64
คู่มือการพัฒนาและการลงทุนผลิตพลังงานทดแทน ชุดที 1 ไฟฟา ไฟฟา พลังงาน พลังงาน ลม ลม

1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คู่มือการพฒันาและการลงทุนผลติพลงังานทดแทน ชุดที� 1

ไฟฟาไฟฟา

พลังงานพลังงานลมลม

Page 2: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช
Page 3: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คู่มอืการพฒันาและการลงทนุกงัหนัลมผลิตไฟฟ้า ก

คํานํา

เน่ืองจากประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม และมีผลผลิตทางการเกษตรรวมถึงผลผลิตเหลือใช

ทางการเกษตรท่ีมีศักยภาพสูงสามารถใชเปนพลังงานทดแทนได เชน ออย มันสําปะหลัง ปาลมนํ้ามัน ขาว

ขาวโพด เปนตน โดยการแปรรูป ชานออย ใยและกะลาปาลม แกลบ และซังขาวโพด เปนเช้ือเพลิงผลิต

ไฟฟาและพลังงานความรอนสําหรับใชในกระบวนการผลิตอุตสาหกรรม สวนกากนํ้าตาล นํ้าออย และมัน

สําปะหลังใชผลิตเอทานอล และนํ้ามันปาลม และสเตรีนใชผลิตไบโอดีเซล เปนตน กระทรวงพลังงานจึงมี

ยุทธศาสตรการพัฒนาพลังงานทดแทนจากพืชพลังงานเหลาน้ี เพื่อจะไดเปนตลาดทางเลือกสําหรับผลิตผล

การเกษตรไทย ซึ่งจะสามารถชวยดูดซับผลผลิตทางการเกษตรและชวยทําใหราคาผลผลิตการเกษตรมี

เสถียรภาพ และภาครัฐไมตองจัดสรรงบประมาณมาประกันราคาพืชผลผลิตดังกลาว ประกอบกับเทคโนโลยี

พลังงานทดแทนจากพืชพลังงานเปนเทคโนโลยีที่ไดมีการพัฒนาอยางตอเน่ืองและมีความคุมทุนทาง

เศรษฐกิจหรือเกือบคุมทุนหากไดรับการสนับสนุนอีกเพียงเล็กนอยจากภาครัฐบาล นอกจากน้ีประเทศไทย

ยังมีแหลงพลังงานจากธรรมชาติที่จัดเปนพลังงานหมุนเวียน เชน ไฟฟาพลังนํ้าขนาดเล็ก พลังลม และ

พลังงานแสงอาทิตยที่จะสามารถใชผลิตพลังงานทดแทนได

กระทรวงพลังงาน (พน.) ไดกําหนดแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ป โดยมอบหมายใหกรมพัฒนา

พลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ซึ่งเปนหนวยงานหลักประสานงานกับสวนผูเกี่ยวของอื่นๆ ให

ดําเนินการจัดทําแผนปฏิบัติการตามกรอบแผนพัฒนาพลังงานทดแทน เพื่อใหสามารถดําเนินการพัฒนา

พลังงานทดแทนดานตางๆ ใหสามารถผลิตไฟฟารวมสะสมถึงป 2565 จํานวน 5,604 เมกะวัตต

ประกอบดวยพลังงานแสงอาทิตย 500 เมกะวัตต พลังงานลม 800 เมกะวัตต พลังนํ้า 324 เมกะวัตต

พลังงานชีวมวล 3,700 เมกะวัตต กาซชีวภาพ 120 เมกะวัตต ขยะ 160 เมกะวัตต นอกจากน้ันยังใหมีการ

พัฒนาเช้ือเพลิงชีวภาพ ไดแก เอทานอลและไบโอดีเซล รวมทั้งพลังงานความรอนและกาซ NGV ซึ่ง

กอใหเกิดสัดสวนการใชพลังงานทดแทนได 20% ของปริมาณการใชบริโภคของประเทศในป 2565 การ

ตั้งเปาหมายสูความสําเร็จของการผลิตพลังงานทดแทนใหไดปริมาณดังกลาว จําเปนตองสรางแนวทาง

แผนพัฒนาในแตละเทคโนโลยีโดยเฉพาะกับภาคเอกชน ซึ่งเปนแนวทางหลักที่สําคัญในการขับเคลื่อนสู

ความสําเร็จได ตองมีความเดนชัดในนโยบายเพื่อใหปรากฏตอการลงทุนจากภาคเอกชนและสราง

ผลประโยชนตอการดําเนินการ

สําหรับคูมือการพัฒนาและการลงทุนผลิตพลังงานทดแทนที่ไดจัดทําขึ้นน้ีจะเปนคูมือที่จะชวยใหผูสนใจ

ทราบถึงเปาหมายของแผนพัฒนาพลังงานทดแทน รวมทั้งมีความเขาใจในแนวทางการพัฒนาพลังงาน

ทดแทน มาใชทดแทนเช้ือเพลิงฟอสซิล อาทิ การพิจารณาถึงศักยภาพ โอกาสและความสามารถในการ

จัดหาแหลงพลังงานหรือวัตถุดิบ ลักษณะการทํางานทางเทคนิค และการประยุกตใชเทคโนโลยีที่มีอยู

โดยทั่วไป ขอดีและขอเสียเฉพาะของแตละเทคโนโลยี การจัดหาแหลงเงินทุน กฎระเบียบและมาตรการ

Page 4: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คู่มอืการพฒันาและการลงทนุกงัหนัลมผลิตไฟฟ้า ข

สงเสริมสนับสนุนตางๆ ของภาครัฐ ขั้นตอนปฏิบัติในการติดตอหนวยงานตางๆซึ่งจะเปนเอกสารที่จะชวย

สรางความเขาใจในลักษณะเฉพาะของเทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียนชนิดตางๆ ทั้งการผลิตไฟฟา ความรอน

และเช้ือเพลิงชีวภาพ เพื่อเผยแพรประชาสัมพันธไปยังกลุมเปาหมายตามความตองการของกระทรวง

พลังงานตอไป

คูมือการพัฒนาและการลงทุนผลิตพลังงานทดแทนที่จัดทําขึ้นนี้ จะแบงออกเปน 8 ชุด ไดแก ลม

แสงอาทิตย นํ้า ชีวมวล กาซชีวภาพ ขยะ เอทานอล ไบโอดีเซลโดยฉบับน้ีจะเปน ชุดที่ 1 เรื่องคูมือการ

พัฒนาและการลงทุนผลิตพลังงานทดแทน (ไฟฟาพลังงานลม) ซึ่ง พพ. หวังเปนอยางยิ่งวาจะชวยให

ผูสนใจมีความเขาใจในแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนมาใชเพิ่มมากขึ้นขึ้น ซึ่งจะชวยลดการพึ่งพาการ

นําเขาพลังงานจากตางประเทศ สรางความมั่นคงดานพลังงานของประเทศ รวมทั้งลดการปลดปลอยกาซ

เรือนกระจกซึ่งจะสงผลดีตอประเทศชาติโดยรวม อยางยั่งยืนตอไป

Page 5: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คู่มอืการพฒันาและการลงทนุกงัหนัลมผลิตไฟฟ้า ค

สารบัญ

หนา

บทที่ 1 บทนํา 1

1.1 การเกิดลม 2

1.2 ลมในประเทศไทย 2

1.2.1 ลมประจําฤด ู 2

1.2.2 ลมประจําถิ่น 3

1.3 การใชประโยชนจากพลังงานลม 4

1.3.1 กังหันลมฉุดนํ้า 5

1.3.2 กังหันลมสูบนํ้า 5

1.3.3 กังหันลมเพื่อผลิตไฟฟา 6

บทที่ 2 การศึกษาความเปนไปไดของโครงการผลติไฟฟาจากพลังงานลมเพือ่การจําหนาย 12

2.1 ขั้นตอนที่ 1 จัดหาและรวบรวมขอมูลที่จําเปนสําหรับการศึกษาศักยภาพ

พลังงานลมเฉพาะแหลง และประเมินศักยภาพผลิตไฟฟาจากกังหันลมในขั้นตน 12

2.2 ขั้นตอนที่ 2 สํารวจและกาํหนดตําแหนงสําหรับติดต้ังกังหันลมขนาดใหญ 12

2.3 ขั้นตอนที่ 3 การตรวจวัดและวิเคราะหขอมูลลมทางสถิติ 13

2.4 ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะหประเมินพลังงานไฟฟาจากกังหันลม 14

2.4.1 การวิเคราะหผลการตอบแทนการลงทุน 15

2.4.2 ปจจัยสําคัญท่ีมีผลตอการวิเคราะหความเหมาะสมการลงทุนที่ถูกตอง 16

2.4.3 การประเมินตนทุนของการผลิตไฟฟาดวยพลังงานลม 17

2.4.4 การประเมินมูลคาผลตอบแทนโครงการ 18

2.4.5 การประเมินผลกระทบดานสิ่งแวดลอมและสังคมเบื้องตน 19

2.5 ตัวอยางการศึกษาประเมินศักยภาพพลังงานลมในการผลิตไฟฟา บริเวณสถานีวัด

ลมบานยางคํา ตําบลทามะไฟหวาน อําเภอแกงคอ จังหวัดชัยภูมิ 20

บทที่ 3 การศึกษาความเปนไปไดของโครงการผลติไฟฟาจากพลังลมขนาดเลก็ 26

3.1 ประเภทของกังหันลมผลิตไฟฟาขนาดเล็ก 26

3.2 สวนประกอบของกังหันลมผลิตไฟฟาขนาดเล็ก 26

3.3 รูปแบบระบบการติดตั้งกังหันลมผลิตไฟฟาขนาดเล็กเพื่อใชงาน 28

Page 6: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คู่มอืการพฒันาและการลงทนุกงัหนัลมผลิตไฟฟ้า ง

สารบัญ (ตอ)

หนา

3.4 ขั้นตอนในการพิจารณาและเลือกใชกังหันลมผลิตไฟฟาขนาดเล็ก 30

3.4.1 ขั้นตอนที่ 1 ประเมินศักยภาพพลังงานลม 30

3.4.2 ขั้นตอนที่ 2 ประเมินภาระทางไฟฟา 30

3.4.3 ขั้นตอนที่ 3 ประเมินและคัดเลือกขนาดกังหันลมใหมีความเหมาะสม 31

3.4.4 ขั้นตอนที่ 4 การติดต้ังกังหันลม 32

บทที่ 4 การสนบัสนุนจากภาครฐั 33

4.1 มาตรการสวนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน 34

4.2 โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อสงเสริมการใชพลังงานทดแทน 35

4.3 โครงการสงเสริมการลงทุนดานอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทน 37

4.4 กลไกลการพัฒนาที่สะอาด 40

4.5 โครงการสงเสริมการลงทุน โดยสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน 43

บทที่ 5 ขั้นตอนการขอใบอนุญาตตางๆ 45

เอกสารอางอิง 54

Page 7: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 5

บทที่ 1

บทนํา

พลังงานลม ลมเปนแหลงพลังงานสะอาดชนิดหน่ึงที่มีอยูเองตามธรรมชาติสามารถใชไดอยางไมมีวันหมดสิ้นใน

ปจจุบันไดมีการใชประโยชนจากพลังงานลมเพื่อผลิตพลังงานไฟฟามากขึ้นโดยเฉพาะอยางยิ่งในแถบ

ประเทศยุโรปไดมีการพัฒนาเทคโนโลยีกังหันลมเพื่อผลิตไฟฟาในเชิงพาณิชยใหมีขนาดใหญขึ้นและมี

ประสิทธิภาพสูงขึ้นสําหรับประเทศไทยการใชประโยชนจากพลังงานลมเพื่อผลิตไฟฟายังมีคอนขางนอยมาก

อาจเปนเพราะศักยภาพพลังงานลมในประเทศเราไมสูงมากนักเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆและความรูทางดาน

เทคโนโลยีกังหันลมสมัยใหมยังเปนสิ่งที่ใหมอยูสําหรับการนํามาใชงาน อยางไรก็ตามหากเรามีพื้น

ฐานความรูทางดานน้ีบาง ก็สามารถที่จะประยุกตใชเทคโนโลยีกังหันลมและพลังงานลมเปนพลังงาน

ทางเลือกหรือรวมกับแหลงพลังงานอื่นๆ ได เพื่อความมั่นคงในการผลิตไฟฟา อยางเชนที่สถานีไฟฟาแหลม

พรหมเทพ จังหวัดภูเก็ตไดทดลองใชกังหันลมผลิตไฟฟารวมกับระบบเซลลแสงอาทิตยและตอเขากับระบบ

สายสงดังน้ันการศึกษา เรียนรู วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีกังหันลมและแหลงศักยภาพพลังงานลม ก็จะเปน

สวนหน่ึงที่จะชวยลดการใชพลังงานจากฟอสซิล ซึ่งจะเปนการชวยประเทศไทยลดการนําเขาแหลงพลังงาน

จากตางประเทศ อีกทางหนึ่ง ทั้งยังชวยลดสภาวะโลกรอนไดอีกดวย

ที่มา: http://www.renewableenergyworld.com

แผนทีค่วามเร็วลมเฉลี่ยที่ระดับความสูง 80 เมตร

Page 8: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 6

1.1 การเกิดลม

สาเหตุของการเกิดลมคือดวงอาทิตยซึ่งเมื่อดวงอาทิตยมีการแผรังสีความรอนมายังโลกแตละตําแหนง

บนพื้นโลกไดรับปริมาณความรอนและดูดซับความรอนไดไมเทากันทําใหเกิดความแตกตางของอุณหภูมิและ

ความกดอากาศท่ีไมเทากันในแตละพืน้ที่บริเวณใดที่มีอุณหภูมิสูงหรือความกดอากาศต่ําอากาศในบริเวณน้ันก็

จะลอยตัวขึ้นสูงอากาศจากบริเวณที่เย็นกวาหรือมีความกดอากาศสูงกวาจะเคลื่อนที่เขามาแทนที่การ

เคลื่อนที่ของมวลอากาศนี้คือการทําใหเกิดลมน่ันเองและจากการเคลื่อนที่ของมวลอากาศนี้ทําใหเกิดเปน

พลังงานจลนที่สามารถนํามาประยุกตใชประโยชนได

1.2 ลมในประเทศไทย

1.2.1 ลมประจําฤดู เปนลมที่เกิดขึ้นและพัดเปนไปตามฤดูกาล ตามชวงและระยะเวลาที่เกิดขึ้น

คอนขางแนนอน ไดแก ลมมรสุม (Monsoon) ซึ่งพัดในทิศทางที่แนนอน เปนระยะเวลานานตลอดทั้ง

ฤดูกาลและเกิดเปนประจําเชนน้ันทุกๆ ป ไมเปลี่ยนแปลง เชน ลมมรสุมในเอเชียตะวันออกเฉียงใตเน่ืองจาก

ทวีปเอเชียเปนพื้นแผนดินอันกวางใหญและมีมหาสมุทรลอมรอบ จึงทําใหเกิดความแตกตางอยางมากของ

อุณหภูมิและความกดอากาศระหวางพื้นดินและพื้นนํ้า เปนผลทําใหเกิดลมพัดเปลี่ยนเปนไปตามฤดูกาล

รูปแสดงสภาพอากาศและทิศทางลม

1.1.2.1 ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตหรือลมมรสุมฤดูรอน เน่ืองจากบริเวณทางใตของทวีป

เอเชียจะอยูในเขตศูนยกลางความกดอากาศต่ําในฤดูรอน จึงทําใหเกิดลมรอนช้ืนพัดผานจาก

มหาสมุทรอินเดียและแปซิฟกตอนใตในทิศทางตะวันตกเฉียงใตเขาสูทวีปเอเชียผานประเทศอินเดีย

กลุมประเทศอินโดจีน และประเทศจีน ลมจะนําความรอนและความชุมช้ืนและฝนมาตกในบริเวณ

เอเชียตะวันออกเฉียงใต สําหรับประเทศไทย ไดรับอิทธิพลจากมรสุมน้ีประมาณเดือนพฤษภาคม

จนถึงเดือนตุลาคมของทุกป

ช่วงเดือนพฤศจกิายน–เมษายน ช่วงเดือนพฤษภาคม–ตลุาคม

Page 9: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 7

1.1.2.2 ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือหรือลมมรสุมฤดูหนาว เน่ืองจากบริเวณทางใตของ

ทวีปเอเชียจะอยูในเขตศูนยกลางความกดอากาศสูงในฤดูหนาว จึงทําใหลมเย็นและแหงพัดจาก

บริเวณตอนกลางภาคพื้นทวีปในทิศทางตะวันออกเฉียงเหนือเขาสูมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟก ลม

จะนําความหนาวเย็นและความแหงแลงผานบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต สําหรับประเทศไทยไดรับ

อิทธิพลจากมรสุมนี้ประมาณเดือนพฤศจิกายนจนถึงเดือนเมษายนของทุกป

1.2.2 ลมประจําถิ่น เปนลมที่พัดอยูในบริเวณใดบริเวณหน่ึงโดยเฉพาะ เกิดขึ้นในบริเวณแคบๆ

สาเหตุการเกิดลมประจําถิ่น เน่ืองมาจากความแตกตางของความกดอากาศในบริเวณใกลเคียงของภูมิ

ประเทศในทองถ่ินน้ันๆ เชน พื้นท่ีเปนทะเล เปนภูเขาหรือเปนหุบเขา เปนตน ลมประจําถิ่นมีอิทธิพลอยาง

มากตอลักษณะอากาศ ณ บริเวณน้ันๆ และยังมีอิทธิพลตอพืชและสัตวในบริเวณน้ันๆ ดวย ลมประจําถิ่นที่

เกิดขึ้นในประเทศไทยมีดังน้ี

1.2.2.1 ลมบกและลมทะเล เกิดขึ้นเน่ืองจากความแตกตางอุณหภูมิของพื้นดินและพื้นนํ้า ที่มี

คุณสมบัติของการดูดซับและคลายความรอนที่แตกตางกัน ในชวง 1 รอบวันประเทศไทยจะไดรับ

อิทธิพลจากลมบกลมทะเลในบริเวณจังหวัดท่ีมีพื้นที่ติดทะเล ทั้งทางภาคตะวันออก ภาคกลาง ภาคใต

ฝงอาวไทยและฝงอันดามัน ซึ่งสมัยกอนลมน้ีไดชวยชาวประมงในการออกเรือหาปลา โดยใชแรงจาก

ลมบกออกเรือสูทะเลในตอนหัวคํ่าและใชแรงจากลมทะเลนําเรือเขาฝงในตอนเชา

รูปแสดงการเกดิลมบกและลมทะเล

1.2.2.2 ลมภูเขาและลมหุบเขา เปนลมประจําถิ่นอีกชนิดหน่ึง เกิดขึ้นเปนประจําวัน

เชนเดียวกับลมบกและลมทะเล ซึ่งเกิดข้ึนจากความแตกตางของความกดอากาศประเทศไทยจะไดรับ

อิทธิพลจากลมภูเขาและลมหุบเขาในบริเวณจังหวัดที่มีพื้นที่เปนเขาสูง ซึ่งอยูในภาคเหนือและภาค

ตะวันตก และหากในบริเวณพื้นท่ีน้ันๆ มีอุณหภูมิของอากาศท่ีไมแตกตางกันมากในแตละวันก็อาจจะ

ไมเกิดลมภูเขาและลมหุบเขา

Page 10: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 8

รูปแสดงการเกดิลมภูเขาและลมหุบเขา

1.2.2.3 ลมตะเภา เปนลมทองถิ่นในประเทศไทย โดยลมตะเภาเปนลมที่พัดมาจากทิศใตไป

ยังทิศเหนือคือพัดจากอาวไทยเขาสูภาคกลางตอนลาง พัดในชวงเดือนกุมภาพันธถึงเดือนเมษายน ซึ่ง

เปนชวงที่ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือกําลังจะเปลี่ยนเปนลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต เปนลมที่นํา

ความชื้นมาสูภาคกลางตอนลาง ในสมัยโบราณลมนี้จะชวยพัดเรือสําเภาซึ่งบรรทุกสินคาเขามาคาขาย

ใหแลนไปตามแมนํ้าเจาพระยา

1.2.2.4 ลมวาว เปนลมที่พัดจากทิศเหนือไปยังทิศใต เกิดในระหวางเดือนกันยายนถึงเดือน

พฤศจิกายน เปนลมเย็นที่พัดมาตามลําน้ําเจาพระยาและพัดในชวงท่ีลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตกําลังจะ

เปลี่ยนเปนลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ หรืออาจจะเรียกวาลมขาวเบา เพราะพัดในชวงที่ขาวเบา

กําลังออกรวง

1.3 การใชประโยชนจากพลังงานลม

การประยุกตใชพลังงานจากลม เริ่มจากการคนพบบันทึก

เกี่ยวกับโรงสีขาวพลังงานลม (Windmills) โดยใชระบบเครื่อง

โมในแกนตั้ง ซึ่งเปนเครื่องโมแบบงายๆ นิยมใชกันในพื้นที่

ภูเขาสูงโดยชาวแอฟแกน (Afghan) เพื่อการสีเมล็ดขาวเปลือก

ในชวงศตวรรษที่ 7 กอนคริสตกาล สวนโรงสีขาวพลังงานลม

แบบแกนหมุนแนวนอนพบครั้งแรกแถบเปอรเซีย ทิเบตและ

จีน ประมาณคริสตศักราชที่ 1000 โรงสีขาวพลังงานลมชนิด

แกนหมุนในแนวนอน ไดแพรหลายไปจนถึงประเทศแถบทะเล

เมดิเตอรเรเนียนและประเทศยุโรปตอนกลาง โรงสีขาวแบบ

แกนหมุนแนวนอนพบครั้งแรกในประเทศอังกฤษประมาณป

ค.ศ.1150 พบในฝรั่งเศสป ค.ศ.1180 พบในเบลเยี่ยมป ค.ศ.

1190 พบในเยอรมันป ค.ศ.1222 และ พบในเดนมารกป ค.ศ.

1259 การพัฒนาและแพรหลายอยางรวดเร็วของโรงสีขาวแบบ

แกนหมุนแนวนอนมาจากอิทธิพลของนักรบครูเซด ซึ่งเปนผูนํา

Page 11: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 9

ความรูเกี่ยวกับโรงสีขาวพลังงานลมจากเปอรเซียมาสูหลายพื้นที่ของยุโรป แมในประเทศไทยเองโดยภูมิ

ปญญาชาวบานของคนไทยโบราณ ก็ไดมีการผลิตกังหันลมขึ้นมาใชในการชักนํ้าจากที่ต่ําขึ้นที่สูง ไดแก

กังหันลมฉุดนํ้าแบบระหัด ท่ีใชในนาขาวและนาเกลือ สําหรับรูปแบบของการใชงานกังหันลมในปจจุบัน

สามารถแบงไดเปน

1.3.1 กังหันลมฉุดน้ําแบบระหัด เปนการใชพลังงานลมเพื่อการทุนแรง คนไทยในสมัยโบราณได

นํามาใชเปนเวลานานแลว ดังจะเห็นไดจากการสรางกังหันลมฉุดนํ้าเพื่อใชในการทํานาเกลือ ซึ่งเปนการคิด

ประดิษฐคิดคนขึ้นดวยภูมิปญญาชาวบานในสมัยโบราณ เพื่อฉุดนํ้าเขาในนาขาวและนาเกลือ เชนเดียวกัน

กับการประดิษฐกังหันลมวินดมิลลเพื่อใชสูบนํ้าและใชแรงกลในการแปรผลิตผลทางการเกษตรของชาว

ฮอลแลนด วัสดุที่ใชประดิษฐกังหันลมฉุดนํ้าแบบระหัดเปนวัสดุที่สามารถหาไดงายในทองถิ่น ทําดวยผีมือ

และแรงงานตนเอง ราคาถูก มีความเหมาะสมตอสภาพภูมิประเทศและความเร็วลมในทองถิ่นเปนอยางมาก

เปนกังหันลมแกนหมุนในแนวนอน ซึ่งประกอบดวย โครงเสา แกนเพลาใบพัด ชุดระหัดและรางนํ้า 1 การใชกังหันลมฉุดนํ้าแบบระหัดไดถูกประเมินการใชงาน

เมื่อป พ .ศ . 2524 กังหันลมที่ใชในนาขาวมีจํานวนประมาณ 2,000

ชุด และใชในนาเกลือมีจํานวนประมาณ 3,000 ชุด รวมทั้งหมดมี

การใชงานประมาณ 5,000 ชุด ตอมาในป พ .ศ . 2531 มีการลด

จํานวนการใชงานลงอยางรวดเร็ว ดวยการเลิกใชงานกังหันลมและ

เขามาแทนที่ของเครื่องสูบนํ้า ซึ่งมีความสะดวกรวดเร็วในการสูบนํ้า

อีกทั้งมีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนของพื้นที่จากการทํา

การเกษตรและนาเกลือมาเปนโรงงานและเขตอุตสาหกรรม จากการ

สํารวจในบริเวณพื้นที่ 20 ตารางกิโลเมตร ของจังหวัดสมุทรสาคร

และสมุทรสงคราม มีกังหันลมเพื่อใชงานเหลืออยูจํานวน 600 ชุด

และในปจจุบัน คงเหลือกังหันลมที่ใชในนาเกลือตามสองฝงของทาง

หลวงหมายเลข 35 ระหวางรอยตอจั งหวัดสมุทรสาครและ

สมุทรสงคราม ประมาณ 100-150 ชุด

1.3.2 กังหันลมสูบน้ํา เปนกังหันลมแบบแกนหมุนแนวนอน หลายใบพัด (Multi blade) ที่ไดรับการ

พัฒนาขึ้นเพื่อสูบน้ําใชในทางการเกษตรและปศุสัตว ที่อยูในพื้นที่ที่หางไกลในเขตชนบทที่ไมมีกระแสไฟฟา

ใชในการสูบน้ําหรือบริเวณที่ตองการใชพลังงานจากลมเปนพลังงานชวยเสริมพลังงานดานอื่นๆ และเปนการ

ประหยัดพลังงานและรักษาสภาพสิ่งแวดลอม ซึ่งมีสวนประกอบที่สําคัญดังน้ีใบพัด ตัวเรือน เพลาประธาน

แพนหาง โครงเสา กานชัก ปมนํ้า ทอนํ้า ถังเก็บนํ้า

1 ที่มา www.dede.go.th

กังหนัลมฉุดน้ําแบบระหัด

Page 12: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 10

กังหนัลมสูบน้ําเพื่อการเกษตรและปศุสัตว

1.3.3 กังหันลมเพื่อผลิตไฟฟา โดยทั่วไปกังหันลมสามารถแบงออกไดเปน 2 ชนิด ตามแกนหมุน

ของกังหันลม ไดแก กังหันลมแกนหมุนแนวตั้งและกังหันลมแกนหมุนแนวนอนซึ่งทั้งสองชนิดจะ

ประกอบดวยอุปกรณในการทํางานผลิตไฟฟาที่คลายกัน เชน ชุดใบพัดชุดหองเกียรทดกําลัง ชุดเครื่อง

กําเนิดไฟฟา และชุดเสาโดยจะมีความแตกตางกันตรงการวางชุดแกนหมุนใบพัด

o กังหันลมแกนหมุนแนวตั้ง (Vertical axis wind turbine,VAWT)

เปนกังหันลมที่มีแกนหมุนและใบพัดตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของลมในแนวราบ

ซึ่งทําใหสามารถรับลมในแนวราบไดทุกทิศทาง มีเพียง 2 แบบ คือ กังหันลม

แดรเรียส (Darrieus) ซึ่งประดิษฐขึ้นครั้งแรกในประเทศฝรั่งเศส และกังหัน

ลมซาโวเนียส (Savonius) ซึ่งประดิษฐข้ึนครั้งแรกในประเทศฟนแลนด ซึ่งการ

พัฒนาจึงอยูในวงจํากัดและมีความไมตอเน่ืองปจจุบันมีการใชงานกังหันลมแบบ

แกนตั้งนอยมาก

o กังหันลมแกนหมุนแนวนอน (Horizontal axis wind turbine, HAWT)

เปนกังหันลมที่มีแกนหมุนขนานกับทิศทางของลมโดยมีใบพัดเปนตัวต้ังฉาก

รับแรงลม ทําหนาที่รับแรงลมที่เคลื่อนตัวมากระทบทําใหเกิดการหมุนของ

ใบพัดโดยกังหันลมชนิดแกนหมุนแนวนอนแบบสามใบพัดซึ่งมีการพัฒนามา

อยางตอเน่ืองเปนกังหันลมที่ไดรับความนิยมใชงานในเชิงพาณิชยมากที่สุด

Page 13: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 11

กังหนัลมแกนหมุนแนวนอน กังหนัลมแกนหมุนแนวตัง้

เน่ืองจากการพัฒนากังหันลมผลิตไฟฟาที่เปนกังหันลมแกนหมุนแนวตั้ง ปจจุบันมีการติดตั้งใชงาน

นอยมากตางจาก กังหันลมแกนหมุนแนวนอน ซึ่งมีการพัฒนามาอยางตอเน่ือง เปนกังหันลมที่ไดรับความ

นิยมใชงานในเชิงพาณิชยมากที่สุด ดังน้ันในการจัดทําคูมือฉบับน้ีจะนําเสนอเฉพาะกังหันลมผลิตไฟฟาแบบ

แกนนอน

(1) สวนประกอบของกังหันลมผลิตไฟฟาแบบแกนนอน องคประกอบหลัก คือ

กังหัน (Rotor) ทําหนาที่เปลี่ยนรูปพลังงาน

จลนในกระแสลม เปนพลังงานกลสําหรับ

หมุนเครื่องกํา เนิดไฟฟา กั งหันเปนชุด

อุปกรณ ท่ีประกอบดวย ปกใบพัด ดุมใบพัด

(hub) และเพลาหลัก (main shaft) ดุม

ใบพัดทําหนาที่เปนตัวกลางถายทอดกําลัง

ระหวางใบพัดกับเพลา ในกังหันลมบาง

ประเภท ดุมใบพัดถูกออกแบบมาเปนพิเศษ

ติดตั้ งระบบปรับมุมปะทะของปกกังหัน

(variable pitch) ไดตามขนาดความเร็วลม

เพื่อใหการเปลี่ยนรูปพลังงานเกิดขึ้นอยางสม่ําเสมอ เพลาหลักมีลักษณะกลวงเพื่อเปน

ทางผานนํ้ามันไฮดรอลิกส

Page 14: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 12

นาเซล (Nacell) เปนตัวเรือน (Housing) สําหรับติดตั้งเครื่องกําเนิดไฟฟาและชุด

อุปกรณเสริมท้ังหลาย องคประกอบของนาเซลแตกตางกันไปตามชนิดและภารกิจของกังหัน

ลม ประกอบดวย

รูปแสดงสวนประกอบภายในนาเซล

ระบบเกียรเพิ่มรอบ ทําหนาที่เพิ่มความเร็วรอบของเพลารองท่ีตอกับเครื่องกําเนิดไฟฟา

ใหมีความเร็วรอบตรงกับขอกําหนดเน่ืองจากกังหันลมหมุนดวยความเร็วต่ําไมสามารถ

ใชขับเครื่องกําเนิดไฟฟาแบบด้ังเดิมได

ระบบเบรค เปนระบบกลไกเพื่อใชควบคุมการหยุดหมุนของใบพัดและเพลาแกนหมุน

ของกังหัน เม่ือไดรับความเร็วลมเกินความสามารถของกังหัน ที่จะรับได และในระหวาง

การซอมบํารุงรักษา

เครื่องกําเนิดไฟฟา ทําหนาที่เปลี่ยนพลังงานกล เปนพลังงานไฟฟา

ระบบอิเล็กทรอนิกสควบคุมอัตโนมัติ สําหรับตรวจวัด และควบคุมการทําหนาที่ของ

กังหันลม ในระบบน้ีมีคอมพิวเตอร ทําหนาที่จัดการเบรกใหหยุดเมื่อความเร็วลมอยูนอก

ชวงการทํางาน หรือสตารทการหมุนความเร็วลมอยูในชวงการทํางานของกังหันลม หัน

กังหันลมเขารับลมตามการเปลี่ยนทิศทางของกระแสลมเพื่อใหการเปลี่ยนรูปพลังงาน

เกิดสูงสุดตลอดเวลา และลดแรงไมคงตัว (unsteady forces)ท่ีทํากับชุดกังหัน การ

ทํางานของชุดควบคุมอาศัยขอมูลความเร็ว กับทิศทางการพัดของลม จึงมีการติดตั้ง

เครื่องมือวัดลมไวที่นาเซล

Page 15: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 13

ระบบหลอเย็น สําหรับอุปกรณที่เกิดความรอนสูงขณะทํางาน (เครื่องกําเนิดไฟฟา และ

เกียร) อาจเปนพัดลมระบายอากาศ หรือหมอนํ้าระบายความรอน เปนตน

แกนคอหมุนรับทิศทางลม (Yaw drive) ที่ทําใหนาเซลหมุนไดรอบตัวบนยอดเสา ระบบน้ี

มักประกอบดวย มอเตอรไฟฟาและเฟองวงแหวน เชนเดียวกับที่ใชในรถตักดิน “แบ็คโฮร”

หรือปอมปนของรถถัง มีการติดตั้งชุดนับรอบการหมุนเพื่อปองกันไมใชสายไฟฟาที่ตอลงมา

ขางลางหมุนบิดเปนเกลียวซึ่งอาจสรางความเสียหายได นอกจากนี้ยังสามารถติดต้ังระบบ

ปองกันความเสียหายอื่นๆ ที่อาจเกิดขึ้นเน่ืองจากการหมุนรอบแกนตั้งของนาเซล ตามความ

เหมาะสมของชนิดกังหันลมน้ันๆ

เสา (Tower) ทําหนาที่รับนํ้าหนักของกังหันและนาเซล และยกกังหันลมสูงขึ้นจากพื้นที่อยู

ในบริเวณที่ลมมีความเร็วสูงและสม่ําเสมอ (Uniform) ลดอิทธิพลช้ันชิดผิวใกลพื้น และพน

จากโซนเวคจากการไหลผานของวัตถุที่อยูพื้น อาทิ ตนไม สิ่งปลูกสราง เนินเขา เสามีสาม

แบบท่ีนิยมใชในทางปฏิบัติ ประกอบดวย

เสาแบบเสาธง (Guyed pole towers) มีขอดีคือ สรางงาย ไมซับซอน ติดตั้งงาย

เหมาะกับกังหันลมขนาดเล็ก กําลังการผลิตต่ํา เสาแบบเสาธงสามารถออกแบบใหเอน

ไดในกรณีลมกรรโชกแรง เสาเอนเบ่ียงออกทําใหทิศทางกังหันเหออกจากแนวกระแสลม

อาจชวยปองกันความเสียหายที่จะเกิดกับปกกังหันได

เสาแบบโครงถัก (Lattice tower) มีขอดีคือ สรางงาย แข็งแรง สามารถใชกับกังหันลม

ขนาดใหญ กําลังผลิตสูงได เชนเดียวกันกับเสาแบบเสาธง คือ สามารถออกแบบใหมีระบบ

เอนตัวหลบลมกรรโชกแรงได

เสาแบบทรงกระบอกเรียว (Tubular conical tower) เสาชนิดน้ีตองการการคํานวณ

ออกแบบที่ดี ขอดีที่สําคัญ คือ มั่นคง แข็งแรง ภายในแกนกลางของเสาสามารถติดตั้ง

อุปกรณไดหลายอยาง เชน บันไดหรือลิฟต สําหรับชางซอมบํารุง เปนทั้งทอรอยสายไฟ

ไปในตัว นอกจากนี้ยังสามารถออกแบบรูปทรงใหเขากับตัวกังหัน และนาเซล เพื่อใหดู

กลมกลืนกับสิ่งแวดลอม สวยงามไมเปนมลพิษทางสายตา

Page 16: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 14

แบบเสาธง แบบโครงถัก แบบทรงกระบอกเรียว

รูปเสาของกงัหันลม

(2) รูปแบบของระบบการติดตั้งใชงานกังหันลมผลิตไฟฟา แบงออกไดเปน 2 ชนิด ไดแก ระบบการ

ติดตั้งแบบเดี่ยว (Stand Alone System) และระบบการติดตั้งแบบเช่ือมตอเขาสูระบบสายสง

(Grid Connected System) โดยระบบการเช่ือมตอทั้งสองแบบ จะมีทั้งขอดีและขอเสียที่แตกตาง

กัน รวมทั้งยังมีขอจํากัดและปจจัยอื่นๆ อีกหลายประการในการพิจารณา ดังน้ันกอนการตัดสินใจ

จึงจําเปนจะตองมีการศึกษาอยางรอบคอบในการเลือกระบบของการติดตั้งใหเหมาะสม

ระบบการติดตั้งใชงานแบบเดี่ยว ระบบน้ีเหมาะสําหรับการติดตั้งใชงานในที่พัก อาศัย

ชุมชนหรือพื้นที่ที่หางไกลจากสายสงหลัก อาทิ บนเกาะหรือชนบทหางไกลที่ระบบสายสง

เขาไปไมถึงและไมคุมคากับการติดตั้งระบบสายสงเขาไปสูพื้นที่ท่ีตองการใชงาน โดยในระบบ

การติดตั้งแบบเดี่ยวน้ันจะตองใชชุดเก็บประจุไฟฟาสําหรับเปนที่เก็บพลังงาน (Battery

Bank) ซึ่งอาจเปนระบบการผลิตไฟฟาแรงดันตั้งแต 12-48 โวลต แลวเก็บพลังงานที่ไดเขา

ชุดแบตเตอรี่โดยจะตองทํางานท่ีสัมพันธกันกับระบบควบคุมการทํางานของกังหันลม (Wind

Turbine Controller) อยางเหมาะสมเพื่อควบคุมแรงดันไฟฟาและกระแสไฟฟาใหเปนไป

ตามความตองการท่ีความเร็วลมตางกันออกไป นอกจากน้ีระบบควบคุมการทํางานของกังหัน

ลมยังมีระบบปองกันตัวเอง (Self-Protection) ซึ่งอาจจะมีการทํางานคูกันระหวางระบบ

ทางกลและระบบทางไฟฟาเพื่อไมใหความเร็วลมของกังหันลมมากเกินไปกวาที่ออกแบบไว

การใชไฟฟาในระบบงานแบบเดี่ยวน้ีอาจใชไดทั้งระบบไฟฟากระแสตรง (DC) และ

ระบบไฟฟากระแสสลับ (AC) โดยในกรณีที่ตองการใชไฟฟากระแสสลับ จําเปนจะตองมี

Inverter เพื่อเปลี่ยนไฟฟากระแสตรงเปนไฟฟากระแสสลับ (DC/AC) โดยที่ Inverter และ

แบตเตอรี่ในแตละรุนจะมีคุณลักษณะและการทํางานที่แตกตางกัน ดังน้ันจําเปนจะตองมีการ

คํานวณภาระทางไฟฟาที่จะใชงานเพื่อการคัดเลือก Inverter ใหเหมาะสมเชนกัน

Page 17: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 15

ระบบการติดตั้งใชงานแบบเดี่ยว

ระบบการติดตั้งใชงานแบบเชื่อมตอเขาสูระบบสายสง การติดตั้งกังหันลมผลิตไฟฟาใน

ระบบน้ีสวนใหญเปนการติดตั้งใชงานในกังหันลมผลิตไฟฟาขนาดใหญซึ่งจะทําการเช่ือมตอ

กับระบบสายสงไฟฟาโดยตรง โดยไมจําเปนที่จะตองมีชุดเก็บพลังงานหรือแบตเตอรี่

(Battery Bank) โดยชุดแปลงไฟฟา (Inverter) ของระบบน้ีจะมีราคาสูงกวาชุดแปลงไฟฟา

ทั่วๆ ไป เน่ืองจากมีระบบควบคุมที่ซับซอนและตองสามารถเช่ือมตอเขาระบบสายสงได

(Grid Tie Transfer) นอกจากน้ันชุดแปลงไฟฟาของระบบน้ียังมีหนาที่สําคัญที่จะตอง

ควบคุมแรงดันหรือความถี่ทางไฟฟาใหเหมาะสมและสามารถปอนกระแสไฟฟาขนานไปกับ

ไฟฟาจากสายสงหลักได

Page 18: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 16

บทท่ี 2

การศึกษาความเปนไปไดของโครงการผลิตไฟฟาจากพลังงานลม

เพ่ือการจําหนาย

การศึกษาความเปนไปไดของโครงการผลิตไฟฟาพลังงานลม เปนขั้นตอนที่สําคัญโดยการพิจารณาถึง

ศักยภาพพลังงานลม ณ จุดที่จะดําเนินการติดตั้ง เพื่อเก็บรวบรวมขอมูลและจัดหาขอมูลประกอบอื่นๆ

นํามาวิเคราะหจัดทําแผนที่ศักยภาพลมและวิเคราะหขอมูลลมทางสถิติ แลวทําการสํารวจพื้นที่โดยรอบ

สถานีวัดลมและพิจารณากําหนดตําแหนงที่เหมาะสําหรับติดตั้งกังหันลมผลิตไฟฟาขนาดใหญ วิเคราะห

ประเมินพลังงานไฟฟาจากกังหันลม วิเคราะหประเมินความคุมคาโครงการดานการลงทุน พรอมทั้ง

ประเมินผลกระทบดานสังคม และสิ่งแวดลอมเบื้องตน โดยมีรายละเอียดดังตอไปน้ี

2.1 ขั้นตอนที่ 1 จัดหาและรวบรวมขอมูลที่จําเปนสําหรับการศึกษาศักยภาพพลังงานลมเฉพาะแหลง

และประเมินศักยภาพผลิตไฟฟาจากกังหันลมในขั้นตน (Prelim Detail)

ในขั้ น ตอนแรก ในการร ะบุพื้ นที่ ซึ่ ง มี

ศักยภาพพลังงานลมในการผลิตไฟฟาเฉพาะ

แหลง คือการรวบรวมและคัดเลือกขอมูลที่จะใช

ในการวิเคราะหความเร็วลมเพื่อกําหนดพื้นที่

เบื้องตน ซึ่งคาดวาจะมีศักยภาพพลังงานลม

เพียงพอ (Preliminary area identification)

โ ดยอาศั ย ข อมู ล ลมจ ากการตร วจวั ดขอ ง

หนวยงานภายในประเทศที่มีอยูแลว ไดแก กรม

พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน การ

ไ ฟ ฟ า ฝ า ย ผ ลิ ต แ ห ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ก ร ม

อุตุนิยมวิทยา กรมอุทกศาสตร กองทัพเรือ กรม

ควบคุมการปฏิบัติทางอากาศ กองทัพอากาศ

2.2 ขั้นตอนที่ 2 สํารวจและกําหนดตําแหนง

สําหรับติดตั้งกังหันลมขนาดใหญ

การสํารวจพื้นที่จริง เพื่อเก็บรวบรวมและ

สอบถามขอมูล ไดแก สภาพภูมิประเทศ เสนทาง

คมนาคม แนวสายสงไฟฟา ผูถือครองกรรมสิทธิ์

ที่ดิน เปนตน รวมถึงประสานงานเจาหนาที่ใน แผนที่ความเร็วลมของประเทศไทยที่ระดับความสูง 90 เมตร

Page 19: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 17

พื้นที่ ผูถือครองกรรมสิทธิ์ท่ีดินและผูเกี่ยวของเพื่อขออนุญาตใชพื้นที่ เชน องคการบริหารสวนตําบล (อบต.)

หนวยงานราชการ เปนตน ขอมูลที่ตองการ ประกอบดวย ขอมูลจํานวนประชากร แผนที่แสดงเขตการ

ปกครอง แผนท่ีแสดงแหลงที่ตั้งชุมชน ครัวเรือน แผนที่แสดงการใชประโยชนพื้นที่ แผนที่แสดงลักษณะภูมิ

ประเทศ บุคคลผูใหขอมูลในพื้นที่ ขอมูลการใชประโยชนพื้นที่ ลักษณะดิน ตําแหนงภูเขา ถนน ชุมชน

ใกลเคียง ประวัติภัยทางธรรมชาติ ขอมูลผูรับผิดชอบที่ดินแผนผังพื้นที่ แสดงลักษณะภูมิประเทศ ชุมชน

และตําแหนงพื้นท่ี เพื่อศึกษาศักยภาพและวิเคราะหความคุมคาของการลงทุน

การสํารวจพื้นที่เพื่อเก็บขอมูล เบื้องตนเปนการศึกษาเพื่อคัดเลือกพื้นที่ มีประเด็นการพิจารณาดังน้ี

(1) ศักยภาพพลังงานลมสูง

(2) การใชประโยชนและการไดรับอนุญาตใหใชพื้นที่

(3) ใกลกับแนวสายจําหนายไฟฟา

(4) ขนาดของพื้นท่ีเพียงพอตอความตองการใชงาน

(5) การเขาถึงพื้นท่ีไดงาย

ความเปนไปไดของ โครงการติดต้ังกังหันลมผลิตไฟฟา

โดยเฉพาะกังหันลมขนาดใหญระดับเมกะวัตต จําเปนตอง

พิจารณาขอมูล ศักยภาพพลังงานลมในพื้นที่ ขอมูลดาน

เทคนิคและราคาของกังหันลม ขอมูลสภาพพื้นที่โดยทั่วไป

การคมนาคมขนสง ระบบสายจําหนายไฟฟา การใช

ประโยชนพื้นที่ รวมถึงขอมูลกรรมสิทธิ์พื้นท่ี ซึ่งขอมูลเหลาน้ี

ลวนเกี่ยวของกับคาใชจายของโครงการทั้งทางตรงและ

ทางออม ดังน้ันการเลือกกังหันลม รวมทั้งตําแหนงที่ตั้งของกังหันลม ตองใชขอมูลดังกลาวมาพิจารณา

รวมกัน โดยมีเปาหมาย เพื่อสามารถนําพลังงานลมมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด มีคาใชจายโครงการที่

เหมาะสมแกการลงทุน และเปนที่ยอมรับของทุกฝายที่เกี่ยวของ

2.3 ขั้นตอนที่ 3 การตรวจวัดและวิเคราะหขอมูลลมทางสถิติ

ขอมูลลมที่จําเปนเพื่อประเมินศักยภาพพลังงานลม ความเร็วลม ทิศทางลม เครื่องวัดอุณหภูมิอากาศ

และเครื่องบันทึกขอมูล โดยเปนการตรวจวัดและบันทึกขอมูลลมตอเน่ืองอยางนอย 12 เดือน และชวงเวลา

ทั้งหมดท่ีไมมีขอมูลไมควรเกินรอยละ 10 ของระยะเวลาที่ทําการตรวจวัด2

ความเร็วลมและการวัดทิศทางลมเปนสิ่งสําคัญท่ีสุดในการประเมินศักยภาพลม เพราะพลังงานลมเปน

สัดสวนกับความเร็วลม การวัดความเร็วลมควรกระทํามากกวา 1 ระดับความสูง เพื่อใหทราบการ

2 ที่มา : รายงานฉบบัสมบรูณ โครงการศึกษาประเมินศักยภาพพลงังานลมในการผลิตไฟฟาเฉพาะแหลง, กรมพฒันา

พลังงานทดแทนและอนุรกัษพลงังาน, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบรุ,ี ธันวาคม 2551

Page 20: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 18

เปลี่ยนแปลงความเร็วลมตามความสูง (speed shear) การเปลี่ยนทิศทางลมตามความสูง (Direction

shear) ความถี่ของทิศทางลม (Direction frequency) เพื่อประโยชนในการคํานวณการผลิตกระแสไฟฟา

โดยกังหันลมที่ระดับความสูงตางๆ กัน อีกทั้งยังเปนการบรรเทาปญหาในกรณีที่เครื่องวัดความเร็วลมขัดของ

ดวย นอกจากนี้ ยังเปนสิ่งที่สําคัญในการกําหนดตําแหนงของกังหันลมใหสอดคลองกับลักษณะภูมิประเทศ

และทิศทางลมการวัดความเร็วลม ซึ่งระดับความสูงตางๆ ท่ีควรจะมีการตรวจวัด โดยมีเหตุผลดังนี้

10 เมตร เปนระดับความสูงมาตรฐานทางอุตุนิยมวิทยาในการตรวจวัดความเร็วลม

40 เมตร เปนระดับความสูงของสถานีตรวจวัดลมของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ

พลังงาน และเปนระดับความสูงเริ่มตนของกังหันลม (hub) ขนาดไมนอยกวา 500

กิโลวัตต

65 เมตร เปนระดับความสูงโดยประมาณของกังหันลม (hub) ขนาดเมกะวัตต โดยทั่วไปอยูระหวาง

50-65 เมตร

ทั้งน้ีจะตองตรวจวัดอุณหภูมิอากาศจึงเปนสิ่งจําเปนในการประเมินศักยภาพพลังงานลม เน่ืองจากการ

เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอากาศจะทําใหความหนาแนนของอากาศเปลี่ยนแปลงตามไปดวย และโดยที่ความ

หนาแนนของอากาศมีผลตอพลังงานท่ีไดจากลม ซึ่งการวัดอุณหภูมิอากาศมักจะวัดที่ระดับความสูงระหวาง

2 - 3 เมตร เพียงระดับเดียวทั้งน้ีเน่ืองจากคาเฉลี่ยของอัตราการลดลงของอุณหภูมิตามความสูงที่เพิ่มขึ้นมี

คาประมาณ 0.1 องศาเซลเซียสตอ 100 เมตร เทาน้ัน

2.4 ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะหประเมินพลังงานไฟฟาจากกังหันลม

ความสําเร็จของการพัฒนาโครงการพลังงานในเชิงพาณิชยจะเกิดขึ้นไดเมื่อการลงทุนพัฒนาโครงการ

น้ันๆ มีผลตอบแทนตอการลงทุนในอัตราที่สูงเพียงพอที่จะสรางแรงจูงใจแกนักลงทุน ตลอดจนสรางความ

เช่ือมั่นแกสถาบันการเงินในการใหการสนับสนุนดานสินเช่ือ ดังน้ันในขั้นตอนนี้จึงจะเปนการนําประเด็น

สําคัญตางๆ ในดานการเงินและการลงทุนมาสรุปเบื้องตนอยางงายๆ ไวเพื่อใหนักลงทุนที่ไมใชผูเช่ียวชาญ

ดานการเงินไดทราบและนํามาพิจารณาประกอบการตัดสินใจลงทุน

โดยทั่วไปผลตอบแทนการลงทุน มี 2 รูปแบบ คือ ผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร และผลตอบแทน

ทางการเงิน ซึ่งโดยท่ัวไปภาคเอกชนจะใชเกณฑผลการตอบแทนดานการเงินเปนหลักในการตัดสินใจลงทุน

เน่ืองจากเปนการประกอบธุรกิจเชิงพาณิชย สวนภาครัฐจะใชทั้งผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตรและการเงิน

ประกอบกัน เน่ืองจากบางโครงการที่รัฐลงทุน ผลตอบแทนทางการเงินอาจไมสูงในระดับจูงใจ แต

ผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตรของโครงการที่นําเอาผลประโยชนทางออมที่มิใชเปนเม็ดเงินโดยตรงมา

ประเมินรวมดวย จะทําใหโครงการน้ันมีความคุมคาตอการลงทุนตามพันธกิจของภาครัฐที่มิใชเชิงพาณิชย

โดยที่ผูลงทุนพัฒนาอาจเปนไปไดท้ังภาคเอกชนที่มุงหวังผลประโยชนเชิงพาณิชย และภาครัฐหรือหนวยงาน

ที่ไมแสวงหาผลกําไร ดังน้ันจึงจะนําเสนอท้ัง 2 รูปแบบ เพื่อใหเห็นภาพทั้งหมด

Page 21: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 19

2.4.1 การวิเคราะหผลการตอบแทนการลงทุน

การวิเคราะหผลตอบแทนการลงทุนจะเปนการเปรียบเทียบระหวางรายไดและรายจายวา รายไดสูง

กวารายจายหรือไม หากรายไดสูงกวารายจายในระยะเวลาที่เหมาะสม แสดงวาการลงทุนน้ันคุมคา และหาก

มีอัตราตอบแทนในระดับสูงกวาอัตราดอกเบ้ียของการนําเงินลงทุนน้ันไปลงทุนอยางอื่น หรือสูงกวาดอกเบี้ย

เงินกูก็จะหมายความวา การลงทุนน้ันใหผลตอบแทนในอัตราที่จูงใจ ตัวช้ีวัดในประเด็นที่กลาวขางตนที่ใช

กันท่ัวไปมีดังน้ี

o มูลคาปจจุบันสุทธิ (Net Present Value, NPV)

o อัตราผลตอบแทนของโครงการ (Internal Rate of Return, IRR)

o ผลประโยชนตอเงินลงทุน (Benefit-Cost Ratio, B/C)

o ตนทุนพลังงานตอหนวยการผลิตไฟฟา (Cost of Energy, COE)

o ระยะเวลาการคืนทุน (Pay Back Period)

o งบกระแสเงินสด (Cash Flow)

1.1) มูลคาปจจุบันสุทธิ (Net Present Value, NPV)

มูลคาปจจุบันสุทธิของโครงการคือมูลคาปจจุบันของกระแสเงินสดของโครงการ ซึ่งสามารถคํานวณได

จากการทําสวนลดกระแสผลตอบแทนสุทธิตลอดอายุโครงการใหเปนมูลคาปจจุบัน ซึ่งการวิเคราะหมูลคา

ปจจุบันสุทธิคือหากคามูลคาปจจุบันสุทธิ ≥0 แสดงวาเปนโครงการที่สมควรจะดําเนินการเน่ืองจากมี

ผลตอบแทนเมื่อเปรียบเทียบ ณ ปจจุบันมากกวาคาใชจายแตในทางตรงกันขามหากมูลคาปจจุบันสุทธิมีคา

นอยกวาศูนยแสดงวาเปนโครงการท่ีไมนาจะลงทุนเน่ืองจากมีผลตอบแทนเมื่อเปรียบเทียบ ณ ปจจุบันนอย

กวาคาใชจาย

1.2) อัตราผลตอบแทนของโครงการ (Internal Rate of Return, IRR)

อัตราผลตอบแทนของโครงการคืออัตราดอกเบี้ยเงินกูที่ทําใหคา NPV มีคาเทากับศูนยดังน้ันอัตรา

ผลตอบแทนของโครงการจึงไดแกอัตราดอกเบี้ยหรือ i ที่ทําให NPV=0 ซึ่งหากวาอัตราดอกเบี้ยเงินกู ณ

สถานการณปจจุบันสูงกวาคาอัตราผลตอบแทนของโครงการที่คํานวณไดก็ไมสมควรที่จะลงทุนโครงการ

ดังกลาวในทางตรงกันขามหากอัตราดอกเบี้ยเงินกู ณ สถานการณปจจุบันยิ่งต่ํากวาคาอัตราผลตอบแทน

ของโครงการที่คํานวณไดมากเทาไรแสดงเปนโครงการท่ีใหผลตอบแทนมากขึ้นตามลําดับ

1.3) ผลประโยชนตอเงินลงทุน (Benefit-Cost Ratio, B/C)

ผลประโยชนตอเงินลงทุนคืออัตราสวนระหวางมูลคาปจจุบันของกระแสผลตอบแทนหรือมูลคา

ผลตอบแทนของโครงการเทียบกับมูลคาปจจุบันของกระแสตนทุนหรือตนทุนรวมของโครงการซึ่งรวมทั้ง คา

กังหันลม คาที่ดิน คาติดตั้ง คาดําเนินการ คาซอมบํารุงรักษา ถาอัตราสวนที่ไดมากกวา 1 แสดงวาควร

ตัดสินใจเลือกโครงการน้ัน แตถาอัตราสวนที่ไดนอยกวา 1 แสดงวาโครงการน้ันไมนาสนใจลงทุน แตถา

เทากับ 1 แสดงวาโครงการคุมทุน

Page 22: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 20

1.4) ตนทุนพลังงานตอหนวย (Cost of Energy)

การพิจารณาความคุมคาทางเศรษฐศาสตรที่สําคัญอีกตัวช้ีวัดหน่ึง คือ การวิเคราะหตนทุนตอหนวย

ในการผลิตไฟฟาซึ่งวิเคราะหจากตนทุนการผลิตตลอดอายุโครงการ สําหรับโครงการผลิตไฟฟาพลังงานลม

ตนทุนเริ่มตนในการติดตั้งกังหันลมผลิตไฟฟารวมทั้งตนทุนคาใชจายที่เกิดขึ้นรายปตลอดอายุโครงการที่ทํา

การผลิตไฟฟาแลวคํานวณหาคาใชจายตอปที่เทากัน (Equivalent annual costs, EAC) ซึ่งไดคํานึงถึงการ

ปรับคาของเวลา และการเลือกคาเสียโอกาสของทุนที่เหมาะสมเขาไวดวยแลวและคํานวณหาตนทุนตอ

หนวยโดยหารดวยปริมาณไฟฟาที่ผลิตไดตอป

ผลการวิเคราะหตนทุนตอหนวยสามารถใชประโยชนในการพิจารณาเปรียบเทียบกับราคาไฟฟาที่การ

ไฟฟาภูมิภาครับซื้อ ซึ่งจะเปนเกณฑการพิจารณาความเหมาะสมในการเลือกพื้นที่ติดต้ังกังหันลม และมีการ

วิเคราะหผลกรณีที่ปจจัยดานอัตราดอกเบี้ยเปลี่ยนแปลง (Sensitivity Analysis)

1.5) ระยะเวลาการคืนทุน (Pay Back Period)

คือ ระยะเวลาที่รายไดหลังจากหักคาใชจายในการดําเนินการสามารถ

นําไปชําระเงินที่ใชลงทุนในการพัฒนาโครงการไดครบถวน โดยสวนใหญใช

นับเปนจํานวนป โครงการที่มีระยะเวลาคืนทุนสั้นจะเปนโครงการที่ดีกวา

โครงการที่มีระยะคืนทุนยาว โดยทฤษฎีระยะเวลาคืนทุนจะตองไมนานกวาอายุ

การใชงานของโครงการ แตในภาคปฏิบัติระยะเวลาคืนทุนของโครงการขนาด

ใหญจะยอมรับกันที่ 7-10 ป

1.6) งบกระแสเงินสด (Cash Flow)

เปนการวิเคราะหเปรียบเทียบคาใชจายและรายไดท่ีเกิดขึ้นในแตละปในชวงอายุที่โครงการยังกอใหเกิด

รายไดวา รายไดที่ไดรับจะเพียงพอตอคาใชจายที่เกิดขึ้นในปน้ันๆ หรือไม ทั้งน้ี เพื่อใหนักลงทุนจะได

ตระหนักและหาทางแกไขลวงหนาเพื่อมิใหเกิดสถานการณเงินขาดมือในชวงใดชวงหน่ึง ซึ่งจะสงผลให

โครงการสะดุด ซึ่งในกรณีการกูเงิน สถาบันการเงินจะใหความสําคัญกับงบกระแสเงินสดมาก

2.4.2 ปจจัยสําคัญที่มีผลตอการวิเคราะหความเหมาะสมการลงทุนที่ถูกตอง มีดังน้ี

o รายจาย (Cost) ประกอบดวย ตนทุน การลงทุน และคาใชจายในการดําเนินการ

ตนทุน ไดแก เงินที่ใชลงทุนในการพัฒนาโครงการ เชน การซื้อที่ดิน เครื่องจักร

อุปกรณตางๆ ฯลฯ ตลอดจนคาติดต้ังดําเนินการทดสอบ

คาใชจาย ไดแก คาดําเนินการในการเดินเครื่องหลังจากการพัฒนาโครงการแลวเสร็จ

เชน คาจางพนักงาน คาซอมแซม ดอกเบี้ยเงินกู คาใชจายอื่นๆ ภาษี ฯลฯ แตละเทคโนโลยี

จะมีคาใชจายเหลาน้ีอาจไมเหมือนกันขึ้นอยูกับเทคโนโลยีและขนาด และมาตรการสงเสริม

การลงทุนของรัฐ

Page 23: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 21

o ประโยชนหรือรายรับ (Benefit) รายรับที่ไดรับจากโครงการ แยกออกเปน 2 รูปแบบ คือ

ประโยชนโดยตรงทางการเงิน อันไดแก รายไดจากการขายพลังงานในกรณีที่ขายใหแก

ภายนอก หรือการลดคาใชจายพลังงานที่ใชอยูเดิม การขายวัสดุที่เหลือจากการผลิตพลังงาน

รายไดจาก CDM กับประโยชนทางออมที่มิใชเปนเม็ดเงินโดยตรงแตสามารถประเมินเปนรูป

เงินได เชน การลดการกําจัดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ฯลฯ ซึ่งในการประเมินผลตอบแทน

ทางเศรษฐศาสตร จะใชประโยชนที่เกิดจากทั้งทางตรงและทางออม ผูประกอบการจะตอง

หาขอมูลใหถูกตองและถี่ถวนถึงราคาพลังงานที่จะขายไดหรือสามารถทดแทนไดตลอดจน

มาตรการสนับสนุนของรัฐที่มีผลตอรายรับในดานราคาของพลังงานที่ขาย เชน adder

ระยะเวลาที่ใหการสนับสนุน เพื่อนํามาใชประเมินผลตอบแทนโครงการ

o ขอเสนอแนะ

ขอมูลขางตนเปนการใหความรูพื้นฐานเบื้องตนแกผูประกอบการ เพื่อความเขาใจและนําไปใช

ประกอบการพิจารณาประเมินผลเบื้องตน แตแนะนําวาหากจะไดผลอยางสมบูรณที่ใหความเช่ือมั่นอยาง

แทจริงแกผูประกอบการและสถาบันการเงิน ควรใหผูเช่ียวชาญดานการเงินเปนผูดําเนินการวิเคราะห

2.4.3 การประเมินตนทุนของการผลิตไฟฟาดวยพลังงานลม

เปนการวิเคราะหขอมูลศักยภาพลมและขอมูลคุณสมบัติกังหันลมวิเคราะหประเมินพลังงานไฟฟาจาก

การติดต้ังกังหันลมในพื้นท่ีที่คัดเลือกไวโดยละเอียด ผลการประเมินพลังงานไฟฟาจากกังหันลมในขั้นตอนนี้

คือพลังงานท่ีผลิตไดตอป (Annual Energy Production – AEP) โดยคํานวณคา Capacity Factor เพื่อใช

เปรียบเทียบกังหันลมแตละรุน จึงจะไดคาที่มีความถูกตองเพียงพอ โดยในการพิจารณาตนทุนของการผลิต

ไฟฟาดวยพลังงานลม ประกอบไปดวยมูลคาในการวิจัยและพัฒนาระบบของการผลิตไฟฟาดวยพลังงานลม

มูลคาการลงทุนหรือการจัดหาสําหรับการติดต้ังระบบผลิตไฟฟาดวยพลังงานลม มูลคาที่ดิน มูลคากังหันลม

พรอมทั้งมูลคาการติดตั้ง รวมไปถึงมูลคาการปฏิบัติงานและบํารุงรักษา มีรายละเอียดดังตอไปน้ี

1) มูลคาในการวิจัยและพัฒนาระบบการผลิตไฟฟาดวยพลังงานลม (Research and

Development Cost) เปนคาใชจายจมหรือคาใชจายในอดีต (Suck Cost) มักไมนํามาพิจารณา

ผลประโยชนหรือตนทุน เพราะไมมีผลตอการจะลงทุนหรือไมลงทุนในการติดตั้งระบบ ถาผลการ

วิเคราะหเปนท่ีพอใจ การลงทุนในการติดต้ังระบบผลิตไฟฟาดวยพลังงานลมก็อาจจะดําเนินตอไป แต

ถาผลการวิเคราะหไมเปนที่นาพอใจการลงทุนก็อาจจะถูกยกเลิก

2) มูลคาการลงทุนหรือการจัดหาการติดตั้งระบบผลิตไฟฟาดวยพลังงานลม (Investment

Cost) เปนคาใชจายที่เกิดขึ้นเพื่อทําใหเกิดความพรอมที่จะดําเนินการระบบ ไดแก คาที่ดิน คา

อาคารและสิ่งกอสรางอื่นๆ เครื่องจักรและการติดตั้ง คาวัสดุและอุปกรณ คาใชจายในการติดตั้ง

นํ้าประปา ไฟฟา โทรศัพท ซึ่งมีรายละเอียดดังน้ี

Page 24: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 22

มูลคาที่ดิน (Land Cost) ในการผลิตไฟฟาดวยพลังงานลมมีความจาํเปนที่จะตองใช

พื้นที่ในการติดต้ังกังหันลม โดยไดทําการศึกษาไว 2 กรณี คือ กรณีที่ไมมีคาใชจายคา

ที่ดิน เชน เปนที่สาธารณะประโยชน ขององคการบริหารสวนตําบล และกรณีมี

คาใชจายในการจัดเตรียมพื้นที่สําหรับการติดตั้ง ซึ่งขนาดพื้นที่ที่ใชจะขึ้นอยูกับ

สวนประกอบของกังหันลม ไดแก ขนาดของใบพัดและความสูงของเสา ซึ่งพื้นที่แตละ

แหงจะมีราคาประเมินท่ีแตกตางกัน

มูลคากังหันลม (Turbine Price) ในการติดตั้งกังหันลมเพื่อผลิตไฟฟาจะตองมี

การเลือกซื้อกังหันลมที่เหมาะสมกับการใชงานในแตละพื้นที่ โดยจะตองพิจารณา

ศักยภาพลมประกอบดวย ซึ่งราคาของกังหันลมประเมินจาก ขนาดกังหันลม (อางอิง

จาก www.windpower.org) ซึ่งกังหันลมมีราคาประมาณ 1,000 ดอลลารสหรัฐตอกําลัง

การผลิต 1 กิโลวัตต นอกจากนี้ยังจะตองพิจารณาคาขนสง (Transportation Cost) ดวย

มูลคาการติดตั้งระบบกังหันลม (Installation Cost) สําหรับการติดตั้งกังหันลม

เพื่อผลิตไฟฟา นอกจากตัวกังหันลมซึ่งเปนเครื่องจักรหลักแลว จําเปนตองมี

คาใชจายในการติดตั้ง ซึ่งประกอบดวย คาปรับพื้นที่ เชน การทําถนนเพื่อความ

สะดวกใ การขนสงวัตถุดิบ คาระบบเสริม เชน หมอแปลงไฟฟา คาเช่ือมโยงระบบ

ไฟฟาจากพื้นที่ติดต้ังไปยังระบบของการไฟฟาสวนภูมิภาค ซึ่งมูลคาการติดตั้งระบบ

กังหันลมจะใชการประมาณการรอยละ 30 ของมูลคากังหันลม

3) มูลคาการปฏิบัติงานและบํารุงรักษา (Operation and Maintenance Cost)

คาการปฏิบัติงาน เปนคาใชจายในการดําเนินการ เชน คาจัดซื้อนํ้ามันเช้ือเพลิง คา

นํ้า คาไฟฟา คาแรง คาโทรศัพท คาขนสง คาโฆษณาประชาสัมพันธ คาประกัน

ตางๆ คาฝกอบรม คาอะไหล คาที่ปรึกษา เปนตน เปนคาใชจายที่จํานวนเงินไม

เปลี่ยนแปลงตามปริมาณการผลิต ไมวาจะทําการผลิตในปริมาณมากหรือนอยก็ตาม

คาบํารุงรักษา เปนคาใชจายในการบํารุงรักษาวัสดุอุปกรณ เครื่องจักรและ

สิ่งกอสราง เพื่อใหดําเนินการตอไปไดตลอดอายุของระบบ

2.4.4 การประเมินมูลคาผลตอบแทนโครงการ

ผลตอบแทนทางดานการเงินทางตรง คือ คาตอบแทนที่ไดจากการขายกระแสไฟฟาที่ผลิตไดใหแกการ

ไฟฟาสวนภูมิภาคในการวิเคราะหจะคํานวณจากการนําปริมาณพลังงานไฟฟาที่กังหันลมสามารถผลติได คูณ

กับราคาตอหนวยท่ีการไฟฟาสวนภูมิภาครับซื้อ ในที่น้ีจะอางอิงราคารับซื้อไฟฟาของการไฟฟาสวนภูมิภาค

ที่มีการเพิ่มราคารับซื้อไฟฟาสําหรับผูผลิตพลังงานไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน มีราคา 6.34 บาทตอ

กิโลวัตต - ช่ัวโมง (ราคาอางอิงจากการไฟฟาสวนภูมิภาคราคาน้ีไดรวมสวนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟามูลคา 3.50 บาทตอ

กิโลวัตต - ช่ัวโมงแลว)

Page 25: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 23

2.4.5 การประเมินผลกระทบดานสิ่งแวดลอมและสังคมเบื้องตน

ความสําเร็จของการติดตั้งกังหันลมสวนหน่ึงจะตองไดรับการยอมรับจากสังคมหรือมวลชน โดย

การศึกษาผลกระทบท้ังทางดานสิ่งแวดลอมและชุมชนเพื่อสรางความเขาใจและการยอมรับ สําหรับประเด็น

ในการศึกษาผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอมทรัพยากรและสังคมในปจจุบัน สําหรับบริเวณพื้นที่ของโครงการ

และพื้นที่โดยรอบ ทั้งผลกระทบทางบวกและทางลบในระยะสั้นและระยะยาว บนพื้นฐานของการคาดการณ

ถึงความเปลี่ยนแปลงที่อาจจะเกิดขึ้น รวมทั้งมีมาตรการเพื่อปองกันและแกไขผลกระทบที่เหมาะสมในกรณี

ของระบบผลิตไฟฟาจากพลังงานลม เปนดังน้ี

1) การประเมินผลกระทบดาน

เสียงรบกวน โดยผลกระทบ

ดานเสียงรบกวนจะอยู ใน

รัศมีนอยกวา 1 กิโลเมตร

จ า ก กั ง หั น ล ม ซึ่ ง ค า ที่

กําหนดใหคาสูงสุดของระดับ

เสียงของกังหันลมสําหรับที่

อยูอาศัยที่ใกลที่สุดไมควร

เกิน 45 dB (A) และในเขต

ชุมชนไมเกิน 40 dB (A)

2) ผลกระทบเกี่ยวกับทรัพยากร

ดานนิเวศวิทยา อาทิ สัตวและ

พืชประจําถิ่น นก คางคาว

รวมทั้งผลกระทบตออาชีพ

ของคนในพื้นที่ดวย เชน การ

ปศุสัตว การทองเที่ยว เปนตน

ในการประเมินผลกระทบดาน

สังคม สิ่งแวดลอมเบื้องตนโดย

ใชแบบสอบถามเพื่อสํารวจความคิดเห็น ทัศนคติจากประชาชนและผูนําชุมชนที่อยูในพื้นที่

ที่จะมีการติดตั้งกังหันลมในอนาคตและบริเวณใกลเคียงที่มีตอโครงการ รวมทั้งทราบถึง

ขอมูลพื้นฐานของชุมชนและขอเสนอแนะตางๆ เพื่อสามารถกําหนดแนวทางการ

ดําเนินการแบบมีสวนรวมเพื่อปองกันปญหาที่อาจจะเกิดข้ึนในอนาคตตอไป

Page 26: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 24

2.5 ตัวอยางการศึกษาประเมินศักยภาพพลังงานลมในการผลิตไฟฟา บริเวณสถานีวัดลมบานยางคํา

ตําบลทามะไฟหวาน อําเภอแกงคอ จังหวัดชัยภูมิ

เปนตัวอยางของการวิเคราะหเพื่อประเมินความคุมคาของการผลิตไฟฟาจากกังหันลมดวยกังหันลม

ผลิตไฟฟา 2 ขนาด บริเวณสถานีวัดลมบานยางคํา ตําบลทามะไฟหวาน อําเภอแกงคอ จังหวัดชัยภูมิ ซึ่ง

จากขอมูลการสํารวจบริเวณสถานีวัดลมบานยางคํา พบวา พื้นที่สวนใหญเปนเนินโลง ใชปลูกมันสําปะหลัง

จากแผนที่ศักยภาพลม พื้นที่บริเวณบานยางคําเปนพื้นที่ที่มีศักยภาพลมดี การเดินทางคอนขางสะดวก

เน่ืองจากทางเขาพื้นที่เปนถนนราดยาง ไมคดเค้ียว และพื้นที่อยูไมไกลจากถนนราดยางมากนัก จึงเหมาะ

สําหรับติดต้ังกังหันลมผลิตไฟฟามากกวาพื้นที่อื่นโดยรอบสถานีวัดลม

แผนที่ศักยภาพลมและการวิเคราะหขอมูลลมทางสถิติ

สถานที่ติดตั้งกงัหันลม

Lat Long ระดับความสูง )เมตร( ความเร็วลม )เมตรตอวินาที(

หมูบานยางคํา ต.ทามะไฟ

หวาน อ.แกงครอ จ.ชัยภูมิ

16.1739 102.1056 30 40 65 90 5.1 5.3 5.7 5.9

(1)

จากขอมูลศักยภาพลม พบวาบริเวณพื้นที่ที่คัดเลือก มี

ศักยภาพลมในระดับปานกลางถึงดีและพื้นที่โดยรอบเสาวัด

ลมในรัศมีประมาณ 10 กิโลเมตร มีบริเวณที่มีศักยภาพลมดี

อยูหลายพื้นที่ จากขอมูลความเร็วลม ณ ที่ เสาวัดลม

ความเร็วลมเฉลี่ยสูงประมาณ 5.0 - 6.8 เมตรตอวินาที ที่

ระดับ 90เมตร โดยเดือนกรกฎาคมมีความเร็วลมเฉลี่ย

สูงสุดสวนเดือนกันยายนมีความเร็วลมเฉลี่ยต่ําสุด โดย

ในชวงกลางคืนหลังเที่ยงคืนลมแรงกวาชวงเวลาอื่นสวนการ

วิเคราะหการกระจายลมสวนใหญเปนลมทิศตะวันตก

เมตร

ต่อวิน

าที

Page 27: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 25

(2) (3)

ความเร็วลมเฉลี่ยรายป (1) รายชั่วโมง (2) และทิศทางและความเร็วลมเฉลี่ย

(3) ที่ระดบัความสูง 10, 40, 65 และ 90 เมตร

ผลการสํารวจและกําหนดตําแหนงสําหรับติดตั้งกังหันลมขนาดใหญ

บริเวณสถานีวัดลมบานยางคํา ตําบลทามะไฟหวาน อําเภอแกงคอ จังหวัดชัยภูมิ

พื้นที่สวนใหญเปนเนินโลง ใชปลูกมันสําปะหลัง จากแผนที่ศักยภาพลม พื้นที่บริเวณบานยางคําเปนพื้นที่

ที่มีศักยภาพลมดี การเดินทางคอนขางสะดวกเน่ืองจากทางเขาพื้นที่เปนถนนราดยางไมคดเค้ียว และพื้นที่

อยูไมไกลจากถนนราดยางมากนัก จึงเหมาะสําหรับติดตั้งกังหันลมผลิตไฟฟามากกวาพื้นที่อื่นโดยรอบ

สถานีวัดลมโดยจุดที่ต้ังกังหันลมหางจากพื้นที่ต้ังบานเรือนอาศัยประมาณ 600 เมตร

Page 28: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 26

การประเมินผลกระทบดานสิ่งแวดลอมและสังคมเบื้องตน

ผลกระทบดานเสียงรบกวน พื้นท่ีที่เหมาะสําหรับติดตั้งกังหันลม อยูหางจากศูนยกลางชุมชนพอสมควร

ประมาณ 1 กิโลเมตร แตยังมีบานเรือนในบริเวณใกลเคียงเล็กนอย โดยอาจมีบางครอบครัวที่ไดรับ

ผลกระทบดานเสียง ในระดับ สีสม คือ 40–44 เดซิเบล ซึ่งอาจกอใหเกิดความรําคาญได

ผลการสํารวจความคิดเห็นประชาชน การสํารวจความคิดเห็นจากประชาชนโดยสุมตัวอยางประชากร

จํานวน ผูนําชุมชนคือ ผูใหญบาน รองนายกองคการบริหารสวนตําบล ผูชวยผูใหญบาน 2 คน สมาชิก

สภาองคการบริหารสวน

ตําบล 4 คน สามารถ

สรุปไดวาสวนใหญจะให

การสนับสนุนเน่ืองจาก

จะนําความเจริญมาสู

ชุมชนเกิดการจางงาน

และแหลงทองเที่ยวแหง

ใหมและคิดวาไมสงผล

กระทบตอสัตวและพืช

ประจําถิ่น แตยังกังวลใน

เรื่ อ ง ผล กระทบเ รื่ อ ง

ปญหาความรําคาญจาก

เสียง

Page 29: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 27

การวิเคราะหประเมินพลังงานไฟฟาจากกังหันลม

จากผลการประเมินพลังงานไฟฟาจากกังหันลม ในพื้นที่ท่ีคัดเลือกไว พบวา คาพลังงาน (Annual Energy

Product, AEP) ปานกลางแตสูงกวาพื้นที่อื่นๆ ระหวาง 1,396.9 -1,810.4 เมกะวัตต-ช่ัวโมงตอป และคา Capacity

Factor (CF) ของกังหันลมรุนขนาด 850 กิโลวัตต ที่ความสูงโรเตอร 71 เมตร มีคาสูงสุดที่รอยละ 20.0 และ

คา Capacity Factor ของกังหันลมขนาด 1,250 กิโลวัตต ท่ีความสูงโรเตอร 75 เมตร มีคาสูงสุดท่ีรอยละ 16.5

ตัวแปร

พลังงานไฟฟาจากกังหนัลมทีค่วามสูงโรเตอรตางกนั

ขนาด 850 กิโลวัตต ขนาด 1,250 กิโลวัตต

71 เมตร 75 เมตร

Annual Energy Production (MWh/ป) 1,488.2 1,810.4

Capacity Factor (%) 20.0 16.5

กังหันลม ขนาด 850 กิโลวัตต

กังหันลม ขนาด 1,250 กิโลวัตต

กราฟแสดงสมรรถนะการผลติไฟฟาตามระดับความเร็วลม (Power Curve)

Page 30: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 28

ผลการวิเคราะหประเมินดานการลงทุน

ที่ ปจจัยทาง รายละเอียด ขนาดกังหันลม

850 กิโลวัตต 1.25 เมกะวตัต

1 มูลคาที่ดิน ราคาประเมิน )บาทตอไร( 120,000 120,000

มูลคา(บาท) 600,000 600,000

2 มูลคาในการลงทุนติดตั้ง

กังหันลม

มูลคากังหันลม )บาท( 30,300,950 44,312,950

มูลคาการติดตั้งกังหันลม )บาท( 9,090,285 13,293,885

มูลคาที่ดิน )บาท( 600,000 600,000

รวมคาในการลงทุนเริ่มตน )บาท( 39,991,235 58,206,835

มูลคาการปฏิบัติการและซอมบํารุง

(บาทตอป)

606,019 886,259

รวมมูลคาการลงทุนทั้งสิ้น )บาท( 40,597,254 59,093,094

3 การผลิตไฟฟา ปริมาณไฟฟาที่ผลิตได

)กิโลวัตต-ช่ัวโมงตอป(

1,488,200 1,810,400

รายไดจากการขายไฟฟา )บาทตอป( 9,435,188 11,477,936

4 คา NPV ที่อัตราดอกเบี้ย

ตางกัน

I=7% 53,545,107 54,001,542

I=8% 46,694,848 45,783,811

I=9% 40,606,237 38,479,772

I=10% 35,176,458 31,966,082

I=11.75% คือ Base case 27,004,874 22,163,260

5 คา IRR (%) 21.64 17.47

6 คา B/C

ที่อัตราดอกเบี้ยตางกัน

I=7% 2.154 1.799

I=8% 2.016 1.684

I=9% 1.892 1.58

I=10% 1.779 1.486

I=11.75% คือ Base case 1.605 1.341

7 ตนทุนพลังงานตอหนวย

(บาทตอกิโลวัตต -ช่ัวโมง )

ที่อัตราดอกเบี้ยตางกัน

I=7% 2.9 3.47

I=8% 3.1 3.71

I=9% 3.31 3.96

I=10% 3.52 4.22

I=11.75% คือ Base case 3.91 4.68

Page 31: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 29

ที่ ปจจัยทาง รายละเอียด ขนาดกังหันลม

850 กิโลวัตต 1.25 เมกะวตัต

9 ปริมาณมลภาวะที่ลด ซัลเฟอรไดออกไซด )ตันตอป( 1.79 2.17

ไนโตรเจนออกไซด )ตันตอป( 3.42 4.16

คารบอนไดออกไซด )ตันตอป( 1,287.29 1,566.00

อนุภาคฝุน )ตันตอป( 1.19 1.45

จากผลการวิเคราะหประเมินความคุมคาทางการเงินสามารถสรุปไดวาคุมคาตอการลงทุน

เน่ืองจาก คา NPV มากกวาศูนย คา IRR สูงกวาอัตราดอกเบี้ยเงินกู คา B/C มากกวาหน่ึง และ ตนทุน

พลังงานตอหนวย ต่ํากวาราคาไฟฟาที่ขายได เน่ืองจากรายไดจากการขายไฟฟาสูงเพียงพอ และคาพลังงาน

ตอหนวยไฟฟาคอนขางตํ่าเทียบกับราคาคาไฟปกติ

Page 32: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 30

บทที่ 3

การศึกษาความเปนไปไดของโครงการผลิตไฟฟาจากพลังลมขนาดเล็ก

3.1 ประเภทของกังหันลมผลิตไฟฟาขนาดเล็ก

กังหันลมผลิตไฟฟาขนาดเล็กเหมาะสําหรับบานพักอาศัยและกิจการขนาดเล็ก สามารถแบงเปนระบบ

กลุมยอยไดอีกตามรูปแบบการใชงาน ดังน้ี

1. กังหันลมผลิตไฟฟาขนาดจิ๋ว (Micro wind turbine) จะมีขนาดระบบการผลิตไฟฟาที่เล็กกวา

200 วัตต เพื่อใชกับงานหรืออุปกรณไฟฟาที่วัตตตํ่าหรือกินไฟนอย อาทิ ไฟฟาแสงสวาง วิทยุ

2. กังหันลมผลิตไฟฟาขนาดเล็กมาก (Mini wind turbine) จะมีขนาดระบบการผลิตไฟฟาตั้งแต

200 วัตต ถึง 1,500 วัตต (1.5 กิโลวัตต) เพื่อใชกับงานหรืออุปกรณที่ตองการกําลังในการขับเคลื่อน

อาทิ เครื่องสูบนํ้า ระบบไฟฟาฉุกเฉิน เครื่องแชแข็งสําหรับพื้นที่หางไกล ระบบแสงสวาง

3. กังหันลมผลิตไฟฟาขนาดเล็ก (Small wind turbine)จะมีขนาดระบบการผลิตไฟฟาตั้งแต

1.5 กิโลวัตต ถึง 20 กิโลวัตต เพื่อใชผลิตไฟฟาขนานเขากับระบบสายสงหรือจัดเก็บไฟฟาสํารอง

ไวในแบตเตอรี่

3.2 สวนประกอบของกังหันลมผลิตไฟฟาขนาดเล็ก

ระบบผลิตพลังงานไฟฟาจากพลังงานลมหรือกังหันลมผลิตไฟฟาขนาดเล็ก จะประกอบไปดวย

อุปกรณและช้ินสวนหลักๆ ดังน้ี

รูปแสดงสวนประกอบพืน้ฐานของระบบผลติไฟฟาพลังงานลมขนาดเล็ก

Page 33: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 31

1. กังหันลม (Rotor) เปนชุดอุปกรณ ที่ประกอบดวย ปกใบพัด (Blade) ดุมใบพัด (Hub) และเพลา

หลัก (Main shaft) ซึ่งปกใบพัดจะทําหนาที่รับแรงและเปลี่ยนรูปพลังงานจลนในกระแสลม เปน

พลังงานกล โดยดุมใบพัดทําหนาที่เปนตัวกลางถายทอดกําลังระหวางใบพัดสูเพลาหลักเพื่อหมุน

เครื่องกําเนิดไฟฟา

2. เครื่องกําเนิดไฟฟา (Generator) ทําหนาที่รับพลังงานกลจากเพลาหลัก และผลิตพลังงานไฟฟา

สูระบบ ซึ่งมีอยูหลายชนิด หลายรูปแบบ หลายหลักการทํางาน

3. สวนควบคุมทิศทางกังหัน (Tail vane or Yaw system)เปนสวนที่ใชในการควบคุมทิศทางของ

กังหันลมเพื่อใหหันหนารับและปะทะแรงลมไดตลอดเวลา ในการที่จะใหปกใบพัดหมุนตลอดเวลา

เมื่อมีแรงลม ถาเปนกังหันลมที่มีขนาดจิ๋ว ขนาดเล็กมาก หรือขนาดเล็กไมเกิน 10 กิโลวัตต จะใช

แพนหางเสือ (Tail vane) ในการควบคุมทิศทางหากเปนตัวใหญกวาน้ันจะใชระบบแกนคอหมุน

(Yaw system) เปนตัวควบคุมทิศทาง

4. เสากังหันลม (Tower) ทําหนาที่รับนํ้าหนักของชุดกังหัน ชุดเครื่องกําเนิดไฟฟาและชุดแพนหาง

เสือ โดยยกชุดกังหันลมใหสูงขึ้นจากพื้นดินเพื่อใหสามารถรับแรงลมไดดีและสม่ําเสมอ ลด

อิทธิพลสิ่งกีดขวางรอบขางในการบดบังแรงลมที่พัดมาปะทะกังหันลม อาทิ ตนไม สิ่งปลูกสราง

เสากังหันลมมีสามแบบที่นิยมใชในทางปฏิบัติ คือ เสาแบบเสาธง (Guyed tower) และเสาแบบ

โครงถัก (Lattice tower)

5. ระบบหยุดการทํางาน (Brake) เปนระบบสําหรับหยุดการหมุนของกังหันลมในสภาวะฉุกเฉิน

เชน กําลังลมแรงเกินพิกัดที่กังหันลมจะรับได หยุดเพื่อบํารุงรักษาหรือซอมแซม ซึ่งมีทั้งการใช

แบบระบบกลไกทางกล (แผนจานกลม) และแบบระบบกลไกทางไฟฟา (ระบบควบคุมการหยุด

อัตโนมัติ)

สวนประกอบของกังหันลมผลติไฟฟาขนาดเลก็

Page 34: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 32

6. ระบบควบคุมการผลิตไฟฟา (Balance of system, BOS) กระแสไฟฟาที่ผลิตไดจากกังหันลม

จะเปนไฟฟากระแสสลับ ซึ่งจะถูกสงไปยังชุดควบคุม เพื่อสงไปจัดเก็บ และแปลงกลับกอนจะ

นําไปใชงานกับอุปกรณไฟฟามีสวนประกอบหลัก ไดแก

6.1 ชุดควบคุมการประจุ (Charge Controller) เปนชุดควบคุมปริมาณไฟฟาใหไดตามความ

เหมาะสม เมื่อประจุไฟฟาในแบตเตอรี่เต็มหรือปริมาณไฟฟาสูงเกินกวาความตองการใช

งาน ทําหนาที่ตรวจวัดแรงดันของแบตเตอรี่ โดยการควบคุมการจายและควบคุมการตัด

ภาระทางไฟฟาภายในวงจรออก เมื่อแบตเตอร่ีมีปริมาณประจุไฟฟาเหลือนอย

6.2 อุปกรณแปลงกระแสไฟฟา (Rectifier) เปนอุปกรณสําหรับเปลี่ยนไฟฟากระแสสลับ (AC)

เปนไฟฟากระแสตรง (DC) เพื่อสํารองจัดเก็บประจุไฟฟาไวในแบตเตอรี่

6.3 แบตเตอรี่ (Battery Bank) เปนอุปกรณสําหรับจัดเก็บประจุไฟฟา เมื่อมีการผลิตไฟฟาจาก

กังหันลม เพื่อสํารองไวใชงานเมื่อตองการใชงาน

6.4 อินเวอรเตอร (Inverter) เปนอุปกรณสําหรับแปลงไฟฟากระแสตรง (DC) จากแบตเตอรี่

เปนไฟฟากระแสสลับ (AC) เมื่อนําไปใชงานกับอุปกรณไฟฟากระแสสลับสําหรับบานพัก

อาศัย

6.5 ชุดควบคุมภาระทางไฟฟาภายใน (Dump Load) ระบบจะทํางานควบคุมโดยอัตโนมัติใน

กรณีที่มีกระแสไฟฟามากเกินท่ีแบตเตอรี่จะสํารองจัดเก็บประจุไฟฟาไว เพื่อเปนการรักษา

ระบบการทํางานของกังหันลม

6.6 สวิตซควบคุม สําหรับใชควบคุมการตัดตอระหวางชุดระบบควบคุมและชุดกังหันลม

6.7 หมอวัดไฟ (Kilowatt-hour meter) สําหรับบันทึกหนวยของการจายกระแสไฟฟา

3.3 รูปแบบระบบการติดตั้งกังหันลมผลิตไฟฟาขนาดเล็กเพื่อใชงาน

การติดตั้งใชงานในพื้นที่พักอาศัย ชุมชนหรือพื้นที่ที่

หางไกล จากระบบสายสงหลัก เชนบนเกาะหรือชนบท

หางไกลที่ระบบสายสงเขาไปไมถึงและไมคุมคากับการติดตั้ง

ระบบสายสงเขาไปสูพื้นที่ท่ีตองการใชงาน โดยในระบบการ

ติดตั้งแบบเดี่ยวน้ันจะตองใชแบตเตอรี่เปนชุดจัดเก็บประจุ

ไฟฟาสําหรับเปนที่เก็บพลังงานซึ่งอาจเปนระบบการผลิต

ไฟฟาแรงดันตั้งแต 12-48 โวลต แลวเก็บพลังงานที่ไดเขาไว

ในแบตเตอรี่โดยการทํางานจะตองมีความสัมพันธกันไดดี

และเหมาะสมกับระบบควบคุมการทํางานของกังหันลม เพื่อควบคุมแรงดันไฟฟาและกระแสไฟฟาใหเปนไป

ตามความตองการท่ีความเร็วลมตางกันออกไป นอกจากน้ีระบบควบคุมการทํางานของกังหันลมยังมีระบบ

Page 35: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 33

ปองกันตัวเอง (Self-protection) ซึ่งการทํางานคูกันระหวางระบบทางกลและระบบทางไฟฟา ตองมีความ

เหมาะสมตามที่บริษัทผูผลิตไดออกแบบไว

การใชไฟฟาในระบบน้ี สามารถนําไฟฟาไปใชไดกับอุปกรณไฟฟากระแสตรง (DC) ไดโดยตรง และ

ระบบไฟฟากระแสสลับ (AC) โดยหากตองการใชไฟฟาในระบบกระแสสลับก็จะตองมีอุปกรณหรือตัวแปลง

ไฟฟา (Inverter) จากไฟฟากระแสตรงในแบตเตอรี่ เปนไฟฟากระแสสลับ (DC/AC) กอนนําไปใชงาน โดย

อุปกรณแปลงไฟฟาในแตละรุนจะทํางานแตกตางกันออกไปตามความสามารถและภาระทางไฟฟาที่นําไปใช

งานดังน้ันหากตองการใชไฟฟากระแสสลับก็ตองมีการคํานวณภาระทางไฟฟาที่จะใชงานเพื่อการเลือกซื้อหา

อุปกรณแปลงไฟฟา ใหมีความเหมาะสมตอไป

ระบบการติดตั้งใชงานแบบเดี่ยวนําไฟฟาไปใชกับอปุกรณไฟฟากระแสตรง (DC)

ระบบการติดตั้งใชงานแบบเดี่ยว นําไฟฟาไปใชกับอุปกรณไฟฟากระแสสลับ (AC)

(1) Wind generator (2) Tower (3) Brake (4) Charge controller (5) Dump load (6) Battery bank

(7) System meter (8) MainDC disconnect (9) Inverter (10) AC Breaker panel

(1) Wind generator

(2) Tower

(3) Brake

(4) Controller

Page 36: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 34

3.4 ขั้นตอนในการพิจารณาและเลือกใชกังหันลมผลติไฟฟาขนาดเลก็

3.4.1 ขั้นตอนที่ 1 ประเมินศักยภาพพลังงานลม

ลมและความเร็วลม ในพื้นที่ที่จะติดตั้งกังหันลม เรา

สามารถสังเกตและพิจารณาในเบื้องตนไดวามีพอที่จะติดตั้ง

กังหันลมไดหรือไม โดยใชหลักการสังเกตเบื้องตนอยางงายๆ

จาก

1) การลูลมของตนไมสูงในบริเวณนั้น หากกลางลําตนจนถึง

ปลายยอด มีความเอ็นเอียงมากเมื่อไดปะทะกับแรงลม

และลูตามตามทิศทางลม แสดงวามีลมดี และใหสังเกต

ปริมาณระยะเวลาของการเกิดลม หากในวันหน่ึงเกิดนานๆ ก็จะสามารถผลิตไฟฟาไดมาก

2) หากพื้นที่บริเวณน้ันที่มีตนกลวย สังเกตไดจากใบกลวย หากใบกลวยแตกเปนริ้วเล็กๆ ทั้งตนและเปนทั้ง

แปลงพื้นท่ีปลูกกลวย แสดงวามีลมดี

3) ยืนสังเกตการณในพื้นที่ หากมีแรงลมพัดมาปะทะตัวเราจนเสื้อผาที่ใส หรือผืนผา เชน ผาขาวมา ยก

สะบัดและลูตามลม แสดงวามีลมดี

4) วัดความเร็วลมดวยเครื่องวัดลมแบบพกพาขนาดเล็ก (เครื่องวัดลมแบบมือถือ) ซึ่งจะตองซื้อหามาใช

งานเอง

5) หาขอมูลสถิติการเกิดลมและปริมาณลม จากหนวยงานที่เคยตรวจวัดลมบริเวณน้ัน หรือบริเวณ

ใกลเคียง

ขอสําคัญดานศักยภาพพลังงานลม คือ ความเร็วลม (เมตร/วินาที) และ ความยาวนานของการเกิดลม

(ช่ัวโมง/วัน)การประเมินลม เชน บริเวณน้ีมีความเร็วลมประมาณ 5-6 เมตร/วินาที พัดตอเน่ืองตั้งแต

ชวงเวลา 10 - 19 นาฬิกา ทุกวัน (มีลมประมาณ 10 ชั่วโมง/วัน)

3.4.2 ขั้นตอนที่ 2 ประเมินภาระทางไฟฟา (อุปกรณไฟฟาและการใชงาน) ในขั้นตอนนี้ จะตองทราบวาไฟฟาที่ผลิตได

จะนําไปใชกับอุปกรณอะไร กําลังและปริมาณ

ไฟฟาที่ตองการเฉลี่ยตอวันเปนเทาไหรตัวอยาง

บานหลังหน่ึงในพื้นที่หางไกลที่ไมมีกระแสไฟฟา

เขาถึงแหงหน่ึง ตองการจะติดตั้งกังหันลมผลิต

ไฟฟาเพื่อใชสําหรับอุปกรณไฟฟาในบาน ดังน้ี

o หลอดไฟฟาแสงสวาง ฟลูออเรสเซนต

ขนาด 18 วัตต (รวมบัลลาสต 28 วัตต)

ในหองนอน หองโถง หองครัว หองน้ํา และนอกบาน รวม 6 ชุด ใชเฉลี่ย 5 ช่ัวโมง/วัน

Page 37: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 35

{(28 x 6 x 5)/1,000} ไฟฟาที่ตองใช 0.84 หนวย

o ตูเย็น 4.2 คิว ขนาด 65 วัตตใช 24 ช่ัวโมง/วัน

{(65 x 1 x 24)/1,000} ไฟฟาที่ตองใช 1.56 หนวย

o หมอหุงขาวไฟฟา 1.5 ลิตร ขนาด 600 วัตตใช 1 ช่ัวโมง/ครั้ง วันละ 2 ครั้ง เชา-เย็น

{(600 x 1 x 2)/1,000} ไฟฟาที่ตองใช 1.20 หนวย

o โทรทัศนสี 20 นิ้ว ขนาด 70 วัตตใช 5 ช่ัวโมง/วัน

{(70 x 1 x 5)/1,000} ไฟฟาที่ตองใช 0.35 หนวย

o คอมพิวเตอรแบบพกพา ขนาด 100 วัตตใช 4 ช่ัวโมง/วัน

{(100 x 1 x 4)/1,000} ไฟฟาที่ตองใช 0.40 หนวย

o เครื่องสูบนํ้า 1/3 HP ขนาด 355 วัตตใช 1 ช่ัวโมง/วัน

{(355 x 1 x 1)/1,000} ไฟฟาที่ตองใช 0.355 หนวย

รวมจํานวนภาระทางไฟฟาที่ตองใช ประมาณ 4.70 หนวย/วัน และอยาลืมวาการบริหารจัดการการใช

งานของอุปกรณไฟฟาแตละชนิดใหมีความเหมาะสมตอชวงเวลาการใชงาน และการประหยัดไฟฟา จะเปน

การใชพลังงานท่ีมีประสิทธิภาพและยั่งยืน

3.4.3 ขั้นตอนที่ 3 ประเมินและคัดเลือกขนาดกังหันลมใหมีความเหมาะสม

ขั้นตอนน้ีควรมีการศึกษารูปแบบ รายละเอียด ประสิทธิภาพ

สมรรถนะ ราคาและการบริการหลังการขายของกังหันลมจากแหลงตางๆ

เชน เว็บไซตในอินเตอรเน็ต ผูเชี่ยวชาญดานกังหันลม บริษัทผูผลิตจําหนาย

กังหันลม และทําการประเมินเพื่อคัดเลือกขนาดของกังหันลมผลิตไฟฟาให

มีความเหมาะสม โดยทําได 2 วิธี

วิธีที่ 1 ประเมินขนาดของกังหันลมโดยคิดจากคา CF (Capacity Factor) หรือประสิทธิภาพรอยละของ

การผลิตไฟฟาไดโดยความเร็วลมในบานเราประมาณ 5 เมตร/วินาที สามารถผลิตไฟฟาจากกังหัน

ลมไดประมาณ 12-18% เฉลี่ย 15%

ตัวอยาง จากขั้นตอนที่ 1 มีปริมาณลมประมาณ 10 ช่ัวโมง/วันและขั้นตอนที่ 2 ภาระทางไฟฟาที่

ตองใชประมาณ 4.70 หนวย/วัน

ขนาดของกังหันลม = ภาระไฟฟา / (คา CF x ปริมาณลม)

= 4.70 / (0.15 x 10) = 3.1 กิโลวัตต

หรือ ขนาดประมาณ 3 กิโลวัตต ซึ่งทั้งน้ีควรเลือกขนาดที่สูงกวาการคํานวณไวกอนและ

ขอสําคัญตองมีจําหนายอยูในทองตลาดดวย

วิธีที่ 2 ประเมินขนาดของกังหันลมจากคา PC (Power Curve) หรือกราฟแสดงสมรรถนะการผลิตไฟฟา

ตามระดับความเร็วลม ทั้งน้ีกังหันลมผลิตไฟฟาที่มีจําหนายโดยท่ัวไปนอกจากจะเสนอรายละเอียด

Page 38: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 36

ทางเทคนิคแลวยังเสนอ PC ควบคูในการประกอบการพิจารณาอีกดวย และใช PC ของกังหันลม

จากหลายๆ ขนาดในการประเมินเลือกขนาดที่มีความเหมาะสมได

กังหันลมขนาด 1 กิโลวัตต กังหันลมขนาด 3 กิโลวัตต

ตัวอยางกราฟ PC ของกังหนัลมผลิตไฟฟา

ตัวอยาง จากขั้นตอนที่ 1 ความเร็วลมประมาณ 5-6 เมตร/วินาที มีปริมาณลมประมาณ 10

ช่ัวโมง/วัน

จากกราฟ PC กังหันลมขนาด 1 และ 3 กิโลวัตต ของยี่หอหน่ึงที่เลือกมา ท่ีความเร็วลม 5

เมตร/วินาที กังหันลมขนาด 1 กิโลวัตต ผลิตไฟฟาได 400 วัตต และ กังหันลมขนาด 3

กิโลวัตต ผลิตไฟฟาได 500 วัตต

พลังงานไฟฟาที่ผลิตได = ไฟฟาที่ผลิตไดตามระดับความเร็วลม x ปริมาณลม

กังหันลมขนาด 1 กิโลวัตต = (400 x 10)/1,000 = ประมาณ 4 หนวย/วัน

กังหันลมขนาด 3 กิโลวัตต = (500 x 10)/1,000 = ประมาณ 5 หนวย/วัน

ควรเลือกใชกังหันลมขนาด 3 กิโลวัตต ซึ่งผลิตไฟฟาไดเพียงพอและมากกวาภาระทาง

ไฟฟาตามขั้นตอนที่ 2 ที่ตองใชประมาณ 4.70 หนวย/วัน

3.4.4 ขั้นตอนที่ 4 การติดตั้งกังหันลม

การติดตั้งกังหันลมควรติดตั้งในบริเวณที่โลงแจง สามารถรับลมไดดีทุกทิศทาง หรืออยางนอยตองไมมี

สิ่งกีดขวางชองทางลมของฤดูมรสุมตะวันออก

เฉียงเหนือในชวงฤดูหนาว และลมตะวันตก

เฉียงใตในชวงฤดูฝน ระยะทางระหวางกังหัน

ลมถึงจุดที่จะนําไฟฟาไปใชงานระยะทางยิ่งสั้น

ยิ่งดีเพราะหากระยะทางไกลก็ยิ่งเพิ่มคาใชจาย

ในการเดินระบบและจะมีการสูญเสียเสีย

พลังงานในระบบสายสงอีกดวย

Page 39: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 37

บทที่ 4

การสนับสนุนจากภาครัฐ

โดยท่ีประเทศไทยต้ังอยูในภูมิภาคที่มีความเร็วลมไมสูงนัก ดังน้ันการดําเนินการพัฒนาพลังงานลมเพื่อ

ผลิตไฟฟาอาจกลาวไดวา ยังมีตนทุนการผลิตราคาสูง เมื่อเทียบกับการผลิตไฟฟาจากโรงไฟฟาที่ใชเช้ือเพลิง

จากฟอสซิล ดังน้ันการจัดมาตรการสงเสริมเพื่อสราง

สิ่งจูงใจตางๆ ตอการพัฒนาพลังงานลมผลิตไฟฟา จึงไดมี

ริเริ่มและเพิ่มพูนการสนับสนุนรายการตางๆ มาเรื่อยๆ

จนถึงปจจุบันน้ีปรากฏมีรายการสนับสนุนและสิ่งจูงใจ

ตางๆ หลายรูปแบบ ซึ่งคาดหมายวาสิ่งตางๆ เหลาน้ี

นาจะนําพาใหโครงการพัฒนาพลังงานลมตางไดเพิ่มการ

ดําเนินการสูงขึ้น ดังมีรายการสงเสริมและสนับสนุน

พลังงานลม ดังน้ี

Page 40: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 38

4.1 มาตรการสวนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน (Adder Cost)

มาตรการสวนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน (Adder Cost) เปนการใหเงินสนับสนุน

การผลิตตอหนวยการผลิตเปนการกําหนดราคารับซื้อในอัตราพิเศษหรือเฉพาะสําหรับไฟฟาที่มาจาก

พลังงานหมุนเวียน เพื่อสะทอนตนทุนการผลิตจากพลังงานหมุนเวียน ภายในระยะเวลารับซื้อไฟฟาที่ชัดเจน

และแนนอน เปนมาตรการสนับสนุนที่นิยมใชกันแพรหลายมาก ที่สุดในปจจุบัน เพื่อใหมีผูผลิตไฟฟาจาก

พลังงานหมุนเวียนมากขึ้น และเปนการจูงใจใหเกิดการผลิตไฟฟาหลากหลายประเภทพลังงาน ดังน้ี

ตารางที่ 4-1 มาตรการสวนเพิ่มราคารบัซื้อไฟฟาจากพลงังานหมุนเวียน (Adder)

เชื้อเพลิง สวนเพิ่ม

(บาท/kwh)

สวนเพิ่มพิเศษ3

(บาท/kwh)

สวนเพิ่มพิเศษใน

3 จว.ภาคใต

(บาท/kwh)4

ระยะเวลา

สนับสนุน

(ป)

ชีวมวล

- กําลังผลิตติดตั้ง <= 1 MW 0.50 1.00 1.00 7

- กําลังผลิตติดตั้ง >1 MW 0.30 1.00 1.00 7

กาซชีวภาพ (ทุกประเภทแหลงผลิต)

- กําลังผลิตติดตั้ง <= 1 MW 0.50 1.00 1.00 7

- กําลังผลิตติดตั้ง >1 MW 0.30 1.00 1.00 7

ขยะ (ขยะชุมชน ขยะอุตสาหกรรมไม

อันตราย และไมเปนขยะอินทรียวัตถุ)

- ระบบหมักหรือหลุมฝงกลบขยะ 2.50 1.00 1.00 7

- พลังงานความรอน (Thermal Process) 3.50 1.00 1.00 7

พลังงานลม

- กําลังผลิตติดตัง้ <= 50 kw 4.50 1.50 1.50 10

- กําลังผลิตติดตัง้ > 50 kw 3.50 1.50 1.50 10

พลังงานแสงอาทิตย 6.50/8.005 1.50 1.50 10

พลังน้ําขนาดเล็ก

- กําลังผลิตติดตั้ง 50kw -<200 kw 0.80 1.00 1.00 7

- กําลังการผลิตติดตั้ง <50 kw 1.50 1.00 1.00 7

3 สําหรับผูผลิตไฟฟาพลังงานหมุนเวียนในพื้นที่มีการผลิตไฟฟาจากน้ํามันดีเซล 4 กพช. เห็นชอบใหเพิ่มพื้นที่อีก 4 อําเภอคือ อ.จะนะ อ.เทพา อ.สะบายอย และอ.นาทวี จังหวัดสงขลา เมื่อ 25 พ.ย. 53 5 ผูที่ยื่นขอเสนอขายไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยที่ไดรับหนังสือตอบรับแลวกอนวันที่ 28 มิ.ย.53 จะได Adder 8

บาท และผูที่ไดรับหนังสือตอบรับหลัง วันที่ 28 มิ.ย. 53 จะได Adder 6.50 บาท

Page 41: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 39

4.2 โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อสงเสริมการใชพลังงานทดแทน

โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทนขึ้นมาเพื่อเปนแหลงเงินทุนในการ

ดําเนินการอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทนใหแกโรงงาน อาคาร และบริษัทจัดการพลังงาน โดยผาน

ทางสถาบันการเงิน

ทั้งน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อกระตุนใหเกิดการ

ลงทุนดานอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทน

รวมทั้งสรางความมั่นใจและความคุนเคยใหกับ

สถาบันการเงินที่เสนอตัวเขารวมโครงการในการ

ปลอยสินเช่ือในโครงการดังกลาวในการปลอย

สินเช่ือโดยใชเงินกองทุนฯ ใหแก โรงงานอาคารและบริษัทจัดการพลังงานแลวกองทุนฯยังตองการใหเนน

การมีสวนรวมในการสมทบเงินจากสถาบันการเงินเพิ่มมากขึ้นดวย โดยต้ังแตเริ่มโครงการ จนถึง ณ ปจจุบัน

ไดมีการดําเนินการเสร็จสิ้นไปแลวและอยูระหวางดําเนินการทั้งหมด จํานวน 6 ครั้งดังน้ี

1) โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษพลังงาน โดยสถาบันการเงินระยะที่ 1 จํานวน 1,000 ลาน

บาท เพื่อการอนุรักษพลังงาน

2) โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษพลังงาน โดยสถาบันการเงินระยะที่ 2 จํานวน 2,000 ลาน

บาทเพื่อการอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทน

3) โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อสงเสริมการใชพลังงานทดแทนโดยสถาบันการเงิน ระยะที่ 1 จํานวน

1,000 ลานบาทเพื่อสงเสริมการใชพลังงานทดแทน

4) โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษพลังงานโดยสถาบันการเงินระยะที่ 3 จํานวน 1,000 ลาน

บาทเพื่อการอนุรักษพลังงาน

5) โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษพลังงาน โดยสถาบันการเงิน ระยะที่ 3 เพิ่มเติมจํานวน 942.5

ลานบาทเพื่อการอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทน

6) โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษพลังงานโดยสถาบันการเงินระยะที่ 4 จํานวน 400 ลานบาท

เพื่อการอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทน

ลักษณะโครงการ/ หลักเกณฑและเงื่อนไข

กําหนดใหสถาบันการเงินนําเงินที่ พพ. จัดสรรใหไปเปนเงินกูผานตอใหโรงงาน/อาคารควบคุมหรือ

โรงงาน/อาคารทั่วไปตลอดจนบริษัทจัดการพลังงาน (ESCO) นําไปลงทุนเพื่อการอนุรักษพลังงานและ

พลังงานทดแทน โดยมีหลักเกณฑและเงื่อนไขดังน้ี

Page 42: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 40

วงเงินโครงการ 1. โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อสงเสริมการใชพลังงานทดแทน ระยะที่ 1

จํานวน 1,000 ลานบาท

2. โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษพลังงาน ระยะที่ 3 จํานวน 1,000

ลานบาท

อายุเงินกู ไมเกิน 7 ป

ชองทางปลอยกู ผานสถาบันการเงินที่เขารวมโครงการโดยตองรับผิดชอบเงินที่ปลอยกูทั้งหมด

ผูมีสิทธิ์กู เปนอาคารควบคุมและโรงงานควบคุมตาม พรบ.สงเสริมการอนุรักษพลังงาน

พ.ศ. 2535 ประสงคจะลงทุนในดานการประหยัดพลังงานหรือโรงงาน/อาคาร

ทั่วไป ตลอดจนบริษัทจัดการพลังงาน (ESCO) นําไปลงทุนเพื่อการอนุรักษ

พลังงาน

วงเงินกู ไมเกิน 50 ลานบาทตอโครงการ

อัตราดอกเบี้ย ไมเกินรอยละ 4 ตอป (ระหวางสถาบันการเงินกับผูกู)

โครงการที่มีสิทธิ์ขอรับ

การสนับสนุนตองเปน

โครงการอนุรักษพลังงานหรือเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงาน

สงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ .ศ . 2535 มาตรา 7 และมาตรา 17

สถาบันการเงินจะเปนผูอนุมัติเงินกูเพื่อโครงการอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทนตามแนว

หลักเกณฑและเงื่อนไขของสถาบันการเงินน้ันๆ นอกเหนือจากหลักเกณฑเงื่อนไขขางตนน้ีโดยดอกเบี้ยวงเงิน

กูและระยะเวลาการกูจะขึ้นอยูกับการพิจารณาและขอตกลงระหวางผูกูกับสถาบันการเงิน

รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดตอสอบถามมายังศูนยอํานวยการโครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการ

อนุรักษพลังงานกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน

หมายเลขโทรศัพท 02-226-3850-1, 02-225-3106 โทรสาร 02-226-3851

เว็บไซต http://www.dede.go.th

Page 43: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 41

วิธีปฏิบตัิในการขอรับเงินกูโครงการเงินทนุหมุนเวียนเพื่อการอนุรกัษพลงังานและพลังงานทดแทน

4.3 โครงการสงเสริมการลงทนุดานอนุรกัษพลังงานและพลงังานทดแทน (ESCO FUND)

เปนโครงการที่กองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน ไดนํา

วงเงินจํานวน 500 ลานบาท จัดตั้ง “กองทุนรวมทุนพลังงาน หรือ ESCO

Capital Fund” ผานการจัดการของผูจัดการกองทุน (Fund Manager)

2 แหง ไดแก มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม (มพส. หรือ E for E) และ

มูลนิธิอนุรักษพลังงานแหงประเทศไทย (มอพท.) โดยปจจุบัน Fund

Manage ทั้ง 2 แหง เขารวมลงทุนแลว จํานวน 26 โครงการ คิดเปนเงินสนับสนุนจํานวน 407 ลานบาท

และกอใหเกิดการลงทุนมากกวา 5,000 ลานบาท ในรอบ 2 ปที่ผานมา และในระยะตอไปคณะกรรมการ

กองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงานไดอนุมัติวงเงินตอเนื่องอีก 500 ลานบาทสําหรับรอบการลงทุนในป

2553-2555 เพื่อสงเสริมการลงทุนดานการอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทนที่มีศักยภาพทางเทคนิค แต

ยังขาดปจจัยการลงทุน และชวยผูประกอบการหรือผูลงทุนใหไดประโยชนจากการขายคารบอนเครดิต โดย

Page 44: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 42

มีรูปแบบการจะสงเสริมในหลายลักษณะ อาทิเชน รวมลงทุนในโครงการ (Equity Investment), รวมลงทุน

ในบริษัทจัดการพลังงาน (ESCO Venture Capital), รวมลงทุนในการพัฒนาและซื้อขายคารบอนเครดิต

(Carbon Market) , การเชาซื้ออุปกรณ (Equipment Leasing), การอํานวยเครดิตใหสินเช่ือ (Credit

Guarantee Facility) และการใหความชวยเหลือทางดานเทคนิค (Technical Assistance)

ผูมีสิทธิยื่นขอเสนอ ไดแก ผูประกอบการโรงงานอุตสาหกรรม และ/หรือ บริษัทจัดการพลังงาน

(Energy Service Company – ESCO) ที่มีโครงการดานอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทน วัตถุประสงค

เพื่อจะลดปริมาณการใชพลังงาน เพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงาน หรือตองการปรับปรับเปลี่ยนการใช

เช้ือเพลิงมาเปนพลังงานทดแทน

ลักษณะการสงเสริมการลงทุน

1. การเขารวมทุนในโครงการ(Equity Investment) โครงการสงเสริมการลงทุนฯ จะเขารวม

ลงทุนในโครงการที่กอใหเกิดการอนุรักษพลังงาน หรือพลังงานทดแทนเทาน้ัน เพื่อกอใหเกิดผลประหยัด

พลังงาน ทั้งน้ีจะตองมีการแบงผลประหยัดพลังงาน (Shared Saving) ตามสัดสวนเงินลงทุนที่ไดรับการ

สงเสริม ระยะเวลาในการสงเสริมประมาณ 5 - 7 ป ผูที่ไดรับการสงเสริมทําการคืนเงินลงทุนแกโครงการ

ภายในระยะเวลาที่สงเสริม

2. การเขารวมทุนกับบริษัทจัดการพลังงาน (ESCO Venture Capital) การเขารวมทุนกับบริษัท

จัดการพลังงาน โดยชวยใหบริษัทท่ีไดรับพิจารณารวมทุนนั้นมีทุนในการประกอบการโดยโครงการจะไดรับ

ผลตอบแทนขึ้นอยูกับผลประกอบการของบริษัท ทั้งน้ีโครงการจะรวมหุนไมเกินรอยละ 30 ของทุนจด

ทะเบียน และมีสวนในการควบคุมดูแลการบริหารจัดการของบริษัท

3. การชวยใหโครงการอนุรักษพลังงาน/พลังงานทดแทน ไดรับผลประโยชนจากการขาย Carbon

Credit Market (CDM)

4. โครงการสงเสริมการลงทุนฯ จะดําเนินการจัดทําแบบประเมินเบื้องตนของโครงการ หรือ

Project Idea Note (PIN) ซึ่งจะทําใหผูประกอบการสามารถเห็นภาพรวมของโครงการที่จะพัฒนาใหเกิด

การซื้อขายหรือไดรับประโยชนจาก Carbon Credit หรือ เปนตัวกลางในการรับซื้อ Carbon Credit จาก

โครงการอนุรักษพลังงาน/พลังงานทดแทนที่มีขนาดเล็ก และรวบรวม (Bundle Up) เพื่อนําไปขายในมูล

คาที่สูงขึ้น

5. การเชาซื้ออุปกรณประหยัดพลังงาน/พลังงานทดแทน (Equipment Leasing)

6. โครงการสงเสริมการลงทุนฯ จะทําการซื้ออุปกรณเพื่อการอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทน

ใหกับผูประกอบการกอน และทําสัญญาเชาซื้อระยะยาวระหวางผูประกอบการกับโครงการโดย

ผูประกอบการจะตองทําการผอนชําระคืนเงินตนพรอมดอกเบี้ยเปนรายงวด งวดละเทา ๆ กันตลอดอายุ

สัญญาเชาซื้อ การสนับสนุนในการเชาซื้ออุปกรณได 100% ของราคาอุปกรณน้ัน แตไมเกิน 10 ลานบาท

ระยะเวลาการผอนชําระคืน 3-5 ป โดยคิดอัตราดอกเบี้ยต่ํา

Page 45: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 43

7. การอํานวยเครดิตใหสินเช่ือ (Credit Guarantee Facility) โครงการสงเสริมการลงทุนฯ จะ

ดําเนินการจัดหาสถาบันหรือองคกรที่ใหการสนับสนุนในเรื่อง Credit Guarantee เพื่อใหโครงการลงทุน

ไดรับการปลอยสินเช่ือจากธนาคารพาณิชย ทั้งน้ีโครงการ อาจจะเปนผูออกคาใชจายในเรื่องคาธรรมเนียม

รับประกันสินเช่ือทั้งหมดหรือบางสวน โดยคิดคาธรรมเนียมตํ่าในการสงเสริมในดานน้ี

8. การชวยเหลือทางเทคนิค (Technical Assistance) โครงการสงเสริมการลงทุนฯ จะใหความ

ชวยเหลือทางดานเทคนิคในการอนุรักษพลังงานและพลังงานแกผูประกอบการ หรือ หนวยงานองคการตาง

ๆ ที่เกี่ยวของกับผูประกอบการ โดยกองทุนจะใหความชวยเหลือทางดานเทคนิคตั้งแตเริ่มตนจนสิ้นสุด

ระยะเวลาโครงการโดยคิดคาธรรมเนียมตํ่าในการสงเสริม หรือ อาจมีการแบงผลการประหยัดพลังงาน

รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดตอสอบถามมายัง

1. มูลนิธิพลงังานเพือ่สิ่งแวดลอม (Energy for Environment Foundation)

487/1 อาคารศรีอยุธยา ช้ัน 14 ถนนศรีอยุธยา ราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท 02-642-6424 -5 โทรสาร 02-642-6426 หรือ [email protected]

2. มูลนิธิอนรุักษพลังงานแหงประเทศไทย

(กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน – อาคาร 9 ช้ัน 2)

เลขท่ี 17 ถนนพระราม 1 เชิงสะพานกษัตริยศึก แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

โทรศัพท: 0-2621-8530, 0-2621-8531-9 ตอ 501, 502 โทรสาร: 0-2621-8502-3

รูปแสดงการบริหารงานโครงการสงเสริมการลงทุนดานอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทน

Page 46: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 44

4.4 กลไกลการพัฒนาที่สะอาด (CDM)

กลไกการพัฒนาที่สะอาด Clean Development Mechanism

(CDM) เปนกลไกที่จะสนับสนุนการพัฒนาโครงการที่ชวยลดการปลอย

กาซเรือนกระจกและสามารถนําปริมาณกาซเรือนกระจกที่ลดลงไดจาก

โครงการ ไปขายใหกับประเทศที่พัฒนา (Developed Countries) เพื่อ

ตอบสนองขอผูกพันในการปลอยกาซเรือนกระจกตามเปาหมายที่ไดตกลงในพิธีสารเกียวโต (Kyoto

Protocol) ซึ่งมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ 2548 อันเน่ืองมาจากปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพ

ภูมิอากาศ เน่ืองจากการปลอยกาซเรือนกระจกจากกิจกรรมดํารงชีวิตของประชากรโลกในปจจุบัน ทั้งจาก

ภาคคมนาคมขนสง ภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตรกรรม เปนปญหารวมกันของนานาชาติแนวทางหน่ึงใน

การรวมกันแกไขปญหาดังกลาวคือการใหสัตยาบัณตออนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลง

สภาพภูมิอากาศ (United Nation Framework Convention on Climate Change : UNFCCC)

กลไกการพัฒนาที่สะอาดเปนเครื่องมือเพื่อสงเสริมการลงทุนเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืนและเกิดการ

ถายทอดเทคโนโลยีใหกับประเทศที่กําลังพัฒนา อยางเชน ประเทศไทยและถือเปนชองทางหน่ึงในการสราง

รายไดใหแกผูประกอบการพลังงานทดแทน เชน โครงการผลิตพลังงานชีวมวล ที่เปนวัสดุเหลือใชทิ้งทาง

การเกษตร การผลิตกาซชีวภาพจากขยะและน้ําเสียเพื่อนํามาเปนพลังงาน รวมไปถึงโครงการการใชพลังงาน

อยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะไดรับผลประโยชนในรูปแบบของการขายคารบอนเครดิตหรือปริมาณกาซเรือน

กระจกที่ลดได และเปนที่ตองการของกลุมประเทศที่พัฒนาแลว ซึ่งมีพันธกรณีตองลดการปลอยกาซเรือน

กระจกใหได ตามขอตกลงตามพิธีสารเกียวโต

กลไกการพัฒนาที่สะอาดเปรียบเสมือนแรงจูงใจใหประเทศกําลังพัฒนาหันมาใชเทคโนโลยีสะอาด

เพิ่มมากขึ้นสงผลใหการปลอยกาซเรือนกระจกสูบรรยากาศลดนอยลงแรงจูงใจจากการดําเนินโครงการกลไก

การพัฒนาที่สะอาด คือ คารบอนเครดิต หรือ CER ที่ผูดําเนินโครงการจะไดรับโดยไดรับการสนับสนุนทาง

การเงินจากประเทศที่มีพันธกรณีในการลดกาซเรือนกระจกนอกจากน้ีประเทศเจาของโครงการก็จะเกิดการ

พัฒนาอยางยั่งยืน (Sustainable Development) ทั้งในระดับทองถ่ินและระดับประเทศในดานสิ่งแวดลอม

มีการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมระดับชุมชนในพื้นที่โครงการลดปริมาณของเสียที่เกิดข้ึนโดยการนํามาใชเปน

เช้ือเพลิงพลังงานลดการใชทรัพยากรเช้ือเพลิงที่ไมสามารถทดแทนได ดานเศรษฐกิจกอใหเกิดการจางงานใน

ชุมชน เกษตรกรสามารถนําวัสดุเหลือใช เชน แกลบ เศษไมไปขายเพื่อเปนวัตถุดิบในการดําเนินโครงการ

CDM ลดการนําเขาเช้ือเพลิงพลังงานจากตางประเทศ ดานสังคมประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นโดยเฉพาะ

ดานสุขภาพอนามัยจากคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดีขึ้นมีบทบาทในเวทีโลกในการแกไขปญหาระดับนานาชาติ

โดยประโยชนตางๆที่ประเทศไทยจะไดรับ จากการดําเนินโครงการ CDM สามารถสรุปเปนขอๆ ไดดังน้ี

Page 47: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 45

1. รายไดจากการขายคารบอนเครดิตในโครงการ CDM เปนสวนที่ชวยใหผูประกอบการคืนทุนได

รวดเร็วขึ้นจากการพัฒนาโครงการดานพลังงานทดแทนการอนุรักษพลังงาน นอกเหนือจากการสนับสนุน

ของภาครัฐภายในประเทศ

2. เกิดรายไดเขาสูประเทศจากการดําเนินกิจกรรมการลดกาซเรือนกระจก

3. ประเทศไทยมีอัตราการลดการปลอยกาซเรือนกระจกลดลงจากการดําเนินโครงการ CDM

4. การตรวจสอบ (Monitoring) ปริมาณการลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากโครงการ CDM

ชวยใหประเทศไทยมีตัวเลขการดําเนินงานเพื่อลดกาซเรือนกระจกภายในประเทศไทย

5. เกิดการพัฒนาโครงการดานพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานที่ดีกวามาตรฐานที่กําหนด

ภายในประเทศ สรางสิ่งแวดลอมและคุณภาพชีวิตที่ดีใหกับชุมชนรอบพื้นที่โครงการ

สําหรับเกณฑการพิจารณาการดําเนิน

โครงการภายใตกลไกการพัฒนาที่สะอาดใน

ป จ จุ บั น น้ั นประ เทศไทย ได มี ก า รจั ดทํ า

หลั ก เกณฑการพัฒนาอยา งยั่ งยืนสํ าหรับ

โครงการ CDM ขึ้นซึ่งประกอบดวยมิติการ

พั ฒ น า อ ย า ง ยั่ ง ยื น 4 ด า น ไ ด แ ก ด า น

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดานสังคม

ด า นก ารพั ฒนา แล ะ /ห รื อก า รถ า ยทอด

เทคโนโลยีและดานเศรษฐกิจโดยโครงการที่

คณะกรรมการองคการบริหารจัดการกาซเรือน

กระจกจะพิจารณาใหการรับรองไดแก

1. โครงการดานพลังงาน ไดแกการผลิตพลั งงานและการปรับปรุ ง

ประสิทธิภาพในการใชพลังงาน เชนโครงการพลังงานทดแทนการใชนํ้ามันเช้ือเพลิง

โครงการแปลงกากของอุตสาหกรรมเปนพลังงานโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพระบบ

ทําความเย็นและโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพในการใชพลังงานในอาคาร เปนตน

2. โครงการดานสิ่งแวดลอม เชน โครงการแปลงขยะเปนพลังงานโครงการ

แปลงนํ้าเสียเปนพลังงาน เปนตน

3. โครงการดานคมนาคมขนสง เชน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพในการคมนาคมขนสงและการใช

พลังงาน

4. โครงการดานอุตสาหกรรม เชน โครงการที่สามารถลดปริมาณการปลดปลอยกาซเรือนกระจก

ในกระบวนการอุตสาหกรรม

Page 48: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 46

ขั้นตอนการดําเนนิโครงการภายใตกลไกการพัฒนาที่สะอาด

หมายเหตุ

DNA หมายถึง หนวยงานกลางที่ทําหนาที่ประสานการดําเนินงานตามกลไกการพัฒนาที่สะอาด

DOE หมายถึง หนวยงานปฏิบัติการที่ไดรับหมอบหมายในการตรวจสอบ (Designated Operational Entities)

CDM EB หมายถึง คณะกรรมการบริหารกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Executive Board of CDM)

1. การออกแบบโครงการ (Project Design) ผูดําเนินโครงการจะตองออกแบบลักษณะของโครงการ

และจัดทําเอกสารประกอบโครงการ (Project Design Document: PDD) โดยมีการกําหนดขอบเขตของ

โครงการ วิธีการคํานวณการลดกาซเรือนกระจก วิธีการในการติดตามผลการลดกาซเรือนกระจก การ

วิเคราะหผลกระทบตอสิ่งแวดลอม เปนตน

2. การตรวจสอบเอกสารประกอบโครงการ (Validation) ผูดําเนินโครงการจะตองวาจางหนวยงาน

กลางที่ไดรับมอบหมายในการปฏิบัติหนาที่แทนคณะกรรมการบริหารฯ หรือท่ีเรียกวา Designated

Operational Entity (DOE) ในการตรวจสอบเอกสารประกอบโครงการ วาเปนไปตามขอกําหนดตางๆ

หรือไม ซึ่งรวมถึงการไดรับความเห็นชอบในการดําเนินโครงการจากประเทศเจาบานดวย

3. การขึ้นทะเบียนโครงการ (Registration) เมื่อ DOE ไดทําการตรวจสอบเอกสารประกอบโครงการ

และลงความเห็นวาผานขอกําหนดตางๆ ครบถวน จะสงรายงานไปยังคณะกรรมการบริหารกลไกการพัฒนา

ที่สะอาด (EB) เพื่อขอข้ึนทะเบียนโครงการ

Page 49: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 47

4. การติดตามการลดการปลอยกาซเรือนกระจก (Monitoring) เมื่อโครงการไดรับการขึ้นทะเบียนเปน

โครงการ CDM แลว ผูดําเนินโครงการจึงดําเนินโครงการตามที่เสนอไวในเอกสารประกอบโครงการ และทํา

การติดตามการลดการปลอยกาซเรือนกระจก ตามที่ไดเสนอไวเชนกัน

5. การยืนยันการลดกาซเรือนกระจก (Verification) ผูดําเนินโครงการจะตองวาจางหนวยงาน DOE ให

ทําการตรวจสอบและยืนยันการติดตามการลดกาซเรือนกระจก

6. การรับรองการลดกาซเรือนกระจก (Certification) เม่ือหนวยงาน DOE ไดทําการตรวจสอบการลด

การปลอยกาซเรือนกระจกแลว จะทํารายงานรับรองปริมาณการลดการปลอยกาซเรือนกระจกที่ดําเนินการ

ไดจริงตอคณะกรรมการบริหารฯ เพื่อขออนุมัติใหออกหนังสือรับรองปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกที่ลด

ได หรือ CER ใหผูดําเนินโครงการ

7. การออกใบรับรองปริมาณการลดการปลอยกาซเรือนกระจก (Issuance of CER) เมื่อคณะกรรมการ

บริหารฯ ไดรับรายงานรับรองการลดกาซเรือนกระจก จะไดพิจารณาออกหนังสือรับรองปริมาณการปลอย

กาซเรือนกระจกที่ลดได หรือ CER ใหผูดําเนินโครงการตอไป

ทั้ง น้ี หนวยงานกลาง (DOE) ที่ทําหนาที่ในการการตรวจสอบเอกสารประกอบโครงการ

(Validation) และการยืนยันการลดกาซเรือนกระจก (Verification) น้ัน จะตองเปนหนวยงานคนละ

หนวยงาน

ขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดตอสอบถามมายัง องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก

(องคการมหาชน)

เลขท่ี 120 หมูที่ 3 ช้ัน 9 อาคาร B ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติฯ ถนนแจงวัฒนะ แขวงทุงสองหอง

เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท 0 2141 9790 โทรสาร 0 2143 8400

เว็บไซต http://www.tgo.or.th

4.5 โครงการสงเสริมการลงทุน โดยสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI)

ภาครัฐไดยกระดับใหอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน เปนกิจการที่มีระดับความสําคัญสูงสุด

และจะไดรับการ สงเสริมการลงทุนในระดับสูงสุดเชนกัน จึงมีมาตรการสงเสริมการลงทุน

เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน (Maximum incentive) จากคณะกรรมการ

สงเสริมการลงทุน (BOI) ซึ่งไดกําหนดสิทธิประโยชนที่ยกเวนอากรขาเขาสําหรับ

เครื่องจักร ยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคล เปนเวลา 8 ป และหลังจากน้ันอีก 5 ป หรือตั้งแตปที่ 9-13 จะ

ลดหยอนภาษีเงินไดนิติบุคคลได 50% รวมทั้งมาตรการจูงใจดานภาษี อาทิ การลดภาษีเครื่องจักร อุปกรณ

ที่นําเขาจากตางประเทศ รวมทั้งการอนุญาตใหนําตนทุนในการติดตั้งโครงสรางพื้นฐานตางๆ เชน ไฟฟา

ประปา ขอหักลบภาษีไดสูงสุด 2 เทาสําหรับโครงการที่เปนประโยชนตอสาธารณะ เปนตน

หลักเกณฑในการพิจารณาสงเสริมโครงการดานพลังงานทดแทน ไดแก กรณีที่ผูประกอบการหรือนัก

Page 50: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 48

ลงทุนมีสัดสวนหน้ีตอทุน นอยกวา 3 ตอ 1 สําหรับโครงการใหม หรือมีเครื่องจักรใหมที่มีขบวนการผลิตที่

สมัย หรือมีระบบจัดการที่ปลอดภัย รักษาสิ่งแวดลอม และใชประโยชนจากวัตถุดิบในการผลิต เปนตน

โดยผูประกอบหรือนักลงทุนที่สนใจขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดตอสอบถามยัง สํานักงาน

คณะกรรมการสงเสริมการลงทุน เลขท่ี 555 ถ.วิภาวดี รังสิต จตุจักรกรุงเทพฯ 10900 โทร 02-537-8111

ตอ537-8155 โทรสาร 02-537-8177 หรือ E-mail : [email protected], Website : http://www.boi.go.th

แสดงขัน้ตอนขอรบัการสนบัสนนุจากสํานกังานคณะกรรมการสงเสริมการลงทนุ (BOI)

Page 51: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 49

บทที่ 5

ขั้นตอนการขอใบอนุญาตตางๆ

ขั้นตอนการติดตอเพื่อขอใบอนุญาตจําหนายไฟฟา เพื่อจําหนายพัฒนา

พลังงานทดแทน มีหลายกระบวนการที่เกี่ยวของกับหนวยงานราชการตางๆ

หลายแหง รวมไปถึงขอกฎหมาย และกฎระเบียบอื่นๆ ซึ่งลวนแตมีขั้นตอนการ

ปฏิบัติที่แตกตางกัน ซึ่งในการพัฒนาโครงการพลังงานทดแทนตางๆน้ัน นัก

ลงทุนควรไดรับทราบขั้นตอนการขออนุญาต และการเตรียมเอกสารเพื่อ

ประกอบในการยื่นขอ รวมถึงขั้นตอนการติดตอประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ ประเด็นเหลาน้ีถือเปน

ความสําคัญอยางยิ่งที่จะตองเผยแพรใหผูประกอบการและประชาชนโดยทั่วไป ไดรับทราบและเขาใจใน

กระบวนการสําหรับข้ันตอนการขออนุญาตตางๆ โดยท่ัวกัน

1 หมายเหตุ 1) ระยะเวลารวมการยื่นของอนุมัติสงูสุดไมเกิน 435 วัน

2) ระยะเวลารวมการยื่นขอจนกระทั่งอนมุัติต่ําสุดไมเกิน 255 วัน (ไมนับรวมระยะเวลาในข้ันตอนที ่2

3) การติดตอประสานงานหนวยงานราชการม ี7 หนวยงาน ตองไดรับใบอนุญาต 10 ใบ รวมเวลาตัง้แตเริ่ม

ยื่นเอกสาร จนไดรับเงินคาไฟฟาในงวดแรก

รูปแสดงขัน้ตอนการขอใบอนุญาตตางๆ

Page 52: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 50

ตารางที่ 5-1 รายละเอียดขั้นตอนการจัดทําโครงการสรางโรงไฟฟาพลังงานทดแทน

รายการ หนวยงานที่รบัผดิชอบ ชื่อคําขอ/คํารอง/

เอกสาร

วัน หมายเหต ุ

1. การศึกษาความเหมาะสมของโครงการ ผูประกอบการ - -

2. การออกแบบโครงสรางอาคาร สิ่งปลูกสรางและ

ออกแบบแผนผังการติดตั้งเครื่องจักร และประเมิน

ราคาวัสดุ

ผูประกอบการ - -

3. การขอจดทะเบียนนิติบุคล

- ผูประกอบการยื่นแบบคําขอ “จดทะเบียนบริษัท

จํากัด” กับกรมพัฒนาธุรกิจการคา(DEB)

- กรมธุรกิจการคาอนุมัติ “จดทะเบียนบริษัท

จํากัด”

กรมพัฒนาธุรกิจการคา

กระทรวงพาณิชย - คําขอจดทะเบียน

บริษัทจํากัด (บอจ.1)

- รายการจดทะเบียน

จัดตั้ง

1 โดยสามารถยื่นแบบคําขอผาน

www.dbd.go.th/register/login.phtml

4. การขออนุญาตตั้งโรงงาน (รง.4)

a. กรณียื่นแบบคําขอตั้งโรงงานตออุตสาหกรรม

จังหวัด (อก.)

- ยื่นเอกสารกับอุตสาหกรรมจังหวัด

- อุตสาหกรรมจังหวัดขอความเห็น อบต. และ

ตรวจสอบพื้นที่ และจัดทํารายงานการ

ตรวจสอบภายใน 30 วัน

- อุตสาหกรรมจังหวัดปดประกาศตามมาตร 30

- อุตสาหกรรมจังหวัด

- กรมโรงงาน

อุตสาหกรรม

กระทรวงอุตสาหกรรม

คําขอรับใบอนุญาต

ประกอบกิจการพลังงาน

(รง.3)

90

- แกไขตามบันทึกขอตกลงความรวมมือ

ระหวางคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน

และกระทรวงอุตสาหกรรม เร่ือง แนว

ทางการใหอนุญาตตั้งโรงงานและการอื่นเพื่อ

ประกอบกิจการพลังงาน

- โรงงานทั่วไปท่ีตั้งใหมโดยมีการผลิตไฟฟาเพื่อ

ใชในกระบวนการผลิตของตนเอง หรือเพื่อใช

ในกระบวนการผลิตและสวนที่เหลือใช

Page 53: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 51

รายการ หนวยงานที่รบัผดิชอบ ชื่อคําขอ/คํารอง/

เอกสาร

วัน หมายเหต ุ

15 วัน

- สงเรื่องให กกพ. พจิารณา

- คณะกรรมการกาํกับกจิการพลังงานสงเรือ่ง

เพื่อขอความเห็นจากกรมโรงงาน

- คณะกรรมการกาํกับกจิการพลังงานพจิารณา

ใบอนุญาต

b. ในกรณีที่ยื่นคําขอท่ี สกพ.

- ยื่นเอกสารตอ สกพ.

- สกพ. ขอความเห็นประกอบการพิจารณา

อนุญาตโรงงานจาก อก. และ อก. เสนอ

ความเห็นกลับ กกพ. 60 วัน

- สกพ. จัดทําความเห็นเสนอตอ กกพ. และ

กกพ. มีคําวินิฉัยพิจารณาการอนุญาตต้ัง

โรงงานภายใน 20 วัน นับจากไดรับ

ความเห็นจาก อก.

- สกพ. แจงผลภายใน 10 วันนับตั้งแตวันมีมติ

- สํานักกํากับกิจการ

พลังงาน

90

จําหนาย ใหยื่นคําขออนุญาตประกอบกิจการ

โรงงานตอสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดหรือ

กรมโรงงานอุตสาหกรรม การอนุญาตใหระบุ

ประเภทหรือลําดับท่ี 88 ลงในใบอนุญาต

และเมื่อมีการอนุญาตแลว ใหแจง

คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานทราบ

- ในกรณีที่ตองการขยายโรงงานและเพิ่ม

ประเภทการผลิต ใหยื่นเรื่องตอสํานักงาน

อุตสาหกรรมจังหวัดหรือกรมโรงงาน

อุตสาหกรรม และเมื่อมีการอนุญาตแลว ให

แจงคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน

ทราบ

ติดตอ ที่

กรมโรงงานอุตสาหกรรม

เลขที่ 75/6 ถ.พระรามที่ 6 เขตราชเทวี

กรุงเทพฯ 10400 โทร. 0-2202-4000

โทรสาร. 0-2245-8000

http://www.diw.go.th

Page 54: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 52

รายการ หนวยงานที่รบัผดิชอบ ชื่อคําขอ/คํารอง/

เอกสาร

วัน หมายเหต ุ

- กรณี ตางจังหวัด ติดตอ สํานักงาน

อุตสาหกรรมจังหวัด

5. การขออนุญาตใชพื้นที่กอสราง

a. กรณีขออนุญาตตอองคการปกครองสวนทองถิ่น

- ผูประกอบการยื่นแบบคําขอ “อนุญาต

กอสราง/ดัดแปลงอาคาร”ตอ อบต.

- อบต. ตรวจสอบเอกสารและออกหนังสือแจง

การอนุมัติ

- อบต. อนุมัติ ”อนุญาตกอสราง/ดัดแปลง

อาคาร”

องคการปริหารสวน

ตําบลกระทรวงหาด

ไทย

คําขออนุญาตกอสราง

อาคาร (ข.1)

45

ติดตอท่ี องคการปกครองสวนทองถ่ิน ในพื้นที่

ที่จะกอสรางโรงงาน

b. กรณีพื้นที่อยูในการนิคมอุตสาหกรรม (กนอ.)

- ผูประกอบการยื่นแบบคําขอการขออนุญาต

กอสรางจาก กทม. อาทิการแจงชื่อผูควบคุม

งานกับวันเริ่มตนและวันสิ้นสุดการ

ดําเนินการ

- ผูประกอบการขอใบรับรองการกอสราง

อาคาร ดัดแปลงอาคาร หรือเคลื่อนยาย

อาคาร

การนิคมอุตสาหกรรม คําขอรับใบรับรองการ

กอสรางอาคาร ดัดแปลง

อาคาร หรือเคลื่อนยาย

อาคาร (แบบ กทม.4)

45

การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย 618

ถนนนิคมมักกะสัน แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี

กรุงเทพ 10400

โทรศัพท : 0-2253-0561 โทรสาร : 0-2253-

4086

http://www.ieat.go.th

Page 55: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 53

รายการ หนวยงานที่รบัผดิชอบ ชื่อคําขอ/คํารอง/

เอกสาร

วัน หมายเหต ุ

กทม. อนุมัติ “อนุญาตกอสราง/ดัดแปลง

อาคาร”

6-7 การขอจําหนายไฟฟาและสัญญาซื้อขายไฟฟา

- ผูประกอบการยื่นแบบคําขอจําหนายไฟฟา

และการเช่ือมโยงระบบไฟฟา ณ ที่ทําการ

สํานักงานเขตของ กฟน.หรือท่ีทําการ

สํานักงานจังหวัดของ กฟภ

- การไฟฟาฝายจาํหนายพิจารณาเอกสารรับ

ซื้อไฟฟาและแจงผล พรอมทั้งรายละเอียด

คาใชจายเปนลายลักษณอักษรภายใน 45 วัน

นับจากวันที่การไฟฟา ฝายจาํหนายไดรับ

ขอมูลประกอบการพิจารณาครบถวน

- ผูประกอบการตองชําระคาใชจายและทํา

สัญญาและซื้อขายไฟฟากับการไฟฟา ภายใน

60 วัน นับตั้งวันไดรับแจงผล

- กฟน. กฟภ .กฟผ. คําขอจําหนายไฟฟาและ

การเช่ือมโยงระบบไฟฟา

105

ติดตอ กฟผ.

เลขที่ 53 หมู 2 ถ.จรัญสนิทวงศ ตําบลบาง

กรวย อําเภอบางกรวย นนทบุรี 11130

โทร 0 2436 0000

สามารถดาวนโหลดเอกสารไดท่ี

http://www.ppa.egat.co.th/Sppx/a4.ht

ml

ติดตอ กฟภ.

การไฟฟาสวนภูมิภาค (สํานักงานใหญ)

แผนกวางแผนแหลงผลิตไฟฟา

โทร 0-2590-9733

- แผนก SPP โทร 0-2590-9743

- แผนก VSPP โทร 0-2590-9753

- แผนกสัญญาซื้อขายไฟฟา โทร 0-2590-

9763

สามารถดาวนโหลดเอกสารไดท่ี

Page 56: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 54

รายการ หนวยงานที่รบัผดิชอบ ชื่อคําขอ/คํารอง/

เอกสาร

วัน หมายเหต ุ

http://www.pea.co.th/vspp/vspp.html

กอสรางโรงงานและตดิตัง้เครือ่งจักร

8 ใบอนุญาตผลิตพลังงานควบคุม

- ผูประกอบการยื่นคําขอ “ใบอนุญาตใหผลิต

พลังงานควบคุม” แก พพ.หรือ สกพ.

- พพ. ตรวจสอบระบบไฟฟาและอุปกรณปองกัน

- พพ. อนุมัติใบอนุญาตใหผลิตพลังงานควบคุม

- กรมพัฒนาพลังงาน

ทดแทนและอนุรักษ

พลังงาน กระทรวง

พลังงาน

- สํานักกํากับกิจการ

พลังงาน

คําขอรับใบอนุญาตผลิต

พลังงานควบคุม (พค.1)

60 ขนาดตั้งแต 200-1000 kVA ให พพ.พจิารณา

แตในกรณีที่ขนาดมากกวา 1000 kVA สกพ.

เปนผูตรวจสอบและสงให พพ.เปนผูเห็นชอบ

สามารถ ดาวนโหลดเอกสารไดท่ี

http://www.dede.go.th

ติดตอขอรายละเอียดเพิ่มเติมที่

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ

พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน

เลขที่ 17 ถนนพระรามที่ 1 เขตปทุมวัน

กรุงเทพมหานคร 10330

โทรศัพท 0-2223-0021-9 ตอ 1411

9 -10 ใบอนุญาตประกอบกิจการไฟฟา

- ผูประกอบการเตรียมเอกสารประกอบแยก

ประเภทตามใบอนุญาต

- สกพ. ตรวจสอบความถูกตองของเอกสาร

- สกพ. เสนอความเห็นแก กกพ. พิจารณาเอกสาร

- สํานักกํากับกิจการ

พลังงาน

ใบอนุญาตประกอบ

กิจการไฟฟา

ประกอบดวย

1. ใบอนุญาตผลิตไฟฟา

(สกพ01-1)

75 ติดตอขอรายละเอียดเพิ่มเติมที่

319 อาคารจัตุรัสจามจุรี ช้ัน 19 ถนนพญาไท

แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

โทรศัพท : 0 2207 3599 ,

โทรสาร : 0 2207 3502 , 0 2207 3508

Page 57: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 55

รายการ หนวยงานที่รบัผดิชอบ ชื่อคําขอ/คํารอง/

เอกสาร

วัน หมายเหต ุ

- กกพ. พิจารณาออกใบอนุญาต “ใบประกอบ

กิจการไฟฟา”

- สกพ. แจงชําระคาธรรมเนียมพรอมออก

ใบอนุญาตแกผูประกอบการ

2. ใบอนุญาตระบบสง

ไฟฟา (สกพ01-2)

3. ใบอนุญาตระบบ

จําหนายไฟฟา

(สกพ01-3)

4. ใบอนุญาตจําหนาย

ไฟฟา (สกพ01-4)

5. ใบอนุญาตควบคุม

ระบบไฟฟา

(สกพ01-5)

สามารถ ดาวนโหลดเอกสารไดท่ี

http://www2.erc.or.th/Form1.html

11-12 การไฟฟาตรวจสอบระบบพรอมออกผลการ

รับรองการตรวจคุณภาพไฟฟา

เมื่อทําสัญญาและติดต้ังระบบแลวเสร็จใหผูผลิตไฟฟา

แจงความประสงคจะจายไฟฟาเขาระบบ การไฟฟาจะ

เขาไปตรวจสอบภายใน 15 วัน

- การไฟฟาฝายจาํหนายจะตรวจสอบการเช่ือมโยง

ระบบไฟฟา และอุปกรณที่ติดต้ังวาเปนไปตาม

มาตรฐานที่กําหนดใหแลวเสร็จภายใน 15วันยกเวน

- 45

-

Page 58: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 56

รายการ หนวยงานที่รบัผดิชอบ ชื่อคําขอ/คํารอง/

เอกสาร

วัน หมายเหต ุ

กรณีที่ผูผลิตไฟฟาเปนผูใชไฟรายใหมใหการไฟฟาฝาย

จําหนายดําเนินการตามระเบียบปฏิบัติของการไฟฟา

ฝายจําหนายภายใน 30 วัน

- การไฟฟาแจงวันเร่ิมรับซื้อไฟฟาเชิงพาณิชย (COD)

13-14 รับเงินคาขายกระแสไฟฟา -

หมายเหต ุ: โครงการท่ีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดลอมกําหนดตองจัดทํารายงานผลกระทบ

ดานสิ่งแวดลอม (EIA,IEE)

- สํานักนโยบายและ

แผนฯกระทรวง

ทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดลอม

รายงานการศึกษา

ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

180-

365

โรงไฟฟาพลังลมที่ใชพื้นที่ท่ีคณะรัฐมนตรีไดมี

มติเห็นชอบใหเปนพื้นที่ลุมน้ําช้ัน 1 จะตอง

จัดทํารายงานผลกระทบดานสิ่งแวดลอม

หมายเหตุ: ระยะเวลาไมรวมขั้นตอนการรับฟงความคิดเห็นจากประชาชนและจะนับตั้งแตไดรับเอกสารครบถวน

Page 59: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 57

การประเมินผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (EIA)

EIA หรือ Environmental Impact Assessment เปนการศึกษาเพื่อคาดการณผลกระทบทั้งใน

ทางบวกและทางลบจากการพัฒนาโครงการหรือกิจการที่สําคัญ เพื่อกําหนดมาตรการปองกันและแกไข

ผลกระทบสิ่งแวดลอมและใชในการประกอบการตัดสินใจพัฒนาโครงการหรือกิจการ ผลการศึกษาจัดทํา

เปนเอกสาร เรียกวา “รายงานการวิเคราะหผลกระทบดานสิ่งแวดลอม” ซึ่งการดําเนินโครงการดาน

โรงไฟฟาพลังลมที่ใชพื้นที่ที่คณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบใหเปนพื้นที่ลุมนํ้าช้ัน 1 จะตองจัดทํารายงาน

ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมเชนกัน

ขั้นตอนการทํารายงาน EIA

1. ผูประกอบการจะตองทราบกอนวาโครงการน้ันจะตองจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบ

สิ่งแวดลอมหรือไม

2. วาจางที่ปรึกษาที่ข้ึนทะเบียนเปนนิติบุคคลผูมีสิทธิทํารายงานฯ

3. ผูประกอบการสงรายงานใหสํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สผ.)

โดย สผ. และคณะกรรมการผูชํานาญการจะใชเวลาการพิจารณารายงานฯ ตามขั้นตอนที่กําหนดไมเกิน 75

วัน แตหากคณะกรรมการฯ มีขอเสนอแนะใหแกไขเพิ่มเติม ที่ปรึกษาจะตองใชเวลาในการปรับแก และ

จัดสงให สผ. และคณะกรรมการฯ พิจารณา ซึ่งจะใชเวลาไมเกิน 30 วัน

ติดตอขอรายละเอียดเพิ่มเติมท่ี

สํานักวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอมโทรศัพท :0-2265-6500 ตอ 6832, 6834, 6829

Page 60: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 58

เอกสารอางอิง

1. รายงานฉบับสมบูรณ โครงการศึกษาประเมินศักยภาพพลังงานลมในการผลิตไฟฟาเฉพาะแหลง, กรม

พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี, ธันวาคม

2551

2. รายงานฉบับสมบูรณ โครงการติดตามประเมินผลการดําเนินงานพัฒนาและสงเสริมพลังงานลม, กรม

พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน, บริษัท เอเบิล คอนซัลแตนท จํากัด, พฤศจิกายน 2551

3. รายงานฉบับสมบูรณ โครงการศึกษาศักยภาพพลังงานลมเฉพาะแหลง, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ

อนุรักษพลังงาน, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, 2549

4. รายงานฉบับสมบูรณ แผนที่ศักยภาพพลังงานลมของประเทศไทย, กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน,

2544

5. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน, เว็บไซต www.dede.go.th

6. สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน, เว็บไซต www.boi.go.th

7. องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน), เว็บไซต www.tgo.or.th

8. Global Wind Energy Council, “GWEC Statistics 2007,” Belgium.

9. World Bank: Asia Alternative Energy Program, “Wind Energy Resource Atlas of

Southeast Asia,” TrueWind Solutions, New York, 2001.

10. Stand- Alone Wind Energy Systems : A Buyer’s Guide, Natural Resources Canada ,

Canada

11. Small Wind Electric Systems, Energy Efficiency and Renewable Energy, U.S. Department

of Energy,USA

12. Buying a Wind System, Renewable Energy for Home, Farm, and Business, Wind Power,

Paul Gipe

13. www.homepower.com

14. www.renewableenergyworld.com

15. www.windpower.org

Page 61: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 59

บันทึก

Page 62: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

คูมือการพัฒนาและการลงทุนกังหันลมผลิตไฟฟา หนา 60

บันทึก

Page 63: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช
Page 64: 1.คู่มือพัฒนาพลังงานลม 29 Oct 2010 ส่ง ......4.2 โครงการเง นหม นเว ยนเพ อส งเสร มการใช

ผูสนใจสามารถขอขอมูลและรายละเอียดเพิ่มเติมไดที ่

ศูนยบริการวิชาการดานพลังงานทดแทนโทรศัพท : 0-2223-7474

หรือ

กลุมพลังงานลม สํานักวิจยั คนควาพลังงาน

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน

17 ถนนพระราม 1 แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

โทรศัพท : 0-2223-0021-9

เว็บไซต www.dede.go.th จัดทําเอกสาร โดย

บริษัท เอเบิล คอนซัลแตนท จํากัด

888/29-32 ถนนนวลจันทร แขวงนวลจันทร เขตบึงกุม กรุงเทพฯ 10230

โทรศัพท 0-2184-2728-33 โทรสาร 0-2184-2734

พิมพครั้งท่ี 1 มกราคม 2554