310.24%

5914.05%

133.10%

22553.57%

4210.00%

235.48%

133.10%

358.33%

20.48%

11527.38%

13933.10%

7116.90%

7718.33%

11828.10%

153.57%

420100.00%

20.159 0.064 0.126

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

168

ตารางที่ 4.67 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานลักษณะทางกายภาพ1. ไมมี

2. ญาติ

3. ครอบครัว

4. เพื่อน

5. อื่น ๆ

รวม

255.95%

102.38%

163.81%

215.00%

--

7217.14%

7818.57%

419.76%

4510.71%

6515.48%

143.33%

24357.86%

368.57%

204.76%

163.81%

327.62%

10.24%

10525.00%

13933.10%

7116.90%

7718.33%

11828.10%

153.57%

420100.00%

12.036 0.443 0.098

ดานกระบวนการใหบริการ1. ไมมี

2. ญาติ

3. ครอบครัว

4. เพื่อน

5. อื่น ๆ

รวม

215.00%

153.57%

133.10%

215.00%

--

7016.67%

7718.33%

327.62%

5011.90%

6816.19%

133.10%

24057.14%

419.76%

245.71%

143.33%

296.91%

20.48%

11026.19%

13933.10%

7116.90%

7718.33%

11828.10%

153.57%

420100.00%

16.707 0.161 0.115

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

169

ตารางที่ 4.67 (ตอ)

ปจจัยระดับการตัดสินใจ

รวม 2 Sig. Cramer’s Vมากที่สุด มาก ปานกลาง

ดานผลิตภาพและคุณภาพ1. ไมมี

2. ญาติ

3. ครอบครัว

4. เพื่อน

5. อื่น ๆ

รวม

194.52%

102.38%

102.38%

184.29%

--

5713.57%

7618.10%

378.81%

5412.86%

6615.71%

133.10%

24658.57%

4410.48%

245.71%

133.10%

348.10%

20.48%

11727.86%

13933.10%

7116.90%

7718.33%

11828.10%

153.57%

420100.00%

13.224 0.104 0.125

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.67 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศดานบุคคลที่รวมเดินทางกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี พบวา มีความสัมพันธกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จํานวน 2 ปจจัย ไดแก ปจจัยดานรถโดยสารปรับอากาศ และปจจัยดานการสงเสริมการตลาด สวนปจจัยดานอื่น ๆ ไมมีความสัมพันธกัน

เมื่อทดสอบความสัมพันธดวยสถิติ Cramer’s V พบวา ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศดานบุคคลที่รวมเดินทางกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจ ของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี โดยมีความสัมพันธในระดับต่ํา ไดแก ปจจัยดานรถโดยสารปรับอากาศ และปจจัยดานการสงเสริมการตลาด โดยมีคาสัมประสิทธิ์ Cramer’s V เทากับ 0.147, 0.132 สวนปจจัยดานอื่น ๆ ไมมีความสัมพันธกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

170

ตารางที่ 4.68 ผลสรุปความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

พฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ

ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ

รถโด

ยสาร

ปรับอ

ากาศ

ราคา

ชองท

างกา

รจัดจ

ําหนา

การส

งเสริม

การต

ลาด

บุคลา

กร

ลักษณ

ะทาง

กายภ

าพ

กระบ

วนกา

รใหบ

ริการ

ผลิตภ

าพแล

ะคุณภ

าพ

รวม

1. บริษัทที่เลือกใช * * - * * - - * *2. เหตุผลที่เลือกใช - - - * - - - - -3. ประเภทรถที่เลือกใช * - - - - - - - -4. คาโดยสารที่จาย * - - - * * - * *5. วัตถุประสงคที่ใช * * * * * * * * *6. วิธีการซื้อตั๋วและจองตั๋ว - - - - - - * - -7. ลักษณะการซื้อตั๋ว - * * * * * * * *8. การใชบริการตอเดือน * * - * * - - - *9. ชวงเวลาที่เลือกใชบริการ - - - - - - - - -10. ชวงวันที่เลือกใชบริการ - * - - - * - * -11. ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการ * * - * * * * * *12. แหลงขอมูลเพื่อการเดินทาง * * * * * * * * *13. บุคคลที่รวมเดินทาง * - - * - - - - -

*Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.68 สรุปความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสาร ปรับอากาศกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี อยางมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05 พบวา

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

171

ดานรถโดยสารปรับอากาศ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ดานบริษัทที่เลือกใช ประเภทรถที่เลือกใช คาโดยสารที่จาย วัตถุประสงคที่ใช การใชบริการตอเดือน ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการ แหลงขอมูลเพื่อการเดินทาง และบุคคล ที่รวมเดินทาง

ดานราคา มีความสัมพันธกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ดานบริษัทที่เลือกใช วัตถุประสงคที่ใช ลักษณะการซื้อตั๋ว การใชบริการตอเดือน ชวงวันที่เลือก ใชบริการ ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการ และแหลงขอมูลเพื่อการเดินทาง

ดานชองทางการจัดจําหนาย มีความสัมพันธกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ดานวัตถุประสงคที่ใช ลักษณะการซื้อตั๋ว และแหลงขอมูลเพื่อการเดินทาง

ดานการสงเสริมการตลาด มีความสัมพันธกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ดานบริษัทที่เลือกใช เหตุผลที่เลือกใช วัตถุประสงคที่ใช ลักษณะการซื้อตั๋ว การใชบริการตอเดือน ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการ แหลงขอมูลเพื่อการเดินทาง และบุคคลที่รวมเดินทาง

ดานบุคลากร มีความสัมพันธกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ดานบริษัทที่เลือกใช คาโดยสารที่จาย วัตถุประสงคที่ใช ลักษณะการซื้อตั๋ว การใชบริการตอเดือนผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการ และแหลงขอมูลเพื่อการเดินทาง

ดานลักษณะทางกายภาพ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ดานคาโดยสารที่จาย วัตถุประสงคที่ใช ลักษณะการซื้อตั๋ว ชวงวันที่เลือกใชบริการ ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการ และแหลงขอมูลเพื่อการเดินทาง

ดานกระบวนการใหบริการ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ดานวัตถุประสงคที่ใช วิธีการซื้อตั๋วและจองตั๋ว ลักษณะการซื้อตั๋ว ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการ และแหลงขอมูลเพื่อการเดินทาง

ดานผลิตภาพและคุณภาพ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ดานบริษัทที่เลือกใช คาโดยสารที่จาย วัตถุประสงคที่ใช ลักษณะการซื้อตั๋ว ชวงวันที่เลือกใชบริการ ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการ และแหลงขอมูลเพื่อการเดินทาง สวนดานอื่น ๆ ไมมีความสัมพันธกัน ยกเวนชวงเวลาที่เลือกใชบริการไมมีความสัมพัธกับปจจัยใด

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

172

ตอนที่ 6 สรุปขอคิดเห็นและขอเสนอแนะขอเสนอแนะเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ

เสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จากกลุมผูตอบแบบสอบถาม โดยมีผูใหขอเสนอแนะ จํานวน 47 คน คิดเปนรอยละ 11.12 ของผูตอบแบบสอบถามทั้งหมด แสดงดวยตารางที่ 4.69

ตารางที่ 4.69 ขอเสนอแนะในการใชบริการของรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร- กรุงเทพฯในจังหวัดสุราษฎรธานี

ลักษณะของขอเสนอแนะจํานวนผูตอบ

(คน)รอยละ

1. ความสะอาดของหองสุขาบริเวณสถานี บนรถ และจุดพักรถ 15 31.912. จัดที่นั่งใหเหมาะสมกับผูโดยสาร ไมสมควรวางสัมภาระบนที่นั่ง 13 27.663. พนักงานแสดงกิริยาไมเหมาะสม เมื่อลูกคาขอคืนตั๋ว เปลี่ยนตั๋ว 10 21.284. ภาชนะที่ใสน้ํา และอาหาร ใชแลวควรทิ้งไป 7 14.895. เพิ่มเวลาในการรับประทานอาหาร ณ บริเวณจุดพักรถ 2 4.26

รวม 47 100.00

จากตารางที่ 4.69 พบวา ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะของผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ ที่ตองการใหมีการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการใหบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทาง สุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี โดยรวบรวมและจัดเปนกลุมได ดังนี้

1. ผูใชบริการตองการใหเพิ่มในเรื่องของการดูแลรักษาความสะอาดของหองสุขาบริเวณสถานีขนสง บนรถโดยสาร และจุดพักรถ

2. ผูใชบริการตองการใหที่นั่งสําหรับการรอรถโดยสาร ไมควรมีการวางสัมภาระสวนตัวบนที่นั่ง

3. ผูใชบริการตองการใหพนักงานขายมีมนุษยสัมพันธที่ดี ไมแสดงกิริยาที่ ไมเหมาะสม เมื่อลูกคาขอคืนตั๋วหรือเปลี่ยนตั๋ว

4. ผูใชบริการตองการใหภาชนะที่ใชแลว เชน แกวน้ํา ที่ใสอาหาร ใชแลวควรทิ้งไป 5. ผูใชบริการตองการใหเพิ่มเวลาในการรับประทานอาหาร ณ บริเวณจุดพักรถ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

บทที่ 5

สรุปผล อภิปรายและขอเสนอแนะ

การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี เพื่อศึกษาพฤติกรรม ของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี เพื่อศึกษาการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีและเพื่อศึกษาปญหาและขอเสนอแนะของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จากวัตถุประสงคดังกลาว ผูวิจัยไดเก็บรวบรวมแบบสอบถามจากผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ จํานวน 420 คน โดยคาสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คาความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาไค-สแควร คาสัมประสิทธิ์ Cramer’s V คา t – test, F - test และทดสอบความแตกตางรายคูดวยวิธี LSDผลการวิจัยสรุปได ดังนี้

สรุปผล

จากผลการวิจัยผูวิจัยไดสรุปผลการวิจัย ดังนี้1. ขอมูลปจจัยสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม พบวา ผูใชบริการสวนใหญ

เปนเพศหญิง อายุระหวาง 21 - 30 ป สถานภาพโสด การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. อาชีพนักเรียน/นักศึกษา รายไดเฉลี่ยตอเดือนต่ํากวา 7,500 บาท และมีภูมิลําเนาอยูในอําเภออื่น ๆ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

2. ขอมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี พบวา ผูใชบริการสวนใหญใชบริการรถโดยสารปรับอากาศของบริษัทโชคอนันตทัวร เหตุผลที่เลือกใชเพราะการใหบริการของพนักงาน ใชบริการรถโดยสาร ปรับอากาศชั้น 1 คาโดยสาร 488 บาท วัตถุประสงคตองการทัศนศึกษาทองเที่ยว/พักผอน การซื้อ ตั๋วโดยสารและจองตั๋วสวนใหญซื้อตั๋วลวงหนา ณ สถานีขายตั๋ว ลักษณะที่ซื้อซื้อเที่ยวเดียว ใชบริการ2 ครั้งตอเดือน ใชบริการในชวงเวลา 19.01 - 21.00 น. ชวงวันที่ใชบริการไมแนนอน ตัดสินใจ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

174

ใชบริการดวยตนเอง หาขอมูลเพื่อการเดินทางโดยสอบถามจากบุคคลอื่น และไมมีบุคคลที่รวมเดินทาง

3. ขอมูลเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี พบวา โดยรวมมีผลตอการตัดสินใจในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา มีผลตอการตัดสินใจในระดับมากทุกดาน โดยเรียงลําดับจากมากไปนอย ไดแก ดานรถโดยสารปรับอากาศ ดานบุคลากร ดานลักษณะทางกายภาพ ดานกระบวนการใหบริการ ดานผลิตภาพและคุณภาพ ดานราคา ดานชองทางการจัดจําหนาย และดานการสงเสริมการตลาด ตามลําดับ ซึ่งปจจัยแตละดานสามารถสรุปได ดังนี้

3.1 ปจจัยดานรถโดยสารปรับอากาศ พบวา โดยรวมและรายดานมีระดับ การตัดสินใจในระดับมาก โดยเรียงลําดับจากมากไปนอย ไดแก รถโดยสารมีสภาพดี เครื่องยนต ไมขัดของระหวางเดินทาง อากาศเย็นสบาย ความสมบูรณของเบาะและพนักเกาอี้ที่ใหบริการ ความสะอาดภายในตัวรถโดยสาร อุปกรณสรางความบันเทิงภายในรถ เชน ภาพยนตร เครื่องเสียง สรางความบันเทิงใหกับผูใชบริการ และจํานวนรถโดยสารมีใหบริการเพียงพอ/มีรถโดยสาร หลายประเภทใหเลือก ตามลําดับ

3.2 ปจจัยดานราคา พบวา โดยรวมและรายดานมีระดับการตัดสินใจในระดับมาก โดยเรียงลําดับจากมากไปนอย ไดแก การแสดงราคาคาบริการไวชัดเจน คาโดยสารมีความเหมาะสมกับระยะทาง ความเหมาะสมระหวางราคาและบริการที่ไดรับ ความคงที่ของราคาคาโดยสาร และราคาคาโดยสารมีหลายระดับราคาใหเลือก ตามลําดับ

3.3 ปจจัยดานชองทางการจัดจําหนาย พบวา โดยรวมมีระดับการตัดสินใจ ในระดับมาก ใหความสําคัญในระดับมาก 3 ขอ ไดแก ความสะดวกและงายตอการซื้อตั๋ว/จองตั๋ว/ เปลี่ยนต๋ัว/คืนตั๋ว การจําหนายตั๋วของตัวแทน การจองตั๋วทางโทรศัพท และมีผลอยูในระดับปานกลาง2 ขอ ไดแก การจองตั๋วทางอินเทอรเน็ต และการคนหาขอมูลการเดินทางทางอินเทอรเน็ต ตามลําดับ

3.4 ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด พบวา โดยรวมมีระดับการตัดสินใจ ในระดับมาก ใหความสําคัญในระดับมาก 3 ขอ ไดแก การติดตอสื่อสารผานตัวแทนจําหนาย ความสะดวกในการติดตอสอบถามขอมูลการเดินทาง การโฆษณาประชาสัมพันธหรือการเสนอขอมูลขาวสารที่เปนประโยชน และมีผลอยูในระดับปานกลาง 2 ขอ ไดแก สวนการใหสวนลด คาโดยสารจากการสะสมตั๋ว และการมีสวนลดคาโดยสารพิเศษ เชน นักเรียน ทหาร ตํารวจ ในเครื่องแบบ ผูสูงอายุ ตามลําดับ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

175

3.5 ปจจัยดานบุคลากร พบวา โดยรวมและรายดานมีระดับการตัดสินใจ ในระดับมาก โดยเรียงลําดับจากมากไปนอย ไดแก พนักงานจําหนายตั๋วใหบริการดวยความเต็มใจ ยิ้มแยม แจมใส การแตงกายของพนักงานขับรถ พนักงานประจํารถสุภาพเรียบรอยในขณะปฏิบัติหนาที่ พนักงานขับรถขับขี่ดวยอัตราความเร็วที่เหมาะสม ปฏิบัติตามกฎจราจร พนักงานใหบริการดวยความกระตือรือรนและเอาใจใสผูใชบริการ และพนักงานใหบริการดวยความเสมอภาคทุกระดับอยางเทาเทียมกัน ตามลําดับ

3.6 ปจจัยดานลักษณะทางกายภาพ พบวา โดยรวมและรายดานมีระดับของ การตัดสินใจในระดับมาก โดยเรียงลําดับจากมากไปนอย ไดแก สถานที่จอดรถในการซื้อตั๋ว/จองตั๋ว มีความสะดวก ปายชื่อบริษัทจําหนายตั๋วติดไวอยางชัดเจน บริเวณที่พักผูโดยสารกวางขวาง เพียงพอไมแออัด ความเปนระเบียบเรียบรอย ความสะอาดของจุดพักรถ รานจําหนายสินคาและหองสุขาและปายชื่อบอกประเภทรถสําหรับขึ้นรถโดยสารติดไวอยางชัดเจน ตามลําดับ

3.7 ปจจัยดานกระบวนการใหบริการ พบวา โดยรวมและรายดานมีระดับ การตัดสินใจในระดับมาก โดยเรียงลําดับจากมากไปนอย ไดแก การบริการที่เปนมาตรฐาน เปดบริการทุกวัน ตารางเวลาเดินรถแนนอนไมเปลี่ยนแปลงบอย ความตรงตอเวลารถเขา- ออก การบริการ รับฝากสัมภาระกอนขึ้นรถโดยสาร และการดูแลสัมภาระที่ผูโดยสารนําติดตัวในการเดินทาง เปนอยางดี ตามลําดับ

3.8 ปจจัยดานผลิตภาพและคุณภาพ พบวา โดยรวมและรายดานมีระดับ การตัดสินใจในระดับมาก โดยเรียงลําดับจากมากไปนอย ไดแก ความปลอดภัยจากอุบัติเหตุในขณะการเดินทาง ภาพพจนและชื่อเสียงของบริษัทเปนที่รูจัก บริษัทมีการบริการที่ดีกวาบริษัทอื่น ความรูสึกมั่นใจและความเชื่อมั่นตอบริษัทเดินรถ และความจงรักภักดีตอบริษัทเดินรถ ตามลําดับ

4. วิเคราะหการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล พบวา สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายไดเฉลี่ยตอเดือน มีผลทําใหปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีตางกันสวนเพศ อายุ และภูมิลําเนาตางกันไมมีผลทําใหปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 5. การวิเคราะหความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสาร ปรับอากาศกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 พบวา

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

176

5.1 ดานรถโดยสารปรับอากาศ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศ ดานบริษัทที่เลือกใช ประเภทรถที่เลือกใช คาโดยสารที่จาย วัตถุประสงค ที่ใช การใชบริการตอเดือน ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการ แหลงขอมูลเพื่อการเดินทาง และบุคคลที่รวมเดินทาง

5.2 ดานราคา มีความสัมพันธกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ดานบริษัทที่เลือกใช วัตถุประสงคที่ใช ลักษณะการซื้อตั๋ว การใชบริการตอเดือน ชวงวันที่เลือกใชบริการ ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการ และแหลงขอมูลเพื่อการเดินทาง

5.3 ดานชองทางการจัดจําหนาย มีความสัมพันธกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ดานวัตถุประสงคที่ใช ลักษณะการซื้อตั๋ว แหลงขอมูลเพื่อการเดินทาง และบุคคลที่รวมเดินทาง

5.4 ดานการสงเสริมการตลาด มีความสัมพันธกับพฤติกรรมของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศ ดานบริษัทที่เลือกใช เหตุผลที่เลือกใช วัตถุประสงคที่ใช ลักษณะการซื้อตั๋ว บุคคลที่รวมเดินทาง ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการ แหลงขอมูลเพื่อการเดินทาง และการใชบริการตอเดือน

5.5 ดานบุคลากร มีความสัมพันธกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสาร ปรับอากาศ ดานบริษัทที่เลือกใช คาโดยสารที่จาย วัตถุประสงคที่ใช ลักษณะการซื้อตั๋ว การใชบริการตอเดือน ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการ และแหลงขอมูลเพื่อการเดินทาง

5.6 ดานลักษณะทางกายภาพ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศ ดานคาโดยสารที่จาย วัตถุประสงคที่ใช ลักษณะการซื้อตั๋ว ชวงวันที่เลือกใชบริการ ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการ และแหลงขอมูลเพื่อการเดินทาง

5.7 ดานกระบวนการใหบริการ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศ ดานวัตถุประสงคที่ใช วิธีการซื้อตั๋วและจองตั๋ว ลักษณะการซื้อตั๋ว ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการ และแหลงขอมูลเพื่อการเดินทาง

5.8 ดานผลิตภาพและคุณภาพ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศ ดานบริษัทที่เลือกใช คาโดยสารที่จาย วัตถุประสงคที่ใช ลักษณะการซื้อตั๋ว ชวงวันที่เลือกใชบริการ ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการ และแหลงขอมูลเพื่อการเดินทาง

6. ผลการศึกษาขอคิดเห็นและขอเสนอแนะในการใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ จากการศึกษามีผูใหขอเสนอแนะจํานวน 47 คน คิดเปนรอยละ 11.12 โดยสวนใหญผูใชบริการตองการใหเพิ่มในเรื่องของการดูแลรักษาความสะอาดของหองสุขาบริเวณสถานีขนสง บนรถโดยสาร และจุดพักรถ ตองการใหที่นั่งสําหรับการรอรถโดยสาร ไมควรมีการวาง

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

177

สัมภาระสวนตัวบนที่นั่ง ตองการใหพนักงานขายมีมนุษยสัมพันธที่ดี ไมแสดงกิริยาที่ไมเหมาะสม เมื่อลูกคาขอคืนตั๋วหรือเปลี่ยนตั๋ว ตองการใหภาชนะที่ใชแลว เชน แกวน้ํา ที่ใสอาหาร ใชแลว ควรทิ้งไป และตองการใหเพิ่มเวลาในการรับประทานอาหาร ณ บริเวณจุดพักรถ

อภิปรายผล

จากการศึกษาวิจัยเรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี มีประเด็นที่จะนํามาอภิปราย ดังนี้

1. ผลการศึกษาปจจัยสวนบุคคล พบวา ผูใชบริการสวนใหญเปนเพศหญิง อายุระหวาง 21 - 30 ป สถานภาพโสด การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. อาชีพนักเรียน/ นักศึกษา รายไดเฉลี่ยตอเดือนต่ํากวา 7,500 บาท และมีภูมิลําเนาอยูในอําเภออื่น ๆ ในจังหวัด สุราษฎรธานี สอดคลองกับ ธีรยสถ ปานกลาง (2548) ที่ศึกษาเรื่องปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรม การใชรถโดยสารประจําทางภายใตการกํากับดูแลขององคการขนสงมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) ในกรุงเทพมหานคร พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนผูหญิง สถานภาพโสด รายไดเฉลี่ยตอเดือนระหวาง 5,000 - 9,999 บาท

2. ผลการศึกษาพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี พบวา ผูใชบริการสวนใหญใชบริการรถโดยสารปรับอากาศของบริษัทโชคอนันตทัวร เหตุผลที่เลือกใชเพราะการใหบริการของพนักงาน ใชบริการรถโดยสาร ปรับอากาศชั้น 1 คาโดยสาร 488 บาท วัตถุประสงคตองการทัศนศึกษาทองเที่ยว/พักผอน การซื้อ ตั๋วโดยสารและจองตั๋วสวนใหญซื้อตั๋วลวงหนา ณ สถานีขายตั๋ว ลักษณะที่ซื้อซื้อเที่ยวเดียว ใชบริการ2 ครั้งตอเดือน ใชบริการในชวงเวลา 19.01 - 21.00 น. ชวงวันที่ใชบริการไมแนนอน ตัดสินใจ ใชบริการดวยตนเอง หาขอมูลเพื่อการเดินทางโดยสอบถามจากบุคคลอื่นและไมมีบุคคลที่รวมเดินทางสอดคลองกับ อนันต รามโคตร (2546) ไดศึกษาเรื่องปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศชั้น 1 เสนทางอุดรธานี - กรุงเทพฯ ในเขตอําเภอเมืองอุดรธานี พบวา กลุมตัวอยางใชบริการรถโดยสารปรับอากาศชั้น 1 ในชวงเวลา 19.00 - 22.00 น. ไดรับการแนะนําการใชบริการจากเพื่อน/ญาติ และสอดคลองกับ ชุติมา ธนาวัฒนากร (2547) ไดศึกษาเรื่องปจจัย ที่มีอิทธิพลตอการเลือกใชบริการรถโดยสารปรับอากาศของประชาชนในเขตอําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา พบวา ผูโดยสารสวนใหญมีลักษณะการซื้อตั๋วแบบซื้อตั๋วเที่ยวเดียว และใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศ 1 - 2 ครั้งตอเดือน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

178

3. ผลการศึกษาปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี พบวา โดยรวมมีคาเฉลี่ยอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดาน อยูในระดับมากทุกดาน สอดคลองกับ วิวัฒน พิทูรโอฬาร (2549) ไดศึกษาเรื่องความสัมพันธระหวางสวนประสมธุรกิจบริการกับความพึงพอใจของผูใชบริการรถโดยสารประจําทางปรับอากาศพิเศษบริษัท นครชัยแอร จํากัด กรุงเทพมหานคร พบวา ดานความสําคัญ ของสวนประสมธุรกิจบริการของผูใชบริการใหความสําคัญอยูในระดับมากทุกประเด็น

4. ผลการศึกษาการเปรียบเทียบปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล พบวา สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายไดเฉลี่ยตอเดือน มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนเพศ อายุ และภูมิลําเนา ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สอดคลองกับ นิดา พันธไชย. (2546) ไดศึกษาความพึงพอใจของผูใชบริการรถโดยสารประจําทางปรับอากาศสายรอยเอ็ด-กรุงเทพมหานคร จากการศึกษา พบวา ผูใชบริการที่มีความแตกตางในเรื่อง เพศ อาชีพ รายได และประเภทของรถโดยสารประจําทางปรับอากาศ มีความพึงพอใจในการใชบริการรถโดยสารประจําทางปรับอากาศสายรอยเอ็ด-กรุงเทพมหานครโดยรวมและเปนรายดานทั้ง 7 ดานแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

5. ผลการศึกษาความสัมพันธระหวางพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 พบวา ดานรถโดยสารปรับอากาศ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ดานบริษัทที่เลือกใช ประเภทรถที่เลือกใช คาโดยสารที่จาย วัตถุประสงคที่ใช การใชบริการตอเดือน ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจ ใชบริการ แหลงขอมูลเพื่อการเดินทาง และบุคคลที่รวมเดินทาง ดานราคา มีความสัมพันธกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ดานบริษัทที่เลือกใช วัตถุประสงคที่ใช ลักษณะการซื้อตั๋ว การใชบริการตอเดือน ชวงวันที่เลือกใชบริการ ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการ และแหลงขอมูลเพื่อการเดินทาง ดานชองทางการจัดจําหนาย มีความสัมพันธกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ดานวัตถุประสงคที่ใช ลักษณะการซื้อตั๋ว และแหลงขอมูลเพื่อการเดินทาง ดานการสงเสริมการตลาด มีความสัมพันธกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ดานบริษัทที่เลือกใช เหตุผลที่เลือกใช วัตถุประสงคที่ใช ลักษณะการซื้อตั๋ว การใชบริการตอเดือน ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการ แหลงขอมูลเพื่อการเดินทาง และบุคคลที่รวมเดินทาง ดานบุคลากร มีความสัมพันธกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ดานบริษัท ที่เลือกใช คาโดยสารที่จาย วัตถุประสงคที่ใช ลักษณะการซื้อตั๋ว การใชบริการตอเดือน ผูมีสวนรวม

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

179

ในการตัดสินใจใชบริการ และแหลงขอมูลเพื่อการเดินทาง ดานลักษณะทางกายภาพ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ดานคาโดยสารที่จาย วัตถุประสงคที่ใช ลักษณะการซื้อตั๋ว ชวงวันที่เลือกใชบริการ ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการ และแหลงขอมูลเพื่อ การเดินทาง ดานกระบวนการใหบริการ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ดานวัตถุประสงคที่ใช วิธีการซื้อตั๋วและจองตั๋ว ลักษณะการซื้อตั๋ว ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการ และแหลงขอมูลเพื่อการเดินทาง ดานผลิตภาพและคุณภาพ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ดานบริษัทที่เลือกใช คาโดยสารที่จาย วัตถุประสงคที่ใช ลักษณะการซื้อตั๋ว ชวงวันที่เลือกใชบริการ ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจใชบริการ และแหลงขอมูลเพื่อการเดินทาง สอดคลองกับ วิวัฒน พิทูรโอฬาร (2549) ไดศึกษาเรื่องความสัมพันธระหวางสวนประสมธุรกิจบริการกับความพึงพอใจของผูใชบริการรถโดยสารประจําทางปรับอากาศพิเศษ บริษัท นครชัยแอร จํากัด กรุงเทพมหานคร พบวา ดานความสัมพันธระหวางสวนประสมธุรกิจบริการกับความพึงพอใจของผูใชบริการตอการบริการของรถประจําทางปรับอากาศ พบวา โดยภาพรวมมีความสัมพันธซึ่งเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว

ผลการทดสอบสมมติฐานในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยตั้งสมมติฐานของการวิจัย ดังนี้

สมมติฐานการวิจัยขอที่ 1 ปจจัยสวนบุคคลตางกันมีผลทําใหปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานีตางกัน

สมมติฐานการวิจัยขอที่ 2 พฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศมีความ สัมพันธกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

จากการศึกษา พบวา ปจจัยสวนบุคคลตางกันมีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ตรงตามสมมติฐานและพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศมีความสัมพันธกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ตรงตามสมมติฐาน ยกเวนดานชวงเวลาที่เลือกใชบริการ ที่ไมมีความสัมพันธกับปจจัยใด ซึ่งทั้งนี้อาจเนื่องจาก ดานชวงเวลาที่เลือกใชบริการ ไมวาจะเลือกใชบริการในชวงเวลาใดจะไมมีผลโดยตรงตอปจจัย ที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

180

ขอเสนอแนะ

ในการศึกษาวิจัยนี้ ผูวิจัยไดนําเสนอขอเสนอแนะเปน 4 สวน ดังนี้ขอเสนอแนะสําหรับผูประกอบการ

1. จากขอมูลดานปจจัยสวนบุคคลของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทาง สุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ซึ่งถือเปนขอมูลพื้นฐานที่ทําใหทราบถึงขอมูลเบื้องตนของกลุมผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ผูประกอบการจึงควรที่จะตองดําเนินการเพื่อใหตอบสนองความพึงพอใจใหเกิดแกผูใชบริการ เชน สวนใหญผูใชบริการมีอาชีพนักเรียน/นักศึกษา ดังนั้น ควรใหสิทธิพิเศษสําหรับผูใชบริการที่เปนนักเรียน/นักศึกษา โดยการใชบริการในแตละครั้ง ใหแสดงบัตรนักเรียน/นักศึกษา เพื่อไดสวนลดหรือไดเลือกที่นั่งกอนบุคคลอื่น

2. ขอมูลดานพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี จากพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศดังกลาวผูประกอบการจึงควรที่จะตองพัฒนาการบริการใหมีคุณภาพ เพื่อตอบสนองความตองการใชของ ผูผูใชบริการใหเกิดความประทับใจและตองการกลับมาใชบริการอีกในโอกาสตอไป เชน

2.1 ผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศนิยมใชบริการรถโดยสารปรับอากาศของบริษัทโชคอนันตทัวร ดังนั้น ทางผูประกอบการของบริษัทอื่น ๆ ควรกําหนดกลยุทธทางการตลาดที่ใหม ๆ ที่นาสนใจ เพื่อกระตุนใหผูใชบริการมาใชบริการของบริษัทของตน

2.2 ผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศใชบริการในชวงเวลา 19.01 - 21.00 น. เพื่อตองการพักผอนในขณะเดินทางกอนจะถึงปลายทาง ดังนั้น ทางผูประกอบการแตละบริษัท ควรเพิ่มความระมัดระวังในขณะเดินทางใหมากกวาปกติ เพราะในเวลากลางคืนมีวิสัยทัศนไมชัดเจน ซึ่งอาจกอใหเกิดอุบัติเหตุไดมากกวาตอนเวลากลางวัน

2.3 ผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศมีวัตถุประสงคเพื่อตองการทัศนศึกษาทองเที่ยว/พักผอน ดังนั้น ทางผูประกอบการแตละบริษัทควรมีบริการรับเหมา ใหเชารถเปนหมูคณะ และจัดโปรแกรมนําเที่ยวในวันหยุดสําคัญ เชน จัดนําเที่ยวสุราษฎรธานี-กาญจนบุรี

3. ดานรถโดยสารปรับอากาศ ใหความสําคัญดานรถโดยสารมีสภาพดี เครื่องยนตไมขัดของระหวางเดินทาง อากาศเย็นสบาย ความสมบูรณของเบาะและพนักเกาอี้ที่ใหบริการ ดังนั้น ทางผูประกอบการแตละบริษัทควรมีการจัดการดูแลสภาพรถโดยสารทั้งภายในและภายนอก ตลอดจนเครื่องยนตใหอยูในสภาพพรอมที่จะใชงานอยูเสมอ เนนการรักษาความสะอาดในหองน้ํา ความสะอาดของผาหมและเบาะที่นั่ง อุปกรณใสอาหาร/เครื่องดื่มที่ใหบริการ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

181

4. ดานบุคลากร ใหความสําคัญดานพนักงานจําหนายตั๋วใหบริการดวยความเต็มใจ ยิ้มแยม แจมใส การแตงกายของพนักงานขับรถ พนักงานประจํารถสุภาพเรียบรอยในขณะปฏิบัติหนาที่ แตมีขอบกพรองในเรื่องของพนักงานจําหนายตั๋วแสดงกิริยาไมเหมาะสม เมื่อขอคืนหรือเปลี่ยนตั๋ว ดังนั้น ทางผูประกอบการแตละบริษัทควรมีการฝกอบรมพนักงานในเรื่องการใหบริการ มีความเปนมาตรฐาน การมีมารยาท มีมนุษยสัมพันธดี เต็มใจที่จะใหบริการ ไมวาลูกคาขอคืนตั๋วหรือเปลี่ยนตั๋วพนักงานก็ควรพูดจาไพเราะไมควรแสดงกิริยาที่ไมสุภาพออกไปเพราะพนักงานจําหนายตั๋วมีอิทธิพลเปนอยางมากในการใหบริการ

5. ดานลักษณะทางกายภาพ ใหความสําคัญดานสถานที่จอดรถในการซื้อตั๋ว/จองตั๋วมีความสะดวก ปายชื่อบริษัทจําหนายตั๋วติดไวอยางชัดเจน ดังนั้น ทางผูประกอบการแตละบริษัทควรจัดการดานสถานที่จอดรถใหเปนระบบ มีปายบอกชนิดของรถที่จอดใหชัดเจน เชน ที่จอดสําหรับรถยนต หรือรถจักรยานยนต

6. ดานกระบวนการใหบริการ ใหความสําคัญดานการบริการที่เปนมาตรฐาน เปดบริการทุกวัน ตารางเวลาเดินรถแนนอนไมเปลี่ยนแปลงบอย ดังนั้น ทางผูประกอบการแตละบริษัทควรมีการบริหารจัดการตารางเดินรถใหตรงเวลาเสมอและควรมีรถโดยสารสํารองไวในกรณีที่รถโดยสารเกิดขัดของ ไมสามารถใหบริการตามกําหนดเวลาที่ใหบริการได

7. ดานผลิตภาพและคุณภาพ ใหความสําคัญดานความปลอดภัยจากอุบัติเหตุในขณะการเดินทาง ภาพพจนและชื่อเสียงของบริษัทเปนที่รูจัก ดังนั้น ทางผูประกอบการแตละบริษัท ควรมีการฝกอบรมพนักงานที่ใหบริการอยางสม่ําเสมอ เนนในดานการฝกอบรมในการใหบริการ ที่ดี เพื่อใหมีความสามารถในการใหบริการ จะไดปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อสราง ความพึงพอใจใหกับผูใชบริการใหเกิดความประทับใจกลับมาใชอีกครั้ง

8. ดานราคา ใหความสําคัญดานคาโดยสารมีความเหมาะสมกับระยะทาง เปนราคาที่ผูใชบริการพอใจ เพราะการกําหนดราคาเปนไปตามมาตรฐานที่กรมการขนสงทางบกเปนผูกําหนด ดังนั้น ทางผูประกอบการแตละบริษัทควรกําหนดราคาตามที่กรมการขนสงทางบกกําหนดให แมวาจะอยูในสภาวะเศรษฐกิจราคาน้ํามันลดหรือเพิ่มก็ตาม ก็ไมสามารถกําหนดราคาได

9. ดานชองทางการจัดจําหนาย ในดานการจองตั๋วทางอินเทอรเน็ต และการคนหาขอมูลการเดินทางทางอินเทอรเน็ต อยูในระดับปานกลาง ดังนั้น ทางผูประกอบการแตละบริษัท ควรทําใหการใชงานทางอินเทอรเน็ตในเรื่องของการจองตั๋ว การหาขอมูลเพื่อการเดินทาง มีความสะดวกและงายตอการเขาใช เพื่อความสะดวกและความรวดเร็วของผูใชบริการ และควรเพิ่มการใชงานทางอินเทอรเน็ตใหครอบคลุมทุกบริษัทที่ใหบริการรถโดยสารปรับอากาศ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

182

10. ดานการสงเสริมการตลาด ในดานการใหสวนลดคาโดยสารจากการสะสมตั๋ว และการมีสวนลดคาโดยสารพิเศษ เชน นักเรียน ทหาร ตํารวจในเครื่องแบบ ผูสูงอายุ อยูในระดับปานกลาง ดังนั้น ทางผูประกอบการแตละบริษัทควรเพิ่มการใหสวนลดคาโดยสารกับลูกคารายใหม เชน ผูที่มาใชบริการบอย ๆ การเพิ่มสิทธิจากการสะสมตั๋วใหครอบคลุมทุกบริษัทที่ใหบริการ รถโดยสารปรับอากาศ การแจกของขวัญ ของสมนาคุณใหกับลูกคาเนื่องในโอกาสพิเศษตาง ๆ เชน วันขึ้นปใหม วันสงกรานต เพิ่มสื่อประชาสัมพันธ เชน โทรทัศน สื่อวิทยุ เพื่อสงเสริมและเชิญชวนนักทองเที่ยวทั้งคนไทยและตางชาติใหมาสนใจทองเที่ยวในจังหวัดสุราษฎรธานีเพิ่มขึ้น

11. ลักษณะการเลือกซื้อตั๋วในการเดินทางโดยสวนใหญเปนการซื้อแบบเที่ยวเดียวดังนั้น ทางผูประกอบการแตละบริษัทควรกระตุนใหเปนการซื้อแบบไป-กลับใหมากขึ้น เพื่อเปนการเพิ่มรายไดใหกับทางบริษัท โดยกําหนดวาถาซื้อแบบไป-กลับจะใหสวนลดหรือสะสมแตมเพื่อไดตั๋วนั่งฟรีในเที่ยวตอไป

12. การหาขอมูลเพื่อการเดินทางสวนใหญสอบถามจากบุคคลอื่น ซึ่งเปนการบอกตอแบบปากตอปาก ดังนั้น ทางผูประกอบการแตละบริษัทควรใหการบริการที่ดีใหผูใชบริการเกิดความประทับใจเพื่ออยากจะกลับมาใชบริการอีก และเมื่อตนเองประทับใจก็อยากจะบอกใหบุคคลอื่นมาใชบาง

ขอเสนอแนะสําหรับบริษัทขนสง1. เพิ่มการประชาสัมพันธเมื่อรถใกลเทียบชานชาลาที่สถานีขนสงวารถโดยสาร

ที่กําลังเขามานั้นจะจอดตรงไหน เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับผูใชบริการไมใหเกิดความสับสนหรือขึ้นรถโดยสารผิดคัน

2. เพิ่มหมายเลขโทรศัพทหรือตูแสดงความคิดเห็นโดยเฉพาะ เพื่อรับแจงปญหาและขอเสนอแนะจากผูโดยสาร

3. เพิ่มเจาหนาที่และพนักงานรักษาความปลอดภัย หรือกลองโทรทัศนวงจรปดในชวงเทศกาลวันสําคัญตาง ๆ เพื่อตรวจความเขมงวดในดานการรักษาความปลอดภัยของกระเปาสัมภาระ การรับฝากสิ่งของเปนพิเศษ

4. จัดหองสุขาที่สถานีขนสงไวใหบริการอยางเพียงพอ มีความมั่นคง แข็งแรงปลอดภัย และมีการรักษาความสะอาดอยางถูกสุขอนามัย

5. จัดใหมีบอรดนิทัศการณแหลงทองเที่ยวที่สําคัญ ๆ ในจังหวัดสุราษฎรธานีและจังหวัดใกลเคียง เชน เกาะสมุย เกาะพะงัน เกาะพีพี เพื่อเปนการเชิญชวนและแนะนําสถานที่ทองเที่ยวใหกับนักทองเที่ยว

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

183

ขอเสนอแนะสําหรับผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ1. ผูใชบริการควรมีความรูความเขาใจในขั้นตอนการใหบริการรถโดยสารปรับอากาศ

อยางชัดเจนเพื่อสะดวกในปฏิบัติ เชน ถาซื้อตั๋วโดยสารจากตัวแทนจําหนาย บางบริษัทอาจมีบริการรถโดยสารมาสงที่สถานีขนสงหรืออาจตองเดินทางมาเอง ดังนั้นควรสอบถามจากพนักงานขาย ใหแนใจเสียกอนเพื่อไมใหเกิดความผิดพลาด

2. หากซื้อตั๋วโดยสารลวงหนากอนการเดินทาง ควรมีการตรวจสอบวัน เวลา และ ที่นั่งใหถูกตอง เพื่อปองกันการออกตั๋วจําหนายผิดพลาด

3. ในระหวางที่รอรถ ถาผูใชบริการมีธุระทําขางนอกสถานที่ ควรมาถึงสถานี กอนเวลาการเดินทางประมาณ 15 - 30 นาที เพื่อชวยใหรถโดยสารไมตองรอผูโดยสาร ซึ่งเปนเหตุใหรถเสียเวลาและถึงที่หมายชากวากําหนด

ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป1. ควรจะศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศในหลาย ๆ

เสนทาง เพื่อใหทราบเปนขอมูลในการวางแผนการสงเสริมการตลาด2. ควรศึกษาเกี่ยวกับปจจัยในการใชบริการรถโดยสารปรับอากาศโดยจําแนกตาม

ประเภทรถโดยสาร เพื่อใหไดผลการศึกษาที่ละเอียดและมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะสงผลดี ทั้งผูประกอบการและผูใชบริการ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

บรรณานุกรม

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

185

บรรณานุกรม

การขนสงทางบก, กรม. (2552). [Online]. เขาถึงไดจาก : http://www.dlt.go.th/home.php. [2552, ตุลาคม 10]กรมการขนสงทางอากาศ การรถไฟแหงประเทศไทย บริษัทขนสง จํากัด และองคการขนสงมวลชน

กรุงเทพ. (2551). จํานวนการขนสงสินคาและการขนสงผูโดยสารภายในประเทศป 2542- 2551. กรุงเทพฯ : ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม.

กัลยา วาณิชยปญญา. (2549). การวิเคราะหขอมูลดวย SPSS for Windows. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

จิตรา วีแกว. (2546). ทัศนคติและพฤติกรรมการใชบริการรถโดยสารประจําทางปรับอากาศ ขสมก. ของผูใชบริการในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

สาขาการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.ฉลองศรี พิมลสมพงศ. (2546). การวางแผนและพัฒนาการทองเที่ยว. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร.ฉัตยาพร เสมอใจ และ มัทนียา สมมิ. (2545). พฤติกรรมการบริโภค. กรุงเทพฯ : เอกซเปอรเน็ท.ชัยสมพล ชาวประเสริฐ. (2547). การตลาดบริการ. กรุงเทพฯ : ส.เอเชียเพรส (1989).ชุติมา ธนาวัฒนากร. (2547). ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเลือกใชบริการรถโดยสารปรับอากาศของ

ประชาชนในเขตอําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. การศึกษาปญหาพิเศษบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.ดลยา จาตุรงคกุล. (2545). พฤติกรรมผูบริโภค (ปรับปรุงครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย

ธรรมศาสตร.ติน ปรัชญาพฤทธิ์. (2542). ศัพทรัฐประศาสนศาสตร (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย.ธนวรรณ แสงสุวรรณ. (2546). การบริหารการตลาด. กรุงเทพฯ : เอกซเปอรเน็ท.ธงชัย สันติวงษ. (2549). พฤติกรรมผูบริโภค. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพาณิช.ธีรยสถ ปานกลาง. (2548). ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการใชรถโดยสารประจําทางภายใตการกํากับ ดูแลขององคการขนสงมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) ในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ

เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตรธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

186

นิดา พันธไชย. (2546). ความพึงพอใจของผูใชบริการรถโดยสารประจําทางปรับอากาศสายรอยเอ็ด - กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

นิตย หทัยวสีวงศ สุขศรี. (2548). การตลาดบริการ. สุราษฎรธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี.บริษัทขนสง จํากัด. (2552). [Online]. เขาถึงไดจาก : http://www.transport.co.th. [2552, เมษายน 3]บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2540). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร . กรุงเทพฯ : เจริญผล.ประคอง กรรณสูตร. (2547). สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.ประชด ไกรเนตร. (2541). การขนสงผูโดยสาร. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง._______. (2543). ความปลอดภัยในการใชบริการรถโดยสารไมประจําทางเพื่อการทองเที่ยว.

เชียงใหม : คณะมนุษยศาสตร.ประภัสรา สุภัทรประทีป. (2552). พฤติกรรมผูบริโภคในการเลือกใชบริการหางโฮมโปรดักส

เซ็นเตอร สาขาสุราษฎรธานี. วิทยานิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี.พจมาส จันทรเครื่อง. (2550). ความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอการเลือกใชบริการของบริษัท

เดินรถโดยสาร : กรณีศึกษา บริษัทไทยพัฒนกิจขนสง จํากัด. ภาคนิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง.

พิบูล ทีปะปาล. (2549). การบริหารการตลาดยุคใหมในศตวรรษที่ 21 ปรับปรุงใหม ป 49. กรุงเทพฯ : อมรการพิมพ.

ภักวิภา ศักดิ์ศรี. (2547). ปจจัยที่พยากรณพฤติกรรมการขับรถอยางปลอดภัย ของพนักงานขับรถ โดยสารประจําทาง บริษัทขนสง จํากัด. วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม.ยุพาวรรณ วรรณวานิชย. (2549). การตลาดบริการ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.โลจิสติกนิวส. (2553). ปจจัยสําคัญในการขนสง [Online]. เขาถึงไดจาก http://logistics.arch56.com

/?p=112 [2553, ธันวาคม 31].วรรณี ธรรมโชติ และคนอื่น ๆ. (2543). การคิดและการตัดสินใจ. กรุงเทพฯ : เม็ดทรายพริ้นติ้ง.วิรัช สงวนวงศวาน. (2548). การจัดการและพฤติกรรมองคการ (พิมพครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ :

เอช เอน การพิมพ.

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

187

วิวัฒน พิทูรโอฬาร. (2549). ศึกษาความสัมพันธระหวางสวนประสมธุรกิจบริการกับความพึงพอใจ ของผูใชบริการรถโดยสารประจําทางปรับอากาศพิเศษบริษัท นครชัยแอร จํากัด

กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

วีระรัตน กิจเลิศไพโรจน. (2547). การตลาดธุรกิจบริการ. กรุงเทพฯ : เอช เอ็น กรุฟ จํากัด.ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ. (2546). การบริหารการตลาดยคุใหม ฉบับปรับปรุง ป 2546. กรุงเทพฯ :

ธรรมสาร จํากัด.ศิริวรรณ เสรีรัตน. (2548). พฤติกรรมผูบริโภคฉบับสมบูรณ. กรุงเทพฯ : วิสิทธวัฒนา.ศูนยกลางขอมูลและขาวสารการคมนาคมขนสงของไทย. (2552). ประวัติของสถานีขนสงผูโดยสาร. [Online]. เขาถึงไดจาก : http://www.thaitransportphoto.net/modules.php?name=

Content&pa=showpage&pid=122. [2552, มีนาคม 4].สนณรงค สุอังคะ. (2547). การใหบริการรถโดยสารประจําทางในเขตเทศบาลนครราชสีมา.

วิทยานิพนธวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมขนสง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี.

สิริกุล พรหมชาติ. (2552). ความพึงพอใจของผูใชบริการรถโดยสารประจําทางปรับอากาศของบริษัท 407 พัฒนา จํากัด. ปริญญานิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการตลาดบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุธาสินี ทองเรือง. (2549). ปจจัยที่มีผลตอการเลือกใชบริการรานเสริมสวยในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี. วิทยานิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี.สุวิมล แมนจริง. (2546). การจัดการการตลาด. กรุงเทพฯ : เอช เอ็น กรุฟ.หมอนทอง บัวแสงทอง. (2550). ความคิดเห็นของนิสิตปริญญาตรีที่มีตอการใชบริการรถโดยสาร

ของรัฐวิสาหกิจรถเมลในนครหลวงเวียงจันทร. วิทยานิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

อนันต รามโคตร. (2546). การศึกษาปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ชั้น 1 เสนทางอุดร-กรุงเทพฯ ในเขตอําเภอเมืองอุดรธานี. การศึกษาปญหาพิเศษบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

188

อดิศักดิ์ ศักดิ์ฤทธ. (2542). ความรูและพฤติกรรมการขับขี่รถของคนขับรถ ศึกษาเฉพาะกรณีรถโดยสารและรถบรรทุกที่มีจุดตนทางหรือผานอําเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร. ภาคนิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคมสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

อภินันท จันตนี. (2547). การใชสถิติวิเคราะหขอมูลสําหรับวิทยานิพนธทางธุรกิจ. พระนครศรีอยุธยา : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.B. Mark, P.H.P. Ho and C. S. Papacostas. (1998). Express Bus use in Honolulu : A Case Study

[Online]. Available : http://pubsindex.trb.org/view.aspx?id=52866.[2009, November 30].

Sanjay Kumar Singh.(2004) .Urban Bus Policy to Reduce Air Pollution and Congestion. [Online]. Available : http://papers.ssrn.com/sol3/papers.cfm?abstract_id=572363.

[2009, November 30].William Jen and Kai-Chieh Hu. (2004). Application of Perceived Value Model to Identify

Factors Affecting Passengers' Repurchase Intentions on City bus : A Case of the Taipei Metropolitan Area. [Online]. Available : http://www.springerlink.com/ content/n53337x13uwn0v48/?p=91777416e48b4fcfb38043355dcda389π=1.[2009,October 23].

Antti Talvitie. (2006). A direct Demand Model for Downtown Work Trips. [Online].Available : http://www.springerlink.com/content/d3vl017m80574500/?p=05c7e6e971eb4fcaa 8fd8b07d3a38a54π=2. [2009,October 23].

Peter W. Jones. (2009). The Limits to Competition in the Jamaican Urban Bus Service. [Online].Available : http://papers.ssrn.com/sol3/papers.cfm?abstract_id=1351557. [2009, November 30].

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

ภาคผนวก

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

190

ภาคผนวก กหนังสือขอความอนุเคราะห

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

191

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

192

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

ภาคผนวก ขคาความเชื่อมั่นแบบสอบถาม

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

194

R E L I A B I L I T Y A N A L Y S I S - S C A L E (A L P H A)

Mean Std Dev Cases1. ขอ1 2.8250 .6751 40.02. ขอ2 3.1500 .5335 40.03. ขอ3 3.2500 .6304 40.04. ขอ4 3.2000 .6076 40.05. ขอ5 3.3000 .5639 40.06. ขอ6 3.1500 .4267 40.07. ขอ7 3.2000 .4641 40.08. ขอ8 3.1500 .4267 40.09. ขอ9 2.9750 .5768 40.010. ขอ10 3.1500 .4267 40.011. ขอ11 3.0500 .5524 40.012. ขอ12 3.0000 .5991 40.013. ขอ13 2.8500 .6622 40.014. ขอ14 3.0000 .5547 40.015. ขอ15 2.9250 .5256 40.016. ขอ16 2.9750 .5768 40.017. ขอ17 2.9250 .6155 40.018. ขอ18 3.0000 .4529 40.019. ขอ19 3.0750 .4168 40.020. ขอ20 3.0250 .4797 40.021. ขอ21 2.9750 .6975 40.022. ขอ22 3.0750 .6938 40.023. ขอ23 3.2500 .6304 40.024. ขอ24 3.3000 .4641 40.025. ขอ25 3.2250 .8317 40.026. ขอ26 3.1500 .5796 40.027. ขอ27 3.0250 .6197 40.0

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

195

Mean Std Dev Cases28. ขอ28 3.1500 .6622 40.029. ขอ29 3.0250 .6197 40.030. ขอ30 3.1000 .6718 40.031. ขอ31 3.3000 .5164 40.032. ขอ32 3.2500 .4935 40.033. ขอ33 3.2250 .5305 40.034. ขอ34 3.0500 .6385 40.035. ขอ35 2.9000 .5905 40.036. ขอ36 3.0750 .4168 40.037. ขอ37 3.0500 .4501 40.038. ขอ38 3.1500 .4267 40.039. ขอ39 3.2250 .5305 40.040. ขอ40 3.2000 .4051 40.0

Statistics for Mean Variance Std Dev Variables SCALE 123.8750 105.3429 10.2637 40

R E L I A B I L I T Y A N A L Y S I S - S C A L E (A L P H A)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

196

Item-total Statistics Scale Scale Corrected

Mean Variance Item- Alpha if Item if Item Total if Item Deleted Deleted Correlation Deletedขอ1 121.0500 102.8179 .1511 .9037ขอ2 120.7250 103.0250 .1877 .9022ขอ3 120.6250 101.7276 .2530 .9018ขอ4 120.6750 101.4045 .2917 .9011ขอ5 120.5750 100.4045 .4089 .8993ขอ6 120.7250 100.5635 .5372 .8981ขอ7 120.6750 99.4045 .6184 .8970ขอ8 120.7250 101.1788 .4639 .8989ขอ9 120.9000 99.1179 .5130 .8978ขอ10 120.7250 99.5378 .6605 .8968ขอ11 120.8250 100.8660 .3760 .8997ขอ12 120.8750 101.6506 .2759 .9013ขอ13 121.0250 103.5635 .0995 .9044ขอ14 120.8750 102.6763 .2098 .9020ขอ15 120.9500 103.2795 .1673 .9024ขอ16 120.9000 101.1179 .3355 .9003ขอ17 120.9500 101.5872 .2722 .9014ขอ18 120.8750 103.3942 .1893 .9018ขอ19 120.8000 101.6513 .4186 .8994ขอ20 120.8500 101.4641 .3775 .8997ขอ21 120.9000 97.9897 .4972 .8979ขอ22 120.8000 97.4974 .5374 .8972ขอ23 120.6250 97.0096 .6390 .8957 Scale Scale Corrected

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

197

Mean Variance Item- Alpha if Item if Item Total if Item Deleted Deleted Correlation Deletedขอ24 120.5750 99.9942 .5531 .8977ขอ25 120.6500 98.4385 .3765 .9007ขอ26 120.7250 99.8455 .4456 .8988ขอ27 120.8500 98.3872 .5346 .8974ขอ28 120.7250 97.9481 .5308 .8974ขอ29 120.8500 97.9256 .5735 .8968ขอ30 120.7750 96.8455 .6085 .8960ขอ31 120.5750 99.3788 .5534 .8975ขอ32 120.6250 100.4455 .4704 .8986ขอ33 120.6500 99.6692 .5091 .8980ขอ34 120.8250 97.6865 .5743 .8967ขอ35 120.9750 98.7429 .5327 .8975ขอ36 120.8000 102.2154 .3505 .9001ขอ37 120.8250 101.9429 .3518 .9001ขอ38 120.7250 102.5122 .3066 .9005ขอ39 120.6500 99.1051 .5639 .8973ขอ40 120.6750 101.7635 .4179 .8994

R E L I A B I L I T Y A N A L Y S I S - S C A L E (A L P H A)Reliability CoefficientsN of Cases = 40.0 N of Items = 40Alpha = .9016

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

ภาคผนวก คแบบสอบถามเพื่อการวิจัย

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

199

แบบสอบถามเพื่อการวิจัยเรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ

ในจังหวัดสุราษฎรธานี

คําชี้แจงในการตอบแบบสอบถามแบบสอบถามนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการ

รถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี เพื่อนําขอมูลไปใช ในการศึกษาในระดับปริญญาโท สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี โดยขอใหทานตอบแบบสอบถามอยางเปนอิสระ ตามความคิดเห็นที่เปนจริงมากที่สุด และขอความกรุณาตอบใหครบทุกขอ ทั้งนี้ขอมูลที่ทานตอบจะนําไปวิเคราะหในภาพรวม ไมนําไปเปดเผยเปนรายบุคคล โดยขอมูลที่ไดจากการตอบแบบสอบถามจะนํามาเปนแนวทางในการวางแผนทางการตลาด การพัฒนาและปรับปรุงการดําเนินงานดานตางๆของธุรกิจบริการรถโดยสารปรับอากาศในจังหวัดสุราษฎรธานี ใหมีประสิทธิภาพ โดยคําถามมีทั้งหมด 4 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 สถานภาพและขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ขอมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศในจังหวัด

สุราษฎรธานี ตอนที่ 3 ขอมูลเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสาร

ปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี ตอนที่ 4 ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะอื่น ๆ

ขอขอบคุณในความกรุณาใหขอมูล ศรัญญา แกวศรี

นักศึกษาปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

200

ตอนที่ 1 สถานภาพและขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามคําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงใน ( ) หนาขอความที่ตรงกับคุณสมบัติของทานมากที่สุด

1. เพศ( ) 1. ชาย ( ) 2. หญิง

2. อายุ( ) 1. ไมเกิน 20 ป ( ) 2. 21 - 30 ป ( ) 3. 31 - 40 ป ( ) 4. 41 - 50 ป( ) 5. 50 - 60 ป ( ) 6. มากกวา 60 ป

3. สถานภาพ( ) 1. โสด ( ) 2. สมรส( ) 3. หมาย/หยาราง ( ) 4. แยกกันอยู

4. ระดับการศึกษา( ) 1. ประถมศึกษา ( ) 2. มัธยมศึกษาตอนตน( ) 3. มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. ( ) 4. ปวส./อนุปริญญา( ) 5. ปริญญาตรี ( ) 6. สูงกวาปริญญาตรี

5. อาชีพ( ) 1. นักเรียน/นักศึกษา ( ) 2. รับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ( ) 3. ลูกจางพนักงานบริษัท/หางราน ( ) 4. ธุรกิจสวนตัว/เจาของกิจการ( ) 5. เกษตรกร ( ) 6. รับจางทั่วไป( ) 7. อื่นๆ (โปรดระบุ)..........................................

6. รายไดเฉลี่ยตอเดือน( ) 1. ต่ํากวา 7,500 บาท ( ) 2. 7,500 - 15,000 บาท( ) 3. 15,001 - 22,500 บาท ( ) 4. 22,501 - 30,000 บาท( ) 5. มากกวา 30,000 บาทขึ้นไป

7. ภูมิลําเนา( ) 1. อําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ( ) 2. อําเภออื่น ๆ ในจังหวัดสุราษฎรธานี( ) 3. จังหวัดอื่นๆ (โปรดระบุ)......................................

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

201

ตอนที่ 2 พฤติกรรมของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร-กรุงเทพฯ ในจังหวัด สุราษฎรธานี

คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงใน ( ) หนาขอความที่ตรงกับคุณสมบัติของทานมากที่สุด

1. ทานเลือกใชบริการรถโดยสารปรับอากาศของบริษัทใด( ) 1. บริษัทขนสง จํากัด ( ) 2. นครศรีราชาทัวร( ) 3. โชคอนันตทัวร ( ) 4. ทรัพยไพศาลทัวร( ) 5. กรุงสยามทัวร ( ) 6. นครศรีรมเย็นทัวร( ) 7. สมบัติทัวร ( ) 8. บัส เอ็กซเพลส

2. เหตุผลใดที่ทานเลือกใชบริการรถโดยสารปรับอากาศของบริษัทในขอ 1( ) 1. ชื่อเสียง ความนาเชื่อถือของบริษัท ( ) 2. การใหบริการของพนักงาน( ) 3. สถานที่ซื้อตั๋วมีความสะดวก ( ) 4. สภาพรถดี นั่งสะดวกสบาย( ) 5. อื่น ๆ (โปรดระบุ)..............................................

3. ทานเลือกใชรถโดยสารปรับอากาศประเภทใด( ) 1. รถโดยสารปรับอากาศพิเศษ V.I.P 24 ที่นั่ง( ) 2. รถโดยสารปรับอากาศพิเศษ V.I.P 32 ที่นั่ง( ) 3. รถโดยสารปรับอากาศชั้น 1( ) 4. รถโดยสารปรับอากาศชั้น 2

4. ทานจายเงินคาโดยสารโดยเฉลี่ยประมาณครั้งละเทาไหรตอคน( ) 1. 759 บาท ( ) 2. 569 บาท( ) 3. 488 บาท ( ) 4. 379 บาท( ) 5. อื่น ๆ (โปรดระบุ)......................................

5. วัตถุประสงคที่ใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ( ) 1. กลับภูมิลําเนา ( ) 2. เยี่ยมญาติ/เพื่อน( ) 3. การเรียน/การศึกษา ( ) 4. ทํางาน/ติดตอธุรกิจ/คาขาย( ) 5. ทัศนศึกษาทองเที่ยว/พักผอน ( ) 6. อื่นๆ (โปรดระบุ).....................................

6. วิธีการซื้อตั๋วและจองตั๋วโดยสารของทาน( ) 1. ซื้อตั๋วที่สถานีในวันที่เดินทาง ( ) 2. ซื้อตั๋วลวงหนา ณ สถานีขายตั๋ว( ) 3. ซื้อ ณ จุดจําหนายของตัวแทน ( ) 4. จองตั๋วทางโทรศัพท( ) 5. จองตั๋วทางอินเทอรเน็ต

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

202

7. สวนใหญลักษณะการเลือกซื้อตั๋วในการเดินทางของทาน( ) 1. ซื้อเที่ยวเดียว ( ) 2. ซื้อตั๋วไป - กลับ

8. โดยเฉลี่ยตอเดือนทานใชบริการรถโดยสารปรับอากาศกี่ครั้ง (แยกขาไป–ขากลับ)( ) 1. 1 ครั้ง ( ) 2. 2 ครั้ง ( ) 3. 3 ครั้ง ( ) 4. มากกวา 3 ครั้ง

9. ชวงเวลาที่ทานเลือกใชบริการรถโดยสารปรับอากาศ ( ) 1. 07.00 - 11.00 น. ( ) 2. 11.01 - 15.00 น.( ) 3. 15.01 - 19.00 น. ( ) 4. 19.01 - 21.00 น.

10. ทานเลือกใชบริการรถโดยสารปรับอากาศชวงวันใดมากที่สุด( ) 1. จันทร - ศุกร ( ) 2. เสาร - อาทิตย( ) 3. วันหยุดนักขัตฤกษ ( ) 4. ไมแนนอน

11. ผูมีสวนรวมในการตัดสินใจเลือกใชบริการรถโดยสารปรับอากาศของทาน( ) 1. ตนเอง ( ) 2. เพื่อน( ) 3. ญาติ ( ) 4. คูสมรส( ) 5. อื่น ๆ (โปรดระบุ)......................................

12. สวนมากทานหาขอมูลเพื่อการเดินทางจากแหลงใด( ) 1. สอบถามจากบุคคลอื่น ( ) 2. สอบถามจากพนักงานหรือผูใหบริการ( ) 3. ปายบอกเสนทางขางตัวรถ ( ) 4. ปายประชาสัมพันธบริเวณที่พักผูโดยสาร( ) 5. อื่น ๆ (โปรดระบุ)......................................

13. บุคคลที่รวมเดินทางไปกับทานเสมอๆ( ) 1. ไมมี ( ) 2. ญาติ( ) 3. ครอบครัว ( ) 4. เพื่อน( ) 5. อื่น ๆ (โปรดระบุ)......................................

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

203

ตอนที่ 3 ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศเสนทางสุราษฎร- กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎรธานี

คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงในชอง โดยกําหนดให 5 = มากที่สุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = นอย 1 = นอยที่สุด

ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศระดับการตัดสินใจ

5 4 3 2 1ดานรถโดยสารปรับอากาศ 1. จํานวนรถโดยสารมีใหบริการเพียงพอ/มีรถโดยสารหลายประเภท

ใหเลือก 2. รถโดยสารมีสภาพดี เครื่องยนตไมขัดของระหวางเดินทาง อากาศเย็นสบาย 3. อุปกรณสรางความบันเทิงภายในรถ เชน ภาพยนตร เครื่องเสียง สรางความบันเทิงใหกับผูใชบริการ 4. ความสมบูรณของเบาะและพนักเกาอี้ที่ใหบริการ 5. ความสะอาดภายในตัวรถโดยสารดานราคา 6. คาโดยสารมีความเหมาะสมกับระยะทาง 7. ความเหมาะสมระหวางราคาและบริการที่ไดรับ 8. ความคงที่ของราคาคาโดยสาร 9. ราคาคาโดยสารมีหลายระดับราคาใหเลือก 10. แสดงราคาคาบริการไวชัดเจนดานชองทางการจัดจําหนาย 11. ความสะดวกและงายตอการซื้อตั๋ว/จองตั๋ว/เปลี่ยนตั๋ว/คืนตั๋ว 12. การจองตั๋วทางโทรศัพท 13. การจองตั๋วทางอินเทอรเน็ต 14. การจําหนายตั๋วของตัวแทน 15. การคนหาขอมูลการเดินทาง ทางอินเทอรเน็ต

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

204

ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศระดับการตัดสินใจ

5 4 3 2 1ดานการสงเสริมการตลาด 16. การมีสวนลดคาโดยสารพิเศษ เชน นักเรียน ทหาร ตํารวจ

ในเครื่องแบบ ผูสูงอายุ 17. การใหสวนลดคาโดยสารจากการสะสมตั๋ว 18. ความสะดวกในการติดตอสอบถามขอมูลการเดินทาง 19. การติดตอสื่อสารผานตัวแทนจําหนาย 20. การโฆษณาประชาสัมพันธหรือการเสนอขอมูลขาวสารที่เปน ประโยชนดานบุคลากร 21. พนักงานจําหนายตั๋วใหบริการดวยความเต็มใจ ยิ้มแยม แจมใส 22. พนักงานใหบริการดวยความเสมอภาค ทุกระดับอยางเทาเทียมกัน 23. พนักงานใหบริการดวยความกระตือรือรนและเอาใจใสผูใชบริการ 24. พนักงานขับรถขับขี่ดวยอัตราความเร็วที่เหมาะสม ปฏิบัติตาม กฎจราจร 25. การแตงกายของพนักงานขับรถ พนักงานประจํารถสุภาพ เรียบรอยในขณะปฏิบัติหนาที่ดานลักษณะทางกายภาพ 26. สถานที่จอดรถในการซื้อตั๋ว/จองตั๋ว มีความสะดวก 27. บริเวณที่พักผูโดยสารกวางขวาง เพียงพอ ไมแออัด 28. ปายชื่อบริษัทจําหนายตั๋วติดไวอยางชัดเจน 29. ปายชื่อบอกประเภทรถสําหรับขึ้นรถโดยสารติดไวอยางชัดเจน 30. ความเปนระเบียบเรียบรอย ความสะอาดของจุดพักรถ รานจําหนายสินคาและหองสุขาดานกระบวนการใหบริการ 31. การบริการที่เปนมาตรฐาน เปดบริการทุกวัน 32. ตารางเวลาเดินรถแนนอนไมเปลี่ยนแปลงบอย 33. ความตรงตอเวลารถเขา- ออก

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

205

ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจของผูใชบริการรถโดยสารปรับอากาศระดับการตัดสินใจ

5 4 3 2 1 34. การบริการรับฝากสัมภาระกอนขึ้นรถโดยสาร 35. การดูแลสัมภาระที่ผูโดยสารนําติดตัวในการเดินทางเปนอยางดี

ดานผลิตภาพและคุณภาพ 36. บริษัทมีการบริการที่ดีกวาบริษัทอื่น 37. ความปลอดภัยจากอุบัติเหตุในขณะการเดินทาง 38. ความรูสึกมั่นใจและความเชื่อมั่นตอบริษัทเดินรถ 39. ความจงรักภักดีตอบริษัทเดินรถ 40. ภาพพจนและชื่อเสียงของบริษัท เปนที่รูจัก

ตอนที่ 4 ปญหา/อุปสรรค ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะอื่น ๆ............................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

ประวัติผูทําวิทยานิพนธ

ชื่อ – สกุล นางสาวศรัญญา แกวศรี

วัน เดือน ป เกิด 15 มีนาคม พ.ศ. 2528

สถานที่อยูปจจุบัน 1/9 หมูที่ 1 ตําบลคันธุลี อําเภอทาชนะ จังหวัดสุราษฎรธานี 84170

ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2544 มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สุราษฎรธานี

พ.ศ. 2547 ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการตลาด

โทรศัพท 084-9933019, 080-6948994

E – Mail [email protected]

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity