38
กฎหมายวาดวยทรัพยสิน - -

กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

  • Upload
    dnai

  • View
    82

  • Download
    10

Embed Size (px)

DESCRIPTION

สำหรับนักศึกษา มสธ.

Citation preview

Page 1: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน - ๑ -

Page 2: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

1

1.1 ความหมายและประเภทของทรัพยสิน

1.1.1 ความหมายของทรัพยและทรัพยสิน ■ ความหมายของทรัพย ป.พ.พ.มาตรา 137 มาตรา 137 ทรัพย หมายความวา วัตถุมีรูปราง ■ กระแสไฟฟาเปนทรัพย การลักกระแสไฟฟาจึงผิดฐานลักทรัพย ■ ความหมายของทรัพยสิน (Property) มาตรา 138 ทรัพยสิน หมายความรวมทั้งทรัพยและวัตถุไมมีรูปรางซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได

สิ่งตอไปนี้เปนทรัพยสิน

• สิทธิตามสัญญาเชา • สิทธิตามสัญญาเชาซื้อ

• หุน เช็ค

• สิทธิเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากผูทําละเมิด

• สิทธิคาเรียกรองชดเชย 1.1.2 ประเภทของทรัพยสิน

■ ป.พ.พ.ไดบัญญัติประเภทของทรัพยไวดังนี้ (มาตรา 139 ถึง มาตรา 143)

1. อสังหาริมทรัพย (ม.139) กับสังหาริมทรัพย (ม.140)

2. ทรัพยแบงได (ม.141) กับทรัพยแบงไมได (ม.142)

3. ทรัพยนอกพาณิชย (ม.143) กับทรัพยในพาณิชย ■ อสังหาริมทรัพย (Immovable property) มาตรา 139 อสังหาริมทรัพย หมายความวา ท่ีดินและทรัพยอันติดอยูกับที่ดินมีลักษณะเปนการถาวรหรือประกอบเปนอันเดียวกับที่ ดินนั้น และหมายความรวมถึงทรัพยสินอันเก่ียวกับที่ดิน หรือทรัพยอันติดอยูกับที่ดินหรือประกอบเปนอันเดียวกับที่ดินนั้นดวย ■ ท่ีดิน ตาม ป.ท่ีดิน หมายถึง พ้ืนที่ดินโดยทั่วไป และใหหมายรวมถึงภดิน ตาม ป.ท่ีดิน หมายถึง พ้ืนที่ดินโดยทั่วไป และใหหมายรวมถึงภูเขา หวย หนอง คลอง บึง ลําน้ํา ทะเลสาบ เกาะ และท่ีชายทะเลดวย

1. ความหมาย ประเภท และความสัมพนัธของทรัพยสิน

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน

Page 3: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

2

■ ทรัพยอันติดอยูกับที่ดิน มีลักษณะเปนการถาวร ซึ่งอาจจะเกิดตามธรรมชาติ หรือทําขึ้นภายหลังก็ได • ทรัพยถาวรตามธรรมชาติ – ไมยืนตน (อายุยืนกวา 3 ป) ตนพลู แตไมลมลุก ธัญชาติ ไมเปน

อสังหาริมทรัพย • ทรัพยท่ีมีผูนํามาติดกับที่ดินเปนการถาวร – บานเรือน ตึกแถว อาคารพาณิชย

■ ทรัพยท่ีประกอบเปนอันเดียวกับที่ดินนั้น หมายถึง ทรัพยท่ีรวมอยูกับเนื้อดินตามธรรมชาติ เชน กอนดิน กรวด หิน ทราย ถาสิ่งเหลานี้แยกขาดจากลักษณะที่ประกอบเปนอันเดียวกับที่ดิน ยอมกลายเปนอสังหาริมทรัพย ■ ทรัพยสิทธิอันเก่ียวกับที่ดิน หรือทรัพยอันติดอยูกับที่ดินหรือประกอบเปนอันเดียวกับที่ดินนั้น

• ทรัพยสิทธิอันเก่ียวกับที่ดิน – กรรมสิทธ์ิ สิทธิครอบครอง สิทธิจํานองและทรัพยสิทธิอ่ืนๆ ตามบรรพ 4 ไดแก ภาระจํายอม สิทธิอาศัย สิทธิเหนือพ้ืนดิน สิทธิเก็บกินและภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย

• ทรัพยสิทธิเก่ียวกับทรัพยอันติดอยูกับที่ดิน – บานเรือน ตึกแถว อาคารพาณิชย

สิ่งเหลานี้เปนอสังหาริมทรัพย • สิทธิครอบครองที่ดิน

• ภาระจํายอม ■ สังหาริมทรัพย (Movable property) มาตรา 140 สังหาริมทรัพย หมายความวา ทรัพยสินอ่ืนนอกจากอสังหาริมทรัพย และหมายความรวมถึงสิทธิอันเก่ียวกับทรัพยสินนั้นดวย

สิ่งเหลานี้เปนสังหาริมทรัพย • แผงลอย

• ดินหรือดินลูกรัง • เครื่องจักรโรงสี

■ ทรัพยแบงได (Divisible thing) มาตรา 141 ทรัพยแบงได หมายความวา ทรัพยอันอาจแยกออกจากกันเปนสวน ๆ ไดจริงถนัดชัดแจง แตละสวนไดรูปบริบูรณลําพังตัว ■ ทรัพยแบงไมได (Indivisible thing) มาตรา 142 ทรัพยแบงไมได หมายความวา ทรัพยอันจะแยกออกจากกันไมไดนอกจากเปลี่ยนแปลงภาวะของทรัพย และหมายความรวมถึงทรัพยท่ีมีกฎหมายบัญญัติวาแบงไมไดดวย ■ ทรัพยนอกพาณิชย (Thing outside of commerce) มาตรา 143 ทรัพยนอกพาณิชย หมายความวา ทรัพยท่ีไมสามารถถือเอาได และทรัพยท่ีโอนแกกันมิไดโดยชอบดวยกฎหมาย ■ ทรัพยท่ีไมสามารถถือเอาได หมายถึง สิ่งใดก็ตามที่ไมอาจถือเอาไดก็ยอมไมอยูในฐานะที่เปนทรัยพหรือทรัพยสิน เชน ดวงอาทิตย ดวงดาว กอนเมฆ

Page 4: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

3

■ ทรัพยท่ีโอนแกกันมิไดโดยชอบดวยกฎหมาย

• สาธารณสมบัติของแผนดิน

o ท่ีดินรกรางวางเปลา และท่ีดินซึ่งมีผูเวนคืนหรือทอดทิ้ง หรือกลับมาเปนของแผนดิน

o ทรัพยสินของพลเมืองใชรวมกัน เปนตนวา ท่ีชายตลิ่ง ทางน้ํา ทางหลวง ทะเลสาบ

o ทรัพยสินใชเพ่ือประโยชนของแผนดินโดยเฉพาะ ■ ทรัพยในพาณิชย (Thing in commerce) มิไดกลาวไวในบทกฎหมายใด แตอยางไรก็ตาม ทรัพยในพาณิชยก็หมายถึงทรัพยสินอ่ืนนอกจากทรัพยในพาณิชย ■ บางประเทศยังแบงประเภทของทรัพยสินออกเปน

• ทรัพยสวนรวม (Common things) – ทรัพยท่ีโดยสภาพไมมีผูใดเปนเจาของได • ทรัพยสาธารณะ (Public things)

o สาธารณสมบัติของแผนดิน

o ทรัพยสินของเอกชนที่อุทิศเพ่ือใหใชเปนสาธารณประโยชน • ทรัพยเอกชน (Private things)

1.2 ความสัมพันธของทรัพยสิน

1.2.1 สวนควบของทรัพย (Component) มาตรา 144 สวนควบของทรัพย หมายความวา สวนซึ่งโดยสภาพแหงทรัพยหรือโดยจารีตประเพณีแหงทองถ่ินเปนสาระสําคัญในความเปนอยูของทรัพยนั้น และไมอาจแยกจากกันไดนอกจากจะทําลาย ทําใหบุบสลาย หรือทําใหทรัพยนั้นเปลี่ยนแปลงรูปทรงหรือสภาพไป

เจาของทรัพยยอมมีกรรมสิทธ์ิในสวนควบของทรัพยนั้น

■ ในการพิจารณาวาสวนของทรัพยใดเปนสวนควบ ตองพิจารณวาเขาหลักเกณฑ

1. สวนควบตองเปนสาระสําคัญในความเปนอยูของทรัพยนั้น เชน เสา หลังคา ฝา ประตู เปนสวนควบของบาน

2. สวนควบตองไมอาจแยกจากกันได นอกจากจะทําลาย ทําใหบุบสลาย หรือทําใหทรัพยเปลี่ยนรูปทรงหรือสภาพไป

สิ่งเหลานี้โดยสภาพยอมเปนสาระสําคัญในความเปนอยูของทรัพย

• เรือน 3 หลังปลูกติดกัน ยอมเปนสาระสําคัญของบาน

• ตัวถัง กระบะ หรือลอ ยอมเปนสาระสําคัญของรถ

• บาน ยอมเปนสาระสําคัญของที่ดิน

• สิ่งปลูกสรางอยางอ่ืน ยอมเปนสาระสําคัญของที่ดิน

• ครัว ยอมเปนสาระสําคัญของที่ดิน

สิ่งเหลานี้ ไมเปนสวนควบ

• เรือนหลังใหมปลูกติดกับนอกชานเรือนหลังเดิม เรือนหลังใหมไมเปนสวนควบของเรือนหลังเดิม

• ฝาก้ันหอง ไมเปนสวนควบของอาคาร

• เครื่องปรับอากาศ ไมเปนสวนควบของอาคาร

Page 5: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

4

• เครี่องยนตสีขาวหรือเครื่องจักรโรงสี ไมเปนสวนควบของตัวโรงสี มาตรา 145 ไมยืนตนเปนสวนควบกับที่ดินที่ไมนั้นขึ้นอยู ไมลมลุกหรือธัญชาติอันจะเก็บเก่ียวรวงผลไดคราวหนึ่งหรือหลายคราวตอปไมเปนสวนควบกับที่ดิน

มาตรา 146 ทรัพยซึ่งติดกับที่ดินหรือติดกับโรงเรือนเพียงชั่วคราวไมถือวาเปนสวนควบกับที่ดินหรือโรงเรือนนั้น ความขอนี้ใหใชบังคับแกโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสรางอยางอ่ืน ซึ่งผูมีสิทธิในที่ดินของผูอ่ืนใชสิทธินั้นปลูกสรางไวในที่ดินนั้นดวย 1.2.2 อุปกรณของทรัพย (Accessory) มาตรา 147 อุปกรณ หมายความวา สังหาริมทรัพยซึ่งโดยปกตินิยมเฉพาะถ่ินหรือโดยเจตนาชัดแจงของเจาของทรัพยท่ีเปนประธาน เปนของใชประจําอยูกับทรัพยท่ีเปนประธานเปนอาจิณเพ่ือประโยชนแกการจัดดูแล ใชสอยหรือรักษาทรัพยท่ีเปนประธาน และเจาของทรัพยไดนํามาสูทรัพยท่ีเปนประธานโดยการนํามาติดตอหรือปรับเขาไว หรือทําโดยประการอื่นใดในฐานะเปนของใชประกอบกับทรัพยท่ีเปนประธานนั้น

อุปกรณท่ีแยกออกจากทรัพยท่ีเปนประธานเปนการชั่วคราวก็ยังไมขาดจากการเปนอุปกรณของทรัพยท่ีเปนประธานนั้น

อุปกรณยอมตกติดไปกับทรัพยท่ีเปนประธานเวนแตจะมีการกําหนดไวเปนอยางอ่ืน ■ ในการพิจารณาวาสวนของทรัพยใดเปนอุปกรณ ตองพิจารณวาเขาหลักเกณฑ

1. ใชกับทรัพยประธานเปนอาจิณ

2. เจาของทรัพยไดนําสูทรัพยท่ีเปนประธาน

สิ่งเหลานี้เปนอุปกรณของทรัพย • ยางอะไหลรถยนต เปนอุปกรณของตัวรถยนต • ลูกหีบออย เตาหมอน้ําและปลองเหล็กโรงงานนํ้าตาล เปนอุปกรณของโรงงานน้ําตาล

■ อุปกรณตองเปนประโยชนแกทรัพยประธาน ถาเปนประโยชนแกเจาของทรัพยหรือบุคคลอื่นก็ไมเปนอุปกรณ

• วิทยุรถยนตท่ีเจาของนํามาติด ไมเปนอุปกรณ • เครื่องทําความเย็นในบาน ไมเปนอุปกรณ • ชอไฟฟาแกวและทองเหลืองติดที่เพดาน ไมเปนอุปกรณ

■ ขอแตกตางระหวางสวนควบกับอุปกรณ สวนควบ อุปกรณ ความมุงหมาย มุงจะสงวนความมคีาของทรัพยที่รวมสภาพกันเพื่อ

ประโยชนของเจาของทรัพยที่มิใหผูอื่นเขามาอางสิทธิ มุงใหทรัพยที่เจาของประสงคจะโอนไป มีของใชประจําเพ่ือประโยชนแกทรัพยนั้น

การรวมสภาพของทรัพยสวนควบ

ทรัพยไมอาจแยกจากกันได นอกจากทําลายทําใหบุบสลาย

คงเอกภาพความเปนอยูตางหากจากทรัพยที่เปนประธาน

การเปนอสังหาริมทรัพยหรือสังหาริมทรัพย

เปนไดทั้งสังหาริมทรัพยหรืออสังหาริมทรัพย ตองเปนสังหาริมทรัพยเทานั้น

เจาของทรัพยคนเดียวหรือตางคนกัน

อาจเกิดจากการรวมตัวของทรัพยคนละเจาของก็ได เปนเรื่องของเจาของทรัพยที่เปนประธานนําอุปกรณมาใชประจํา

เจตนาของเจาของทรัพย ตองพิจารณาตามสภาพของทรัพย หรือโดยจารีตประเพณีวาเปนสาระสําคัญ

จะดูเจตนาของเจาของทรัพยที่เปนประธาน

ผลของกฎหมาย การโอนมีสวนควบยอมตกติดไปดวยเสมอ ถามิไดตกลงเปนอยางอื่น อุปกรณยอมตกติดไปกับทรัพยประธาน

Page 6: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

5

1.2.3 ดอกผลของทรัพย (Fruit) มาตรา 148 ดอกผลของทรัพย ไดแก ดอกผลธรรมดาและดอกผลนิตินัย

ดอกผลธรรมดา หมายความวา สิ่งท่ีเกิดขึ้นตามธรรมชาติของทรัพย ซึ่งไดมาจากตัวทรัพย โดยการมีหรือใชทรัพยนั้นตามปกตินิยม และสามารถถือเอาไดเม่ือขาดจากทรัพยนั้น

ดอกผลนิตินัย หมายความวา ทรัพยหรือประโยชนอยางอ่ืนที่ไดมาเปนครั้งคราวแกเจาของทรัพยจากผูอ่ืนเพ่ือการที่ไดใชทรัพยนั้น และสามารถคํานวณและถือเอาไดเปนรายวันหรือตามระยะเวลาที่กําหนดไว

สิ่งตอไปนี้เปนดอกผลนิตินัย

• ดอกเบี้ย ยอมตกเปนเจาของทรัพย • คาเชาเรือ ยอมตกเปนเจาของเรือ

• คาเชาสิ่งปลูกสราง • เงินคาประมูล

Page 7: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

6

2.1 บอเกิดและความหมายของทรัพยสิทธิและบุคคลสิทธิ

2.1.1 ความหมายของทรัพสิทธิและบุคคลสิทธิ

■ ทรัพยสิทธิ เปนสิทธิท่ีมีอยูตอบุคคลทั่วไป นักกฎหมายเยอรมันเรียกวา สิทธิเด็ดขาด (Absolute right) คือ สิทธิของบุคคลท่ีมีเหนือทรัพยสิน หรือเปนสิทธิของบุคคลที่มีวัตถุแหงสิทธิเปนทรัพยสิน จึงเปนสิทธิท่ีบังคับเอาจากทรัพยสินโดยตรงและใชตอสูกับบุคคลไดท่ัวไป ■ บุคคลสิทธิ เปนสิทธิท่ีมีตอบุคคลเฉพาะตัว นักกฎหมายเยอรมันเรียกวา สิทธิสัมพัทธ (Relative right) มีความหมายเชนเดียวกับสิทธิเรียกรอง (Claim) หรือสิทธิทางหนี้ (Obligatory) ■ บุคคลสิทธิหรือสิทธิเรียกรองทางหนี้มีบอเกิดแหงสิทธิ 5 ประการ

1. โดยนิติกรรมสัญญา 2. ละเมิด

3. จัดการงานนอกสั่ง 4. ลาภมิควรได 5. บทบัญญัติอ่ืนๆ ของกฎหมาย เชน กฎหมายลักษณะครอบครัว ประมวลรัษฎากร

■ ขอแตกตางระหวางทรัพยสิทธิและบุคคลสิทธิ ทรัพยสิทธิ บุคคลสิทธิ

1. วัตถุแหงสิทธิ สิทธิที่มีอยูเหนือทรัพยสิน โดยมีทรัพยสินเปนวัตถุแหงสิทธิ

เปนสิทธิที่มีอยูเหนอืบุคคล โดยมีวัตถแุหงสิทธิเปฯการกระทํา งดเวนการกระทาํ หรอืสงมอบทรัพยสิน

2. ลักษณะแหงสิทธิ สามารถใชอํานาจแหงสิทธิยันตอบุคคลไดทั่วไป เรียกวาเปนสทิธิเดด็ขาด

เปนสิทธิเรียกรอง ไดเฉพาะบุคคลผูเปนลูกหนี้แหงสิทธิจึงเปนสิทธิสัมพันธ

3. ลักษณะแหงหนาที ่ กอใหเกิดหนาที่ตอบุคคลทั่วไป ไมใชหนาที่โดยเฉพาะเจาะจง และจะเปนหนาที่ในการงดเวน

กอใหเกิดหนาที่แกลูกหนี้โดยเฉพาะเจาะจงและแนนอน

4. การบังคับใชสิทธิ เปนสิทธิเหนือทรัพย ผูทรงสิทธ์ิจึงสามารถใชสิทธิไดดวยตนเองโดยตรง ไมจําเปนตองขอใชสิทธินั้นๆ ผานทางศาล

เปนสิทธิที่ตองใชบังคับบุคคลอีกคนหนึ่ง การใชสิทธิจึงตองใชสิทธิผานทางศาลทีม่ีอํานาจวินิจฉัย

5. อายุความแหงสทิธิ เปนสิทธิที่มีแตอายุความไดสิทธิ (ยกเวนภาระจํายอม ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพยที่จะสิน้ไปเมื่อไมใชสิทธิ)

ไมมีอายุความเสียสิทธิ มีแตเมื่อผูทรงสิทธิไมใชสิทธิทางศาลภายในกําหนดก็จะเสียสิทธิ เรียกวาสทิธิเรียกรองขาดอายุความ

6. บอเกิดแหงสิทธิ สามารถกอตั้งไดแตดวยอํานาจตามกฎหมาย สามารถกอตั้งไดดวยอาศัยนิติกรรมหรือนิติเหตุหรือโดยบทบัญญัติของกฎหมาย

2.1.2 บอเกิดของทรัพยสิทธิและบุคคลสิทธิ ■ บอเกิดของทรัพยสิทธิ มาตรา 1298 ทรัพยสินทั้งหลายนั้น ทานวาจะกอตั้งขึ้นไดแตดวยอาศัยอํานาจในประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่น ■ กฎหมายหามมิใหบุคคลกอตั้งทรัพยสิทธิอ่ืนนอกเหนือกฎหมายกําหนดไว

2. สภาพของทรัพยสิทธิและบุคคลสิทธ ิ

Page 8: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

7

■ ถามีการตกลงกันกอตั้งทรัพยสิทธิรูปแบบใหมหรือมิไดปฏิบัติตามกฎหมายกําหนดไวในการกอตั้ง ไดแกการทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาท่ี ก็จะไมมีผลเปนทรัพยสิทธิ ไมมีผลบังคับตอบุคคลทั่วไป แตอาจมีผลเปนเพียงบุคคลสิทธิ มีผลผูกพันระหวางคูกรณี ■ บุคคลสิทธิมีแนวความคิดมาจากระบบ civil law ของกฎหมายโรมัน จึงมีบอเกิดแหงสิทธิหรือมูลแหงสิทธิเชนเดียวกับกฎหมายโรมัน ■ อายุความ (Prescription) ในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย แบงไดเปน อายุความไดสิทธิ (Acguisitive prescription) และ อายุความเสียสิทธิ (Extinctive prescription) มาตรา 149 นิติกรรม หมายความวา การใด ๆ อันทําลงโดยชอบดวยกฎหมายและดวยใจสมัคร มุงโดยตรงตอการผูกนิติสัมพันธขึ้นระหวางบุคคลเพื่อจะกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ ■ นิติกรรมสามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภท

1. นิติกรรมฝายเดียว

2. นิติกรรมสองฝายหรือสัญญา มาตรา 420 ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอ ทําตอบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตก็ดี แกรางกายก็ดี อนามัยก็ดีเสรีภาพก็ดี ทรัพยสินหรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใดก็ดี ทานวาผูนั้นทําละเมิดจําตองใชคาสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น ■ หลักเกณฑการละเมิด

1. มีการกระทําโดยผิดกฎหมาย

2. เปนการกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอ

3. มีความเสียหายแกบุคคลอื่น

4. ความเสียหายนั้นเปนผลจากการกระทําของผูละเมิด ■ จัดการงานนอกสั่ง หมายถึง การเขาทํากิจการของผูอ่ืน โดยเขามิไดวาขานวานใหทํา หรือมิไดมีสิทธิท่ีจะทําการงานนั้นแทนเขา กิจการที่ทํานี้จะเปนนิติกรรมหรือไมใชนิติกรรมก็ได มาตรา 395 บุคคลใดเขาทํากิจการแทนผูอ่ืนโดยเขามิไดวาขานวานใชใหทําก็ดี หรือโดยมิไดมีสิทธิท่ีจะทําการงานนั้นแทนผูอ่ืนดวยประการใดก็ดี ทานวาบุคคลนั้นจะตองจัดการงานไปในทางที่จะใหสมประโยชนของตัวการ ตามความประสงคอันแทจริงของตัวการ หรือตามที่จะพึงสันนิษฐานไดวาเปนความประสงคของตัวการ ■ ลาภมิควรได หมายความถึง การท่ีบุคคลใดไดทรัพยสินมาในลักษณะเปนลาภงอกขึ้นโดยไมมีสิทธิตามกฎหมายและเปนการทําใหบุคคลอีกคนหนึ่งเสียเปรียบ บุคคลนั้นตองคืนทรัพยสินใหแกผูเสียเปรียบ มาตรา 406 บุคคลใดไดมาซึ่งทรัพยสิ่งใด เพราะการที่บุคคลอีกคนหนึ่งกระทําเพ่ือชําระหนี้ก็ดี หรือไดมาดวยประการอื่นก็ดี โดยปราศจากมูลอันจะอางกฎหมายได และเปนทางใหบุคคลอีกคนหนึ่งนั้นเสียเปรียบไซรทานวาบุคคลนั้นจําตองคืนทรัพยใหแกเขา อนึ่งการรับสภาพหนี้สินวามีอยูหรือหาไมนั้น ทานก็ใหถือวาเปนการกระทําเพ่ือชําระหนี้ดวย

บทบัญญัติอันนี้ทานใหใชบังคับตลอดถึงกรณีท่ีไดทรัพยมา เพราะเหตุอยางใดอยางหนึ่งซึ่งมิไดมีไดเปนขึ้น หรือเปนเหตุท่ีไดสิ้นสุดไปเสียกอนแลวนั้นดวย

Page 9: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

8

2.2 ประเภทของทรัพยสิทธิ

2.2.1 ทรัพยสิทธิประเภทกรรมสิทธ์ิ ■ กรรมสิทธ์ิ มาตรา 1336 ภายในบังคับแหงกฎหมาย เจาของทรัพยสินมีสิทธิใชสอยและจําหนายทรัพยสินของตนและไดซึ่งดอกผลแหงทรัพยสินนั้นกับทั้งมีสิทธิติดตามและเอาคืนซึ่งทรัพยสินของตนจากบุคคลผูไมมีสิทธิจะยึดถือไว และมีสิทธิขัดขวางมิใหผูอ่ืนสอดเขาเก่ียวของกับทรัพยสินนั้นโดยมิชอบดวยกฎหมาย ■ เจาของทรัพยสินมีสิทธิ

• ใชสอยทรัพยสินนั้น

• จําหนายทรัพยสินนั้น

• ไดซึ่งดอกผลในทรัพยสินนั้น

• ติดตามและเอาคืนซึ่งทรัพยสินของตนจากบุคคลผูไมมีสิทธิจะยึดถือไว ■ สิทธิครอบครอง แบงได 2 ประเภทคือ

1. สิทธิครอบครองที่ผูทรงสิทธิไมไดเปนเจาของทรัพยสิน

2. สิทธิครอบครองที่ผูทรงสิทธิเปนเจาของทรัพยสิน ■ ในการใชสิทธิติดตามเอาทรัพยสินนั้นคืนจากผูไมมีสิทธิจะยึดถือไว แตการติดตามเอาคืนโดยไมตองฟองรองตอศาลนี้ จะตองเปนกรณีท่ีไมไดมีผูใดโตแยงสิทธินั้นอยู ถามีผูโตแยงสิทธิวาเขายึดถือทรัพยสินนั้นโดยชอบ เจาของจะติดตามเอาคืนโดยไมฟองรองตอศาลไมได กรณีนี้จะตองใชสิทธิทางศาลเพ่ือเอาคืนทรัพยสินนั้น ■ สิทธิขัดขวางเปนเรื่องท่ีเจาของทรัพยสินใชสิทธิเหนือทรัพยสินในการขัดขวางไมใหผูอ่ืนเอาทรัพยสินของตนไป แตสิทธิขัดขวางนี้โดยสภาพเจาของทรัพยสินตองมีการครอบครองสินทรัพยอยู หากไมมีการครอบครองก็จะมีสิทธิขัดขวางไมได จะมีก็แตสิทธิติดตามเอาคืน ■ ลิขสิทธ์ิ เปนทรัพยสิทธิซึ่งกฎหมายรับรองและคุมครองให ซึ่ง พ.ร.บ.ลิขสิทธ์ิ พ.ศ.2537 ไดกําหนดใหลิขสิทธ์ิเปนสิทธิเด็ดขาด หรือสิทธิแตเพียงผูเดียวของเจาของลิขสิทธ์ิท่ีจะ

1. ทําซ้ําหรือดัดแปลง 2. เผยแพรตอสาธารณชน

3. ใหเชาตนฉบับหรือสําเนางานโปรแกรมคอมพิวเตอร โสตทัศนวัสดุ ภาพยนต และสิ่งบันทึกเสียง 4. ใหประโยชนอันเกิดจากลิขสิทธ์ิแกผูอ่ืน

5. ตลอดจนอนุญาตใหผูอ่ืนใหสิทธิตาม (1) (2) (3) โดยจะกําหนดเงื่อนไขอยางใดหรือไมก็ได ■ สิทธิบัตร (Patent) เปนหนังสือสําคัญที่ออกใหเพ่ือคุมครองการประดิษฐหรือการออกแบบผลิตภัณฑ ตามที่กําหนดโดยบทแหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ.2522 ■ สิ่งท่ีจะไดรับความคุมครองตามกฎหมายสิทธิบัติ

1. การประดิษฐ (Inventions)

a. ประดิษฐขึ้นใหม หรือมีขั้นการประดิษฐสูงขึ้น

b. สามารถประยุกตใชในทางอุตสาหกรรม

Page 10: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

9

2. การออกแบบผลิตภัณฑ (Product designs)

a. การออกแบบผลิตภัณฑใหม b. เพ่ืออุตสาหกรรมหรือหัตถกรรม

■ สิ่งท่ีไมอาจขอรับสิทธิบัตร ไดแก

1. สัตว พืช จุลชีพท่ีเกิดตามธรรมชาติ 2. โปรแกรมคอมพิวเตอร 3. วิธีการวินิจฉัย บําบัด รักษาโรคมนุษยหรือสัตว

■ เครื่องหมายการคา (Trademark) ผูท่ีไดจดทะเบียนจึงเปนผูทรงสิทธิเด็ดขาดแตเพียงผูเดียว 2.2.2 ทรัพยสิทธิประเภทตัดทอนกรรมสิทธ์ิ ■ ทรัพยสิทธิประเภทตัดทอนกรรมสิทธ์ิ ไดแก

• ภาระจํายอม

• สิทธิอาศัยในโรงเรือน

• สิทธิเหนือพ้ืนดิน

• สิทธิเก็บกิน

• ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย • สิทธิจํานอง • สิทธิจํานํา • สิทธิยึดหนวง • บุริมสิทธิ

■ ทรัพยสินที่จะจํานองกันไดมี 2 ประเภทคือ

1. อสังหาริมทรัพย ไดแก ท่ีดินและทรัพยอันติดอยูกับที่ดินเปนการถาวร

2. สังหาริมทรัพยพิเศษ

เรือกําปน หรือเรือระวางตั้งแตหกตันขึ้นไป เรือกลไฟ เรือยนต มีระวางตั้งแตหาตันขึ้นไป

แพ

สัตวพาหนะ

สังหาริมทรัพยอ่ืนๆ ท่ีกฎหมายบัญญัติ ■ สิทธิจํานําตางจากสิทธิจํานองคือ

สิทธิจํานอง สิทธิจํานํา เปนทรัพยสิทธิประเภทตัดทอนกรรมสิทธ์ิในอสังหาริมทรัพยหรือสังหาริมทรัพยบางอยาง

เปนทรัพยสิทธิประเภทตัดทอนกรรมสิทธ์ิในสังหาริมทรัพยทุกชนิด

ผูจํานองไมตองสงมอบทรัพยสินที่จํานองใหแกผูรับจํานอง ผูจํานําตองสงมอบทรัพยสินที่จํานําใหแกผูรับจํานํา ตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาท่ี กระทําดวยการสงมอบทรัพยสิน การบังคับจํานอง ตองฟองศาลสั่งใหขายทอดตลาดหรือเอาทรัพยสินหลุด

การบังคับจํานํา ผูจํานํามีสิทธิเอาขายทอดตลาดไดโดยไมตองฟองศาล แตจะเอาหลุดเปนสิทธิเหมือนจํานองไมได

Page 11: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

10

■ สิทธิยึดหนวง เปนสิทธิของเจาหนี้ในอันที่ครอบครองทรัพยสินของผูอ่ืนไวเปนประกันหนี้เก่ียวกับทรัพยสินนั้น มีหลักเกณฑ 2 ประการคือ

1. เจาหนี้ครอบครองทรัพยสินของผูอ่ืนดวยชอบดวยกฎหมาย

2. ตองมีหนาท่ีเก่ียวกับทรัพยสินที่ครอบครอง ■ สิทธิยึดหนวง ไดแก

• สิทธิของผูขายในสัญญาซื้อขาย

• สิทธิของผูซื้อในสัญญาซื้อขาย

• สิทธิของผูวาจางในสัญญาจางทําของ • สิทธิของผูขนสงในสัญญารับขน

• สิทธิของเจาสํานักโรงแรมในสัญญาฝากทรัพย • สิทธิของตัวแทนในสัญญาตัวแทน

■ บุริมสิทธิ คือ สิทธิของเจาหนี้ท่ีจะไดรับชําระหนี้จากทรัพยสินของลูกหนี้กอนเจาหนี้คนอื่นๆ ■ บุริมสิทธิสามัญ ตาม ปพพ.ม.๒๕๓ บัญญัติวา ถามีอยูมีอยูเปนคุณแกบุคคลใดในมูลอยางหนึ่งอยางใดดังจะกลาวตอไปนี้ บุคคลนั้นยอมมีบุริมสิทธิเหนือทรัพยสินทั้งหมดของลูกหนี ้

1. คาใชจาเพ่ือประโยชนอันรวมกัน

2. คาปลงศพ

3. คาภาษีอากร

4. เงินที่ลูกจางมีสิทธิไดรับเพ่ือการงานที่ไดทําใหแกลูกหนี้ซึ่งเปนนายจาง 5. คาเครื่องอุปโภคบริโภคอันจําเปนประจําวัน

6. บุริมสิทธิของผูอยูในปกครอง ■ บุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย ตาม ปพพ.ม.๒๕๙ บัญญัติวา ถาหนี้มีอยูเปนคุณแกบุคคลผูใดในมูลอยางหนึ่งอยางใด บุคคลผูนั้นยอมมีบุริมสิทธิเหนือสังหาริมทรัพยเฉพาะอยางของลูกหนี้คือ

1. เชาอสังหาริมทรัพย 2. พักอาศัยในโรงแรม

3. รับขนคนโดยสารหรือของ 4. รักษาสังหาริมทรัพย 5. ซื้อขายสังหาริมทรัพย 6. คาเมล็ดพันธุ ไมพันธุ หรือปุย

7. คาแรงงานกสิกรรม หรืออุตสาหกรรม ■ บุริมสิทธิพิเศษเหนือสังหาริมทรัพย ตาม ปพพ.ม.๒๗๓ บัญญัติวา ถาหนี้มีอยูเปนคุณแกบุคคลผูใดในมูลอยางหนึ่งอยางใด บุคคลผูนั้นยอมมีบุริมสิทธิเหนืออสังหาริมทรัพยเฉพาะอยางของลูกหนี้คือ

1. รักษาอสังหาริมทรัพย 2. จางทําของเปนการงานขึ้นบนอสังหาริมทรัพย 3. ซื้อขายอสังหาริมทรัพย

Page 12: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

11

2.3 การทรงทรพัยสิทธิและการสิ้นไปของทรพัยสิทธิ

2.3.1 ลักษณะทั่วไปของการเปนผูทรงทรัพยสิทธิ ■ การทรงทรัพยสิทธิ หมายถึง การแสดงออกความเปนเจาของทรัพยสิทธินั้นๆ ท่ีตองใชคําวา “การทรง” หรือ “ผูทรง” ก็เพราะเหตุวาถาจะใชคําวา “ความเปนเจาของ” ความหมายจะครอบคลุมเฉพาะเรื่องกรรมสิทธ์ิ เพราะกรรมสิทธ์ิคือความเปนเจาของทรัพยสิน แตการที่บุคคลเปนเจาของทรัพยสิทธินั้นมิไดหมายความวา บุคคลนั้นเปนเจาของทรัพยสิน

ดังนั้น การทรงทรัพยสิทธิจึงมีความหมายครอบคลุมเพราะหมายถึงการแสดงสิทธิในทรัพยสิทธิทุกชนิด ■ ในสมัยโบราณบุคคลจะไดอสังหาริมทรัพยจึงตองไดมาเพราะพระมหากษัตริย การยอมใหมีการซื้อขายที่ดินจึงมีในสมัยอยุธยา ปรากฎอยูในพระอัยการเบ็ดเสร็จ เรื่อง หลักฐานการซื้อขาย หากไมมีก็ไมอาจฟองรองกันได และพัฒนามาเปนพระราชบัญญัติขายฝากและการจํานําท่ีดิน ร.ศ.115 (พ.ศ.2493) 2.3.2 การทรงทรัพยสิทธิในสังหาริมทรัพย ■ สังหาริมทรัพยแบงออกเปน 2 ประเภทคือ

1. สังหาริมทรัพยท่ีตองจดทะเบียนนิติกรรมการโอน

a. เรือกําปน หรือเรือมีระวางหกตันขึ้นไป เรือกลไป หรือเรือยนตระวางหาตันขึ้นไป

b. แพ

c. สัตวพาหนะ

d. เครื่องจักรบางชนิดที่มีกฎหมายกําหนดใหจดทะเบียนจํานอง 2. สังหาริมทรัพยท่ีไมตองจดทะเบียนนิติกรรมการโอน

■ ผลของการไมปฏิบัติตามแบบ ใชยันแกบุคคลทั่วไปไมไดเพราะไมอยูในฐานะเปนทรัพยสิทธิ ■ เครื่องหมายการคา ลิขสิทธ์ิ สิทธิบัตร เครื่องหมายการคา ลิขสิทธ์ิ สิทธิบัตร การไดมา ตองจดทะเบียน ไมจําเปน แตตองอยูในเง่ือนไข ขอรับสิทธิบัตรและจดทะเบียน

การโอนการเปลี่ยนแปลงหรือระงับ ตองจดทะเบียน ตองทําเปนหนังสือ ไมจําเปนตองจดทะเบียน

ตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียน

2.3.3 การทรงทรัพยสิทธิในอสังหาริมทรัพย ■ อสังหาริมทรัพยท่ีมีการไดมาโดยทางนิติกรรม ตองแสดงออกโดยทางทะเบียนและตองทําเปนหนังสือ ■ อสังหาริมทรัพยท่ีไดมาโดยทางอื่นนอกจากนิติกรรม หากมิไดจดทะเบียนการไดมา จะโอนหรือเปลี่ยนแปลงประการใดไมได

Page 13: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

12

2.3.4 การสิ้นไปของทรัพยสิทธิ ■ การสิ้นไปของทรัพยสิทธิ

1. การสิ้นไปโดยสภาพธรรมชาติ a. สิ้นไปโดยธรรมชาติของทรัพยนั้น

b. ถูกทําใหสูญสลาย

c. โดยการเปลี่ยนแปลงสภาพเดิม

2. การสิ้นไปโดยผลแหงเจตนาของผูทรง 3. การสิ้นไปโดยผลของกฎหมาย

Page 14: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

13

3. กรรมสิทธิ์และกรรมสิทธิ์รวม

3.1 กรรมสิทธ

■ กรรมสิทธ์ิ (Ownership) มีลักษณะสําคัญ 7 ประการคือ

1. กรรมสิทธ์ิเปนสิทธิท่ีกฎหมายใหอํานาจบุคคลมีอยูเหนือทรัพยสิน

2. เปนที่ประชุมแหงสิทธิท้ังปวง 3. เปนทรัพยสิทธิชนิดหนึ่งท่ีมีอํานาจเหนือกวาทรัพยสิทธิอ่ืนๆ

4. เปนสิทธิท่ีมีตัวทรัพยเปนวัตถุแหงสิทธิ

5. เปนสิทธิเด็ดขาด

6. เปนสิทธิท่ีกอใหเกิดอํานาจหวงกันไวโดยเฉพาะ ■ กรรมสิทธ์ิเปนสิทธิท่ีมีตัวทรัพยเปนวัตถุแหงสิทธิ มีไดเฉพาะทรัพยสินอันเปนวัตถุท่ีมีรูปรางเทานั้น ทรัพยสินทางปญญาที่ไมมีรูปราง ผูทรงสิทธ์ิหามีกรรมสิทธ์ิไม จึงไมอาจใชอํานาจแหงกรรมสิทธ์ิตาม ป.พ.พ.ม. 1336 ได มาตรา 1336 ภายในบังคับแหงกฎหมาย เจาของทรัพยสินมีสิทธิใชสอยและจําหนายทรัพยสินของตนและไดซึ่งดอกผลแหงทรัพยสินนั้นกับทั้งมีสิทธิติดตามและเอาคืนซึ่งทรัพยสินของตนจากบุคคลผูไมมีสิทธิจะยึดถือไว และมีสิทธิขัดขวางมิใหผูอ่ืนสอดเขาเก่ียวของกับทรัพยสินนั้นโดยมิชอบดวยกฎหมาย ■ ม.1336 บัญญัติใหเจาของกรรมสิทธ์ิมีสิทธิ 5 ประการคือ

1. ใชสอยทรัพยสิน

2. จําหนายทรัพยสิน

3. ไดดอกผลแหงทรัพยสิน

4. ติดตามและเอาคืนจากผูไมมีสิทธิยึดถือไว 5. ขัดขวางมิใหผูอ่ืนสอดเขาเก่ียวของกับทรัพยสินนั้นโดยมิชอบดวยกฎหมาย

■ สิทธิในการจําหนาย หมายความรวมถึงสิทธิท้ัง 4 ประเภท ดังตอไปนี ้

1. โอนกรรมสิทธ์ิท้ังหมดหรือแตเพียงบางสวนใหแกผูอ่ืนไป

a. โอนตามสัญญาซื้อขาย (ม.453)

b. แลกเปลี่ยน (ม.518)

c. ให (ม.521)

2. โอนสิทธิอยางใดอยางหนึ่งในกรรมสิทธ์ินั้นใหแกผูอ่ืน

a. เชาทรัพย (ม.537)

b. เชาซื้อ (ม.572)

c. ยืมใชคงรูป (ม.640)

d. ฝากทรัพย (ม.657)

3. ทําใหสภาวะของทรัพยนั้นสิ้นไป

4. ทําใหสภาวะเดิมของทรัพยนั้นเปลี่ยนแปลงไปเปนทรัพยอยางใหมไมวาจะทําใหกลับสูสภาพเดิมไดหรือไมก็ตาม ■ อุทาหรณ สิทธิติดตามและเอาคืนซึ่งทรัพยสินนั้นจากผูไมมีสิทธ์ิจะยึดถือไว ตาม ม.1336

• ทรัพยสินถูกยักยอก ติดตามคืนได

Page 15: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

14

• ทรัพยสินถูกฉอโกง ติดตามคืนได • ทรัพยสินที่ยังไมเจตนาสละสิทธ์ิ (ม.1319) ติดตามคืนได • เบิกเงินเกินกวาจํานวนที่ฝากไว ธนาคารติดตามคืนได • โอนเงินเขาบัญชีโดยสําคัญผิด ติดตามคืนได • ยอมท้ิงรถและเอกสารการซื้อรถใหดวยความเกรงใจ เม่ือกลับใจก็ยอมมีสิทธิติดตามคืนได • ไถท่ีดินตามสัญญาขายฝากแลว แมยังไมจดทะเบียน ติดตามคืนได • เสียคาไถทรัพยโดยสําคัญผิด

■ เจาของทรัพยสินยอมมีสิทธิติดตามและเอาคืนซึ่งทรัพยสินของตนจากบุคคลผูไมมีสิทธิจะยึดถือไวตาม ม.1336 ไดเสมอ โดยไมมีอายุความ เวนแตจะตองดวยขอยกเวนหลักผูรับโอนไมมีสิทธิดีกวาผูโอน หรือถูกตัดกรรมสิทธ์ิในกรณีตางๆ ■ สิทธิติดตามและเอาคืนซึ่งทรัพยสินของตนจากบุคคลผูไมมีสิทธิจะยึดถือไว จะตองฟองรองตอผูท่ียึดถือทรัพยสินไวเทานั้น หากผูนั้นโอนไปใหบุคคลอื่นโดยสุจริต ก็ไมตองชดใชราคา หรือหากทรัพยสินนั้นบุบสลายหรือสูญหายไป โดยที่มิไดจงใจหรือประมาทเลินเลอ ก็ไมตองรับผิดตอเจาของทรัพยนั้นอยางใด หาก บุคคลผูไมมีสิทธิจะยึดถือไว ไดโอนขายทรัพยนั้นแลวนําเงินไปซื้อทรัพยอ่ืนมา ทรัพยใหมยอมเปนกรรมสิทธ์ิของบุคคลนั้นมิใชเจาของทรัพยเดิม สวนจะเรียกคาเสียหายไดหรือไมนั้น จะตองพิจารณาวาดวยเรื่องละเมิด ■ การคืนทรัพยสินใหแกเจาของกรรมสิทธ์ินั้น หากบุคคลผูไมมีสิทธิจะยึดถือทรัพยสินนั้น ไดรับโอนมาโดยสุจริต ก็ไมมีหนาท่ีท่ีจะตองชําระคาใชจายตางๆ ในการโอนทรัพยสินนั้นคืน ■ สิทธิติดตามและเอาคืน ซึ่งทรัพยสินของตนจากบุคคลผูไมมีสิทธิจะยึดถือไว หากผูยึดถือไวนั้นโตแยงสิทธิไมยอมคืนให จะตองใชสิทธิฟองรองตอศาลเทานั้น จะใชกําลังเพ่ือเอาคืนโดยพลการไมได อาจเปนความผิดทางอาญา มาตรา 1335 ภายในบังคับแหงบทบัญญัติในประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่น ทานวาแดนแหงกรรมสิทธ์ิท่ีดินนั้นกินทั้งเหนือพนพ้ืนดินและใตพ้ืนดินดวย ■ แดนกรรมสิทธ์ิ มีไดเฉพาะกับทรัพยสินที่เปนที่ดินเทานั้น อสังหาริม ทรัพยอยางอ่ืน รวมทั้งสังหาริมทรัพยอาจหามีแดนกรรมสิทธ์ิไม

• การที่จะมีแดนกรรมสิทธ์ิ จะตองมีกรรมสิทธ์ิในที่ดินนั้นเสียกอน

• ครอบครองกรรมสิทธ์ิเหนือพนพ้ืนดิน แมจะนานเทาใด ก็ไมอาจครอบครองปรปกษได ■ เขตแหงแดนกรรมสิทธ์ิครอบคลุมพ้ืนที่ 3 บริเวณ

1. บนพื้นดิน

2. เหนือพนพ้ืนดิน

3. ใตพ้ืนดินนั้น มาตรา 1337 บุคคลใดใชสิทธิของตนเปนเหตุใหเจาของอสังหาริมทรัพยไดรับความเสียหาย หรือเดือดรอนเกินที่ควรคิดหรือคาดหมายไดวาจะเปนไปตามปกติและเหตุอันควรในเมื่อเอาสภาพและตําแหนงท่ีอยูแหงทรัพยสินนั้นมาคํานึงประกอบไซร ทานวาเจาของอสังหาริมทรัพยมีสิทธิจะปฏิบัติการเพ่ือยังความเสียหายหรือเดือดรอนนั้นใหสิ้นไปทั้งนี้ไมลบลางสิทธิท่ีจะเรียกเอาคาทดแทน ■ เหตุเดือนรอนรําคาญ คือ เหตุท่ีทําใหเจาของอสังหาริมทรัพยไดรับความเสียหาย หรือเดือนรอนเกินที่ควรคาดคิดหรือคาดหมายไดวาจะเปนไปตามปกติและเหตุอันควร ในเมื่อเอาสภาพและตําแหนงท่ีอยูแหงทรัพยนั้นมาคํานึงประกอบ ■ อุทาหรณ เหตุเดือนรอนรําคาญ

Page 16: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

15

• การปลูกสรางอาคารบังแสงสวางและทางลม

• ทําคันดินหรือพนังก้ันน้ํา น้ําไหลระบายไมได • สรางฝายและขุดลําเหมือง ทําใหรายอื่นไดน้ํานอยกวาปกติ • ปลูกตนไมขวางทางเขาออก

• ทํากันสาดชิดรั้วบาน น้ํากระเซ็นใสท่ีดินและบานผูอ่ืน

• จอดแพในคลอง หนาท่ีดินผูอ่ืน

• ทําหลุมฝงศพผูตายในที่ดินของตน กอใหเกิดความหวาดกลัว ■ เกณฑการพิจารณาวาจะเปนเหตุเดือดรอนรําคาญตาม ม.1337 หรือไมจะตองประกอบดวยสาระสําคัญ 2 ประการ

1. ตองเปนความเสียหายหรือเดือดรอนเกินที่ควรคิดหรือคาดหมายไดวาจะเปนไปตามปกติและเหตุอันควร

2. ตองคํานึงถึงสภาพและตําแหนงท่ีอยูแหงทรัพยสินนั้น ■ การพิจารณาถือระดับของความเสียหายหรือเดือดรอนวาจะเกินที่ควรคาดคิดหรือคาดหมาย ตองถือตาม “ความรูสึกของบุคคลธรรมดา” เปนเกณฑ ■ แมจะอยูในสภาพเดียวกัน แตตําแหนงความใกลไกลของการตั้งอยูของทรัพยสินนั้น ก็ยอมเปนผลตอการพิจารณาวาความเสียหายนั้นจะเกินกวาท่ีควรคิดหรือคาดหมายได

• ปลูกเรือนที่คันคลองสาธารณะ หนาท่ีดิน แตหนาท่ีดินไมมีสิ่งใดปดบังถึง 100 เมตร ไมถือเปนเหตุเดือดรอนรําคาญ

• จอดเรือในคลอง หางเขตที่ดิน 18 เมตร ไมถือเปนเหตุเดือดรอนรําคาญ

• กําแพงถนนไมไดปดบังหนาบาน และอยูหาง 3 เมตร ไมถือเปนเหตุเดือนรอนรําคาญ ■ หากเปนกรณีปดบังดานริมคลอง แมจะไมปดบังดานถนนหลวง จะอางวามีทางอ่ืนออกสูสาธารณะแลวไมได เพราะมิใชกรณีทางจําเปน ตาม ม.1349 เม่ือปดบังดานริมคลองและไมมีทางอ่ืนออกสูคลองได ก็ถือเปนเหตุเดือดรอนรําคาญ ■ ม.1337 คุมครองสิทธิเจาของแปลง จะอางวาผูเสียหายสามารถใชท่ีดินแปลงท่ีอยูติดกันของผูเสียหายเองไดอยูแลวไมได ยังคงถือเปนเหตุเดือดรอนรําคาญ ■ การปลูกสรางผิดเทศบัญญัติหาใชวาจะตองเปนเหตุเดือดรอนรําคาญ ตาม ม.1337 เสมอไปไม ■ การอางเหตุตอไปนี้ เปนขอแกตัวเพ่ือไมตองปฏิบัติตาม ม.1337 ไมได

1. จะอางวากระทําการโดยสุจริตไมได 2. จะอางกระทําเพ่ือประโยชนตอสาธารณชนไมได 3. จะอางวากระทําไปโดยมิไดจงใจหรือประมาทเลินเลอไมได 4. จะอางวามิไดใชสิทธิซึ่งมีแตจะกอใหเกิดความเสียหายแกบุคคลอื่น จึงไมเปนเหตุเดือดรอนรําคาญไม 5. จะอางวาทางราชการอนุญาตใหกระทําไดแลวไมได 6. จะอางวาผูเสียหายเคยอนุญาตใหกอสรางแลวไมได เพราะเปนเพียงการอนุญาต มิไดยินยอมใหกอความเสียหาย

7. จะอางวาไดกระทํามากอนเปนปกติอยูแลว เจาของมาอยูใหม เปนการมาหาความเดือดรอนรําคาญเองไมได 8. จะอางวาผูอ่ืนกระทําผิดตอบทบัญญัติแหงกฎหมายอ่ืนกอน จึงยกเปนเหตุกอความเดือดรอนรําคาญตอบโตไมได ซึ่งเปนเรื่องท่ี

จะตองใชบังคับตามบทกฎหมายนั้นๆ

Page 17: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

16

■ โดยทั่วไปแลว ไมสามารถใชสิทธิของตนเองได โดยไมตองฟองรองตอศาล แตในกรณีท่ีเปนการปองกันสิทธิโดยชอบดวยกฎหมาย เจาของอสังหาริมทรัพยสามารถกระทําโดยลําพังตนเองได โดยไมตองใชสิทธิทางศาล เปนเหตุยกเวนความผิดตาม ปอ.มาตรา 68 หรือไมตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทน ตาม ป.พ.พ.มาตรา 449 ■ ตราบใดที่ยังมีการกอเหตุเดือนรอนรําคาญอยู เจาของอสังหาริมทรัพยยอมฟองรองใหบังคับได มิใชฟองรองเรียกคาเสียหายในทางละเมิด จึงไมบังคับแหงอายุความ 1 ป ตาม ป.พ.พ.มาตรา 448

3.2 กรรมสิทธิ์รวม

มาตรา 1356 ถาทรัพยสินเปนของบุคคลหลายคนรวมกันทานใหใชบทบัญญัติในหมวดนี้บังคับ เวนแตจะมีกฎหมายบัญญัติไวเปนอยางอ่ืน ■ กรรมสิทธ์ิรวม ตาม ป.พ.พ.มาตรา 1356 มีลักษณะสําคัญ 3 ประการคือ

1. บุคคลหลายคนถือกรรมสิทธ์ิรวมกัน

2. ในทรัพยสินอันเดียวกัน

3. ทุกคนเปนเจาของทุกสวนของทรัพยสินนั้นรวมกัน ■ ดวยเหตุท่ีทุกคนเปนเจาของทรัพยสินนั้นรวมกัน หากยังมิไดมีการแบงแยกกันครอบครองเปนสัดสวน เจาของรวมคนหนึ่งคนใดจะอางการครอบครองปรปกษ หรืออางภาระจํายอมโดยอายุความขึ้นยันกับเจาของรวมคนอื่นๆ ในทรัพยสินอันเดียวกันนั้นไมได ■ หากมีการแบงแยกกรรมสิทธ์ิกันเปนสัดสวนแนนอนแลว แมจะยังมิไดจดทะเบียนแบงแยกโฉนด ก็ถือวาตางเปนเจาของกรรมสิทธ์ิในทรัพยสินขอตนที่แบงแยกกันเปนสัดสวนนั้น ไมใชกรรมสิทธ์ิรวมอีกตอไป ■ การมีชื่อเปนผูถือกรรมสิทธ์ิรวมกัน แตไดจดทะเบียนบรรยายสวนไวแลว และระบุของใครอยูตอนไหน เปนจํานวนเนื้อท่ีเทาไรชัดแจงแลว ยอมไมเปนกรรมสิทธ์ิรวม ■ การไดมาซึ่งกรรมสิทธ์ิรวมนั้น อาจไดมาโดย 2 ทางคือ

1. การไดมาโดยนิติกรรม – ซื้อ ขาย แลกเปลี่ยน ให 2. การไดมาโดยผลของกฎหมาย

a. การเอาสังหาริมทรัพยของบุคคลหลายคนมารวมกันเขาจนแบงแยกไมได b. รั้ว กําแพง รั้วตนไม หรือคู ซึ่งเปนเครื่องหมายเขตที่ดิน กฎหมายใหสันนิษฐานวา เจาของที่ดินเปนเจาของรวมกัน

c. ทรัพยมรดกรวมกันของทายาทหลายคน ซึ่งยังมิไดแบง d. ครอบครองปกปกษท่ีดินของบุคคลอื่นรวมกัน

e. สินสมรส – ไมไดจดทะเบียนกันก็ถือเปนกรรมสิทธ์ิรวม แมจดทะเบียนในชื่อสามีหรือภริยาแตเพียงฝายเดียว ก็ยังคงเปนกรรมสิทธ์ิรวม

■ แมการสมรสจะเปนโมฆะ แตทรัพยสินที่เกิดจากการทํามาหากินรวมกัน ยอมเปนกรรมสิทธ์ิรวม ■ หยากันทางทะเบียนเพ่ือหลีกเลี่ยงไมใหเจาหนี้ยึดทรัพย แตความจริงยังคงอยูกินฉันสามีภริยา ทรัพยสินที่ไดมาภายหลังนั้นยังคงเปนกรรมสิทธ์ิรวมอยู แมจะซื้อทรัพยสินนั้นมาโดยเงินของฝายเดียวก็ตาม ■ ไดทรัพยมาในระหวางอยูกินกันฉันสามีภริยา แมจะซื้อโดยเงินที่ฝายใดยืมผูอ่ืนมา ก็ถือวาทรัพยสินนั้นเปนกรรมสิทธ์ิรวม

Page 18: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

17

■ ทรัพยสินอันเปนกรรมสิทธ์ิรวมที่ไดมาระหวางอยูกินกันฉันสามีภริยานั้น หากฝายใดไดใชหมดไปแลว อีกฝายจะฟองเรียกเอาสวนครึ่งหนึ่งในทรัพยสินที่ใชหมดไปแลวไมได ■ มีภริยาที่ชอบดวยกฎหมายอยูแลว หากมีภริยานอยที่ไมชอบดวยกฏหมายมาอยูรวมดวยอีกคนหนึ่ง ถือวามีภริยานอยอยูในฐานะบริวาร หามีกรรมสิทธ์ิรวมในทรัพยสินนั้นไม ■ ผลของกรรมสิทธ์ิรวม

• มีสวนตามขอสันนิษฐานของกฎหมาย

• มีสิทธิจัดการทรัพยสิน

• มีสิทธิตอสูบุคคลภายนอก

• มีสิทธิใชทรัพยสินและไดซึ่งดอกผล

• มีสิทธิจําหนายหรือกอภาระติดพัน

• มีหนาท่ีออกคาใชจายตามสวน มาตรา 1357 ทานใหสันนิษฐานไวกอนวาผูเปนเจาของรวมกันมีสวนเทากัน

■ หากปรากฎสิทธิของเจาของรวมชัดแจงอยูแลว สัดสวนการถือกรรมสิทธ์ิของเจาของรวมแตละคนก็ยอมเปนไปตามสิทธิท่ีชัดแจงอยูแลวนั้น จะอางการมีสวนเทากันตามขอสันนิษฐานของกฎหมายไมได ■ หากไดมีการแยกการครอบครองเปนสวนสัดและตางตางก็ไดครอบครองโดยสงบ เปดเผย และเจตนาเปนเจาของติดตอกัน 10 ปแลว เชนนี้ตางก็ไดกรรมสิทธ์ิโดยการครอบครองปรปกษ ตาม ปอ.มาตรา 1382 ■ หากมีการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิเฉพาะสวนของเจาของรวมคนหนึ่งเกินไป ก็หาทําใหผูรับโอนไดกรรมสิทธ์ิสวนเกินไปดวยไม ตามหลักผูรับโอนไมมีสิทธิดีกวาผูโอน มาตรา 1358 ทานใหสันนิษฐานไวกอนวาเจาของรวมมีสิทธิจัดการทรัพยสินรวมกัน

ในเรื่องจัดการตามธรรมดา ทานวาพึงตกลงโดยคะแนนขางมากแหงเจาของรวม แตเจาของรวมคนหนึ่งๆ อาจทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งในทางจัดการตามธรรมดาได เวนแตฝายขางมากไดตกลงไวเปนอยางอ่ืน แตเจาของรวม

คนหนึ่ง ๆ อาจทําการเพ่ือรักษาทรัพยสินไดเสมอ

ในเรื่องจัดการอันเปนสารสําคัญ ทานวาตองตกลงกันโดยคะแนนขางมากแหงเจาของรวม และคะแนนขางมากนั้นตองมีสวนไมต่ํากวาครึ่งหนึ่งแหงคาทรัพยสิน

การเปลี่ยนแปลงวัตถุท่ีประสงคนั้น ทานวาจะตกลงกันไดก็แตเม่ือเจาของรวมเห็นชอบทุกคน ■ การจัดการตามธรรมดา หมายถึง การกระทําเพ่ือใหไดประโยชนจากทรัพยสินนั้นตามปกติท่ีเคยเปนมา หรือการกระทําใหทรัพยสินนั้นดีขึ้นโดยมิไดเปลี่ยนแปลงสาระสําคัญ ■ การจัดการตามธรรมดานี้ เจาของรวมคนหนึ่งๆ อาจกระทําไดโดยไมตองไดรับความเห็นชอบจากเจาของรวมคนอื่นๆ เวนแตเจาของรวมฝายขางมากไดตกลงไวเปนอยางอ่ืน ■ คะแนนขางมากของเจาของรวมยึดถือตามจํานวนคนเปนสําคัญ ไมตองพิจารณาสัดสวนมูลคาในทรัพยสิน ■ การจัดการอันเปนสาระสําคัญ หมายถึง การจัดการทรัพยสินโดยวิธีการที่ตางไปจากการจัดการตามธรรมดา หรือเปนการเปลี่ยนแปลงวิธีการอันเปนสาระสําคัญ แตไมถึงกับเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค

Page 19: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

18

■ การจัดการอันเปนสาระสําคัญ ตาม ม.1358 วรรคสาม กําหนดใหตองตกลงดวยเสียงขางมากแหงเจาของรวม และคะแนนขางมากนั้น ตองมีสวนไมต่ํากวาครึ่งหนึ่งแหงคาทรัพยสิน ■ การจัดการอันเปนการเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค หมายถึง การเปลี่ยนแปลงจุดมุงหมายการใชประโยชนในทรัพยสินนั้นเลยทีเดียว เชน เปลี่ยนการใชประโยชนจากการอยูอาศัย เปนการใหเชา ■ การจัดการอันเปนการเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค บัญญัติใหกระทําไดตอเม่ือไดรับความเห็นชอบจากเจาของรวมทุกคน หรือตกลงกันโดยมีมติเปนเอกฉันท มาตรา 1359 เจาของรวมคนหนึ่ง ๆ อาจใชสิทธิอันเกิดแตกรรมสิทธ์ิครอบไปถึงทรัพยสินทั้งหมดเพื่อตอสูบุคคลภายนอก แตในการเรียกรองเอาทรัพยสินคืนนั้น ทานวาตองอยูในบังคับแหงเงื่อนไขที่ระบุไวในมาตรา 302 แหงประมวลกฎหมายนี้ ■ การใชสิทธิเพ่ือตอสูบุคคลภายนอก เจาของรวมคนใดคนหนึ่งใชสิทธิแตเพียงผูเดียวได ไมตองรับมอบอํานาจ หรือเจาของไมตองเปนโจทยรวมกัน เจาของรวมแตละคนจะเรียกเอาทรัพยสินคืนได ก็แตเพ่ือประโยชนของเจาของรวมทุกคนนั้น ■ การฟองขอเฉพาะสวนของตน ศาลยอมยกฟอง ขัดตอ ม.1359 ตอนทาย ■ สิทธิการฟองของเจาของคนใดขาดอายุความ ยอมเปนโทษเฉพาะบุคคลนั้น ไมทําใหสิทธิเจาของคนอื่นขาดไปดวย ■ เจาของรวมฟองบุพการีไมได เปนคดีอุทลุม แตเจาของรวมคนอื่น สามารถฟองได มาตรา 1360 เจาของรวมคนหนึ่งๆ มีสิทธิใชทรัพยสินไดแตการใชนั้นตองไมขัดตอสิทธิแหงเจาของรวมคนอื่นๆ

ทานใหสันนิษฐานไวกอนวาเจาของรวมคนหนึ่ง ๆ มีสิทธิไดดอกผลตามสวนของตนที่มีในทรัพยสินนั้น ■ เจาของรวมอาจใหเจาของรวมดวยกันเชาทรัพยสินกรรมสิทธ์ิรวมในสวนตนก็ได แตเม่ือสัญญาเชาสิ้นสุด เจาของรวมจะฟองขับไลเจาของรวมผูเชาไมได เพราะเจาของรวมมีสิทธิตาม ม.1360 วรรคแรก ■ ยังไมไดมีการรังวัดแบงแยก ท่ีดินนั้นยังคงกรรมสิทธ์ิรวมอยู เจาของรวมยังมีสิทธิใชท่ีดินสวนนั้นได ■ สิทธิตาม ม.1360 รวมถึงบุคคลผูใชทรัพยสินนั้น โดยอาศัยสิทธิเจาของรวม หรือบริวารของเจาของรวมนั้นดวย ■ การแบงใชทรัพยสินกัน หากไมแบงแยกกันเปนสวนสัด ก็ไมทําใหเปลี่ยนแปลงสัดสวนการถือกรรมสิทธ์ิเดิมอยางใด ■ หาไมมีการแบงแยกกันเปนสัดสวน จะอางการครอบครองปรปกษตาม ม.1382 ไมได เวนแตจะไดเปลี่ยนลักษณะแหงการยึดถือ ตาม ม.1381 มาตรา 1361 เจาของรวมคนหนึ่งๆ จะจําหนายสวนของตนหรือจํานอง หรือกอใหเกิดภารติดพันก็ได แตตัวทรัพยสินนั้นจะจําหนาย จํานํา จํานอง หรือกอใหเกิดภารติดพันได ก็แตดวยความยินยอมแหงเจาของรวมทุกคน

ถาเจาของรวมคนใดจําหนาย จํานํา จํานอง หรือกอใหเกิดภารติดพันทรัพยสินโดยมิไดรับความยินยอมแหง เจาของรวมทุกคน แตภายหลังเจาของรวมคนนั้นไดเปนเจาของทรัพยสินแตผูเดียวไซร ทานวานิติกรรมนั้นเปนอันสมบูรณ ■ กรณีจําหนาย จํานอง หรือกอภาระติดพันกรรมสิทธ์ิเฉพาะสวนของตน

• สิทธิจําหนายกรรมสิทธ์ิเฉพาะสวนของตน – โดยนิติกรรม เชน เชาซื้อ ซื้อขาย หรือโอนทางอ่ืน เชน พินัยกรรม

• สิทธิจํานองกรรมสิทธ์ิเฉพาะสวนของตน • สิทธิกอใหเกิดภาระติดพันกรรมสิทธ์ิเฉพาะสวนของตน

Page 20: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

19

■ กรณีจําหนาย จํานํา จํานองหรือกอภาระติดพันตัวทรัพยสิน

• สิทธิจําหนายตัวทรัพยสิน

• สิทธิจํานําตัวทรัพยสิน – สัญญาจํานํา ป.พ.พ.มาตรา 747

• สิทธิจํานองตัวทรัพยสิน – สัญญาจํานอง ป.พ.พ.มาตรา 702

• สิทธิกอใหเกิดภาระติดพันเหนือตัวทรัพยสิน ■ เจาของรวมคนอื่นรูแลวแตนิ่งเสียไมคัดคาน ถือวาเปนการใหความยินยอมโดยปริยาย ■ เจาของรวมคนอื่นรับเงินสวนแบงคาขายทรัพยสิน ถือวาเปนการใหความยินยอมโดยปริยาย ■ เจาของรวมคนหนึ่งยินยอมใหเจาของรวมอีกคนหนึ่งลงชื่อเปนเจาของเพียงผูเดียวหลังจากนําท่ีดินไปจํานอง เม่ือบังคับจํานองก็ติดตอขอผอนผัน ท้ังยอมใหของสิ่งกอสรางใหมตกอยูในบังคับจํานอง ถือวาเปนการใหความยินยอมโดยปริยาย มาตรา 1362 เจาของรวมคนหนึ่งๆ จําตองชวยเจาของรวมคนอื่น ๆ ตามสวนของตนในการออกคาจัดการ คาภาษีอากร และคารักษา กับทั้งคาใชทรัพยสินรวมกันดวย ■ คาใชจายในการจัดการและรักษาทรัพยสิน เปนคาใชจายเพ่ือการดําเนินการตาม ม.1358 สวนคาภาษีอากรนั้น หมายถึง ภาษีอากรที่ตองเสียเก่ียวกับตัวทรัพยสินนั้น เชน ภาษีบํารุงทองท่ี ภาษีโรงเรือน สวนคาใชทรัพยสินรวมกัน จะตองเพ่ือประโยชนรวมกันจริงๆ ■ คาใชจายอันเกิดจากความผิดของเจาของรวมคนใด เจาของรวมคนนั้นยอมตองรับผิดชอบเปนสวนบุคคล 3.2.2 การแบงทรัพยสินอันเปนกรรมสิทธ์ิรวม มาตรา 1363 เจาของรวมคนหนึ่งๆ มีสิทธิเรียกใหแบงทรัพยสินไดเวนแตจะมีนิติกรรมขัดอยู หรือถาวัตถุท่ีประสงคท่ีเปนเจาของรวมกันนั้นมีลักษณะเปนการถาวร ก็เรียกใหแบงไมได สิทธิเรียกใหแบงทรัพยสินนั้น ทานวาจะตัดโดยนิติกรรมเกินคราวละสิบปไมได ทานวาเจาของรวมจะเรียกใหแบงทรัพยสินในเวลาที่ไมเปนโอกาสอันควรไมได ■ ม.1363 แบงเปนสองประเดน็คือ

• สิทธิเรียกใหแบงทรัพยสิน

• ขอจํากัดสิทธิการแบงทรัพยสิน ■ แมวัดเปนเจาของรวมกับบุคคลอื่น ท้ังวัดและบุคคลอื่นก็เรียกใหแบงทรัพยสินได ไมขัด พ.ร.บ.คณะสงฆ ■ กฎหมายไมหามพระภิกษุฟองเรียกใหแบงทรัพยสินอันเปนกรรมสิทธ์ิรวม ■ สิทธิเรียกรองใหแบงทรัพยสิน ไมมีอายุความ จะนําอายุความเสียสิทธิมาใชบังคนไมได ■ ขอจํากัดการแบงทรัพยสิน

• มีนิติกรรมขัดอยู – จะตัดโดยนิติกรรมเกินกวา 10 ปไมได ตองตกลงกันใหมเปนคราวๆ ละ 10 ป • วัตถุประสงคท่ีเปนเจาของรวมกันนั้น มีลักษณะเปนการถาวร – แมไมไดทําเปนหนังสือและจดทะเบียน ก็มีผลผูกพัน

ใชบังคับได • เรียกใหแบงในเวลาที่ไมเปนโอกาสอันควร

Page 21: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

20

■ ขอแบงทรัพยสินขณะที่เจาของรวมคนอื่นยังเปนผูเยาวได ไมถือวา “ไมเปนโอกาสอันควร” ■ ขอแบงขณะที่เจาของรวมคนเดิมรองขอทรัพยสินคืนจากคนอื่น ยอมทําได มาตรา 1364 การแบงทรัพยสินพึงกระทําโดยแบงทรัพยสินนั้นเองระหวางเจาของรวม หรือโดยขายทรัพยสินแลวเอาเงินที่ขายไดแบงกัน

ถาเจาของรวมไมตกลงกันวาจะแบงทรัพยสินอยางไรไซร เม่ือเจาของรวมคนหนึ่งคนใดขอ ศาลอาจสั่งใหเอา ทรัพยสินนั้นออกแบงถาสวนที่แบงใหไมเทากันไซร จะสั่งใหทดแทนกันเปนเงินก็ได ถาการแบงเชนวานี้ไมอาจทําไดหรือจะเสียหายมากนักก็ดี ศาลจะสั่งใหขายโดยประมูลราคากันระหวางเจาของรวมหรือขายทอดตลาดก็ได ■ วิธิแบงทรัพยสิน

1. การแบงทรัพยสินโดยตกลงกันเอง 2. การแบงทรัพยสินโดยคําสั่งศาล

■ การแบงโดยตกลงกันเอง เจาของรวมคนใดจะกลับมาฟองขอใหแบงกันใหมตามสัดสวน หรือแบงตามสวนที่ไดยึดถือแตเดิมไมได ■ หากขอตกลงยังไมไดชัดเจนวา ใครไดสวนแบงจุดไหน กวางยาวไปทางใด ก็ยังไมถือวาเปนการแบงทรัพยสินโดยชอบตาม ม.1364 ■ การแบงทรัพยสินตาม ม.1364 วรรคสองอาจจะ

• แบงตามขั้นตอนที่กําหนดใน ม.1364 วรรคสองก็ได • แบงตามสวนที่ครอบครองอยูกอนก็ได • แบงทรัพยสินบางสวน ประมูลบางสวนก็ได • ใชราคาแทนการแบงทรัพยสินกได

■ ศาลอาจแบงโดยไมตองคํานึงตามคําขอทายฟองก็ได ■ จะใชเรื่องบัญญัติการจํานวน ตาม ม.1361 วรรคสองมาใชกับกรณีแบงทรัพยสินไมได มาตรา 1365 ถาเจาของรวมตองรับผิดชอบรวมกันตอบุคคลภายนอกในหนี้อันเก่ียวกับทรัพยสินรวม หรือในหนี้ซึ่งไดกอขึ้นใหมเพ่ือชําระหนี้เดิมดั่งวานั้นก็ดีในเวลาแบง เจาของรวมคนหนึ่งๆ จะเรียกใหเอาทรัพยสินรวมนั้นชําระหนี้เสียกอนหรือใหเอาเปนประกันก็ได ถาเจาของรวมคนหนึ่งตองรับผิดชอบตอเจาของรวมคนอื่นในหนี้ซึ่งเกิดจากการเปนเจาของรวม หรือในหนี้ซึ่งไดกอขึ้นใหมเพ่ือชําระหนี้เดิมดั่งวานั้นก็ดีในเวลาแบง เจาของรวมผูเปนเจาหนี้จะเรียกใหเอาสวนซึ่งจะไดแกลูกหนี้ของตน ในทรัพยสินรวมนั้นชําระหนี้เสียกอน หรือใหเอาเปนประกันก็ได สิทธิท่ีกลาวมาขางตนนี้อาจใชแกผูรับโอน หรือผูมีกรรมสิทธ์ิในสวนของเจาของรวมนั้น

ถาจําเปนจะตองขยายทรัพยสินรวมไซร ทานใหนําบทบัญญัติมาตรากอนมาใชบังคับ ■ ความรับผิดรวมกันตอบุคคลภายนอก – หากคาใชจายในการจัดการยังมิไดชําระ เจาของรวมคนหนึ่งๆ อาจ

1. เรียกใหเอาทรัพยสินรวมนั้นชําระหนี้เสียกอน

2. เรียกใหเอาเปนประกัน ■ ความรับผิดตอเจาของรวมคนอื่น – เปนเรื่องหนี้สินระหวางเจาของรวมดวยกันเอง มิใชหนี้สินกับบุคคลภายนอก มาตรา 1366 เจาของรวมคนหนึ่งๆ ตองรับผิดตามสวนของตนเชนเดียวกับผูขายในทรัพยสินซึ่งเจาของรวมคนอื่นๆ ไดรับไป

Page 22: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

21

ในการแบง ■ ม.1366 เปนกรณีปญหาจากการชํารุดบกพรอง หรือถูกรอนสิทธิจากบุคคลภายนอก ซึ่งยอมไมเปนธรรมแกเจาของรวมผูนั้น ม.1366 จึงใหเจาของรวมแตละรายตองรับผิดตามสวนของตนเชนเดียวกับผูขาย

Page 23: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

22

4. การไดมาซึ่งกรรมสิทธิ ์

4.1 การไดมาดวยหลักสวนควบ

4.1.1 การไดมาในกรณีสวนควบของที่ดิน มี 6 กรณีคือ

1. กรณีท่ีงอกริมตลิ่ง 2. กรณีสรางโรงเรือนในที่ดินของผูอ่ืน

3. กณีสรางโรงเรือนรุกล้ําเขาไปในที่ดินของผูอ่ืน

4. กรณีผูเปนเจาของที่ดินโดยมีเงื่อนไขสรางโรงเรือน

5. กรณีการกอสรางและการเพาะปลูกในท่ีดิน

6. กรณีเอาสัมภาระของผูอ่ืนมาปลูกหรือสรางในที่ดินของตนเอง กรณีที่งอกริมตลิ่ง

มาตรา 1308 ท่ีดินแปลงใดเกิดที่งอกริมตลิ่ง ท่ีงอกยอมเปนทรัพยสินของเจาของที่ดินแปลงนั้น ■ ท่ีงอกริมตลิ่งตาม ป.พ.พ.มาตรา 1308 มีลักษณะสําคัญ 6 ประการ

1. ตองเปนที่ดินที่งอกจากริมตลิ่ง 2. ตองเปนที่งอกท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ 3. ตองเปนที่งอกสูงขึ้น จนในภาวะปกติน้ําทวมไมถึง 4. ตองเปนที่งอกติดตอกันเปนแปลงเดียวกับที่ดินริมตลิ่งนั้น

5. ยอมเปนทรัพยสินของเจาของที่ดินริมตลิ่งนั้น ■ ท่ีงอกริมตลิ่ง ไมจําเปนตองริมแมน้ําเสมอไป อาจเปนชายทะเล ทะเลสาบ หนอง คลอง บึง ทางน้ําใดๆ ■ หากน้ําทวมถึงเฉพาะเม่ือเกิดอุทกภัย ก็เปนที่งอกริมตลิ่งได ■ มีทางหลวงหรือทางสาธารณะคั่น มีรองน้ําคั่น มีลํารางน้ําฝนคั่น มีท่ีดอนคั่น ไมเปนที่งอกริมตลิ่ง หากสิ่งกีดขวางเกิดขึ้นภายหลัง ไมเปนผลใหท่ีงอกริมตลิ่งเปลี่ยนแปลงไป ■ กรณีโอนที่ดินริมตลิ่งไปโดยไมไดทําความตกลงเรื่องท่ีงอกริมตลิ่ง ถือวาท่ีงอกริมตลิ่งโอนไปยังผูรับดวย ■ หากเปนของแผนดิน ผูครอบครองอยูกอนยอมมีสิทธิดีกวาผูอ่ืน แตจะยกขึ้นตอสูกับรัฐไมได มาตรา 1308 เกาะท่ีเกิดในทะเลสาป หรือในทางน้ํา หรือในเขตนานน้ําของประเทศก็ดี และทองทางน้ําท่ีเขินขึ้นก็ดี เปนทรัพยสินของแผนดิน ■ หากเกาะหรือทางน้ําอยูในเขตที่ดินเอกชน แมจะตื้นเขินหรือไม ก็ยอมเปนของเอกชนอยูนั่นเอง กรณีสรางโรงเรอืนในที่ดินของผูอื่น

มาตรา 1310 บุคคลใดสรางโรงเรือนในที่ดินของผูอ่ืนโดยสุจริตไซร ทานวาเจาของที่ดินเปนเจาของโรงเรือนนั้นๆ แตตองใชคาแหงท่ีดินเพียงที่เพ่ิมขึ้นเพราะสรางโรงเรือนนั้นใหแกผูสราง แตถาเจาของที่ดินสามารถแสดงไดวา มิไดมีความประมาทเลินเลอจะบอกปดไมยอมรับโรงเรือนนั้นและเรียกใหผูสรางรื้อถอนไป และทําท่ีดินใหเปนตามเดิมก็ได เวนไวแตถาการนี้จะทําไมไดโดยใชเงินพอควรไซร ทานวาเจาของที่ดินจะเรียกใหผูสรางซื้อท่ีดินท้ังหมดหรือแตบางสวนตามราคาตลาดก็ได

Page 24: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

23

■ หลักเกณฑ

1. สรางโรงเรือนในที่ดินผูอ่ืน

2. สรางโดยสุจริต

3. เจาของที่ดินเปนเจาของโรงเรือน แตตองใชคาแหงท่ีดินเพียงที่เพ่ิมขึ้น ■ การสรางโรงเรือน ตองเขาเปนสวนใหญหรือครึ่งหนึ่งขึ้นไป หากเปนสวนนอยเรียกวา รุกล้ํา ตาม ม.1312 ■ โรงเรือน ตองมีลักษณะเปนสวนควบของที่ดิน ตาม ป.พ.พ.มาตรา 144 วรรคแรก ■ การสรางโรงเรือนในที่สาธารณสมบัติแผนดิน จะอาง ม.1310 ขึ้นตอสูไมได ■ ปลูกสรางโรงเรือนในที่ดินกรรมสิทธ์ิรวม เม่ือแบงแยกแลวอยูในเขตผูอ่ืน ถือวาไมสุจริต เพราะรูวาตนมิใชเจาของคนเดียว ■ ปลูกสรางโรงเรือนในที่ดินทั้งท่ีรูวายังไมเปนสิทธิของตนโดยสมบูรณ ถือวาไมสุจริต ■ คาแหงท่ีดินเพียงที่เพ่ิมขึ้น หมายถึง ราคาที่ดินที่เพ่ิมขึ้นจากเดินกอนการมีโรงเรือนกับราคาที่ดินพรอมโรงเรือนที่ไดสรางขึ้นในที่ดินนั้น เชน

• ราคาที่ดินเดิม 1,000,000 ราคาโรงเรือน 500,000 แตทําใหท่ีดินสูงเปน 1,800,000 เจาของตองใชคาแหงท่ีดินที่เพ่ิมขึ้น 800,000

• ราคาที่ดินพรอมโรงเรือน ถาเทากับ 1,200,000 เจาของตองใชคาแหงท่ีดินที่เพ่ิมขึ้น 200,000 ■ ประมาทเลินเลอ หมายความวา มิไดใชความระมัดระวังตามสมควรที่จะแสดงความเปนเจาของใหผูอ่ืนรับรู เชน ปลอยที่ดินใหรกรางวางเปลา มิไดก้ันรั้วหรือปกหลักเขตแดน ■ ราคาตลาด หมายถึง ราคาที่ดินที่ซื้อขายในตลาดซื้อขายที่ดินนั้น มิใชราคาประเมินของทางราชการ และเปนราคาขณะที่เจาของที่ดินเรียกใหผูสรางซื้อท่ีดินนั้น มิใชราคาขณะกอสรางโรงเรือน มาตรา 1311 บุคคลใดสรางโรงเรือนในที่ดินของผูอ่ืนโดยไมสุจริตไซรทานวาบุคคลนั้นตองทําท่ีดินใหเปนตามเดิมแลวสงคืนเจาของ เวนแตเจาของจะเลือกใหสงคืนตามที่เปนอยู ในกรณีเชนนี้เจาของที่ดินตองใชราคาโรงเรือน หรือใชคาแหงท่ีดินเพียงที่เพ่ิมขึ้นเพราะสรางโรงเรือนนั้น แลวแตจะเลือก

กรณีสรางโรงเรอืนรุกลํ้าไปในที่ดินของผูอื่น

มาตรา 1312 บุคคลใดสรางโรงเรือนรุกล้ําเขาไปในที่ดินของผูอ่ืน โดยสุจริตไซร ทานวาบุคคลนั้นเปนเจาของโรงเรือนที่สรางขึ้น แตตองเสียเงินใหแกเจาของที่ดินเปนคาใชท่ีดินนั้น และจดทะเบียนสิทธิเปนภารจํายอม ตอภายหลังถาโรงเรือนนั้นสลายไปทั้งหมด เจาของที่ดินจะเรียกใหเพิกถอนการาจดทะเบียนเสียก็ได ถาบุคคลผูสรางโรงเรือนนั้นกระทําการโดยไมสุจริต ทานวาเจาของที่ดินจะเรียกใหผูสรางรื้อถอนไป และทําท่ีดินใหเปนตามเดิมโดยผูสรางเปนผูออกคาใชจายก็ได ■ สรางโรงเรือนรุกลํ้าไปในที่ดินของผูอื่นโดยสุจริต มีหลัก 4 ประการ

1. สรางโรงเรือนรุกล้ําไปในที่ดินของผูอ่ืน

2. รุกล้ําโดยสุจริต

3. ผูสรางเปนเจาของ แตตองเสียเงินใหแกเจาของที่ดิน และจดทะเบียนสิทธิเปนภาระจํายอม

4. เจาของที่ดินจะเรียกใหเพิกถอนก็ได หายภายหลังโรงเรือนสลายไปทั้งหมด

Page 25: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

24

■ รุกล้ํา ตองเกินเขาไปเปนสวนนอย ถาเปนสวนใหญหรือครึ่งหนึง ถือวาเปนการสรางโรงเรือนในที่ดินของผูอ่ืน ตาม ม.1310 ■ คําวา โรงเรือน ไมจําเปนตองเปนตัวโรงเรือน แตตองเปนสวนประกอบโรงเรือน หากไมใชก็ไมเขากรณี ม.1312 เชน ถังสวมซีเมนต เครื่องทําความเย็น ■ ท่ีดินของผูอ่ืนจะตองไมใชสาธารณสมบัติของแผนดิน ■ การสรางโรงเรือนโดยรุกล้ํา ไดกระทําโดยปรปกษมาถึง 10 ป ยอมไดภาระจํายอมโดยอายุความตาม ม.1401 ประกอบมาตรา 1387 ซึ่งไมจําเปนตองจดทะเบียน และไมตองเสียคาตอบแทนการใชท่ีดินนั้นดวย ■ การสลายไป มิใชเพียงชํารุดทรุดโทรม ซึ่งอาจซอมแซมได และการสลายไปทั้งหมดนั้น ยอมหมายถึงสวนเฉพาะที่รุกล้ําเทานั้น มิใชโรงเรือน เพราะสิทธิภาระจํายอมตาม ม.1312 มีเฉพาะโรงเรือนสวนรุกล้ําเทานั้น มิไดครอบครองตัวโรงเรือนทั้งหลัง ■ สรางโรงเรือนรุกลํ้าเขาไปในที่ดินของผูอื่นโดยไมสุจริต เจาของที่ดินจะเรียกใหรื้อถอนออกไปและทําท่ีดินใหเปนตามเดิมโดยผูสรางเปนคนออกคาใชจายได ■ สรางโรงเรือนโดยไมรังวัดสอบเขตกอน เปนการกระทําโดยประมาทเลินเลออยางรายแรง ถือวาไมสุจริต กรณีผูเปนเจาของที่ดินโดยมีเงื่อนไขสรางโรงเรือน

มาตรา 1313 ถาผูเปนเจาของที่ดินโดยมีเงื่อนไขสรางโรงเรือนในที่ดินนั้น และภายหลังท่ีดินตกเปนของบุคคลอื่นตามเงื่อนไขไซร ทานใหนําบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้วาดวยลาภมิควรไดมาใชบังคับ ■ มีหลักเกณฑ 3 ประการคือ

1. ผูเปนเจาของที่ดินโดยมีเงื่อนไข

2. สรางโรงเรือนในที่ดินนั้น

3. ภายหลังท่ีดินตกเปนของผูอ่ืนตามเงื่อนไข

ใหนําบทบัญญัติแหง ป.พ.พ.วาดวยลาภมิควรไดมาใชบังคับ ■ ผูเปนเจาของที่ดินโดยมีเงื่อนไข “โดยมีเงื่อนไข” หมายถึง เงื่อนไขผูท่ีเปนเจาของ อาจจะตองโอนที่ดินกลับคืนแกเจาของหรือบุคคลอื่น เงื่อนไขอาจเปน

• เงื่อนไขบังคับหลัง • สัญญาขายฝาก

• เจาของที่ดินมีเงื่อนไขหามโอน ■ ลาภมิควรไดตาม ป.พ.พ.มาตรา 406 เจาของที่ดินรายใหมจะตองคืนโรงเรือนนั้นตามสภาพที่เปนอยูใหแกผูสรางโรงเรือน ในฐานลาภมิควรได หากเจาของที่ดินรายใหมประสงคจะไดโรงเรือนนั้นไว หรือผูสรางโรงเรือนประสงคจะขาย ก็เปนกรณีท่ีจะตองตกลงกันเอง หากตกลงกันไมได ก็จะตองคืนตามบทบัญญัติวาดวยลาภมิควรได กรณีการกอสรางและการเพาะปลูกในที่ดิน

มาตรา 1314 ทานใหใชบทบัญญัติมาตรา 1310, 1311 และ 1313 บังคับตลอดถึงการกอสรางใดๆ ซึ่งติดที่ดินและการเพาะปลูกตนไมหรือธัญชาติดวยโดยอนุโลม

แตขาวหรือธัญชาติอยางอ่ืนอันจะเก็บเก่ียวรวงผลไมคราวหนึ่งหรือหลายคราวตอป เจาของที่ดินตองยอมใหบุคคลผูกระทําการโดยสุจริต หรือผูเปนเจาของที่ดินโดยมีเงื่อนไขซึ่งไดเพาะปลูกลงไวนั้นคงครองที่ดินจนกวาจะเสร็จการเก็บเก่ียวโดยใชเงินคํานวณตาม

Page 26: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

25

เกณฑคาเชาท่ีดินนั้น หรือเจาของที่ดินจะเขาครอบครองในทันทีโดยใชคาทดแทนใหแกอีกฝายหนึ่งก็ได ■ กรณีการกอสรางและการปลูกตนไมหรือธัญชาติ ตาม ม.1314 วรรคแรก ใหใช ม.1310, 1311 และ 1313 โดยอนุโลม ■ “การกอสรางใด” หมายถึง สิ่งปลูกสรางที่ไมใชโรงเรือน หากเปนโรงเรือนยอมใชบังคับตาม ม.1310, 1311 และ 1313 โดยตรงอยูแลว ■ “ตนไม” หมายถึง ไมยืนตน และตองมีสภาพเปนสวนควบของที่ดินดวย สวน “ธัญชาติ” ไมมีสภาพเปนสวนควบ แต ม.1314 บัญญัติไวเปนพิเศษใหอนุโลมใชบังคับดวย ■ อนุโลมตาม ม.1310 ไดแก การกอสรางและเพาะปลูกตนไมหรือธัญชาติในที่ดินผูอ่ืนโดยสุจริต เจาของที่ดินเปนเจาของดังกลาว แตตองใชคาแหงท่ีดินที่เพ่ิมขึ้น ■ อนุโลมตาม ม.1311 ไดแก การกอสรางและเพาะปลูกตนไมหรือธัญชาติในที่ดินผูอ่ืนโดยไมสุจริต จะตองทําท่ีดินใหเปนตามเดิมแลวสงคืนเจาของ เวนแตเจาของจะเลือกใหสงตามที่เปนอยู ในกรณีนี้เจาของที่ดินตองใชราคากอสรางและเพาะปลูก ■ อนุโลมตาม ม.1313 ไดแก ผูเปนเจาของที่ดินโดยมีเงื่อนไข ไดกอสรางฯ และภายหลังท่ีดินตกเปนของบุคคลอื่น ใหนําบทบัญญัติวาดวยลาภมิควรไดมาใชบังคับ ■ ถังสวมซีเมนตรุกล้ํา ไมอยูในบังคับของ ม.1314 ■ กอสรางกําแพงรุกล้ํา ไมอยูในบังคับของ ม.1314 ■ กรณีขาวหรือธัญชาติอยางอ่ืนที่เก็บเก่ียวไดคราวหนึ่งหรือหลายคราวตอป เจาของที่ดินมีทางเลือกสองทาง

1. เจาของยอมใหบุคคลผูกระทําโดยสุจริต มีเงื่อนไขใหคงครองจนกวาเก็บเก่ียว โดยใชเงินคํานวนตามเกณฑคาเชาท่ีดินนั้น

2. เจาของที่ดินครอบครองทันที โดยใชคาทดแทน กฎหมายมิไดกําหนดใหคํานวนตามเกณฑใด ขึ้นอยูกับขอตกลง กรณีเอาสัมภาระของผูอื่นมาปลูกหรือสรางในที่ดินของตนเอง

มาตรา 1315 บุคคลใดสรางโรงเรือน หรือทําการกอสรางอยางอ่ืน ซึ่งติดที่ดินหรือเพาะปลูกตนไมหรือธัญชาติในที่ดินของตนดวยสัมภาระของผูอ่ืน ทานวาบุคคลนั้นเปนเจาของสัมภาระ แตตองใชคาสัมภาระ

■ มีหลักเกณฑ 3 ประการคือ

1. บุคคลใดสรางโรงเรือน หรือทําการกอสรางอยางอ่ืนซึ่งติดที่ดิน หรือเพาะปลูกตนไมหรือธัญชาติในที่ดินของตน

2. ดวยสัมภาระของผูอ่ืน – มิไดบัญญัติเรื่องสุจริตหรือไมสุจริต และการเชาสัมภาระ ไมอยูในบังคับ

3. บุคคลนั้นเปนเจาของสัมภาระ แตตองใชคาสัมภาระ 4.1.2 การไดมาในกรณีสวนควบของสังหาริมทรัพย มี 2 กรณีคือ

1. กรณีเอาสังหาริมทรัพยของบุคคลหลายคนมารวมเขากัน

2. กรณีใชสัมภาระของบุคคลอื่นทําสิ่งใดขึ้นใหม กรณีเอาสังหาริมทรัพยของบุคคลหลายคนมารวมเขากัน

มาตรา 1316 ถาเอาสังหาริมทรัพยของบุคคลหลายคนมารวมเขากัน จนเปนสวนควบหรือแบงแยกไมไดไซร ทานวาบุคคลเหลานั้นเปนเจาของรวมแหงทรัพยท่ีรวมเขากัน แตละคนมีสวนตามคาแหงทรัพยของตนในเวลาที่รวมเขากับทรัพยอ่ืน

Page 27: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

26

ถาทรัพยอันหนึ่งอาจถือไดวาเปนทรัพยประธานไซร ทานวาเจาของทรัพยนั้นเปนเจาของทรัพยท่ีรวมเขากันแตผูเดียว แตตองใชคาแหงทรัพยอ่ืน ๆใหแกเจาของทรัพยนั้นๆ ■ การเอาสังหาริมทรัพยของบุคคลหลายคนมารวมเขากันจนเปนสวนควบหรือแบงแยกไมได

• ทรัพยท่ีจะนําเขามาตองเปนสังหาริมทรัพยเทานั้น แตพอรวมกันแลวอาจเปนอสังหาริมทรัพยก็ได • เจาของสัตวเอาสัตวตนมาผสมกับสัตวผูอ่ืนเพ่ือขยายพันธุ บังคับตาม ม.1316 ไมได เปนเรื่องดอกผลของทรัพย ตอง

บังคับตาม ม.148 วรรคสอง • การรวมกันจนไมมีทรัพยประธาน ตองดูท่ีสภาพของทรัพยท่ีรวมกัน มิใชเพียงพิจารณาราคาของทรัพยเทานั้น

บุคคลเหลานั้นเปนเจาของรวมแหงทรัพยท่ีรวมเขากัน

■ การเอาสังหาริมทรัพยรวมเขากันจนเปนสวนควบโดยมีทรัพยประธาน • ทรัพยท่ีเปนทรัพยประธาน ตองดูท่ีสภาพทรัพยเปนหลัก เห็นวามีทรัพยประธานได พิจารณทรัพยใดเปน

ทรัพยประธาน

• ทรัพยประธานไมจําตองเปนทรัพยอันเดียว อาจเปนทรัพยหลายเจาของก็ได เจาของทรัพยประธานเปนเจาของทรัพยท่ีรวมกันแตผูเดียว

■ คาแหงทรัพย กฎหมายมิไดกําหนดไว มีคําพิพากษา ใหคิดจากราคาทรัพยนั้น หักดวยคาเสื่อมราคา ■ กรณีรวมกันจนเปนไมมีทรัพยประธาน ถาเจาของทรัพยเอาทรัพยท่ีรวมเขากันโดยทุจริต ก็ยอมเปนความผิดอาญา ■ กรณีรวมกันจนเปนสวนควบโดยมีทรัพยประธาน เจาของทรัพยเอาทรัพยไป ไมเปนความผิดอาญา แตตองรับผิดทางแพงโดยใชคาแหงทรัพยอ่ืน ใหแกเจาของทรัพย กรณีใชสัมภาระของบุคคลอื่นทําสิ่งใดขึ้นใหม มาตรา 1317 บุคคลใดใชสัมภาระของบุคคลอื่นทําสิ่งใดขึ้นใหมไซรทานวาเจาของสัมภาระเปนเจาของสิ่งนั้นโดยมิตองคํานึงวาสัมภาระนั้นจะกลับคืนตามเดิมไดหรือไม แตตองใชคาแรงงาน

แตถาคาแรงงานเกินกวาคาสัมภาระที่ใชนั้นมากไซร ทานวาผูทําเปนเจาของทรัพยท่ีทําขึ้น แตตองใชคาสัมภาระ

■ สัมภาระของผ ู อ่ืน ตองเปนของผูอ่ืนเทานั้น หากเปนการเอาสัมภาระตนไปรวมดวย ตองใชบังคับตาม ม.1316 ■ ทําสิ่งใดขึ้นใหม ตองเปนการทําใหม โดยลักษณะและคุณสมบัติของทรัพยเดิมยังคงอยู แตจะตองปรากฏเปนทรัพยใหมขึ้น เชน หินรูปแกะสลัก ผาไหม ดอกไม ไมสัก เตียง

■ กรณีดังตอไปนี้ไมอยูในบังคับ ม.1317

• ปรับปรุงซอมแซม ไมทําสิ่งใดขึ้นใหม • ดัดแปลงตอเติม

• แปรสภาพ แตยังคงเปนทรัพยชนิดเดิมอยู • ออกแรงงานชวยเพาะปลูก

■ กรณีคาแรงงานเกินกวาคาสัมภาระมาก ผูทําเปนเจาของทรัพยท่ีทําขึ้น

คําวา “มาก” กฎหมายไมไดกําหนดไว จึงตองพิจารณาตามพฤติการณเปนกรณีๆ ไป ■ กฎหมายไมไดบัญญัติเรื่องกระทําโดยสุจริตหรือไมสุจริตไว ก็ใชบังคับตาม ม.1317 เชนเดียวกัน

Page 28: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

27

4.2 การไดมาซึ่งทรัพยสินไมมีเจาของและการรับโอนโดยสุจริต 4.2.1 การไดมาซึ่งทรัพยสินไมมีเจาของ กรณีสังหาริมทรัพยไมมีเจาของ บุคคลอาจไดมาซึ่งกรรมสิทธ์ิโดยการเขาถือเอา สําหรับกรณีทรัพยสินที่ไมมีผูครอบครอง อาจไดกรรมสิทธ์ิในกรณีเดียวคือ ผูเก็บไดซึ่งทรัพยสินหายแลวผูมีสิทธิจะรับทรัพยสินมิไดเรียกเอาภายในหนึ่งปนับแตวันที่เก็บได การไดมาซึ่งสังหาริมทรัพยไมมีเจาของ

มาตรา 1318 บุคคลอาจไดมาซึ่งกรรมสิทธ์ิแหงทรัพยสินอันไมมีเจาของโดยเขาถือเอา เวนแตการเขาถือเอานั้นตองหามตามกฎหมายหรือฝาฝนสิทธิของบุคคลอื่นที่จะเขาถือเอาสังหาริมทรัพยนั้น

■ เขาถือเอา ตางจาก ยึดถือโดยมีเจตนายึดถือเพ่ือตน ตาม ป.พ.พ.มาตรา 1367 เพราะการยึดถือโดยเจตนายึดถือเพ่ือตนไดเพียงสิทธิครอบครอง แต ม.1318 นี้ เปนเหตุใหไดมาซึ่งกรรมสิทธ์ิ

ตัดยอดลานในปา ท่ีมีผูไดรับอนุญาตจากกรมปาไมใหติด แมไมผิดฐานลักทรัพย แตฝาฝนสิทธิของบุคคลอื่น ตาม ม.1318

รังนกในถํ้าท่ีมีผูไดรับสัมปทาน ผูอ่ืนเก็บไปแมไมผิดฐานลักทรัพย แตฝาฝนสิทธิของบุคคลอื่น ตาม ม.1318 มาตรา 1319 ถาเจาของสังหาริมทรัพยเลิกครอบครองทรัพยดวยเจตนาสละกรรมสิทธ์ิไซร ทานวาสังหาริมทรัพยนั้นไมมีเจาของ ■ ทรัพยท่ีติดตัวอยูกับผูตาย ยอมเปนมรดกตกแกทายาท มิใชเจาของเลิกการครอบครองแตประการใด ■ ใชบังคับแกสังหาริมทรัพยเทานั้น ในกรณีอสังหาริมทรัพย หากไมมีเจาของเอกชนก็ยอมตกเปนของแผนดิน มาตรา 1320 ภายในบังคับแหงกฎหมายเฉพาะและกฎขอบังคับในเรื่องนั้น ทานวาสัตวปาไมมีเจาของตราบเทาท่ียังอยูอิสระ สัตวปาในสวนสัตวและปลาในบอ หรือในที่น้ําซึ่งเจาของก้ันไวนั้น ทานวาไมใชสัตวไมมีเจาของ สัตวปาท่ีคนจับไดนั้น ถามันกลับคืนอิสระและเจาของไมติดตามโดยพลันหรือเลิกติดตามเสียแลว ฉะนี้ทานวาไมมีเจาของ สัตวซึ่งเลี้ยงเชื่องแลว ถามันทิ้งท่ีไปเลย ทานวาไมมีเจาของ ■ สัตวปาไมมีเจาของ แบงเปน 3 ประเภทคือ

1. สัตวปาอิสระ 2. สัตวปาท่ีคนจับไดแลวกลับคืนอิสระ

3. สัตวปาเลี้ยงเชื่องแลวทิ้งท่ีไปเลย มาตรา 1321 ภายในบังคับแหงกฎหมายเฉพาะและกฎขอบังคับในเรื่องนั้น ผูใดจับสัตวปาไดในที่รกรางวางเปลา หรือในท่ีน้ําสาธารณะก็ดี หรือจับไดในที่ดิน หรือท่ีน้ํามีเจาของโดยเจาของมิไดแสดงความหวงหามก็ดี ทานวาผูนั้นเปนเจาของสัตว ■ สัตวปาแมอยูในที่ดินหรือท่ีน้ําของใครก็มิไดหมายความวาจะตกเปนกรรมสิทธ์ิเจาของนั้น เพราะสัตวปามิใชสวนควบ หากเจาของที่ดินแสดงการหวงหามไว หากฝาฝนก็จะเปนการฝาฝนสิทธิของเจาของตาม ม.1318 ■ การจับ มิไดหมายความวาจะตองจับอยูในกํามือ เพียงแตทําใหสัตวอยูในอํานาจก็เปนการเพียงพอที่จะทําใหผูนั้นเปนเจาของสัตว

Page 29: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

28

มาตรา 1322 บุคคลใดทําใหสัตวปาบาดเจ็บแลวติดตามไปและบุคคลอื่นจับสัตวนั้นไดก็ดี หรือสัตวนั้นตายลงในที่ดินของบุคคลอื่นก็ดีทานวาบุคคลแรกเปนเจาของสัตว ■ ตาม ม.1322 สัตวปานั้นตองไมมีเจาของดวย หากมีเจาของ เปนการทําละเมิดแกเจาของสัตวปานั้นดวย การไดมาซึ่งทรพัยสินที่ไมมีผูครอบครอง

มาตรา 1323 บุคคลเก็บไดซึ่งทรัพยสินหาย ตองทําอยางหนึ่งอยางใดดั่งตอไปนี้ (1) สงมอบทรัพยสินนั้นแกผูของหายหรือเจาของ หรือบุคคลอื่นผูมีสิทธิจะรับทรัพยสินนั้น หรือ

(2) แจงแกผูของหายหรือเจาของ หรือบุคคลอื่นผูมีสิทธิจะรับทรัพยสินนั้นโดยมิชักชา หรือ

(3) สงมอบทรัพยสินนั้นแกตํารวจนครบาล หรือพนักงานเจาหนาท่ีอ่ืนภายในสามวัน และแจงพฤติการณตามที่ทราบอันอาจเปนเครื่องชวยในการสืบหาตัวบุคคลผูมีสิทธิจะรับทรัพยสินนั้น

แตถาไมทราบตัวผูของหาย เจาของ หรือบุคคลอื่นผูมีสิทธิจะรับทรัพยสินก็ดี หรือบุคคลดั่งระบุนั้นไมรับมอบทรัพยสินก็ดี ทานใหดําเนินการตามวิธีอันบัญญัติไวในอนุมาตรา (3)

ท้ังนี้ ทานวาผูเก็บไดซึ่งทรัพยสินหายตองรักษาทรัพยสินนั้นไวดวยความระมัดระวังอันสมควรจนกวาจะสงมอบ ■ ทรัพยสินหาย หมายถึง ทรัพยสินมีเจาของแตไมไดอยูในครอบครอง หากทรัพยสินนั้นอยูในครอบครอง แตเจาของหาไมพบเพราะไมรูวาไปเก็บไวท่ีไหน ยังไมถือวาเปนทรัพยสินหาย หากทรัพยสินขาดจากการยึดถือเปนการชั่วคราว เจาของยังติดตามอยู และยังอยูในวิสัยที่จะตามหาจนพบได ยังไมถือวาเปนทรัพยสินหาย

กระเปาเงินหลนขณะรถคว่ํา ผูอ่ืนเอาไป ยังไมถือวาเปนทรัพยสินหาย เจาของเพ่ิงทําสรอยคอตกและยังอยูบริเวณนั้น ยังไมถือวาเปนทรัพยสินหาย

■ ทรัพยสินหายตางจากสังหาริมทรัพยไมมีเจาของ ทรัพยสินหายยังถือวามีเจาของอยู การไดกรรมสิทธ์ิจึงไมอาจไดมาทันทีโดยการเขาถือเอาตาม ม.1318 แตจะไดมาเฉพาะการครอบครองปรปกษตาม ม.1382 หรือ 1383 และกรณีตาม ม.1325 ■ กําหนด 3 วันเปนเพียงกําหนดวิธีปฏิบัติในทางแพง สวนจะเปนทางอาญาหรือไม ตองพิจารณาที่เจตนาเปนสําคัญ ไมตองคํานึงถึงระยะเวลา 3 วันดังกลาวได ■ หากพบเห็นแลวมิไดเก็บเอา ก็ไมมีสิทธิหนาท่ีตามกฎหมายประการใด และไมเปนความผิดทั้งในทางแพงและอาญา มาตรา 1324 ผูเก็บไดซึ่งทรัพยสินหาย อาจเรียกรองเอารางวัลจากบุคคลผูมีสิทธิจะรับทรัพยสินนั้นเปนจํานวนรอยละสิบแหงคาทรัพยสินภายในราคาพันบาทและถาราคาสูงกวานั้นขึ้นไป ใหคิดใหอีกรอยละหาในจํานวนที่เพ่ิมขึ้น แตถาผูเก็บไดซึ่งทรัพยสินหาย ไดสงมอบทรัพยสินแกตํารวจนครบาล หรือพนักงานเจาหนาท่ีอ่ืนไซรทานวาใหเสียเงินอีกรอยละสองครึ่งแหงคาทรัพยสินเปนคาธรรมเนียมแกทบวงการนั้นๆ เพ่ิมขึ้นเปนสวนหนึ่งตางหากจากรางวัลซึ่งใหแกผูเก็บไดแตคาธรรมเนียมนี้ทานจํากัดไวไมใหเกินรอยบาท

ถาผูเก็บไดซึ่งทรัพยสินหายมิไดปฏิบัติตามบทบัญญัติในมาตรากอนไซรทานวาผูนั้นไมมีสิทธิจะรับรางวัล

■ รอยละตามที่กฎหมายกําหนด ไมใชบทบัญญัติวาดวยความสงบ จึงตกลงเปนอยางอ่ืนได ไมตกเปนโมฆะตาม ม.150 มาตรา 1325 ถาผูเก็บไดซึ่งทรัพยสินหายไดปฏิบัติตามบทบัญญัติมาตรา 1323 แลว และผูมีสิทธิจะรับทรัพยสินนั้นมิไดเรียกเอาภายในหนึ่งปนับแตวันที่เก็บไดไซร ทานวากรรมสิทธ์ิตกแกผูเก็บได แตถาทรัพยสินซึ่งไมมีผูเรียกเอานั้นเปนโบราณวัตถุไซร กรรมสิทธ์ิแหงทรัพยสินนั้นตกแกแผนดิน แตผูเก็บไดมีสิทธิจะไดรับรางวัลรอยละสิบแหงคาทรัพยสินนั้น

Page 30: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

29

■ หากมิไดปฏิบัติตาม ม.1323 จะใชเวลา 1 ปไมได ตองใชอายุความครอบครองปรปกษ 5 ป ตาม ม.1382 หรือ 1383 แลวแตกรณี มาตรา 1326 การเก็บไดซึ่งทรัพยสินอันตกหรือท้ิงทะเล หรือทางน้ําหรือน้ําซัดขึ้นฝงนั้น ทานใหบังคับตามกฎหมายและกฎขอบังคับวาดวยการนั้น ■ ทรัพยสินที่ตกหรือท้ิงทะเลใชบังคับตามกฎหมายทะเล ซึ่งเปนกฎหมายระหวางประเทศ หากภายในประเทศใชบังคับตาม พ.ร.บ.การเดินเรือในนานน้ําไทย พ.ศ.2456 ม.128 และ 129

ม.128 ผูท่ีเก็บทรัพยสิ่งของในแมน้ํา ใหนําสงโรงพักกองตระเวณที่ตั้งใกล ม.129 ของท่ีสงมา ตองคืนเจาของหากรูตัว พนสามเดือน ใหขายทอดตลาด ใหผูเก็บไดรอยละสิบ เหลือสงรัฐบาล มาตรา 1327 ภายในบังคับแหงกฎหมายอาญา กรรมสิทธ์ิแหงสิ่งใด ๆ ซึ่งไดใชในการกระทําผิด หรือไดมาโดยการกระทําผิด หรือเก่ียวกับการกระทําผิดโดยประการอื่น และไดสงไวในความรักษาของกรมในรัฐบาลนั้น ทานวาตกเปนของแผนดิน ถาเจาของมิไดเรียกเอาภายในหนึ่งปนับแตวันสง หรือถาไดฟองคดีอาญาตอศาลแลวนับแตวันที่คําพิพากษาถึงท่ีสุด แตถาไมทราบตัวเจาของ ทานใหผอนเวลาออกไปเปนหาป ถาทรัพยสินเปนของเสียงาย หรือถาหนวยชาไวจะเปนการเสี่ยงความเสียหายหรือคาใชจายจะเกินสวนกับคาของทรัพยสินนั้นไซร ทานวากรมในรัฐบาลจะจัดใหเอาออกขายทอดตลาดกอนถึงกําหนดก็ได แตกอนที่จะขายใหจัดการตามควรเพื่อบันทึกรายการอันเปนเครื่องใหบุคคลผูมีสิทธิจะรับทรัพยสินนั้นอาจทราบวาเปนทรัพยสินของตนและพิสูจนสิทธิไดเม่ือขายแลวไดเงินเปนจํานวนสุทธิเทาใดใหถือไวแทนตัวทรัพยสิน ■ กรรมสิทธ์ิในทรัพยสินที่จะตกเปนของแผนดิน ตองเขาหลักเกณฑ

1. เปนทรัพยสินซึ่งไดใชในการกระทําผิด หรือไดมาโดยกระทําผิด หรือประการอื่น

2. ไดสงไวในความรักษาของรัฐบาล หรือ “ของกลาง” แตตองไมใชทรัพยสินที่ศาลสั่งคืนเจาของ หรือศาลริบแลว

3. เจาของมิไดเรียกรองภายใน 1 ปนับแตวันสง ถาไดฟองคดีอาญาตอศาลแลว นับแตวันพิพากษาถึงท่ีสุด ถาไมทราบตัวเจาของก็ใหผอนออกไปเปน 5 ป ทรัพยนั้นจะตกเปนของแผนดิน

■ หากไมมี ม.1327 รัฐจะตองมีภาระดูแลเก็บรักษาเรื่อยไป ไมมีทางไดมาซึ่งกรรมสิทธ์ิ มาตรา 1328 สังหาริมทรัพยมีคาซึ่งซอนหรือฝงไวนั้น ถามีผูเก็บไดโดยพฤติการณซึ่งไมมีผูใดสามารถอางวาเปนเจาของไดไซร ทานวากรรมนสิทธ์ิตกเปนของแผนดิน ผูเก็บไดตองสงมอบทรัพยนั้นแกตํารวจนครบาล หรือพนักงานเจาหนาท่ีอ่ืน แลวมีสิทธิจะไดรับรางวัลหนึ่งในสามแหงคาทรัพยนั้น

■ สังหาริมทรัพยมีคาตามธรรมชาติซึ่งอยูในดินหรือหินมิใชสังหาริมทรัพย ■ แมจะไมมีเวลากําหนดไว แตก็ควรจะสงมอบโดยเร็ว เพราะหากเก็บไวโดยเจตนาทุจริต จะเปนความผิดฐานยักยอก ตาม ปอ.มาตรา 355 4.2.2 การไดมาโดยการรับโอนโดยสุจริต เปนการไดมาในพฤติการณพิเศษอันเปนการคุมครองบุคคลภายนอกผูรับโอนโดยสุจริต ซึ่งมีกรณีสําคัญๆ คือ - กรณีบุคคลหลายคนเรียกเอาสังหาริมทรัพยเดียวกัน โดยอาศัยหลักกรรมสิทธ์ิตางกัน

- กรณีไดทรัพยสินจากผูโอนซึ่งไดทรัพยสินนั้นมาโดยนิติกรรมอันเปนโมฆียะ

- กรณีไดทรัพยสินจากการขายทอดตลาด ตามคําสั่งศาลหรือเจาพนักงานพิทักษทรัพยในคดีลมละลาย

- กรณีสิทธิของบุคคลผูไดเงินตรา

Page 31: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

30

- กรณีซื้อทรัพยสินในการขายทอดตลาดในทองตลาดหรือจากพอคาซึ่งขายของชนิดนั้น กรณีบุคคลหลายคนเรียกเอาสังหาริมทรัพยเดียวกัน โดยอาศัยหลักกรรมสิทธิ์ตางกัน

มาตรา 1303 ถาบุคคลหลายคนเรียกเอาสังหาริมทรัพยเดียวกันโดยอาศัยหลักกรรมสิทธ์ิตางกันไซร ทานวาทรัพยสินตกอยูในครอบครองของบุคคลใด บุคคลนนั้นมีสิทธิยิ่งกวาบุคคลอื่นๆ แตตองไดทรัพยนั้นมาโดยมีคาตอบแทนและไดการครอบครองโดยสุจริต

ทานมิใหใชมาตรานี้บังคับถึงสังหาริมทรัพยซึ่งระบุไวในมาตรากอนและในเรื่องทรัพยสินหาย กับทรัพยสินที่ไดมาโดยการกระทําผิด ■ การไดครอบครองโดยสุจริต พิจารณาเฉพาะในดานของผูรับโอนเทานั้น ผูโอนจะสุจริตหรือไมก็ไมสําคัญ ■ ผูไดสังหาริมทรัพยโดยมีคาตอบแทนและไดครอบครองโดยสุจริตจะเปนผูมีสิทธิดีกวาเสมอไป เพราะตองไดสังหาริมทรัพยนั้นมาจากเจาของผูโอนคนเดียวกัน หรือบุคคลอื่นที่มีอํานาจจะโอนใหได ถึงจะไดกรรมสิทธ์ิ ■ หากผูรับโอนไมไดสังหาริมทรัพยจากเจาของหรือผูมีอํานาจโอน แมจะไดมาโดยมีคาตอบแทนและไดการครอบครองโดยสุจริต ผูรับโอนก็ไมไดรับการคุมครองตามกฎหมาย

เอาทรัพยสินที่เชาไปขาย ไมใชกรณีตาม ม.1303

ซื้อทรัพยสินจากบุคคลที่ไมมีอํานาจจะขายให ไมอยูในบังคับตาม ม.1303 ■ ป.พ.พ.มาตรา 1303 ไมใชบังคับแกทรัพยสิน 3 ประเภทคือ เรือกําปน เรือท่ีมีระวางตั้งแต 6 ตันขึ้นไป เรือกลไฟ หรือเรือยนตท่ีมีระวางตั้งแต 5 ตันขึ้นไป ท้ังแพและสัตวพาหนะ เพราะการโอนทรัพยสินดังกลาว จะตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียน ■ ทรัพยสินที่ไดมาโดยการกระทําผิด ยอมเปนการไดมาโดยมิชอบ จึงไมอาจเปนเหตุใหไดมาซึ่งกรรมสิทธ์ิ ไมไดรับการคุมครอง ตาม ม.1303 กรณีไดทรัพยสินจากผูโอนซึ่งไดทรัพยสินน้ันมาโดยนิติกรรมอนัเปนโมฆียะ

มาตรา 1329 สิทธิของบุคคลผูไดมาซึ่งทรัพยสินโดยมีคาตอบแทนและโดยสุจริตนั้น ทานวามิเสียไป ถึงแมวาผูโอนทรัพยสินใหจะไดทรัพยสินนั้นมาโดยนิติกรรมอันเปนโมฆียะ และนิติกรรมนั้นไดถูกบอกลางภายหลัง ■ มีหลักเกณฑ (1) ตองมีนิติกรรม 2 นิติกรรม (2) นิติกรรมแรกเปนโมฆียะ (3) นิติกรรมหลังสมบูรณ ■ ตองมีสองนิติกรรม และเปนนิติกรรมการโอนทรัพยสินทั้งสองนิติกรรม

นิติกรรมแรก บุคคลอื่น โอนทรัพยสินแก ผูโอน

นิติกรรมหลัง ผูโอน โอนทรัพยสินนั้นแก ผูรับโอน ■ นิติกรรมหลังสมบูรณ จะตองสมบูรณตามกฎหมาย หากนิติกรรมหลังเปนโมฆียะดวย ก็ไมเขากรณีตาม ม.1329 และตองมีหลักเกณฑคือ

• หากไมมีคาตอบแทน เชน การใหโดยสเนหา หรือไมสุจริต ก็ไมไดรับการคุมครอง • ตองทํากอนนิติกรรมแรกถูกบอกลางโมฆียะกรรม

Page 32: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

31

■ หากนิติกรรมหลังไดทํากอนนิติกรรมแรกถูกบอกลางโมฆียะกรรม นิติกรรมหลังนั้นไดโอนตอกันไปอีกหลายทอด ก็ยังไดรับการคุมครองตาม ม.1329 กรณีไดทรัพยสินจากการขายทอดตลาด ตามคําสั่งศาลหรือเจาพนักงานพิทักษทรัพยในคดีลมละลาย

มาตรา 1330 สิทธิของบุคคลผูซื้อทรัพยสินโดยสุจริตในการขายทอดตลาดตามคําส่ังศาล หรือคําส่ังเจาพนักงานรักษาทรัพยในคดีลมละลายนั้น ทานวามิเสียไป ถึงแมภายหลังจะพิสูจนไดวาทรัพยสินนั้นมิใชของจําเลย หรือลูกหนี้โดย คําพิพากษา หรือผูลมละลาย ■ กรณีท่ีศาลสั่งใหขายหรือประมูลกันในระหวางคูความหรือขายตามขอตกลงยอมความกันโดยประการอื่น ไมไดรับการคุมครอง ■ กรณีไดทรัพยสินจากการขายทอดตลาดตามคําสั่งศาล เจาของที่แทจริงจะใชสิทธิของใชราคาไมได เพราะมิใชกรณีการขายทอดตลาดของเอกชน ตาม ป.พ.พ.มาตรา 1332 ■ สิทธิของผูซื้อมิเสียไป แมภายหลังจะพิสูจนไดวา ทรัพยสินนั้นมิใชของจําเลย หรือลูกหนี้โดยคําพิพากษาหรือผูลมละลาย ■ แมมาตรา 1330 จะตัดสิทธิเจาของที่แทจริงโดยเด็ดขาด แตผูซื้อก็ไดสิทธิไปเทาท่ีลูกหนี้ตามคําพิพากษา หากมีภาระผูกพันเหนือทรัพยสิน ผูซื้อก็ยอมตองรับภาระผูกพันนั้นไปดวย ■ แมผูซื้อจะยังไมไดชําระราคา หรือยังมิไดจดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิ ก็มีสิทธิฟองขับไลผูไมสิทธิเขาเก่ียวของกับทรัพยสินนั้นได เพราะ ม.1330 เปนบทบัญญัติในพฤติการณพิเศษ ไมอยูในขายซื้อขายอสังหาริมทรัพยท่ัวไป ■ แมจะยังมิไดมีการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิ ผูซื้อโดยสุจริตอยูในฐานะจะจดทะเบียนสิทธิเปนของตนไดอยูกอน จึงมีสิทธิเพิกถอนการจดทะเบียนกรรมสิทธ์ิในทรัพยสินนั้นโดยมิชอบได ■ หากทรัพยสินเปนที่ดินที่ไมมีหนังสือสําคัญหรือหนังสือรับรองการทําประโยชน ศาลจะสั่งใหพนักงานเจาหนาท่ีจดทะเบียนใหผูซื้อมิได เปนเรื่องท่ีจะตองดําเนินการตามกฎหมายที่ดิน ■ ทรัพยสินที่มีกฎหมายหามโอนไว ยอมไมอยูในบังคับของ ม.1330 ไดแก

• สาธารณสมบัติของแผนดิน • ท่ีวัดและที่ธรณีสงฆ (ไมรวมที่กัลปานา) • ท่ีดินภายใต พ.ร.บ.ปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรมฯ

■ กรณีทรัพยสินรายเดียวกัน แตมีผูซื้อตางรายกัน และตางก็สุจริต ซึ่งเกิดจากความผิดพลาดในการออกเอกสารสิทธิ ม.1330 คุมครองเฉพาะรายที่มีเอกสารสิทธิโดยชอบเทานั้น กรณีสิทธิของผูไดเงินตรา มาตรา 1331 สิทธิของบุคคลผูไดเงินตรามาโดยสุจริตนั้นทานวามิเสียไป ถึงแมภายหลังจะพิสูจนไดวาเงินนั้นมิใชของบุคคลซึ่งไดโอนใหมา ■ เงินตรา หมายถึง ธนบัตรหรือเหรียญกษาปน ซึ่งใชชําระหนีไ้ดตามกฎหมาย เงินโบราณหรือเงินตราที่ยกเลิกแลวจึงเปนเพียงทรัพยสินอยางหนึ่ง มิใชเงินตราในความหมายของ ม.1331 นอกจากนี้ตั๋วเงิน แมจะเปลี่ยนมือกันก็มิใชเงินตรา จึงไมอยูในขอบังคับ ม.1331

Page 33: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

32

■ ม.1331 หากไดมาโดยสุจริตแลว ก็เพียงพอที่จะไดรับการคุมครอง กรณีซื้อทรัพยสินในการขายทอดตลาด ในทองตลาด หรือจากพอคาซึ่งขายของชนิดนั้น มาตรา 1332 บุคคลผูซื้อทรัพยสินมาโดยสุจริตในการขายทอดตลาดหรือในทองตลาด หรือจากพอคาซึ่งขายของชนิดนั้นไมจําตองคืนใหแกเจาของแทจริงเวนแตเจาของจะชดใชราคาที่ซื้อมา ■ ผูซื้อ หมายรวมถึง ผูเชาซื้อ ตาม ป.พ.พ.มาตรา 572 ผูแลกเปลี่ยนซึ่งจะตองโอนเงินเพ่ิมเขากับทรัพยสินใหแกอีกฝายหนึ่งตาม ป.พ.พ.มาตรา 520 ■ ผูซื้อทรัพยสินที่จะไดรับการคุมครอง จะตองเปนผูซื้อทรัพยสินในกรณี

1. ในการขายทอดตลาด

2. ในทองตลาด

3. จากพอคาซึ่งขายของชนิดนั้น ■ ในทองตลาดหมายถึง ท่ีชุมนุมการคา ดังนั้น การโอนขายเรือกันที่กรมเจาทา ไมเรียกวาซี้อขายในทองตลาด และการซื้อในทองตลาด ยังตองซื้อยางเปดเผยในเวลาที่มีการซื้อขายเปนปกติดวย ■ หากพอคากลับเปนผูซื้อเสียเอง ก็ไมถือวาเปนการซื้อในทองตลาด เวนแตจะเปนการซื้อจากพอคาซื้อขายของชนิดนั้นเทานั้น เพราะ ม.1332 มุงคุมครองผูซื้อทรัพยสินจากผูขายซึ่งคาขายในทองตลาด

ซื้อจากพนักงานขายหรือตัวแทนพอคาซึ่งขายของชนิดนั้น ยอมถือวาเปนการซื้อจากพอคาซึ่งขายของชนิดนั้น ■ แมทรัพยสินที่ซื้อมาตาม ม.1332 ผูขายจะสัญญากับเจาของเดิม ผูซื้อก็มีสิทธิจะไมคืน เวนแตจะไดชดใชราคา ■ เจาของกรรมสิทธ์ิท่ีแทจริง มิไดเสนอที่จะชดใชราคาตาม ม.1332 ศาลก็ไมอาจเรียกทรัพยสินนั้นคืนได ■ แมศาลสั่งใหริบทรัพยสินนั้นแลว หากผูซื้อตาม ม.1332 รองขอทรัพยสินนั้นคืน ก็ตองคืนใหแกผูซื้อนั้นไป ■ หากเจาของที่แทจริงเอาทรัพยสินนั้นไปจากผูซื้อโดยผูซื้อมิไดยินยอม เจาของที่แทจริงก็ตองคืนใหแกผูซื้อ ■ การเรียกคืนจากผูซื้อมิไดบทบัญญัติเรื่องอายุความ จึงตองอาศัยอายุความทั่วไปตาม ป.พ.พ.มาตรา 193/30 คือมีกําหนด 10 ป ■ กรณีเจาของที่แทจริงจะตองชดใชราคานั้น ราคาที่ซื้อมา หมายถึงราคาที่ผูซื้อไดจายไปตามราคาจริงท่ีผูซื้อไดซื้อมา จะนําสืบวาถูกกวาหรือแพงกวานั้นมิได ■ หากผูซื้อรับซื้อไวโดยสุจริต และขายตอไปโดยสุจริต ทรัพยสินนั้นไมไดอยูในการครอบครองของผูซื้อแลว เจาของที่แทจริงจะเรียกใหผูซื้อชดใชราคาสิ่งของนั้นไมได ยังเรียกไมไดวาผูซื้อทําละเมิดตอเจาของทรัพยสินนั้น การไดกรรมสิทธิ์โดยอายุความ

มาตรา 1333 ทานวากรรมสิทธ์ินั้น อาจไดมาโดยอายุความตามที่บัญญัติไวในลักษณะ 3 แหงบรรพนี ้ ■ เปนการไดมาโดยอายุความตามที่บัญญัติไวในลักษณะ 3 แหงบรรพ 4 ซึ่งก็คือ การไดมาโดยการครอบครองปรปกษ ตาม ป.พ.พ.มาตรา 1382 และ 1383 เปนการไดกรรมสิทธ์ิในลักษณะของการตัดกรรมสิทธ์ิของเจาของ

Page 34: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

33

■ ทรัพยสินจะตองไมใช 1. สังหาริมทรัพยไมมีเจาของ เพราะอาจไดมาโดยการเขาถือเอา 2. ทรัพยสินที่มีเพียงสิทธิครอบครอง เชน ท่ีดินมือเปลา เปนตน

3. ทรัพยสินทางปญญา เพราะไมใชกรรมสิทธ์ิ

4. ทรัพยสินที่ตองหามตามกฎหมายมิใหยกอายุความขึ้นเปนขอตอสู การไดมาซึ่งทีด่นิตามกฎหมายที่ดิน

มาตรา 1334 ท่ีดินรกรางวางเปลา และที่ดินซึ่งมีผูเวนคืนหรือทอดทิ้งหรือกลับมาเปนของแผนดินโดยประการอื่นตามกฏไมายท่ีดินนั้น ทานวาบุคคลอาจไดมาตามกฎหมายที่ดิน

■ ท่ีดินตาม ม.1334 ไมอาจไดมาโดยอายุความหรือยึดทรัพยสินเพ่ือบังคับคดีหรือโดยนิติกรรมสัญญา แตก็อาจไดมาตามกฎหมายที่ดิน

Page 35: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

34

5. การใชสิทธิและขอจํากดัในการใชสทิธ ิ

5.1 การใชสิทธิและขอจํากัดในการใชสิทธิโดยทั่วไป

5.1.1 สิทธิและการใชสิทธิ ■ สิทธิตามกฎหมาย (Legal Rights) หมายถึง อํานาจหรือประโยชนอันบุคคลมีอยูโดยกฎหมายรับรองและคุมครองให ซึ่งไมหมายรวมถึงสิทธิอ่ืนๆ ท่ีไมมีคาบังคับทางกฎหมาย เชน สิทธิทางศีลธรรม สิทธิทางธรรมชาติ หรือสิทธิมนุษยชน แตถามีกฎหมายบัญญัติรับรองสิทธิดังกลาวไว สิทธินั้นก็กลายเปนสิทธิตามกฎหมาย สิทธิตามกฎหมาย อาจแยกเปนสิทธิท่ีเก่ียวกับสภาพบุคคลประการหนึ่ง และสิทธิท่ีเก่ียวกับทรัพยสินอีกประการหนึ่ง ■ ขอจํากัดในการใชสิทธิ ดังสุภาษิตโรมัน “ผูท่ีใชสิทธิของตนยอมไมทําความเสียหายแกบุคคลอื่น” มาตรา 5 ในการใชสิทธิแหงตนก็ดี ในการชําระหนี้ก็ดี บุคคลทุกคนตองกระทําโดยสุจริต

มาตรา 421 การใชสิทธิซึ่งมีแตจะใหเกิดเสียหายแกบุคคลอื่นนั้นทานวาเปนการอันมิชอบดวยกฎหมาย

■ การกระทําใดจะเปนการใชสิทธิโดยไมสุจริตหรือไมนั้น ตองคํานึงถึงหลักสองประการ

1. ผูกระทํามีสิทธิหรือไม 2. การใชสิทธินั้นสุจริตหรือไม

■ เม่ือไมมีกฎหมาย ป.พ.พ.มาตรา 4 วรรคสองบัญญัติไววา มาตรา 4 กฎหมายนั้น ตองใชในบรรดากรณีซึ่งตองดวยบทบัญญัติใด ๆ แหงกฎหมายตามตัวอักษร หรือตามความมุงหมายของบทบัญญัตินั้น ๆ

เม่ือไมมีบทกฎหมายที่จะยกมาปรับคดีได ใหวินิจฉัยคดีนั้นตามจารีตประเพณีแหงทองถ่ิน ถาไมมีจารีตประเพณีเชนวานั้น ใหวินิจฉัยคดีอาศัยเทียบบทกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง และถาบทกฎหมายเชนนั้นก็ไมมีดวย ใหวินิจฉัยตามหลักกฎหมายทั่วไป

5.2 ขอจํากัดในการใชสิทธิของเจาของอสังหาริมทรัพย

5.2.1 การจดทะเบียนถอนหรือเปลี่ยนแปลงของจํากัด

มาตรา 1338 ขอจํากัดสิทธิแหงเจาของอสังหาริมทรัพยซึ่งกฎหมายกําหนดไวนั้น ทานวาไมจําตองจดทะเบียน

ขอจํากัดเชนนี้ ทานวาจะถอนหรือแกใหหยอนลงโดยนิติกรรมไมไดนอกจากจะไดทํานิติกรรมเปนหนังสือและ

จดทะเบียนกับพนักงานเจาหนาท่ี

ขอจํากัดซึ่งกําหนดไวเพ่ือสาธารณะประโยชนนั้น ทานวาจะถอนหรือแกใหหยอนลงมิไดเลย มาตรา 1355 เจาของที่ดินริมทางน้ํา หรือมีทางน้ําผาน ไมมีสิทธิจะชักเอาน้ําไวกินเกินกวาท่ีจําเปนแกประโยชนของตนตามควร ใหเปนเหตุเสื่อมเสียแกท่ีดินแปลงอื่นซึ่งอยูตามทางน้ํานั้น

Page 36: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

35

5.2.2 ขอจํากัดเก่ียวกับการรับน้ําตามสภาพทางธรรมชาติของท่ีดิน มาตรา 1339 เจาของที่ดินจําตองรับน้ําซึ่งไหลตามธรรมดาจากที่ดินสูงมาในที่ดินของตน

น้ําไหลตามธรรมดามายังท่ีดินต่ํา และจําเปนแกท่ีดินนั้นไซร ทานวาเจาของที่ดินซึ่งอยูสูงกวาจะกันเอาไวไดเพียงที่จําเปนแกท่ีดินของตน ■ หากเปนที่ดินซึ่งอยูในเขตน้ําเออลนไหลผาน แมจะเปนที่ดินตั้งอยูในระดับเดียวกัน หากไปก้ันกําแพงหรือทําคันดินสูงขึ้นทําใหน้ําไมอาจไหลผานและทวมขังเกินกวาปกติ ก็อาจะเปนการใชสิทธิโดยไมสุจริตตาม ม.5 ได มาตรา 1340 เจาของที่ดินจําตองรับน้ําซึ่งไหลเพราะระบายจากที่ดินสูงมาในที่ดินของตน ถากอนที่ระบายนั้นน้ําไดไหลเขามาในที่ดินของตนตามธรรมดาอยูแลว

ถาไดรับความเสียหายเพราะการระบายน้ํา ทานวาเจาของที่ดินต่ําอาจเรียกรองใหเจาของที่ดินสูงทําทางระบายน้ําและออกคาใชจายในการนั้นเพ่ือระบายน้ําไปใหตลอดที่ดินต่ําจนถึงทางน้ํา หรือทอน้ําสาธารณะทั้งนี้ไมลบลางสิทธิแหงเจาของที่ดินต่ําในอันจะเรียกเอาคาทดแทน ■ บทบัญญัตินี้ตอเนื่องมาจาก ม.1339 โดยเจาของที่ดินสูงไดระบายน้ําเพ่ิมขึ้นนอกเหนือจากปกติธรรมชาติ เจาของที่ดินต่ําไมมีสิทธิปดก้ันมิใหน้ําไหลเพราะระบายมาที่ดินของตน มาตรา 1355 เจาของที่ดินริมทางน้ํา หรือมีทางน้ําผาน ไมมีสิทธิจะชักเอาน้ําไวกินเกินกวาที่จําเปนแกประโยชนของตนตามควร ใหเปนเหตุเสื่อมเสียแกที่ดินแปลงอื่นซึ่งอยูตามทางน้ํานั้น

■ ทางน้ํา หมายถึง ทางน้ําสาธารณะที่ราษฎรสามารถใชไดโดยทั่วไป เชน ลําหวย ลําธาร คลอง ไมวาจะไหลไปตามแนวเขตที่ดินหรือไหลผานเขาไปในที่ดินของเอกชนก็ตาม แตยอมมิใชทางน้ําหรือคูน้ําท่ีเอกชนขุดขึ้นมา และมิใชน้ําท่ีไหลตามสภาพทางธรรมชาติของที่ดินตางระดับ 5.2.3 ขอจํากัดเพ่ือประโยชนแหงเจาของอสังหาริมทรัพยหรือเจาของที่ดินติดตอกัน มาตรา 1341 ทานมิใหเขาของอสังหาริมทรัพยทําหลังคาหรือการปลูกสรางอยางอ่ืน ซึ่งทําใหน้ําฝนตกลงยังทรัพยสินซึ่งอยูติดตอกัน ■ หากน้ําฝนนั้นไหลหรือกระเด็นเขาไปในที่ดินวางเปลามีหญาขึ้นรกรุงรัง หากเจาของที่ดินใชสิทธิฟองก็อาจเปนการใชสิทธิโดยไมสุจริตมีแตจะเกิดความเสียหายแกบุคคลอื่นตาม ม.5 และ ม.421 มาตรา 1342 บอ สระ หลุมรับน้ําโสโครก หรือหลุมรับปุยหรือขยะมูลฝอยนั้น ทานวาจะขุดในระยะสองเมตรจากแนวเขตที่ดินไมได คูหรือการจุดรองเพ่ือวางทอน้ําใตดินหรือสิ่งอ่ืนซึ่งคลายกันนั้นทานวาจะทําใกลแนวเขตที่ดินกวาครึ่งหนึ่งแหงสวนลึกของคูหรือรองนั้นไมได แตถาทําหางแนวเขตหนึ่งเมตรหรือกวานั้น ทานวาทําได ถากระทําการดั่งกลาวไวในสองวรรคกอนใกลแนวเขตไซร ทานวาตองใชความระมัดระวังตามควร เพ่ือปองกันมิใหดินหรือทรายพังลงหรือมิใหน้ําหรือสิ่งโสโครกซึมเขาไป

มาตรา 1343 หามมิใหขุดดินหรือบรรทุกน้ําหนักบนที่ดินเกินควรจนอาจเปนเหตุอันตรายแกความอยูม่ันแหงท่ีดินติดตอ เวนแตจะจัดการเพียงพอเพื่อปองกันความเสียหาย

มาตรา 1344 รั้ว กําแพง รั้วตนไม ค ูซึ่งหมายเขตที่ดินนั้นทานใหสันนิษฐานไวกอนวาเจาของที่ดินทั้งสองขางเปนเจาของรวมกัน

Page 37: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

36

■ หากเจาของที่ดินขางใดขางหนึ่งสามารถพิสูจนไดวาตามความเปนจริงนั้นตนเปนเปนเจาของแตเพียงฝายเดียวหรือตนเปนผูออกคาใชจายและเปนผูสรางรั้ว เครื่องหมายเขตดังกลาวก็ยอมเปนของเจาของที่ดินฝายที่สามารถพิสูจนไดแตเพียงฝายเดียว มาตรา 1345 เม่ือรั้วตนไม หรือคูซึ่งมิไดใชเปนทางระบายน้ําเปนของเจาของที่ดินทั้งสองขางรวมกัน ทานวา เจาของขางใดขางหนึ่งมีสิทธิท่ีจะตัดรั้วตนไมหรือถมคูนั้นไดถึงแนวเขตที่ดินของตน แตตองกอกําแพง หรือทํารั้วตาม

แนวเขตนั้น

มาตรา 1346 ถามีตนไมอยูบนแนวเขตที่ดิน ทานใหสันนิษฐานไวกอนวาเจาของที่ดินทั้งสองขางเปนเจาของ ตนไมรวมกัน ดอกผลเปนของที่ดินคนละสวนเสมอกันและถาตัดตนลงไซร ไมนั้นเปนของเจาของที่ดินคนละสวนดุจกัน

เจาของแตละฝายจะตองการใหขุดหรือตัดตนไมก็ได คาใชจายในการนั้นตองเสียเทากันทั้งสองฝาย แตถา เจาของอีกฝายหนึ่งสละสิทธิในตนไมไซร ฝายที่ตองการขุดหรือตัดตองเสียคาใชจายฝายเดียว ถาตนไมนั้นเปนหลักเขตและจะหาหลักเขตอ่ืนไมเหมาะเหมือน ทานวาฝายหนึ่งฝายใดจะตองการใหขุดหรือตัดไมได มาตรา 1347 เจาของที่ดินอาจตัดรากไมซึ่งรุกเขามาจากที่ดินติดตอและเอาไวเสีย ถาก่ิงไมยื่นล้ําเขามา เม่ือเจาของที่ดินไดบอกผูครอบครองที่ดินติดตอใหตัดภายในเวลาอันสมควรแลว แตผูนั้นไมตัด ทานวาเจาของที่ดินตัดเอาเสียได ■ การจํากัดสิทธินี้เปนเรื่องเฉพาะรากไมและก่ิงไมท่ียื่นล้ําเขามา ไมรวมถึงตนไมเอนล้ําเขามาดวย รวมทั้งตนไมเลื้อย ตองใชสิทธิตามมาตรา 1335 และ 1336 บอกกลาว ■ หากตนไมรุกล้ําท้ังตน หากเปนไมยืนตนก็เปนสวนควบขึ้นอยูตามมาตรา 145 เจาของที่ดินยอมเปนเจาของตนไมนั้น และตัดไดเองตามมาตรา 1336 มาตรา 1348 ดอกผลแหงตนไมท่ีหลนตามธรรมดาลงในที่ดินติดตอแปลงใด ทานใหสันนิษฐานไวกอนวาเปนดอกผลของที่ดินแปลงนั้น ■ เกิดขึ้นเมื่อมีไมซึ่งมีดอกผลชนิดเดียวกันอยูใกลแนวเขตที่ดินทั้งสองขาง ถาเปนดอกผลตนไมคนละชนิด ก็ไมอยูในบังคับมาตรานี้ มาตรา 1351 เจาของที่ดิน เม่ือบอกลวงหนาตามสมควรแลวอาจใชท่ีดินติดตอเพียงที่จําเปนในการปลูกสราง หรือซอมแซมรั้วกําแพง หรือโรงเรือนตรงหรือใกลแนวเขตของตน แตจะเขาไปในเรือนที่อยูของเพ่ือนบานขางเคียง ไมไดเวนแตไดรับความยินยอม

ถาไดกอความเสียหายใหเกิดขึ้นไซร ทานวาเพ่ือนบานขางเคียงจะเรียกเอาคาทดแทนก็ได ■ การเขาไปในที่ดินผูอ่ืนโดยไมบอกกลาวเลยนั้นไมได เพราะเปนการลวงล้ําเขาไปในแดนกรรมสิทธ์ิผูอ่ืน ยอมเปนการละเมิดสิทธิและมีความผิดฐานบุกรุกตาม ป.อาญา มาตรา 362 มาตรา 1352 ทานวาถาเจาของที่ดินไดรับคาทดแทนตามสมควรแลวตองยอมใหผูอ่ืนวางทอน้ํา ทอระบายน้ํา สายไฟฟา หรือสิ่งอ่ืนซึ่งคลายกันผานที่ดินของตน เพ่ือประโยชนแกท่ีดินติดตอ ซึ่งถาไมยอมใหผานก็ไมมีทางจะวางได หรือถาจะวางไดก็เปลืองเงินมากเกินควร แตเจาของที่ดินอาจใหยกเอาประโยชนของตนขึ้นพิจารณาดวย

เม่ือมีเหตุผลพิเศษ ถาจะตองวางเหนือพ้ืนดินไซร ทานวาเจาของที่ดินอาจเรียกใหซื้อท่ีดินของตนบางสวนตามควรที่จะใชในการนั้น โดยราคาคุมคาท่ีดินและคาทดแทนความเสียหาย ซึ่งอาจมีเพราะการขายนั้นดวย

ถาพฤติการณเปลี่ยนไป เจาของที่ดินอาจเรียกใหยายถอนสิ่งท่ีวางนั้นไปไว ณ สวนอื่นแหงท่ีดินของตนตามแตจะเหมาะแกประโยชนแหงเจาของที่ดิน

คายายถอนนั้นเจาของที่ดินติดตอเปนผูเสีย แตถามีพฤติการณพิเศษไซรทานวาจะใหเจาของที่ดินอีกฝายหนึ่งชวยเสียคายายถอนตามสวนอันควรก็ได

Page 38: กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน ตอนที่ 1-5

กฎหมายวาดวยทรัพยสิน ___________________________________________________________________________________________________

Update 2008-04-20 ดร.นิตินัย ขํามาลัย

37

5.2.4 ขอจํากัดเก่ียวกับทางจําเปนกับการใชท่ีดินเพ่ือประโยชนแกบุคคลทั่วไป

■ ทางจําเปน หมายถึง ทางที่ใชผานไปสูทางสาธารณะจากที่ดินแปลงหนึ่งที่ถูกที่ดินแปลงอื่นลอมอยูจนไมมีทางออกถึงทางสาธารณะไดซึ่งไมจําเปนตองเช่ือมตอกับทางสาธารณะโดยตรงก็ได เพียงแตตองสามารถใชที่ดินนั้นผานไปตามทางจนถึงทางสาธารณะไดในที่สุด แตถามีสิทธิผานที่ดินแปลงอื่นออกไปสูทางสาธารณะไดอยูแลวจะขอผานที่ดินผูอื่นอีกไมได หรือถาที่ดินนั้นมีทางออกอยูแลวแตกลับทําใหไมมีทางออก เชนปลูกสรางเต็มเนื้อที่จึงออกไมไดจะถือวาที่ดินนั้นตกอยูในที่ลอมของที่ดินแปลงอื่นเพื่อขอเปดทางจําเปนผานที่ดินผูอื่นไมไดเชนกัน

มาตรา 1349 ที่ดินแปลงใดมีที่ดินแปลงอื่นลอมอยูจนไมมีทางออกถึงทางสาธารณะไดไซร ทานวาเจาของที่ดินแปลงนั้นจะผานที่ดินซึ่งลอมอยูไปสูทางสาธารณะได ที่ดินแปลงใดมีทางออกไดแตเมื่อตองขามสระ บึง หรือทะเลหรือมีที่ชันอันระดับที่ดินกับทางสาธารณะสูงกวากันมากไซร ทานวาใหใชความในวรรคตนบังคับ

ที่และวิธีทําทางผานนั้นตองเลือกใหพอควรแกความจําเปนของผูมีสิทธิจะผาน กับทั้งใหคํานึงถึงที่ดินที่ลอมอยูใหเสียหายแตนอยที่สุดที่จะเปนไปไดถาจําเปน ผูมีสิทธิจะผานจะสรางถนนเปนทางผานก็ได ผูมีสิทธิจะผานตองใชคาทดแทนใหแกเจาของที่ดินที่ลอมอยูเพื่อความเสียหายอันเกิดแตเหตุที่มีทางผานนั้น คาทดแทนนั้นนอกจากคาเสียหายเพราะสรางถนน ทานวาจะกําหนดเปนเงินรายปก็ได ■ ทางสาธารณะยอมหมายถึง ท้ังทางสาธารณะที่เปนสาธารณสมบัติของแผนดินสําหรับพลเมืองใชรวมกันมาแตแรก เชน ทางหลวง ทางน้ํา และทางซึ่งราษฎรอุทิศท่ีดินใหโดยมีเจตนาใหเปนทางสาธารณะดวย แตตองเปนทางที่ราษฎรสัญจรไปมาได มาตรา 1350 ถาท่ีดินแบงแยกหรือแบงโอนกันเปนเหตุใหแปลงหนึ่งไมมีทางออกไปสูทางสาธารณะไซร ทานวาเจาของที่ดินแปลงนั้นมีสิทธิเรียกรองเอาทางเดินตามมาตรากอนไดเฉพาะบนท่ีดินแปลงที่ไดแบงแยกหรือแบงโอนกันและไมตองเสียคาทดแทน มาตรา 1353 บุคคลอาจพาปศุสัตวของตนผานหรือเขาไปในที่ดินของผูอ่ืนซึ่งมิไดก้ันเพ่ือไปเลี้ยง และอาจเขาไปเอาน้ําในบอหรือสระในที่เชนวานั้นมาใชได เวนแตท่ีดินเปนที่เพาะปลูก หรือเตรียมเพื่อเพาะปลูกหวาน หรือมีธัญชาติขึ้นอยูแลวแตทานวาเจาของท่ีดินยอมหามไดเสมอ ■ หากเจาของหามมิใหเขาไปไมวาดวยการบอกกลาวหรือปกปายไวก็ตาม เชน เขียนวา “ท่ีดินสวนบุคคลหามเขา” ก็ไมสามารถเขาไปทําประโยชนได ไมวาจะก้ันไวหรือไมก็ตาม มาตรา 1354 ถามีจารีตประเพณีแหงทองถ่ินใหทําได และถาเจาของไมหาม บุคคลอาจเขาไปในที่ปา ท่ีดง หรือในที่มีหญาเลี้ยงสัตวซึ่งเปนที่ดินของผูอ่ืนเพ่ือเก็บฟน หรือผลไมปา ผัก เห็ด และสิ่งเชนกัน