53
บทที่ 9 เศรษฐกิจการคาและการเงินระหวางประเทศ สาเหตุของการคาระหวางประเทศ ผลดีและผลเสียของการคาระหวางประเทศ นโยบายการคาระหวางประเทศ องคกรการคาระหวางประเทศ การรวมกลุมทางเศรษฐกิจ สถาบันการเงินระหวางประเทศ 1

บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

  • Upload
    others

  • View
    9

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

บทที่ 9เศรษฐกิจการคาและการเงินระหวางประเทศ

สาเหตุของการคาระหวางประเทศ

ผลดีและผลเสียของการคาระหวางประเทศ

นโยบายการคาระหวางประเทศ

องคกรการคาระหวางประเทศ

การรวมกลุมทางเศรษฐกิจ

สถาบันการเงินระหวางประเทศ

1

Page 2: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

บทที่ 9เศรษฐกิจการคาและการเงินระหวางประเทศ

ดุลการชําระเงิน

ความหมายของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ

ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ

ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศไทย

2

Page 3: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

• สาเหตุของการคาระหวางประเทศ

1. ความแตกตางทางดานทรัพยากรท่ีใชผลิตในแตละประเทศ เน่ืองมาจากความ

แตกตางในเรื่องสภาพภูมิประเทศและภมูิอากาศ หรือการมีปจจัยพ้ืนฐานท่ี

แตกตางกันในแตละประเทศ เชน ท่ีดิน แรงงาน และเงินทุน

2. แตละประเทศผลิตสินคาในตนทุนท่ีแตกตางกัน โดยหากมีทรัพยากรท่ีใชใน

การผลิตมาก ตนทุนการผลิตตอหนวยก็จะต่ํา

3. แตละประเทศมีเทคโนโลยท่ีีแตกตางกัน

3

Page 4: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

• ผลดี-ผลเสียของการคาระหวางประเทศ

ผลดีของการคาระหวางประเทศ

- ทําใหประเทศสามารถใชปจจัยการผลิตเปนประโยชนมากท่ีสุด

- ทําใหประเทศนําเขาสินคาตาง ๆ ท่ีตองการ

- ทําใหประชาชนมีโอกาสเรียนรูเทคนิคการผลิต การบริหารจัดการ

ผลเสียของการคาระหวางประเทศ

- ทําใหประเทศมีปญหาการขาดดุลการคา

- อัตราการคาต่ํา: อัตราการคา= ดัชนีราคาสินคาสงออก

ดัชนีราคาสินคานําเขา

4

Page 5: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

• นโยบายการคาระหวางประเทศ

แบงออกเปน 2 นโยบายใหญ ๆ คือ1. นโยบายการคาเสรี (Free Trade Policy) หมายถึง นโยบายการคาระหวาง

ประเทศท่ีรัฐบาลไมพยายามเขาแทรกแซงกิจการทางการคา โดยจะปลอยใหเอกชนดําเนินการคาระหวางประเทศเอง และไมมีการกําหนดขอกีดขวางทางการคา

2. นโยบายการคาแบบคุมกัน (Protective Trade Policy) หมายถึง นโยบายการคาระหวางประเทศท่ีรัฐบาลเขาแทรกแซงในกิจการเพ่ือลดและกีดกันปริมาณสินคานําเขา และสนับสนุนสนิคาภายในประเทศ โดยใชมาตรการท้ังทางภาษี (ภาษีสงออกและภาษีนําเขา) และไมใชภาษี (การกําหนดโควตานําเขา การหามการนําเขา การใชขออางทางสิ่งแวดลอม สุขอนามัย สิทธิมนุษยชน)

5

Page 6: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

o ตัวอยางมาตรการทางการคา

1. การตั้งกําแพงภาษีศุลกากรกับสินคานําเขาในอัตราสูง เพ่ือลดการนําเขาสินคาจากตางประเทศ เชน สหรัฐฯ ประกาศเก็บอากรสินคาขาเขาจากจีนในอัตรา 100% สําหรับสินคาสิ่งทอ อุปกรณโทรคมนาคม โทรศัพทมือถือ เครื่องสงโทรสาร เครื่องทําความรอน หมอหุงขาว และถุงมือแพทย ตั้งแต มิ.ย. 2539 โดยใหเหตุผลวาจีนไมไดทําตามขอตกลงเก่ียวกับทรัพยสินทางปญญา

2. การจํากัดปริมาณสินคาหรือโควตา เปนการจํากัดปริมาณสินคาท่ีนําเขา (Import Quota) และการจํากัดปริมาณสินคาท่ีสงออก (Export Quota) เชน สหภาพยุโรปกําหนดโควตานําเขามันสาํปะหลงัจากไทยเพียงปละ 4.5 ลานตัน

6

Page 7: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

3. การกําหนดมาตรฐานสินคานําเขา การควบคุมมาตรฐานสุขอนามัย การติดฉลากและการบรรจุหีบหอสินคา เชน ญี่ปุนมีการกําหนดขนาดหอมหัวใหญจากไทยตองมีขนาดเสนผาศูนยกลาง 4-8 ซ.ม. เทาน้ัน

4. การกําหนดกฎระเบียบเก่ียวกับวิธีการตางๆ ของการนําเขาสินคา มีความยุงยากและลาชา ทําใหเกิดความเสียหายตอสินคาโดยเฉพาะสินคาเกษตร

5. การทุมตลาด (Dumping) เปนการสงสินคาไปขายตางประเทศในราคาท่ีต่ํากวาในประเทศหรือบางครั้งต่ํากวาตนทุน เพ่ือแยงสวนแบงตลาด ดังน้ันประเทศนําเขาจะตอตานการทุมตลาดโดยการตั้งกําแพงภาษี หรือ การจัดเก็บภาษีตอบโตการทุมตลาด เชน ญี่ปุนไดเคยทําการทุมตลาดในการเปดตลาดรถยนต ตลาดเครื่องรับโทรทัศน กลองถายรูปในสหรัฐฯ

7

Page 8: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

• องคกรการคาระหวางประเทศ

1. ขอตกลงท่ัวไปวาดวยภาษีศุลกากรการคา หรือ แกตต (General Agreement on Tariffs and Trade : GATT)

เปนขอตกลงท่ีจัดตั้งเมื่อ พ.ศ. 2490 เพ่ือสงเสริมการคาเสรี โดยการลดอุปสรรคทางการคาท้ังภาษีศุลกากรและมาตรการท่ีไมใชภาษี (Non Tariff Barriers) และยังทําการไกลเกลีย่และระงับขอพิพาททางการคาระหวางภาคี แต GATT ไมมีอํานาจในการตัดสินลงโทษหรือติดตามผลการปฏิบัติงานอยางจริงจัง และดูแลเฉพาะการคาสินคาเทาน้ัน

8

Page 9: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

GATT มีการจัดประชุมมาแลว 7 ครั้ง และมีการลดภาษีศุลกากรลงตามลําดับ แตการเจรจารอบสุดทาย (รอบท่ี 8) ซึ่งจัดท่ีประเทศอุรุกวัย เมื่อ พ.ศ. 2529 แตไมสามารถหาขอสรุปได ทําใหการประชุมตอเน่ืองยาวนานมาถึงธ.ค. 2536 จึงไดขอสรุปไดทําการลดภาษีศุลกากรลงเฉลี่ย 40% จากระดับเดิม และมีการยกระดบั GATT เปน WTO

9

Page 10: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

2. องคกรการคาโลก (World Trade Organization : WTO)

กอตั้งเมื่อ 1 ม.ค. 2538 WTO ทําหนาท่ีหลักในการนดูแลการคาสินคา การคาบริการ สิทธิในทรัพยสินทางปญญาและมาตรการการลงทุนท่ีเก่ียวกับการคา และประเทศสมาชิกทุกประเทศตองทําตามทุกขอตกลง โดย WTO ทําหนาท่ีสงเสริมการคาเสรี ดวยการลดอุปสรรคและขอขัดแยงทางการคาท้ังในรูปภาษีศุลกากรและไมใชภาษี และใหความชวยเหลือประเทศกําลังพัฒนาในดานขอมูลขาวสาร ขอแนะนําตางๆ และเปนคนกลางในการตัดสินความขัดแยง และทําหนาท่ีประสานงานกับ IMF และ World Bank เพ่ือใหนโยบายเศรษฐกิจโลกสอดคลองกันยิ่งข้ึน

10

Page 11: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

• การรวมกลุมทางเศรษฐกิจ

การรวมกลุมทางเศรษฐกิจ หมายถึง การรวมกลุมของประเทศตางๆ ในภูมิภาคเดียวกัน เพ่ือรักษาผลประโยชนทางเศรษฐกิจรวมกันและขยายลูทางการคาระหวางกันใหมีขอบเขตมากข้ึน โดยการยกเลิกหรอืลดอุปสรรคท้ังภาษีศุลกากรและไมใชภาษี รวมท้ังการปรับปรุงแกไขขอปฏิบัติทางการคาท่ีแตกตางกันระหวางประเทศในกลุมและนอกกลุม

11

Page 12: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

การรวมกลุมสามารถแบงออกเปน 5 ระดับ ดังนี้

การรวมกลุมทางเศรษฐกิจสามารถแบงระดบัของความรวมมือตามลําดับจากนอยไปหามาก โดยลดอุปสรรคทางการคาลงเรือ่ยๆ หรือขยายระดับความรวมมือกันใหกวางมากข้ึน ดังน้ี

1. เขตลดพิกัดอัตราภาษีศุลกากร

2. เขตการคาเสรี

3. สหภาพศุลกากร

4. ตลาดรวม

5. สหภาพทางเศรษฐกิจ

12

ระดับความรวมมือ: นอย

มาก

Page 13: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

1. เขตลดพิกัดอัตราภาษีศุลกากร(Preferential Area)

เปนการรวมกลุมในระดับต่ําสุด กลาวคือ ประเทศสมาชิกจะมีการลดหยอนภาษีระหวางกัน โดยการเก็บภาษีสินคาประเภทเดียวกันระหวางประเทศสมาชิกถูกกวาภาษีท่ีเก็บจากสินคานําเขาจากประเทศนอกกลุม

เชน

การรวมตัวกันเปน ASEAN ของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต 10 ประเทศในยุคแรก ซ่ึงประเทศสมาชิกไดตกลงวาจะใหสิทธิพิเศษทางการคาระหวางกัน ดังน้ัน เม่ือประเทศไทยและจีนสงออกดอกไมประดิษฐท่ีทําจากผาไปยังประเทศมาเลเซีย มาเลเซียก็จะเก็บภาษีนําเขาดอกไมน้ันจากไทยรอยละ 8 ในขณะท่ีเรียกเก็บจากประเทศจีนรอยละ 12 ของราคาสินคา เน่ืองจากมาเลเซียและไทยเปนประเทศสมาชิกอาเซียนดวยกัน

13

Page 14: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

2. เขตการคาเสรี (Free Trade Area: FTA)

เปนการรวมกลุมทางเศรษฐกิจในลักษณะท่ีประเทศสมาชิกจะไมมีการเก็บภาษีศุลกากรระหวางกัน และไมมีการจํากัดโควตานําเขาของประเทศสมาชิก แตระดับภาษีศุลกากรท่ีแตละประเทศเก็บกับประเทศนอกกลุมยังแตกตางกัน

การท่ีแตละประเทศเรียกเก็บภาษีจากประเทศภายนอกกลุมไดอยางเสรีน้ี จะทําใหภาษีท่ีเรียกเก็บจากประเทศนอกกลุมมีอัตราแตกตางกัน ดังน้ัน ประเทศนอกกลุมสามารถเปรียบเทียบอัตราภาษีท่ีแตละประเทศจัดเก็บ และเลือกทําการคากับประเทศสมาชิกท่ีตั้งอัตราภาษีไวต่ําได

14

Page 15: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

ตวัอยา่งเขตการคา้เสรี• เขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) หรือ อาฟตา

เปนขอตกลงทางการคาสําหรับสินคาท่ีผลิตภายในประเทศสมาชิกอาเซียนท้ังหมด โดยกําหนดใหประเทศสมาชิก ใหสิทธิประโยชนทางภาษีศุลกากรแกกันแบบตางตอบแทน กลาวคือ การท่ีจะไดสิทธิประโยชนจากการลดภาษีของประเทศอ่ืนสําหรับสินคาชนิดใด ประเทศสมาชิกน้ันจะตองประกาศลดภาษีสําหรับสินคาชนิดเดียวกันดวย

15

Page 16: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

• ความตกลงการคาเสรีอเมริกาเหนือ (North American Free Trade

Agreement: NAFTA) หรือ นาฟตา

เปนองคกรทางเศรษฐกิจในทวีปอเมริกาเหนือ ในการท่ีจะรวมมือกันหาตลาดสงออกและลดตนทุนการผลิตสินคา เพ่ือใหมีราคาถูกลง สามารถแขงขันกับ

ตลาดโลกได โดยเปนการเปดเสรีระหวางประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา และ

เม็กซิโก ใหเปนตลาดเดียว และจะลดอัตราภาษีศุลกากรใหเหลือรอยละ 0

16

Page 17: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

3. สหภาพศุลกากร (Customs Union)

เปนการรวมกลุมทางเศรษฐกิจท่ีกาวหนากวา FTA โดยประเทศสมาชิกนอกจากจะยกเลิกการเก็บภาษีศุลกากรและไมมีการจํากัดโควตาระหวางประเทศสมาชิกแลว นอกเหนือจากนี้ ประเทศสมาชิกแตละประเทศยังมีขอตกลงเรื่องการกําหนดนโยบายอัตราภาษีศุลกากรกับประเทศนอกกลุมในอัตราเดียวกัน (common external tariff: CET)

17

Page 18: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

ตัวอยางการรวมกลุมเศรษฐกิจในรูปแบบสหภาพศุลกากร ไดแก

การรวมกลุมของเบเนลักซ หรือ สหภาพเศรษฐกิจเบเนลักซ (Bénélux) ซึ่ง

ประกอบไปดวย ประเทศเบลเยียม เนเธอรแลนด และลักเซมเบอรก โดย

เบลเยียมและลักเซมเบอรก ไดจัดตั้งสหภาพศุลกากรตั้งแตป พ.ศ.2464 ซึ่ง

เปนระยะเวลาระหวางสงครามโลกครั้งท่ี 2 ตอมาไดตกลงใหเนเธอรแลนด

เขารวมเปนสมาชิกของสหภาพดวย

18

Page 19: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

4. ตลาดรวม (Common Market)

เปนการรวมกลุมทางเศรษฐกิจท่ีสูงกวาสหภาพศุลกากร กลาวคือ

การรวมกลุมแบบตลาดรวมน้ันไมเพียงแตยกเลิกขอกีดกันทางการคาระหวาง

ประเทศสมาชิกในทุกรูปแบบ และกําหนดภาษีศุลกากรกับประเทศภายนอก

กลุมในอัตราเดียวกันแลว (CET) ยังมีการเพ่ิมเง่ือนไขวา ปจจัยการผลิต เชน

ทุน วัตถุดิบ แรงงาน เทคโนโลยตีางๆ ก็สามารถเคลื่อนยายไดอยางเสรีระหวาง

ประเทศสมาชิก

น่ันคือ ท้ังสินคาและปจจัยการผลิตสามารถเคลื่อนยายไดอยางเสรี

ระหวางประเทศสมาชิกดวยกันเอง

19

Page 20: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

การท่ีปจจัยผลิตสามารถเคลื่อนยายไดอยางอิสระภายในกลุมทางเศรษฐกิจเชนน้ี ทําใหการใชทุน แรงงาน เทคโนโลยีตางๆ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด เพราะปจจัยการผลิตจะถูกใชภายใตภาวะท่ีกอใหเกิดการผลิตท่ีไดผลสูงสุด

ตัวอยาง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ในปจจุบัน ท่ีตั้งแตป พ.ศ. 2558 เปนตนมา 10 ประเทศในอาเซียนก็ไดพยายามยกระดับการรวมกลุมใหเปนตลาดเดียวกันและฐานการผลติเดียว มีการเปดเสรีในสินคาและบริการ และมีการเคลือ่นยายการลงทุน แรงงานมีฝมือไดอยางเสรี

20

Page 21: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

5. สหภาพเศรษฐกิจ (Economic Union)

การรวมกลุมรูปแบบน้ีมีลักษณะเหมือนกันกับตลาดรวมทุกประการ

แตมีการประสานความรวมมือในเรื่องนโยบายทางเศรษฐกิจ การเงิน และการ

คลังดวย โดยเพ่ิมเง่ือนไขใหประเทศสมาชิกในกลุม มีการใชนโยบายดาน

การเงินและการคลังเหมือนกัน เพ่ือใหเศรษฐกิจมีความเปนอันหน่ึงอันเดียวกัน

มากข้ึน และจัดตั้งหนวยงานกลาง เชน รัฐบาลกลาง ธนาคารกลาง ข้ึนมา

บริหารนโยบายรวมกัน ซึ่งเปนการรวมตัวของนโยบายทางเศรษฐกิจเพ่ือการ

เคลื่อนยายอยางเสรีของสินคา บริการ และปจจัยการผลิตขามพรมแดน

21

Page 22: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

นอกจากน้ี ยังมีการใชเงินตราในสกุลเดียวกัน ทําใหไมมีความเสี่ยงจากการผัน

ผวนของอัตราแลกเปลี่ยน

ตัวอยางการรวมกลุมรูปแบบน้ี เชน การรวมตัวกันเปนสหภาพยุโรป

(European Union: EU) ซึ่งมีการรวมตัวกันทางการเงินอยางเต็มท่ีตั้งแต พ.ศ.

2542 โดยการใชเงินสกุลเดียวกัน คือ ยูโร (Euro)

22

Page 23: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

เปรียบเทียบการรวมกลุมแบบ AEC กับ EU

ลักษณะ EU AEC

แนวทางการรวมกลุม

- เปนแบบบังคับ โดยมี Supra-

National Authority ที่มีอํานาจ

ในการตัดสินใจแทนรัฐสมาชิก

- เปนความรวมมือ แบบ

Intergovernmental Method

โดยแตละรัฐมีฐานะเทาเทียมกัน

และยังมีอํานาจอธิปไตยของแตรัฐ

อัตราภาษีของประเทศ

ภายในกลุมลดเหลือ 0% ลดเหลือ 0%

อัตราภาษีนอกกลุม/

การเคล่ือนยายแรงงาน

- ทุกประเทศใชอัตราเดียวกัน

-100%

- เคลื่อนยายแรงงานโดยเสรี

-- แตละประเทศใชอัตราตางกัน

-70%

- เคลื่อนยายเสรีเฉพาะแรงงานมี

ฝมือ

การรวมตัวทางดานสกุลเงิน -ใชเงินสกุลเดียวกัน ใชเงินสกุลประจําชาติ

Page 24: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

• สภาบันการเงินระหวางประเทศ

1. ธนาคารโลก (World Bank)

2. กองทุนการเงินระหวางประเทศ (International Monetary Fund: IMF)

3. ธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank: ADB)

24

Page 25: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

1. ธนาคารโลก (World Bank)

เปนองคกรระหวางประเทศท่ีจัดตั้งข้ึนภายหลังสงคราวโลกครัง้ท่ี 2 โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือชวยเหลือและฟนฟูบูรณะประเทศท่ีประสบภัยจากสงครามโลกครั้งท่ี 2 โดยการระดมเงินทุนระหวางประเทศ สําหรับใหประเทศสมาชิกกูยมืไปใชในการฟนฟูประเทศจากสงครามโลกครั้งท่ี 2 และเพ่ือนํามาใชพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก

ปจจุบันธนาคารโลกมุงเนนใหความชวยเหลือทางการเงินแกประเทศสมาชิกในการพัฒนาเศรษฐกิจและสงัคม เพ่ือใหประชาชนกินดีอยูดี

25

Page 26: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

สถาบันภายใตกลุมธนาคารโลก เชน

• สมาพันธการพัฒนาระหวางประเทศ (International Development Association: IDA) ตั้งข้ึนเพ่ือชวยเหลือประเทศท่ียากจนท่ีสดุของโลก 79 ประเทศ เชน ใหกูปลอดดอกเบี้ยเพ่ือบรรเทาปญหาหน้ีสนิ

• ธนาคารระหวางประเทศเพ่ือการบูรณะและพัฒนา (International Bank For Reconstruction And Development; IBRD) ซึ่งเปนธนาคารเก่ียวกับงานดานฟนฟูและพัฒนา ใหกูยืมและใหความชวยเหลือดานการพัฒนาแกประเทศยากจนและมีรายไดปานกลาง

26

Page 27: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

แหลงเงินทุนท่ีสําคัญของธนาคารโลก

1) ขายพันธบัตรระยะปานกลางและยาวในตลาดหุนท่ีสําคัญของโลก ***

2) เงินทุนสมทบของประเทศสมาชิก

3) เงินกําไรสะสมของธนาคารโลก

โดยธนาคารโลกจะใหกูระยะยาว 10 20 ป ระยะเวลาปลอดหน้ี 1-5 ป และตองเปนสมาชิก IMF กอนจึงจะสามารถเปนสมาชิกของ World bank ได

27

Page 28: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

28

Page 29: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

2. กองทุนการเงินระหวางประเทศ (IMF)

เปดดําเนินการพรอมกับธนาคารโลก เมื่อ 25 มิถุนายน 2489 IMF มีวัตถุประสงคท่ีจะปองกันวิกฤตการณในระบบ โดยสงเสริมใหประเทศตางๆ ปรับใชนโยบายเศรษฐกิจท่ีเหมาะสม นอกจากน้ี IMF ยังเปนกองทุน กลาวคือ ประเทศสมาชิกท่ีตองการเงินทุนช่ัวคราว สามารถขอความชวยเหลือจาก IMF เพ่ือแกปญหาดุลการชําระเงินของตนได

29

Page 30: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

ทําหนาท่ี

• สนับสนุนการคาระหวางประเทศใหขยายตัวมากข้ึน

• รักษาเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยน

• แกปญหาการขาดดุลการชําระเงินของประเทศสมาชิก โดยการใหกูระยะสั้นถึงปานกลาง

• ติดตาม ตรวจสอบ ใหคําปรึกษาและใหความชวยเหลือในการแกปญหาเศรษฐกิจ โดยการใหคําแนะนําเชิงนโยบายแกประเทศสมาชิก

• ดูแลระบบการเงินของโลก

30

Page 31: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

IMF กําหนดใหประเทศสมาชิกดํารงเงินสาํรองไวท่ี IMF และตองจายเงินสมทบเปนคาสมาชิกตามขนาดและฐานะทางเศรษฐกิจ

IMF ไดสรางสินทรัพยสํารองระหวางประเทศ เรียกวา “สิทธิถอนเงินพิเศษ (Special Drawing Rights: SDR)”

• 1 SDR = 1.38 USD

• ประเทศสมาชิกจะไดรับการจัดสรร SDR จาก IMF โดยดูจากรายไดประชาชาติ ปริมาณและมูลคาของสินคานําเขา การเปลี่ยนแปลงของสินคาสงออก และอัตราสวนสินคาสงออกตอรายไดประชาชาติ

•สมาชิกสามารถใช SDR ชําระหน้ีใหแกประเทศอ่ืนๆ ไดก็ตอเมื่อประเทศน้ันขาดดุลการชําระเงิน

31

Page 32: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

3. ธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB)

• กอตั้งเมื่อ พ.ศ. 2509 โดยมีวัตถุประสงคหลักเพ่ือการสงเสรมิเศรษฐกิจและความรวมมือกันในภูมิภาคเอเชียและตะวันออกไกล โดยเนนใหความชวยเหลือทางดานการเงินและวิชาการเพ่ือเรงรัดการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศสมาชิกท่ีกําลงัพัฒนาในภูมิภาค

• ประเทศสมาชิกตองถือหุนของธนาคาร ADB ซึ่งอาจมากหรือนอยข้ึนอยูกับสถานะทางเศรษฐกิจของสมาชิก

• ADB ใชเงินทุนโดยการปลอยกูใหแกสมาชิกระยะเวลา 10-15 ป

32

Page 33: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

• ดุลการชําระเงิน (Balance Of Payment: BOP)

ดุลการชําระเงิน หมายถึง บันทึกรายรับและรายจายเงินตราตางประเทศที่เกิดจากรายการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจระหวางผูมีถ่ินฐานในประเทศนั้นกับผูมีถ่ินฐานของประเทศอ่ืนๆ ในเวลาใดเวลาหนึ่ง (ปกติ 1 ป)

ผูมีถ่ินฐานในประเทศ คือ บุคคลและองคการธุรกิจตางๆ ที่มีภูมิลําเนาในประเทศเปนการถาวร ดังนั้น ผูมีถ่ินฐานของประเทศไทยก็คือคนไทย

33

Page 34: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

• รายการในดุลการชําระเงิน ประกอบดวย รายการเก่ียวกับการซื้อขายสินคาและบริการ เงินโอน การลงทุน และการกูยืม การเปลี่ยนแปลงความเปนเจาของทรัพยสิน และบริการทางเศรษฐกิจ

• การบันทึกรายการ

o รายการที่ประเทศตองจายเงินตราตางประเทศหรือหลักทรัพยใหกับตางประเทศ => ลงรายการทางดานรายจาย (ติดลบ)

เชน การนําเขา การเดินทางไปเท่ียวตางประเทศของคนไทย

o รายการที่ทําใหไดรับเงินตราตางประเทศหรือหลักทรัพยอ่ืนเขามาในประเทศ => ลงรายการดานรายรับ (เปนบวก)

เชน การสงออก ตางชาติเขามาลงทุนในไทย

34

Page 35: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

• สวนประกอบของดุลการชําระเงิน

แบงเปน 3 บัญชีดวยกัน คือ

1. ดุลบัญชีเดินสะพัด (Current Account)

1.1 ดุลการคา (Balance of Trade)

1.2 ดุลบริการ (Balance of Service)

1.3 รายไดปฐมภูมิ (Primary Income)

1.4 รายไดทุติยภูมิ (Secondary Income)

2. ดุลบัญชีเงินทุนและเงินทุนเคลื่อนยาย (Capital and Financial Account)

3. บัญชีทุนสํารองระหวางประเทศ (International Reserve Account)

35

Page 36: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

1. ดุลบัญชีเดินสะพัด (Current Account)

1.1 ดุลการคา (Balance of Trade)

เปนผลตางระหวางมูลคาสินคาออก (FOB: ราคาท่ีไมรวมคาระวางและประกันภัยสินคา) กับมูลคาสินคานําเขา (CIF : ราคาท่ีรวมคาระวางและประกันภัยสินคา) ในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง (1ป)

มูลคาสินคาสงออก > มูลคาสินคานําเขา ดุลการคาเกินดุลมูลคาสินคานําเขา > มูลคาสินคาสงออก ดุลการคาขาดดุล

36

Page 37: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

1.2 ดุลบริการ (Balance of Service)

เปนผลตางระหวางรายรับกับรายจายจากการซื้อขายบริการกับตางประเทศ ประกอบดวย

- คาขนสง (คาโดยสาร คาบริการทาเรือ คาระวางเรือ)

- คาทองเท่ียว (คาคนนําเท่ียว คาท่ีพัก คาอาหาร ฯลฯ)

- การธนาคารและการประกันภัย

- คาสื่อสารโทรคมนาคม (คาโทรศัพท โทรสาร ดาวเทียม)

- คาลิขสิทธ์ิ สิทธิบัตรและเครื่องหมายการคา เปนตน

มูลคาบริการสงออก > มูลคาบริการนําเขา ดุลบริการเกินดุล

มูลคาบริการนําเขา > มูลคาบริการสงออก ดุลบริการขาดดุล

37

Page 38: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

1.3 รายไดปฐมภูมิ (Primary Income)

ประกอบดวย 2 สวน คือ 1) ผลตอบแทนจากการจางงาน ซึ่งรวมท้ังเงินท่ีเปนตัวเงินและไมเปนตัวเงิน และ 2) รายไดจากการลงทุน ท้ังจากการลงทุนโดยตรง การลงทุนในหลักทรัพยและการลงทุนอ่ืนๆ ซึ่งไดแก กําไร เงินปนผล และดอกเบี้ย

1.4 รายไดทุติยภูมิ (Secondary Income)

เปนรายการเก่ียวกับเงินโอนหรือเงินบริจาคตางๆ ท่ีผูมีถ่ินฐานในประเทศไดรับจากผูมีถ่ินฐานนอกประเทศ

38

Page 39: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

2. ดุลบัญชีเงินทุนและเงินทุนเคลื่อนยาย (Capital and

Financial Account)

เปนการบันทึกการเคลื่อนยายเงินทุนระหวางประเทศท้ังในระยะสั้นและระยะยาว ประกอบดวย 2 สวน

2.1 บัญชีทุน (Capital Account)

เงินทุนท่ีรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจนําเขาและสงออก เชน เงินกูยืมจากตางประเทศ เงินชําระหน้ีคืนตางประเทศ และการยกหน้ีให (Debt forgiveness)

39

Page 40: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

**ขอสังเกตุ

กรณีการซื้อขายท่ีดินโดยสถานทูตถือเปนขอยกเวนพิเศษ เน่ืองจาก

เปนการโอนความเปนเจาของระหวางระบบเศรษฐกิจ จึงใหถือเปนธุรกรรมใน

บัญชีทุน แตการซื้อขายท่ีดินโดยท่ัวไประหวางผูมีถ่ินฐานในประเทศและผูมีถ่ิน

ฐานในตางประเทศ ใหบันทึกกรณีน้ีเปนการลงทุนโดยตรง มิใชบัญชีทุน

(รายละเอียดอยูในขอถัดไป)

40

Page 41: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

2.2 บัญชีการเงิน (Financial Account)

หมายถึงธุรกรรมท่ีกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยและหน้ีสินทางการเงินระหวางประเทศ หรือก็คือ การลงทุนตางๆของเอกชน ซึ่งครอบคลุมถึงการลงทุนดังน้ี

o การลงทุนโดยตรง (Direct Investment)

o การลงทุนในหลักทรัพย (Portfolio Investment) เชน ตราสารทุน ตราสารหน้ี ท้ังในรูปของ พันธบัตร และตั๋วเงิน และการลงทุนในอนุพันธทางการเงินตาง ๆ

o การลงทุนอ่ืนๆ (Other Investment) เชน เงินกู สินเช่ือการคา เงินฝาก และบัญชีลูกหน้ีและเจาหน้ีอ่ืนๆ

41

Page 42: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

3. บัญชีทุนสํารองระหวางประเทศ (International Reserve

Account)

เปนรายการท่ีปรับหรือชดเชยความแตกตางระหวางยอดรวมทางดานรายรับ

และรายจายเงินตราตางประเทศและหลักทรัพยตางประเทศใน 2 บัญชีแรก คือ ดุล

บัญชีเดินสะพัด และดุลบัญชีเงินทุนและเงินทุนเคลื่อนยาย

- ถาหาก 2 บัญชีแรกมีรายรับ > รายจาย ดุลการชําระเงินเกินดุล ทุนสํารองระหวางประเทศเพ่ิมข้ึน โดยเวลาบันทึก จะบันทึกใหบัญชีทุนสํารองระหวางประเทศติดลบเทากับสวนท่ีเกินดุลน้ัน

- ถาหาก 2 บัญชีแรกมีรายรับ < รายจาย ดุลการชําระเงินขาดดุล ทุนสํารองระหวางประเทศลดลง โดยเวลาบันทึก จะบันทึกใหบัญชีทุนสํารองระหวางประเทศเปนบวกเทากับสวนท่ีเกินดุลน้ัน

42

Page 43: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

เน่ืองจาก ประเทศไทยใชระบบการบันทึกแบบ Double Entry โดย

รายการใดเปนผลทําใหประเทศตองจายเงิน ก็ลงทางดานเดบิต (คาติดลบ) ใน 2 บัญชีแรก แลวลงทางดานเครดิต (คาเปนบวก) ในบัญชีท่ี 3 ไปพรอมๆ กัน

รายการใดเปนผลทําใหประเทศไดรับเงิน ลงทางดานเครดิต (คาเปนบวก) ใน 2 บัญชีแรก แลวลงทางดานเดบิต (คาเปนลบ) ในบัญชีท่ี 3 ไปพรอม ๆ กัน

เชน ไทยสงออกขาวไปประเทศ A = 1,000 บาท ดังน้ัน

จะบันทึกในดุลการคา + 1,000 บาท และบันทึกในบัญชีทุนสํารองระหวาง

ประเทศ – 1,000 บาท

43

Page 44: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

ตัวอยาง รายการรายรับรายจายในแตละบัญชี

รายรบั รายจา่ย บนัทึกในบญัชี...มูลค่าสินคา้ออก นําเขา้สินคา้จากต่างประเทศรายไดจ้ากนักท่องเทียวต่างชาติในไทย

รายจ่ายของคนไทยทีไปท่องเทียวต่างประเทศ

รายไดจ้ากการขนส่งผูโ้ดยสารในไทย

รายจ่ายในการขนส่งสินคา้ทางทะเลทีคนไทยไปจา้งเรือต่างชาติ

เงินรบับริจาคจากต่างประเทศ

เงินทีคนไทยบริจาคให้ต่างประเทศ

เงินกูย้ืมจากต่างประเทศ เงินทีรฐับาลไทยให ้ตปท. กูย้ืมเงินลงทุนสรา้งโรงงานของชาวต่างชาติในไทย

คนไทยลงทุนเปิดรา้นอาหารในต่างประเทศ

44

Page 45: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

• การแกปญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด

1. การสงเสริมการสงออก

2. การลดการนําเขา

3. การลดคาของเงิน (Devaluation)

เชน

จาก 30 บาท: 1$ => 35 บาท: 1$ เรียกวา การลดคาเงินบาท (Depreciation)

จาก 30 บาท:1$ => 25 บาท: 1$ เรียกวา การเพ่ิมคาเงินบาท (Appreciation)

45

Page 46: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

4. มาตรการอ่ืนๆ เสริมในการแกปญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด เชน

•การควบคุมการขยายตัวของสินเช่ือของสถาบันการเงิน โดยเฉพาะสินเช่ือเพ่ือการอุปโภคบริโภคสนิคาฟุมเฟอย

•ปรับภาษีนําเขาสินคาฟุมเฟอย เพ่ือลดการนําเขา

•สงเสริมการทองเท่ียว

เปนตน

46

Page 47: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

• ความหมายของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ

อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ หมายถึง ราคาของเงินตราสกุลหนึ่งเม่ือเทียบกับเงินตราอีกสกุลหนึ่ง เชน อัตราแลกเปลี่ยนระหวางเงินดอลลารสหรัฐฯกับเงินบาท คือ 1 ดอลลารเทากับ 30 บาท เปนตน ซึ่งก็คือราคาของเงินดอลลารเม่ือเทียบกับเงินบาทไทย

ผูท่ีเก่ียวของการตลาดเงินตราตางประเทศ ไดแก ผูสงออก ผูนําเขา ผูกูเงินจากตางประเทศ นักลงทุนตางประเทศ ธนาคารพาณิชย และธนาคารกลาง

47

Page 48: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

• ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ

1. ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงท่ีหรือตายตัว (Fixed Exchange Rate)

- ระบบท่ีอิงคาเงินไวกับเงินสกุลเดียว (Single Peg System)

- ระบบท่ีผูกคาเงินไวกับตะกราเงิน (Multiple Peg System)

2. ระบบอัตราแลกเปลี่ยนเสรี (Freely Fluctuating Exchange Rate)

- ระบบอัตราแลกเปลีย่นลอยตัวเสร ี(Independent Float System)

- ระบบอัตราแลกเปลีย่นลอยตัวแบบมีการจัดการ (Managed Float

System)

48

Page 49: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

อัตราแลกเปลี่ยน

(บาท/ดอลลาร)

ปริมาณเงินดอลลาร

อุปทานตอเงินดอลลาร

อุปสงคตอเงินดอลลาร1

30

อุปสงคตอเงินดอลลาร2

35

ตัวอยาง อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ

49

Page 50: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

อุปสงคตอเงินตราตางประเทศ

คือ ความตองการของบคุคลในประเทศที่มตีอเงินตราตางประเทศ

เพ่ือการดําเนินกจิกรรมตาง ๆ เชน

- การซื้อสินคาและบริการจากตางประเทศ

- การชําระเงินกูจากตางประเทศ

- คาใชจายในการเดินทางไปตางประเทศ

- การสงเงินใหบุตรหลานที่ศึกษาตางประเทศ

- การลงทุนในตางประเทศ ฯลฯ

ซึ่งเปนปจจัยทางออมใหเสนอปุสงคตอเงนิตราตางประเทศยายทั้ง

เสน (shift) สวนปจจัยโดยตรงคืออัตราแลกเปลี่ยน

50

Page 51: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

อุปทานตอเงินตราตางประเทศ

คือปริมาณของเงินตราตางประเทศที่ประเทศมอียู จากการดําเนิน

กิจกรรมตาง ๆ เชน

-การขายสินคาและบริการไปยังตางประเทศ

- การกูเงินจากตางประเทศ

- การลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ

- การทองเที่ยวจากตางประเทศ

- แรงงานไทยสงเงินมาใหครอบครัว

- เงินบริจาค ฯลฯ

ซึ่งเปนปจจัยทางออมใหเสนทานตอเงินตราตางประเทศยายทั้ง

เสน (shift) สวนปจจัยโดยตรงคืออัตราแลกเปลี่ยน51

Page 52: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

• ระบบอัตราแลกเปลี่ยนของประเทศไทย

52

ระบบอัตราแลกเปลีย่นอิงกับเงินดอลลารสหรฐัและปอนดสเตอลงิ

(ป พ.ศ. 2489 -2497)

ทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลีย่นเปนผูกําหนดอัตราแลกเปลี่ยนโดยอิงกับเงิน

ดอลลารสหรัฐฯ (ป พ.ศ. 2498 -2505)

ระบบคาเสมอภาค (Par Value) ตามขอกําหนดของ IMF

(ป พ.ศ. 2506 -2520)

แผนผังแสดงวิวัฒนาการระบบอัตราแลกเปลี่ยนของไทยในชวง พ.ศ. 2489-2559

Page 53: บทที่ 9 - mparavee.files.wordpress.com · บทที่ 9 เศรษฐกิจการค าและการเงินระหว างประเทศ สาเหตุของการค

ทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลีย่นกําหนดอัตราแลกเปลีย่นประจาํวันรวมกับ

ธ.พาณิชย (1 พ.ย. 2521 – 14 ก.ค. 2527)

ทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลีย่นกําหนดอัตราแลกเปลีย่นโดยอิงกับเงินดอลลาร

สหรัฐฯ (15 ก.ค. 2527 - 4 พ.ย. 2527)

ระบบอัตราแลกเปลีย่นลอยตัวภายใตการจดัการ (2 ก.ค. 2540 – ปจจุบัน)

ทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลีย่นกําหนดอัตราแลกเปลีย่นประจาํวันโดยใชระบบ

ตะกราเงิน (5 พ.ย. 2527 - 1 ก.ค. 2540)

53