8

คำนำacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002539_example.pdf · 12 1.3 จำนวนนับไม่เกิน 100,000 4 หมื่น กับ 8 พัน

  • Upload
    lexuyen

  • View
    229

  • Download
    6

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คำนำacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002539_example.pdf · 12 1.3 จำนวนนับไม่เกิน 100,000 4 หมื่น กับ 8 พัน
Page 2: คำนำacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002539_example.pdf · 12 1.3 จำนวนนับไม่เกิน 100,000 4 หมื่น กับ 8 พัน

คำนำ

หนังสือเรียนคณิตศาสตร์เล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อประกอบการจัดการเรียนการสอน

คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ตามตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง และ

มาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยมุ่งให้นักเรียนได้เรียนรู้สาระที่จำเป็นในการ

ดำรงชีวิตให้มีคุณภาพตามที่ระบุไว้ในหลักสูตร ได้แก่ จำนวนและการดำเนินการ

การวัด เรขาคณิต พีชคณิต การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น รวมทั้งทักษะ

กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ กระบวนการในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล

การสื่อสาร การสื่อความหมาย การนำเสนอ การเชื่อมโยง และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

การนำเสนอแนวทางการจัดการเรียนการสอนในหนังสือเรียนเล่มนี้ มีลักษณะเป็น

การพัฒนาการเรียนรู้ผ่านกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เน้นการพัฒนาความคิดรวบยอด

โดยใช้รูปภาพเชื่อมโยงไปสู่การใช้สัญลักษณ์ จากนั้นจึงพัฒนาทักษะการคิดคำนวณ

และการใช้กระบวนการในการแก้โจทย์ปัญหา หนังสือเล่มนี้ประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู ้

10 หน่วย ท้ายหน่วยมีแบบฝึกทักษะท้ายหน่วย เพื่อพัฒนาทักษะที่สัมพันธ์กับ

สาระการเรียนรู้ในหน่วย มีการทบทวนเป็นระยะทุก 3-4 หน่วย เพื่อให้นักเรียนเชื่อมโยง

ความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ ท้ายเล่มมีการฝึกฝนเพิ่มเติม เพื่อให้นักเรียนเกิดความ

แคล่วคล่องแม่นยำ นอกจากนี้ครูยังสามารถฝึกทักษะเพิ่มเติมให้แก่นักเรียนได้ โดยการ

ทำแบบฝึกหัดจากหนังสือแบบฝึกหัดซึ่งได้จัดทำไว้ใช้ควบคู่กับหนังสือเรียน

ผู้ใช้หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่มนี้ประกอบการจัดการเรียน

การสอนคณิตศาสตร์ จึงสามารถพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพตามสาระและมาตรฐาน-

การเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้เป็นอย่างดี

รองศาสตราจารย์ ดร.สิริพร ทิพย์คง

Page 3: คำนำacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002539_example.pdf · 12 1.3 จำนวนนับไม่เกิน 100,000 4 หมื่น กับ 8 พัน

สารบัญ

หน้า หน้า

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จำนวนนับ

ไม่เกิน 100,000 7

1. การเขียนและการอ่าน

ตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทย

และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับ

ไม่เกิน100,000 8

2. หลักค่าประจำหลักและค่าของ

เลขโดดในแต่ละหลัก 15

3. การเขียนตัวเลขแสดงจำนวน

ในรูปกระจาย 19

4. การเปรียบเทียบจำนวนนับ 23

5. การเรียงลำดับจำนวนนับ 27

6. แบบรูปของจำนวนนับ 31

ฝึกทักษะท้ายหน่วย 40

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การบวก 41

1. การบวกจำนวนนับที่มีผลบวก

ไม่เกิน100,000 42

2. โจทย์ปัญหา 55

ฝึกทักษะท้ายหน่วย 59

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การลบ 60

1. การลบจำนวนนับที่มีตัวตั้ง

ไม่เกิน100,000 61

2. ความสัมพันธ์ระหว่างการบวก

และการลบ 68

3. โจทย์ปัญหา 70

4. การบวกลบระคน 72

5. โจทย์ปัญหาการบวกลบระคน 74

6. การสร้างโจทย์ปัญหาการบวก

และการลบ 78

ฝึกทักษะท้ายหน่วย 80

ทบทวน1(หน่วยที่1-3) 81

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การคูณ 83

1. ทบทวน:การคูณ 84

2. การคูณจำนวนหนึ่งหลัก

กับจำนวนไม่เกินสี่หลัก 89

3. โจทย์ปัญหา 101

4. การคูณจำนวนสองหลัก

กับจำนวนสองหลัก 102

5. โจทย์ปัญหา 104

ฝึกทักษะท้ายหน่วย 106

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การหาร 107

1. ทบทวน:การหาร 108

2. ความสัมพันธ์ระหว่างการคูณ

และการหาร 112

3. การหารลงตัว 114

4. การหารไม่ลงตัว 118

5. โจทย์ปัญหา 121

6. การบวกลบคูณหารระคน 124

7. โจทย์ปัญหาการบวกลบคูณ

หารระคน 125

8. การสร้างโจทย์ปัญหา 127

ฝึกทักษะท้ายหน่วย 128

ทบทวน2(หน่วยที่4-5) 129

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การวัดความยาว

การชั่ง และการตวง 131

1. การวัดความยาว 132

2. การชั่ง 141

3. การตวง 148

4. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการวัดความยาว

การชั่งและการตวง 152

ฝึกทักษะท้ายหน่วย 157

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เงิน 159

1. ทบทวน:การบอกจำนวนเงิน 160

2. การเขียนจำนวนเงินโดยใช้จุด

และการอ่าน 163

3. การเปรียบเทียบจำนวนเงิน 165

4. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน 166

5. การอ่านและเขียนบันทึกรายรับ

รายจ่าย 169

ฝึกทักษะท้ายหน่วย 173

หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เวลา 175

1. การบอกเวลา 176

2. การเขียนบอกเวลาโดยใช้จุด 180

3. ความสัมพันธ์ของหน่วยเวลา 182

4. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา 191

5. การอ่านและการเขียนบันทึก

กิจกรรมหรือเหตุการณ์ต่างๆ

ที่ระบุเวลา 193

ฝึกทักษะท้ายหน่วย 195

ทบทวน3(หน่วยที่6-8) 196

Page 4: คำนำacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002539_example.pdf · 12 1.3 จำนวนนับไม่เกิน 100,000 4 หมื่น กับ 8 พัน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 รูปเรขาคณิต

และสมบัติบางประการของ

รูปเรขาคณิต 198

1. รูปเรขาคณิต 199

2. รูปสมมาตร 208

3. จุด ส่วนของเส้นตรง 210

4. เส้นตรง รังสี 212

5. มุม 213

6. จุดตัด 214

7. แบบรูปของรูปเรขาคณิต 215

ฝึกทักษะท้ายหน่วย 217

หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 ข้อมูล

และแผนภูมิ 219

1. การรวบรวมข้อมูล

และการจำแนกข้อมูล 220

2. การนำเสนอข้อมูล 222

ฝึกทักษะท้ายหน่วย 232

ทบทวน 4 (หน่วยที่ 9-10) 235

ฝึกฝนเพิ่มเติม 237

บรรณานุกรม 240

1. เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงปริมาณของสิ่งของหรือจำนวนนับ ที่ไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์ (ค 1.1 ป.3/1)2. เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์ (ค 1.1 ป.3/2)3. บอกจำนวนและความสัมพันธ์ในแบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 25 ทีละ 50 และลดลงทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 5 ทีละ 25 ทีละ 50 และแบบรูปซ้ำ (ค 4.1 ป.3/1)4. ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา (ค 6.1 ป.3/1)5. ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม (ค 6.1 ป.3/2)6. ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม (ค 6.1 ป.3/3)7. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง (ค 6.1 ป.3/4)8. เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ (ค 6.1 ป.3/5)

จำนวนนับไม่เกิน 100,000

ตัวชี้วัด

แผนผังสาระการเรียนรู้

แสน หมื่น พัน ร้อย สิบ หน่ว

Page 5: คำนำacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002539_example.pdf · 12 1.3 จำนวนนับไม่เกิน 100,000 4 หมื่น กับ 8 พัน

� �

1.การเขียนและการอ่านตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน100,000

1.1 จำนวนนับไม่เกิน 10,000

หนึ่งร้อย

เขียนเป็นตัวเลขฮินดูอารบิก 100

เขียนเป็นตัวเลขไทย ๑๐๐

เมื่อนำรูปแสดงจำนวนหนึ่งร้อยมา10รูป

หรือนำมาวางซ้อนกันได้ดังรูป

10ร้อย เท่ากับ1พัน

เขียนเป็นตัวเลขฮินดูอารบิก 1,000

เขียนเป็นตัวเลขไทย ๑,๐๐๐

เขียนเป็นตัวหนังสือ หนึ่งพัน

หนึ่งพัน

1,000เป็นจำนวนสี่หลัก

1พันกับ1ร้อยกับ1สิบกับ1หน่วย

เขียนเป็นตัวเลขฮินดูอารบิก 1,111

เขียนเป็นตัวเลขไทย ๑,๑๑๑

เขียนเป็นตัวหนังสือ หนึ่งพันหนึ่งร้อยสิบเอ็ด

3พันกับ5ร้อยกับ2สิบกับ4หน่วย

เขียนเป็นตัวเลขฮินดูอารบิก 3,524

เขียนเป็นตัวเลขไทย ๓,๕๒๔

เขียนเป็นตัวหนังสือ สามพันห้าร้อยยี่สิบสี่

5พันกับ1ร้อยกับ3สิบกับ6หน่วย

เขียนเป็นตัวเลขฮินดูอารบิก 5,136

เขียนเป็นตัวเลขไทย ๕,๑๓๖

เขียนเป็นตัวหนังสือ ห้าพันหนึ่งร้อยสามสิบหกหมื่น พัน ร้อย สิบ หน่วย

พัน ร้อย สิบ หน่วย

Page 6: คำนำacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002539_example.pdf · 12 1.3 จำนวนนับไม่เกิน 100,000 4 หมื่น กับ 8 พัน

10 11

1. เขียนตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทยและตัวหนังสือจากรูปในแต่ละข้อ

(ทำในสมุด)

1)

2)

3)

4) 5)

2. เขียนตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทยหรือตัวหนังสือตามที่กำหนด

ในแต่ละข้อ(ทำในสมุด)

1) สามพันหกสิบสอง 2) ห้าพันสามร้อยสิบเก้า

เป็นตัวเลขฮินดูอารบิก เป็นตัวเลขฮินดูอารบิก

3) เจ็ดพันเก้าสิบเอ็ด 4) หนึ่งพันเอ็ด

เป็นตัวเลขฮินดูอารบิก เป็นตัวเลขไทย

5) สี่พันสามร้อยแปดสิบเจ็ด 6) หกพันห้าร้อยแปดสิบสอง

เป็นตัวเลขไทย เป็นตัวเลขไทย

7) ๒,๔๕๘เป็นตัวหนังสือ 8) 6,998เป็นตัวหนังสือ

9) ๘,๙๗๓เป็นตัวหนังสือ 10) 9,085เป็นตัวหนังสือ

1.2 จำนวนนับ 10,000

หนึ่งพัน

1,000เป็นจำนวนสี่หลัก

เมื่อนำรูปแสดงจำนวนหนึ่งพันมา10รูป

10พัน เท่ากับ1หมื่น

เขียนเป็นตัวเลขฮินดูอารบิก 10,000

เขียนเป็นตัวเลขไทย ๑๐,๐๐๐

เขียนเป็นตัวหนังสือ หนึ่งหมื่น

หนึ่งหมื่น

10,000เป็นจำนวนห้าหลัก

พัน ร้อย สิบ หน่วย พัน ร้อย สิบ หน่วย

หมื่น พัน ร้อย สิบ หน่วย

Page 7: คำนำacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002539_example.pdf · 12 1.3 จำนวนนับไม่เกิน 100,000 4 หมื่น กับ 8 พัน

12

1.3 จำนวนนับไม่เกิน 100,000

4 หมื่น กับ 8 พัน กับ 3 ร้อย กับ 2 สิบ กับ 5 หน่วย

เขียนเป็นตัวเลขฮินดูอารบิก 48,325

เขียนเป็นตัวเลขไทย ๔๘,๓๒๕

เขียนเป็นตัวหนังสือ สี่หมื่นแปดพันสามร้อยยี่สิบห้า

3 หมื่น กับ 2 พัน กับ

0 ร้อย กับ 7 สิบ กับ 6 หน่วย

9 หมื่น กับ 0 พัน กับ 1 ร้อย

กับ 0 สิบ กับ 1 หน่วย

32,076๓๒,๐๗๖

สามหมื่นสองพันเจ็ดสิบหก

ตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทยตัวหนังสือ

หมื่น พัน ร้อย สิบ หน่วยแสน

หมื่น พัน ร้อย สิบ หน่วยหมื่น พัน ร้อย สิบ หน่วย

90,101๙๐,๑๐๑

เก้าหมื่นหนึ่งร้อยเอ็ด

เลขโดด 0 ใช้ยึดตำแหน่งของหลักที่ไม่มีจำนวนต้องแสดง

13

1. เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือจากรูป ในแต่ละข้อ (ทำในสมุด)

1) 2)

3) 4)

5)

2. เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย หรือตัวหนังสือตามที่กำหนด ในแต่ละข้อ (ทำในสมุด)

1) หกหมื่นแปดพันเจ็ดร้อยห้าสิบ เป็นตัวเลขฮินดูอารบิก

2) สองหมื่นเก้าสิบสาม เป็นตัวเลขไทย

3) ๓,๕๒๘ เป็นตัวหนังสือ

4) 60,049 เป็นตัวหนังสือ

5) 18,705 เป็นตัวหนังสือ

หมื่น พัน ร้อย สิบ หน่วย หมื่น พัน ร้อย สิบ หน่วย

หมื่น พัน ร้อย สิบ หน่วย หมื่น พัน ร้อย สิบ หน่วย

หมื่น พัน ร้อย สิบ หน่วย

Page 8: คำนำacademic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1002539_example.pdf · 12 1.3 จำนวนนับไม่เกิน 100,000 4 หมื่น กับ 8 พัน

14 15

1.4จำนวนนับ100,000

จากรูป มีลูกคิด 9 ลูกในหลักหมื่น

เขียนเป็นตัวเลขฮินดูอารบิก 90,000

เขียนเป็นตัวเลขไทย ๙๐,๐๐๐

เขียนเป็นตัวหนังสือ เก้าหมื่น

ลูกคิดในหลักแสนมี 1 ลูก

เขียนเป็นตัวเลขฮินดูอารบิก 100,000

เขียนเป็นตัวเลขไทย ๑๐๐,๐๐๐

เขียนเป็นตัวหนังสือ หนึ่งแสน

หมื่น พัน ร้อย สิบ หน่วยแสน

หมื่น พัน ร้อย สิบ หน่วยแสน

หมื่น พัน ร้อย สิบ หน่วยแสน

เมื่อนำลูกคิดอีก 1 ลูก ใส่ลงในหลักหมื่น

จะได้ลูกคิดในหลักหมื่น 10 ลูก

10 หมื่น เท่ากับ 1 แสน

2. หลัก ค่าประจำหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก

2.1 หลักและค่าประจำหลัก

2.2ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก

หลัก หมื่น พัน ร้อย สิบ หน่วย

ค่าประจำหลัก 10,000 1,000 100 10 1

หมื่น พัน ร้อย สิบ หน่วย

3 สิบ กับ 1 หน่วย

3 ในหลักสิบ มีค่า 30

1 ในหลักหน่วย มีค่า 1

หลัก สิบ หน่วย

ค่าประจำหลัก 10 1

31 3 1

31 เป็นจำนวนสองหลัก