ความสััมพัันธ ระหว างประเทศ · •...

Preview:

Citation preview

ความสัมพันธระหวางประเทศความสัมพันธระหวางประเทศโดย

นาวาเอกนาวาเอก วชิรพรวชิรพร วงศนครสวางวงศนครสวางประจํา

สถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูง

ประวัติการศึกษาประวัติการศึกษาโรงเรียนสมุทรปราการโรงเรียนเตรียมทหารโรงเรียนนายเรือ หลักสูตรนายทหารกวาดทุนระเบดิหลักสูตรกําลังพลรับเรือลาทําลายทุนระเบดิ เยอรมัน อิตาลีโรงเรียนนายทหารพรรคกลินหลักสูตรผูบังคบัการเรือและยทุธวิธีเรือผิวน้ําMarine Engineering Application Course ออสเตรเลีย

ประวัติการศึกษาประวัติการศึกษาMaintenance of Gasturbine LM 2500 สหรัฐอเมริกาหลักสูตรกําลังพลรับเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร สเปน เยอรมันโรงเรียนเสนาธิการทหารเรือโรงเรียนเสนาธิการทหารเรือออสเตรเลียCertificate of Graduate Management มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีควีนสแลนด ออสเตรเลียรัฐศาสตรมหาบัณฑิต (ความสัมพันธระหวางประเทศ) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ประวัติการรับราชการประวัติการรับราชการนายชางกลเรือหลวงถลาง กทบ.กร.รองตนกลเรือหลวงบางระจัน กทบ.กร.ตนกลเรือหลวงบางระจัน กทบ.กร.รองตนกลเรือหลวงมกุฎราชกุมาร กฟก๑.กร.ตนกลเรือหลวงมกุฏราชกุมาร กฟก๑.กร.รองตนกลเรือหลวงจักรีนฤเบศร กบฮ.กร.อาจารย กองวิชายุทธศาสตร ฝายวิชาการ สรส.รองผูอํานวยการ กองวิชาพิเศษ ฝายวิชาการ สรส.

ความมุงหมายความมุงหมาย• เพื่อใหเขาใจหลักการสําคัญของความสัมพันธระหวางประเทศ• เพื่อให เขาใจถึงปจจัยตางๆที่ มี อิทธิพลในการกําหนดความสัมพันธระหวางประเทศ• เพื่อใหทราบถึงลักษณะความสัมพันธระหวางประเทศในปจจุบัน• เพื่อใหทราบถึง ปญหา อุปสรรค และแนวโนมในอนาคตของความสัมพนัธระหวางประเทศ

ขอบเขตการบรรยาย• ทฤษฎีความสมัพันธระหวางประเทศ• ตัวแสดงในเวทีความสัมพันธระหวางประเทศ• ประวัติความสมัพันธระหวางประเทศที่สําคัญ• ปจจัยในการกําหนดความสมัพันธระหวางประเทศ• เครื่องมือดําเนินความสมัพันธระหวางประเทศ• ลักษณะความสมัพันธระหวางประเทศในปจจุบัน• ปญหา อุปสรรค และแนวโนมในอนาคต

ความสมัพนัธของวิชาทีศ่กึษา

วิชาความสัมพันธระหวางประเทศ

วิชาความมั่นคงแหงชาติ

วิชายุทธศาสตร

วิชาสงคราม

ทฤษฎคีวามสัมพันธระหวางประเทศทฤษฎคีวามสัมพันธระหวางประเทศ• ความสมัพันธระหวางประเทศหมายถึง

การที่รัฐมีปฏิสัมพันธตอกันในรูปของความรวมมือและความขัดแยง

ทฤษฎีความสมัพนัธระหวางประเทศทฤษฎีความสมัพนัธระหวางประเทศ((ตอตอ))• แนวทางดั้งเดิม ไดแก แนวทางสัจนิยม แนวทางเสรีนิยม แนวทางเศรษฐศาสตร และแนวทางภูมิรัฐศาสตร

• แนวทางระดับมหภาค ไดแก แนวทางระบบ แนวทางการสื่อสาร แนวทางการรวมกลุมประเทศ และแนวทางเกี่ยวพัน

• แนวทางระดับตัวบุคคล ไดแก แนวทางการตัดสินใจ แนวทางจิตวิทยาและชีววิทยา และแนวทางสังคมวิทยา

ทฤษฎีความสมัพนัธระหวางประเทศทฤษฎีความสมัพนัธระหวางประเทศ((ตอตอ))• แนวทางดั้งเดิม

แนวทางสัจนิยม (Realism)

๐ รัฐเปนศูนยกลาง (State-Centric)

๐ อํานาจเปนศูนยกลาง (Power-Centric)

๐ รัฐดําเนินพฤติกรรมอยางมีเหตุผล (Rationality)

๐ ปจจุบันไดพัฒนาเปนสัจนิยมใหม (Neo-realism)

ทฤษฎีความสมัพนัธระหวางประเทศทฤษฎีความสมัพนัธระหวางประเทศ((ตอตอ))• แนวทางดั้งเดิม

แนวทางเสรีนิยม (Liberalism)

๐ คํานึงถึงตัวแสดงที่เปนปจเจกชนมากกวารัฐ

๐ สากลนิยมแบบเสรี (Liberal Internationalism) เกมสผลรวมเปนบวก

๐ อุดมคตินิยม (Idealism) สรางปทัสถานรวมกัน

๐ สถาบันนิยมแบบเสรี (Liberal Institutionalism) มีองคกรเหนือรัฐ

๐ ปจจุบันพัฒนาเปนเสรีนิยมใหม (Neo-liberalism) ยอมรับโครงสราง

ทฤษฎีความสมัพนัธระหวางประเทศทฤษฎีความสมัพนัธระหวางประเทศ((ตอตอ))• แนวทางดั้งเดิม

แนวทางเศรษฐศาสตร

๐ ทฤษฎีของ คารล มารกซ

๐ ทฤษฎีของ เลนิน ...ทุนนิยมไดพัฒนาเปนจักรวรรดินิยม...และเปนตนเหตุของความขัดแยง...การขจัดความขัดแยงตองขจัดทุนนิยม...

ทฤษฎีความสมัพนัธระหวางประเทศทฤษฎีความสมัพนัธระหวางประเทศ((ตอตอ))• แนวทางดั้งเดิม

แนวทางภูมิรัฐศาสตร (Geopolitics)

๐ ทฤษฎีสมุททานุภาพของ พลเรือตรี อัลเฟรด มาฮาน

๐ ทฤษฎีใจกลางโลกของ เซอรฮัลฟอรด แมคคินเดอร

๐ ทฤษฎีขอบโลกของ นิโคลัส สปคแมน

ทฤษฎีความสมัพนัธระหวางประเทศทฤษฎีความสมัพนัธระหวางประเทศ((ตอตอ))• แนวทางระดับมหภาค

แนวทางระบบ

๐ องคประกอบในระบบที่ทําใหเกิดความมั่นคงหรือขาดเสถียรภาพ

๐ กลไกควบคุมระบบ เชน กฎหมายหรือองคกรระหวางประเทศ

๐ บทบาทของพลังยอยๆในระบบ เชน มติมหาชน กลุมผลประโยชน กลุมวัฒนธรรม

๐ ความสัมพันธระหวางโครงสรางของระบบระหวางประเทศ เชน ขั้วอํานาจ ดุลอํานาจ การบังคับบัญชา

ทฤษฎีความสมัพนัธระหวางประเทศทฤษฎีความสมัพนัธระหวางประเทศ((ตอตอ))• แนวทางระดับมหภาค

แนวทางการสื่อสาร

๐ ระบบการเมืองคือระบบสื่อสารที่ควบคุมไดดวยตนเอง

๐ ประกอบดวย ขาวสาร ขายการสื่อสาร และขาวสารยอนกลับ

๐ ระดับการสื่อสารจะบอกถึงความรวมมือหรือความขัดแยงระหวางรัฐ

ทฤษฎีความสมัพนัธระหวางประเทศทฤษฎีความสมัพนัธระหวางประเทศ((ตอตอ))• แนวทางระดับมหภาค

แนวทางการรวมกลุมประเทศ

๐ แนวทางสหพันธนิยม (Federalism)

๐ แนวทางภารกิจนิยม (Functionalism)

เขตการคาเสรี (สินคาและบริการ) สหภาพศุลกากร ตลาดรวม (แรงงานและทุน) สหภาพเศรษฐกิจ (นโยบายเศรษฐกิจเดียว) สหภาพเหนือรัฐ (นโยบายการเมืองเดียว)

ทฤษฎีความสมัพนัธระหวางประเทศทฤษฎีความสมัพนัธระหวางประเทศ((ตอตอ))• แนวทางระดับมหภาค

แนวทางเชื่อมโยง

๐ ผลจากนโยบายของรัฐที่กระทบตอสภาวะแวดลอมระหวางประเทศ

๐ ผลจากสภาวะแวดลอมระหวางประเทศที่กระทบตอนโยบายของรัฐ

ทฤษฎีความสมัพนัธระหวางประเทศทฤษฎีความสมัพนัธระหวางประเทศ((ตอตอ))• แนวทางระดับตัวบุคคล

แนวทางการตัดสนิใจ

๐ ตัวแบบการตัดสินใจ ซึ่งมีองคประกอบคือ องคประกอบภายใน องคประกอบภายนอก และกระบวนการตัดสินใจของรัฐ

๐ กระบวนการตัดสินใจ ไดแก รูปแบบกระบวนการองคกร รูปแบบการเมืองในระบบราชการ รูปแบบความมีเหตุผลของผูตัดสินใจ

ทฤษฎีความสมัพนัธระหวางประเทศทฤษฎีความสมัพนัธระหวางประเทศ((ตอตอ))• แนวทางระดับตัวบุคคล

แนวทางจิตวิทยาและชีววิทยา

๐ แนวทางดานจิตวิทยา ไดแก ความกาวราว จินตภาพที่มีตอรัฐอื่น

๐ แนวทางดานชีววิทยา ไดแก ความเหนื่อย ความเครียด อายุ สุขภาพ ของผูตัดสินใจ มีความพยายามวัดฮอรโมนอะดรินาลินที่รางกายหลั่งออกมาทางปสสาวะขณะตัดสินใจวามีความเครียดหรือไมเพียงใด

ทฤษฎีความสมัพนัธระหวางประเทศทฤษฎีความสมัพนัธระหวางประเทศ((ตอตอ))• แนวทางระดับตัวบุคคล

แนวทางสังคมวิทยา

๐ การเบี่ยงเบนปญหาภายในรัฐดวยการสรางความขัดแยงกับรัฐอื่น

๐ ความขัดแยงและสงครามเกิดจากโครงสรางและเงื่อนไขทางสังคมมากกวาเกิดจากแรงกดดันทางชีววิทยาหรือจิตวิทยา

ตัวแสดงในเวทีความสมัพนัธระหวางประเทศตัวแสดงในเวทีความสมัพนัธระหวางประเทศ• ตัวแสดงระดับรัฐและต่ํากวาระดับรัฐ ไดแก รัฐชาติ บุคคลและกลุมบุคคล (คณะทูต ประมุขของรัฐ)

• ตัวแสดงระดับภูมิภาค ไดแก องคการระดับภูมิภาคที่มีวัตถุประสงคทั่วไป (องคการนานารัฐอเมริกัน สันนิบาตอาหรับ อาเซียน) และองคการฯที่มีวัตถุประสงคเฉพาะ (นาโต วอรซอ เขตการคาเสรีตางๆ)

• ตัวแสดงระดับโลก ไดแก องคการสากล และองคการขามชาติตางๆ

ประวัติความสมัพนัธระหวางประเทศที่สําคัญประวัติความสมัพนัธระหวางประเทศที่สําคัญ• ตั้งแตสมัยนครรัฐจนถึงการกําเนิดรัฐชาติ ค.ศ. ๑๖๔๘ (พ.ศ . ๒๑๙๑)

• หลังจากการกําเนิดรัฐชาติจนถึงครึ่งแรกของคริสตศตวรรษที่ ๑๙ (ครองเกรสแหงเวียนนา ค.ศ. ๑๘๑๔-๑๘๑๕ ความสมานฉันทในยุโรป ค.ศ. ๑๘๑๘)

• หลังจากครึ่งแรกของคริสตศตวรรษที่ ๑๙ จนถึงสงครามโลกครั้งที่สอง (พลังเสรีนิยม พลังชาตินิยม และลัทธิจักรวรรดินิยม)

• หลังจากสงครามโลกครั้งที่สองจนถึงการยุติสงครามเย็นในทศวรรษ ๑๙๙๐

ปจจัยในการกําหนดความสัมพันธระหวางประเทศปจจัยในการกําหนดความสัมพันธระหวางประเทศ• ปจจัยเกี่ยวกับบุคคล ไดแก ลักษณะและธรรมชาติของมนุษย คุณสมบัติของผูนํา คานิยม ความเชื่อ ทัศนคติ และอุดมการณ

• ปจจัยเกี่ยวกับรัฐ ไดแก ปจจัยทางเศรษฐกิจ ปจจัยทางการเมือง และปจจัยทางสังคม

• ปจจัยเกี่ยวกับระบบระหวางประเทศ ไดแก ภูมิรัฐศาสตร นโยบายของรัฐอื่น และโครงสรางอํานาจในระบบระหวางประเทศ

เครื่องมอืดําเนินความสมัพนัธระหวางประเทศเครื่องมอืดําเนินความสมัพนัธระหวางประเทศ• เครื่องมือทางการทูต

• เครื่องมือทางเศรษฐกิจ

• เครื่องมือทางจิตวิทยา (ทางสารสนเทศ)

• เครื่องมือทางการทหารเครื่องมือเหลานี้มักใชประกอบกันเพื่อปองปรามและบีบบังคับ หรือเพื่อโนมนาวชักจูง

ลกัษณะความสัมพันธระหวางประเทศปจจบุันลกัษณะความสัมพันธระหวางประเทศปจจบุัน

• การพึ่งพาอาศัยระหวางกัน• ความเชื่อมโยงระหวางสังคมภายในกับสังคมภายนอก และความเชื่อมโยงระหวาง การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม

• การแพรกระจายของวัฒนธรรม

• การเปดเสรีและการปกปองตนเองในทามกลางปรากฏการณโลกาภิวัตน

ปญหาปญหา อุปสรรคอุปสรรค และแนวโนมในอนาคตและแนวโนมในอนาคต• ความสัมพันธระหวางตะวันออกและตะวันตก

• ความสัมพันธระหวางเหนือและใต

• บทบาทและอิทธิพลของตัวแสดงที่ไมใชรัฐ

• การจัดและรักษาระเบียบโลกโดยรัฐมหาอํานาจ และองคการระหวางประเทศ

จบการบรรยายขอใหโชคดใีนการศึกษา

Recommended