129

คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

  • Upload
    others

  • View
    17

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต
Page 2: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

คํานํา รายงานสรุปผลการดําเนินงานตามนโยบายการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ฉบับนี้ มีวัตถุประสงคเพ่ือสรุปผลการดําเนินงาน ดาน Medical Hub ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ตามยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (พ.ศ. 2560 - 2569) โดยมีองคประกอบในการขับเคลื่อน 4 ดาน ไดแก 1) ศูนยกลางบริการเพ่ือสงเสริมสุขภาพ (Wellness Hub) 2) ศูนยกลางบริการสุขภาพ (Medical Service Hub) 3) ศูนยกลางบริการวิชาการและงานวิจัย (Academic Hub) และ 4) ศูนยกลางยาและผลิตภัณฑสุขภาพ (Product Hub) ซ่ึงไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 13 กันยายน 2559

คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา รายงานสรุปผลการดําเนินงานตามนโยบายการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ฉบับนี้ จะมีประโยชนตอผูท่ีเก่ียวของในการนําขอมูลไปใชอางอิงการปฏิบัติงาน และการพัฒนางานตามนโยบาย Medical Hub ในภารกิจท่ีรับผิดชอบตอไป

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข

ตุลาคม 2561

Page 3: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

สารบัญ

หนา 1. รายงานสรุปผลการปฏิบัติราชการของสวนราชการเพ่ือเสนอรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข 1 2. ผลการดําเนินงานตามนโยบาย Medical Hub ในปงบประมาณ พ.ศ. 2561 1 3. รายละเอียด

• ภูมิหลัง - นโยบายรัฐบาล 7 - สถานการณดานการทองเท่ียว 8

• ภารกิจของกระทรวงสาธารณสุข - ยุทธศาสตรตามนโยบาย Medical Hub 11 - ความพรอมของสถานบริการสุขภาพ 12

• ผลสําเร็จของนโยบาย Medical Hub (ภารกิจภายในประเทศ) - การขับเคลื่อนดําเนินงานในรูปของคณะกรรมการระดับชาติ และคณะทํางาน 13 เพ่ือขับเคลื่อนยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ ตามนโยบาย Medical Hub - การบูรณาการทํางานรวมกับหนวยงานอ่ืน 17 - การพัฒนาประเทศไทยสูการเปนศูนยกลางบริการเพ่ือสงเสริมสุขภาพ (Wellness Hub) 29

- การพัฒนาประเทศไทยสูการเปนศูนยกลางบริการรักษาพยาบาล (Medical Service Hub) 40

- การพัฒนาประเทศไทยสูการเปนศูนยกลางบริการวิชาการและงานวิจัย (Academic Hub) 63

- การพัฒนาประเทศไทยสูการเปนศูนยกลางยาและผลิตภัณฑสุขภาพ (Product Hub) 79

• ผลสําเร็จของนโยบาย Medical Hub (ภารกิจดานตางประเทศ) - การดําเนินงานภายในประเทศ 84 - การดําเนินงานในตางประเทศ 86

4. คณะผูจัดทํา 123

Page 4: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

สารบัญตาราง

หนา

ตารางท่ี 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต พ.ศ. ๒๕55 - ๒๕60 12 ตารางท่ี 2 จํานวนโรงพยาบาล / คลินิกท่ีผานการรับรองมาตรฐาน JCI 13 ตารางท่ี 3 ผลการรับเรื่องรองเรียน ผานสายดวน สบส. 02 193 7999 59 ศูนยขอมูลสุขภาพ ณ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ตารางท่ี 4 รายชื่อโรงพยาบาลสําหรับผูเขาเดินทางเขามารับการรักษาพยาบาลสําหรับ 60 กลุมประเทศ CLMV และสาธารณรัฐประชาชนจีน โรงพยาบาลสําหรับผูเขาเดินทางเขามารับการรักษาพยาบาลสําหรับ กลุมประเทศ GCC ภารกิจและหนาท่ีของเคานเตอรศูนยบริการขอมูลสุขภาพ ตารางท่ี 5 ตารางแสดงรายการนําเขาขอมูลลงบนเว็บไซตบริการสุขภาพอาเซียน 68

Page 5: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ตามท่ีรัฐบาลมีนโยบายพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติเพ่ือขับเคลื่อน

เศรษฐกิจในอนาคต (New Engine of Growth) และผลักดันการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (S-curve) โดยการตอยอดอุตสาหกรรมเดิมท่ีมีศักยภาพ (First S-curve) ในดานอุตสาหกรรมการทองเท่ียวกลุมรายไดดีและการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ (Affluent, Medical and Wellness Tourism) และเติมอุตสาหกรรม แหงอนาคต (New S-curve) ในดานอุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร (Medical Hub) รองรับการขยายตัวของกลุมสินคาและธุรกิจบริการสุขภาพโดยมีเปาหมายในการเชื่อมตอการคาและการลงทุน ตลอดจนความกาวหนาทางเทคโนโลยีเพ่ือจัดบริการสุขภาพท่ีลดความเหลื่อมล้ําของการเขาถึงระบบสุขภาพตามนโยบายประเทศไทย 4.0 ท่ีขับเคลื่อนดวยนวัตกรรม (Value - Based Economy) ซ่ึงมีความสอดคลองตาม ยุทธศาสตรชาติ 20 ป ดานการสรางความสามารถในการแขงขัน และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 ดานการสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจและแขงขันไดอยางยั่งยืน (การทองเท่ียวเชิงสุขภาพ และการบริการทางการแพทย) ประกอบกับแผนยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ระยะ 10 ป (พ.ศ.2560 - 2569) ท้ัง 4 ผลผลิตหลัก ไดแก 1) ศูนยกลางบริการเพ่ือสงเสริมสุขภาพ (Wellness Hub) 2) ศูนยกลางบริการสุขภาพ (Medical Service Hub) 3) ศูนยกลางบริการวิชาการ และงานวิจัย (Academic Hub) และ 4) ศูนยกลางยาและผลิตภัณฑสุขภาพ (Product Hub) ท่ีไดรับความเห็นชอบในหลักการ จากคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 13 กันยายน พ.ศ. 2559 มีการขับเคลื่อนการดําเนินงาน โดยใชกลไกของคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานชาติ (นโยบาย Medical Hub) ซ่ึงมีรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข (ศาสตราจารยคลินิกเกียรติคุณ นายแพทยปยะสกล สกลสัตยาทร) และรัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา (นายวีระศักดิ์ โควสุรัตน) เปนประธาน และมีคณะอนุกรรมการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) จํานวน 4 คณะ ประกอบดวย 1) คณะอนุกรรมการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางบริการเพ่ือสงเสริมสุขภาพ (Wellness Hub) 2) คณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางบริการรักษาพยาบาล (Medical Service Hub) 3) คณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางบริการวิชาการและงานวิจัย (Academic Hub) และ 4) คณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางยาและผลิตภัณฑสุขภาพ (Product Hub)

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดดําเนินงานตามยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) (พ.ศ. 2560 - 2569) โดยมีผลการดําเนินงานภายใตโครงการสําคัญ (Flagship) ในระยะเรงดวน (Quick Win) ดังนี้

รายงานสรุปผลการปฏิบัติราชการของสวนราชการเพ่ือเสนอรฐัมนตรวีาการกระทรวงสาธารณสุข (ศาสตราจารยคลินิกเกียรติคุณ นายแพทยปยะสกล สกลสัตยาทร)

ขอ 5. ใหความสาํคัญในการพัฒนากําลังคนดานสาธารณสุข ท้ังความรู ทักษะ การผลิต การใช การสรางขวัญกําลงัใจ ภายใตการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจและสังคมปจจุบัน ขอ 8. สนับสนุนกลไกการทํางานสาธารณสุขใหเปนไปเพ่ือสงเสริมการสรางความม่ันคง

และความผาสุกของสังคมไทยและสังคมโลก

ผลการดําเนินงานตามนโยบาย Medical Hub ในปงบประมาณ พ.ศ. 2561

หนา 1

Page 6: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ศูนยกลางบริการสุขภาพ (Medical Service Hub) ประกอบดวย 1. การส ง เสริมพัฒนาให โรงพยาบาลเอกชนและคลินิกได รับการรับรองมาตรฐาน HA (Hospital Accreditation) จํานวน 1,382 แหง และมาตรฐานระดับสากล JCI (Joint Commission International) รวม 64 แหง ท่ัวประเทศ (ขอมูลเดือนกันยายน พ.ศ. 2561) ซ่ึงมีจํานวนมากท่ีสุด ในกลุมประเทศอาเซียน 2. การพัฒนาระบบประกันอุบัติ เหตุสําหรับชาวตางชาติท่ีเดินทางเขาสูประเทศไทย (Accident Fee) โดยมีแนวคิดใหมีการทําประกันอุบัติเหตุสําหรับชาวตางชาติในลักษณะสภาพบังคับ (Compulsory) เพ่ือใหความคุมครองสรางหลักประกันความม่ันคงของชีวิต โดยมอบหมายใหคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ดําเนินการตอไป 3. การจัดทําศูนยขอมูลรองรับนโยบาย Medical Hub รวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของการพัฒนาศูนยขอมูลสารสนเทศรองรับนโยบายศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ โดยมีแนวทางดําเนินการเชื่อมโยงขอมูล ท่ีมีอยูเดิมตามภารกิจของแตละหนวยงานในรูปแบบฐานขอมูลและรายงานสถานการณทางดานเศรษฐกิจสุขภาพ รวมท้ังพัฒนาการเชื่อมโยงเปนระบบ Real Time ตอไป ขณะนี้อยูระหวางการพัฒนาขอมูลสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพเปนการภายใน 4. การพัฒนาบริการสุขภาพในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เปนการจัดตั้งพ้ืนท่ี เพ่ือพัฒนาบริการทางการแพทยระดับสู งในเขตเศรษฐกิจพิ เศษภาคตะวันออก ท่ี มีความเปนไปได และเกิดประโยชนสูงสุดตอประเทศ สงผลตอระบบบริการสุขภาพของชาวไทย โดยคณะกรรมการประสานการลงทุนในเขตสงเสริมเศรษฐกิจภาคตะวันออก ไดมีคําสั่งแตงตั้งคณะทํางานประสานการลงทุนฯ จํานวน 6 ดาน ไดแก 1) กลุมเทคโนโลยีชีวภาพ/แปรรูปอาหาร/ไบโออีโคโนมี 2) กลุมยานยนตสมัยใหม 3) กลุมอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ 3) กลุมอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ/หุนยนต/ระบบอัตโนมัติ/ดิจิทัล 4) กลุมการบินและโลจิสติกส 5) กลุมการแพทยและสุขภาพ 6) กลุมทองเท่ียวเชิงสุขภาพ พรอมท้ังมีการบูรณาการทํางานรวมกันในการขับเคลื่อนแนวทางการสงเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมทางการแพทยและสุขภาพ 5. การขยายระยะเวลาพํานักในราชอาณาจักรไทยเพ่ือการรักษาพยาบาล 90 วัน (เพ่ิมเติม) ในประเทศญี่ปุน, สหรัฐอเมริกา, สวีเดน, เดนมารก และนอรเวย สําหรับผูปวยและผูติดตามรวม 4 ราย เนื่องจากเปนประเทศท่ีมีศักยภาพสูง ไมมีปญหาดานความม่ันคง และนิยมเดินทางมาเขารับบริการรักษาพยาบาลในประเทศไทย ซ่ึงคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) เห็นชอบในหลักเกณฑ ขณะนี้อยูระหวางการรองขอขอมูลเพ่ิมเติม จากสถานเอกอัครราชทูตกอนเขาสูการพิจารณาของคณะรัฐมนตร ี 6. การขยายระยะเวลาพํานักในราชอาณาจักรไทยเ พ่ือการพํานักระยะยาว 10 ป (Long stay: Non-immigrant Visa O-X) ในกลุมประเทศเปาหมายเพ่ิมเติม ประกอบดวย สาธารณรัฐเกาหลี ราชอาณาจักรเบลเยียม สาธารณรัฐออสเตรีย และนิวซีแลนด ซ่ึงคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) เห็นชอบในหลักการ ขณะนี้อยูในระหวาง การรองขอขอมูลเพ่ิมเติมจากสถานเอกอัครราชทูตกอนเขาสูการพิจารณาของคณะรัฐมนตร ี

7. การปรับปรุงหลักเกณฑการขอรับการตรวจลงตรา/การขออยูตอในราชอาณาจักรประเภท คนอยูชั่วคราว สําหรับกรณีใชชีวิตบั้นปลาย 1 ป (Non-immigrant Visa O-A) เพ่ือดําเนินการแกไขปรับปรุงหลักเกณฑการอนุญาตใหคนตางดาวอยูในราชอาณาจักรเปนการชั่วคราวกรณีใชชีวิตบั้นปลาย (Long Stay 1 ป) สําหรับผูสูงอายุชาวตางชาติท่ีมีอายุ 50 ปบริบูรณข้ึนไป ซ่ึงในปจจุบันยังมิไดกําหนดคุณสมบัติใหชาวตางชาติกลุมนี้มีการประกันสุขภาพ เนื่องดวยผูสูงอายุชาวตางชาติในกลุมนี้ มีโอกาสท่ีจะประสบปญหาดานสุขภาพ/

หนา 2

Page 7: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

เจ็บปวยจากโรคประจําตัว ทําเกิดผลกระทบและเปนภาระตอ สถานพยาบาลของไทย ซ่ึงจะตองหารือ กับหนวยงานท่ีเก่ียวของเพ่ือใหมีการแกไขกฎหมายตอไป 8. การจัดทําแพคเกจพิเศษดานสุขภาพรองรับบริการชาวไทยและชาวตางชาติ เพ่ือสนับสนุน ปทองเท่ียววิถีไทย เกไกอยางยั่งยืน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา โดยดําเนินการรวมกับโรงพยาบาลเอกชนท่ัวประเทศ สมาคมสปาไทย และสมาพันธสปาไทย เพ่ือจัดทํารูปแบบแพคเกจพรอมโปรโมชั่นพิเศษ มีโรงพยาบาลเอกชนเขารวม จํานวน 46 แหง และสถานประกอบการ เพ่ือสุขภาพ จํานวน 15 แหง ซ่ึงกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬาไดบรรจุแพคเกจดังกลาวลงในปฏิทินทองเท่ียววิถีไทย เกไกอยางยั่งยืน ประจําป พ.ศ. 2561 และเผยแพรประชาสัมพันธลงในเว็บไซดของกระทรวงฯ 9. การบริการของศูนยขอมูลสุขภาพ (Counter Service) ในรูปแบบ Health Information Center เ พ่ื อ ผ ลั ก ดั น ใ ห เ ป น ศู น ย O n e S t o p S e r v i c e ก ล า ง ข อ ง ก ร ม ส นั บ ส นุ น บ ริ ก า ร สุ ข ภ า พ ตั้งอยู ณ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ และดอนเมือง โดยมีภารกิจ ดังนี้ 1) ประชาสัมพันธขอมูลการขับเคลื่อนนโยบาย (Medical Hub) ไปยังหนวยงานท่ีเก่ียวของ ไดแก กระทรวงการตางประเทศ กระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา ภาคเอกชนและหนวยงานอ่ืนๆ 2) อํานวยความสะดวกใหแกผูรับบริการชาวตางชาติท่ีเดินทางเขามาในประเทศไทย 3) อํานวยความสะดวกกรณีผูบริหารระดับสูงหรือบุคคลสําคัญเดินทางเขามาในประเทศไทย หรือเดินทางออกไปปฏิบัติราชการตางประเทศ (Liaison) 4) ใหบริการขอมูลการรักษาพยาบาล บริการเพ่ือสงเสริมสุขภาพ หรือภารกิจอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของ รวมไปถึงการบูรณาการทํางานรวมกันระหวางหนวยงานภาครัฐ และภาคเอกชนท้ังในและตางประเทศ 10. การพัฒนารหัส TSIC (รหัสธุรกิจ) รองรับนโยบาย Medical Hub โดยกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ บูรณาการทํางานรวมกับสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และกระทรวงพาณิชย โดยมีแนวทางนํารหัสธุรกิจ (TSIC) ท่ีเปนมาตรฐานสากลมาเปนตัวกําหนดในการจัดเก็บขอมูล ซ่ึงไดประสานขอมูลรหัสธุรกิจ (TSIC) หมวดกลุมรหัสธุรกิจดานสุขภาพฉบับลาสุดจากกระทรวงพาณิชย และติดตามความคืบหนาจากอนุกรรมการพิจารณาแกไขรางนิยามอาชีพและอุตสาหกรรมสาขาการสาธารณสุขและดานสุขภาพเพ่ือดําเนินการในข้ันตอนตอไป 11. การสงเสริมการลงทุนเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถสูการเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ตามนโยบายสงเสริมการลงทุนดานการบริการทางการแพทย ใน 4 กิจการ ไดแก (1) กิจการบริการสาธารณสุขดานแพทยแผนไทย (2) กิจการศูนยการแพทยเฉพาะทาง (3) กิจการสถานพยาบาล และ (4) กิจการบริการขนสงผูปวย แพทย หรืออุปกรณการแพทย เพ่ือกระตุนใหเกิดการลงทุนและผลักดัน ใหประเทศไทยเปนศูนยกลางดานบริการทางการแพทยครบวงจร และบริการทางการแพทยท่ีทันสมัย สอดรับกับแนวนโยบายตามแผนยุทธศาสตรฯ Medical Hub ซ่ึงไดนําเสนอประเด็นการขับเคลื่อนและสงเสริมการลงทุน ในการประชุมรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของท้ังภาครัฐและเอกชน และไดนําเรียนปลัดกระทรวงสาธารณสุข เพ่ือพิจารณาเรียบรอยแลว 12. การพัฒนาศูนยประสานงานกลาง (Claim Center) ในการจัดเก็บคารักษาพยาบาลชาวตางชาติสําหรับสถานพยาบาลภาครัฐนํารองในจังหวัดทองเท่ียวชั้นนํา ไดแก เชียงใหม ชลบุรี ภูเก็ต พังงา และสุราษฎรธานี โดยไดจัดทําเปนคูมือปฏิบัติงาน (Work Flow) ภายในศูนยประสานงานกลางของ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เพ่ือใหบริการแกสถานพยาบาลในการติดตอประสานงานสถานเอกอัครราชทูต ในกรณีชาวตางชาติคางชําระคารักษาพยาบาล และใหความรูในการเคลมประกันสุขภาพ โดยมีเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีชั้น 5 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพใหบริการในเวลาราชการ เบอรติดตอ 02-1937014 และ เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงาน ณ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิและทาอากาศดอนเมือง ใหบริการท้ังในและนอกเวลา

หนา 3

Page 8: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ราชการ เบอรติดตอ 02-1937999 ซ่ึงเปดใหบริการอยางไมเปนทางการตั้งแตเดือนกันยายน 2561 และเตรียมการขยายผลการดําเนินงานไปยังสถานพยาบาลภาครัฐท่ัวประเทศ

ศูนยกลางบริการเพ่ือสงเสริมสุขภาพ (Wellness Hub) ประกอบดวย 1. ขอมูลสถานประกอบการท่ีผานการรับรองมาตรฐานตามพระราชบัญญัติสถานประกอบการ เพ่ือสุขภาพ พ.ศ. 2559 ซ่ึงปจจุบันมีสถานประกอบการผานการรับรองฯ ท่ัวประเทศจํานวน 5,484 แหง แยกประเภทเปน ไดแก (1)กิจการสปา จํานวน 879 แหง (2)กิจการนวดเพ่ือสุขภาพ จํานวน 4,305 แหง และ (3)กิจการนวดเพ่ือเสริมความงาม จํานวน 300 แหง (ขอมูลจากกองสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ ณ (วันท่ี 30 กันยายน 2561)

2. การพัฒนา Healthy Home Stay โดยมีแนวคิดในการพัฒนาและยกระดับ Home Stay ท่ีไดรับมาตรฐานจากกรมการทองเท่ียวใหมีการจัดบริการท่ีนําไปสูการมีสุขภาพดีของผูมารับบริการ เพ่ือยกระดับพ้ืนท่ีใหเปนการทองเท่ียวเชิงสุขภาพสูสากล โดยเนนเรื่องความสะอาดและปลอดภัยรวมกับคณะผูตรวจประเมินของกรมการทองเท่ียว ซ่ึงท่ีผานมาไดลงพ้ืนท่ีตรวจประเมินและรับรองมาตรฐานโฮมสเตยรวมกับ กรมการทองเท่ียว ใน 3 เสนทาง ไดแก 1) สงขลา-พัทลุง-ปตตานี 2) ขอนแกน-รอยเอ็ด ชวงเวลาประเมิน และ 3) เลย-หนองคาย

3. การประกาศใหอาชีพนวดไทยเปนอาชีพสงวนสําหรับคนไทย โดยเพ่ิมเติมบทบัญญัติในกฎหมายลําดับรองท่ีเก่ียวของใหอาชีพนวดไทยเปนอาชีพสงวนหามมิใหชาวตางชาติทําในราชอาณาจักร ซ่ึงกรมการจัดหางาน ไดยกรางประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่องกําหนดงานท่ีหามไมใหคนตางดาวทํา และไดบรรจุอาชีพนวดไทยเปนงานหามในรางประกาศดังกลาว คํานยิามและขอบเขตของอาชีพนวดไทยรองรับการจัดทํารางกฎหมาย ขณะนี้อยูระหวางการพิจารณารับรอง ดังกลาว จากหนวยงานท่ีเก่ียวของให มีความครอบคลุมและครบถวน กอนเสนอกระทรวง

4. การพัฒนาแหลงน้ําพุรอนมุงสูเมืองสปาและเสนทางทองเท่ียวเชิงสุขภาพแบบครบวงจร นํารองจังหวัดกระบี่ โดยบูรณาการทํางานรวมกับกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา โดยใชกรอบแนวคิดการจัดตั้งเมืองสปาน้ําพุรอน (Hot Spring Spa Town) ท่ีทางหนวยงาน SMEs จัดทําข้ึน เสนอโมเดลพัฒนาคลองทอม เมืองสปาน้ําพุรอนตอคณะอนุกรรมการสงเสริมพัฒนาคุณภาพแหลงทองเท่ียวสินคาและบริการการทองเท่ียว และคณะกรรมการนโยบายการทองเท่ียวแหงชาติ มีการจัดทําโครงการสําคัญในระยะเรงดวนเพ่ือพัฒนาอําเภอคลองทอม จังหวัดกระบี่ มอบหมายใหคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ขับเคลื่อนการดําเนินงานอยางเปนรูปประธรรม รวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของตอไป

5. การพัฒนา Wellness City แบบครบวงจร นํารองในจังหวัดปราจีนบุรี โดยมีการแตงตั้งคณะกรรมการระดับจังหวัดเพ่ือรวมกันพัฒนา Wellness City ซ่ึงทางโรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศร เปนแกนกลางในการประสานงานการพัฒนา Wellness City ซ่ึงไดมีการเปดศูนยการเรียนรูสมุนไพรและภูมิปญญาพ้ืนบาน ภูมิอภัยภูเบศร เม่ือวันท่ี 10 กันยายน 2561 เพ่ือเปาหมายในการเปนแหลงทองเท่ียวเชิงสุขภาพ และการฝกอบรมดานสุขภาพใหกับประชาชนและผูประกอบการ

6. การยกระดับบริการนวดไทยใหผานการรับรองจาก UNESCO ซ่ึงไดรับแจงจากเลขานุการอนุสัญญาวาดวยการสงวนรักษามรดกทางวัฒนธรรมท่ีจับตองไมได เม่ือวันท่ี 16 เมษายน 2561 ยืนยันนําเรื่องนวดไทยเขาสูการพิจารณาของคณะกรรมการระหวางรัฐบาล เพ่ือการสงวนรักษามรดกทางวัฒนธรรมท่ีจับตองไมไดของมนุษยชาติในรอบป พ.ศ.2562 โดยดําเนินการจัดทําเอกสารท่ีเก่ียวของใหเปนปจจุบัน และไดจัดทําหนังสือแสดงความเห็นชอบใหนําเสนอนวดไทย เพ่ือข้ึนทะเบียนจารึกฉบับภาษาอังกฤษสงใหฝายเลขานุการ

หนา 4

Page 9: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

อนุสัญญาฯ เรียบรอยแลว ซ่ึงกรมสนับสนุนบริการสุขภาพและหนวยงานท่ีเก่ียวของจะไดพิจารณา กิจกรรมนวดไทยไปจัดในทุกเทศกาล/กิจกรรม สรางกระแสพรอมท้ังประสานสมาคมแพทยแผนไทยในการนําขอมูลกิจกรรมการนวดไทยท่ีดําเนินการยอนหลังมาเพ่ือเปนรายละเอียดขอมูลในการจัดทําขอมูลเสนอ UNESCO ตอไป ศูนยกลางบริการวิชาการและงานวิจัย (Academic Hub) ประกอบดวย

1. การพัฒนางานรองรับการเคลื่อนยายของบุคคลธรรมดาผูประกอบวิชาชีพสาขาบริการสุขภาพภายใตกรอบการคาบริการอาเซียน (MRAs) โดยมีแนวทางการพัฒนาศักยภาพการคุมครองผูบริโภคดานบริการสุขภาพจากการเคลื่อนยายของบุคคลธรรมดาสาขาบริการสุขภาพ ไดแก แพทย ทันตแพทย และพยาบาล ภายใตความตกลงการยอมรับคุณสมบัติรวมของประชาคมอาเซียน โดยไดจัดทําเปนยุทธศาสตรรองรับการเคลื่อนยายของผูประกอบวิชาชีพสาขาแพทย ทันตแพทย และพยาบาล ตามความตกลง การยอมรับคุณสมบัติรวมของบุคคลธรรมดา (MRAs) ภายใตกรอบการคาบริการสุขภาพอาเซียน ป พ.ศ. 2561 - 2565 ซ่ึงรองปลัดกระทรวงสาธารณสุข เห็นชอบและลงนาม เม่ือวันท่ี 17 กรกฎาคม 2561 และไดประกาศใชเปนกรอบแนวทางดําเนินงานกับหนวยงานท่ีเก่ียวของพรอมกับพิจารณางบประมาณภายใน เพ่ือทําแผนปฏิบัติการรองรับสูประชาคมอาเซียน พรอมท้ังมีการพัฒนาและบริหารจัดการเว็บไซตบริการสุขภาพอาเซียน (Asean Healthcare Services Website) และกรอบแนวทาง e - Healthcare Services และ Health Tourism เพ่ือเสนอในประเทศสมาคนอาเซียนในการประชุมคณะกรรมการประสานดานบริการอาเซียน (CCS) ครั้งตอไป

2 . การ พัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรสุ ขภาพระดับนานาชาติ ( ระ ดับปริญญาตรี : Undergraduate, ระดับหลังปริญญา : Postgraduate และหลักสูตรระยะสั้น : Short course Training) โดยมีแนวทางพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรสุขภาพเริ่มตนท่ีหลักสูตรแพทยศาสตร เพ่ือยกระดับมาตรฐานการจัดการเรียนการสอนวิชาแพทยในระดับกอนปริญญาใหเทียบเทานานาชาติ สรางศักยภาพการแขงขัน ของประเทศไทย รวมท้ังการเตรียมความพรอมในการรองรับการเจรจาการคาเสรีในระดับตางๆ ซ่ึงไดจัดทําฐานขอมูลหลักสูตรนานาชาติ ท่ีมีอยู ในประเทศ เพ่ือประชาสัมพันธไปยังกระทรวงการตางประเทศ ใหกับชาวตางชาติท่ีสนใจและมีคุณสมบัติเหมาะสมตามหลักเกณฑท่ีกําหนด รวมท้ังเตรียมการประสานงานเก่ียวกับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ license/ ตําแหนงงาน/ Career Part เม่ือตองกลับไปทํางานในตางประเทศกับสภาวิชาชีพ

3. การพัฒนาหลักเกณฑการออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพชั่วคราว (Temporary license) โดยพิจารณาความเปนไปไดในการกําหนดแนวปฏิบัติ/ระเบียบท่ีอนุญาตใหแพทยชาวตางชาติสามารถเขามาสอนในสถาบันการศึกษา/โรงพยาบาลของภาครัฐและแบงชวงเวลาไปสอนหรือปฏิบัติงานในภาคเอกชน และใหโอกาส Practice ในไทยไดไมเกิน 1 ป ท้ังนี้ในสวนของระเบียบ/วิธีการท่ีจะใหผูท่ีจบการศึกษาจากตางประเทศเขามาประกอบวิชาชีพทางการแพทยในประเทศไทยได ข้ึนอยู กับสภาวิชาชีพตางๆ เชน แพทยสภา ทันตแพทยสภา สภาเภสัชกรรม สภาการพยาบาล ท่ีจะเปนผูพิจารณาอนุมัติ เนื่องจากเปนหนวยงานท่ีรับผิดชอบในการออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพแกแพทย ทันตแพทย เภสัชกร พยาบาล ท่ีประกอบวิชาชีพในประเทศไทย ซ่ึงแพทยสภาไดพิจารณาแนวทางการออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ เวชกรรมชั่วคราว (Temporary License) สําหรับท้ังชาวไทยและชาวตางชาติท่ีสําเร็จการศึกษาดานวิชาชีพ ทางการแพทยจากตางประเทศ ภายใตพระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2525 ท้ังนี้ อยูระหวางการพิจารณาปรับปรุงกฎ/ระเบียบท่ีเก่ียวของเพ่ือกําหนดหลักเกณฑและเง่ือนไขการออกใบอนุญาตดังกลาว

4. การพัฒนาระบบการศึกษาตอแพทยเฉพาะทางโดยใหภาคเอกชนรวมเปนตนสังกัด (Affiliated Private Training) ตามท่ีโรงพยาบาลเอกชนประสงคจะขอรับเปนตนสังกัดและขอโควตา

หนา 5

Page 10: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ใหแกบุคลากรทางการแพทยของตนเอง เพ่ือเขารับการศึกษาในหลักสูตรระดับหลังปริญญา (Postgraduate) จากเดิมท่ีไมสามารถรับเปนหนวยงานตนสังกัดได โดยมีวัตถุประสงคหลักเพ่ือพัฒนาศักยภาพบุคลากร และแกปญหาการขาดแคลนบุคลากรของภาคเอกชน การพัฒนาระบบการเรียนการสอนโดยภาคเอกชน (Affiliated Private Training) โดยการผลักดันใหภาคเอกชนเขามามีสวนรวมในการจัดการเรียนการสอนรวมกับภาครัฐ ซ่ึงจะสามารถเปนชองทางในการใชศักยภาพของโรงพยาบาลเอกชนและผู เชี่ยวชาญ ในภาคเอกชนซ่ึงเปนผูมีความสามารถทางการแพทยและเปนท่ียอมรับในระดับนานาชาติ ในลักษณะ Affiliate

5. การพัฒนาระบบการใหทุนการศึกษาแพทยกลุมประเทศ CLMV (กัมพูชา ลาว เมียนมา และเวียดนาม) ท่ีเขามาศึกษาทางดานการแพทยหรือวิทยาศาสตรสุขภาพในประเทศไทย วัตถุประสงคเพ่ือเปนการเพ่ิมขีดความสามารถของประเทศไทยในการกาวข้ึนเปนผูนําดาน Academic Hub ในภูมิภาคอาเซียน ใหบุคคลเหลานี้นําความรูกลับไปพัฒนาระบบสุขภาพของประเทศตนเองใหมีคุณภาพมาตรฐาน สรางเครือขายการพัฒนาระบบสุขภาพรวมกัน เพ่ือสราง Brand Loyalty ซ่ึงไดรวบรวมขอมูลการจัดสรรทุนแกนักศึกษา กลุมประเทศ CLMV จากสถาบันการศึกษาของประเทศไทย และประชาสัมพันธขอมูลใชกับกระทรวง การตางประเทศและสถานเอกอัครราชทูตตางประเทศในประเทศไทย (กลุมประเทศ CLMV) แลว

6. การพัฒนา Research Center ในประเทศไทยแบบครบวงจร รองรับการเปนศูนยกลางบริการวิชาการ (Academic Hub) โดยบูรณาการทํางานรวมกับศูนยความเปนเลิศดานชีววิทยาศาสตร (องคการมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และเครือขาย เอกชน มหาวิทยาลัย และ Thailand Towards Excellence in Clinical Trials (ThaiTECH) โดยมีการแบง Segment ของอุตสาหกรรมใหม ท่ีจะเกิดข้ึนจากการดําเนินการตาม Roadmap ซ่ึงศูนย Research Center ตนแบบ จะชวยลดความลาชา และเพ่ิมประสิทธิภาพการทําวิจัยคลินิก โดยเชื่อมโยงการบริหารจัดการ การกํากับดูแล การใหบริการ ทางกฎหมาย สรางขีดความสามารถในการเพ่ิมหนวยงานวิจัยคลินิก นักวิจัย นักวิทยาศาสตร บุคลากร หองปฏิบัติการ หนวยงานกํากับดูแลดานยาและ EC ใหไดมาตรฐาน มีประสิทธิภาพ สรางฐานขอมูลแพทย ผูเชี่ยวชาญ และผูปวย เพ่ือการวิจัยทางคลินิกในประเทศท่ีทันสมัย จัดเก็บตามมาตรฐาน ทําใหการข้ึนทะเบียนการวิจัยทางคลินิกของไทย (Thai Clinical Trial Registry-TCTR) ไดรับการยอมรับในตางประเทศ ท้ังนี้หากเปนการจัดตั้งศูนยฯข้ึนใหม อาจเปนไปไดใน 4 รูปแบบ คือ 1) บริษัทเอกชน 2)หนวยงานภายใตกระทรวง 3) มูลนิธิ และ 4) หนวยงานภายใตเครือขายมหาวิทยาลัย

7. การเปนศูนยกลางการจัดประชุมวิชาการทางการแพทยระดับนานาชาติ (Medical MICE) ตามท่ีไดลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือกับสํานักงานสงเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องคการมหาชน) เม่ือวันท่ี 27 มิถุนายน 2556 เพ่ือรวมกันดําเนินการในดานการสงเสริม สนับสนุน ใหมีการจัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติ การถายทอดองคความรู แลกเปลี่ยนเรียนรู รวมท้ังผลักดัน ใหประเทศไทยเปนศูนยกลางการประชุมวิชาการและการจัดนิทรรศการทางการแพทยนานาชาติอยางยั่งยืน โดยไดเตรียมการจัดทําคูมือการจัดประชุมวิชาการนานาชาติทางการแพทย โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือชี้แจง แนวทางการสนับสนุนการจดัประชุมวิชาการนานาชาติของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพและสํานักงานสงเสริม การจัดประชุมและนิทรรศการ (องคการมหาชน) แกหนวยงานท่ีเก่ียวของกับการจัดประชุมวิชาการและ การจัดนิทรรศการทางการแพทยระดับนานาชาติ (Medical MICE) เพ่ือใหทราบแนวทางการเขารวม การประมูลสิทธิ์ ในการเปนเจาภาพจัดประชุมนานาชาติ หรือกรณีตองการริเริ่มจัดการประชุมระดับนานาชาติ รวมท้ังสงเสริมใหราชวิทยาลัย/สมาคม/สถาบันการศึกษา/สภาวิชาชีพ ใหเปนสมาชิก World Congress ระดับนานาชาติ มากยิ่งข้ึน

หนา 6

Page 11: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ศูนยกลางยาและผลิตภัณฑสุขภาพ (Product Hub) ประกอบดวย 1. การพัฒนา Product Outlet จําหนายผลิตภัณฑสุขภาพในประเทศและตางประเทศ

ตามยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) (พ.ศ. 2560 - 2569) และแผนแมบทแหงชาติวาดวยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับท่ี 1 พ.ศ. 2560 - 2564 ภายใตยุทธศาสตร ท่ี 4 สรางความเขมแข็งของการบริหารและนโยบายของภาครัฐเพ่ือการขับเคลื่อนสมุนไพรอยางยั่งยืน โดยมีแนวทางการดําเนินการ 1) พัฒนา Outlet ท่ีมีอยูเดิมหรือจุดท่ีรัฐบาลใหสงเสริม 2) จัดต้ัง Shop ใน Modern Trade และสนามบิน (Duty Free) โดยมุงเนนในเมืองทองเท่ียวหลักและเมืองทองเท่ียวรองท่ีชาวตางชาต ิใหความนิยม โดยใชยาสมุนไพรและผลิตภัณฑสุขภาพท่ีผลิตจาก Product Champion เชน กระชายดํา ขม้ินชัน บัวบก และไพล ท่ีไดคุณภาพมาตรฐานการผลิตจากโรงงานท่ีผาน GMP และสินคา OTOP โดยมีรูปแบบจัดตั้ง Product Outlet ในประเทศไทย ในรูปแบบของ Branding Shop พรอมท้ังพิจารณาคัดเลือกผลิตภัณฑ ท่ีมีศักยภาพมาวางจําหนายรวมกับโรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศร กระทรวงพาณิชย กรมการพัฒนาชุมชน สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา สมาคมผูคาปลีกไทย และสมาคมศูนยการคาไทย พรอมท้ังไดมีการประชุมเพ่ือ Business Matching ระหวางผูประกอบการไทย ไดแก โรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศรกับ Agent ท้ังนี้ ไดเตรียมการพัฒนา Business Model กับผูประกอบการฝายไทยท่ีมีความพรอม สงเสริมใหไดมาตรฐาน ตามเกณฑของ EU เพ่ือไปวางจําหนายในตางประเทศ ไดแก หางสรรพสินคา ILLUM

นโยบายรัฐบาล 1. รัฐบาลไดประกาศนโยบายใหประเทศไทยเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ เพ่ือเปนกลไก การขับเคลื่อนเศรษฐกิจในอนาคต (New Engine of Growth) และผลักดันการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (S-curve) ไดแก การตอยอดอุตสาหกรรมเดิมท่ีมีศักยภาพ (First S - curve) ในดานอุตสาหกรรมการทองเท่ียวกลุมรายไดดีและการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ (Affluent, Medical and Wellness Tourism) รวมถึงการเติมอุตสาหกรรมแหงอนาคต (New S-curve) ในดานอุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร (Medical Hub) เพ่ือรองรับนักทองเท่ียวชาวตางชาติท่ีเพ่ิมมากข้ึน จากการขยายตัวของกลุมสินคาและธุรกิจบริการสุขภาพ ประกอบกับนโยบายรัฐบาลท่ีจะนําประเทศไทยเขาสู Thailand 4.0 โดยมีเปาหมายในการเชื่อมตอการคาและการลงทุน ความกาวหนาทางเทคโนโลยีเ พ่ือนําไปสูการจัดบริการสุขภาพท่ีลดความเหลื่อมล้ํา ของการเขาถึงระบบสุขภาพ ประชาชนมีสุขภาพดี เพ่ือรองรับอนาคตท่ีมีความเปนสังคมเมือง สังคมผูสูงอายุ ซ่ึงในป พ.ศ. 2573 ประเทศไทยจะมีผูสูงอายุถึง 1 ใน 4 ของประชากรท้ังประเทศ จากความสําคัญดังกลาว กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬาไดกําหนดใหนโยบาย Medical and Wellness Tourism เปนวาระแหงชาติ ดวยการจัดทํายุทธศาสตรชาติท่ีสอดคลองกับนโยบายรัฐบาล การเปลี่ยนแปลงของโลก ความตองการของผูรับบริการและผูใหบริการ ในลักษณะท่ีมีการบูรณาการทํางานรวมกันกับทุกภาคสวน เพ่ือใหมีการสรางมูลคาเพ่ิมของอุตสาหกรรมสุขภาพ สามารถสรางรายไดใหกับประเทศไทย และสงผลใหประเทศไทยมีขีดความสามารถในดานบริการสุขภาพ เพ่ือแขงขันในเวทีโลกไดอยางแทจริง 2. ตามยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) ไดมีผลประกาศใชตามราชกิจจานุเบกษาแลวเม่ือวันท่ี 13 ตุลาคม 2561 ซ่ึงเปนยุทธศาสตรฉบับแรกของประเทศไทยตามรัฐธรรมนูญท่ีจะตองนําไปสูการปฏิบัติเพ่ือใหประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน “ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลว

รายละเอียด

ก. ภูมหิลัง

หนา 7

Page 12: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ตามพระราชบัญญัติการจัดทํายุทธศาสตรชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ไดแตงตั้งคณะกรรมการยุทธศาสตรชาติ ซ่ึงมีนายกรัฐมนตรีเปนประธานกรรมการ เพ่ือจัดทํายุทธศาสตรชาติ 20 ป ท้ัง 6 ยุทธศาสตร ซ่ึงในยุทธศาสตรท่ี 2 การสรางความสามารถในการแขงขัน อุตสาหกรรมและบริการแหงอนาคต ประเด็น : ดานอุตสาหกรรมและบริการการแพทยครบวงจร และดานสรางความหลากหลายดานการทองเท่ียว ประเด็น : ทองเท่ียวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทยแผนไทย ไดกําหนดใหมีการผลักดันประเทศไทยสูการเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติและอุสาหกรรมการแพทยครบวงจร 3. ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 พ.ศ. 2560 - 2564 ของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดกําหนดใหมีการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ และ การบริการทางการแพทย ไวในยุทธศาสตรท่ี 3 การสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจ และแขงขันไดอยางยั่งยืน 4. สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) ไดกําหนด “ซูเปอรคลัสเตอร” ซ่ึงเปน คลัสเตอร สําหรับกิจกรรมท่ีใชเทคโนโลยีข้ันสูง และอุตสาหกรรมแหงอนาคต ประกอบดวย 6 คลัสเตอร ไดแก 1) คลัสเตอรยานยนตและชิ้นสวน 2) คลัสเตอรเครื่องใชไฟฟาอิเล็กทรอนิกส และอุปกรณโทรคมนาคม 3) คลัสเตอรดิจิทัล 4) คลัสเตอรปโตรเคมีและเคมีภัณฑท่ีเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม 5) คลัสเตอร Food Innopolis และ 6) คลัสเตอร Medical Hub 5. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ไดจัดทํายุทธศาสตรการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) (พ.ศ. 2560 - 2569) เพ่ือสงเสริมพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางบริการสุขภาพโลก สรางรายไดจากอุตสาหกรรมการทองเท่ียวเชิงสุขภาพท่ียั่งยืน และมีองคประกอบในการขับเคลื่อน ประกอบกอบดวย 4 ผลผลิตหลัก ไดแก 1) ศูนยกลางบริการสุขภาพ (Medical Service Hub) 2) ศูนยกลางบริการเพ่ือสงเสริมสุขภาพ (Wellness Hub) 3) ศูนยกลางบริการวิชาการและงานวิจัย (Academic Hub) และ 4) ศูนยกลางยาและผลิตภัณฑสุขภาพ (Product Hub) ซ่ึงคณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการแลว เม่ือวันท่ี 13 กันยายน 2559

สถานการณดานการทองเท่ียว จากรายงานประจําป 2561 ไตรมาสท่ี 3 ของสภาอุตสาหกรรมการทองเท่ียวแหงประเทศไทย

(สทท.) พบขอมูลดังนี้ - ดัชนีความเชื่อม่ันผูประกอบการธุรกิจทองเท่ียวในประเทศไทย ในไตรมาสท่ี 3/2561 คาดวา

จะมีนักทองเท่ียวตางชาติ 9.64 ลานคน เพ่ิมข้ึนรอยละ 9.79 จากป 2560 และคาดวา ในป 2561 จะมีนักทองเท่ียวตางชาติท้ังหมด 39.47 ลานคน เพ่ิมข้ึนรอยละ 11.53 จากปกอน

แตมีแนวโนมลดลงจากชวงกอนหนาเล็กนอย สะทอนสถานการณทองเท่ียวไทยท่ียังไมเขมแข็งมากนัก ผูประกอบการบางสวนมีความกังวลดานเศรษฐกิจในประเทศและเปนชวงนอกฤดูกาลทองเท่ียว

- จากขอมูลกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา (1 มิ.ย. 2561 รายงาน ขอมูลลาสุดเดือนเมษายน) พบวาในชวง สี่เดือนแรกของป 2561 มีจํานวน นักทองเท่ียวตางชาติรวม 13.7 ลานคน เพ่ิมข้ึนรอยละ 13.97 จากชวงเดียวกัน ของป 2560 และมีรายไดจากการทองเท่ียวรวม 7.31 แสนลานบาท เพ่ิมข้ึนรอยละ 17.55 จากชวงเดียวกันของป 2560 และคาดวาในไตรมาสท่ี 2/2561 จะมีนักทองเท่ียวตางชาติ 8.95 ลานคน เพ่ิมข้ึนรอยละ 10.09 จากไตรมาสท่ี 2/2560 - ในไตรมาสท่ี 3/2561 หากไมมีเหตุการณผิดปกติใดๆ คาดวาจะมีนักทองเท่ียวตางชาติ 9.64 ลานคน เพ่ิมข้ึนรอยละ 9.79 จากไตรมาส 3/2560 โดยแบงเปนนักทองเท่ียวจากประเทศในกลุมอาเซียน

หนา 8

Page 13: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

2.47 ลานคน เพ่ิมข้ึนรอยละ 8.54 นักทองเท่ียวจากเอเชียตะวันออก (รวมจีน) 4.35 ลานคน เพ่ิมข้ึนรอยละ 10.28 และนักทองเท่ียวจากยุโรป 1.28 ลานคน เพ่ิมข้ึนรอยละ 6.67 จากไตรมาส 3/2560 - ในป 2561 คาดวาจะมีนักทองเท่ียวตางชาติท้ังหมด 39.47 ลานคน เพ่ิมข้ึนรอยละ 11.53 จากป 2560 และมีรายไดจากนักทองเ ท่ียวต างชาติ 2.09 ล านล านบาท เ พ่ิม ข้ึนจากป 2560 รอยละ 14.54 - สําหรับสถานการณนักทองเท่ียวจีน ในชวงสี่เดือนแรกของป 2561 มีจํานวน นักทองเท่ียวจีนรวมท้ังสิ้น 4.16 ลานคน เพ่ิมข้ึนรอยละ 30.56 จากชวงเดียวกัน ของป 2560 ในไตรมาส 2/2561 คาดวาจะมีจํานวนนักทองเท่ียวจีน 2.61 ลานคน เพ่ิมข้ึนรอยละ 14.98 จากไตรมาสท่ี 2/2560 - สวนในไตรมาสท่ี 3/2561 คาดวาจะมีนักทองเท่ียวจีน 3 ลานคน เพ่ิมข้ึนรอยละ 11.85 จากไตรมาสท่ี 3/2560 และในป 2561 คาดวาจะมีนักทองเท่ียวจีนประมาณ 11.61 ลานคน เพ่ิมข้ึน รอยละ 17.56 จากป 2560

- การจัดอันดับความสามารถในการแขงขันดานการทองเท่ียวในป โดย World Economic Forum พบวา ประเทศไทยถูกจัดอยูในอันดับท่ี 32 จากท้ังหมด 137 ประเทศ ซ่ึงเม่ือเทียบกับ ป 2559-2560 ประเทศไทยมีอับดับดีข้ึน 2 อันดับ จากอันดับท่ี 34 โดยดานท่ีมีขีดความสามารถ ในการแขงขันดี ไดแก ปจจัยพ้ืนฐาน (Basic requirements) (ลําดับท่ี 41) ปจจัยยกระดับประสิทธิภาพ (Efficiency enhancers) (ลําดับท่ี 35) ปจจัยนวัตกรรมและศักยภาพทางธุรกิจ (Innovation and sophistication factors) (ลําดับท่ี 47)

ศูนยวิจัยกสิกรไทย มองวา จากจํานวนนักทองเท่ียวจีนท่ีเดินทางมาไทย ประกอบกับแนวโนมของคนจีนท่ีเดินทางไปรักษาพยาบาลในตางประเทศเพ่ิมข้ึนนั้น ทําใหธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนของไทยมีโอกาสขยายตลาด Medical Tourism ไปยังกลุมลูกคาจีนมากข้ึน โดยเฉพาะการใหบริการในเรื่องของความงาม (Beauty) ท่ีคนจีนใหความสนใจเพ่ิมข้ึน ซ่ึงไทยเองก็คอนขางมีศักยภาพในการแขงขัน เชน ศัลยกรรมความงามบนใบหนา ภาวะมีบุตรยาก รวมถึงบริการทางการแพทยท่ีไมซับซอน เชน ทันตกรรม (Dental) เวชศาสตรชะลอวัย (Anti-aging) หรือแมแตตรวจสุขภาพ (Health checks) แตท้ังนี้ ผูประกอบการไทยก็อาจจะตองเผชิญการแขงขันกับญ่ีปุน เกาหลีใตและมาเลเซีย ซ่ึงเปนตลาดหลักของกลุม Medical Tourism ชาวจีนเชนกัน ท้ังนี้ ศูนยวิจัยกสิกรประเมินวา ในป 2561 จํานวนนักทองเท่ียว Medical Tourism ชาวจีนเดินทางไปยังประเทศตางๆ ท่ัวโลกมีประมาณ 630,000-650,000 ราย ซ่ึงจากจํานวนดังกลาว คาดวามีไมต่ํากวา 40,000 ราย หรือคิดเปนสัดสวนเพียงรอยละ 6.0 เทานั้น ท่ีเดินทางมาประเทศไทย

ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน โดยเฉพาะโรงพยาบาลเอกชนท่ีจับตลาดคนไขตางชาติ ซ่ึงศูนยวิจัยกสิกรไทยคาดวาป 2561 จะมีคนไขชาวตางชาติมาใชบริการรักษาพยาบาลประมาณ 3.42 ลานครั้ง แบงเปน Medical Tourism ประมาณ 2.5 ลานครั้ง และกลุม EXPAT ประมาณ 9.2 แสนครั้ง โดยกลุมคนไขชาวเอเชีย โดยเฉพาะญ่ีปุน เมียนมาและจีน จะเขามามีบทบาทเพ่ิมข้ึนทดแทนกลุมคนไขตะวันออกกลางท่ีมีบทบาทลดลง เนื่องจากการปรับเปลี่ยนนโยบายรักษาพยาบาลภายในประเทศ รวมถึง การพัฒนาระบบสาธารณสุขในประเทศใหมีคุณภาพและมาตรฐาน เพ่ือรองรับหรือจูงใจใหคนในประเทศหันมาใชบริการมากข้ึน

ศูนยวิจัยกสิกรไทยคาดวา ในป 2561 ตลาดคนไขในประเทศยังคงถูกกดดันจากปญหากําลังซ้ือท่ียังไมฟนตัวท่ัวถึง สงผลใหธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนท่ีเนนตลาดคนไทยเผชิญการแขงขันท่ีสูงข้ึน อยางไรก็ดี จากจํานวนผูสูงอายุไทยยังคงเพ่ิมข้ึน จึงกลายเปนโอกาสท่ีจะขยายฐานลูกคาไปยังกลุมดังกลาว แตเนื่องจากผูสูงอายุสวนใหญมีรายไดไมสูงนัก ดังนั้น โรงพยาบาลเอกชนท่ีเจาะตลาดผูสูงอายุจะตองคํานึงถึง

หนา 9

Page 14: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ความสามารถในการจายคารักษาพยาบาลหรือกําลังซ้ือของลูกคากลุมนี้ดวย โดยกลุมลูกคาเปาหมายของธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนนาจะเปนกลุมท่ีมีกําลังซ้ือปานกลางข้ึนไป หรือมีรายไดตั้งแต 100,000 บาทตอปข้ึนไป (ซ่ึงยังไมรวมคาใชจายจากการชวยเหลือของบุตรหลาน) ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนยังคงเปนธุรกิจดาวรุง ท่ีสามารถรักษาอัตราการเติบโตของรายไดจากคารักษาพยาบาลในระดับเลข 2 หลัก โดยหลักๆ มาจากฐานลูกคาตางชาติ ซ่ึงศูนยวิจัยกสิกรไทยมองวา อัตราการขยายตัวของรายไดโรงพยาบาลเอกชนท่ีจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยฯ ในป 2560 และถัดไปในระยะขางหนา จะถูกขับเคลื่อนโดยรายไดจากลูกคาตางชาติมากข้ึน โดยเฉพาะตลาด Medical Tourism สะทอนไดจาก รายไดของธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนท่ีมาจาก กลุมคนไขตางชาติมีสัดสวนเพ่ิมข้ึนจากรอยละ 25 ของรายไดท้ังหมด จากโรงพยาบาลเอกชน ในป 2554 เปนกวารอยละ 27.0 ในป 2558 และคาดวาจะเพ่ิมข้ึนเปนรอยละ 30.0 ในป 2560 ขณะท่ีแนวโนมรายไดของธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนท่ีมาจากกลุมคนไขชาวไทยนั้น สวนใหญนาจะเติบโตมาจากผลของราคา (อาทิ เงินเฟอ ความซับซอนของโรค) แตหากพิจารณาจํานวนคนไขชาวไทยท่ีเขารับการรักษาพยาบาล ในโรงพยาบาลเอกชน อาจไมไดเติบโตอยางมีนัยสําคัญ สะทอนขอจํากัดของการเติบโตของรายได จากคารักษาพยาบาลในตลาดคนไขคนไทย

ดังนั้น การเพ่ิมรายไดจากตลาดคนไขในประเทศ ผูประกอบการธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนอาจจะตองมองหาแหลงรายไดใหมๆ นอกเหนือไปจากรายไดหลักจากคารักษาพยาบาล ซ่ึงศูนยวิจัยกสิกรไทยมองวา กลุมธุรกิจ Non-hospital จะกลายเปนธุรกิจท่ีเขามาเสริมรายไดใหกับผูประกอบการโรงพยาบาลเอกชน อาทิ ธุรกิจอุปกรณเครื่องมือแพทยท่ีใชในชีวิตประจําวัน ธุรกิจท่ีเก่ียวของกับผูสูงอายุ เชน ธุรกิจดูแลผูสูงอายุ (Nursing Home) หรือธุรกิจบริการอาหารสําหรับผูปวยในโรงพยาบาล รวมถึงธุรกิจรานขายยา (Pharmacy) เปนตน

ในป 2018 website : worldsbesthospitals.net ไดจัดอันดับโรงพยาบาลท่ีดีท่ีสุดในโลกจํานวน 10 อันดับ ซ่ึงมีโรงพยาบาลของประเทศไทยติดอันดับท่ี 5 คือ โรงพยาบาลสมิติเวช 1

รูปที่ 1 รายงานจากเวบ็ไซต Medical Travel Quality Alliance 10 อนัดับโรงพยาบาลที่ดีที่สุดในโลก ป 2018 ขอมูลจาก https://worldsbesthospitals.net/

หนา 10

Page 15: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

รูปที่ 2 รายงานจากเวบ็ไซต Medical Travel Quality Alliance 10 อนัดับโรงพยาบาลที่ดีที่สุดในโลก ป 2018 1 Joint commission International สืบคนเมื่อ กันยายน 2561 JCI Accredited Organization Thailand สืบคนจาก http://www.jointcommissioninternational.org/about-jci/jci-accredited-organizations/?c=Thailand2 Joint commission International สืบคนเมื่อ กันยายน 2561 JCI Accredited Organization Thailand สืบคนจาก http://www.jointcommissioninternational.org/about-jci/jci-accredited-organizations/?c=Thailand รายงานดานการรับรองมาตรฐานการรักษาพยาบาลนานาชาติของ JCI (Joint Commission International) ในป 2017 ประเทศไทยมีสถานพยาบาลท้ังโรงพยาบาลและคลินิกท่ีผานการรับรองท้ังหมด 61 แหง โดยแบงเปนโรงพยาบาลจํานวน 48 แหง และคลินิกจํานวน 13 แหง นอกจากมาตรฐาน JCI แลว ยังมีมาตรฐาน DNV GL ท่ีเปนท่ียอมรับกันในระดับสากล เปนองคกรผูนําดานการใหบริการดานดูแลสุขภาพพัฒนาสูความเปนเลิศ โดยทํางานรวมกับองคกรอนามัยสากลเพ่ือกําหนดแนวทางของความเปนผูนํา ในการประเมินความเสี่ยงเชิงรุกทางดานคุณภาพและความปลอดภัย ดานการบริหารจัดการความเสี่ยงเพ่ือพัฒนาระบบดูแลสุขภาพ ท้ังนี้ DNV GL จึงมีกรอบการจัดการความเสถียรเชิงรุก โดยการนําศาสตรของการจัดการความปลอดภัย และการใชมาตรฐาน เพ่ือปรับปรุงความปลอดภัยและคุณภาพการใหบริการผูปวย ปจจุบัน มีโรงพยาบาลในประเทศไทยท่ีผานการรับรองจาก DNV GL เปนแหงแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต และภูมิภาคแปซิฟก คือ โรงพยาบาลเวิลดเมดิคอล (World Medical Hospital) และมีศูนยเวชศาสตรชะลอวัย (Vitallife) ของโรงพยาบาลบํารุงราษฎรผานการรับรอง DNV GL เปนแหงท่ี 2

รายงานดานสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ (สปา) Website ของ dailymail สํานักขาวของประเทศอังกฤษไดเผยถึงผลรางวัล Conde Nast Traveller Spa Awards 2017 ซ่ึง อมันปุรี (Amanpuri) ไดรางวัล Best bespoke retreats และ โรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล กรุงเทพ (Mandarin Oriental) ไดรางวัล Most outstanding city spa

จากรายงาน Global Wellness Tourism Economy ในเดือนพฤศจิกายน 2561 พบวา ตลาดอุตสาหกรรม/ ธุรกิจสงเสริมการทองเท่ียวเชิงสุขภาพของโลก (Wellness Tourism) ในป 2560 มีการเติบโตอยางรวดเร็วกวาธุรกิจอ่ืน มีมูลคาสูงถึง 639 พันลานดอลลาร ซ่ึงมูลคาการใชจายท่ีเกิดข้ึน ในทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรป เอเชีย ละตินอเมริกา และแอฟริกา ตามลําดับ

ยุทธศาสตร Medical Hub กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดรับมอบหมายใหเปนหนวยงานหลักในการบริหารขับเคลื่อนนโยบาย Medical Hub ของประเทศ มาตั้งแตป พ.ศ. 2547 จนถึงปจจุบัน โดยจัดทําแผนยุทธศาสตร Medical Hub รวม 3 ฉบับ ไดแก ฉบับท่ี 1 ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพของเอเชีย (Center of Excellent Health Care of Asia) (พ.ศ.๒๕๔๗ - ๒๕๕๑) โดยมีบริการหลัก ๓ ดาน คือ

ข. ภารกิจของกระทรวงสาธารณสุข

หนา 11

Page 16: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

1. ธุรกิจบริการรักษาพยาบาล 2. ธุรกิจบริการสงเสริมสุขภาพ 3. ธุรกิจผลิตภัณฑสุขภาพและสมุนไพรไทย

ฉบับท่ี 2 ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (Thailand as World Class Health Care Provider) รองรับยุทธศาสตรประเทศ (Country Strategy) โดยมุงหวัง ใหประเทศไทยเปนผูนําในระดับโลกดานการจัดบริการสุขภาพ ภายใน ๕ ปขางหนา (พ.ศ. ๒๕๕7 - ๒๕61) โดยมีบริการหลัก 4 ดาน 1. ศูนยกลางบริการเพ่ือสงเสริมสุขภาพ (Wellness Hub)

2. ศูนยกลางบริการสุขภาพ (Medical Service Hub) 3. ศูนยกลางบริการวิชาการและงานวิจัย (Academic Hub)

4. ศูนยกลางยาและผลิตภัณฑสุขภาพ (Product Hub) ฉบับท่ี 3 ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ระยะ 10 ป (พ.ศ. 2560 - 2569) ท่ีไดรับความเห็นชอบในหลักการจากคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 13 กันยายน พ.ศ. 2559 ซ่ึงมุงพัฒนาประเทศไทยใหกาวเขาสูการเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ โดยใหความสําคัญ ในการพัฒนาและบูรณาการทํางานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นําศักยภาพ ขีดความสามารถ ทรัพยากรสุขภาพและทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอมท่ีมีอยูอยางจํากัด ภูมิปญญาไทย วิถีชุมชน มาสรางบริการและผลิตภัณฑสุขภาพท่ีมีเอกลักษณ อัตลักษณ เพ่ือใหประเทศไทยเปนศูนยกลางบริการสุขภาพ ของโลก (Thailand Hub of Wellness and Medical services) ภายใน 10 ปขางหนา และสามารถเพ่ิมสัดสวนรายได พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศเกิดความม่ันคง และม่ังค่ังทางเศรษฐกิจอยางยั่งยืน โดยมีองคประกอบในการขับเคลื่อน 4 ดาน ไดแก 1. ศูนยกลางบริการเพ่ือสงเสริมสุขภาพ (Wellness Hub) 2. ศูนยกลางบริการสุขภาพ (Medical Service Hub) 3. ศูนยกลางบริการวิชาการและงานวิจัย (Academic Hub) และ 4. ศูนยกลางยาและผลิตภัณฑสุขภาพ (Product Hub) ซ่ึงกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จะไดดําเนินการ บูรณาการทํางานรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของและภาคีเครือขายดานสุขภาพท้ังภาครัฐและภาคเอกชน ตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ท่ีระบุไวในแผนยุทธศาสตรฯ รวมท้ังมีการติดตามผลการดําเนินงานทุกรอบ 3 เดือน/ 6 เดือน/ 9 เดือน และ 12 เดือน รวมท้ังรายงานผลการดําเนินงานดังกลาวใหคณะรัฐมนตรีทราบทุกป

ความพรอมของสถานบริการสุขภาพ

ปจจุบันมีโรงพยาบาลเอกชน จํานวนท้ังสิ้น 363 แหง (ขอมูล ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2561) โดยไดรับการรับรองมาตรฐานนานาชาติแบบ JCI จํานวน 63 แหง ซ่ึงเปนมาตรฐานท่ีไดรับการยอมรับ ในระดับนานาชาติจากสหรัฐอเมริกา ประเทศไทยไดเริ่มมีการรับรองมาตรฐานนี้มาตั้งแต พ.ศ. 2545 โดยโรงพยาบาลบํารุงราษฎรเปนแหงแรกท่ีไดรับการรับรองประเภท Hospital care/International Clinic เกาะชาง จังหวัดตราด เปนแหงแรกท่ีไดรับการรับรองประเภท Ambulatory care โรงพยาบาลกลวยน้ําไท 2 เปนแหงแรกท่ีไดรับการรับรองประเภท Long term care และ Home care โรงพยาบาลศิริราชปยมหาราชการุณย ซ่ึงเปนโรงพยาบาลภาครัฐแหงแรกท่ีไดรับการรับรองประเภท Hospital Care รวมท้ังโรงพยาบาลชลบุรี เปนโรงพยาบาลภาครัฐแหงแรกท่ีไดรับการรับรองประเภท Academic Medical Center Hospital Program ดังแสดงตามตารางท่ี 1 – 2

หนา 12

Page 17: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ตารางท่ี 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต พ.ศ. ๒๕55 - ๒๕61

พ.ศ.

จํานวนโรงพยาบาลเอกชน

กรุงเทพมหานคร ภูมิภาค รวมท้ังหมด

แหง เตียง แหง เตียง แหง เตียง

2555 100 13,824 227 19,771 327 33,595

2556 100 13,732 226 19,839 326 33,571

2557 101 13,933 228 19,913 328 33,846

2558 104 13,935 240 20,789 340 34,724

2559 104 13,891 242 20,961 346 34,852

2560 106 13,881 245 21,269 351 35,150

2561 112 14,016 251 21,586 363 35,602

ท่ีมา สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศลิปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ณ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕61

ตารางที่ 2 จํานวนโรงพยาบาล/คลินิกที่ผานการรับรองมาตรฐาน JCI

ประเภท กรุงเทพมหานคร (แหง) ตางจังหวัด (แหง) Hospital Care 23 22 Ambulatory Care 12 4 Long Term Care 1 - Home Care 1 - Academic Medical Center Hospital Program

- 1

.

ท่ีมา www.jointcommission.org, 2018 ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2561

ค. ผลสําเร็จของนโยบาย Medical Hub (ภารกิจภายในประเทศ) 1.การขับเคล่ือนดําเนินงานในรูปของคณะกรรมการระดับชาติ และคณะทํางาน เพ่ือขับเคล่ือนยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ ตามนโยบาย Medical Hub 1.1 คณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) หลักการและเหตุผล ตามท่ี คณะรัฐมนตรีมีมติ เม่ือวันท่ี 20 มิ.ย. 2560 อนุมัติใหแตงต้ังคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทย ใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) โดยมี รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุข เปนประธานกรรมการ รัฐมนตรีรัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬาของไทย เปนประธานรวมอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพเปนเลาขานุการฯ และอธิบดีกรมการทองเท่ียว

หนา 13

Page 18: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

เปนประธานกรรมการ มีอํานาจหนาท่ีในการกําหนดนโยบายและยุทศาสตรการพัฒนาประเทศไทย ให เปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ และเสริมสรางให เ กิดความรวมมือระหวางภาครัฐ รัฐวิสากิจ และเอกอัครราชทูต รวมท้ังติดตามควบคุมกํากับการดําเนินงานตามยุทศาสตรของคณะอนุกรรมการฯ ผลการดําเนินงาน

ในปงบประมาณ 2561 มีการประชุมคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทย ใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) จํานวน 1 ครั้ง เม่ือวันท่ี 6 มิถุนายน 2561 โดยมี รัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา (นายวีระศักดิ์ โควสุรัตน) และผูชวยรัฐมนตรีประจํากระทรวงสาธารณสุข (นพ.ธวัช สุนทราจารย) เปนประธาน ซ่ึงไดหารือและพิจารณาในประเด็นท่ีเ ก่ียวกับ 4 ผลผลิตหลัก ดังนี้

1. ความกาวหนาการอํานวยความสะดวกดานการตรวจลงตราใหแกชาวตางชาติ ท่ีเดินทางเขาสูประเทศไทยเพ่ือการรักษาพยาบาลและพํานักระยะยาว ในกลุมประเทศเปาหมายเพ่ิมเติม และการปรับปรุง work flow ในการดําเนินงานฯ 2. ความกาวหนาการจัดทําแพคเกจพิเศษรองรับบริการชาวไทยและชาวตางชาติเพ่ือสนับสนุน ปทองเท่ียววิถีไทยเกไกอยางยั่งยืน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 3. ความกาวหนาการพัฒนาศูนยขอมูลสารสนเทศรองรับนโยบาย Medical Hub และการพัฒนารหัส ISIC 4. ความกาวหนาการจัดตั้งพ้ืนท่ีเพ่ือพัฒนาบริการทางการแพทยระดับสูงในเขตเศรษฐกิจพิเศษ

ภาคตะวันออก (EECh)

5. การพัฒนาระบบประกันอุบัติ เหตุสําหรับชาวตางชาติท่ีเดินทางเขาสูประเทศไทย

(Personal Accidental Fee)

6. ความกาวหนาการพัฒนา Business Model นํารองการเปนศูนยกลางบริการเพ่ือสงเสริมสุขภาพ

และผลิตภัณฑสุขภาพ ไดแก การพัฒนา Wellness City แบบครบวงจรนํารอง จ. ปราจีนบุรี และการพัฒนา

แหลงน้ําพุรอนมุงสูเมืองสปาและเสนทางทองเท่ียวเชิงสุขภาพนํารองจังหวัดกระบี ่

7. ความกาวหนาการพัฒนาศักยภาพของบริการนวดไทยสูสากล ไดแก การยกระดับบริการ

นวดไทยใหผานการรับรองจาก UNESCO และการประกาศใหอาชีพนวดไทยเปนอาชีพสงวนสําหรับคนไทย

8. ความกาวหนาการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรสุขภาพระดับนานาชาติ/ การพัฒนาระบบ

การศึกษาตอแพทยเฉพาะทางโดยใหภาคเอกชนรวมเปนตนสังกัด (Affiliated Private Training) / การพัฒนา

หลักเกณฑการออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพชั่วคราว (Temporary license)/ การพัฒนาระบบการใหทุน

การศึกษาแพทยกลุมประเทศ CLMV/ การเปนศูนยกลางการจัดประชุมวิชาการทางการแพทยระดับนานาชาติ

(Medical MICE)

9. แนวทางการพัฒนา Research Center ในประเทศไทยแบบครบวงจร

10. การเพ่ิมมูลคาผลิตภัณฑสุขภาพเพ่ือวางจําหนายในประเทศและตางประเทศ (Product Outlet)

หนา 14

Page 19: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

รวมท้ังมีการพิจารณาประเด็นใหมเพ่ิมเติม ดังนี้

1. การปรับปรุงหลักเกณฑการขอรับการตรวจลงตราประเภทอยูชั่วคราวสําหรับกรณีใชชีวิต

บั้นปลาย 1 ป (Non-immigrant Visa O-A)

2. การพัฒนาศักยภาพของศูนยประสานงานนํารองในการเก็บคารักษาพยาบาลจากชาวตางชาติ

ของสถานพยาบาลภาครัฐในจังหวัดทองเท่ียว (Claim Center)

3. การพัฒนา Healthy Home Stay นํารองเพ่ือสงเสริมการพํานักระยะยาวเพ่ือสุขภาพ

4. การปรับปรุงกลไกการดําเนินงาน และองคประกอบของคณะกรรมการอํานวยการ

และคณะอนุกรรมการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย medical Hub)

1.2 คณะอนุกรรมการเพ่ือการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ

(นโยบาย Medical Hub) จํานวน 4 คณะ

หลักการและเหตุผล

ตามท่ีคณะรัฐมนตรี อนุมัติใหแตงตั้ง คณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปน

ศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย medical Hub) เม่ือวันท่ี 20 มิถุนายน 2560 ซ่ึงไดมอบหมาย

ใหกระทรวงสาธารณสุขดําเนินการตามอํานาจหนาท่ีของคณะกรรมการอํานวยการฯ เพ่ือพัฒนาประเทศไทย

ใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) จํานวน 4 คณะ ประกอบไปดวย

(1) คณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางบริการเพ่ือสงเสริมสุขภาพ (Wellness Hub)

(2) คณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางบริการรักษาพยาบาล (Medical

Service Hub)

(3) คณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางบริการวิชาการ (Academic Hub)

(4) คณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางยาและผลิตภัณฑสุขภาพ (Product Hub)

เม่ือวันท่ี 29 กันยายน 2561

ผลการดําเนินงาน

ในปงบประมาณ 2561 ไดมีการประชุมคณะอนุกรรมการอํานวยการ ซ่ึงสรุปผลไดดังนี้

1. สรุปผลการประชุมคณะอนกุรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางบริการวิชาการ

(Academic Hub)

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดจัดประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางบริการวิชาการ (Academic Hub) ในปงบประมาณ พ.ศ. 2561 รวม 2 ครั้ง ไดแก ครั้งท่ี 1/2560 เม่ือวันท่ี 23 พฤศจิกายน 2560 และครั้งท่ี 1/2561 เม่ือวันท่ี 22 มีนาคม 2561ซ่ึงมติท่ีประชุมเห็นชอบในหลักการเก่ียวกับ (1) การพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรสุขภาพนานาชาติระดับหลังปริญญา (Post Graduate) ในประเทศไทยสําหรับมหาวิทยาลัยท่ีมีความพรอม (2) พิจารณาการใหทุนการศึกษาและหลักเกณฑการเขารับการศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตรสุขภาพสําหรับกลุมประเทศ CLMV (3) พิจารณาความเห็นตอ (ราง) พระราชบัญญัติการวิจัยในคน พ.ศ. …. (โดยสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ) (4) งานวิจัยและพัฒนา (5) การเพ่ิมขีดความสามารถในการเปนเจาภาพการจัดประชุมวิชาการนานาชาติทางการแพทยและการจัดนิทรรศการ โดยมอบหมายใหกรมฯ รวบรวมขอมูลเพ่ิมเติมในประเด็นดังกลาวใหครบถวนสมบูรณ

หนา 15

Page 20: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

(2) คณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางบริการรักษาพยาบาล (Medical

Service Hub)

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดจดัประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลาง

บริการรักษาพยาบาล (Medical Hub) ในปงบประมาณ พ.ศ. 2561 รวม 2 ครั้ง ไดแก ครั้งท่ี 1/2560

เม่ือวันท่ี 21 ธันวาคม 2560 และครั้งท่ี 1/2561 เม่ือวันท่ี 5 เมษายน 2561 ซ่ึงไดมีมติเก่ียวกับเรื่องตางๆ

ดังนี้ (1) การพัฒนาระบบประกันอุบัติเหตุสําหรับชาวตางชาติ (Personal Accidental Fee) (2) การขยาย

ระยะเวลาพํานักในราชอาณาจักรไทยสําหรับกลุมพํานักระยะยาว (Long stay visa) (3) การยกเวนการตรวจ

ลงตรา 90 วัน เพ่ือการรักษาพยาบาล ในกลุมประเทศเปาหมายเพ่ิมเติม (4) การพัฒนาศูนยขอมูลสารสนเทศ

รองรับนโยบาย Medical Hub (5) การจัดตั้งพ้ืนท่ีเพ่ือพัฒนาบริการทางการแพทยระดับสูงในเขตเศรษฐกิจ

พิเศษภาคตะวันออก (EECh) (6) การพัฒนาระบบเบิกจายคารักษาพยาบาลตรง (Reimbursement)

จากรัฐบาลในตางประเทศ รวมท้ังการเบิกจายจากหลักประกันสุขภาพภาคเอกชน (7) การจัดทําแพคเกจ

พิเศษรองรับบริการชาวไทยและชาวตางชาติ เ พ่ือสนับสนุนปทองเ ท่ียววิ ถี ไทย เก ไกอย างยั่ งยืน

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561

(3) สรุปผลการประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางบริการเพ่ือสุขภาพ (Wellness Hub) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดจัดประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลาง

บริการเพ่ือสุขภาพ (Wellness Hub) ในปงบประมาณ พ.ศ. 2561 รวม 2 ครั้ง ไดแก ครั้งท่ี 1/2560

เม่ือวันท่ี 27 ธันวาคม 2560 และ ครั้งท่ี 1/2561 เม่ือวันท่ี 25 พฤษภาคม 2561 ซ่ึงมติท่ีประชุม

รับทราบผลการดําเนินงานดังนี้ (1) ความกาวหนาการยกระดับบริการนวดไทยใหผานการรับรองจาก UNESCO

(2) ความกาวหนาการประกาศใหอาชีพนวดไทยเปนอาชีพสงวนสําหรับคนไทย (3) ความกาวหนาการพัฒนา

Wellness City แบบครบวงจร นํารองจังหวัดปราจีนบุรี (4) การพัฒนาแหลงน้ําพุรอนมุงสูเมืองสปา

และเสนทางทองเท่ียวเชิงสุขภาพ นํารองจังหวัดกระบี่ (5) การพัฒนา (ราง) หลักสูตร/เกณฑมาตรฐาน/ โลโก

Healthy Home Stay รองรับการเปนศูนยกลางบริการเพ่ือสงเสริมสุขภาพ

(4) สรุปผลการประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางยาและผลิตภัณฑ

สุขภาพ (Product Hub)

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดจัดประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางยาและผลิตภัณฑสุขภาพ (Product Hub) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 รวม 2 ครั้ง ไดแก ครั้งท่ี 1/2560 เม่ือวันท่ี 25 ธันวาคม 2560 และครั้งท่ี 1/2561 เม่ือวันท่ี 1 มิถุนายน 2561 สรุปประเด็นดังนี้ (1) การจัดตั้ง Outlet จําหนายผลิตภัณฑสุขภาพในประเทศไทยและตางประเทศ (2) การสงเสริมพัฒนาใหมีการผลิตเครื่องมือแพทยในลักษณะนวัตกรรมในประเทศเพ่ิมมากข้ึนตามมาตรการสงเสริมการลงทุนจาก BOI และนโยบายอุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร (New S-Curve) (3) การกระตุน Demand ภายในประเทศรองรับการใชสมุนไพรไทย (4) การพิจารณากฎหมาย/กฎ/ระเบียบการจําหนายผลิตภัณฑสุขภาพภายในประเทศ และ (5) การจัดทําฐานขอมูลดานผลิตภัณฑสุขภาพ เห็นชอบในหลักการใหมีการจัดทําฐานขอมูลดานผลิตภัณฑสุขภาพ

หนา 16

Page 21: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

2. การบูรณาการทํางานรวมกับหนวยงานอ่ืน 2.1 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือ Retreat ยุทธศาสตรดานการเปนศูนยกลางบริการเพ่ือสงเสริมสุขภาพ (Wellness Hub) และถอดบทเรียนความสําเร็จของการบูรณาการยุทธศาสตรจังหวัดเชียงใหม ความเปนมา

1. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองสุขภาพระหวางประเทศไดรับมอบหมายใหเปนหนวยงานหลักในการบริหารขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ใน 4 ผลผลิตหลัก คือ (1) ศูนยกลางบริการเพ่ือสงเสริมสุขภาพ (Wellness Hub) (2) ศูนยกลางบริการสุขภาพ (Medical Service Hub) (3) ศูนยกลางบริการวิชาการ (Academic Hub) และ(4) ศูนยกลางยาและผลิตภัณฑสุขภาพ (Product Hub) โดยจัดทําเปนแผนยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) (พ.ศ. 2560-2569) ซ่ึงคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการเม่ือวันท่ี 13 กันยายน 2559 ประกอบไปดวย 7 ยุทธศาสตร 18 กลยุทธ มีกรอบรวมงบประมาณรวม 60,000 ลานบาท แบงเปน 1) งบประมาณแผนดิน รอยละ 40 2) PPP รอยละ 30 และ 3) องคกรปกครองสวนทองถ่ิน รอยละ 30 และมีตัวชี้วัดตามยุทธศาสตรไดแก (1) รอยละของรายไดจากการใหบริการสุขภาพและผลิตภัณฑเพ่ิมข้ึนจากฐานเดิม รอยละ 10-15 ป (คิดเปนสัดสวนรอยละ 7-10 ของ GDP) (2) อันดับของขีดความสามารถของประเทศไทยในการแขงขันดานการจัดบริการสุขภาพ จัดโดย World Economic Forum อยูในอันดับ 1 ใน 10 และ (3) ประเทศไทยไดรับการจัดอันดับเปนท่ี 1 ในการทองเท่ียวเชิงสุขภาพของโลกจากนิตยสาร/องคกรชั้นนําระดับโลก

2. คณะรัฐมนตรีไดมีมติเม่ือวันท่ี 20 มิถุนายน 2560 แตงต้ังคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) โดยมีรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข เปนประธาน และรัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา เปนประธานรวม และองคประกอบคณะกรรมการฯ เปนผูแทนจากหนวยงานภาครัฐ และภาคเอกชนท่ีเก่ียวของ เพ่ือขับเคลื่อนการดําเนินงานตามนโยบายรัฐบาล และยุทธศาสตรฯ แทนคณะกรรมการอํานวยการและคณะอนุกรรมการฯ ชุดเดิม ซ่ึงภายใตคณะกรรมการใหญ ไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการยอยอีก จํานวน 4 คณะ ตาม 4 ผลผลิตหลักของแผนยุทธศาสตร Medical Hub ไดแก คณะอนุกรรมการ Wellness Hub/ คณะอนุกรรมการ Medical

หนา 17

Page 22: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

Service Hub/ คณะอนุกรรมการ Academic Hub และ คณะอนุกรรมการ Product Hub เพ่ือทําหนาท่ีเปนผูขับเคลื่อนการดําเนินกิจกรรม/โครงการสําคัญเรงดวน (Quick Win) ตามแผนยุทธศาสตรฯเพ่ือสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลในการสรางรายไดใหกับประเทศ ยกระดับมาตรฐานบริการทางการแพทยสูสากลและอํานวยความสะดวกใหกับชาวตางชาติ

3. และเพ่ือเปนการทบทวนและวิเคราะหการดําเนินงานตามนโยบายรัฐบาลดานการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ และโครงการ/กิจกรรมสําคัญภายใตแผนยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) (พ.ศ. 2560-2569) ใหบรรลุผลสําเร็จตามท่ีกําหนดไวอยางเปนรูปธรรม กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองสุขภาพระหวางประเทศ จึงไดมีการประชุมเพ่ือถอดบทเรียนความสําเร็จของการบูรณาการยุทธศาสตร ซ่ึงคัดเลือกพ้ืนท่ีจังหวัดเชียงใหมเปนตนแบบในการจัดทําแผนบูรณาการยุทธศาสตรจังหวัดท่ีเปนรูปธรรมและมีความสอดคลองกับนโยบายการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ ผลการดําเนินงาน

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองสุขภาพระหวางประเทศ ไดจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือ Retreat ยุทธศาสตรดานการเปนศูนยกลางบริการเพ่ือสงเสริมสุขภาพ (Wellness Hub) และถอดบทเรียนความสําเร็จของการบูรณาการยุทธศาสตรจังหวัดเชียงใหม เม่ือวันท่ี 24 - 26 มกราคม 2561 ณ ฮอไรซ่ันวิลเลจแอนดรีสอรท (Horizon Village & Resort) อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม เชียงใหม โดยมีวัตถุประสงค (1) เพ่ือเปนการทบทวนและวิเคราะหการดําเนินงานตามนโยบายรัฐบาลดานการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงสุขภาพใหบรรลุผลสําเร็จตามยุทธศาสตรท่ีกําหนดไวอยางเปนรูปธรรม และ (2) ใหความรูในการจัดทําแผนยุทธศาสตรจังหวัดดานการทองเท่ียวเชิงสุขภาพมีความสอดคลองกับยุทธศาสตร/นโยบาย และแผนงานในระดับชาติท่ีเก่ียวของ เชื่อมโยงไปสูการพัฒนาและสงเสริมการทองเท่ียวเชิงสุขภาพในพ้ืนท่ี โดยมีผูชวยอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (นายแพทยภัทรพล จึงสมเจตไพศาล) เปนประธานในพิธ ีผูอํานวยการกองพัฒนาบริการทองเท่ียว (นางวันทนา แจงประจักษ) กรมการทองเท่ียว เปนวิทยากรบรรยายแนวทางการพิจารณางบประมาณดานการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ ผูแทนจากสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม และ ผูแทนจากสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม (เภสัชกรพลแกว วัชระชัยสุรพล) บรรยายการถอดบทเรียนความสําเร็จของการบูรณาการยุทธศาสตรจังหวัด/กลุมจังหวัดเชียงใหม ในการประชุมฯ ผูบริหารกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ และคณะเจาหนาท่ีไดเขาเยี่ยมคารวะผูวาราชการจังหวัดเชียงใหม หลังจากนั้นไดมีการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ซ่ึงมีหนวยงานท่ีเขารวมในการ Workshop แผนยุทธศาสตรดาน Medical and Wellness ประกอบดวย (1) สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต (2) สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุร ี (3) สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดกระบี่ (4) สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด สุราษฎรธานี (5) สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแกน (6) สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม (7) สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ ดอยสะเก็ด (8) พาณิชยจังหวัดเชียงใหม (9) เทศบาลนครเชียงใหม (10) องคการบริหารสวนตําบลบานสหกรณ (11) สํานักงานสนับสนุนบริการสุขภาพ เขต 1 จังหวัดเชียงใหม (12) สํานักงานสนับสนุนบริการสุขภาพ เขต 6 จังหวัดชลบุรี (13) สถาบันพัฒนานวัตกรรมดานระบบบริการสุขภาพ จังหวัดชลบุรี (14) สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ (15) กองสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ และหนวยงานอ่ืนๆท่ีเก่ียวของ จํานวนรวม 50 ราย โดยในท่ีประชุมไดมอบหมายใหผูแทนแตละจังหวัดมีการนําเสนอแผนยุทธศาสตร การบูรณาการกิจกรรม/โครงการท่ีสําคัญใหกับผูทรงคุณวุฒิเปนผูวิพากษและใหความคิดเห็น

หนา 18

Page 23: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ในแผนการ Retreat ยุทธศาสตรดานการเปนศูนยกลางบริการเพ่ือสงเสริมสุขภาพ (Wellness Hub) รองรับการเปนศูนยกลางอุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร ซ่ึงผูวิพากษ ประกอบดวย (1) ท่ีปรึกษากรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (นายแพทยวิศิษฐ ตั้งนภากร) (2) นายแพทยจิโรจ สินธวานนท นายแพทยทรงคุณวุฒิ (ดานเวชกรรม) และ (3) ท่ีปรึกษาคณะอนุกรรมการสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ (พลตํารวจโททวีศักดิ์ ตูจินดา) ในการประชุมครั้งนี้ไดสรุปเปนขอเสนอแนะในการดําเนินงาน ดังนี้

� ระดับกระทรวง : (1) ควรมีผูรับผิดชอบหลัก ประสานงานและดูแลงบพัฒนาภาค จาก กรมสนับสนุนบริการ

สุขภาพ กรมการแพทยแผนไทยฯ กรมวิทยาศาสตรการแพทย ฯลฯ (2) ควรจัดทําภาพรวมการพัฒนาธุรกิจสุขภาพ (Blueprint for Change) แบบมีสวนรวม

(3) ควรมีการจัดทําแผนภาคและทบทวนรวมกับกระทรวงมหาดไทยทุกป และเผยแพรขอมูลให สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดรับทราบอยางทันทวงที

ระดับกลุมจังหวัด : (1) ควรมีคณะกรรมการสงเสริมและพัฒนาธุรกิจสุขภาพระดับกลุมจังหวัดและภาคเพ่ือจัดทํา

แผนยุทธศาสตรท่ีสอดคลองกับกระทรวงมหาดไทยและกระทรวงสาธารณสุข ระดับจังหวัด : (1) ควรมีคณะกรรมการสงเสริมและพัฒนาธุรกิจสุขภาพระดับจังหวัดแบบประชารัฐ

(2) ควรมีการจัดทําแผนยุทธศาสตรระยะยาว (3) ควรมีแผนแมบทการพัฒนา โรงพยาบาล บําราศนราดูร (รพศ.)/ โรงพยาบาลท่ัวไป (รพท.)/

โรงพยาบาลชุมชน (รพช.)/ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล (รพสต.) เพ่ือรองรับงบลงทุนท่ีจะมาจากงบพัฒนาภาคซ่ึงเนนทางดานเศรษฐกิจ

(4) ควรเตรียม แบบ ปร 4 ปร 5 และ BOQ ไวใหพรอมเสมอ นอกจากนี้ ยังไดมีการศึกษาดูงานพ้ืนท่ีตนแบบรองรับการทองเท่ียวเชิงสุขภาพในจังหวัด

เชียงใหม ซ่ึงเปนพ้ืนท่ีตนแบบท่ีประสบความสําเร็จจากการดําเนินงานดาน Wellness Hub และการบูรณาการ ทํา งาน ในระดับจั งหวัด จํ านวน 3 แห ง ได แก (1 ) อุทยานวิทยาศาสตร และ เทคโน โลยี มหาวิทยาลั ย เชี ย ง ใหม ( STEP) (2 ) โ รง เรี ยน ไทยโอ เอ ซิสสปา อํา เภอเ มือง จั งหวัด เชี ยง ใหม และ (3) สถานประกอบการพํานักระยะยาวและทองเท่ียวเพ่ือสุขภาพ วีโว เบเน วิลเลจ อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม

หนา 19

Page 24: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

2.2 การพัฒนาศูนยประสานงานกลาง (Claim Center) ในการจัดเก็บคารักษาพยาบาลชาวตางชาติ สําหรับสถานพยาบาลภาครัฐ ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ความเปนมา ตามท่ีรัฐบาลไดประกาศใหมีนโยบายพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ โดยบูรณาการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงสุขภาพรวมกับหนวยงานตางๆ สงผลใหนักทองเท่ียวชาวตางชาตินิยมเดินทางเขาสูประเทศไทยมีแนวโนมเพ่ิมข้ึนทุกป โดยเฉพาะอยางยิ่งในจังหวัดทองเท่ียวชั้นนําซ่ึงอาจแบงประเภทการเดินทางของชาวตางชาติออกเปน 2 กลุมหลัก กลาวคือ ชาวตางชาติท่ีมีการทําประกันสุขภาพ และไมมีการทําประกันสุขภาพกอนเดินทางเขาสูประเทศ ท้ังนี้ พบวามีชาวตางชาติประสบอุบัติเหตุหรือประสบปญหาดานสุขภาพเขารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลท้ังภาครัฐและเอกชน บางรายไมสามารถชําระคารักษาพยาบาลไดเต็มจํานวนตามท่ีสถานพยาบาลเรียกเก็บ จึงสงผลกระทบตอการจัดบริการของสถานพยาบาลเปนอยางมาก สาเหตุหลักคือไมมีทุนทรัพยเพียงพอและไมมีการทําประกันสุขภาพกอนเดินทางเขาสูประเทศ โดยท่ีสถานพยาบาลจะตองรับภาระคาใชจายในสวนนี้ซ่ึงมีแนวโนมท่ีเพ่ิมสูงข้ึนกอใหเกิดเปนหนี้สูญของสถานพยาบาล ประมาณปละสองรอยลานบาท แมวาสถานพยาบาลจะมีการติดตามหรือประสานไปยังสถานเอกอัครราชทูตหรือสถานกงสุลตางประเทศประจําประเทศไทยท่ีผูปวยมีสัญชาติ เพ่ือขอใหประสานไปยังญาติของผูปวยเพ่ือดําเนินการในสวนของคารักษาพยาบาลท่ีคางชําระ แตพบวาสวนใหญไมมีผูใดมารับผิดชอบคาใชจายดังกลาว ประกอบกับบางรายสถานพยาบาลไดมีการทําสัญญาคางชําระไวเพ่ือเปนหลักฐานทางกฎหมายแตไมมีหนวยงานกลางท่ีเก่ียวของท่ีทําหนาท่ีประสานงานใหผูปวยมาชําระคารักษาพยาบาลท่ีคางชําระไวได ผลการดําเนินงาน

1. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองสุขภาพระหวางประเทศ ไดจัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพของศูนยประสานงานนํารองในการจัดเก็บคารักษาพยาบาลจากชาวตางชาติ กรณีศึกษาโรงพยาบาลพังงา (Claim Center) เม่ือวันท่ี 23 เมษายน 2561 ณ โรงพยาบาลพังงา จังหวัดพังงา ซ่ึงตั้งอยูในจังหวัดทองเท่ียวชั้นนําและนําขอเสนอเชิงนโยบายจากการประชุมดังกลาว นําเรียนเลขานุการรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข (แพทยหญิงมยุรา กุสุมภ) เม่ือวันท่ี 24 เมษายน 2561 ณ โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต รวมกับสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลภาครัฐของเขตบริการสุขภาพท่ี 11 ซ่ึงไดขอเสนอเชิงนโยบายท่ีมีชื่อวา “ปฏิญญาภูเก็ต” โดยมีแผนการดําเนินงานแบงเปน 2 ระยะ ดังนี้ 1.1 ระยะสั้น 1.1.1 ปรับปรุงอัตราคาบริการ (Service Charge) สําหรับชาวตางชาติ ตามบริบท ของพ้ืนท่ี พรอมท้ังเพ่ิมเติมอัตราคาบริการทางการแพทยและอัตราคาบริการโรงพยาบาล

1.1.2 จัดตั้งศูนยประสานงานกลางในการจัดเก็บคารักษาพยาบาลชาวตางชาติ (Claim Center) แบบครบวงจร โดยจัดใหมีผูเชี่ยวชาญดานการประสานงานตางประเทศหรือลาม เพ่ือประสานการทํางานรวมกับบริษัทประกันภาคเอกชนของตางประเทศ

หนา 20

Page 25: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

1.1.3 พัฒนาบริการรักษาพยาบาลท่ีมีศักยภาพในเปน Andaman Health Hub เพ่ือรองรับชาวตางชาติ 1.2 ระยะยาว 1.2.1 พิจารณาแนวทางและกลไกของการเบิกจายเงินจากกองทุนท่ีมีอยูเดิม เชน กองทุนชวยเหลือเยียวยานักทองเท่ียวชาวตางชาติ กองทุนคุมครองธุรกิจนําเท่ียว และกองทุนทดแทนผูประสบภัยจากรถ เปนตน ใหสามารถเบิกจายคารักษาพยาบาลของชาวตางชาติไดอยางเต็มจํานวน หรือจัดตั้งกองทุนใหมเปนการเฉพาะ 1.2.2 พิจารณาผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาระบบประกันอุบัติเหตุสําหรับชาวตางชาติ (Personal Accidental Fee) ในลักษณะสภาพบังคับ (Compulsory) เพ่ือเปนกองทุนใหมรองรับการรักษาพยาบาลของชาวตางชาติ

2. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดจัดทําระบบ Claim Center สําหรับชาวตางชาติ ในสถานพยาบาลภาครัฐ นํารอง ณ จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา จังหวัดเชียงใหม และจังหวัดชลบุรี และมอบใหศูนยบริการขอมูลสุขภาพ (Counter Service) ของกองฯ ซ่ึงตั้งอยู ณ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ และทาอากาศยานดอนเมือง ซ่ึงมีเจาหนาท่ีปฏิบัติงานดานตางประเทศใหบริการขอมูลสุขภาพตลอด 24 ชั่วโมง ผ า น ห ม า ย เ ล ข โ ท ร ศั พ ท 0 2 -1 9 3 -7 9 9 9 เ ว็ บ ไ ซ ต www.thailandmedicalhub.net อีเมล [email protected] เปนศูนยใหคําปรึกษาในกระบวนการเบิกจายเงินคารักษาพยาบาลสําหรับชาวตางชาติ ประสานงานกับบริษัทประกันภาคเอกชนในตางประเทศ สํานักงานตรวจคนเขาเมือง และสถานเอกอัครราชทูตตางประเทศประจําประเทศไทย ในการใหความชวยเหลือกับชาวตางชาติท่ีเขารับการรักษาพยาบาลหรือเสียชีวิต โดยกําหนดเปนคูมือการดําเนินงาน/ แบบฟอรมกลาง/ กฎระเบียบท่ีเก่ียวของ เพ่ือเผยแพรไปยังหนวยงานตางๆท่ีเก่ียวของถือปฏิบัติรวมกันและเตรียมการระบบงานรองรับ พรอมท้ังนําเรียนความคืบหนาผลการดําเนินการจากมติการประชุมฯ ใหกับเลขานุการรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข (แพทยหญิงมยุรา กุสุมภ) รับทราบแลว เม่ือวันท่ี 9 กรกฎาคม 2561

3. กองบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ไดจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรดานบริการเคลมประกันและ International Claim ของหนวยบริการในสังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ระหวางวันท่ี 31 กรกฎาคม – 1 สิงหาคม 2561 ณ โรงแรมมารวย การเดน กรุงเทพมหานคร ซ่ึงกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดบูรณาการรวมกันในระดับนโยบาย ในการเพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดบริการชาวตางชาติ/ การเพ่ิมมูลคาการใหบริการ และ International Claim ของหนวยบริการภาครัฐ พรอมท้ังไดนําเสนอ (ราง) คูมือศูนยประสานงานกลาง (Claim Center) ใหกับโรงพยาบาลภาครัฐท่ีเขารวมการประชุมฯ พิจารณาใหความเห็นและประชาพิจารณจนไดเปน (ราง) คูมือฯ ฉบับสมบูรณ เตรียมพรอมเผยแพรในจังหวัดนํารองเรียบรอยแลว

หนา 21

Page 26: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

3.1 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดมอบหมายใหกองสุขภาพระหวางประเทศ ดําเนินการจัดตั้งศูนยประสานงานกลาง (Claim Center) ในการจัดเก็บคารักษาพยาบาลชาวตางชาติสําหรับสถานพยาบาลภาครัฐของกรมฯ โดยนํารองในสถานพยาบาลภาครัฐ 5 จังหวัด ไดแก เชียงใหม ชลบุรี ภูเก็ต พังงาและสุราษฎรธานี พรอมท้ังเตรียมจะขยายผลการดําเนินงานไปยังสถานพยาบาลภาครัฐอ่ืนๆ ท่ัวประเทศ โดยไดจัดทําเปนคูมือปฏิบัติงาน (Work Flow) ภายในศูนยประสานงานกลาง (Claim Center) ของกรมฯ และจัดการจัดอบรมเพ่ือพัฒนาศักยภาพเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานรองรับการเปนศูนยประสานงานกลาง (Claim Center) ประกอบด วย (1 ) เ จ าหน า ท่ี ผู ปฏิ บั ติ ง าน ในสํ านั ก ง าน ชั้ น 5 กรมสนับสนุนบริ การสุ ขภาพ และ (2) เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานประจําศูนยขอมูลสุขภาพ (Medical Hub Center) ณ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ และทาอากาศยานดอนเมือง จํานวนรวม 15 ราย เม่ือวันท่ี 29-30 สิงหาคม 2561 พรอมท้ังเขารับการอบรมจากผูเชี่ยวชาญของแผนกประกันตางประเทศ โรงพยาบาลกรุงเทพ เพ่ือเตรียมการรองรับการเปดระบบการใหบริการอยางเปนทางการภายในเดือนกันยายน 2561

4. กองสุขภาพระหวางประเทศ ไดจัดทําคูมือกระบวนการปฏิบัติงานภายในศูนยประสานงานกลาง (Claim Center) ในการจัดเก็บคารักษาพยาบาลชาวตางชาติสําหรับสถานพยาบาลภาครัฐ (Work Flow) และตารางการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีประจําศูนยฯ ดังนี้

4.1 ในวัน-เวลาราชการ ใหบริการตั้งแตเวลา 08.30-16.30 น. โทรศัพท 0 2193 7014 โทรสาร 0 2 149 5630

4.2 นอกเวลาราชการ * วันเสาร เวลา 09.00-17.00 น. Medical Hub Center ณ ทาอากาศยานดอนเมือง โทรศัพท 0 2194 1404 โทรสาร 0 2194 1404 * วันอาทิตย เวลา 09.00-17.00 น. Medical Hub Center ณ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ โทรศัพท 0 2134 0819 โทรสาร 0 2134 0819

สายดวน : 0 2193 7999 E-mail : [email protected] 5. เม่ือวันท่ี 11 กรกฎาคม 2561 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดรวมปรึกษาหารือกับผูแทน

จากสถานเอกอัครราชทูตอังกฤษประจําประเทศไทย และหนวยงานอ่ืนๆท่ีเก่ียวของทางดานประกันสุขภาพ เก่ียวกับแนวทางการเลือกซ้ือประกันสุขภาพของกลุมผูสูงอายุชาวอังกฤษท่ีพํานักอยูในประเทศไทย สาเหตุท่ีสงผลตอการตัดสินใจซ้ือประกันสุขภาพ ซ่ึงท่ีประชุมไดขอเสนอเก่ียวกับแนวทางการจัดทําประกันสุขภาพของกลุมผูสูงอายุชาวอังกฤษท่ีพํานักในประเทศไทย โดยใหสมาคมประกันวินาศภัยไทย และสมาคมประกันชีวิตไทย โดยอนุมัติของสํานักงาน คปภ. มีการจัดทําบัญชีรายชื่อของสถานพยาบาลภาครัฐท่ีสามารถรองรับการเบิกจายจากประกันสุขภาพ รวมท้ังใหพิจารณากรมธรรมสุขภาพท่ีราคาเหมาะสมสําหรับชาวตางชาติท่ีมีฐานะปานกลางสามารถซ้ือและใชในโรงพยาบาลท่ัวไปท่ีมีคารักษาราคาปานกลางจนถึงราคาสูงได รวมท้ังท่ีประชุมไดมีความเห็นวาชาวอังกฤษมีรัฐสวัสดิการ กลาวคือ รัฐบาลใหบริการดูแลดานสุขภาพ โดยพลเมืองไมตองจายคารักษาพยาบาล (โครงการ NHS) เชนเดียวกับนโยบายหลักประกันสุขภาพถวนหนาของไทย หากจะสามารถเจรจากับหนวยงานรัฐบาลท่ีเก่ียวของของประเทศอังกฤษ เพ่ือพิจารณาความเปนไปได ในการ Reimbursement ใหสามารถเบิกจายคารักษาพยาบาลของชาวอังกฤษจากกองทุน NHS ในประเทศไทยไดก็จะเปนการดี โดยสถานเอกอัครราชทูตฯ พรอมท่ีจะใหการสนับสนุนชวยประสานงานระหวางกระทรวงสาธารณสุขไทยกับกระทรวงสาธารณสุขอังกฤษ

หนา 22

Page 27: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

6. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองสุขภาพระหวางประเทศ พรอมดวยผูแทนจากสถานเอกอัครราชทูตอังกฤษประจําประเทศไทย สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ กองบริหารการสาธารณสุข สํานักงานเขตสุขภาพท่ี ๖ กระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา สํานักงานคณะกรรมการกํากับและสงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) สมาคมประกันวินาศภัยไทย และสมาคมประกันชีวิตไทย ไดลงพ้ืนท่ีเพ่ือประชุมหารือการพัฒนาระบบการเคลมประกันสุขภาพภาคเอกชน (Private Insurance) รองรับการเปนศูนยประสานงานกลาง (Claim Center) ในการจัดเก็บคารักษาพยาบาลชาวตางชาติสําหรับสถานพยาบาลภาครัฐ เม่ือวันท่ี 4 กันยายน 2561 ณ หองประชุมชั้น 6 อาคารอุบัติเหตุใหม โรงพยาบาลบางละมุง อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี โดยมีรองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (นายแพทยธงชัย กีรติหัตถยากร) เปนประธานในการประชุม มีหนวยงานในพ้ืนท่ีจังหวัดชลบุรี ประกอบดวย สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี โรงพยาบาลชลบุรี โรงพยาบาลบางละมุง รวมท้ังโรงพยาบาลรัฐและโรงพยาบาลเอกชนในพ้ืนท่ี จํานวน 60 คน เขารวมในการประชุมหารือแนวทางการดําเนินงานพรอมท้ังสรุปเปนแนวทางและขอเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนาระบบการเคลมประกันสุขภาพภาคเอกชน (Private Insurance) รองรับการเปนศูนยประสานงานกลาง (Claim Center) ในการจัดเก็บคารกัษาพยาบาลชาวตางชาติ สําหรับสถานพยาบาลภาครัฐ ไดดังนี้ (1) แผนการดําเนินงานในระยะเรงดวน (1.1) จัดทํารูปแบบกรมธรรมเฉพาะโรคและกําหนดอัตราเบี้ยประกันใหมีราคาถูกลงตามเง่ือนไข (1.2) ผลักดันใหชาวตางชาติจัดทําประกันกอนเดินทางเขาประเทศไทยในสภาพบังคับ (2) แผนการดําเนินงานในระยะกลาง (2.1) เพ่ิมศักยภาพของโรงพยาบาลรัฐใหสามารถใหบริการรองรับชาวตางชาติได โดยเฉพาะดานการสื่อสารภาษาตางประเทศ (3) แผนการดําเนินงานในระยะยาว (3.1) กําหนดเปนขอบังคับใหทุกบริษัทนําเท่ียวจัดทําประกันใหกับลูกทัวรชาวตางชาติ (3.2) ผลักดันใหกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา พิจารณาพระราชบัญญัติธุรกิจนําเท่ียวและมัคคุเทศก โดยเก็บคาธรรมเนียมบางสวนกับชาวตางชาติท่ีเดินทางเขาประเทศไทย เชน กลุมนักทองเท่ียวประเภท Adventure ท่ีมีความเสี่ยงสูง (3.3) จัดต้ังศูนย Claim center เพ่ือใหความชวยเหลือดานการประสานงานกับบริษัทประกันตางชาติ (3.4) วางแผนการดําเนินการเบิกคารักษาพยาบาลจากรัฐสวัสดิการใหกับกลุมชาวตางชาติ (Reimbursement)

หนา 23

Page 28: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

7. เลขานุการรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข (แพทยหญิงมยุรา กุสุมภ) และอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (แพทยหญิงประนอม คําเท่ียง) พรอมดวยคณะ ไดลงพ้ืนท่ีตรวจเยี่ยมการดําเนินงานดานสาธารณสุข ประเด็นระบบการใหบริการนักทองเท่ียวชาวตางชาติ และศึกษาแนวทางการยกฐานะโรงพยาบาลเกาะเตาเปนโรงพยาบาลรูปแบบพิเศษ ณ โรงพยาบาลเกาะเตา อําเภอเกาะพะงัน และโรงพยาบาลเกาะสมุย อําเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎรธานี เม่ือวันท่ี 14 - 15 กันยายน 2561 ณ โรงพยาบาลเกาะเตา และโรงพยาบาลเกาะสมุย ซ่ึงผูอํานวยการกองสุขภาพระหวาประเทศ ไดนําเสนอแนวทางการดําเนินงาน ของศูนยประสานงานกลาง (Claim Center) ในการจัดเก็บคารักษาพยาบาลชาวตางชาติ สําหรับสถานพยาบาลภาครัฐ ของกรมฯ ใหกับโรงพยาบาลดังกลาวรับทราบขอมูลและเปดระบบการใหบริการตอไป 2.3 แนวทางในการพัฒนากฎหมาย Health Tech Startup รวมถึงการพัฒนาบริการโทรเวชกรรม ในประเทศไทย ความเปนมา หอการคาไทยและสภาหอการคาแหงประเทศไทย ท่ี ธทบ./ห.013/ 2561 ลงวันท่ี 22 มกราคม 2561 หอการคาไทยฯ โดยคณะกรรมการธุรกิจบริการเพ่ือสุขภาพ แจงความประสงคไปยังรองปลัดกระทรวงสาธารณสุข (นายแพทยธเรศ กรัษนัยรวิวงค) เพ่ือขอใหมีการแตงต้ังคณะกรรมการข้ึนมาคณะหนึ่งเพ่ือศึกษาเก่ียวกับการบริการโทรเวชกรรม และความเปนไปไดในการสนับสนุนการบริการตางๆ ดานสาธารณสุข ตลอดจนแนวทางในการกํากับสอดสองใหเปนประโยชนสูงสุดตอผูปวยและประชาชนคนไทยและตอยอดพัฒนาใหประเทศไทยเปนศูนยกลางในการบริการดานสาธารณสุขตอไป ท้ังนี้ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข มอบหมายใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพประสานการดําเนินการในสวนท่ีเก่ียวของตอไป

หนา 24

Page 29: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ผลการดําเนินงาน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดจัดประชุมเพ่ือรับฟงการนําเสนอขอมูลเก่ียวกับแนวทางในการพัฒนากฎหมาย Health Tech Startup รวมถึงการพัฒนาบริการโทรเวชกรรมในประเทศไทย เม่ือวันท่ี 6 สิงหาคม 2561 ณ หองประชุม ชั้น 6 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยมีผูแทนจากหอการคาไทย เปนผูนําเสนอขอมูล และมีผูเขารวมการประชุมจากหนวยงานท่ีเก่ียวของประกอบดวยผูแทนกรมการแพทย/สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข/ แพทยสภา/ ทันตแพทยสภา/ สภาการพยาบาล/ กลุมสถาบันแพทยศาสตรแหงประเทศไทย ผูแทนหอการคาไทยนําเสนอวาสัดสวนตลาดดานสาธารณสุขในประเทศไทยนั้นมีอัตราการเติบโตท่ีสูงข้ึน โดยในอนาคตจะมีกลุมผูสูงอายุชาวไทยรวมท้ังคนสูงวัยจากตางแดนยายเขามาพํานักในประเทศเพ่ิมข้ึน ซ่ึงบุคคลกลุมนี้จะมีความตองการท่ีจะเขารับบริการในสถานพยาบาล โดยท่ีในบางครั้งมิไดมีอาการท่ีนากังวลจนตองมาโรงพยาบาล ตลอดจนเครื่องมือและอุปกรณการแพทยในโรงพยาบาลมีไมเพียงพอตอการใหบริการ และในอนาคตจะมีแนวโนมความตองการในการรับบริการท่ีมากข้ึน อาจจะสงผลกระทบ ในหลายมิติ แตอยางไรก็ตามจะเปนโอกาสอันดีของการลงทุนในธุรกิจใหมๆ ดานสุขภาพ ท้ังนี้ การผลักดันทางเศรษฐกิจ สังคม ประชากร และเทคโนโลยี จะเปนตัวกําหนดแนวโนมความนิยม (Trend) สําคัญในดานสาธารณสุข ไดแก การลงทุนในโครงสรางพ้ืนฐาน ความตองการผูเชี่ยวชาญท่ีเพ่ิมข้ึน สังคมสูงวัย การเติบโตของเมือง การทองเท่ียวเชิงสุขภาพ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และการใชเทคโนโลยีดิจิทัล จึงเปนท่ีมา ของการจัดทําแนวทางในการพัฒนากฎหมาย Health Tech Startup ในประเทศไทย โดยแบงออกเปน 6 ประเด็น ดังนี้

1. การใหบริการโทรเวชกรรม: ใชในการตรวจรักษาผูปวยซ่ึงอยูหางไกล โดยท่ีแพทยไมจําเปน ท่ีจะตองพบกับผูปวยโดยตรง ทําใหเกิดความสะดวกรวดเร็ว อีกท้ังยังสามารถรักษาผูปวยไดอยางทันทวงที และประหยัดคาใชจายในการเดินทาง อยางไรก็ตามในปจจุบันนั้นยังไมมีกฎหมายเก่ียวกับการใหบริการ โทรเวชกรรม ซ่ึงสงผลกระทบตอผูท่ีประกอบหรือตองการจะประกอบธุรกิจโทรเวชกรรมในประเทศ

2. การเบิกจายคารักษาพยาบาลตามสิทธิตางๆ: กฎหมายในปจจุบันมีขอจํากัดวาคาใชจาย ท่ีจะสามารถนํามาเบิกจายได จะตองเปนคาใชจายท่ีเกิดข้ึนจากการรักษากับ “สถานพยาบาล” ตามนิยาม ตามกฎหมายวาดวยสถานพยาบาล จึงทําใหเปนอุปสรรคตอการนําบริการโทรเวชกรรมมาประยุกตใชในการรักษา ท้ังนี้ กฎหมายในตางประเทศ จะมีการกําหนดคํานิยามและขอบเขตสําหรับกรณีการใหบริการ โทรเวชกรรมไวเปนการเฉพาะ

3. การโฆษณาทางการแพทย: เห็นควรใหมีการพิจารณาแนวทางท่ีเหมาะสมในการแกไขปญหาการโฆษณาทางการแพทยท่ีเหมาะสม เพ่ือใหเกิดความรวดเร็วและไมเปนอุปสรรคในการออกโฆษณา ซ่ึงกระบวนการพิจารณาจะตองมีมาตรฐานชัดเจน ท้ังนี้ ในตางประเทศ เชน ประเทศสหรัฐอเมริกา ไมไดมีการออกกฎหมายหามการโฆษณาทางการแพทยอยางชัดเจน อยางไรก็ตามถึงแมวาการโฆษณาทางการแพทย จะสามารถกระทําไดแตแพทยก็จะตองรักษาจริยธรรมโดยการใหขอมูลในสิ่งท่ีเปนความจริงเทานั้น

4. การแบงปนขอมูลทางการแพทย: โดยท่ีขอมูลประวัติผูปวยหรือเวชระเบียนนั้นถูกจัดเก็บไวกับสถานพยาบาลท่ีผูปวยเขารับการรักษาเทานั้น โดยไมมีการสงตอไปยังสถานพยาบาลอ่ืน ดังนั้น หากเกิดกรณีฉุกเฉินหรือผูปวยหมดสติไมสามารถใหขอมูลกับทางสถานพยาบาลได ขอมูลเวชระเบียนพ้ืนฐานขางตนเปนขอมูลท่ีจําเปนอยางมากในการดําเนินการรักษาผูปวย จึงเห็นควรใหมีการนําระบบ Block chain มาประยุกตใชในการพัฒนาเทคโนโลยีการจัดเก็บและแลกเปลี่ยนขอมูลเวชระเบียน ซ่ึงจะสามารถเชื่อมตอ และแลกเปลี่ยนขอมูลกับระบบเวชระเบียนสถานพยาบาลได และควรมีระบบเพ่ือปองกันปญหาดาน ความปลอดภัย ความเปนสวนตัวของขอมูล และมีการยืนยันความถูกตองของขอมูลโดยแพทยหรือผูเชี่ยวชาญเฉพาะ

หนา 25

Page 30: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

5. ความรับผิดของแพทย: เนื่องจากในปจจุบันยังไมมีความชัดเจนในการกําหนดขอบเขตความรับผิดของบุคลากรทางการแพทยหรือตัวแทนผูจัดหาบุคลากรทางการแพทย รวมถึงความรับผิดในกรณี ท่ีเครื่องตรวจหรืออุปกรณทางการแพทยแสดงผลผิดพลาด ซ่ึงหากไมมีมาตรฐานหรือแนวปฏิบัติท่ีชัดเจนในกรณีดังกลาวอาจสงผลใหผูประกอบวิชาชีพไมอาจประกอบธุรกิจใหบริการดานสุขภาพออนไลนไดอยางเต็มประสิทธิภาพ ตลอดจนควรมีการศึกษาความเหมาะสมของการใหคํายินยอมผานระบบออนไลนของผูปวย วาจะมีแนวทางในการปฏิบัติในลักษณะใด

6. คดีความดานการแพทย: โดยท่ีการใหบริการโทรเวชกรรมเปนการรักษาท่ีจะอยูในรูปของอิเล็กทรอนิกส รวมถึงมีการใหเทคโนโลยีติดตอสื่อสารในการรักษาผูปวย ซ่ึงแพทยจะไมพบกับผูปวยโดยตรง ขอมูลตางๆ ในการให บ ริ ก า ร โท ร เ วช กร รมจึ ง อยู ใ น รู ป แบบของข อ มู ลอิเล็กทรอนิกส เชน ประวัติการรักษา รูปถายเอ็กซเรย หรือผลการตรวจตางๆ จึงมีประเด็นท่ีควรพิจารณาวาขอมูลท่ีอยูในรูปอิเล็กทรอนิกสเหลานี้สามารถใชอางอิงไดมากนอยเพียงใด และหากมีคดีความทางดานการแพทยขอมูล ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกสดังกลาวจะมีความนาเชื่อถือเพียงใด ดังนั้น จึงควรใหมีการพิจารณาศึกษาความเปนไปไดในการแยกคดีความทางการแพทยออกมาตางหากจากการดําเนินคดีผูบริโภค เนื่องจากการใหบริการรักษาพยาบาลผานวิธีโทรเวชกรรมนั้นมิใชเปนการใหบริการรักษาพยาบาลตามปกติท่ีมีอยูท่ัวไป ท้ังนี้ อาจจัดใหมีแพทยสภาผูมีความรูความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพแพทยซ่ึงสามารถวินิจฉัยสาเหตุ หรือพิจารณาสถานการณท่ีเกิดข้ึนวาเกิดจากความผิด หรือความประมาทเลินเลอของตัวแพทยจริงหรือไมเพ่ือใหคดีความทุกๆคดีเปนไปโดยความยุติธรรมท่ีประชุมไดรวมกันพิจารณาแลวมีความเห็นวาการจัดการใหบริการสาธารณสุขแกบุคคลท่ีอยูทางไกล โดยผูเชี่ยวชาญทางการแพทยจากการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการแลกเปลี่ยนขอมูลสําหรับการวินิจฉัย การรักษา หรือการปองกันโรค รวมถึงการวิจัยและศึกษาเพ่ือประโยชนทางการแพทย จะตองมีการศึกษาอยางรอบคอบหาก จะดําเนินการจัดทําเปนกฎหมายเฉพาะ ท้ังนี้ท่ีผานมากรมการแพทย สภาวิชาชีพ และหนวยงานท่ีเก่ียวของ ไดมีการประชุมเพ่ือพิจารณาหารือเก่ียวกับแนวทางการจัดบริการโทรเวชกรรมหลายครั้ง และเพ่ือใหบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงค ท่ีประชุมจึงมีความเห็นวาควรนําเสนอปลัดกระทรวงสาธารณสุขเพ่ือพิจาณาใหมีการแตงตั้งคณะกรรมการและคณะทํางานคณะหนึ่ง เพ่ือดําเนินการศึกษาในเรื่องตางๆ ดังนี้

1. ใหมีการศึกษาแนวทางในการแกกฎหมายใหมีความสอดคลองกับการใหบริการโทรเวชกรรมในอนาคต

2. ใหมีการศึกษาแนวทางการปรับปรุงกฎหมายท่ีเก่ียวของเพ่ือใหมีการกําหนดคํานิยามรองรับบริการโทรเวชกรรมใหมีสถานพยาบาล

3. ใหมีการศึกษาแนวทางท่ีเหมาะสมในการแกไขปญหาการโฆษณาเพ่ือใหเกิดความรวดเร็ว และไมเปนอุปสรรคในการออกโฆษณาและจะตองมีมาตรฐานในการพิจารณาอนุญาตท่ีมีความชัดเจน

4. ใหมีการศึกษาแนวทางในการพัฒนากฎหมายหรือการมีศูนยกลางขอมูลทางการแพทยเพ่ือทําหนาท่ีในการบริหารจัดการคุมครองการจัดเก็บมูลของผูปวยท่ีมีความปลอดภัยสูงและคุมครองสิทธิของผูปวยซ่ึงเจาของขอมูล

5. ใหมีการพิจารณาศึกษาแนวทางการกําหนดขอบเขตและมาตรฐานความรับผิดของบุคลากร ท่ีเก่ียวของท้ังหมดเพ่ือใหสามารถใหสามารถประกอบกิจการสุขภาพออนไลนไดอยางมีประสิทธิภาพ

หนา 26

Page 31: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

รวมท้ังการศึกษาดานการปรับปรุงกฎหมายเก่ียวกับความรับผิดของแพทยและคดีความดานการแพทยรองรับการพัฒนาบริการโทรเวชกรรมของประเทศในอนาคต 2.4 การประชุมหารือแนวทางการกําหนดประเด็นวิจัยและนวัตกรรมเพ่ือสงเสริมอุตสาหกรรมทองเท่ียวเชิงสุขภาพ (Health Tourism) และบริการทางการแพทย (Medical Service)

ความเปนมา ตามหนังสือสํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ ท่ี วท 6001/805 ลงวันท่ี 5 มิถุนายน 2561 ไดขอเขาพบกรมสนับสนุนบริการสุขภาพเพ่ือหารือ แนวทางการกําหนดประเด็นวิจัยและนวัตกรรมเพ่ือสงเสริมอุตสาหกรรมทองเท่ียวเชิงสุขภาพ (Health Tourism) และบริการทางการแพทย (Medical Service) เพ่ือใชเปนแนวทางในการจัดทํา (ราง) ยุทธศาสตรวิจัยและนวัตกรรม 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579) โดยสํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตรฯ ไดรับมอบหมายใหจัดทํารายละเอียดในประเด็นวิจัยและนวัตกรรมเชิงยุทธศาสตรดานเศรษฐกิจ

ผลการดําเนินงาน

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองสุขภาพระหวางประเทศไดจัดการประชุมหารือแนวทางการกําหนดประเด็นวิจัยและนวัตกรรมเพ่ือสงเสริมอุตสาหกรรมทองเท่ียวเชิงสุขภาพ (Health Tourism) และบริการทางการแพทย (Medical Service) เม่ือวันท่ี 23 สิงหาคม 2561 โดยมีอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพเปนประธาน และมีขอสรุปประเด็นในการหารือ ดังนี้

ประเด็นพ้ืนฐานท่ีประสงคจะใหบรรจุในการวิจัยฯ ป พ.ศ. 2562 (นํารอง) ไดแก 1. บริการท่ีชาวตางชาตินิยมมาใชบริการ ประกอบดวย

- โรคหวัใจ - โรคมะเร็ง - โรคกระดูกและขอ - เทคโนโลยีเพ่ือการเจริญพันธุทางการแพทย - Cosmetic

2. บริการสปาทางการแพทย (Medical Spa) 3. ชุมชนจัดการผูสูงอายุ วัตถุประสงคของการวิจัยดานอุตสาหกรรมบริการสุขภาพ 1. เพ่ือใหสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพมีคุณภาพมาตรฐาน 2. เพ่ือใหมีแหลงขอมูลอางอิงท่ีเชื่อถือไดและสรางความเชื่อม่ันใหกับชาวตางชาติ 3. เพ่ือกําหนดราคาคาบริการในสถานพยาบาลมีความท่ีเหมาะสมกับผูรับบริการ

2.5 การเขียนบทความเพ่ือลงตีพิมพในหนังสือพิมพ The Asian Pacific News และหนังสือพิมพสยามมีเดีย (Siam Media) ในสหรัฐอเมริกาประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2559

1. การเขียนบทความเพ่ือลงตีพิมพในหนังสือพิมพ The Asian Pacific News ในสหรัฐอเมริกา ตาม ท่ีก รมสนั บ สนุ นบริ ก า ร

สุขภาพไดลงนามในบันทึกขอตกลงกับ Thai American Chamber Of Commerce of California (TCCC) เพ่ือสรางเครือขายการทํางานรวมกัน ระหวางประเทศไทยและสหรัฐอเมริกา ประกอบกับกรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดรับการประสานงานเปนการภายในจาก นางรสสุคนธ วรศรี เจาของหนังสือพิมพ The Asian Pacific News

หนา 27

Page 32: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

เพ่ือขออนุญาตนําบทความเก่ียวกับสุขภาพ ปญหาตางๆ กฎหมายท่ีเก่ียวกับสุขภาพ แนะนําโรงพยาบาล นโยบาย Medical Hub นโยบายการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ รวมไปถึงภารกิจสําคัญของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไปลงตีพิมพในหนังสือพิมพฉบับดังกลาวในทุกเชาวันศุกร (ตามเวลาสหรัฐอเมริกา) รายสัปดาห มีวัตถุประสงคหลักเพ่ือเผยแพรขอมูลสําคัญของประเทศไทยเก่ียวกับการทองเท่ียวเชิงสุขภาพไปยังชาวไทยและชาวตางชาติในสหรัฐอเมริกา ใหไดรับทราบขอมูลโดยตรง อีกท้ังขอมูลดังกลาวยังสามารถเปนชองทางการสื่อสารใหกับชาวไทยท่ีอาศัยอยูในสหรัฐอเมริกาไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยลงบทความในวันศุกรของสัปดาห ซ่ึงไดรับการสนับสนุนพ้ืนท่ีเพ่ือตีพิมพบทความขนาด ¼ หนาหนังสือพิมพ ขนาด 2 หนา A4 ตําแหนงคอลัมนหนา 7 สวนท่ี 2 โดยไมมีคาใชจายใดๆ ท้ังนี้กรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดมีการลงบทความในหนังสือพิมพ The Asian Pacific News มาตั้งแตฉบับเม่ือวันศุกรท่ี 26 กุมภาพันธ 2559 รวมบทความท้ังสิ้น 130 ฉบับ

2. การเขียนบทความเพ่ือลงตีพิมพในหนังสือพิมพสยามมีเดีย (Siam Media) ในสหรัฐอเมริกา ตามท่ีกองสุขภาพระหวางประเทศ

ไดรับการประสานงานเปนการภายในจากนายอรรคเดช ศรีพิพัฒน ผูอํานวยการหนังสือพิมพสยามมีเดีย (Siam Media) ซ่ึงเปนหนังสือพิมพไทยในสหรัฐอเมริกา เพ่ือขออนุญาตนําบทความเก่ียวกับสุขภาพ ปญหาตางๆ กฎหมายท่ีเก่ียวกับสุขภาพ แนะนําโรงพยาบาล นโยบาย Medical Hub นโยบายการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ รวมไปถึงภารกิจสําคัญของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไปลงตีพิมพในหนังสือพิมพฉบับดังกลาวในทุกเชาวันศุกร (ตามเวลาสหรัฐอเมริกา) รายสัปดาห มีวัตถุประสงคหลักเพ่ือเผยแพรขอมูลสําคัญของประเทศไทยเก่ียวกับการทองเท่ียวเชิงสุขภาพไปยังชาวไทยและชาวตางชาติในสหรัฐอเมริกา ใหไดรับทราบขอมูลโดยตรง อีกท้ังขอมูลดังกลาวยังสามารถเปนชองทางการสื่อสารใหกับชาวไทยท่ีอาศัยอยูในสหรัฐอเมริกาไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยลงบทความในวันศุกรของสัปดาห ซ่ึงไดรับการสนับสนุนพ้ืนท่ีเพ่ือตีพิมพบทความขนาด ½ หนาหนังสือพิมพ (ประมาณ 2 หนากระดาษ A4 ใชตัวหนังสือ Tahoma ขนาด 11) ลงเปนบทความใน Section A โดยไมกําหนดหนาเนื่องจากอาจมีการเปลี่ยนแปลงหนาในแตละสัปดาห และไมมีคาใชจายใดๆ ท้ังนี้กรมสนับสนุนบริการสุขภาพมีการลงบทความ ในหนังสือพิมพสยามมีเดีย (Siam Media) มาต้ังแตฉบับเม่ือวันศุกรท่ี 10 มิถุนายน 2559 รวมบทความท้ังสิ้น 121 ฉบับ

2.6 การใหขอคิดเห็นประเด็นความรวมมือดานสุขภาพระหวางประเทศ ผลการดําเนินงาน

1. การจัดทํารางแผนปฏิบัติการรวมระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐตุรกี ฉบับท่ี 2 (ป 2562-2567) ตามหนังสือกระทรวงการตางประเทศ ดวน ท่ี กต 0504/ว88 ลงวันท่ี 19 มกราคม 2561 แจงวา กระทรวงการตางประเทศเห็นควรท่ีฝายไทยจะไดพิจารณาการจัดทําแผนปฏิบัติการรวมฯ ฉบับท่ี 2 (ป 2562 – 2567) เพ่ือเปนกรอบการดําเนินความสัมพันธและความรวมมือในมิติตางๆ ท่ีท้ังสองฝายสนใจรวมกัน และเพ่ือเปนการสานตอผลการดําเนินงานภายใตแผนปฏิบัติการรวมฯ ฉบับท่ี 1 ท่ีกําลังจะหมดอายุลงในปนี้ โดยขอใหหนวยงานท่ีเก่ียวของพิจารณาถอยคําและเนื้อหาสาระของรางแผนปฏิบัติการรวมฯ ในสวนท่ีเก่ียวของกับภารกิจของหนวยงาน

หนา 28

Page 33: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

2. บันทึกความเขาใจวาดวยการดําเนินการรวมกันในสาขาสาธารณสุขระหวางกระทรวงสาธารณสุขแหงราชอาณาจักรไทยกับกระทรวงสาธารณสุขและแพทยศาสตรศึกษาแหงสาธารณรัฐอิสลามอิหราน ตามหนังสือสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ดวนท่ีสุด ท่ี สธ 0203.02/1394 ลงวันท่ี 19 มกราคม 2561 แจงวา รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงสาธารณสุขและแพทยศาสตรศึกษาอิหรานไดมอบหนังสือเชิญรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขเยือนอิหราน พรอมท้ังเสนอใหมีการลงนามในบันทึกความเขาใจวาดวยการดําเนินการรวมกันในสาขาสาธารณสุขระหวางกระทรวงสาธารณสุขแหงราชอาณาจักรไทยกับกระทรวงสาธารณสุขและแพทยศาสตรศึกษาแหงสาธารณรัฐอิสลามอิหราน และขอใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพพิจารณาใหความเห็นตอรางบันทึกความเขาใจดังกลาว ในสวนท่ีเก่ียวของ 3. บันทึกความเขาใจระหวางกระทรวงสาธารณสุขแหงราชอาณาจักรไทยกับกระทรวงสาธารณสุขแหงสาธารณรัฐคิวบาวาดวยความรวมมือในสาขาสาธารณสุขและการวิจัยทางการแพทย ตามหนังสือสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ดวนท่ีสุด ท่ี สธ 0203.02/6505 ลงวันท่ี 16 มีนาคม 2561 แจงวา สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐคิวบาประจําประเทศไทยไดนําสงรางบันทึกความเขาใจระหวางกระทรวงสาธารณสุขแหงราชอาณาจักรไทยกับกระทรวงสาธารณสุขแหงสาธารณรัฐคิวบาวาดวยความรวมมือในสาขาสาธารณสุขและการวิจัยทางการแพทย พรอมท้ังเสนอใหมีการลงนามบันทึกความเขาใจดังกลาวในระหวางการเยือนสาธารณรัฐคิวบาของรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข ระหวางวันท่ี 21 – 28 เมษายน 2561 และขอความรวมมือหนวยงานท่ีเก่ียวของพิจารณาใหขอคิดเห็นตอรางบันทึกความเขาใจดังกลาว

4. รางบันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือดานสาธารณสุขระหวางไทยกับภูฏาน ตามหนังสือสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ท่ี สธ 0224.02/38492 ลงวันท่ี 1 ธันวาคม 2559 แจงวา รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขเปนหัวหนาคณะผูแทนไทยเดินทางเยือนราชอาณาจักรภูฏาน ตามคําเชิญของรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขราชอาณาจักรภูฏาน เม่ือวันท่ี 30 มิถุนายน – 3 กรกฎาคม 2559 โดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขไทยและภูฏานไดมีการหารือกัน เม่ือวันท่ี 30 มิถุนายน 2559 และท้ังสองฝายไดเห็นชอบใหมีการทบทวนและปรับปรุงบันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือ ดานสาธารณสุขระหวางกระทรวงสาธารณสุขไทยและราชอาณาจักรภูฏานใหมีความเหมาะสมกับบริบทปจจุบัน และขอใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพพิจารณาใหความเห็นตอรางบันทึกความเขาใจฯ ในสวนท่ีเก่ียวของ

3. การพัฒนาประเทศไทยสูการเปนศูนยกลางบริการเพ่ือสงเสริมสุขภาพ (Wellness Hub) 3.1 การพัฒนาแหลงน้ําพุรอนมุงสูเมืองสปาและเสนทางทองเท่ียวเชิงสุขภาพ นํารองจังหวัดกระบ่ี ความเปนมา

ตามท่ีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดลงพ้ืนท่ีจัดประชุมหารือแนวทางการพัฒนาแหลงน้ําพุรอนฯ นํารองในจังหวัดกระบี่ เม่ือวันท่ี 4-5 พฤษภาคม 2560 ณ กระบี่ ฟรอนท เบย รีสอรท จังหวัดกระบี่ โดยมีผูเขารวมประชุมจากหนวยงานภาครัฐและเอกชนในจังหวัดกระบี่ ซ่ึงสรุปไดเปนแผนการดําเนินงานในระยะสั้น และระยะยาว เพ่ือมอบหมายใหหนวยงานท่ีเก่ียวของนํามาขับเคลื่อนการดําเนินงานในระยะตอไป โดยไดจัดทําเปนขอเสนอเชิงนโยบายเสนอตอท่ีประชุมคณะอนุกรรมการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ผลการดําเนินงาน

1. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองสุขภาพระหวางประเทศ ไดจัดประชุมเพ่ือพัฒนา เมืองตนแบบสูเสนทางทองเท่ียวเชิงสุขภาพน้ําพุรอนแบบครบวงจร นํารองจังหวัดกระบี่ เม่ือวันท่ี ๕-๗ ธันวาคม ๒๕๖๐ ณ โรงแรมมาริไทม ปารคแอนดสปา รีสอรท จังหวัดกระบี่ ซ่ึงไดเปนขอเสนอในท่ีประชุม ดังนี้

หนา 29

Page 34: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

(1) ใหมีการศึกษาวิจัยคุณสมบัติและคุณประโยชนของน้ําพุรอน จํานวน 2 รูปแบบ ไดแก (1) การศึกษาวิจัยภาคสนาม และ (2) การศึกษาวิจัยแบบ R2R (2) พัฒนาเรื่องเลาเชิงสุขภาพ (Story telling) เพ่ือสรางจุดขายทางดานการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ และ Wellness Tourism

(3) พัฒนาศักยภาพบุคลากรโดยเฉพาะการนวดแผนไทย และบริการสปา

(4) ประสานงานรวมกับกรมทรัพยากรธรณีเพ่ือตรวจวิเคราะหคุณสมบัติน้ําพุรอนในประเทศ (5) ใหแตละหนวยงานจัดทําคําของบประมาณตามภารกิจของตนเองเพ่ือให เปนไป

ตามยุทธศาสตรบูรณาการและเพ่ือใหพ้ืนท่ีสามารถจัดทําแผนงานโครงการกิจกรรมรองรับได (6) กระทรวงสาธารณสุขกําหนดมาตรฐานทางดานสุขอนามัยและสุขาภิบาลการประกอบกิจการ

โดยใหกําหนดกิจกรรมสําคัญตามแนวทางของสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ISMED ลงในแผนปฏิบัติการ (Action plan) ระยะ 1 ป (พ.ศ. 2562-2563) ไดแก (1) พัฒนา Big 3 ท่ีอาบน้ํา

สาธารณะท่ีมีคุณภาพ และไดมาตรฐาน แบบครบวงจร (2) พัฒนา Klong Thom Downtown (3) Sea Connect พัฒนาจุดเชื่อมตอเมือง (4) ศึกษา flexibility ของโครงการท่ีสโมสรน้ําพุรอนไทยนําเสนอ เชน ศึกษาออกแบบพ้ืนท่ีท่ีไดรับไปเพ่ือพัฒนา/ พัฒนาการใชน้ําพุรอนเอสเค/ พัฒนาโรงพยาบาลสายพันธุใหม/ สงเสริมประชาสัมพันธ/ การออกกฎระเบียบเก่ียวกับน้ําพุรอน/ ยกระดับคุณภาพของสถานท่ีใหเปนสากล/ วาจางผูเชี่ยวชาญชวยวางรูปแบบ (5) ความม่ันคงทางน้ํา ควรมีการสํารวจเชิงวิชาการเก่ียวกับปริมาณน้ํา และอุณหภูมิน้ํา ซ่ึงไดเปนขอเสนอเชิงนโยบายตอผูวาราชการจังหวัดกระบี่ ดังนี้

(1) ใหจัดตั้งคณะกรรมการจังหวัดเพ่ือบูรณาการความรวมมือรวมกับคณะทํางานอําเภอคลองทอมเพ่ือขับเคลื่อนคลองทอมโมเดล

(2) บรรจุคลองทอมโมเดลในแผนยุทธศาสตรจังหวัดป พ.ศ. 2562

(3) บูรณาการทํางานรวมกับสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด เพ่ือใหเกิดการสงเสริมและฟนฟูสุขภาพโดยใชประโยชนจากน้ําพุรอน (การสรางองคความรูใหกับคนในชุมชน)

(4) พัฒนาคลองทอมโมเดลใหเปนตนแบบท่ีเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (5) ขยายผลไปยังอําเภออ่ืนๆในจังหวัดกระบี่ และเชื่อมโยงเสนทางทองเท่ียวไปยังจังหวัดอ่ืน (6) บูรณาการทํางานรวมกับหนวยงานทุกภาคสวนท่ีเก่ียวของเพ่ือใหเกิดการทองเท่ียว

เชิงสุขภาพอยางแทจริง 2. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดจัดประชุมคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครั้งท่ี 1/2561 เม่ือวันท่ี 6 มิถุนายน 2561 ซ่ึงกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา ไดรายงานความคืบหนาผลการดําเนินงานวาจากกรอบแนวคิดการจัดตั้ง เมืองสปาน้ําพุรอน (Hot Spring Spa Town) ท่ีทางหนวยงาน SMEs ไดจัดทําข้ึนเพ่ือใหสอดรับกับนโยบายของรัฐบาลท่ีตองการใหมีการสํารวจและพัฒนาอําเภอคลองทอม จังหวัดกระบี่ เปนเมืองสปาตนแบบของไทย เพ่ือกาวไปสูความเปน Spa Town ในระดับนานาชาตินั้น ซ่ึงเปนรูปแบบการพัฒนาท่ีมีความสําคัญอยางยิ่งท่ีจะตองขับเคลื่อนการดําเนินการไปพรอมกันกับทุกภาคสวน ในการพัฒนาเมืองตนแบบเสนทางทองเท่ียวเชิงสุขภาพ

หนา 30

Page 35: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

น้ําพุรอนนํารองในจังหวัดกระบี่ โดยมีจุดมุงหมายท่ีจะบูรณาการและผลักดันการดําเนินการ รวมถึงพัฒนาแหลงทองเท่ียว สินคาและบริการใหมๆ บนพ้ืนฐานทรัพยากรทองถ่ินท่ีเปนอัตลักษณ ในโมเดลการพัฒนาคลองทอมเมืองสปาน้ําพุรอน จะสามารถเปนตัวอยางการขับเคลื่อนจากเศรษฐกิจฐานรากของคนอําเภอเมืองคลองทอม ใหสอดคลองตามยุทธศาสตรขับเคลื่อนประเทศไทยของรัฐบาลและสรางความยั่งยืนของชุมชน โดยไดมีการนําเสนอโมเดลพัฒนาคลองทอมเมืองสปาน้ําพุรอนตอคณะอนุกรรมการสงเสริมพัฒนาคุณภาพแหลงทองเท่ียวสินคาและบริการการทองเท่ียว เม่ือวันท่ี 29 มีนาคม 2561 ซ่ึงคณะอนุกรรมการพิจารณากลยุทธแลวจะตองเสนอตอท่ีประชุมคณะกรรมการนโยบายการทองเท่ียวแหงชาติอีกครั้ง โดยโมเดลฉบับนี้ไดกําหนดวิสัยทัศน และกลยุทธการดําเนินการไวเรียบรอยแลว รวมท้ังไดมีการจัดทําโครงการสําคัญในระยะเรงดวนเพ่ือพัฒนาอําเภอคลองทอม จังหวัดกระบี่ และขณะนี้อยูระหวางการพิจารณาของบประมาณ ประจําป 2562-2563 ในการดําเนินการดังกลาว 3.2 การพัฒนา Wellne ss City ปราจีนบุร ี ความเปนมา (1) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดจัดประชุมหารือแนวทางการพัฒนา Wellness City แบบครบวงจร นํารองในจังหวัดปราจีนบุรี เม่ือวันท่ี 23 มกราคม 2560 ณ โรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภู เบศร จังหวัดปราจีนบุรี โดยมีการหารือรวมระดับนโยบายระหวางกระทรวงสาธารณสุขและผูวาราชการจังหวัดปราจีนบุรี รวมท้ังหนวยงานในพ้ืนท่ีท่ีเก่ียวของท้ังภาครัฐและเอกชน (1.1) ทุกภาคสวนเห็นชอบกับนโยบาย Wellness City แบบครบวงจร นํารองในจังหวัดปราจีนบุรี แตตองการใหจังหวัดปราจีนบุรีเปนเจาของโครงการในการขับเคลื่อนการทํางานภายใตการบูรณาการกัน ทุกภาคสวนในทองท่ี (1.2) เห็นชอบในการพัฒนาเนื้อหา/รูปแบบ/แนวทางการพัฒนา Wellness City เพ่ือเปนจังหวัดนํารอง โดยใหอาศัยความรวมมือจากทุกภาคสวนท่ีเก่ียวของในรูปแบบ “ประชารัฐ” (1.3) เห็นชอบใหขับเคลื่อนการดําเนินงาน เพ่ือพัฒนารูปแบบและแนวทางใหมๆ เพ่ือสรางผลลัพธใหเกิดรายไดแบบกาวกระโดด รวมท้ังสรางกระบวนการทํางานใหมท่ีแตกตางจากเดิม (1.4) เขาเยี่ยมชมแหลงเพาะปลูกสมุนไพร และการแปรรูปสมุนไพรแบบครบวงจรในพ้ืนท่ีศูนยฯ ณ หมูบานดงบัง พบวา ศูนยดังกลาวมีกระบวนการและกรรมวิธีการ ลาง/ตาก และอบสมุนไพรของชาวบานท่ีไดคุณภาพมาตรฐาน รวมท้ังมีการปลูกสมุนไพรหลากหลายชนิด ซ่ึงมีสรรพคุณชวยรักษาโรคและสามารถนํามาทําเปนยา หรือผลิตภัณฑสุขภาพได โดยทางกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ มีความยินดีท่ีจะสนับสนุนและสงเสริมใหศูนยผลิตวัตถุดิบสมุนไพรครบวงจรบานดงบังนี้ เปนศูนยผลิตสมุนไพรท่ีมีคุณภาพมาตรฐานและมีชื่อเสียงเปนท่ียอมรับตอไป (2) โรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศร ไดจัดประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทําแผนการพัฒนา Wellness City แบบครบวงจร นํารองในจังหวัดปราจีนบุรี วันท่ี 4 เมษายน 2560 เวลา 8.30-16.30 น. ณ วิทยาลัยการแพทยแผนไทยอภัยภูเบศร จ.ปราจีนบุรี สรุปไดดังนี้ (2.1) องคประกอบพ้ืนฐานของการเปน Wellness city มี 8 องคประกอบไดแก Green Technology/ความสะอาด/ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน/ การบริการทางการแพทยท่ีมีคุณภาพ/ ผลิตภัณฑสุขภาพท่ีมีคุณภาพ/ การศึกษาวิจัย/ การทองเท่ียวเชิงสุขภาพ/ ประชาชนท่ีมีความรูและทัศนคติท่ีดี (2.2) ขอเสนอของท่ีประชุม ไดแก (1) เสนอใหมีการบูรณาการแผนพัฒนา Herbal city เขากับ Wellness city เนื่องจากมีแนวคิดการพัฒนาคลายๆ กัน (2) เสนอใหมีการนํา “ปบ” ซ่ึงเปนดอกไมประจําจังหวัดปราจีนบุรี มาพัฒนาเปนตํารับอาหารสุขภาพ ผลิตภัณฑเครื่องสําอางและยาประจําจังหวัดปราจีนบุรี (3) เสนอใหมีการจัดตั้งศูนยฝกอบรมดานการแพทยแผนไทย เพ่ืออบรมประชาชนและบุคลากร

หนา 31

Page 36: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ทางการแพทย (4) เสนอใหมีการพัฒนาท่ีพักและศูนยประชุมนานาชาติ เพ่ือใหสอดรับกับการจัดต้ังศูนยฝกอบรมดานการแพทยแผนไทย (5) เสนอใหมีการพัฒนาโรงพยาบาลการแพทยแผนไทยแหงท่ี 2 คือ โรงพยาบาลศรีมโหสถ ซ่ึงมีความพรอมในเชิงพ้ืนท่ี และ (7) การพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานท่ีจําเปนสําหรับการเปน Wellness city จําเปนตองไดรับการสนับสนุนจากสวนกลางอยางเรงดวน ผลการดําเนินงาน (1) มีการต้ังคณะกรรมการพัฒนา Wellness city ระดับจังหวัด (2) เห็นชอบรวมกันวาการพัฒนา Wellness city ควรทําไปพรอมกันกับ Wellness city (3) โรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศร/จังหวัดปราจีนบุรีไดรับงบประมาณสนับสนุนมาพัฒนา Business model โดยมุงเปาไปท่ีการพัฒนาผลิตภัณฑจากภูมิปญญาทองถ่ิน ธุรกิจบริการสุขภาพ การทองเท่ียวเชิงสุขภาพ ทําใหการพัฒนาโครงสรางท่ีจําเปนสําหรับการพัฒนา Wellness city ไดแก Green & Clean Technology ยังไมไดดําเนินการ เนื่องจากตองใชงบประมาณมาก พ้ืนท่ีไมสามารถดําเนินการไดเอง (4) เม่ือวันท่ี 10 กันยายน 2561 ทางโรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศร ซ่ึงเปนแกนกลาง ในการประสานงานการพัฒนา Wellness city จะเปด ศูนยการเรียนรูสมุนไพรและภูมิปญญาพ้ืนบาน ภูมิภูเบศร โดยมี ศ.คลินิก นพ.ปยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข โดยมีเปาหมายในการเปนแหลงทองเท่ียวดานสุขภาพ และการฝกอบรมดานสุขภาพใหกับประชาชนและผูประกอบการ การสนับสนุนจากหนวยงานท่ีเกี่ยวของ (1) ไดรับงบประมาณจากแผนงานขับเคลื่อนสมุนไพรเชิงเศรษฐกิจเพ่ือพัฒนา Business model จากภูมิปญญาในทองถ่ิน (2) ไดรับความรวมมือจากหลายหนวยงานสนับสนุนในเชิงเทคนิคในการพัฒนา Business model เชน TCELs/สวทช./ NIA/ กระทรวงพาณิชยและสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปญหาและอุปสรรคของการดําเนินงาน - ไมมีงบประมาณสําหรับการดําเนินงานของ Wellness city เปนการเฉพาะ ขอเสนอเพ่ือแกไขปญหา (1) ใชงบประมาณท่ีไดรับมาพัฒนาใหสอดคลองกับแนวคิด Wellness city (2) ขอความรวมมือจากหนวยงานสวนกลาง ในการพัฒนาองคประกอบท่ีจําเปนตอการเปน Wellness city 3.3 การเพ่ิมเติมกลุมประเทศเปาหมายในนโยบาย Long stay visa รหัสกํากับ Non - O-X ไดแก สาธารณรัฐเกาหลี ราชอาณาจักรเบลเยียม สาธารณรัฐออสเตรีย และนิวซีแลนด ความเปนมา 1. ตามหนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ดวนท่ีสุด ท่ี นร 0505/44238 ลงวันท่ี 25 พฤศจิกายน 2559 แจงวาคณะรัฐมนตรีมีมติ เม่ือวันท่ี 22 พฤศจิกายน 2559 อนุมัติในหลักการขยายระยะเวลาพํานักในราชอาณาจักรไทยสําหรับกลุมพํานักระยะยาว (Long stay visa) (ระยะ10 ป) รหัสกํากับ Non - O-X ใหแกชาวตางชาติท่ีมีสัญชาติของ 14 ประเทศ ไดแก (๑) ญี่ปุน (๒) เครือรัฐออสเตรเลีย (๓) ราชอาณาจักรเดนมารก (4) สาธารณรัฐฟนแลนด (5) สาธารณรัฐฝรั่งเศส (6) สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี (7) สาธารณรัฐอิตาลี (8) ราชอาณาจักรเนเธอรแลนด (9) ราชอาณาจักรนอรเวย

หนา 32

Page 37: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

(10) ราชอาณาจักรสวีเดน (11) สมาพันธรัฐสวิส (12) สหราชอาณาจักรบริเตนใหญและไอรแลนดเหนือ (1๓) แคนาดา และ (14) สหรัฐอเมริกา ตามท่ีกระทรวงสาธารณสุขเสนอ โดยออกประกาศเปนประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง การอนุญาตใหคนตางดาวบางจําพวกเขามาอยูในราชอาณาจักรเปนกรณีพิเศษ สําหรับผูท่ีประสงคจะเขามาพํานักระยะยาวตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 22 พฤศจิกายน 2559 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 134 ตอนพิเศษ 157 ง เม่ือวันท่ี 12 มิถุนายน 2560 และมีผลใชบังคับตั้งแตวันท่ี 11 สิงหาคม 2560 เปนตนมา 2. กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดจัดพิธีแถลงขาว เพ่ือประชาสัมพันธนโยบายดังกลาวใหแกผูแทนจากสถานเอกอัครราชทูตของ 14 ประเทศ รับทราบ เม่ือวันท่ี 12 กรกฎาคม 2560 ณ หองแถลงขาว ทําเนียบรัฐบาล รวมท้ังไดมีหนังสือแจงอยางเปนทางการไปยังสถานเอกอัครราชทูตฯ และหนวยงานท่ีเก่ียวของประกอบดวยกระทรวงการตางประเทศ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา สํานักงานตรวจคนเขาเมือง และการทองเท่ียวแหงประเทศไทยเพ่ือประชาสัมพันธใหพลเมือง ของประเทศดังกลาวรับทราบท้ังในประเทศและตางประเทศ 3. ภายหลังจากมีการประกาศใชตามขอ 1 มีผูแทนจากสถานเอกอัครราชทูตของ 4 ประเทศ ไดแก สาธารณรัฐเกาหลี ราชอาณาจักรเบลเยียม สาธารณรัฐออสเตรีย และนิวซีแลนด แจงความประสงค ขอเขารวมในนโยบาย Long stay visa รหัสกํากับ Non - O-X ตามลําดับดังนี้ (1) เม่ือวันท่ี 9 มกราคม 2560 นายลี คี ฮึม ตําแหนง เลขานุการเอกและกงสุล สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐเกาหลีประจําประเทศไทย ไดหารือรวมกับผูแทนกระทรวงสาธารณสุขเพ่ือขอใหพิจารณาความเปนไปไดใหชาวเกาหลีใตเขารวมในนโยบายดังกลาว เนื่องจากมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ ท่ีกําหนด โดยเม่ือวันท่ี 17 มกราคม 2560 สถานเอกอัครราชทูตฯ ไดมีหนังสือแจงความประสงคมาอยางเปนทางการ (2) ตามหนังสือสถานเอกอัครราชทูตเบลเยียมประจําประเทศไทย ลงวันท่ี 22 มิถุนายน 2560 แจงความประสงคขอใหพิจารณาความเปนไปไดท่ีจะเปดโอกาสใหชาวเบลเยียมเขารวมในนโยบายดังกลาว เนื่องจากชาวเบลเยียมมีศักยภาพตามหลักเกณฑท่ีกําหนดประกอบกับ นายแพทริค โกวารท กงสุลเบลเยียมประจําประเทศไทย ไดหารือรวมกับผูแทนกระทรวงสาธารณสุข เม่ือวันท่ี 3 กรกฎาคม 2560 เพ่ือพิจารณาความเปนไปไดและแจงความประสงคเขารวมในนโยบายดังกลาว รวมท้ังเม่ือวันท่ี 23 พฤษภาคม 2561 สถานเอกอัครราชทูตฯ ไดมีหนังสือแจงความประสงคมาอยางเปนทางการ (3) ตามหนังสือสํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ท่ี นร 0402/ว 8527ลงวันท่ี 11 สิงหาคม 2560 แจงผลการหารือระหวางนายกรัฐมนตรีกับเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐออสเตรียประจําประเทศไทย เม่ือวันท่ี 6 กรกฎาคม 2560 ณ ทําเนียบรัฐบาล โดยสถานเอกอัครราชทูตฯ มีความประสงคขอความอนุเคราะหรัฐบาลไทยพิจารณาอนุญาตใหชาวออสเตรียไดรับสิทธิการตรวจลงตราประเภทคนอยูชั่วคราวประเภทพํานักระยะยาว 10 ป ท้ังนี้ นายกรัฐมนตรีไดมีขอสั่งการใหกระทรวงสาธารณสุขพิจารณาดําเนินการในสวนท่ีเก่ียวของเพ่ือใหชาวออสเตรียไดรับสิทธิเขาในนโยบายดังกลาว (4) ตามหนังสือสถานเอกอัครราชทูตนิวซีแลนด ท่ี 2017/167 ลงวันท่ี 12 ธันวาคม 2560 ไดแจงความประสงคขอความอนุเคราะหใหชาวนิวซีแลนดไดรับสิทธิการตรวจลงตราประเภทคนอยูชั่วคราวประเภทพํานักระยะยาว 10 ป ประกอบกับผูแทนจากสถานเอกอัครราชทูตฯ ไดหารือรวมกับผูแทนกระทรวงสาธารณสุข เพ่ือพิจารณาความเปนไปไดและแจงความประสงคเขารวมในนโยบายดังกลาว โดยเม่ือวันท่ี 12 ธันวาคม 2560 สถานเอกอัครราชทูตฯ ไดมีหนังสือแจงความประสงคมาอยางเปนทางการ

หนา 33

Page 38: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ผลการดําเนินงาน 1. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดเสนอเรื่องการเพ่ิมเติมกลุมประเทศเปาหมายในนโยบาย Long stay visa เขาสูการพิจารณาในการประชุมคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครั้งท่ี 1/2560 เม่ือวันท่ี 29 กันยายน 2560 โดยมีผูชวยรัฐมนตรีประจํากระทรวงสาธารณสุข และปลัดกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา เปนประธาน ซ่ึงท่ีประชุมมีมติ มอบหมายใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ พิจารณาความเหมาะสมของการเพ่ิมเติมกลุมประเทศเปาหมายในนโยบาย Long stay visa รหัสกํากับ Non -O -X รวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ รวมท้ังหนวยงานดานความม่ันคง 2. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดเสนอเรื่องการเพ่ิมเติมกลุมประเทศเปาหมายในนโยบาย Long stay visa เขาสูการพิจารณาในการประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางบริการรักษาพยาบาล (Medical Service Hub) ครั้งท่ี 1/2560 เม่ือวันท่ี 21 ธันวาคม 2560 โดยมีปลัดกระทรวงสาธารณสุขเปนประธาน ท่ีระชุมมีมติรับทราบในหลักการเพิ่มเติมกลุมประเทศเปาหมาย ในนโยบาย Long stay visa รหัสกํากับ Non - O-X ท้ังนี้ ใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ พิจารณาความเหมาะสม และผลกระทบรวมกับหนวยงาน ท่ีเก่ียวของ เชน กระทรวงการตางประเทศ กระทรวงมหาดไทย สํานักงานตรวจคนเขาเมือง หนวยงานดานความม่ันคง และหนวยงานอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวของ พรอมท้ังสรุปเพ่ือนํามาจัดทําเปนขอเสนอเชิงนโยบายตอไป 3. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดประชุมรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ และหนวยงานดานความม่ันคง เม่ือวันท่ี 6 มีนาคม 2561 เพ่ือพิจารณาความเหมาะสม ขอดี ขอเสีย และผลกระทบของการเพ่ิมเติมกลุมประเทศเปาหมายในนโยบาย Long stay visa รหัสกํากับ Non - O-X ซ่ึงท่ีประชุมมีความเห็นวาสาธารณรัฐเกาหลี ราชอาณาจักรเบลเยียม สาธารณรัฐออสเตรีย และนิวซีแลนด เปนประเทศท่ีมีศักยภาพรวมท้ังพลเมืองของ 4 ประเทศดังกลาวไมเปนภัยตอความม่ันคงของประเทศไทย จึงเห็นควรเสนอคณะอนุกรรมการฯ พิจารณาใหความเห็นชอบกอนนําเสนอคณะกรรมการอํานวยการฯ พิจารณา 4. มติการประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางบริการรักษาพยาบาล (Medical Service Hub) ครั้งท่ี 1/2561 เม่ือวันท่ี 5 เมษายน 2561 เห็นชอบในหลักการเพ่ิมเติมกลุมประเทศเปาหมายในนโยบาย Long stay visa รหัสกํากับ Non - O-X โดยมอบหมายใหนําเสนอคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) พิจารณาใหความเห็นชอบเพ่ือนําเสนอเขาสูการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี 5. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดมีหนังสือดวนท่ีสุด ท่ี สธ 0707.03/572 ลงวันท่ี 23 พฤษภาคม 2561 สอบถามความเห็นไปยังหนวยงานท่ีเก่ียวของในประเด็นการเพ่ิมเติมกลุมประเทศเปาหมาย ในนโยบาย Long stay visa รหัสกํากับ Non - O-X ท้ังนี้ หนวยงานดังกลาวพิจารณาแลวเห็นชอบดวยในหลักการ 6. มติการประชุมคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครั้งท่ี 1/2561 เม่ือวันท่ี 6 มิถุนายน 2561 โดยมีรัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา และผูชวยรัฐมนตรีประจํากระทรวงสาธารณสุข เปนประธานเห็นชอบใหเสนอเรื่องการเพ่ิมเติมกลุมประเทศเปาหมาย ในนโยบาย Long stay visa รหัสกํากับ Non - O-X เขาสูการพิจารณา ของคณะรัฐมนตรี

หนา 34

Page 39: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

7. ปจจุบันกรมสนับสนุนบริการสุขภาพอยูระหวางจัดทําหนังสือเสนอคณะรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณาอนุมัติในหลักการ โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือเปนการอํานวยความสะดวกใหแกชาวตางชาติในกลุมประเทศ ท่ีมีศักยภาพเดินทางเขาสูประเทศไทยเพ่ือการพํานักระยะยาวเพ่ิมมากข้ึน และตอบสนองตอนโยบายของรัฐบาลดานการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ โดยภายหลังจากท่ีคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติในหลักการ กระทรวงมหาดไทยจะตองดําเนินการออกประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การอนุญาตใหคนตางดาวบางจําพวกเขามาอยูในราชอาณาจักรเปนกรณีพิเศษสําหรับผูท่ีประสงคจะเขามาพํานักระยะยาว ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 22 พฤศจิกายน พ.ศ.2559 (ฉบับท่ี...) ผลท่ีคาดวาจะไดรับ 1. ดานเศรษฐกิจ : ชาวตางชาติผูเกษียณอายุจากการทํางานมีสวัสดิการหรือเงินบํานาญ มีเงินเก็บสะสมสวนตัว ซ่ึงนักทองเท่ียวกลุมนี้ มี กําลังในการใชจายสูง และสามารถเขามาพํานักระยะยาวไดและกอใหเกิดผลดีตอประเทศในหลายมิติ เชน (1) การสงเสริมใหประเทศไทยเปนท่ีพํานักระยะยาว ของนักทองเท่ียวท่ีมีกําลังการใชจายสูง (2) การสรางรายไดเขาสูประเทศ ทําใหเกิดการสรางงาน สรางอาชีพ สรางรายไดในภาคอุตสาหกรรมและบริการ (3) การขยายตลาดนักทองเท่ียวใหมีความครอบคลุมมากยิ่งข้ึน เปนตน 2. ดานความม่ันคง : สวนราชการท่ีเก่ียวของจะตองประสานงานดานขาวกรองเพ่ือปองกันไมใหบุคคลท่ีไมหวังดีตอประเทศไทยใชโอกาสนี้เขามาดําเนินกิจกรรมท่ีอาจสงผลกระทบตอความม่ันคงแหงชาต ิรวมท้ังตองรวมกันพิจารณากลไกในการคัดกรอง ติดตาม และตรวจสอบพฤติกรรมชาวตางชาติระหวางท่ีพํานักอยูในประเทศไทยอยางตอเนื่อง 3. ดานสังคม : สามารถดึงดูดใหนักทองเท่ียวเดินทางเขาสูประเทศไทยมากข้ึน ทําใหเกิดภาพลักษณท่ีดีตอประเทศ นําไปสูการพัฒนาสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ และสถานท่ีทองเท่ียวในชุมชนท่ีรองรับการจัดบริการใหแกนักทองเท่ียวกลุมดังกลาว

3.4 การกําหนดหลักเกณฑและเง่ือนไขการทําประกันสุขภาพภาคบังคับในกลุมผูสูงอายุชาวตางชาติท่ีขอรับการตรวจลงตราประเภทคนอยูช่ัวคราวเพ่ือใชชีวิตบ้ันปลาย (Non-Immigrant O-A) ระยะ 1 ป ความเปนมา

1. ดวยในคราวประชุมคณะอนุกรรมาธิการศึกษาและติดตามการสงเสริมภาพลักษณและการคุมครองผลประโยชนไทยในตางประเทศ เม่ือวันพฤหัสบดีท่ี 1 กุมภาพันธ 2561 มีมติใหกระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข และหนวยงานท่ีเก่ียวของพิจารณาปรับปรุงหลักเกณฑการขอรับการตรวจลงตราประเภทคนอยูชั่วคราวเพ่ือใชชีวิตบั้นปลาย 1 ป (Non-immigrant Visa O-A) โดยเสนอใหนําหลักเกณฑการขอรับการตรวจลงตราประเภทคนอยูชั่วคราวประเภทพํานักระยะยาว 10 ป (Non-immigrant Visa O-X) มาพิจารณาเทียบเคียง เพ่ือสรางแรงจูงใจใหชาวตางชาติขอรับการตรวจลงตราประเภทคนอยูชั่วคราวประเภทพํานักระยะยาว 10 ป เพ่ิมข้ึน นั้น 2. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดรับขอมูลจากสถานพยาบาลภาครัฐและเอกชนวามีชาวตางชาติซ่ึงเดินทางเขาสูประเทศไทยตามกฎหมายวาดวยคนเขาเมืองเขารับบริการรักษาพยาบาล ซ่ึงบางรายไมมีทุนทรัพยเพียงพอสําหรับใชเปนคารักษาพยาบาลจึงกอใหเกิดปญหาหนี้สูญแกสถานพยาบาล เปนจํานวนมาก และท่ีผานมากองสุขภาพระหวางประเทศ ไดมีการผลักดันนโยบายการทําประกันสุขภาพ/ประกันอุบัติเหตุสําหรับชาวตางชาติในลักษณะภาคบังคับแกชาวตางชาติทุกรายแตยังไมบรรลุผลสําเร็จดวยหลายปจจัย เชน วิธีการจัดเก็บคาประกัน หรือประเภทของการเดินทางเขาเมืองท่ีหลากหลายท้ังกลุมท่ีไดรับการตรวจลงตราและยกเวนการตรวจลงตรา

หนา 35

Page 40: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ผลการดําเนินงาน เพ่ือใหเกิดกลไกการคุมครองชาวตางชาติในดานสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จึงไดเสนอเรื่องการทําประกันสุขภาพโดยนํารองในกลุมผูสูงอายุชาวตางชาติท่ีพํานักในประเทศไทยประเภทคนอยูชั่วคราว เพ่ือใชชีวิตบั้นปลาย 1 ป (Non Immigrant O-A) เนื่องจากเปนกลุมเสี่ยงท่ีจะประสบปญหาดานสุขภาพเขาสูการพิจารณาของคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาและสงเสริมประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ในการประชุมครั้งท่ี 1/2561 เม่ือวันท่ี 6 มิถุนายน 2561 ท่ีประชุมไดมีมติรับทราบและมีความเห็นวาการทําประกันจะสามารถชวยบรรเทาความเสี่ยงจากสาเหตุดังกลาวได รวมท้ังอํานาจในการพิจารณาเปนของสํานักงานตรวจคนเขาเมือง รวมท้ัง ไดมีหนังสือสอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับการกําหนดหลักเกณฑและเง่ือนไขการทําประกันสุขภาพภาคบังคับในกลุมผูสูงอายุชาวตางชาติท่ีขอรับการตรวจลงตราประเภทคนอยูชั่วคราวเพ่ือใชชีวิตบั้นปลายไปยังหนวยงานท่ีเก่ียวของ ซ่ึงหนวยงานดังกลาวไดแจงผลการพิจารณาแสดงความคิดเห็นมาอยางเปนทางการความเห็นของหนวยงาน ท่ีเก่ียวของ 1. กระทรวงการตางประเทศ มีความเห็นวาการเพ่ิมเง่ือนไขคุณสมบัติการตรวจลงตรา Non – O-A จะชวยคัดกรองใหคนตางดาวท่ีมีคุณภาพเพ่ิมมากข้ึน และผูท่ีเคยไดรับการตรวจลงตราประเภท Non– O-A อาจจะเปลี่ยนไปขอประเภท Non – O-X แทน เนื่องจากไดสิทธิประโยชนมากกวา ในขณะเดียวกันอาจทําให ผูท่ีเคยไดรับประเภท Non – O-A ตัดสินใจไมขอรับการตรวจลงตราประเภทคนอยูชั่วคราว (Non-Immigrant) รหัส O แทน ซ่ึงสามารถขอขยายเวลาพํานักในราชอาณาจักรกับสํานักงานตรวจคนเขาเมืองได หรืออาจเลือก เดินทางเขาประเทศโดยใชสิทธิยกเวนการตรวจลงตรา (ผ.30) แทน เนื่องจากผูท่ีขอรับการตรวจลงตราประเภท Non – O-A สวนใหญเปนบุคคลสัญชาติของประเทศท่ีไดรับสิทธิยกเวนการตรวจลงตรา (ผ.30) 2. กระทรวงมหาดไทย ขอใหพิจารณารวมกับท่ีเก่ียวของอยางละเอียดถึงผลกระทบท่ีจะไดรับจากการปรับปรุงหลักเกณฑดังกลาว โดยเฉพาะคนตางชาติท่ีไดอาศัยอยูในราชอาณาจักรไทยตามเกณฑเดิม เนื่องจากการปรับปรุงกฎเกณฑอาจจะทําใหคนตางชาติขาดคุณสมบัติซ่ึงอาจสงผลใหไมสามารถใชชีวิต บั้นปลายอยูกับครอบครัวในราชอาณาจักรไทยได 3. สํานักขาวกรองแหงชาติ เห็นพองในการปรับปรุงหลักเกณฑการขอรับการตรวจลงตราประเภทคนอยูชั่วคราวเพ่ือใชชีวิตบั้นปลาย 1 ป 4. สํานักงานคณะกรรมการกํากับและสงเสริมและประกอบธุรกิจประกันภัย เห็นควรใหปรับปรุงหลักเกณฑเปนมีการประกันภัยท่ีใหความคุมครองสุขภาพ โดยมีจํานวนเงินเอาประกันภัยกรณีผูปวยนอก ไมนอยกวา 4 หม่ืนบาท และกรณีผูปวยในไมนอยกวา 4 แสนบาท 5. สมาคมประกันวินาศภัยไทยเห็นดวยกับการปรับปรุงหลักเกณฑการขอรับการตรวจลงตราประเภทคนอยูชั่วคราวเพ่ือใชชีวิตบั้นปลาย 1 ป เพราะเปนการสงเสริมใหมีการทําประกันภัยไดมีโอกาสรองรับชาวตางชาติเพ่ิมมากข้ึนเนื่องจากผูสูงอายุชาวตางชาติท่ีเขามาพํานักระยะยาวมีโอกาสท่ีจะประสบปญหาดานสุขภาพ หรือเจ็บปวยและเขารับบริการในสถานพยาบาลของไทย แตบางรายอาจมีทุนทรัพย ไมเพียงพอ ซ่ึงการประกันภัยก็จะสามารถเขามาชวยบรรเทาความเสี่ยงภัยจากสาเหตุดังกลาวได 6. สมาคมประกันชีวิตไทยเห็นควรใหมีการทําประกันภัยท่ีใหความคุมครองสุขภาพของไทย โดยมีจํานวนเงินเอาประกันภัยกรณีผูปวยนอกไมนอยกวา 4 หม่ืนบาท และกรณีผูปวยในไมนอยกวา 4 แสนบาท แผนการดําเนินงานในระยะถัดไป 1. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดขอความอนุเคราะหสํานักงานตรวจคนเขาเมืองในการอนุญาตใหผูบริหารและเจาหนาท่ีของกรมฯ รวมท้ังผูแทนจากหนวยงานท่ีเก่ียวของท้ังภาครัฐและเอกชน เขาพบเพ่ือ

หนา 36

Page 41: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

หารือเก่ียวกับการกําหนดหลักเกณฑและเง่ือนไขการทําประกันสุขภาพภาคบังคับในกลุมผูขอรับการตรวจ ลงตราประเภทคนอยูชั่วคราว ระยะ 1 ป เนื่องจากเปนกลุมท่ีพํานักระยะยาวและมีโอกาสท่ีจะประสบปญหาดานสุขภาพ ท้ังนี้อยูระหวางพิจารณากําหนดนัดหมาย วัน เวลา และสถานท่ี สําหรับการหารือดังกลาว 2. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จะไดนําสรุปผลการหารือเสนอคณะกรรมการอํานวยการ เพ่ือพัฒนาและสงเสริมประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ในการประชุมครั้งถัดไป เพ่ือพิจารณาและผลักดันในเชิงนโยบาย 3.5 ผลักดันใหอาชีพงวดไทยเปนอาชีพสงวนสําหรับคนไทย หลักการและเหตุผล

เพ่ือรองรับการขับเคลื่อนนโยบายการผลักดันอาชีพนวดไทยเปนอาชีพสงวนสําหรับชาวไทย ซ่ึงเปนหนึ่งในโครงการสําคัญ (Quick Win) ตามยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) (พ.ศ.2560-2569) และเพ่ือใหชาวไทยสามารถประกอบอาชีพและถายทอดภูมิปญญาไทยท่ีมีคุณคา จึงควรอนุรักษไว รวมท้ังพัฒนาภูมิปญญาไทยนี้ใหยั่งยืนและมีชื่อเสียง อันเปนการแสดงถึงมรดกทางภูมิปญญาทางวัฒนธรรม เชนเดียวกับตางประเทศ เชน ญี่ปุนไดประกาศใหอาชีพนวดสงวนไวสําหรับผูพิการทางสายตา นั้นกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ซ่ึงไดผลักดันใหมีกฎหมายและระเบียบท่ีเก่ียวของในการใหอาชีพนวดไทยเปนอาชีพสงวนสําหรับสําหรับคนไทย

ผลการดําเนินงาน

ในการพัฒนากฎหมายอาชีพสงวนเพ่ือรองรับการขับเคลื่อนนโยบาย Medical Hub กรมสนับสนุน

บริการสุขภาพมีท่ีไดดําเนินกิจกรรมท่ีเก่ียวของ ดังนี้

1. จัดการประชุมเพ่ือพิจารณากําหนดนิยามและขอบเขตของอาชีพนวดไทยรองรับการจัดทํารางกฎหมายลําดับรองท่ีเก่ียวกับการกําหนดงานท่ีคนตางดาวหามทําในราชอาณาจักรไทย เม่ือวันท่ี 8 พฤษภาคม 2561 ณ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยประชุมมีมติใหใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพดําเนินการแจงหนวยงานท่ีเก่ียวของพิจารณาคํานิยามและขอบเขตของอาชีพนวดไทยฯ 2. ไดแจงเวียนขอรับความเห็นเก่ียวกับคํานิยามและขอบเขตของอาชีพนวดไทยฯ ตามหนังสือกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ดวนท่ีสุด ท่ี สธ 0707.03/552 ลงวันท่ี 17 พฤษภาคม 2561 ไปยังหนวยงาน ท่ีเก่ียวของ มีหนวยงาน จํานวน 3 หนวยงาน ท่ีไดเสนอความคิดเห็นตอการกําหนดคํานิยามและขอบเขต ของอาชีพนวดไทยฯ ไดแก กรมการแพทยแผนไทยและแพทยทางเลือก สภาการแพทยแผนไทย และสมาคมสปาไทย 3. จัดการประชุมเพ่ือพิจารณาขอสรุปคํานิยามและขอบเขตของอาชีพนวดไทยรองรับการจัดทํารางกฎหมายลําดับรองท่ีเก่ียวกับการกําหนดงานท่ีคนตางดาวหามทําในราชอาณาจักรไทย ครั้งท่ี 2/2561 เม่ือวันท่ี 23 สิงหาคม 2561 ณ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 3.6 การยกระดับนวดไทยผานUNESCO ความเปนมา 1. ตามมติการประชุมคณะกรรมการอํานวยการพัฒนาและสงเสริมประเทศไทยใหเปนศูนยกลางดาน Medical and Wellness Tourism ครั้งท่ี 6/2559 เม่ือวันท่ี 10 สิงหาคม 2559 เห็นชอบนโยบายการยกระดับบริการนวดไทยใหไดรับการจารึกจากองคการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (UNESCO) โดยมอบหมายใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ในฐานะเลขานุการคณะกรรมการอํานวยการฯ ประสานงานกับผูเก่ียวของเพ่ือดําเนินการขับเคลื่อนนโยบายดังกลาวใหเกิดผลอยางเปนรูปธรรม 2. ตามท่ีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองสุขภาพระหวางประเทศ เขารวมการประชุมหนวยงาน องคกรและผูมีสวนเก่ียวของกับการสงเสริม และรักษาภูมิปญญาการนวดไทย เม่ือวันท่ี 21 ตุลาคม 2559

หนา 37

Page 42: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ณ หองประชุมกรมสงเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม เพ่ือเสนอความเห็นในสวนท่ีเก่ียวของในการเสนอนวดไทยเพ่ือขอข้ึนทะเบียนจารึกในรายการตัวแทนมรดกทางวัฒนธรรมท่ีจับตองไมไดของมนุษยชาติ 3. ตามหนังสือกรมสงเสริมวัฒนธรรม ดวนท่ีสุด ท่ี วธ 0506.4/ว 877 ลงวันท่ี 14 กุมภาพันธ 2560 ขอความอนุเคราะหใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพจัดทําหนังสือแสดงความเห็นชอบในการเสนอนวดไทยเพ่ือข้ึนทะเบียนจารึกในรายการตัวแทนมรดกทางวัฒนธรรมท่ีจับตองไมไดของมนุษยชาติ ตามแบบท่ีกําหนด เพ่ือกระทรวงวัฒนธรรมจะไดรวบรวมเปนเอกสารหลักฐานสําหรับเสนอไปยังองคการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (UNESCO) ในนามตัวแทนของประเทศไทย ภายในวันท่ี 31 มีนาคม 2560 4. ตามหนังสือกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ท่ี สธ 0707.03/178 ลงวันท่ี 27 กุมภาพันธ 2560 เสนอความเห็นชอบใหนํานวดไทย ซ่ึงอยูในบัญชีมรดกภูมิปญญาทางวัฒนธรรมของประเทศไทยเสนอขอข้ึนทะเบียนจารึก ในฐานะรายการตัวแทนมรดกทางวัฒนธรรมท่ีจับตองไมไดของมนุษยชาติ ตามเง่ือนไข ท่ีปรากฏในอนุสัญญามรดกทางวัฒนธรรมท่ีจับตองไมได 5. ตามหนังสือกรมสงเสริมวัฒนธรรม ดวนท่ีสุด ท่ี วธ 0506.8/ว 2563 ลงวันท่ี 19 เมษายน 2561 แจงวา ไดรับแจงจากเลขานุการอนุสัญญาวาดวยการสงวนรักษามรดกทางวัฒนธรรมท่ีจับตองไมได เม่ือวันท่ี 16 เมษายน 2561 ยืนยันนําเรื่องนวดไทยเขาสูการพิจารณาของคณะกรรมการระหวางรัฐบาล เพ่ือการสงวนรักษามรดกทางวัฒนธรรมท่ีจับตองไมไดของมนุษยชาติในรอบป พ.ศ.2562 ซ่ึงจะตองดําเนินการจัดทําเอกสารท่ีเก่ียวของใหเปนปจจุบัน จึงขอความอนุเคราะหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพดําเนินการจัดทําหนังสือแสดงความเห็นชอบใหนําเสนอนวดไทยเพ่ือข้ึนทะเบียนจารึกฉบับภาษาอังกฤษอีกครั้งเพ่ือสงใหฝายเลขานุการอนุสัญญาฯ พิจารณา

ผลการดําเนินงาน

ในการยกระดับนวดไทยใหผานการรับรองจาก UNESCO เพ่ือรองรับการขับเคลื่อนนโยบาย

Medical Hub กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดจัดทําหนังสือการเสนอนวดไทยเพ่ือข้ึนทะเบียนจารึกฉบับ

ภาษาอังกฤษ ไปยังกรมสงเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม เม่ือวันท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๖๑

หนา 38

Page 43: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

3.7 การพัฒนา Healthy Home Stay นํารองเพ่ือสงเสริมการพํานักระยะยาวเพ่ือสุขภาพ หลักการและเหตุผล

ตามท่ีรัฐบาลไดมีนโยบายสงเสริมใหมีการทองเท่ียวในรูปแบบตางๆ ไมวาจะเปนการทองเท่ียว

ในแหลงธรรมชาติ การทองเท่ียวในแหลงวัฒนธรรม และการทองเท่ียวในความสนใจพิเศษ ซ่ึงการทองเท่ียว

แบบโฮมสเตยกําลังไดรับความนิยมมากในประเทศ โดยเปนการทองเท่ียวเชิงนิเวศนซ่ึงตั้งอยูในแหลงธรรมชาติ

มีรูปแบบการทองเท่ียวในลักษณะการเรียนรูทางวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของชาวบานซ่ึงมีเสนห/มีเอกลักษณ

เฉพาะประจําถ่ิน กิจกรรมในโฮมสเตยจะออกแบบใหนักทองเท่ียวไดรับประสบการณตรงจากแหลงทองเท่ียว/

ใหนักทองเท่ียวพักรวมกันกับเจาของบาน เพ่ือจะเรียนรูวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของเจาของบาน มีการถายทอด

ทางวัฒนธรรมซ่ึงกันและกัน การทองเท่ียวแบบโฮมสเตยจะตอบสนองความตองการใหมๆ ของนักทองเท่ียว

ไดอยางเหมาะสมโดยมีเจตนารมณหลักเพ่ือนําไปสูการพัฒนาอยางยั่งยืนและเปนการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ

กรมการทองเท่ียวไดพัฒนามาตรฐานโฮมสเตย โดยประกาศใชในป พ.ศ. 2555 ซ่ึงประเทศไทย

มีสถานประกอบการท่ีไดรับการรับรองแลวท่ัวประเทศ รวม 140 แหง จาก 51 จังหวัด (ขอมูล 2 6จาก 2 6กอง

พัฒนาบริการทองเท่ียว กรมการทองเท่ียว 2 6 เรื่องรายช่ือโฮมสเตยท่ีผานการประเมินมาตรฐานโฮมสเตยไทย

ป พ.ศ. 2555 – 2558 วันท่ีประกาศ 19 ก.พ. 2559) โดยแบงมาตรฐานโฮมสเตยไทยออกเปน 10 ดาน

ประกอบดวย ดานท่ีพัก อาหาร ความปลอดภัย อัธยาศัยไมตรีของเจาบานและสมาชิก รายการนําเท่ียว

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม การสรางคุณคาและมูลคาของผลิตภัณฑชุมชน การบริหารของ

กลุมโฮมสเตย และการประชาสัมพันธ ตาม ประกาศกรมทองเท่ียว เรื่อง กําหนดมาตรฐานบริการทองเท่ียว

มาตรฐานโฮมสเตยไทย พ.ศ. 2554

การพัฒนากิจกรรมในโฮมสเตยใหมีความนาสนใจ /ดึงดูดนักทองเท่ียว ถือไดวาเปนปจจัยสําคัญท่ีจะทําใหโฮมสเตยไดรับความนิยมมากข้ึน โดยเฉพาะกิจกรรมท่ีเก่ียวเนื่องกับสุขภาพ เชน เมนูอาหารเพ่ือสุขภาพ การออกกําลังกายเพ่ือสุขภาพ สมาธิบําบัด การรักษาความสะอาด ความปลอดภัยของท่ีพักอาศัยตามความพรอมของชุมชน เชน นวดเพ่ือสุขภาพ สปาเพ่ือสุขภาพ การปลูกผักปลอดสารพิษ เพ่ือนําไปสูการสรางมูลคาเพ่ิม และดํารงไวซ่ึงภูมิปญญา /วิถีชีวิต การมี Referral System กับสถานบริการสุขภาพในพ้ืนท่ี การเพ่ิมกิจกรรมสุขภาพใหมๆ สําหรับการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ (Health Tourism) ท่ีมี Home stay เปนท่ีพัก ไดรับความนิยมเพ่ิม มากข้ึน ท้ังในกลุมชาวไทยและชาวตางชาติ ซ่ึงจัดใหมีกิจกรรมในดานตางๆ ตามความตองการ ของนักทองเ ท่ียว โดยเฉพาะเรื่องสุขภาพของนักทองเ ท่ียว อาทิเชน จัดกิจกรรมสง เสริมสุขภาพ การบําบัดรักษาฟนฟูสุขภาพ การฝกปฏิบัติสมาธิ การนวด /อบ /ประคบสมุนไพร ทําอาหาร /เมนูสุขภาพ ลดเค็ม ลดหวานรับประทานอาหารพ้ืนบานปลอดสารพิษ การสรางเสริมสุขภาพและสุขภาพจิตใหสดชื่นผองใส เปนการเพ่ิมพูนพละกําลังใหสมบูรณแข็งแรง ปรับสภาพจิตใจและรางการใหสมดุล ซ่ึงภายหลังนักทองเท่ียวสามารถนํากลับไปปรบัประยุกตใชในชีวิตประจําวันได รวมท้ังมีการจัดการระบบเชื่อมโยงบริการในกรณีฉุกเฉิน

จากขอมูลดังกลาว กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จึงมีแนวคิดในการพัฒนาและยกระดับ Home Stay ท่ีไดมาตรฐานใหมีการจัดบริการท่ีนําไปสูการมีสุขภาพดีของผูมารับบริการ (Healthy Home stay) เพ่ือยกระดับพ้ืนท่ีใหเปนการทองเท่ียวเชิงสุขภาพสูสากลตอไป

หนา 39

Page 44: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ผลการดําเนินงาน

1. ประชุมเพ่ือพัฒนา Healthy Home Stay รองรับการเปนศูนยกลางบริการเพ่ือสงเสริมสุขภาพ (Wellness Hub) ในวันอังคารท่ี 6 กุมภาพันธ 2561 เวลา 13.30 – 16.30 น. ณ หองประชุม 3 ชั้น 9 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ซ่ึงท่ีประชุมมีมติให กรมฯดําเนินการพัฒนาหลักสูตร Healthy Home Stay รองรับการเปนศูนยกลางบริการเพ่ือสงเสริมสุขภาพ (Wellness Hub) โดยเสนอใหศึกษาดูงานตนแบบ Home Stay ท่ีมีศักยภาพ จังหวัดสมุทรปราการ

2. ประชุมเพ่ือพัฒนาหลักสูตร Healthy Home Stay รองรับการเปนศูนยกลางบริการเพ่ือสงเสริมสุขภาพ (Wellness Hub) ในวันศุกรท่ี 23 มีนาคม 2561 เวลา 08.30 - 16.30 น. ณ หองประชุมองคการบริหารสวนตําบลบางน้ําผึ้ง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ซ่ึงมติท่ีประชุมมอบหมายใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ยกรางมาตรฐาน Healthy Home Stay เพ่ือออกแบบเปนตารางการอบรม พรอมท้ังเนื้อหาสาระของหลักสูตรและหลักเกณฑการประเมินตอท่ีประชุมอีกครั้งกอนดําเนินการตอไป

3. ประชุมเพ่ือพัฒนา (ราง) หลักสูตร Healthy Home Stay รองรับการเปนศูนยกลางบริการเพ่ือสงเสริมสุขภาพ (Wellness Hub) ครั้งท่ี 2/2561 ในวันศุกรท่ี 11 พฤษภาคม 2561 เวลา 13.30 - 16.30 น. ณ หองประชุม 6 ชั้น 9 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ซ่ึงมติท่ีประชุมมอบหมายใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพนําเสนอ (ราง)มาตรฐาน Healthy Home Stay ตอท่ีประชุมคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครั้งท่ี 1/2561 ในวันท่ี 6 มิถุนายน 2561 4. ประชุมคณะกรรมการอํานวยการคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครั้งท่ี 1/2561 วันท่ี 6 มิถุนายน 2561 เวลา 13.30 - 16.30 น. ณ หอง ประชุมชัยนาทนเรนทร ชั้น 2 สํานกงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มติท่ีประชุมคณะกรรมการอํานวยการเห็นชอบในหลักการ และมอบหมายใหฝายเลขาฯ กําหนดระดับเปนดาว เชน 3-5 ดาวแทนการใหเปนมาตรฐาน โดยเนนในเรื่องความสะอาดและปลอดภัยเพ่ือใหการตรวจประเมินไมมีความยุงยากและเกิดผลเชิงบวกท้ังตอผูประกอบการและผูเขารับบริการ 5. ลงพ้ืนท่ีตรวจประเมินและรับรองมาตรฐานโฮมสเตย รวมกับกรมการทองเท่ียว กระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา ใน 3 เสนทางดังนี้ 1) เสนทางท่ี 7 สงขลา-พัทลุง-ปตตานี ชวงเวลาประเมิน วันท่ี 10-13 กันยายน 2561 2) เสนทางท่ี 9 ขอนแกน-รอยเอ็ด ชวงเวลาประเมินวันท่ี 17-20 กันยายน 2561 3) เสนทางท่ี 12 เลย-หนองคาย ชวงเวลาประเมินวันท่ี 24-27 กันยายน 2561

4. การพัฒนาประเทศไทยสูการเปนศูนยกลางบริการรักษาพยาบาล (Medical Service Hub) 4.๑ การขยายเวลาพํานักในราชอาณาจักรไทย รวม ๙๐ วัน สําหรับผูปวยและผูติดตามรวม 4 ราย กรณีเดินทางเขามารักษาพยาบาล ความเปนมา 1. คณะรัฐมนตรีไดมีมติเม่ือวันท่ี 20 มีนาคม 2555 อนุมัติในหลักการของการขยายเวลาพํานักในราชอาณาจักรไทย รวม ๙๐ วัน สําหรับผูปวยและผูติดตามรวม 4 ราย กรณีเดินทางเขามารักษาพยาบาล ในกลุมประเทศสมาชิกคณะมนตรีความรวมมือรัฐอาวอาหรับ (Gulf cooperation Council : GCC) รวม ๖ ประเทศ ไดแก ราชอาณาจักรบาหเรน รัฐคูเวต รัฐสุลตานโอมาน รัฐกาตาร ราชอาณาจักรซาอุดิอาระเบีย และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส ตามท่ีกระทรวงสาธารณสุขเสนอ ประกอบกับกระทรวงมหาดไทยไดออกประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กําหนดรายชื่อประเทศท่ีผูถือหนังสือเดินทางหรือเอกสารใชหนังสือเดินทาง ซ่ึงเขามาในราชอาณาจักรเปนการชั่วคราวเพ่ือรับการรักษาพยาบาลและผูติดตามไดรับยกเวนการตรวจลงตรา และใหอยูในราชอาณาจักรไดไมเกินเกาสิบวัน ลงวันท่ี 19 ธันวาคม 2555 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 129 ตอนพิเศษ

หนา 40

Page 45: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

197 ง เม่ือวันท่ี 28 ธันวาคม 2555 และมีผลใชบังคับต้ังแตวันท่ี 4 มกราคม 2556 เปนตนมา รวมท้ังกฎกระทรวงมหาดไทย กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขในการตรวจ การยกเวน และการเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวันท่ี 19 ธันวาคม 2555 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 129 ตอนพิเศษ 127 ก เม่ือวันท่ี 28 ธันวาคม 2555

2. คณะรัฐมนตรีไดมีมติเม่ือวันท่ี 1 พฤศจิกายน 2559 อนุมัติในหลักการขยายเวลาพํานัก ในราชอาณาจักรไทย รวม ๙๐ วัน สําหรับผูปวยและผูติดตามรวมไมเกิน 4 ราย กรณีเดินทางเขามารับการรักษาพยาบาล ในกลุมประเทศ CLMV และสาธารณรัฐประชาชนจีน ตามท่ีกระทรวงสาธารณสุขเสนอ ประกอบกับกระทรวงมหาดไทยไดออกประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กําหนดรายชื่อประเทศท่ีผูถือหนังสือเดินทางหรือเอกสารใชหนังสือเดินทาง ซ่ึงเขามาในราชอาณาจักรเปนการชั่วคราวเพ่ือรับการรักษาพยาบาลและผูติดตามไดรับยกเวนการตรวจลงตรา และใหอยูในราชอาณาจักรไดไมเกินเกาสิบวัน (ฉบับท่ี 2) ลงวันท่ี 8 กุมภาพันธ 2560 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 134 ตอนพิเศษ 80 ง เม่ือวันท่ี 14 มีนาคม 2560 และมีผลใชบังคับตั้งแตวันท่ี 22 มีนาคม 2560 เปนตนมา

3. ผูบริหารระดับสูงของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดเดินทางไปราชการตางประเทศ ไดแก ราชอาณาจักรนอรเวย ราชอาณาจักรเดนมารก ราชอาณาจักรสวีเดน สหรัฐอเมริกา และญ่ีปุน เพ่ือเขารวมงาน/ออกบูธประชาสัมพันธนโยบายการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ ในงานเทศกาลไทย (Thai Festival) รวมท้ังไดเขาเยี่ยมคารวะและหารือกับเอกอัครราชทูตไทย/กงสุลใหญไทย เก่ียวกับระบบบริการสุขภาพของประเทศไทย และการดําเนินงานดานนโยบาย Medical Hub ซ่ึงไดรับความสนใจเปนอยางมาก เนื่องจากกลุมประเทศเหลานี้มีศักยภาพและมีจํานวนผูปวยเพ่ิมสูงข้ึน โดยในการประชุมไดมีการหารือในเรื่องของความเปนไปไดในการขยายเวลาพํานักในราชอาณาจักรไทยรวม 90 วัน สําหรับผูปวยและผูติดตามรวม 4 ราย กรณีเดินทางเขามารับการรักษาพยาบาลในกลุมประเทศดังกลาว

ผลการดําเนินงาน

1. การปรับปรุงลําดับข้ันตอนท่ีเกี่ยวของกับผูรับบริการ (Work Flow) ครั้งท่ี 2 ในการดําเนินงานการขยายเวลาพํานักในประเทศไทยรวม 90 วัน สําหรับกรณีเดินทางเขามารับการรักษาพยาบาลสําหรับกลุมประเทศ GCC รวมท้ังกลุมประเทศ CLMV และสาธารณรัฐประชาชนจีน

1.1 มติท่ีประชุมเพ่ือพิจารณาการขยายเวลาพํานักในราชอาณาจักรไทยเพ่ือการรักษาพยาบาล 90 วัน ในกลุมประเทศเปาหมายเพ่ิมเติม และทบทวนแนวทางการดําเนินงาน (Work Flow) เม่ือวันท่ี 16 มีนาคม 2561 เห็นควรใหมีการปรับปรุงลําดับข้ันตอนท่ีเก่ียวของกับผูรับบริการ (Work Flow) เพ่ือใหครอบคลุมภารกิจของหนวยงานอ่ืนท่ีเก่ียวของ สําหรับกลุมประเทศ CLMV และจีน และกลุมประเทศ GCC ใน Tier 1 เพ่ิมข้ันตอนในขอ 3 โดยให เ พ่ิมขอ “3.1 สถานพยาบาลตรวจเอกสารผูปวยและผูติดตามโดยแสดงเอกสารยืนยันความสัมพันธของผูติดตาม เชน ทะเบียนบาน ทะเบียนสมรส สูติบัตร สัญญาจาง หรืออ่ืนๆ โดยจะตองแปลเอกสารใหเปนภาษา อังกฤษ ท้ั งนี้ ผู ติ ดตามจะตอง เปนผู มี สัญชาต ิในกลุมประเทศท่ีไดรับการยกเวนการตรวจลงตราเทานั้น”

หนา 41

Page 46: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

และเพ่ิมขอความในสวนของ มีภัย “หากหนวยงานความม่ันคงตองการขอมูลเพ่ิมเติมใหขอท่ีกระทรวงสาธารณสุข” รวมท้ังใหเพ่ิมเติมขอมูลในเอกสารนัดหมายจากสถานพยาบาล Confirmation Letter ไดแก เท่ียวบินขาเขา (Flight No.)/ วันท่ีมาถึงประเทศไทย (Date of Arrival)/ วันท่ีออกจากประเทศไทย (Date of Departure)/ วันท่ีเขารับการรักษา (Date of Admission)/ วันท่ีออกจากโรงพยาบาล (Date of Discharge)/ ท่ีพักในประเทศไทย (Accommodation in Thailand) อีกท้ังท่ีประชุมไดมีการพิจารณาในดานความม่ันคง วามีความเปนไปไดท่ีจะมีผูกอการรายปลอมแปลงเอกสารในการขอเขาประเทศ จึงมีขอเสนอใหใสเลข / ลําดับท่ีในเอกสารนัดหมาย Confirmation letter เพ่ือเพ่ิมปลอดภัยดานความม่ันคง

1.2 มติท่ีประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางบริการรักษาพยาบาล (Medical Service Hub) ครั้งท่ี 1/2561 เม่ือวันท่ี 5 เมษายน 2561 เห็นชอบใหปรับปรุงลําดับข้ันตอนท่ีเก่ียวของกับผูรับบริการ (Work Flow) ในกลุมประเทศ CLMV และกลุมประเทศ GCC โดยมอบหมายใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ แจงเวียนใหหนวยงานท่ีเก่ียวของใหความเห็นชอบ และขออนุมัติใช Work Flow พรอมท้ังดําเนินการประชาสัมพันธแกหนวยงานท่ีเก่ียวของรับทราบ

1.3 มติท่ีประชุมคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครั้งท่ี 1/2561 เม่ือวันท่ี 6 มิถุนายน 2561 เห็นชอบในหลักการปรับปรุงลําดับข้ันตอนท่ีเก่ียวของกับผูรับบริการ (Work Flow) ในการดําเนินงาน สําหรับกรณีเดินทางเขามา รับการรักษาพยาบาลสําหรับกลุมประเทศ GCC รวมท้ัง CLMV และจีน ครั้งท่ี 2

1.4 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองสุขภาพระหวางประเทศไดดําเนินการจัดสงหนังสือการปรับปรุงลําดับข้ันตอนท่ีเก่ียวของกับผูรับบริการ (Work Flow) ในการดําเนินงานการขยายเวลาพํานักในประเทศไทยรวม 90 วัน สําหรับกรณีเดินทางเขามารับการรักษาพยาบาลสําหรับกลุมประเทศ GCC รวมท้ัง CLMV และจีน ครั้งท่ี 2 ถึงหนวยงานท่ีเก่ียวของ ไดแก สํานักงานตรวจคนเขาเมือง สํานักขาวกรองแหงชาติ กองบังคับการตํารวจสันติบาล กรมการกงสุล และสมาคมโรงพยาบาลเอกชน เพ่ือพิจารณาความเปนไปได ในการใชลําดับข้ันตอนดังกลาว โดยหนวยงานดังกลาว ไดมีหนังสือแจงผลการพิจารณา ดังนี ้

1.1 สํานักงานตรวจคนเขาเมือง เห็นดวยกับการปรับปรุงลําดับข้ันตอนท่ีเก่ียวของกับผูรับบริการ (Work Flow)

1.2 กรมการกงสุล ไม ขัดของในหลักการตอการปรับปรุงลําดับข้ันตอนท่ีเก่ียวของกับผูรับบริการ (Work Flow) ในกลุมประเทศ GCC และในกลุมประเทศ CLMV และจีน ครั้งท่ี 2

1.3 สํานักขาวกรองแหงชาติ มีความเห็นวาการการปรับปรุงข้ันตอนท่ีเก่ียวของกับผูรับบริการ (Work Flow) ในกลุมประเทศ GCC และในกลุมประเทศ CLMV และจีน จะเปนประโยชนตอการดําเนินการดานความม่ันคงและการปกปองผลประโยชนแหงชาติในอนาคตตอไป

1.4 กองบังคับการตํารวจสันติบาล เห็นชอบในการปรับปรุงลําดับข้ันตอนท่ีเก่ียวของกับผูรับบริการ (Work Flow)

1.5 สมาคมโรงพยาบาลเอกชน ไมขอแกไขและไมขัดของ ตามมติคณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางบริการรักษาพยาบาล (Medical Service Hub) ครั้งท่ี 1/2561 เม่ือวันท่ี 5 เมษายน 2561

1.6 ตามหนังสือกองสุขภาพระหวางประเทศ ท่ี สธ 0707.03/2687 ลงวันท่ี 31 สิงหาคม 2561 ไดอนุมัติใหใชลําดับข้ันตอนท่ีเก่ียวของกับผูรับบริการ (Work Flow) ในการดําเนินงานการขยายเวลาพํานักในประเทศไทยรวม 90 วัน สําหรับกรณีเดินทางเขามารับการรักษาพยาบาลสําหรับกลุมประเทศ GCC รวมท้ังกลุมประเทศ CLMV และสาธารณรัฐประชาชนจีน ฉบับปรับปรุงใหม ครั้งท่ี 2 และไดดําเนินการ

หนา 42

Page 47: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

สงประชาสัมพันธหนวยงานท่ีเก่ียวของ โรงพยาบาลท่ีสมัครเขารวมโครงการฯ และสถานเอกอัครราชทูตในกลุมประเทศดังกลาว เพ่ือใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงาน เม่ือวันท่ี 28 กันยายน 2561

1.7 กองสุขภาพระหวางประเทศ อยูระหวางการขออนุมัติใหใชข้ันตอนการปฏิบัติงานภายใน (Work Flow) และเอกสารนัดหมายจากสถานพยาบาล (Confirmation Letter) ฉบับปรับปรุงรองรับการดําเนินการขยายเวลาพํานักในประเทศไทยรวม 90 วันสําหรับกรณีเดินทางเขามารับการรักษาพยาบาลสําหรับกลุมประเทศ GCC / CLMV และสาธารณรัฐประชาชนจีน เพ่ือปองกันการปลอมแปลงเอกสารและเพ่ิมความปลอดภัยดานความม่ันคง ซ่ึงเม่ือไดรับการอนุมัติจากอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพแลว จะดําเนินการสงประชาสัมพันธหนวยงานท่ีเก่ียวของ และโรงพยาบาลท่ีสมัครเขารวมโครงการฯ เพ่ือใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงาน

2. การเพ่ิมเติมกลุมประเทศเปาหมาย ไดแก ราชอาณาจักรนอรเวย ราชอาณาจักรเดนมารก ราชอาณาจักรสวีเดน สหรัฐอเมริกา และญ่ีปุน ในการยกเวนการตรวจลงตราเพ่ือการรักษาพยาบาล รวม 90 วัน สําหรับผูปวยและผูติดตาม รวมไมเกิน 4 ราย

2.1 การประชุมคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครั้งท่ี 1/2560 เม่ือวันท่ี 29 กันยายน 2560 โดยมีผูชวยรัฐมนตรีประจํากระทรวงสาธารณสขุและปลดักระทรวงการทองเท่ียวและกีฬาเปนประธาน มีการพิจารณาการเพ่ิมเติมกลุมประเทศในการขยายเวลาพํานักในราชอาณาจักรไทยเพ่ือการรักษาพยาบาล 90 วัน ไดแก ราชอาณาจักรนอรเวย ราชอาณาจักรเดนมารก ราชอาณาจักรสวีเดน สหรัฐอเมริกา และญี่ปุน โดยท่ีประชุมมีมติมอบหมายให กรมสนับสนุนบริการสุขภาพพิจารณาความเหมาะสม วิเคราะหขอดี ขอเสีย ผลกระทบ และความคุมคา ของการขยายเวลาฯ ใหกลุมประเทศเปาหมายเพ่ิมเติมดังกลาว รวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของและหนวยงานดานความม่ันคง 2.2 มติการประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางบริการรักษาพยาบาล (Medical Service Hub) ครั้งท่ี 1/2560 เม่ือวันท่ี 21 ธันวาคม 2560 มอบหมายใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จัดประชุมหารือเพ่ือพิจารณาความเหมาะสมรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ เชน กระทรวงการตางประเทศ สํานักงานตรวจคนเขาเมือง หนวยงานดานความม่ันคง และหนวยงานอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของท้ังภาครัฐและเอกชน และสรุปเพ่ือนํามาเปนขอเสนอเชิงนโยบายนําเสนอคณะกรรมการอํานวยการฯ พิจารณาในการประชุมครั้งถัดไป 2.3 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดมีการประชุมรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ และหนวยงานดานความม่ันคง เม่ือวันท่ี 16 มีนาคม 2561 เพ่ือพิจารณาในรายละเอียดของการขยายเวลาพํานักในราชอาณาจักรไทยเพ่ือการรักษาพยาบาล 90 วันในกลุมประเทศเปาหมายเพ่ิมเติม และทบทวนแนวทางการดําเนินงาน (Work Flow) ซ่ึงท่ีประชุมมีมติเห็นชอบในหลักการขยายเวลาพํานักในราชอาณาจักรไทยเพ่ือการรักษาพยาบาล 90 วัน ในกลุมประเทศเปาหมายเพ่ิมเติม ไดแก ราชอาณาจักรนอรเวย ราชอาณาจักรเดนมารก ราชอาณาจักรสวีเดน สหรัฐอเมริกา และญี่ปุน เนื่องจากเปนประเทศท่ีมีศักยภาพสูงไมมีปญหาทางดานความม่ันคงของประเทศไทยและนิยมเดินทางมาเขารับบริการรักษาพยาบาลในประเทศไทย 2.4 มติการประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางบริการรักษาพยาบาล (Medical Service Hub) ครั้งท่ี 1/2561 เม่ือวันท่ี 5 เมษายน 2561 เห็นควรใหสํารวจความตองการของโรงพยาบาลเอกชน และหนวยงานท่ีเก่ียวของใหขอคิดเห็นเพ่ิมเติมตอกรณีการเพ่ิมกลุมประเทศเปาหมายเพ่ิมเติม 5 ประเทศ ไดแก ราชอาณาจักรนอรเวย ราชอาณาจักรเดนมารก ราชอาณาจักรสวีเดน สหรัฐอเมริกา และญี่ปุน 2.5 หนังสือกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ดวนท่ีสุด ท่ี สธ 0707.03/530 ลงวันท่ี 11 พฤษภาคม 2561 ไดแจงเวียนกองบัญชาการตํารวจสันติบาล สํานักขาวกรองแหงชาติ สํานักงานตรวจคน

หนา 43

Page 48: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

เขาเมือง กรมการกงสุล และกรมการทองเท่ียว เพ่ือพิจารณาขยายเวลาพํานักในราชอาณาจักรไทยเพ่ือการรักษาพยาบาล 90 วัน สําหรับผูปวยและผูติดตามรวม 4 ราย ในกลุมประเทศเปาหมายเพ่ิมเติม ไดแก นอรเวย เดนมารก สวีเดน สหรัฐอเมริกา และญี่ปุน โดยหนวยงานดังกลาว ไดมีหนังสือแจงผลการพิจารณา ดังนี้ 2.5.1 หนังสือกองบัญชาการตํารวจสันติบาล ดวนท่ีสุด ท่ี ตช.0028.34/1432 ลงวันท่ี 28 พฤษภาคม 2561 เห็นชอบในการขยายกลุมประเทศเปาหมายเพ่ิมอีก 5 ประเทศ 2.5.2 หนังสือสํานักขาวกรองแหงชาติ ดวนท่ีสุด ท่ี นร 0607/2550 ลงวันท่ี 30 พฤษภาคม 2561 ไมมีขอขัดของแตอยางใด เนื่องจากกลุมประเทศดังกลาวไมใชกลุมเสี่ยงท่ีเปนภัยตอความม่ันคงของชาติ 2.5.3 หนังสือสํานักงานตรวจคนเขาเมือง ดวนท่ีสุด ท่ี ตช 0029.211/1672 ลงวันท่ี 5 มิถุนายน 2561 ไมมีขอขัดของตอการเพ่ิมเติมกลุมประเทศดังกลาว ตามหนังสือกรมการกงสุล ดวนมาก ท่ี กต 0303/15386 ลงวันท่ี 14 มิถุนายน 2561 ไมมีขอขัดของหากประสงคจะดําเนินในสวนท่ีเก่ียวของตอการขยายกลุมประเทศเปาหมายเพ่ิมอีก 5 ประเทศ เนื่องจากคนจากประเทศกลุมนี้เปนกลุมคนท่ีมีศักยภาพและกําลังจายสูง และไมมีปญหาตอความม่ันคงหรือเปนภัยคุกคามตอไทย

2.5.4 ตามหนังสือกรมการทองเท่ียว ท่ี กก 0404/6382 ลงวันท่ี 19 มิถุนายน 2561 เห็นควรสนับสนุนการขยายเวลาพํานักในราชอาณาจักรไทยเพ่ือการรักษาพยาบาล 90 วัน สําหรับผูปวยและผูติดตามรวม 4 ราย ในกลุมประเทศเปาหมายเพ่ิมเติม 2.6 มติการประชุมคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครั้งท่ี 1/2561 เม่ือวันท่ี 6 มิถุนายน 2561 โดยมีรัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา และผูชวยรัฐมนตรีประจํากระทรวงสาธารณสุข เปนประธานเห็นชอบใหเสนอเรื่องการเพ่ิมเติมกลุมประเทศเปาหมาย ไดแก ราชอาณาจักรนอรเวย ราชอาณาจักรเดนมารก ราชอาณาจักรสวีเดน สหรัฐอเมริกา และญ่ีปุน ในการยกเวนการตรวจลงตราเพ่ือการรักษาพยาบาล รวม 90 วัน สําหรับผูปวยและผูติดตามรวมไมเกิน 4 ราย เขาสูการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี 2.7 ปจจุบันกรมสนับสนุนบริการสุขภาพอยูระหวางจัดทําหนังสือเสนอคณะรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณาอนุมัติในหลักการ โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือเปนการอํานวยความสะดวกใหแกชาวตางชาติในกลุมประเทศท่ีมีศักยภาพเดินทางเขาสูประเทศไทยเพ่ือการรักษาพยาบาลเพ่ิมมากข้ึน และตอบสนองตอนโยบายของรัฐบาลดานการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ โดยภายหลังจากท่ีคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติในหลักการ กระทรวงมหาดไทยจะตองดําเนินการออกประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง กําหนดรายชื่อประเทศท่ีผูถือหนังสือเดินทางหรือเอกสารใชหนังสือเดินทาง ซ่ึงเขามาในราชอาณาจักรเปนการชั่วคราวเพ่ือรับการรักษาพยาบาลและผูติดตามไดรับยกเวนการตรวจลงตรา และใหอยูในราชอาณาจักรไดไมเกินเกาสิบวัน (ฉบับท่ี...)

4.2 การพัฒนาระบบประกันอุบัติเหตุสําหรับชาวตางชาติท่ีเดินทางเขาสูประเทศไทย (Personal Accidental Fee) ความเปนมา 1. โดยท่ีในปจจุบันชาวตางชาตินิยมเดินทางมาประเทศไทยเปนจํานวนมากเพ่ือการทองเท่ียว เพ่ือการพํานักระยะยาว ประกอบธุรกิจ และเพ่ือวัตถุประสงคอ่ืนใด ท้ังนี้จากขอมูลในปจจุบันพบวา เม่ือชาวตางชาติประสบอุบัติเหตุหรือประสบปญหาดานสุขภาพบางสวนเขารับบริการรักษาพยาบาลของทางราชการและเอกชน เม่ือการรักษาดังกลาวแลวเสร็จมิไดชําระคารักษาพยาบาลใหแกสถานพยาบาล สาเหตุเกิดข้ึนจากหลายประการ เชน ชาวตางผูนั้นมีทุนทรัพยไมเพียงพอ ประกันสุขภาพท่ีซ้ือมาจากประเทศตนทางไมสามารถเบิกจายตรงไดในประเทศไทย เปนตน ประกอบกับสถานพยาบาลไมสามารถติดตามเรียกเก็บคาใชจายท่ีเกิดข้ึนไดท้ังหมด และสถานเอกอัครราชทูต/สถานกงสุลของประเทศนั้น ๆ ก็มิไดมีงบประมาณ

หนา 44

Page 49: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

เพ่ือชวยเหลือเยียวยาแตอยางใด จึงพบปญหาดานคาใชจายในการใชบริการรักษาพยาบาลในประเทศ เกิดภาระแกสถานพยาบาลและอาจจะกระทบตอการจัดบริการสุขภาพของคนไทยท้ังระบบ ดังนั้น เพ่ือใหชาวตางชาติ ทุกรายท่ีพํานักในประเทศไทยเพ่ือการใด ๆ สามารถเขาถึงบริการสุขภาพในกรณีประสบอุบัติเหตุขณะพํานักในประเทศไทยไดอยางมีประสิทธิภาพและเปนระบบ ดังเชนระบบหลักประกันสุขภาพท่ีมีใหแกชาวไทยทุกคน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพจึงจําเปนตองพิจารณาความเปนไปไดในการพัฒนาระบบประกันอุบัติเหตุสําหรับชาวตางชาติท่ีเดินทางเขาสูประเทศไทย (Personal accidental fee) ในลักษณะภาคบังคับ (Compulsory) ซ่ึงจะเปนการใหความคุมครอง สรางหลักประกันความม่ันคงในชีวิต สามารถชวยบรรเทาความเดือดรอนเม่ือเกิดความเสียหายแกรางกายและชีวิตของชาวตางชาติทุกรายท่ีเดินทางเขาสูประเทศไทย

2. ในคราวประชุมคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาและสงเสริมประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ ครั้งท่ี 1/2560 เม่ือวันท่ี 29 กันยายน 2560 มีมอบหมายใหคณะอนุกรรมการฯ พิจารณาแนวทางการพัฒนาระบบประกันอุบัติเหตุสําหรับชาวตางชาติ ท่ีเดินทางเขาสูประเทศไทย ในลักษณะภาคบังคับ ใหมีความชัดเจน ครอบคลุม โดยแนวทางดังกลาวจะตองตอบสนองตอปญหาท่ีเกิดแกระบบสาธารณสุขของประเทศ รวมท้ังวิธีการซ้ือประกันอุบัติเหตุท่ีกําหนดข้ึนนั้นจะตองไมกระทบหรือเปนอุปสรรคตอการเดินทางของชาวตางชาติ ประกอบกับในคราวประชุมคณะอนุกรรมการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางบริการรักษาพยาบาล (Medical Service Hub) ครั้งท่ี 1/2560 เม่ือวันพฤหัสบดีท่ี 21 ธันวาคม 2560 มีมติเห็นชอบในหลักการพัฒนาระบบประกันอุบัติเหตุสําหรับชาวตางชาติในลักษณะภาคบังคับ โดยมอบหมายใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพดําเนินการจัดทํารายละเอียดท่ีเก่ียวของในการพัฒนาระบบประกันอุบัติเหตุสําหรับชาวตางชาติ และสรุปเพ่ือนําเสนอคณะกรรมการอํานวยการฯ ผลการดําเนินงาน

1. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จัดประชุมรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ เม่ือวันท่ี 6 มีนาคม 2561 และวันท่ี 4 มิถุนายน 2561 ประกอบดวยผูแทนกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา/ กระทรวงมหาดไทย/ กรมการกงสุล/ กรมทาอากาศยาน/ สํานักงานตรวจคนเขาเมือง/ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย/ การทาเรือแหงประเทศไทย/ สํานักงาน คปภ./ บริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด มหาชน/ สมาคมประกันชีวิตไทย/ สมาคมประกันวินาศภัยไทย/ สมาคมโรงพยาบาลเอกชน และหนวยงานอ่ืนๆท่ีเก่ียวของ เพ่ือพิจารณาความเปนไปไดในการพัฒนาระบบประกันอุบัติเหตุสําหรับชาวตางชาติท่ีเดินทางเขาสูประเทศไทย (Personal Accidental Fee) ซ่ึงไดขอสรุปเพ่ือพิจารณาดังนี้

1.1 สภาพในปจจุบัน (1) ในปจจุบันชาวตางชาติยังไมมีการทําประกันภัยกอนเดินทางเขาสูประเทศในลักษณะภาค

บังคับ (Compulsory) รวมท้ังยังไมมีกฎหมายฉบับใดกําหนดหลักเกณฑเก่ียวกับการกําหนดใหชาวตางชาติ ตองซ้ือประกันภัยประกอบการขอรับการตรวจลงตราหรือกอนเดินทางเขาสูประเทศไทยเปนการเฉพาะ

(2) จากการท่ีนักทองเท่ียวชาวตางชาติเดินทางเขาสูประเทศไทยเพ่ิมข้ึนทุกป ซ่ึงชาวตางชาติ ท่ีเดินทางเขามามีท้ังกลุมท่ีทําประกันสุขภาพ และไมทําประกันสุขภาพกอนเดินทาง ปจจุบันพบวา มีชาวตางชาติประสบอุบัติเหตุหรือประสบปญหาดานสุขภาพเขารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลท้ังภาครัฐและเอกชน บางรายไมสามารถชําระคารักษาพยาบาลไดเต็มจํานวนตามท่ีสถานพยาบาลเรียกเก็บ จึงสงผลกระทบตอการจัดบริการของสถานพยาบาลเปนอยางมาก สาเหตุหลักคือไมมีทุนทรัพยเพียงพอ

หนา 45

Page 50: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

และไมมีการทําประกันสุขภาพกอนเดินทางเขาสูประเทศ โดยท่ีสถานพยาบาลจะตองรับภาระคาใชจายในสวนนี้ซ่ึงมีแนวโนมท่ีเพ่ิมสูงข้ึน กอใหเกิดเปนหนี้สูญของสถานพยาบาล

(3) มีกองทุนชวยเหลือเยียวยานักทองเท่ียวชาวตางชาติ ตามระเบียบกองทุนชวยเหลือเยียวยานักทองเท่ียวชาวตางชาติ ของกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา ตั้งข้ึนโดยมีวัตถุประสงคเพ่ือชวยเหลือเยียวยานักทองเท่ียวชาวตางชาติท่ีเดินทางเขามาประเทศไทย ท่ีเกิดการสูญเสีย หรือเสียหายได ท้ังในภาวะปกติ หรือภาวะวิกฤติ โดยมิไดเกิดจากความประมาท เจตนา หรือการกระทําท่ีผิดกฎหมายของนักทองเท่ียว ซ่ึงเปนการสรางความเชื่อม่ันใหกับนักทองเท่ียวชาวตางชาติท่ีเดินทางเขามาทองเท่ียวในประเทศไทย 1.2 แนวทางการแกปญหา โดยท่ีสมควรมีการกําหนดวิธีการแกไขปญหาท่ีเกิดข้ึน จึงเห็นควรกําหนดใหมีมาตรการดังนี้ (๑) เห็นควรใหมีการพิจารณาความเปนไปไดในการจัด เ ก็บค า ธรรม เนี ยมชนิ ด ใหม ๆ เช น ค า เบี้ ยประ กันภั ย / คาธรรมเนียมเพ่ือการสงเสริมการทองเท่ียว ท้ังนี้ ในระยะสั้น (6 เดือน) : รัฐบาลจะตองเปนผูดําเนินการซ้ือกรมธรรมรวม 1 ฉบับ เพ่ือคุมครองนักทองเท่ียวชาวตางชาติทุกรายท่ีเดินทางเขาสูประเทศ (1.1) ภาคบังคับ : นักทองเท่ียวทุกรายมีความคุมครองในระดับมาตรฐาน (1.2) เพ่ือการดําเนินการตาม (1) จะตองมีการแกไขกฎหมายวาดวยนโยบายการทองเท่ียวแหงชาติ เพ่ือนําเงินบางสวนจากคาธรรมเนียมการเดินทางเขาประเทศ มาบริหารจัดการในรูปแบบกองทุนฯ และนําไปซ้ือประกันภัยสภาพบังคับท่ีมีความคุมครองในระดับมาตรฐานตาม (1.1) (1.3) สําหรับกฎหมายวาดวยคนเขาเมือง จะตองมีการแกไขเพ่ิมเติมในบางมาตรา เ พ่ือกําหนดให มีการจัด เ ก็บค าธรรมเนียมในสภาพบัง คับได ในการดํ าเนินการจะตองประสาน กับกระทรวงมหาดไทย กระทรวงการตางประเทศ และสํานักงานตรวจคนเขาเมือง (1.4) เพ่ือใหสามารถนําคาธรรมเนียมท่ีจัดเก็บไดไปซ้ือประกันภัย จึงจําเปนตองพิจารณาระเบียบและวิธีการใชจายเงินรายไดดังกลาว ท้ังนี้ ภายใตกฎหมายวาดวยวินัยการเงินการคลังของรัฐ และกฎหมายวาดวยเงินคงคลัง (2) กลุมเปาหมาย : นักทองเท่ียวตางชาติท่ีเดินทางเขามาทองเท่ียวในประเทศไทยซ่ึงมีการตรวจลงตราประเภท TR และชาวตางชาติท่ีไดรับการยกเวนการตรวจลงตราเพ่ือการทองเท่ียว (ท้ังนี้ไมครอบคลุมประเภทอ่ืนๆตามกฎหมายวาดวยคนเขาเมือง) รวมท้ังไมใชบังคับแกผูถือหนังสือเดินทางทูต/หนังสือเดินทางราชการ ตลอดจนผูติดตามของผูถือหนังสือเดินทางดังกลาว และผูถือบัตรผานแดน (Border pass) (3) สําหรับรายละเอียดความคุมครองของกรมธรรม หนวยงานท่ีเก่ียวของ จะไดมีการรวมกันพิจารณารวมกัน โดยหลักการจะแบงออกเปน กรมธรรมท่ีมีความคุมครองพ้ืนฐาน และกรมธรรมสําหรับบุคคลท่ีมีความเสี่ยงสูง ผลการพิจารณาของคณะกรรมการอํานวยการฯ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดเสนอเรื่องเขาสูการพิจารณาของคณะกรรมการอํานวยการฯ ในการประชุมครั้งท่ี 1/2561 เม่ือวันท่ี 6 มิถุนายน 2561 โดยมีรัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา และผูชวยรัฐมนตรีประจํากระทรวงสาธารณสุข เปนประธาน ซ่ึงท่ีประชุมมีมติเห็นชอบในหลักการ และมอบหมายใหกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬาดําเนินการในสวนท่ีเก่ียวของตอไป

หนา 46

Page 51: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

4.3 การพัฒนาศูนยขอมูลสารสนเทศรองรับนโยบาย Medical hub รวมกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของ 4.3.1 การเตรียมการจัดทําบันทึกขอตกลงวาดวยความรวมมือในการจัดทําศูนยขอมูลรองรับนโยบาย Medical Hub และรายละเอียดขอมูล (Minimum data set ) ความเปนมา ตามท่ีประชุมคณะกรรมการอํานวยการและพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางดาน Medical Hub และ Wellness Tourism ครั้งท่ี 7/2559 ไดมีมติเห็นชอบใน (ราง) การจัดทําศูนยขอมูลรองรับนโยบาย Medical Hub เพ่ือใหสามารถรวบรวมและนําขอมูลดาน Medical Hub ของประเทศมาใชประโยชนในการอางอิง และประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบาย การสงเสริมธุรกิจ และการศึกษาวิจัยได ภายใตความรวมมือระหวางหนวยงานแหลงขอมูลท่ีเก่ียวของท้ังภาครัฐและเอกชน กอนดําเนินการเชื่อมโยงขอมูล รวมลงนามในบันทึกขอตกลงวาดวยความรวมมือในการแลกเปลี่ยนขอมูลรองรับนโยบายการพัฒนาประเทศ ใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) และรวบรวม วิเคราะหขอมูล พรอมจัดทําเปนรายงานสถานการณเศรษฐกิจของการประกอบธุรกิจดานสุขภาพ ตามนโยบาย Medical Hub รายไตรมาส เพ่ือเผยแพรสูสาธารณะตอไป ผลการดําเนินงาน 1. จัดประชุมรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของท้ังภายในและภายนอกเพ่ือจัดทําแนวทางการพัฒนา

ระบบสารสนเทศและขอมูลท่ีสําคัญรองรับนโยบาย Medical Hub

1.1 จัดประชุมหารือการจัดเก็บขอมูลรองรับนโยบาย Medical Hub ของหนวยงานภายในกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เม่ือวันท่ี 13 พฤศจิกายน 2560 ณ กรมสนับสนุนบริการสุชภาพ เพ่ือพิจารณาแนวทางการบูรณาการขอมูลภายใตบันทึกขอตกลง (MOU) และพัฒนาขอมูลสําคัญ โดยอาศัยกลไกทางกฎหมายและการสํารวจขอมูลเพ่ิมเติมใหไดชุดขอมูล Minimum data set ซ่ึงตองบูรณาการขอมูลรวมกับหนวยงานภายในกรม/ กระทรวง และหนวยงานภายนอก ไดแก กระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา กระทรวงการตางประเทศ กระทรวงพาณิชย กระทรวงอุตสาหกรรม สํานักงานตรวจคนเขาเมือง ศูนยวิจัยกสิกรไทย และหนวยงานอ่ืนๆ

1.2 จัดประชุมหารือการจัดเก็บขอมูลรองรับนโยบาย Medical Hub ของหนวยงานภายในกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ครั้งท่ี 2/2560 เม่ือวันท่ี 21 พฤศจิกายน 2560 ณ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เพ่ือพิจารณาขอมูลสําคัญท่ีตองเพ่ิมเติมในแบบรายงานสถานพยาบาล และสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ รวมท้ังผังกระบวนงานพัฒนาขอมูลดาน Medical Hub ของหนวยงานภายในกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ซ่ึงมีหนวยงานภายในกรมฯ ท่ีเก่ียวของ ไดแกสํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กองสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ และกลุมเทคโนโลยีสารสนเทศ

หนา 47

Page 52: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

1.3 จัดประชุมหารือการจัดเก็บขอมูลรองรับนโยบาย Medical Hub ของหนวยงานภายในกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ครั้งท่ี 3/2560 เม่ือวันท่ี 30 พฤศจิกายน 2560 ณ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เพ่ือพิจารณารางแบบฟอรมรายงานตามกฎหมายของสถานพยาบาลโดยเพ่ิมเติมขอมูลท่ีจําเปนจากแบบรายงานท่ีมีอยูเดิม (สพ.23 และ สพ.24) / พัฒนารางแบบฟอรมรายงานตามกฎหมายของสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพข้ึนใหม และรวมกันพัฒนาแนวทางการดําเนินการจัดเก็บเพ่ือเชื่อมโยงขอมูลดาน Medical Hub กับหนวยงานภายนอกกระทรวงฯ 1.4 จัดประชุมหารือแนวทางการพัฒนาขอมูลรองรับนโยบาย Medical Hub ของหนวยงาน

ภายในกระทรวงสาธารณสุข เม่ือวันท่ี 18 ธันวาคม 2560 ณ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เพ่ือพิจารณา

แนวทางการบูรณาการขอมูลภายใตบันทึกความตกลง (MOU) และหารือแนวทางในการพัฒนาขอมูลสําคัญ

โดยอาศัยกลไกทางกฎหมายและการสํารวจขอมูลเพ่ิมเติมจากหนวยงานท่ีเก่ียวของ ไดแก ขอมูลนักทองเท่ียว

ชาวตางชาติท่ีเดินทางเขาประเทศจากกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา ขอมูลสถานะทางการตลาด/ แนวโนม

และผลกระทบดานเศรษฐกิจจากศูนยวิจัยกสิกรไทย ขอมูลการจดทะเบียนของนิติบุคคลและกําหนดรหัส

ฐานขอมูลกลางรองรับนโยบาย Medical Hub ของรหัสธุรกิจ (TSIC) จากการะทรวงพาณิชย

1.5 จัดประชุมหารือและศึกษาดูงานการจัดเก็บขอมูลทางสถิติ และวิจัยดานเศรษฐกิจ

ณ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เม่ือวันท่ี 20 ธันวาคม 2560 ณ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

เพ่ือหารือในประเด็น ดังนี้ 1) การพัฒนาศูนยขอมูลรองรับนโยบาย Medical Hub 2) การจัดเก็บขอมูล

ทางดานสถิติและการวิจัยดานเศรษฐกิจ และ 3) แนวทางการบูรณาการศูนยขอมูลรวมกัน ซ่ึงเปนขอมูลบริษัท

จํากัด (มหาชน) ท่ีจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพยฯ/ ขอมูลสรุปจาก Annual Report/ ขอมูลสัดสวนจํานวน

การลงทุนในธุรกิจบริการสุขภาพ และเปอรเซ็นตการเติบโตในธุรกิจการลงทุนดานสุขภาพ

1.6 จัดประชุมหารือและศึกษาดูงานการจัดเก็บขอมูลทางดานสถิติและการเชื่อมโยงขอมูล

ชาวตางชาติรองรับนโยบาย Medical Hub เม่ือวันท่ี 18 มกราคม 2561 ณ กระทรวงการตางประเทศ

ในประเด็นของขอมูลการขอวีซาพํานักระยะยาว (Long Stay Visa) ในเชิงปริมาณแยกตามสัญชาติ และขอมูล

ตางประเทศท่ีเก่ียวของดาน Medical hub ซ่ึงกรมการกงสุลและกรมเศรษฐกิจระหวางประเทศยินดีเชื่อมโยง

ขอมูลการอนุญาตของชาวตางชาติเพ่ือเดินเขาราชอาณาจักรไทยในประเทศตางๆ ในดาน Long Stay visa/

County Profile/ ธุรกิจดาน Medical and Wellness

1.7 จัดประชุมหารือการจัดเก็บขอมูลรองรับนโยบาย Medical Hub ของหนวยงานภายใน

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ครั้งท่ี 1/2561 เม่ือวันท่ี 9 พฤษภาคม 2561 ณ หองประชุม 2 ชั้น 9 อาคาร

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เพ่ือรวมพิจารณาแบบ

รายงานประจําปของสถานพยาบาล (สพ.23 และสพ.24)

และแบบรายงานของสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ

(ประเภทกิจการนวดเพ่ือสุขภาพและนวดเพ่ือเสริมความ

งาม และประเภทกิจการสปาเพ่ือสุขภาพ) ท่ีดําเนินการ

ปรับเปลี่ยนแลวตามมติท่ีประชุมครั้งท่ีผานมา

หนา 48

Page 53: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

1.8 จัดประชุมหารือแนวทางการกําหนดชุดขอมูลสําคัญรองรับนโยบาย Medical Hub

การเชื่อมโยงขอมูลระหวางหนวยงาน และการบริหารความปลอดภัยในการเขาถึงขอมูล เม่ือวันท่ี 12

กรกฎาคม 2561 ณ หองประชุม 6 ชั้น 9 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ซ่ึงท่ีประชุมมอบหมายใหฝายเลขาฯ

แกไขรายละเอียดบันทึกขอตกลงฯตามมติท่ีประชุม พรอมแจงเวียนใหทุกหนวยงานเห็นชอบ และจัดทําตาราง

ชุดขอมูลสําคัญ (Minimum data set) จัดทําหนังสือรองขอขอมูลขอมูลเฉพาะ ในสวนท่ีแตละหนวยงานไมได

เผยแพรผานเว็บไซต จัดทําตัวอยางเว็บไซตกลางท่ีจะใชในการเผยแพรขอมูล และรูปแบบรายงานท่ีจะเกิดข้ึน

ภายหลังการลงนามฯ จัดทําคูมือข้ันตอนการปฏิบัติงานเผยแพรไปยังทุกหนวยงานท่ีจะรวมลงนามฯ เพ่ือใช

เปนแนวทางการปฏิบัติงานไดอยางชัดเจน และเปนไปตามข้ันตอน

1.9 ประชุมหารือการจัดเก็บขอมูลรองรับนโยบาย Medical Hub ของหนวยงานภายใน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ครั้งท่ี 2/2561 เม่ือวันท่ี 12 กันยายน 2561 รวมกับสํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กองสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ และกลุมเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือเปนการเตรียมการระบบขอมูลของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพรองรับการจัดทําศูนยขอมูลตามนโยบาย Medical Hub ซ่ึงท่ีประชุมไดมีการปรับรูปแบบรายงานใหมีรูปแบบท่ีกระชับมากข้ึน โดยคงขอมูลเดิมท่ีเปนประโยชน ตอนโยบายไวและไมเพ่ิมภาระใหแกเจาหนาท่ีผูบันทึกขอมูล รวมถึงพิจารณาแนวทางการสงตอขอมูลใหกับ กลุมเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือบรรจุในเว็บไซตกลางเตรียมเผยแพรขอมูลดังกลาวตอไป

2. จัดประชุมหารือเพ่ือเตรียมการลงนามในบันทึกขอตกลงวาดวยความรวมมือในการจัดทําศูนย

ขอมูลรองรับนโยบาย Medical Hub ครั้งท่ี 2/2561

2.1 จัดประชุมหารือเพ่ือเตรียมลงนามในบันทึกขอตกลงวาดวยความรวมมือในการจัดทําศูนย

ขอมูลรองรับนโยบาย Medical Hub เม่ือวันท่ี 22 กุมภาพันธ 2561 ณ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

เพ่ือพิจารณา (ราง) บันทึกขอตกลงวาดวยความรวมมือในการจัดทําศูนยขอมูลรองรับนโยบาย Medical Hub

ระหวางกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา กระทรวงพาณิชย กระทรวงการตางประเทศ

และบริษัทศูนยวิจัยกสิกรไทยจํากัด และ (ราง) รายงานสถานการณทางเศรษฐกิจของการประกอบธุรกิจภายใต

นโยบาย Medical Hub ในลักษณะ Annual Report เปนรายไตรมาส

2.2 จัดประชุมหารือเพ่ือเตรียมการลงนามในบันทึกขอตกลงวาดวยความรวมมือในการจัดทําศูนย

ขอมูลรองรับนโยบาย Medical Hub ครั้งท่ี 2/2561 เม่ือวันท่ี 30 พฤษภาคม 2561 ณ หองประชุม 3 ชั้น 9

อาคารกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข รวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของท้ังภายในและภายนอก

กรมฯ เพ่ือรวมพิจารณา (ราง) บันทึกขอตกลงฯ ชุดขอมูลสําคัญ (Minimum Data Set) รายละเอียดรายงาน

แนวทางการบริหารจัดการความปลอดภัยในการเขาถึงขอมูล และแนวทางการเชื่อมโยงขอมูลแตละหนวยงาน

3. จัดทําหนังสือแจงเวียนเพ่ือใหทุกหนวยงานท่ีเก่ียวของรวมพิจารณารายละเอียดบันทึกขอตกลง

วาดวยความรวมมือในการแลกเปลี่ยนขอมูลรองรับนโยบาย Medical Hub และแจงความคืบหนาพิธีลงนาม

ในบันทึกขอตกลงฯ

3.1 จัดทําหนังสือแจงใหหนวยงานท่ีเก่ียวของรวมพิจารณา (ราง) บันทึกขอตกลงวาดวยความ

รวมมือในการจัดทําศูนยขอมูลรองรับนโยบาย Medical Hub และรายละเอียดแนบทายบันทึกขอตกลงฯ

หนา 49

Page 54: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

พรอมท้ังเสนอขอคิดเห็นกลับมายังกรมฯ ครั้งท่ี 1 และครั้งท่ี 2 เพ่ือท่ีจะไดนํามาปรับปรุงในบันทึกขอตกลงฯ

และเตรียมการลงนามตอไป

3.2 จัดทําหนังสือขอความอนุเคราะหถึงกองกฎหมาย กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

ใหตรวจสอบรายละเอียดในบันทึกขอตกลงวาดวยความรวมมือในการจัดทําศูนยขอมูลรองรับนโยบาย Medical Hub

เนื่องจากบันทึกขอตกลงดังกลาวอาจมีผลทางดานกฎหมายซ่ึงเก่ียวของกับหนวยงานหลายฝาย

3.3 จัดทําหนังสือเชิญผูแทนหนวยงานท่ีเก่ียวของ ไดแก กรมการกงสุลและกรมเศรษฐกิจ

ระหวางประเทศ กระทรวงการตางประเทศ กรมพัฒนาธุรกิจการคาและสํานักงานนโยบายและยุทธศาสตร

การค า กระทรวงพาณิชย สํ านั กงานปลั ดกระทรวงสาธารณสุข กรมสนับสนุนบริ การสุ ขภาพ

กรมวิทยาศาสตรการแพทยและสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข สํานักงาน

คณะกรรมการสงเสริมการลงทุน และบริษัท ศูนยวิจัยกสิกรไทย จํากัด รวมลงนามบันทึกขอตกลงวาดวยความ

รวมมือในการจัดทําศูนยขอมูลรองรับนโยบาย Medical Hub เม่ือวันท่ี 6 มิถุนายน 2561 ณ หองประชุม

ชัยนาทนเรนทร ชั้น 2 สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

3.4 จัดทําหนังสือแจงเลื่อนพิธีลงนามบันทึกขอตกลงวาดวยความรวมมือในการจัดทําศูนย

ขอมูลรองรับนโยบาย Medical Hub และใหหนวยงานท่ีเก่ียวของพิจารณาทบทวนรายละเอียดใน (ราง) บันทึก

ขอตกลงฯ รวมท้ังกฎหมายและระเบียบท่ีเก่ียวของในประเด็นท่ีเปนขอกังวล ใหมีความครอบคลุมและครบถวน

และสงใหกรมฯ ดําเนินการ เพ่ือเตรียมการลงนามบันทึกขอตกลงฯ ตอไป

การดําเนินงานในระยะถัดไป 1. จัดเตรียมขอมูลของหนวยงานภายในกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ซ่ึงประกอบดวย ขอมูลจากแบบรายงานตามกฎหมายของ 1) สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ และ 2) กองสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ โดยจะรวบรวมขอมูลจากแบบรายงานท่ีมีอยูเดิม พรอมพัฒนาแบบรายงานใหม ใหมีขอมูลสมบรูณมากข้ึน ซ่ึงจะตองเสนอคณะกรรมการสถานพยาบาลและคณะกรรมการสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพพิจารณาตอไป 2. กําหนดแนวทางของวิธีการจัดเก็บ และนําสงขอมูล พรอมรายชื่อผูรับผิดชอบดําเนินการ 3. จัดทําเว็บไซตรองรับการเผยแพรและการเชื่อมโยงขอมูลตามนโยบาย Medical Hub 4. จัดพิธีลงนามในบันทึกขอตกลงวาดวยความรวมมือในการแลกเปลี่ยนขอมูลรองรับนโยบาย Medical Hub 5. เชื่อมโยงขอมูลระหวางหนวยงานท่ีเก่ียวของท้ังภายใน และภายนอก 6. จัดทํารายงานสถานการณเศรษฐกิจของการประกอบธุรกิจดานสุขภาพตามนโยบาย Medical Hub พรอมเผยแพรขอมูลผานเว็บไซตกลาง

หนา 50

Page 55: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

4.3.2 การพัฒนารหัส TSIC (รหัสธุรกิจ) รองรับนโยบาย Medical Hub โดยกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ บูรณาการทํางานรวมกับสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และกระทรวงพาณิชย ความเปนมา

สืบเนื่องจากการประชุมปรึกษาหารือการจัดเก็บขอมูลทางดานสถิติ และการกําหนดรหัสฐานขอมูลกลางรองรับนโยบาย Medical Hub ณ สํานักงานนโยบายและยุทธศาสตรการคา กระทรวงพาณิชย เม่ือวันท่ี 7 กันยายน 2560 รวมกับกรมพัฒนาธุรกิจการคา และสํานักงานนโยบายและยุทธศาสตรการคา กระทรวงพาณิชย พบวาปจจุบันประเทศไทยมีฐานขอมูลรหัส Thailand Standard Industrial Classification (TSIC) ท่ีถูกพัฒนาข้ึนในป 2552 จาก International Standard Industrial Classification (ISIC) ของ UN โดยกรมการจัดหางาน เพ่ือใชในการจําแนกหมวดหมู กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซ่ึงกรมพัฒนาธุรกิจการคาไดนํามาใชในการจดทะเบียน หรือนิติบุคคลท่ีตองยื่นงบการเงิน ซ่ึงกําหนดวาตองระบุประเภทของธุรกิจดวย โดยหากกรมสบส. ตองการไดขอมูลเฉพาะดาน Medical Hub ควรเริ่มตนจากการนํารหัสธุรกิจ (TSIC) ท่ีเปนมาตรฐานสากลมาเปนตัวกําหนดในการจัดเก็บขอมูล ท้ังนี้รหัสธุรกิจแบงออกเปน 5 สวน รหัส 4 กลุมแรกตองเปนไปตามเกณฑของสหประชาชาติไดกําหนดไวไมสามารถปรับเปลี่ยนได ในขณะท่ีกลุมท่ี 5 ท่ีเปนรหัสกิจกรรม แตละประเทศสามารถกําหนดใหมใหมีความเหมาะสมกับลักษณะโครงสรางทางเศรษฐกิจ ของแตละประเทศได 1) หมวดใหญ (ระบุเปนตัวอักษรภาษาอังกฤษ)

โดยสํานักงานนโยบายและยุทธศาสตรการคาไดแบงประเภทรหัสธุรกิจท่ีคาดวาเก่ียวของกับกิจกรรมดาน Medical Hub ไวเปน 4 ประเภทตามผลผลิตหลักท่ีกําหนดไวในนโยบาย Medical Hub ไดแก P = Product Hub, A= Academic Hub, M = Medical Hub และ W= Wellness Hub และมอบหมายใหกรมสบส. พิจารณาโดยใชกฎหมายเปนแนวทางกําหนดในการปรับปรุงแกไขใหเหมาะสม พรอมหารือรวมกับสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาซ่ึงเปนหนวยงานท่ีกํากับดูแลธุรกิจดานอาหาร ยา และเครื่องมือทางการแพทย ผลการดําเนินงาน

1. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดจัดประชุมหารือแนวทางการเชื่อมโยงขอมูล กําหนดนิยาม และขอบเขตกิจกรรมของรหัสธุรกิจเพ่ือรองรับนโยบาย Medical Hub ครั้งท่ี 1/2561 ณ หองประชุม 2 ชั้น 9 อาคารกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ในวันท่ี 20 มีนาคม 2561 โดยมีผูแทนจากสํานักงานนโยบายและยุทธศาสตรการคา และกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ และกองสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข เขารวมพิจารณาการกําหนดนิยามและรหัสธุรกิจ (TSIC) ใหเปนไปตามใบอนุญาตตามกฎหมาย ท่ีอยูภายใตการกํากับดูแลของหนวยงาน ซ่ึงสรุปผลการประชุมไดดังนี้

(1) มอบหมายใหกระทรวงพาณิชยแกไขรหัส TSIC โดยการเพ่ิมหรือลดรหัสตามประเภทใบอนุญาต และปรับเปลี่ยนชื่อรายละเอียดกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามกฎหมายท่ีทางกระทรวงสาธารณสุขมี โดยหากไมสามารถเปลี่ยนชื่อกิจกรรมไดใหขยายความเพ่ิมเติมในสวนคําจํากัดความแทน

(2) ใหฝายเลขาฯ นัดหมายและเชิญหนวยงานท่ีเก่ียวของเขารวมประชุมกับสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เพ่ือกําหนดรหัส TSIC ท่ีเก่ียวของกับกิจกรรมธุรกิจยาและผลิตภัณฑสุขภาพ (P: Product)

(3) มอบหมายใหกระทรวงพาณิชยนําเรื่องการปรับเปลี่ยน TSIC เพ่ือรองรับนโยบาย Medical Hub เสนอเขาท่ีประชุมคณะกรรมการกระทรวงอุตสาหกรรม เพ่ือพิจารณาแนวทางการปรับเปลี่ยนรหัสอยางเปนทางการ

หนา 51

Page 56: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

2. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดจัดประชุมหารือเพ่ือกําหนดนิยามและขอบเขตรหัสธุรกิจ (TSIC) ในวันพฤหัสบดีท่ี 24 พฤษภาคม 2561 ณ หองประชุมสํานักวิชาการ อาคาร 1 ชั้น 3 สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา หนวยงานท่ีเขารวมประชุมประกอบดวยสํานักงานนโยบายและยุทธศาสตรการคาและกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย สํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะและกองสุขภาพระหวางประเทศ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ และศูนยขอมูลสารสนเทศ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ซ่ึงสรุปผลการประชุมไดดังนี้

(1) มอบหมายใหกระทรวงพาณิชยแกไขรหัส TSIC โดยการเพ่ิมหรือลดรหัสตามประเภทใบอนุญาต และปรับเปลี่ยนชื่อรายละเอียดกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรหัสธุรกิจในบางรหัสท่ีขัดแยง กับขอกําหนดตามกฎหมาย (2) กฎหมายท่ีอยูภายใตการดูแลของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยามีหลายฉบับ และมีความซับซอน ซ่ึงสวนใหญแตกตางจากขอมูลการแบงประเภทธุรกิจตามรหัส TSIC หากจะกําหนดรหัสตามใบอนุญาตตามกฎหมาย ควรทบทวนและตรวจสอบอยางละเอียด เชน กรณี One to one หรือ One to many (3) มอบหมายใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพรางแนวทางการกําหนดรหัสธุรกิจยาและผลิตภัณฑเพ่ือสุขภาพตามมติท่ีประชุม และเสนอใหสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาตรวจสอบความถูกตองกอนมอบใหกรมพัฒนาธุรกิจการคาดําเนินการตอไป 3. จัดทําหนังสือขอความอนุเคราะหตรวจสอบชื่อและคํานิยามของรหัสธุรกิจ (TSIC) รองรับนโยบาย Medical Hub เพ่ือขอความอนุเคราะหสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ตรวจสอบรายละเอียดชื่อและคํานิยามของรหัสธุรกิจท่ีเก่ียวของกับกิจกรรมธุรกิจยา เครื่องสําอาง เครื่องมือแพทย และผลิตภัณฑสุขภาพ กอนดําเนินการพัฒนารหัสธุรกิจรวมกับกระทรวงพาณิชยตอไป ซ่ึงสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ไดตรวจสอบความถูกตองและเห็นชอบในรหัสธุรกิจดังกลาวแลว 4. จัดทําหนังสือขอความอนุเคราะหขอมูลรหัสธุรกิจ (TSIC) หมวดกลุมรหัสธุรกิจดานสุขภาพฉบับลาสุด จากกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย ซ่ึงกระกรมพัฒนาธุรกิจการคาไดสงหนังสือตอบกลับมายังกรมฯ วาขอมูลดังกลาวสามารถติดตามไดจากผูรับผิดชอบโดยตรงซ่ึงเปนอนุกรรมการพิจารณาแกไขรางนิยามอาชีพและอุตสาหกรรมสาขาการสาธารณสุขและดานสุขภาพ คือ นายสาโรจน ยอดประดิษฐ รักษาการในตําแหนงนักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ดานคุมครองผูบริโภคดานบริการสุขภาพ เปนผูแทนจากกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ซ่ึงจะไดดําเนินการประสานงานความคืบหนาตอไป การดําเนินงานในระยะถัดไป 1. พิจารณารหัสธุรกิจ (TSIC) หมวดกลุมรหัสธุรกิจดานสุขภาพฉบับลาสุด พรอมแกไขเพ่ิมเติมใหมีความเหมาะสม ครอบคลุมธุรกิจดานสุขภาพตามนโยบาย Medical Hub 2. เสนอกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย พิจารณารหัสธุรกิจดังกลาวพรอมหารือ แนวทางการจัดเก็บขอมูลตามรหัสธุรกิจฉบับปรับปรุงตามนโยบาย Medical Hub 3. แหลงขอมูลของหนวยงานท่ีเก่ียวของนํารหัสธุรกิจท่ีสมบูรณแลว มาใชเปนฐานในการจัดเก็บขอมูลดาน Medical Hub ตอไป

หนา 52

Page 57: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

4.4 การจัดทําแนวทางในการพัฒนาบริการทางการแพทยระดับสูงในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECh) ความเปนมา รัฐบาลมีนโยบายพัฒนาพ้ืนท่ีเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกเพ่ือสงเสริมและดึงดูดใหมีการลงทุนเพ่ิมข้ึนจากท้ังในประเทศ และตางประเทศ โดยใชมาตรการดานสิทธิประโยชน แรงงาน การเงิน การธนาคาร และการจัดตั้งเขตสงเสริมเศรษฐกิจพิเศษ โดยมีพ้ืนท่ีเปาหมาย 3 จังหวัด ไดแก ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง มีการสนับสนุนใหเกิดการวิจัยและพัฒนา รวมถึงการใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันสําหรับกลุมอุตสาหกรรมเปาหมาย ซ่ึงอุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร เปนกลไกท่ีสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพ่ืออนาคตของประเทศ (New Engine of Growth) ซ่ึงเปนการตอยอดอุตสาหกรรมเดิม ท่ีมีศักยภาพในการลงทุนกลุมอุตสาหกรรมท่ีมีอยูในประเทศ ซ่ึงรัฐบาลไดมีการออกกฎหมายเปนการเฉพาะ คือ พระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 ท่ีลงนามเม่ือวันท่ี 10 พฤษภาคม 2561 และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันท่ี 14 พฤษภาคม 2561 ผลการดําเนินงานท่ีผานมา 1. ประชุมรวมกับหนวยงานตางๆ เพ่ือพิจารณาความเปนไปไดของการพัฒนาบริการทางการแพทยในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เม่ือวันท่ี 25 กันยายน 2560 โดยมีเลขาธิการคณะกรรมการนโยบายการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกเปนประธาน และผูเขารวมประชุม เปนหนวยงานท่ีเก่ียวของไดแก ผูตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพท่ี 6 นายแพทยสาธารณสุขจังหวัดและผูแทนจากโรงพยาบาลในเขตเศรษฐกิจพิเศษ ผูแทนจากสมาคมโรงพยาบาลเอกชน และหนวยงานท่ีเก่ียวของ 2. นําเสนอผลการหารือความเปนไปไดในการพัฒนารูปแบบรองรับในการเพ่ิม ขีดความสามารถในดานการรักษาพยาบาล ตอคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) พิจารณาในการประชุม ครั้งท่ี 1/2560 เม่ือวันท่ี 29 กันยายน 2560 และการประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางบริการรักษาพยาบาล (Medical Service Hub) เม่ือวันท่ี 21 ธันวาคม 2560 3. เขารวมรับฟงผูเชี่ยวชาญจากตางประเทศชี้แจง และหารือในประเด็นเก่ียวกับการพัฒนา Regenerative Medicine ในประเทศไทย ซ่ึงจัดข้ึนโดยสํานักงานเพ่ือการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (สกรศ.) เม่ือวันท่ี 23 กุมภาพันธ 2561 รวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ ไดแก กรมการแพทย กรมวิทยาศาสตรการแพทย และแพทยสภา 4. ประชุมเพ่ือพิจารณาแนวทางการจัดตั้งพ้ืนท่ีเพ่ือพัฒนาบริการทางการแพทยระดับสูงในเขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECh) เม่ือวันท่ี 28 กุมภาพันธ 2561 เพ่ือพิจารณา (ราง) แนวทางการจัดตั้งพ้ืนท่ีเพ่ือพัฒนาบริการทางการแพทยระดับสูงในเขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECh) / (ราง) คณะกรรมการพัฒนาระบบสาธารณสุข อุตสาหกรรมทองเท่ียวเชิงสุขภาพ และอุตสาหกรรมการแพทยครบวงจรในพ้ืนท่ีระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก และการจัดระบบบริการสุขภาพรองรับบริการทางการแพทยระดับสูงในเขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECh) ในเขตสุขภาพท่ี 6

หนา 53

Page 58: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

5. เขารวมประชุมความรวมมือในการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑและบริการสุขภาพในระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ครั้งท่ี 1/2561 เม่ือวันท่ี 9 เมษายน 2561 โดยมีรองปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทยธเรศ กรัษนัยรวิวงค เปนประธาน เพ่ือพิจารณาในประเด็นแนวทางการดําเนินงาน ดานเศรษฐกิจสุขภาพเพ่ือรองรับระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก นําเสนอโดย ดร.รพีสุภา หวังเจริญรุง และแผนการวิจัยพัฒนาสารสนเทศการคลังสุขภาพสําหรับผลิตภัณฑและบริการสุขภาพในเศรษฐกิจพิเศษ นําเสนอโดย นพ.ถาวร สกุลพาณิชย ซ่ึงมติท่ีประชุมฯ ไดมอบหมายใหกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ประสานงานกับหนวยงานท่ีเก่ียวของและเสนอตอผูบริหารระดับกระทรวงสาธารณสุข ในการแตงต้ังคณะกรรมการและคณะทํางานยอยระดับกระทรวง เพ่ือขับเคลื่อนดําเนินงานดานวิจัย พัฒนา และบริการสุขภาพ ในระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECh) ใหแลวเสร็จภายในเดือนมิถุนายน 2561 และใหมีการบูรณาการทํางานรวมกับคณะกรรมการภายใตนโยบายการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) รวมท้ังรายงานผลการดําเนินงานตอคณะกรรมการบริหารการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (กรศ.) โดยมีรัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม เปนประธาน และคณะกรรมการนโยบายการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (กนศ.) โดยมีนายกรฐัมนตรี เปนประธาน 6. กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขอยูระหวางเสนอคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการท่ีเก่ียวของกับการดําเนินงานดานวิจัย พัฒนา และบริการสุขภาพในระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECh) โดยใหแตงตั้งคณะกรรมการชุดยอย และใหแตละหนวยงานท่ีรับผิดชอบ แตละดานมาเปนประธานและกรรมการชุดใหญใหมีสวนรวมท้ังในและนอกกระทรวงสาธารณสุข โดยเสนอใหรองปลัดกระทรวงสาธารณสุขท่ีกํากับดูแลลกลุมภารกิจเปนประธาน ตามมติท่ีประชุมเม่ือวันท่ี 9 เมษายน 2561 การดําเนินงานในระยะถัดไป 1. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ติดตามความคืบหนาในการจัดต้ังคณะกรรมการและคณะทํางานยอยระดับกระทรวงสาธารณสุข เพ่ือขับเคลื่อนดําเนินงานดานวิจัย พัฒนา และบริการสุขภาพในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor Health : EECh) โดยบูรณาการทํางานรวมกับคณะกรรมการภายใตนโยบาย Medical Hub 2. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เตรียมการพัฒนา/ ประสานความรวมมือกับหนวยงาน ท่ีเก่ียวของ รองรับแนวทางการพัฒนาบริการทางการแพทยระดับสูงในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECh) ตามลําดับ

หนา 54

Page 59: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

4.5 การสงเสริมการลงทุนเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถสูการเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ความเปนมา คณะรัฐมนตรีมีมติเม่ือวันท่ี 13 กันยายน 2559 เห็นชอบในหลักการยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) (พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๘) ระยะ ๑๐ ป ซ่ึงมีเปาหมายใหประเทศไทยเปนศูนยกลางการบริการสุขภาพใน ๔ ดานหลัก ไดแก ศูนยกลางบริการเพ่ือสงเสริมสุขภาพ ศูนยกลางบริการสุขภาพ ศูนยกลางบริการวิชาการและงานวิจัย และศูนย ก ล า งย าและผลิ ตภัณฑ สุ ขภ าพ ปร ะกอบ กับคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ท่ี 6/2560 ลงวันท่ี 3 พฤษภาคม 2560 เรื่อง นโยบายสงเสริมการลงทุนดานการบริการทางการแพทย ใน 4 กิจการ ไดแก (1) กิจการบริการสาธารณสุขดานแพทยแผนไทย (2) กิจการศูนยการแพทยเฉพาะทาง (3) กิจการสถานพยาบาล สงเสริมการลงทุนในพ้ืนท่ีเฉพาะเพ่ือกระจายการใหบริการอยางท่ัวถึงสําหรับประชาชนในพ้ืนท่ีหางไกลใน 20 จังหวัดท่ีมีรายไดตอหัวต่ํา หรือใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใตและในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน และ (4) กิจการบริการขนสงผูปวย แพทย หรืออุปกรณการแพทยท้ังทางอากาศ ทางบก และทางเรือ ท้ังนี้ เพ่ือกระตุนใหเกิดการลงทุนและผลักดันใหประเทศไทยเปนศูนยกลางดานบริการทางการแพทย ครบวงจร และบริการทางการแพทยท่ีทันสมัย จึงจําเปนตองมีนโยบายในการสนับสนุนใหเกิดการลงทุน และพัฒนาเพ่ือเปนการเพ่ิมขีดความสามารถของประเทศในภาคอุตสาหกรรมทางการแพทยท่ีสอดรับกับความตองการและแนวโนมของสภาวะการลงทุนท่ีเปลี่ยนแปลงไปอยางตอเนื่องในปจจุบัน ตลอดจนสอดรับ กับแนวนโยบายตามแผนยุทธศาสตรฯ Medical Hub ผลการดําเนินงาน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดจัดการประชุมเพ่ือพิจารณาความเปนไปไดในการสงเสริมการลงทุนเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถสูการเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) เม่ือวันท่ี 10 สิงหาคม 2561 เวลา 09.30 – 11.30 น. โดยมีผูเขารวมประชุมประกอบดวย ผูแทนสํานักสถานพยาบาลและ การประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ/ กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข/ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา/ สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน/ สํานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก/ โรงพยาบาลบํารุงราษฎร/ โรงพยาบาลกลวยน้ําไท/ สมาคมโรงพยาบาลเอกชน และสมาคมสปาไทย

ประเด็นท่ีเสนอใหมีการขับเคล่ือนการดําเนินการและสงเสริมการลงทุน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดนําเสนอประเด็นท่ีเสนอใหมีการขับเคลื่อนและสงเสริมการลงทุน

เรียนปลัดกระทรวงสาธารณสุขเพ่ือพิจารณา มีดังนี้ 1. การออกกฎหมาย/ระเบียบของภาครัฐจะตองไมเปนอุปสรรคตอการดําเนินงานของ

ภาคเอกชน 2. การสนับสนุนมาตรการทางดานภาษี (Tax) ในการนําเขาเครื่องมือแพทย สามารถทําใหตนทุน

ของเครื่องมือแพทยนั้นๆ ราคาลดลงซ่ึงสามารถสรางขีดความสามารถทางการแขงขันกับตางประเทศได 3. การสนับสนุนใหมีการผอนคลายกฎระเบียบตางๆ ในการอนุญาตหรือการดําเนินการอ่ืนๆ

ของทางราชการ (Non-Tax)

หนา 55

Page 60: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

4. การพิจารณาทบทวนบทบาทและหนาท่ีท้ังระบบระหวางภาครัฐและเอกชนเพ่ือใหสามารถใหการสงเสริมการลงทุนอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดผลสําเร็จตอประเทศสูงสุด

5 . การ พิจ ารณา เ ก่ีย ว กับการ Deregulation กลาวคือจากเดิมท่ีภาครัฐเปนผูควบคุมในการอนุญาต /อนุมัติเรื่องตางๆ เก่ียวกับการประกอบธุรกิจของภาคเอกชน เปลี่ยนเปนภาครัฐใหการกํากับดูแลเทานั้น เนื่องจากการท่ีจะตองไดรับอนุมัติ/อนุญาตจากภาครัฐจะกอใหเกิดความลาชาในการดําเนินธุรกิจ 6. การสงเสริมกระบวนการวิจัยทางการแพทยในภาคเอกชนเพ่ือสรางความนาเชื่อถือใหแกประเทศ 7. การสงเสริมใหมีการผลิตบุคลากรทางการแพทยใหมีความเพียงพอตอความตองการและ/ หรือสงเสริมดานการอนุญาตใหแพทยตางชาติสามารถดําเนินการในสถานพยาบาลได 8. การสงเสริมใหมีการลงทุนเก่ียวกับการจัดตั้งพ้ืนท่ีในการใหบริการดานสุขภาพแกผูโดยสาร ซ่ึงมาแวะพักเพ่ือตอเครื่องไปยังอีกท่ีหนึ่ง (Transit Passenger)

9. สงเสริมใหมีโครงการดานการแพทยและสุขภาพนํารองในเขตสงเสริมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ในเรื่องดังนี้

9.1 การแพทยแหงอนาคต (Future Medicine)/ การแพทยแมนยํา (Precision Medicine)/ Digital Health/ เวชศาสตรฟนฟูภาวะเสื่อม (Regenerative Medicine)

9.2 การพิจารณากลไกการจัดตั้งชองทางเรงดวน (Fast Track) ในการอนุมัติทะเบียนยา ท่ีไดรับการอนุญาตจาก FDA ของตางประเทศแลว

9.3 การอนุญาตใหภาคเอกชนสามารถดําเนินการวิจัยทางการแพทยได เชน การวิจัยทดลองทางคลินิก (Clinical Trial)/ การวิจัยในมนุษย เปนตน

9.4 การถายเทคโนโลยีดานการแพทย (Transfer) 9.5 การอนุญาตใหมีการผลิตและพัฒนาบุคลากรในดานการวิจัย 9.6 การอนุญาตใหนักวิจัย/บุคลากรทางการแพทยจากตางชาติเขามาทําการรักษา/

วิจัยในประเทศไทย (Temporary License) 9.7 การผอนคลายกฎระเบียบท่ีเก่ียวของ (Deregulation) เชน การอนุญาตใหประกอบ

กิจการสถานพยาบาล และกฎหมายอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของ 9.8 การอนุญาตใหมีสถาบันการศึกษาภาคเอกชนสามารถผลิตบุคลากรทางการแพทยได 9.9 การนํารองจัดตั้ง International Zone เพ่ืออํานวยความสะดวกแกผูโดยสารตอเครื่อง

(Transit Passenger) สามารถใชบริการสุขภาพท่ีทาอากาศยานได 9.10 การสงเสริมพัฒนาสถานพยาบาลในพ้ืนท่ีเขตสุขภาพท่ี 6 (จังหวัดชลบุรี ระยอง

และฉะเชิงเทรา) ใหมีอิสรภาพในการบริหารจัดการตนเอง (Autonomy) และมีศักยภาพเพ่ิมข้ึนดวยกลไกหลากหลาย เชน การรวมลงทุนระหวางภาครัฐและเอกชน (Public Private Partnership: PPP) เปนตน

9.11 การสงเสริมใหมีการจัดต้ังศูนย Medical Park เพ่ือดําเนินการวิจัย พัฒนา และผลิตเครื่องมือแพทย ยา และเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) 10. การจัดการผลกระทบตอระบบสุขภาพของชาวไทย

หนา 56

Page 61: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

4.6 แพคเกจพิเศษเพ่ือสุขภาพ และแพคเกจพิเศษเพ่ือสงเสริมสุขภาพ รองรับบริการ ชาวไทยและชาวตางชาติ ลงในปฏิทิน “ปทองเท่ียววิถีไทย เกไกอยางย่ังยืน” ประจําป พ.ศ. 2561 ความเปนมา

1. เม่ือปงบประมาณ พ.ศ. 2560 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองสุขภาพระหวางประเทศไดดําเนินการจัดการจัดทําแพคเกจพิเศษดานสุขภาพ รองรับการบริการชาวตางชาติกลุมประเทศสวีเดน เดนมารก ฟนแลนด นอรเวย ไอซแลนดและประเทศจีน ภายใตแคมเปญ “Visit Thailand enhance your healthy life” ในรูปแบบ One-Price Policy จํานวน 3 โปรแกรม โดยใหบริการเฉพาะผูรับบริการชาวจีน ไดแก

1.1 โปรแกรมบริการตรวจสุขภาพ (Check up Package) 1.2 โปรแกรมบริการทันตกรรม (Dental Service Package) 1.3 โปรแกรมบริการดานเทคโนโลยีชวยการเจริญพันทางการแพทย (Fertility Treatment)

2. ในปงบประมาณ พ.ศ. 2561 กระทรวงทองเท่ียวและกีฬาไดจัดกิจกรรมภายใตโครงการ “ปทองเท่ียววิถีไทย เกไกอยางยั่งยืน” หรือ “Amazing Thailand Tourism Year 2018” เพ่ือกระตุน การทองเท่ียวภายในประเทศ

3. ตามมติท่ีประชุมคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครั้งท่ี 1/2560 เม่ือวันท่ี 29 กันยายน 2560 เห็นชอบใหจัดกิจกรรมภายใตโครงการ “ปทองเท่ียววิถีไทย เกไกยั่งยืน” หรือ “Amazing Thailand Tourism Year 2018” ในหัวขอกิจกรรม Medical and Wellness Tourism โดยมอบหมายใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพดําเนินการรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของทําแพคเกจพิเศษ ดานบริการรักษาพยาบาลและบริการสงเสริมสุขภาพ ไดแก Special Health Package และ Exclusive Spa Package รองรับชาวตางชาติท่ีเดินทางเขามาในประเทศไทย พรอมท้ังใหหารือหนวยงานท่ีเก่ียวของในการจัดงาน Medical Hub Expo ประจําป 2561 เพ่ือเตรียมนําผลการหารือเสนอคณะกรรมการอํานวยการฯ ในการประชุม ครั้งท่ี 2/2560 ซ่ึงมีกําหนดจัดประชุมในเดือนมกราคม 2561

ผลการดําเนินงาน

1. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองสุขภาพระหวางประเทศไดจัดการประชุมหารือแนวทางการจัดทําแพคเกจพิเศษรองรับบริการชาวตางชาติและการจัด Medical Hub Expo เพ่ือสนับสนุนปทองเท่ียววิถีไทย เกไกยั่งยืน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 เม่ือวันท่ี 19 ตุลาคม 2560 โดยมีมติเห็นชอบใหสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพสามารถกําหนดรูปแบบแพคเกจพิเศษ และวิธีสงเสริมการขายไดตามนโยบายของแตละหนวยงาน โดยมีกลุมเปาหมายเปนชาวไทย ชาวตางชาติ และกลุม Expatriate ซ่ึงในสวนของแพคเกจพิเศษเพ่ือสงเสริมสุขภาพ สมาคมสปาไทยและสมาพันธสปาไทยจะหารือรวมกับสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพในการจัดทํารูปแบบแพคเกจพิเศษเพ่ือสงเสริมสุขภาพในภาพรวมตอไป

2. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองสุขภาพระหวางประเทศ ไดจัดทําหนังสือ ดวนท่ีสุด ท่ี สธ ๐๗07.๐3/1120 ลงวันท่ี 8 พฤศจิกายน 2560 ถึงโรงพยาบาลเอกชนท่ัวประเทศ สมาคมสปาไทย และสมาพันธสปาไทย เพ่ือขอรูปแบบแพคเกจพิเศษ พรอมโปรโมชั่นพิเศษรองรับบริการชาวไทยและชาวตางชาติ

หนา 57

Page 62: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

เพ่ือสนับสนุนปทองเท่ียววิถีไทย เกไกอยางยั่งยืน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 โดยมีโรงพยาบาลตอบรับ เขารวม 46 แหง และสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ 15 แหง

3. หนังสือกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ดวนท่ีสุด ท่ี สธ 0707.03/1292 ลงวันท่ี 19 ธันวาคม 2560 ไดสงแพคเกจพิเศษเพ่ือสุขภาพ และแพคเกจพิเศษเพ่ือสงเสริมสุขภาพ รองรับบริการชาวไทยและชาวตางชาติ ถึงกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา เพ่ือบรรจุกิจกรรมลงในปฏิทิน “ปทองเท่ียววิถีไทย เกไกอยางยั่งยืน” ประจําป พ.ศ. 2561 ในเว็บไซต www.amazingthailand.go.th หัวขอกิจกรรม Medical & Wellness Tourism

4. หนังสือกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ดวนท่ีสุด ท่ี สธ 0707.03/543 ลงวันท่ี 16 พฤษภาคม 2561 ติดตามผลการพิจารณาบรรจุกิจกรรมแพคเกจพิเศษเพ่ือสุขภาพ และแพคเกจพิเศษเพ่ือสงเสริมสุขภาพ รองรับบริการชาวไทยและชาวต างชาติ ลงในปฏิ ทิน “ปทองเท่ียววิถีไทย เกไกอยางยั่งยืน” ประจําป พ.ศ. 2561

5. หนังสือกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา ดวนท่ีสุด ท่ี กก 0203/2942 ลงวันท่ี 6 มิถุนายน 2561 ไดบรรจุกิจกรรมแพคเกจพิเศษเพ่ือสุขภาพ และแพคเกจพิเศษเพ่ือสงเสริมสุขภาพ รองรับบริการชาวไทยและชาวตางชาติ ลงในปฏิทิน “ปทองเท่ียววิถีไทย เกไกอ ย า ง ยั่ ง ยื น ” ป ร ะ จํ า ป พ . ศ . 2 5 6 1 เ ว็ บ ไ ซ ต www.amazingthailand.go.th ใ น หั ว ข อ กิ จ ก ร ร ม Medical & Wellness Tourism เรียบรอยแลว

6. หนังสือกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ท่ี สธ 0707.03/666 ลงวันท่ี 12 มิถุนายน 2561 แจงเวียนโรงพยาบาล และสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพท่ีเขารวมโครงการแพคเกจพิเศษรองรับบริการชาวไทยและชาวตางชาติ ในการบรรจุแพคเกจฯ ลงปฏิทิน “ทองเท่ียววิถีไทย เกไกอยางยั่งยืน” ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ในเว็บไซตของกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา (www.amazingthailand.go.th) ในหัวขอกิจกรรม Medical & Wellness Tourism พรอมท้ังมอบตราสัญลักษณ (Logo) “ทองเท่ียววิถีไทย เกไกอยางยั่งยืน” เพ่ือใชในการประชาสัมพันธ

4.7 การดําเนินงานของ Counter Service ณ สุวรรณภูมิ ความเปนมา ตามท่ี กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองสุขภาพระหวางประเทศ มีภารกิจดานการรับเรื่องรองเรียน การใหบริการขอมูลดานระบบบริการสุขภาพทางโทรศัพท (Call Center) และตามท่ีรัฐบาล ไดมีนโยบายในการพัฒนาประเทศไทยเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ โดยใหมีการดําเนินงานเรื่องของการขยายเวลาพํานักในประเทศไทยรวม 90 วัน สําหรับกรณีเดินทางเขามารับการรักษาพยาบาลในกลุมสมาชิก GCC และกลุม CLMV และ จีน โดยไดรับอนุ มัติ ใหจางเหมาบริการบุคคลภายนอกปฏิบัติงาน ดานประชาสัมพันธ Call Center มีหนาท่ีเปนผูติดตอประสานงานระหวางบุคคลหรือกลุมบุคคลทําความเขาใจกันในการติดตอประสานงานกับชาวตางชาติและชาวไทย ตามแนวหลักการของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ รวมถึงการใหขอมูลท่ีเก่ียวของกับกระทรวงสาธารณสุข นั้น

หนา 58

Page 63: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ภารกิจและหนาท่ีของเคานเตอรศูนยบริการขอมูลสุขภาพ 1. ภารกิจอํานวยความสะดวกใหแกผูรับบริการชาวตางชาติท่ีเดินทางเพ่ือรับการรักษาพยาบาลในกลุม GCC,CLMV และจีน โดยการขยายเวลาพํานักในประเทศไทยรวม 90 วัน 2. ภารกิจอํานวยความสะดวกสําหรับกลุมพํานักระยะยาว 10 ป (Long Stay Visa) 3. ภารกิจการใหบริการขอมูลสุขภาพ เพ่ือสงเสริมสุขภาพ และขอมูลท่ัวไป 4. ภารกิจการรับเรื่องรองเรียนจากชาวตางชาติดานระบบบริการสุขภาพ 5. ภารกิจการประชาสัมพันธผลิตภัณฑสุขภาพหรือบริการอ่ืนๆ (Display) 6. ภ าร กิ จการ อํ านวยคว ามสะดวกแก ผู รั บบริ กา รชาวต า งชาติ ท่ี เ ดิ นทาง เ ข า ม า รับการรักษาพยาบาลของโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนเปนจุดประสานงาน (Service) ภารกิจอ่ืนๆท่ีไดรับมอบหมายเพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ผลการดําเนินงาน

เดือน สัญชาติ จํานวน

ผูปวย จํานวนผูติดตาม กัมพูชา พมา เวียดนาม ลาว จีน

กันยายน 2560 - 17 - - 1 8 10

ตุลาคม 2560 - 2 - - - 1 1

พฤศจิกายน 2560 - - - - - 0 0

ธันวาคม 2560 - - - - 4 2 2

มกราคม 2561 - - - - 3 2 1

กุมภาพันธ 2561 - 2 - - 2 3 1

มีนาคม 2561 - - - - 5 3 2

เมษายน 2561 - - - - 5 3 2

พฤษภาคม 2561 - - - - 10 4 6

มิถุนายน 2561 - - - - 14 7 7

กรกฎาคม 2561 - - - - 25 15 10

สิงหาคม 2561 - - - - 20 11 9

กันยายน 2561 - - - - 8 6 2

รวม (คน) 0 21 0 0 97 65 53 รวมสัญชาติท้ังส้ิน

(คน) 118

หนา 59

Page 64: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

สรุปรายช่ือโรงพยาบาลสําหรับผูเขาเดินทางเขามารับการรักษาพยาบาลสําหรับ กลุมประเทศ CLMV และ

สาธารณรัฐประชาชนจีน

ลํ า ดั บท่ี

โรงพยาบาลเขารับการรักษา

จํานวนผูปวย จํานวนผูติดตาม หมายเหตุ

1 โรงพยาบาลกรุงเทพ 9 12

2 โรงพยาบาลเอกชัย 55 41

3 โรงพยาบาลศุภมิตร 1 -

รวม 65 53 มีผูรรวมท้ังหมด 118 คน

สรุปรายช่ือโรงพยาบาลสําหรับผูเขาเดินทางเขามารับการรักษาพยาบาลสําหรับ กลุมประเทศ GCC

ลํ า ดั บท่ี

โรงพยาบาลเขารับการรักษา จํานวนผูปวย จํานวนผูติดตาม หมายเหตุ

1 โรงพยาบาลจุฬารตัน 3 อินเตอร เนชั่นแนล

2 -

2 โรงพยาบาล ศิครินทร 1 -

ภารกิจและหนาท่ีของเคานเตอรศูนยบริการขอมูลสุขภาพ

ภารกิจและหนาท่ีของเคานเตอรศูนยบริการขอมูลสุขภาพ เดือน จํานวนผลงาน 1. ภารกิจอํานวยความสะดวกใหแกผูรับบริการชาวตางชาติท่ีเดินทางเพ่ือรับการรักษาพยาบาลในกลุม GCC,CLMV และจีน โดยการขยายเวลาพํานักในประเทศไทยรวม 90 วัน 2. ภารกิจอํานวยความสะดวกสําหรับกลุมพํานักระยะยาว 10 ป (Long Stay Visa) 3. ภารกิจการใหบริการขอมูลสุขภาพ เพ่ือสงเสริมสุขภาพ และขอมูลท่ัวไป 4. ภารกิจการรับเรื่องรองเรียนจากชาวตางชาติดานระบบบริการสุขภาพ 5. ภารกิจการประชาสัมพันธผลิตภัณฑสุขภาพหรือบริการอ่ืนๆ (Display) 6. ภารกิจการอํานวยความสะดวกแกผูรับบริการชาวตางชาติท่ีเดินทางเขามารับการรักษาพยาบาลของโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนเปนจุดประสานงาน (Service) 8. ภารกิจอ่ืนๆท่ีไดรับมอบหมายเพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงาน

ตุลาคม 60 580

พฤศจิกายน 60 661

ธันวาคม 60 753

มกราคม 61 843

กุมภาพันธ 61 872

มีนาคม 61 890

เมษายน 61 880

พฤษภาคม 61 899

มิถุนายน 61 824

กรกฎาคม 61 994

สิงหาคม 61 1,002

กันยายน 61 1,005

หนา 60

Page 65: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

4.8 การจัดตั้งศูนยบริการขอมูลสุขภาพ (Medical Hub Center) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ณ ทาอากาศยานดอนเมือง

ความเปนมา ตามท่ีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดดําเนินการจัดต้ังศูนยบริการขอมูลสุขภาพ (Health Information

Center) ณ บริเวณชั้น 2 อาคารผูโดยสารขาเขา (Concourse C) ทาอากาศยาน สุวรรณภูมิ โดยมีเจาหนาท่ีปฏิบัติงานดานประชาสัมพันธ (Call Center) ปฏิบัติงานเปนการประจําในวันจันทร – วันอาทิตย เวลา 09.00 – 17.00 น. ผานหมายเลขโทรศัพท 02 193 7999 เพ่ือกาวสูการเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub)

ตามท่ีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดเขาพบ 2 6นายศักดิ์ชัย อรุณรักถาวร 2 6รองผูอํานวยการทาอากาศยานดอนเมือง (สายปฏิบัติการ)ในวันท่ี 14 กุมภาพันธ 2560 เวลา 13.00 น. ณ หองประชุม ทดม. 1 ชั้น 4 อาคารสํานักงาน ทาอากาศยานดอนเมือง ในการปรึกษาหารือการจัดตั้ง Counter Service ผูโดยสารระหวางประเทศ (Terminal 1) ทาอากาศยานดอนเมือง ซ่ึงเปนท่ีนิยมของชาวตางชาติท่ีเดินทางเขามาในประเทศไทยโดยสายการบิน AIRASIA/THAI LION AIR/MALINDO AIR/SCOOT AIRLINES/SIAM AIR TRANSPORT/ ORIENT THAI AIRLINES/SABAIDEE AIRWAYS (NEW GEN) เปนตน โดยวัตถุประสงคในการจัดตั้ง Counter Service เพ่ือรองรับผูปวยและผูติดตามของกลุมประเทศในโครงการอํานวยความสะดวกใหชาวตางชาติเดินทางเขามารับการรักษาพยาบาลและพํานักระยะยาวในราชอาณาจักรไทย ไดแก

1. การขยายเวลาพํานักในประเทศไทยรวม 90 วัน สําหรับผูปวยและผูติดตาม รวม 4 ราย กรณีเดินทางเขามารับการรักษาพยาบาลสําหรับกลุมประเทศสมาชิกคณะมนตรีความรวมมือรัฐอาวอาหรับ GCC (Gulf Cooperation Council) ไดแก ราชอาณาจักรบาหเรน รัฐคูเวต รัฐสุลตานโอมาน รัฐกาตาร ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส

2. การขยายเวลาพํานักในราชอาณาจักรไทย รวม 90 วัน สําหรับผูปวยและผูติดตาม รวม 4 ราย กรณีเดินทางมาเขารับการรักษาพยาบาล สําหรับกลุมประเทศ CLMV ไดแก พระราชอาณาจักรกัมพูชา 8

สาธารณรัฐประชาธิปไตย 8ประชาชนลาว สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมา และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม รวมท้ังสาธารณรัฐประชาชนจนี

3. การขยายระยะเวลาพํานักราชอาณาจักรไทยสําหรับกลุมพํานักระยะยาว (Long Stay Visa) จากเดิม 1 ป เพ่ิมเปน 10 ป สําหรับชาวตางชาติท่ีมีสัญชาติของ 14 ประเทศ ไดแก ราชอาณาจักรเดนมารก ราชอาณาจักรนอรเวย ราชอาณาจักรเนเธอรแลนด ราชอาณาจักรสวีเดน สาธารณรัฐฝรั่งเศส สาธารณรัฐฟนแลนด สาธารณรัฐอิตาลี สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี สมาพันธรัฐสวิส เครือรัฐออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา ประเทศอังกฤษ ประเทศญี่ปุน และประเทศแคนาดา โดยมีประเด็นหารือดังนี้

1. ความเปนไปไดในการขอจัดตั้ง Counter Service ท่ีอาคาร 1 ผูโดยสารระหวางประเทศ (Terminal 1) ทาอากาศยานดอนเมือง เพ่ือปฏิบัติงาน ดังนี้

1.1 ใหขอมูลดานสาธารณสุข เชน ขอมูลดานระบบบริการสุขภาพ และขอมูลดานสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ เปนตน

1.2 รองรับผูรับบริการชาวตางชาติ ท่ี เดินทางมารับบริการในระบบบริการสุขภาพ ของประเทศไทย เชน ผูปวยท่ีเขามาในโครงการ Long Stay Visa / โครงการขยายเวลาพํานักในประเทศไทย 90 วัน /การแพทยฉุกเฉิน 1669

1.3 บูรณาการทํางานรวมกับหนวยงานอ่ืน เชน การจัดประชุมวิชาการนานาชาติ MICE 1.4 บูรณาการดูแลผูปวยรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ เชน สมาคมโรงพยาบาลเอกชน เปนตน 1.5 จัดแสดงผลิตภัณฑสุขภาพของประเทศไทย

หนา 61

Page 66: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

โดยปฏิบัติงาน 24 ชั่วโมง ดวยบุคคลกรท่ีเชี่ยวชาญดานภาษา 2. แนวทางการจัดตั้ง Counter Service ท่ีอาคาร 1 ผูโดยสารระหวางประเทศ (Terminal 1)

ทาอากาศยานดอนเมือง 2.1 ขอรับการจัดสรรพ้ืนท่ีประมาณ 20 ตารางเมตร ท่ีอาคาร 1 ผูโดยสารระหวางประเทศ

(Terminal 1) โดยแบงสัดสวนออกเปน − Front Office − Back Office − Call Center

ผลการดําเนินงาน 1. ทาอากาศยานดอนเมืองเห็นชอบในหลักการจัดสรรพ้ืนท่ีใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

เพ่ือจัดตั้ง Counter Service บริเวณอาคารผูโดยสารขาเขาระหวางประเทศ ทาอากาศยานดอนเมือง (หลังผานดานตรวจคนเขาเมือง)

2. ใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพจัดทําและสงหนังสือขอใชพ้ืนท่ีเพ่ือจัดตั้ง Counter Service เรียนผูอํานวยการทาอากาศยานดอนเมือง

การประชุมปรึกษาหารือ เรื่อง การขอจัดตั้ง Counter Service ท่ีทาอากาศยานดอนเมือง ในวันท่ี 14 กุมภาพันธ 2560 เวลา 13.00 น. ณ หองประชุม ทดม. 1 ชั้น 4 อาคารสํานักงาน ทาอากาศยานดอนเมืองและตามท่ี บริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) ไดอนุญาตใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพเขาดําเนินการจัดตั้งศูนยบริการขอมูลสุขภาพ เพ่ือรองรับผูรับบริการชาวตางชาติ ณ บริเวณหองโถงผูโดยสารขาเขา อาคาร 1 ทาอากาศยานดอนเมือง โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใหปฏิบัติงานอํานวยความสะดวก ดูแลผูโดยสารในกรณีเดินทางเขามารับการรักษาพยาบาลท้ังขาไป และขากลับ สําหรับกลุมประเทศสมาชิกคณะมนตรีความรวมมือ รัฐอาวอาหรับ GCC กลุมประเทศ CLMV และสาธารณรัฐประชาชนจีน ซ่ึงไดรับการยกเวนการตรวจลงตราระยะเวลา 90 วัน และ 14 ประเทศท่ีไดรับการขยายเวลาพํานักในราชอาณาจักรไทย 10 ป ไดแก เดนมารก นอรเวย เนเธอรแลนด สวีเดน ฝรั่งเศส ฟนแลนด อิตาลี เยอรมนี สวิสเซอรแลนด ออสเตรเลีย อเมริกา อังกฤษ ญี่ปุน และแคนาดา รวมท้ังภารกิจดานงานรับรอง ติดตอ และประสานงาน เพ่ืออํานวยความสะดวกและตอนรับคณะผูบริหารในการเดินทางไปราชการตางประเทศของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ และผูบริหารทานอ่ืนๆ ของกระทรวงสาธารณสุข อีกท้ัง กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดทําบันทึกขอตกลงกับสํานักงานสงเสริมการจัดการประชุมและนิทรรศการ (สสปน.) ในภารกิจดานการอํานวยความสะดวกในการเดินทาง ของผูเขารวมประชุม / สัมมนาจากตางประเทศ ตลอดจนเพ่ิมขีดความสามารถการแขงขันดานการตลาดการลงทุนดานระบบบริการสุขภาพของไทยเพ่ือกาวสูการเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) และ การรับเรื่องรองเรียนกรณีของคนตางชาติ

หนา 62

Page 67: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ศูนยบริการขอมูลสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ณ ทาอากาศยานดอนเมือง ไดดําเนินการเปดศูนยบริการขอมูลสุขภาพ ณ ทาอากาศยานดอนเมือง ตั้งแตวันท่ี 1 กันยายน 2561 เพ่ือรองรับภารกิจฯ ดังกลาวขางตน ในวันจันทร – วันอาทิตย เวลา 09.00 – 17.00 น. ไมเวนวันหยุดราชการ โดยสามารถติดตอไดท่ีเบอรโทรศัพท 0 2194 1404 และ เบอรโทรสาร 0 2194 1404

5. การพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางบริการวิชาการและงานวิจัย (Academic Hub) 5.1 การพัฒนางานรองรับการเคล่ือนยายของบุคคลธรรมดาผูประกอบวิชาชีพสาขาบริการสุขภาพภายใตกรอบการคาบริการอาเซียน

ความเปนมา ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งท่ี 9 เม่ือวันท่ี 7 ตุลาคม 2546 ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ผูนําอาเซียนท้ัง 10 ประเทศไดรวมลงนามในแถลงการณ Bali Concord II ซ่ึงไดมีการกําหนดใหจัดทําขอตกลงการยอมรับรวม (Mutual Recognition Arrangements : MRAs) ในดานคุณสมบัติในสาขาวิชาชีพหลักเพ่ือความสะดวกในการเคลื่อนยายนักวิชาชีพหรือแรงงานท่ีมีความเชี่ยวชาญไดอยางเสรี ซ่ึงสมาชิกอาเซียนมี การลงนามรวมกันใน MRAs 7 สาขาอาชีพ คือ แพทย ทันตแพทย พยาบาล นักบัญชี สถาปนิก วิศวกร และ นักสํารวจ เพ่ืออํานวยความสะดวกในการเคลื่อนยายนักวิชาชีพ /แรงงานเชี่ยวชาญ /ผูมีความ สามารถพิเศษของอาเซียนไดอยางเสรี ท้ังนี้ รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนไดมีการลงนามขอตกลงสาขาวิชาชีพการพยาบาลเม่ือป 2549 (ท่ีมา : กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ) ตอมามีการลงนามขอตกลงในสาขาวิชาชีพแพทย และ ทันตแพทย ในป 2552 ท้ังนี้การดําเนินงาน MRAs ของ 3 สาขาวิชาชีพ ของประเทศไทยจึงตองขับเคลื่อนไปพรอมกันดวยความรวมมือจากหลายฝายท่ีเก่ียวของโดยเฉพาะกระทรวงพาณิชย กระทรวงสาธารณสุข แพทยสภา ทันตแพทยสภา และสภาการพยาบาล การดําเนินงานภายใตกรอบการคาบริการอาเซียนเปนงานท่ีตองอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร (Information and Communication Technology : ICT) ซ่ึงมีความสําคัญในบริบทอาเซียนมากข้ึนอยางตอเนื่อง ท้ังในแงเปนตัวขับเคลื่อนสําคัญใหเกิดการรวมตัวในดานตางๆ โดยเฉพาะดานสังคมและเศรษฐกิจ บทบาทสําคัญในการชวยอาเซียนใหบรรลุวัตถุประสงคสําคัญประการหนึ่ง คือการรวมเปนตลาดเดียวสามารถทําได โดยการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานดาน ICT รวมท้ังการพัฒนาดานอ่ืนๆ อาทิ การพัฒนาบุคลากร การสงเสริมอุตสาหกรรมท่ีเก่ียวกับงานสรางสรรคและนวัตกรรม การพัฒนาสภาพแวดลอม ท่ีมีกฎระเบียบ มาตรฐาน และสงผลท่ีดีตอการพัฒนาเศรษฐกิจในภูมิภาค

จากบริบทดังกลาวขางตน จึงเล็งเห็นถึงความสําคัญ ในการขับเคลื่อนประเทศไทยใหมีความพรอมและสามารถใชโอกาสในการเขาสูประชาคมอาเซียนไดอยางมีประสิทธิภาพ ควรมีการพัฒนาการสื่อสารเพ่ือรองรับ การเคลื่อนยายของบุคคลธรรมดาผูประกอบวิชาชีพสาขาบริการสุขภาพภายใตกรอบการคาบริการอาเซียน เพ่ือผสานงานเทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology : ICT)

หนา 63

Page 68: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

กับงาน MRAs ใหเปนชองทางสื่อสารทิศทางการดําเนินงานท่ีถูกตอง ทันสมัย และมีประสิทธิภาพท่ีสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเพ่ือเปนการพัฒนางานสูระดับอาเซียนตอไป ในสวนท่ีเก่ียวของกับภารกิจ กองสุขภาพระหวางประเทศ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ รายละเอียดดังนี้

การพัฒนางานรองรับการเคลื่อนยายของบุคคลธรรมดาผูประกอบวิชาชีพสาขาบริการสุขภาพภายใตกรอบการคาบริการอาเซียน ในปงบประมาณ พ.ศ. 2561 มีแผนดําเนินงานตามแนวทางการพัฒนาศักยภาพการคุมครองผูบริโภคดานบริการสุขภาพจากการเคลื่อนยายของบุคคลธรรมดาสาขาบริการสุขภาพภายใตความตกลงการยอมรับคุณสมบัติรวมของประชาคมอาเซียน โดยมีการจัดประชุมปรึกษาหารือรวมกับ 3 สภาวิชาชีพ (แพทย ทันตแพทย พยาบาล) และบุคลากรดานสาธารณสุขท้ังภาครัฐและเอกชนเขารวมประชุม เพ่ือใหการดําเนินงานมีความสอดคลองกับแนวทางปฏิบัติหลักเกณฑและเง่ือนไขของสภาวิชาชีพท่ีผูประกอบวิชาชีพมีการเคลื่อนยาย และเง่ือนไขขององคกรวิชาชีพในระดับนานาชาติ เพ่ือใหเกิดกลไกอํานวยความสะดวกแกผูเคลื่อนยาย รวมท้ังการพัฒนาและบริหารจัดการเว็บไซตบริการสุขภาพอาเซียน 1 ประชุมคณะกรรมการเตรียมการรองรับการเคลื่อนยายของผูประกอบการวิชาชีพดานสุขภาพ

ตามขอตกลงอาเซียน (MRAs)

5.1.1 กองสุขภาพระหวางประเทศ โดยกลุม

สงเสริมพัฒนาอุตสาหกรรมบริการสุขภาพ ไดจัดการประชุม

คณะกรรมการเตรียมการรองรับการเคลื่อนยายของ

ผูประกอบการวิชาชีพดานสุขภาพตามขอตกลงอาเซียน

(MRAs) ครั้งท่ี 2/2560 เม่ือ วันอังคารท่ี 12 ธันวาคม

2560 ณ หองประชุมขางหองอธิบดี ชั้น 8 อาคารกรม

สนับสนุนบริการสุขภาพ

ผลการดําเนินงาน

5.1.1.1 ใหสามสภาวิชาชีพ ไดแก แพทยสภา ทันตแพทยสภา สภาการพยาบาล และกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ในฐานะผูบริหารจัดการเว็บไซตนําเขาขอมูลลงเว็บไซตกลางอาเซียน คือ www.aseanhealthcare.org ภายในวันท่ี 31 ธันวาคม 2560 5.1.1.2 การทําธุรกรรมอิเล็กทรอนิกสทางดานสาธารณสุข (e-Health) ใหใช eHealth

Framework ของศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยแนวทาง

การดําเนินงาน eHealth สําหรับประเทศสมาชิกอาเซียน คือ (1) พัฒนา Standards and Interoperability

(2) พัฒนากฎหมายการแลกเปลี่ยนขอมูลดานสุขภาพ (3) พัฒนาคลังขอมูลสุขภาพแหงชาติ/ ระบบขอมูลยา/

Health Care Logistics (4) พัฒนาระบบขอมูลสุขภาพสวนบุคคล โดยบูรณาการรวมกับกระทรวงมหาดไทย

หรือกระทรวงหลักของแตละประเทศ (5) พัฒนาระบบติดตามเฝาระวังภัยสุขภาพ/ ระบบการแพทยฉุกเฉิน

(6) พัฒนา eHealth/ teleHealth เพ่ือสนับสนุนระบบสุขภาพและรองรับการใหบริการประชาชนในพ้ืนท่ี

หางไกล/ทุรกันดาร (7) พัฒนาทรัพยากรบุคคลดาน eHealth (HRD)

5.1.1.3 การทองเท่ียวเชิงสุขภาพ (Health Tourism) ของประเทศไทย ใหพิจารณาแนว

ทางการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางดาน Health Tourism โดยเนนจุดแข็งในดานการบริการ

หนา 64

Page 69: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

รักษาพยาบาลประเทศท่ีมีความพรอม เชน การผาตัดหัวใจ การผาตัดขอเขา การผาตัดกระดูกเปน

เพ่ือนําเสนอในการประชุม HSSWG/CCS ครั้งถัดไป

5.1.2 ประชุมคณะกรรมการเตรียมการรองรับการเคลื่อนยายของผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพตามขอตกลงอาเซียน (MRAs) ครั้งท่ี 1/2561 เม่ือวันพฤหัสบดีท่ี 29 มีนาคม 2561 ณ หองประชุม 2 ชั้น 9 อาคารกรมสนับสนุนบรกิารสุขภาพ

มติท่ีประชุมสรุปไดดังนี ้5.1.2.1 มอบหมายให 3 สภาวิชาชีพ ไดแก แพทยสภา ทันตแพทยสภา สภาการพยาบาล และ

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ นําเขาขอมูลลงบนเว็บไซตบริการสุขภาพอาเซียน โดยลงขอมูลเปน Web link ไปท่ีสภาวิชาชีพ

5.1.2.2 เห็นชอบในกรอบแนวคิด (Concept paper) e-Healthcare Services และมอบหมายใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพประสานกับผูแทนจากศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขเขารวมในการประชุมฯ ครั้งท่ี 46 เพ่ือนําเสนอกรอบแนวคิดดังกลาว ซ่ึงมีกําหนดจะจัดข้ึนในป พ.ศ. 2562 ณ ประเทศบรูไน โดยใชงบประมาณจากสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

5.1.2.3 พิจารณาแนวทางการพัฒนาสถานพยาบาล/คลินิก ใหมีคุณภาพมาตรฐานสากลรวมกันในภูมิภาคอาเซียน พรอมท้ังจัดทําศูนยขอมูลรองรับนโยบาย Health Tourism เพ่ือเชื่อมโยงระบบ ของหนวยงานท่ีเก่ียวของและพัฒนาฐานขอมูลสารสนเทศดานการแพทยและบริการสุขภาพรวมกัน เพ่ือนําเสนอกรอบแนวคิดดังกลาว ซ่ึงมีกําหนดจะจัดข้ึนในป พ.ศ. 2562 ณ ประเทศบรูไน ครั้งท่ี 46

1.2.4 กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย จะประชุมหารือกับผูบริหารของกระทรวงพาณิชยในการเดินทางรวมประชุมคณะกรรมการประสานงานดานบริการอาเซียน (CCS) และการประชุมท่ีเก่ียวของ โดยเดินทางเปนคณะผูแทนจากประเทศไทยเขารวมประชุมในทุกสาขาวิชาชีพ

2 ประชุมคณะทํางานพัฒนาและบริหารจัดการเว็บไซต (website) เพ่ือรองรับการเคลื่อนยายของบุคคลธรรมดาสาขาแพทย ทันตแพทย และพยาบาลตามความตกลงการยอมรับรวมของบุคคลธรรมดา (MRAs) ภายใตกรอบการคาบริการสุขภาพอาเซียน 5.2 ประชุมคณะทํางานพัฒนาและบริหารจัดการเว็บไซต (website) เพ่ือรองรับการเคล่ือนยายของบุคคลธรรมดาสาขาแพทย ทันตแพทย และพยาบาลตามความตกลงการยอมรับรวมของบุคคลธรรมดา (MRAs) ภายใตกรอบการคาบริการสุขภาพอาเซียน 5.2.1 การประชุมคณะทํางานพัฒนาและบริหารจัดการเว็บไซตบริการสุขภาพอาเซียน ครั้งท่ี 1/2560 (ASEAN Healthcare Services Website) เม่ือวันพฤหัสบดีท่ี 16 พฤศจิกายน 2560 ณ หองประชุม 2 ชั้น 9 กรมสนับสนุนบริการสขุภาพ

มติท่ีประชุมสรุปไดดังนี ้ 5.2.1.1 การดําเนินงานพัฒนาเว็บไซตกลางดาน MRAs ของอาเซียน เพ่ือรองรับการเคลื่อนยายของบุคคลธรรมดาสาขาแพทย ทันตแพทย และพยาบาลตามความตกลงการยอมรับรวมของบุคคลธรรมดา (MRAs) ภายใตกรอบการคาบ ริ ก า ร สุ ข ภ า พ อ า เ ซี ย น ใ ห ใ ช เ ว็ บ ไ ซ ต ก ล า ง คื อ http://www.aseanhealthcare.org ท่ีทางประเทศอินโดนีเซียไดเปนเจาภาพในการจัดทํา ท่ีประชุมพบวา

หนา 65

Page 70: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ประเทศสมาชิกบางประเทศเกิดปญหาในการอัพโหลดขอมูลลงเว็บไซต รวมถึงการแปลขอมูลจากภาษาประจําป ร ะ เ ท ศ เ ป น ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ด ว ย โ ด ย อิ น โ ด นี เ ซี ย ไ ด ใ ห ข อ มู ล ก า ร ติ ด ต อ กั บ Webmaster ([email protected]) ท่ีจะสามารถใหความชวยเหลือกับประเทศสมาชิกในการอัพโหลดขอมูลลงเว็บไซตได ซ่ึงท่ีประชุมไดรองขอใหประเทศสมาชิกอัพโหลดขอมูลใหสมบูรณกอนวันท่ี 31 ธันวาคม 2560 5.2.1.2 การทําธุรกรรมอิเล็กทรอนิกสทางดานสาธารณสุข (e-Health) ใหใช eHealth Framework ของศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประกอบดวย 6 ยุทธศาสตร คือ 1) จัดต้ังองคกรกลาง ความรวมมือการบริหารจัดการ eHealth 2) พัฒนาและปรับปรุงสถาปตยกรรมองคกร และโครงสรางพ้ืนฐาน เพ่ือสนับสนุนการใหบริการ eHealth แกประชาชน 3) สรางมาตรฐานของระบบขอมูลสุขภาพ การบูรณาการขอมูลสารสนเทศ และการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยน ขอมูลท่ีมีประสิทธิภาพ 4) ขับเคลื่อนและ พัฒนานวัตกรรม ระบบบริการและ โปรแกรมประยุกตดาน eHealth ท่ีเปนประโยชนตอระบบบริการ สุขภาพ (health care service delivery) และประชาชน รวมท้ัง มีการคุมครองทรัพยสินทางปญญา 5) ผลักดันการใชกฎหมาย ระเบียบ วิธีปฏิบัติ และมาตรฐานท่ีเหมาะสมเพ่ือสนับสนุนการใช ICT ในระบบสุขภาพ 6) การพัฒนาทุน มนุษยดาน eHealth และ เทคโนโลยีสารสนเทศการจัดการความรูดานการแพทยและสุขภาพสําหรับประชาชน 5.2.1.3 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดจัดทําหนังสือขอความอนุเคราะหนําเขาขอมูลลงในเว็บไซตบริการสุขภาพอาเซียน (ASEAN Healthcare Service Website) จากสามสภาวิชาชีพ เม่ือวันท่ี 25 ธันวาคม 2561 (หนังสือกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ดวนท่ีสุด ท่ี สธ 0707.03/1311 ลงวันท่ี 25 ธันวาคม 2560) และวันท่ี 28 กุมภาพันธ 2561 (หนังสือกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ดวนท่ีสุด ท่ี สธ 0707.03/250 ลงวันท่ี 28 กุมภาพันธ 2561) เพ่ือรายงานความกาวหนาในการประชุมคณะกรรมการประสานงานดานบริการอาเซียน (CCS) และการประชุมท่ีเก่ียวของในครั้งถัดไป 5.2.2 การประชุมคณะทํางานพัฒนาและบริหารจัดการเว็บไซตบริการสุขภาพอาเซียน (ASEAN Healthcare Services Website) ครั้งท่ี 1/2561 เม่ือวันอังคารท่ี 10 เมษายน 2561 ณ หองประชุม 2 ชั้น 9 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

ผลการดําเนินงาน 5.2.2.1 ใหแตงตั้งคณะทํางานพัฒนาและบริหารจัดการเว็บไซต (website) เพ่ือรองรับการเคลื่อนยายของบุคคลธรรมดาสาขาแพทย ทันตแพทย และพยาบาล ตามความตกลงการยอมรับรวมของบุคคลธรรมดา (MRAs) ภายใตกรอบการคาบริการสุขภาพอาเซียน เพ่ือดําเนินงานบริหารจัดการเว็บไซต ดานนําเขาเนื้อหาขอมูล โดยมีการประสานขอรายชื่อผูบริหารจัดการเว็บไซต ทําหนาท่ีการนําเขาขอมูลในระดับของ Country Administrator เพ่ิมเติมคือ นางเสาวภา จงกิตติพงศ ผูอํานวยการกองสุขภาพระหวางประเทศ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยไดสงรายชื่อของผูแทนทําหนาท่ี Country Administrator เพ่ิมเติม แจงไปยังกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย เพ่ือเสนอตอไปยังประเทศอินโดนีเซีย และไดแจงไปยังเลขาธิการอาเซียน

หนา 66

Page 71: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

รายช่ือผูบริหารจัดการเว็บไซต (Administrator)

5.2.2.2 การนําเขาขอมูล ลงบนเว็บไซต http://www.aseanhealthcare.org รายละเอียดดังนี้

ตําแหนง หนวยงาน รายช่ือ

Country Administrator ทันตแพทยสภา ทพ.ดร.นฤมนัส คอวนิช

Country Administrator กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

นางเสาวภา จงกิตติพงศ

Medical General Administrator แพทยสภา นางสาวอตินารถ พ่ึงความชอบ

Dental General Administrator ทันตแพทยสภา ทพ.เทอดศักดิ์ อุตศรี

Nurse General Administrator สภาการพยาบาล รศ.ดร.ศิริอร สินธุ

Support General Administrator กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

นางสาวศิรินภา สระทองหน

หนา 67

Page 72: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ตารางแสดงรายการนําเขาขอมูลลงบนเว็บไซตบริการสุขภาพอาเซียน

หมวดท่ี รายการ ผูรับผิดชอบ หมวด 1 Home หนาแรกของการเขาใชงานเว็บไซต ประเทศอินโดนีเซีย หมวด 2 About แสดงขอมูลเก่ียวกับ ASEAN Healthcare Services

Website ประเทศอินโดนีเซีย

หมวด 3 ASEAN MRA - สภาวิชาชีพ หมวด 4 Regulations - สภาวชิาชีพ / ส.บ.ส. หมวด 5 Educations - สภาวชิาชีพ / ส.บ.ส. หมวด 6 PRA - สภาวิชาชีพ หมวด 7 Publication (1) หัวขอ Country Related เรื่อง Laws, government

regulations, MoH / MoEd regulations มีการลงขอมูลขอมูลดังนี้

• พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2559

• พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒

• การกําหนดชื่อสถานพยาบาลและการแสดงรายละเอียดเก่ียวกับชื่อสถานพยาบาล

• ประเภทของสถานพยาบาลและบริการ

• ผูประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลและเลขท่ีใบประกอบวิชาชีพเวชกรรม

(2) หัวขอ Country Related เรื่อง Document Related to Registration and Licensing มีการลงขอมูลขอมูลดังนี ้

1) Medical Practitioner ลงขอมูลเก่ียวกับคณะอนุกรรมการบริหาร

2) Dental Practitioner ลงขอมูลเก่ียวกับการสมัครสมาชิกทันตแพทยสภา

3) Nursing Practitioner ลงขอมูลเก่ียวกับกฎหมายและใบอนุญาตประกอบวิชาชีพพยาบาล (3) หัวขอ Conducts Concern มีการลงขอมูลขอมูล ดังนี้ 1) Nursing and Midwifery Regulation on Code of Professional Conduct (B.E. 2550) (4) หัวขอ Events Calendar มีการลงขอมูลขอมูลดังนี ้ 1) Medical Conference 2559 2) Medical and Dental Conference 2559

สภาวชิาชีพ / ส.บ.ส.

หนา 68

Page 73: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

3) TNMC & WANS International Nursing Research Conference 2560 (5) หัวขอ Article มีการลงขอมูลขอมูลดังนี้ 1) บทความท่ี WHO ถวายความอาลัยแกในหลวงรัชกาลท่ี 9

หมวด 8 PRA Forum - สภาวิชาชีพ หมวด 9 FAQ - สภาวิชาชีพ

5.2.2.3 สรุปปญหาการนําเขาขอมูลลงบนเว็บไซตบริการสุขภาพอาเซียนและแนวทางการแกปญหา เพ่ือเสนอคณะกรรมการประสานงานดานบริการอาเซียน (Coordinating Committee on Service: CCS) แนวทางการแกปญหานําเขาขอมูลลงบนเว็บไซตบริการสุขภาพอาเซียน สามารถติดตอ Webmaster ของประเทศอินโดนีเซีย ไดดังนี้ (1) Email: [email protected] (2) ผานโปรแกรม TeamViewer (3) ผาน application: Whatsapp หมายเลขโทรศัพท +62 852-1556-6605 (Ms.Irman Irawan)

3. ยุทธศาสตรรองรับการเคล่ือนยายของผูประกอบวิชาชีพสาขาแพทย ทันตแพทย และพยาบาล ตามความตกลง การยอมรับคุณสมบัติรวมของบุคคลธรรมดา (MRAs) ภายใตกรอบการคาบริการสุขภาพอาเซียนป พ.ศ. 2561 – 2565 หลักการและเหตุผล

จากประชุมคณะกรรมการเตรียมการรองรับการเคลื่อนยายของผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพตามขอตกลงอาเซียน (MRAs) ครั้งท่ี 2/2560 เม่ือวันท่ี 12 ธันวาคม 2561 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดปรับปรุงแกไข (ราง) กรอบแนวทางการดําเนินงาน / ยุทธศาสตรรองรับการเคลื่อนยายของผูประกอบวิชาชีพสาขาแพทย ทันตแพทย และพยาบาล ตามความตกลง การยอมรับคุณสมบัติรวมของบุคคลธรรมดา (MRAs) ภายใตกรอบการคาบริการสุขภาพอาเซียน ป พ.ศ. 2561 – 2565 และรองปลัดกระทรวงสาธารณสุข เห็นชอบยุทธศาสตรรองรับการเคลื่อนยายของผูประกอบวิชาชีพสาขาแพทย ทันตแพทย และพยาบาล ตามความตกลงการยอมรับคุณสมบัติรวมของบุคคลธรรมดา (MRAs) ภายใตกรอบการคาบริการสุขภาพอาเซียน ป พ.ศ. 2561 - 2565 ลงนาม เม่ือวันท่ี 17 กรกฎาคม 2561 และประกาศใชเปนกรอบแนวทางดําเนินงานกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ พรอมกับพิจารณางบประมาณภายใน เพ่ือทําแผนปฏิบัติการรองรับสูประชาคมอาเซียน โดยมีแผนการดําเนินงาน ดังนี ้ (1) การจัดทําฐานขอมูลกลางรวมกันของสภาวิชาชีพและการจัดการเว็บไซตเชื่อมโยงกับ 3 สภาวิชาชีพ (2) การพัฒนาศักยภาพของสถานพยาบาลใหมีความพรอมเตรียมรองรับการเคลื่อนยายของ ผูประกอบวิชาชีพทางการแพทย โดยเฉพาะสถานพยาบาลท่ีอยูในเขตชายแดนและในเขตท่ีบุคลากรทางการแพทยนิยมเคลื่อนยาย รวมท้ังการพัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกในสถานพยาบาลรองรับการเคลื่อนยายบุคลากรฯ

ผลการดําเนินงาน กองสุขภาพระหวางประเทศ โดยกลุมความรวมมือสุขภาพระหวางประเทศ ไดจัดทํายุทธศาสตรรองรับการเคลื่อนยายของผูประกอบวิชาชีพสาขาแพทย ทันตแพทย และพยาบาล ตามความตกลง การยอมรับคุณสมบัติรวมของบุคคลธรรมดา (MRAs) ภายใตกรอบการคาบริการสุขภาพอาเซียนป พ.ศ. 2561 – 2565 และแจงเวียน ยุทธศาสตรรองรับการเคลื่อนยายของผูประกอบวิชาชีพสาขาแพทย ทันตแพทย และพยาบาล

หนา 69

Page 74: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ตามความตกลงการยอมรับคุณสมบัติรวมของบุคคลธรรมดา (MRAs) ภายใตกรอบการคาบริการสุขภาพอาเซียน ป พ.ศ. 2561 ใหกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ 5.3 การพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตร สุขภาพระดับนานาชาติ (ระดับปริญญาตรี : Undergraduate, ระดับหลังปริญญา: Postgraduate และหลักสูตรระยะส้ัน: Short course Training) ความเปนมา แนวคิดของการดําเนินงานเพ่ือเปนการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรสุขภาพ โดยเริ่มตนท่ีหลักสูตรแพทยศาสตร เพ่ือยกระดับมาตรฐานการจัดการเรียนการสอนวิชาแพทยในระดับกอนปริญญาใหเทียบเทานานาชาติ สรางศักยภาพการแขงขันของประเทศไทย รวมท้ังการเตรียมความพรอมในการรองรับ การเจรจาการคาเสรีในระดับตางๆ ท้ังนี้ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดเคยหารือรวมกับกับคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เม่ือเดือนกรกฎาคม 2556 ซ่ึงผูเชี่ยวชาญจากคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒในขณะนั้น (ศ.นพ.วุฒิชัย ธนาพงศธร) ไดเสนอการพัฒนาหลักสูตร M.D. International Program โดยเปนการรับนักศึกษาจากนักเรียนตางชาติ หรือนักเรียนไทยท่ีจบการเรียนจากหลักสูตร International หรือนักศึกษาท่ีจบปริญญาตรีหลักเกณฑเทียบนานาชาติ และหลักสูตรนี้ใชเวลาเรียนรวม 7 ป และเปนการเรียนการสอนโดยไมขอรับงบประมาณอุดหนุนจากรัฐบาลเหมือนโครงการผลิตแพทยใดๆ จึงไมมีขอผูกพันเพ่ือการชดใชทุนเหมือนโรงเรียนแพทยของรัฐ โดยการเรียนการสอนเม่ือครบ 4 ปแรกและสอบผาน USMLE (United State Medical Licensing Examination) Part 1 จึงจะไดรับปริญญาวิทยาศาสตรการแพทย และเม่ือเรียนครบ 6 ปและสอบผาน USMLE Part 2 จึงจะไดรับปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต นอกจากนี้ มีการพัฒนาใหนักศึกษามีโอกาสสอบเพ่ือรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรมในประเทศไทยสวนท่ี 1 และ 2 (Thai National License Examination Part 1 and 2) สําหรับการเรียนการสอน ในชั้นพรีคลินิกและชั้นคลินิกจะเปนการเรียนการสอนรวมกับโรงพยาบาลเอกชน และศูนย Simulator และเม่ือเรียนจบปท่ี 6 จึงเปนแพทยฝกหัด (Internship) โดยเปนการฝกปฏิบัติงานกับผูปวยในโรงพยาบาลท่ีแพทยสภารับรอง จึงสามารถสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรมในประเทศไทยสวนท่ี 3 (Part 3) ภายหลังจากนั้นจึงไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม ประโยชนของการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรสุขภาพระดับนานาชาติ (1) เพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศไทยดานเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาต ิ(Medical Hub) (2) ยกระดับมาตรฐานดานการศึกษาทางการแพทยของประเทศไทย ใหกาวเขาสูการรับรองคุณภาพสากล (World Federation for Medical Education: WFME) (3) เพ่ิมกําลังการผลิตบุคลากรทางการแพทยเพ่ือรองรับประชากรระดับนานาชาติ (Global Doctor for Global Citizen) (4) เปนทางเลือกใหมใหกับนักศึกษาไทยท่ีเรียนในหลักสูตรนานาชาติ ซ่ึงปจจุบันแนวโนมของการศึกษายุคใหมเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากเปนสังคมโลกไรพรมแดนซ่ึงการสื่อสารภาษาสากลเปนสิ่งสําคัญ จึงมีแนวโนมของนักเรียนท่ีเขาสูระบบการศึกษาท่ีเปนหลักสูตรนานาชาติมากข้ึน ผลการดําเนินงาน จัดทําฐานขอมูลหลักสูตรนานาชาติท่ีมีอยูในประเทศ เพ่ือประชาสัมพันธไปยังกระทรวงการตางประเทศ และสถานเอกอัครราชทูตตางประเทศในไทยในกลุมประเทศ CLMV เพ่ือประชาสัมพันธ รวมท้ังประสานงานเก่ียวกับ license/ ตําแหนงงาน/ Career Part เม่ือตองกลับไปทํางานในตางประเทศ กับสภาวิชาชีพ

หนา 70

Page 75: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

5.4 การพัฒนาหลักเกณฑการออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพช่ัวคราว (Temporary license) ความเปนมา จากท่ีประชุมระดับนโยบายในการติดตามความกาวหนาประเด็นการพัฒนา Academic Hub ครั้งท่ี 2/2557 วันท่ี 1 สิงหาคม 2557 แพทยสภาไดแจงถึงหลักเกณฑการใหใบอนุญาตประกอบวิชาชีพชั่วคราววา หนวยงานท่ีเชิญแพทยผูเชี่ยวชาญจากตางประเทศตองเปนหนวยงานราชการ ราชวิทยาลัย หรือหนวยงานท่ีแพทยสภาใหการรับรอง โดยจะประกอบวิชาชีพภายใตการดูแลของแพทยในประเทศไทย ในสถานท่ีและเวลาท่ีกําหนด ไดไมเกิน 1 ป และอยูระหวางการพิจารณาจัดต้ังคณะกรรมการเฉพาะเพ่ือพิจารณาประเด็นดังกลาวรวม ท้ังยั งแพทยชาวต า งชาติ ท่ี มีความรู ความชํ านาญ ในสาขาวิชาเฉพาะ (Professor) สามารถเขามาสอนภาคทฤษฎีและปฏิบัติแกนักศึกษาแพทย/แพทยในประเทศไทย ซ่ึงสามารถนําองคความรูมาใชได แตพบวาเปนไป ในลักษณะ with condition คือ ในสถานท่ีท่ีกําหนด โดยอนุญาตใหเฉพาะมหาวิทยาลัยของรัฐและนักวิจัย ตามขอกําหนดแหงกฎหมาย พระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525 หมวด 5 การควบคุมการประกอบวิชาชีพเวชกรรม มาตรา 26 หามมิใหผูใดประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือแสดงดวยวิธีใดๆ วาพรอมท่ีจะประกอบวิชาชีพเวชกรรมโดยมิไดเปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามพระราชบัญญัตินี้ เวนแตในกรณีดังตอไปนี้ (1) - (6) การประกอบวิชาชีพเวชกรรมของท่ีปรึกษาหรือผูเชี่ยวชาญของทางราชการซ่ึงมีใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมของตางประเทศ ท้ังนี้ โดยอนุมัติของคณะกรรมการ ขอเท็จจริง 1. ระบบการออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรมชั่วคราว (Temporary License) ในไทยปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525 หมวด 5 การควบคุมการประกอบวิชาชีพ เวชกรรม ตามมาตรา 26 บัญญัติวา “หามมิใหผูใดประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือแสดงดวยวิธีใดๆ วาพรอมท่ีจะประกอบวิชาชีพ เวชกรรมโดยมิไดเปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามพระราชบัญญัตินี้ เวนแตในกรณีดังตอไปนี้ (1) การประกอบวิชาชีพเวชกรรมท่ีกระทําตอตนเอง (2) การชวยเหลือเยียวยาผูปวยตามศีลธรรมโดยไมรับสินจางรางวัล แตการชวยเหลือเยียวยาดังกลาวตองมิใชเปนการกระทําทางศัลยกรรม การใชรังสี การฉีดยาหรือสสารใดๆ เขาไปในรางกายของผูปวย การแทงเข็มหรือการฝงเข็ม เพ่ือบําบัดโรคหรือระงับความรูสึก หรือการใหยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ วัตถุออกฤทธิ์ตอจิตและประสาทหรือยาเสพติดใหโทษ ตามกฎหมายวาดวยการนั้น แลวแตกรณีแกผูปวย (3) นักเรียน นักศึกษา หรือผูรับการฝกอบรม ในความควบคุมของสถาบันการศึกษา ของรัฐบาล สถาบันการศึกษาท่ีรัฐบาลอนุมัติใหจัดตั้ง สถาบันทางการแพทยของรัฐบาล สถาบันการศึกษาหรือสถาบันทางการแพทยอ่ืนท่ีคณะกรรมการรับรอง ท่ีกระทําการฝกหัดหรือฝกอบรมวิชาชีพเวชกรรม หรือการประกอบโรคศิลปะภายใตความควบคุมของเจาหนาท่ีผูฝกหัด หรือผูใหการฝกอบรม ซ่ึงเปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือผูประกอบโรคศิลปะ

หนา 71

Page 76: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

(4) บุคคลซ่ึงกระทรวง ทบวง กรม กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล องคการบริหารสวนทองถ่ินอ่ืนตามท่ีรัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุ เบกษา หรือสภากาชาดไทยมอบหมายใหประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือประกอบโรคศิลปะในความควบคุม ของเจาหนาท่ี ซ่ึงเปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือผูประกอบโรคศิลปะในสาขานั้นๆ ท้ังนี้ ตามระเบียบ ท่ีรัฐมนตรีกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา (5) ผูประกอบโรคศิลปะซ่ึงประกอบโรคศิลปะตามขอจํากัด และ เง่ือนไขตามกฎหมายวาดวยการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ (6) การประกอบวิชาชีพเวชกรรมของท่ีปรึกษาหรือผู เชี่ ยวชาญของทางราชการ ซ่ึงมีใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมของตางประเทศ ท้ังนี้ โดยอนุมัติของคณะกรรมการ (7) การประกอบโรคศิลปะของท่ีปรึกษาหรือผูเชี่ยวชาญของทางราชการ ซ่ึงมีใบอนุญาตเปนผูประกอบโรคศิลปะของตางประเทศ ท้ังนี้ โดยอนุมัติของคณะกรรมการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ” โดยพิจารณาความเปนไปไดในการกําหนดแนวปฏิบัติ/ระเบียบท่ีอนุญาตใหแพทยชาวตางชาติสามารถเขามาสอนในสถาบันการศึกษา/โรงพยาบาลของภาครัฐและแบงชวงเวลาไปสอน/ปฏิบัติงานในภาคเอกชน โดยมีภาครัฐเปนผูเชิญเขามา และใหโอกาส Practice ในไทยไดไมเกิน 1 ป แตการดําเนินงานดังกลาวอาจมีขอจํากัด เรื่องขอบังคับท่ีตองขอข้ึนทะเบียนใบอนุญาตเปนกรณีพิเศษ และยังไมมีการกําหนด คําจํากัดความไวอยางชัดเจน โดยระเบียบ/วิธีการท่ีจะใหผูท่ีจบการศึกษาจากตางประเทศเขามาประกอบวิชาชีพทางการแพทยในไทยได ข้ึนอยูกับสภาวิชาชีพตางๆ เปนผูพิจารณาอนุมัติ เนื่องจากเปนหนวยงาน ท่ีรับผิดชอบในการออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศไทย ผลการดําเนินงาน ระบบการออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรมชั่วคราว (Temporary License) ในประเทศไทยยังคงตองถือปฏิบัติตามนัยแหงกฎหมาย โดยพิจารณาความเปนไปไดในการกําหนดแนวปฏิบัติ/ระเบียบ ท่ีอนุญาตใหแพทยชาวตางชาติสามารถเขามาสอนในสถาบันการศึกษา/โรงพยาบาลของภาครัฐ และแบงชวงเวลาไปสอนหรือปฏิบัติงานในภาคเอกชน โดยมีภาครัฐเปนผูเชิญเขามา ซ่ึงการขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรมชั่วคราวสวนใหญเปนชาวตางชาติ และใหโอกาส Practice ในไทยไดไมเกิน 1 ป แตการดําเนินงานดังกลาวอาจมีขอจํากัด เรื่องขอบังคับท่ีตองขอข้ึนทะเบียนใบอนุญาตเปนกรณีพิเศษ และยังไมมีการกําหนดคําจํากัดความไวอยางชัดเจน ท้ังนี้ในสวนของระเบียบ/วิธีการท่ีจะใหผูท่ีจบการศึกษาจากตางประเทศเขามาประกอบวิชาชีพทางการแพทยในประเทศไทยได ข้ึนอยูกับสภาวิชาชีพตางๆ เชน แพทยสภา ทันตแพทยสภา สภาเภสัชกรรม สภาการพยาบาล ท่ีจะเปนผูพิจารณาอนุมัติ เนื่องจากเปนหนวยงานท่ีรับผิดชอบในการออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพแกแพทย ทันตแพทย เภสัชกร พยาบาล ท่ีประกอบวิชาชีพในประเทศไทยแพทยสภาไดมีการประชุมหารือเพ่ือพิจารณาแนวทางการออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรมชั่วคราว (Temporary License) สําหรับท้ังชาวไทยและชาวตางชาติท่ีสําเร็จการศึกษาดานวิชาชีพทางการแพทย จากตางประเทศ ภายใตพระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2525 ท้ังนี้ อยูระหวางการพิจารณาปรับปรุงกฎ/ระเบียบท่ีเก่ียวของ เพ่ือกําหนดหลักเกณฑและเง่ือนไขการออกใบอนุญาตดังกลาว 5.5 การพัฒนาระบบการศึกษาตอแพทยเฉพาะทางโดยใหภาคเอกชนรวมเปนตนสังกัด (Affiliated Private Training) ความเปนมา โรงพยาบาลเอกชนประสงคจะขอรับเปนตนสังกัดและขอโควตาใหแกบุคลากรทางการแพทย ของตนเอง เพ่ือเขารับการศึกษาในหลักสูตรระดับหลังปริญญา (Postgraduate) จากเดิมโรงพยาบาลเอกชน

หนา 72

Page 77: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ไมสามารถรับเปนหนวยงานตนสังกัดได โดยมีวัตถุประสงคหลักเพ่ือพัฒนาศักยภาพบุคลากร และแกปญหาการขาดแคลนบุคลากรของภาคเอกชน การพัฒนาระบบการเรียนการสอนโดยภาคเอกชน (Affiliated Private Training) โดยการผลักดันใหภาคเอกชนเขามามีสวนรวมในการจัดการเรียนการสอนรวมกับภาครัฐ ซ่ึงจะสามารถเปนชองทางในการใชศักยภาพของโรงพยาบาลเอกชนและผูเชี่ยวชาญในภาคเอกชนซ่ึงเปนผูมีความสามารถทางการแพทยและเปนท่ียอมรับในระดับนานาชาติ ในลักษณะ Affiliate ซ่ึงการดําเนินการดังกลาวสอดคลองกับพระราชบัญญัติดังนี้ (1) พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2559 มาตรา ๑๐ ใหเพ่ิมความตอไปนี้เปนมาตรา ๑๔/๑ แหงพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ “มาตรา ๑๔/๑ สถานพยาบาลอาจจัดใหมีการศึกษา การฝกอบรม การวิจัยทางการแพทยและสาธารณสุข หรือการประสานความรวมมือกับหนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจหรือองคกรเอกชนในการถายทอดเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมท่ีเก่ียวเนื่องกับการประกอบโรคศิลปะหรือการประกอบวิชาชีพทางการแพทยและสาธารณสุข เพ่ือเปนการสงเสริมและพัฒนาคุณภาพของสถานพยาบาล ท้ังนี้ ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการนั้น และหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีกําหนดในกฎกระทรวง” (2) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2543 มาตรา 19 การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาใหจัดในมหาวิทยาลัย สถาบันวิทยาลัย หรือหนวยงานท่ีเรียกชื่ออยางอ่ืน ท้ังนี้ใหเปนไปตามกฎหมายท่ีเก่ียวกับสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา กฎหมายวาดวยการจัดตั้งสถานศึกษานั้นๆ และกฎหมายท่ีเก่ียวของ (3) พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 มาตรา 8 สถาบันอุดมศึกษาเอกชนเปนสถานศึกษาและวิจัย มีวัตถุประสงคในการใหการศึกษา สงเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทําการสอน ทําการวิจัย ใหบริการทางวิชาการแกสังคม และทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ (4) พระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525 มาตรา 26 หามมิใหผูใดประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือแสดงดวยวิธีใดๆ วาพรอมท่ีจะประกอบวิชาชีพเวชกรรมโดยมิไดเปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามพระราชบัญญัตินี้ เวนแตในกรณีดังตอไปนี้ (1) - (6) การประกอบวิชาชีพเวชกรรมของท่ีปรึกษาหรือผูเชี่ยวชาญของทางราชการซ่ึงมีใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมของตางประเทศ ท้ังนี้ โดยอนุมัติของคณะกรรมการ

ขอเท็จจริง 1. สําหรับการศึกษาตอในระดับหลังปริญญา เปนการฝกอบรมเพ่ือเปนแพทยประจําบาน แพทยประจําบานตอยอด และแพทยเฟลโลว ในลักษณะเปนแพทยผู เชี่ยวชาญสาขาและอนุสาขาตางๆ ใชเวลาในการฝกอบรมสาขาละ 3-5 ป เม่ือสําเร็จการศึกษาแลวจะตองสอบเพ่ือรับวุฒิบัตรผูมีความรูความชํานาญเฉพาะทางสาขานั้น โดยหลักสูตรการเรียนการสอนจะแบงออกเปน 2 ระดับ คือ ระดับท่ี 1 เปนการฝกอบรมแพทยประจําบานชั้นปท่ี 1 โดยฝกอบรมท่ัวไปในแตละสาขาวิชา และเรียนควบคูไปกับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตรการแพทยคลินิกของบัณฑิตวิทยาลัย ระดับท่ี 2 เปนการเรียนในชั้นปท่ี 2 เปนตนไป เปนการฝกอบรมเพ่ือรับวุฒิบัตรแสดงความรู ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาตางๆของแพทยสภาประกอบกับพระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525 มาตรา 26 หามมิใหผูใดประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือแสดงดวยวิธีใดๆ วาพรอมท่ีจะประกอบวิชาชีพเวชกรรมโดยมิไดเปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามพระราชบัญญัตินี้ เวนแตในกรณีดังตอไปนี้ (1) - (7) การประกอบวิชาชีพเวชกรรม ของท่ีปรึกษาหรือผูเชี่ยวชาญของทางราชการซ่ึงมีใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมของตางประเทศ ท้ังนี้ โดยอนุมัติของคณะกรรมการ

หนา 73

Page 78: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

2. สําหรับสถาบันผลิตแพทยประจําบานในประเทศไทย มีหลายแหง ซ่ึงบางแหงเปดอบรมเฉพาะบางสาขา ข้ึนอยูกับขอบเขตงานบริการและศักยภาพของแตละสถาบันดังนี้ 1) กลุมคณะแพทยศาสตร ไดแก คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย/ คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล/ คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล/ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร/ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ/คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม/ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน/ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร/ คณะแพทยศาสตรวชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช 2) กลุมโรงพยาบาล ไดแก โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา/ โรงพยาบาลสมเด็จพระปนเกลา/ โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช/ โรงพยาบาลตํารวจ/ โรงพยาบาลสิริกิติ์/ โรงพยาบาลกลาง/ โรงพยาบาลตากสิน/ โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ/ โรงพยาบาลราชวิถี/ โรงพยาบาลเลิดสิน/ สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี/ สถาบันประสาทวิทยา/ สถาบันโรคผิวหนัง/ สถาบันสมเด็จเจาพระยา/ สถาบันยุวประสาทไวทโยปถัมภ/ สถาบันโรคทรวงอก/ โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ/ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี/ โรงพยาบาลศรีธัญญา/โรงพยาบาลชลบุรี/ โรงพยาบาลพระปกเกลา/ โรงพยาบาลพระพุทธชินราช/ โรงพยาบาลสวรรคประชารักษ/ โรงพยาบาลลําปาง/ โรงพยาบาลขอนแกน/ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา/ โรงพยาบาลหาดใหญ/ โรงพยาบาลราชบุร/ี โรงพยาบาลสระบุรี/ โรงพยาบาลอุดรธานี/ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค/ โรงพยาบาลสุราษฎรธานี/ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห/ โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช/ โรงพยาบาลคายสุรนารี/ โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา สภากาชาดไทย/สํานักระบาดวิทยา/ สถาบันสมเด็จเจาพระยา/ สถาบันพยาธิวิทยา 5.6 การพัฒนาระบบการใหทุนการศึกษาแพทยกลุมประเทศ CLMV ความเปนมา แนวคิดของการดําเนินงานเพ่ือเปนการใหทุนนักศึกษาจากกลุมประเทศ CLMV (ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมา และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม) เขามาศึกษาทางดานการแพทยหรือวิทยาศาสตรสุขภาพในประเทศไทย วัตถุประสงคเพ่ือเปน การเพ่ิมขีดความสามารถของประเทศไทยในการกาวข้ึนเปนผูนําดาน Academic Hub ในภูมิภาคอาเซียนให บุคลากรเหลานี้นําความรูกลับไปพัฒนาระบบสุขภาพของประเทศตนเองใหมีคุณภาพมาตรฐาน สรางเครือขายการพัฒนาระบบสุขภาพรวมกัน เพ่ือสราง Brand Loyalty ผลการดําเนินงาน 1. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดจัดทําหนังสือขอความอนุเคราะหขอมูลการจัดสรรทุน แกนักศึกษากลุมประเทศ CLMV เม่ือวันท่ี 23 กุมภาพันธ 2561 (หนังสือกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ดวนท่ีสุด ท่ี สธ 0707.03/241 ลงวันท่ี 23 กุมภาพันธ 2561) สงใหสภาวิชาชีพ สถาบันการศึกษาและราชวิทยาลัย เพ่ือนํามาใชเปนขอมูลประกอบการพิจารณาของคณะอนุกรรมการฯ โดยปจจุบันมหาวิทยาลัยของไทยท่ีเปดหลักสูตรการเรียนการสอนทางดานวิชาการแพทยมีทุนการศึกษาใหแกบุคคลซ่ึงเปนชาวตางชาติในกลุมประเทศ CLMV 2. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพจัดทําฐานขอมูลการจัดสรรทุนแกนักศึกษากลุมประเทศ CLMVและประสานงานกับกระทรวงการตางประเทศและสถานทูตตางประเทศในไทย (กลุมประเทศ CLMV) เพ่ือประชาสัมพันธการใหทุนการศึกษา

หนา 74

Page 79: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

5.7 การพัฒนา Research Center หลักการและเหตุผล (1) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดจัดประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางบริการวิชาการ (Academic Hub) ครั้งท่ี 1/2560 เม่ือวันท่ี 23 พฤศจิกายน 2560 ซ่ึงท่ีประชุมเห็นชอบในหลักการพัฒนา Research Center ในประเทศไทยแบบครบวงจร และพัฒนา Model โดยการนํา Road Map ของ ThaiTECH มาเปนตนแบบการวิจัยทางคลินิก (2) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดจัดประชุมเพ่ือหารือแนวทางการพัฒนา Research Center ในประเทศไทยแบบครบวงจร รองรับการเปนศูนยกลางบริการวิชาการ (Academic Hub) เม่ือวันท่ี 10 มกราคม 2561 โดยท่ีประชุมมีมติใหสํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) จัดตั้ง Body ในลักษณะ National Clinical Research and Coordinating Center ทําหนาท่ีประสานงานกับหนวยงานกลางจํานวน 17 แหง และพัฒนาเปนจํานวน 50-100 แหงตอไป โดยเนนเฉพาะการวิจัยในคน ในชวง Clinical Trial ท่ีไดมาตรฐานและเปนท่ียอมรับ พรอมท้ังพิจารณาก ฎ ห ม า ย ท่ี เ ก่ี ย ว ข อ ง โ ด ย ม อ บ ห ม า ย ใ หกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีและสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติพิจารณาการปรับปรุง/แกไขกฎหมายท่ีเก่ียวของเพ่ือผอนปรนการดําเนินงานดานการวิจัย ขอเท็จจริง (1) ปจจุบันโรงพยาบาลเกือบทุกแหงในประเทศไทยมีศูนยวิจัยคลินิกประจําโรงพยาบาล โรงพยาบาลขนาดใหญของกระทรวงสาธารณสุขเริ่มมีการจัดตั้งศูนยวิจัยคลินิกประจําโรงพยาบาลมีการทํางานเปนเครือขายกัน เพราะงานวิจัยทางการแพทยเก่ียวของกับหลายสถาบัน (Multicenter clinical Research) จึงตองมีสมาชิกจากหลายๆ โรงพยาบาลรวมกันในโครงการเดียว มีการจัดตั้งโครงการหนึ่งข้ึน ซ่ึงเปนโครงการท่ีนําเอายามาทดสอบในมนุษยแตตองอยูในมาตรฐานสูง หลายสถาบันทางการแพทยกําลังดําเนินการจัดตั้งอยู ในสวนของหองทดลองดานยาสวนใหญเปนบริษัทขามชาติท่ีมียานิยมมาทําวิจัยในเมืองไทย ในสวนของ Thai FDA ไดมีการปรับปรุงวิธีการทํางาน มีการตอบสนองกับปญหาท่ีเกิดข้ึน มีการทํา Bio Pharm physical industry (2) หนวยงานของภาครัฐไดมีการลงทุนทําวิจัย National small animal facility ใหกับมหาวิทยาลัยมหิดล ศูนยสัตวทดลองลิงท่ีสระบุรี ท่ีมีการลงทุนใหกับมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ ซ่ึง IP Protection Policy ท่ีตองเชื่อมโยงกันมีประสิทธิภาพท่ีต่ําและทางมหาวิทยาลัยยังไมมีความพรอมจึงตองมีการจดัการระบบ ในดานของ OP Lap และกระบวนการท่ีผานการอนุมัติโดยองคกรของรัฐยังมีนอย ผลการดําเนินงาน ศูนยความเปนเลิศดานชีววิทยาศาสตร (องคการมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมกับเครือขาย เอกชน มหาวิทยาลัย และ Thailand Towards Excellence in Clinical Trials (ThaiTECH) โดยมีการแบง Segment ของอุตสาหกรรมใหมท่ีจะเกิดข้ึนจากการดําเนินการตาม roadmap มีรายละเอียดดังนี้ (1) อุตสาหกรรมการผลิต: ชีววิทยาศาสตร (life sciences) ไดแก ยาจากผลิตภัณฑธรรมชาติ (new technology, new drugs) เภสัชภัณฑ และเครื่องมือแพทย ผลิตภัณฑจากสมุนไพร ชีวเภสัชภัณฑ ทางการแพทย และวัคซีน (biopharmaceutical products) regenerative medicine เทคโนโลยีชีวภาพ (biotech)

หนา 75

Page 80: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

(2) อุตสาหกรรมการบริการ : ธุรกิจการบริหารงานวิจัยทางคลินิก (CRO) ธุรกิจศูนยวิจัยคลินิก (CRC) ธุรกิจศูนยบริหารจัดการขอมูลงานวิจัยทางคลินิก (DMU) ธุรกิจการใหบริการจัดเตรียมขอมูลและเอกสารสําหรับการข้ึนทะเบียน (publisher for registration), ธุรกิจหองปฏิบัติการรองรับงานวิจัยทางคลินิก (lab center) (3) อาชีพท่ีจําเปนตอการดําเนินงาน เชน แพทย พยาบาล นักวิจัย นักชีวสถิติ เภสัชกร นักชีวเคมี นักวิทยาศาสตรการแพทย นักเทคนิคการแพทย นักเทคโนโลยีชีวภาพ วิศวกร ผูประสานงานวิจัยทางคลินิกนักพันธุศาสตร นักวิทยาศาสตร ผูใหคําแนะนําปรึกษา (counselor) ซ่ึงมีเปาหมายท่ีจะผลิตบุคลากรกลุมนี้ใหไดจํานวน 2,000 คน ภายในระยะเวลา 5 ป โดย Technology ท่ีจะเกิดข้ึนจากการมี roadmap ไดแก - Platform tech: - Healthcare information services, - Big data for theradiagnostic solutions, - Data exchange and security solution - Genetic testing - Frontier tech: - Telemedicine, - Wearable/mobile medical device technology, - Digital health application, - Health care AI ซ่ึงศูนย Research Center ตนแบบ จะชวยลดความลาชาลดความลาชาและเพ่ิมประสิทธิภาพการทําวิจัยคลินิก โดยเชื่อมโยงการบริหารจัดการ การกํากับดูแล การใหบริการทางกฎหมาย สรางขีดความสามารถในการเพ่ิมหนวยงานวิจัยคลินิก นักวิจัย นักวิทยาศาสตร บุคลากร หองปฏิบัติการ หนวยงานกํากับดูแลดานยาและ EC ใหไดมาตรฐาน มีประสิทธิภาพ สรางฐานขอมูลแพทย ผูเชี่ยวชาญ และผูปวย เพ่ือการวิจัยทางคลินิกในประเทศท่ีทันสมัย จัดเก็บตามมาตรฐาน ทําใหการข้ึนทะเบียนการวิจัยทางคลินิกของไทย (Thai Clinical Trial Registry-TCTR) ไดรับการยอมรับในตางประเทศ ท้ังนี้หากเปนการจัดตั้งศูนยฯ ข้ึนใหม อาจเปนไปไดใน 4 รูปแบบ คือ 1) บริษัทเอกชน 2)หนวยงานภายใตกระทรวง 3) มูลนิธิ และ 4) หนวยงานภายใตเครือขายมหาวิทยาลัย 5.8 การเปนศูนยกลางการจัดประชุมวิชาการทางการแพทยระดับนานาชาติ (Medical MICE) ความเปนมา การดําเนินการตามยุทธศาสตรประเทศท่ีกําหนดไวในผลผลิตหลักดานการเปนศูนยกลางบริการวิชาการและงานวิจัย (Academic Hub) กิจกรรมหลักท่ีสําคัญกิจกรรมหนึ่ง คือ การจัดประชุมวิชาการนานาชาติ (MICE : Meeting/Incentive/Convention/Exhibition) โดยบทบาทความเปนเลิศทางดานวิชาการ เปนบทบาทสําคัญของสถาบันการศึกษาหรือราชวิทยาลัย ท้ังนี้ ในท่ัวโลกไดมีการจัดการประชุมวิชาการนานาชาติในระดับ World Congress อยางสมํ่าเสมอ โดยมีประเทศตางๆ เขารวมประมูลงานเพ่ือเปนเจาภาพจัดงานประชุม หากประเทศไทยไดมีการเตรียมเขารวมประมูลงาน และจัดทีมนักวิชาการและเตรียม Proposal ท่ีดี จะทําใหสามารถประมูลงานวิชาการสําคัญใหมาจัดการประชุมในประเทศไทย นําซ่ึงการสรางชื่อเสียง การพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ จนนําไปสูการยกระดับการจัดบริการสุขภาพท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานตอประชาชนชาวไทย สรางรายไดในธุรกิจและธุรกิจท่ีเก่ียวเนื่องจากการเดินทางเขามารวมประชุม

หนา 76

Page 81: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

นอกจากนี้ โรงเรียนแพทยในประเทศไทยรวม 22 แหง ราชวิทยาลัย/วิทยาลัย/สมาคม/ชมรม/มูลนิธิทางการแพทยรวม 31 แหง สภาวิชาชีพทางการแพทย 6 สภา และสถานพยาบาลในประเทศไทย ตางก็มีศักยภาพในการจัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ท้ังท่ีริเริ่มดําเนินงานดวยตนเอง หรือเขารวมประมูลงาน (bidding) จากองคกรนานาชาติ ผลการดําเนินงาน กระทรวงสาธารณสุขโดยกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือกับสํานักงานสงเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องคการมหาชน) เม่ือวันท่ี 27 มิถุนายน 2556 เพ่ือรวมกันดําเนินการในดานการสงเสริม สนับสนุน ใหมีการจัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติ การถายทอดองคความรู แลกเปลี่ยนเรียนรู รวมท้ังผลักดันใหประเทศไทยเปนศูนยกลางการประชุมวิชาการและการจัดนิทรรศการทางการแพทยนานาชาติอยางยั่งยืนตอไป โดยกรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดดําเนินการสนับสนุนรายละเอียดดังนี้ (1) สนับสนุนดานการจัดทําสารสนับสนุนการประมูลสิทธิ์ ลงนามโดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขเพ่ือประกอบการประมูลสิทธิ์เปนเจาภาพจัดการประชุม (2) สนับสนุนดานตราสัญลักษณเพ่ือความเชื่อม่ันและภาพลักษณของการจัดงานประชุม/ งานแสดงสินคา (3) ประชาสัมพันธการประชุม โดยกรมสนับสนุนบริการสุขภาพรับดําเนินการสงหนังสือแจงเชิญเขารวมการประชุมและโปสเตอรประชาสัมพันธการประชุม กลุมเปาหมาย ไดแก สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลภาครัฐและ โรงพยาบาลเอกชนท่ัวประเทศ และการประชาสัมพันธการประชุมผานทาง Web Portal www.thailandmedicalhub.net (4) สนับสนุนการประชุมวิชาการตางๆ ดําเนินการโดยการขอความอนุเคราะหบัตรโดยสารราคาพิเศษ จากบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) สําหรับวิทยากรและผูเขารวมประชุมจากตางประเทศ ท่ีจะเดินทางจากจุดบินของการบินไทยมายังประเทศไทย (5) จัดทําคูมือ การจัดประชุมวิชาการนานาชาต ิทางการแพทยกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองสุขภาพระหวางประเทศ ไดจัดทําคูมือ การจัดประชุมวิชาการนานาชาติทางการแพทย โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือชี้แจงแนวทางการสนับสนุนการจัดประชุมวิชาการนานาชาติของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพและสํานักงานสงเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องคการมหาชน) แกหนวยงานท่ีเก่ียวของกับการจัดประชุมวิชาการและการจัดนิทรรศการทางการแพทยระดับนานาชาติ (Medical MICE) ไดแก ราชวิทยาลัย สมาคม สมาพันธ สภาวิชาชีพตางๆ ทางการแพทย โรงพยาบาล ท้ังภาครัฐและเอกชน เพ่ือใหทราบแนวทางการเขารวมการประมูลสิทธิ์ ในการเปนเจาภาพจัดประชุมนานาชาติ หรือกรณีตองการริเริ่มจัดการประชุมระดับนานาชาติ

6. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพบูรณาการการทํางานรวมกับสํานักงานสงเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องคการมหาชน) (สสปน.) ในการสงเสริมใหราชวิทยาลัย/สมาคม/สถาบันการศึกษา/ สภาวิชาชีพ ใหเปนสมาชิก World Congress ระดับนานาชาติมากยิ่งข้ึน ใหมีสิทธิในการประมูลสิทธิ ์ในการเปนเจาภาพการจัดประชุมวิชาการนานาชาติในประเทศไทย หากหนวยงานไหนยังไมไดเปนสมาชิก World Congress ซ่ึงหากตองการจัดประชุมในประเทศไทยเปนครั้งแรก ซ่ึงจะพัฒนาเปน secretarial body

หนา 77

Page 82: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

สามารถแจงขอมูลมาท่ีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ และกรมฯจะรวมกับ สสปน. ในการผลักดันใหเปนสมาชิก World Congress ตอไป

ปญหาและอุปสรรค

ปจจัยภายใน

1) ระยะเวลาติดตอประสานงานกับหนวยงานกลุมเปาหมายท่ีเก่ียวของกระชั้นชิดเกินไป

2) ระบบบริหารจัดการท่ีเก่ียวของกับเอกสารภายในหนวยงานลาชาสงผลตอระดับความสําเร็จ

ในการดําเนินกิจกรรม ทําใหไมสามารถดําเนินงานตามแผนการดําเนินงานท่ีวางไวไดตามเปาหมาย

3) องคความรูของผูมีสวนเก่ียวของกับในการจัดการความรูในองคกรภายในหนวยงานมีขอจํากัด

4) ปญหาความไมเขาใจในรายละเอียดการปฏิบัติงานของบุคลากร เชน การลงทะเบียน

การใหขอมูลเพ่ิมเติม เปนตน

ปจจัยภายนอก

1) การดําเนินงานรวมกับหลายภาคสวน และการบริหารจัดการการดําเนินงานตามมติท่ีประชุม

อํานาจการตัดสินใจตองผานความเห็นชอบของแตละสภาวิชาชีพ ซ่ึงสงผลใหการดําเนินงานลาชาได

2) ฐานขอมูลของระบบนําเขาเว็บไซตยังไมสมบูรณ ถูกตอง ครบถวนตามเปาหมาย

ของการดําเนินโครงการ

3) ผูแทนจากสภาวิชาชีพ และหนวยงานท่ีเก่ียวของสงแบบตอบรับเขารวมประชุม แตไมมาเขา

รวมในวันท่ีจัดประชุม

แนวทางการแกไขปญหาและอุปสรรค

1) ควรจัดทําแผนดําเนินงาน กําหนดระยะเวลา และข้ันตอน เพ่ือใหสามารถดําเนินงานไดอยาง

มีประสิทธิภาพ

2) ควรศึกษาวิธีการนําเขาขอมูลลงเว็บไซต หรือประสานงานกับกลุมเทคโนโลยีสารสนเทศ

เพ่ือนําเขาขอมูลลงเว็บไซตไดอยางครบถวนและครอบคลุม

3) เพ่ิมกลุมเปาหมายของผูมีสวนรวมและผูมีสวนเก่ียวของกับนโยบาย ASEAN

4) ปญหาความไมเขาใจในรายละเอียดการปฏิบัติงานของบุคลากร ดําเนินการแกไขโดย จัดทําใบมอบหมายงานทุกครั้งกอนปฏิบัติงาน และควรมีการพูดคุยชี้แจงทําความเขาใจกอนปฏิบัติงาน เพ่ือความเขาใจท่ีตรงกันและใหงานออกมามีประสิทธิภาพ

ขอเสนอแนะการจัดโครงการครั้งตอไป

1) ควรจัดทําแผนดําเนินงาน กําหนดระยะเวลา และข้ันตอน เพ่ือใหการดําเนินงานไดอยาง

มีประสิทธิภาพ

2) หลังจากดําเนินการจัดโครงการควรมีการประชุมเพ่ือหาจุดออน จุดแข็ง และจุดท่ีสามารถพัฒนาไดในโครงการ เพ่ือการพัฒนางานใหมีคุณภาพมากข้ึน

หนา 78

Page 83: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

6. การพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางยาและผลิตภัณฑสุขภาพ (Product Hub) 6.1 การเพ่ิมมูลคาผลิตภัณฑสุขภาพ เพ่ือวางจําหนายในประเทศ และตางประเทศ (Product Hub) ความเปนมา

1. ตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) (พ.ศ. 2560 - 2569) ในระยะ 10 ป (ฉบับท่ี 3) โดยกําหนดโครงการ Quick Win เพ่ือขับเคลื่อน ในเรื่อง Herbal Product ของอภัยภูเบศร Model ซ่ึงจะสามารถนํา Model ดังกลาวมาใชเพ่ือใหเกิดการ เพ่ิมมูลคาผลิตภัณฑสุขภาพของไทยเพ่ือวางจําหนายในตางประเทศ

2. ตามแผนแมบทแหงชาติวาดวยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับท่ี 1 พ.ศ. 2560 - 2564 (ไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 4 ตุลาคม 2559) ภายใตยุทธศาสตรท่ี 4 สรางความเขมแข็งของการบริหารและนโยบายของภาครัฐเพ่ือการขับเคลื่อนสมุนไพรอยางยั่งยืน มาตรการท่ี 5 การสงเสริมและพัฒนาสมุนไพร Product Champion ไดแบงมิติสมุนไพรท่ีมีศักยภาพออกเปน 3 มิติ ไดแก ดานศักยภาพ ดานความตองการ และดานความนาสนใจในอนาคต ซ่ึงปจจุบันรัฐบาลใหการสนับสนุนสมุนไพร Product Champion 4 ชนิด ไดแก กระชายดํา ขม้ินชัน บัวบก และไพล รวมท้ังคณะรัฐมนตรีไดอนุมัติงบประมาณสนับสนุนการขับเคลื่อนพืชสมุนไพรในวงเงิน 1,258 ลานบาท

3. ดวยกงสุลใหญ ณ นครลอสแอนเจลิสและคณะฯ ไดเขาพบอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เม่ือวันท่ี 6 กรกฎาคม 2560 เพ่ือปรึกษาหารือเรื่องการบูรณาการภายใตนโยบาย Medical Hub รองรับตลาดสหรัฐอเมริกา ซ่ึงเปนภารกิจสําคัญของหนวยงานรัฐบาลไทยกับตางประเทศ ในดานบริการรักษาพยาบาลท่ีมีคุณภาพระดับสากล การบริการเพ่ือสงเสริมสุขภาพท่ีมีชื่อเสียงดานนวดไทย/ สปาไทย รวมท้ังผลิตภัณฑเพ่ือสุขภาพจากสมุนไพรไทยและมีขอสรุปเก่ียวกับดานสมุนไพรไทยวา เห็นควรใหมีการพัฒนาBranding และมี Outlet ผลิตภัณฑสมุนไพรจากประเทศไทย โดยใหมีการเจรจากับองคการอาหารและยาแหงสหรัฐอเมริกา (FDA) ในกรณีของยาสมุนไพรไทย ใหมีการจัดการโฆษณาประชาสัมพันธใหมีการนําเขาผลิตภัณฑสุขภาพจากประเทศไทยเพ่ือใชในรานนวดไทย/ สปาไทย เชน กระบวนการในการนําเขาผลิตภัณฑเพ่ือสุขภาพ ขอหาม/ ขอจํากัด เชน เปนผลิตภัณฑ Organic โดยผลิตภัณฑท่ีเปนท่ีตองการ ไดแก ลูกประคบ/ Essential oil ใหมีการแสดงความพรอมในการสงออกสมุนไพรไทย

4. มติท่ีประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางยาและผลิตภัณฑสุขภาพ (Product Hub) ครั้งท่ี 1/2560 เม่ือวันท่ี 25 ธันวาคม 2560 เห็นชอบในหลักการใหมีการสงเสริม การเพ่ิมมูลคาผลิตภัณฑสุขภาพเพ่ือวางจําหนายในตางประเทศ (Outlet) และพัฒนา Product Outlet จําหนายผลิตภัณฑสุขภาพในประเทศไทย โดยใหดําเนินการ 1) พัฒนา outlet ท่ีมีอยูเดิม หรือจุดท่ีรัฐบาล ใหการสงเสริม 2) จัดตั้ง shop ใน modern trade และสนามบิน (Duty free) โดยมุงเนนในเมืองทองเท่ียวหลักและเมืองรองท่ีนักทองเท่ียวชาวตางชาติใหความนิยม โดยใชยาสมุนไพรและผลิตภัณฑสุขภาพท่ีผลิตจาก Product champion เชน กระชายดํา ขม้ินชัน บัวบก ไพล ท่ีไดคุณภาพมาตรฐานผลิตจากโรงงานท่ีผาน GMP และสินคา OTOP ซ่ึงเปนท่ีตองการของผูบริโภค โดยมอบหมายใหฝายเลขาฯ ประชุมหารือรูปแบบแนวทางในการดําเนินงานรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของท้ังภาครัฐและภาคเอกชน

ผลการดําเนินงาน

1. มติ ท่ีประชุมหารือเพ่ือพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑสุขภาพสําหรับวางจําหนายในประเทศ และตางประเทศ

2. (Product Outlet) เม่ือวันท่ี 21 กุมภาพันธ 2561 มอบหมายใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพดําเนินการพัฒนารูปแบบการจัดตั้ง Product Outlet ในประเทศในรูปแบบของ Branding Shop พรอมท้ัง

หนา 79

Page 84: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

พิจารณาคัดเลือกผลิตภัณฑสินคา OTOP ดานสุขภาพท่ีมีศักยภาพเพ่ือนํามาพัฒนาวางจําหนายใน Product Outlet รวมท้ังพิจารณากฎหมาย/กฎ/ระเบียบการจําหนายผลิตภัณฑสุขภาพในตางประเทศ และรายงานผลการดําเนินงานตอคณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางยาและผลิตภัณฑสุขภาพ (Product Hub) ในครั้งตอไป

3. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองสุขภาพระหวางประเทศไดเดินทางไปหารือในการ ขอสนับสนุนพ้ืนท่ีการจัดตั้ง Product Outlet และการคัดเลือกผลิตภัณฑสุขภาพเพ่ือวางจําหนายในประเทศ รวมกับกระทรวงพาณิชย สมาคมผูคาปลีกไทย เอเชียทีค เดอะริเวอรฟรอนท กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย และสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา โดยมีขอสรุป ดังนี ้

3.1 สรุปผลการประชุมหารือกับกระทรวงพาณิชย เรื่ อง การพัฒนารูปแบบการจัดตั้ ง Product Outlet สําหรับวางจําหนายผลิตภัณฑสุขภาพในประเทศ เม่ือวันท่ี 10 พฤษภาคม 2561 โดย กระทรวงพาณิชยมี Outlet อยูเดิมในลักษณะ Farm Outlet / Outlet ในสนามบิน และรานตนแบบโดยท่ีประชุมมีมติ ดังนี้ 1) กรมการคาภายในเห็นดวยในการพัฒนา Outlet ท่ีมีอยูเดิม (Farm Outlet) 43 แหง ใน 23 จังหวัด ซ่ึงจําหนายสินคาการเกษตรท่ียังไมแปรรูปและสินคาท่ีแปรรูปแลวบางสวนโดยจะดําเนินการคัดเลือก Outlet ท่ีตั้งอยูใน 12 เมืองตองหามพลาด และ 12 เมืองตองหามพลาด พลัส เพ่ือเปน Outlet นํารองในการพัฒนาวางจําหนายผลิตภัณฑ สุขภาพ โดยในเบื้องตนจะให Farm Outlet ท่ีจังหวัดสระบุรี นํารองเปน Outlet ตนแบบ รวมท้ังใหมีการพิจารณางบประมาณและการออกแบบแพคเกจ (Packaging) ผลิตภัณฑในการพัฒนาวางจําหนายผลิตภัณฑสุขภาพ และ 2) กรมพัฒนาธุรกิจการคาเห็นดวยในการพัฒนา Outlet ท่ีมีอยูเดิมในสนามบินนานาชาติ 3 แหง ไดแก ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ทาอากาศยานดอนเมือง และทาอากาศยานภูเก็ต และรานตนแบบ 6 แหง เชน รานภูมิใจไทย และรานตํารับไทย เปนตน ท่ีกรมพัฒนาธุรกิจการคาดําเนินการอยู ซ่ึงวางจําหนายสินคา OTOP ระดับ 3 – 5 ดาว

3.2 สรุปผลการประชุมหารือกับสมาคมผูคาปลีกไทย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดต้ังProduct Outlet สําหรับวางจําหนายผลิตภัณฑสุขภาพในประเทศ เม่ือวันท่ี 16 พฤษภาคม 2561 และวันท่ี 18 พฤษภาคม 2561 โดยสมาคมผูคาปลีกไทยมีสมาชิก ไดแก Big C /Loft / The Mall /Home Pro / Central / CRC Thai WatSadu/ Robinson/ Tesco Lotus / CP /Tops/ Family Mart โดยท่ีประชุมมีมติ เห็นดวยในการพัฒนา Product Outlet ในหางคาปลีก ภายใตแนวคิด Thai Herb Corner โดยเปนการ บูรณาการรวมกันระหวางภาครัฐและผูประกอบการภาคเอกชน ซ่ึงใหมีการกําหนดตราสัญลักษณกลาง (Logo) เพ่ือวางจําหนายผลิตภัณฑสุขภาพในลักษณะ Branding Shop รวมท้ังมีการสงเสริมใหมี Tax/Vat Refund และทําการตลาดประชาสัมพันธ โดยบูรณาการรวมกับกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา และการทองเท่ียวแหงประเทศไทย ในการประชาสัมพันธในเสนทางทองเท่ียว การประชาสัมพันธผานทางสถานเอกอัครราชทูตตางประเทศประจําประเทศไทย รวมท้ังการประชาสัมพันธออกบูธในตางประเทศ

หนา 80

Page 85: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

3.3 สรุปผลการประชุมหารือกับเอเชียทีค เดอะริเวอรฟรอนท เรื่อง การจัดตั้ง Product Outlet สําหรับวางจําหนายผลิตภัณฑสุขภาพในประเทศ เม่ือวันท่ี 18 พฤษภาคม 2561 โดยท่ีประชุมมีมติเห็นดวย ในการพัฒนา Product Outlet โดยการจัดสรรมุม/รานใหมีการวางจําหนายผลิตภัณฑสุขภาพ ในลักษณะแคมเปญหรืออีเวนทพิเศษ ซ่ึงคัดเลือกผลิตภัณฑจาก 1) ผลิตภัณฑจาก Product Champion ไดแก กระชายดํา ขม้ินชัน บัวบก และไพล 2) ผลิตภัณฑ OTOP ระดับ 4 – 5 ดาว และ 3) ผลิตภัณฑจากทองถ่ิน เชน พืชประจําถ่ินท่ีมีชื่อเสียง และใหมีการประชาสัมพันธอยางเต็มรูปแบบรวมกับหนวยงานภาครัฐท่ีเก่ียวของ รวมท้ังสงเสริมใหมี Tax Refund สําหรับการซ้ือผลิตภัณฑสุขภาพ

3.4 สรุปผลการประชมุหารือกับกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย เรื่อง การคัดเลือกผลิตภัณฑสินคา OTOP เพ่ือวางจําหนายใน Product Outlet เม่ือวันท่ี 23 พฤษภาคม 2561 โดยท่ีประชุม มีมติ เห็นดวยในการคัดเลือกผลิตภัณฑสินคา OTOP ระดับ 4 – 5 ดาว เพ่ือวางจําหนายใน Product Outlet โดยในเบื้องตนจะคัดเลือกเฉพาะผลิตภัณฑท่ีมีสวนผสมจาก Product Champion 4 ชนิด ไดแก กระชายดํา ขม้ินชัน บัวบก และไพล รวมท้ังพืชประจําถ่ินท่ีมีความโดดเดน และมีการกําหนดเง่ือนไข/หลักเกณฑในการคัดเลือกผลิตภัณฑเปน Business Model และจัดทําเปนคูมือ เพ่ือทํา Business Matching ระหวางผูประกอบการและสมาคมศูนยการคาไทย/สมาคมผูคาปลีกไทย/เอเชียทีค

3.5 สรุปผลการประชุมหารือกับสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เรื่อง การพิจารณากฎหมาย/กฎ/ระเบียบการจําหนายผลิตภัณฑสุขภาพในประเทศและตางประเทศ (Product Outlet) เม่ือวันท่ี 24 พฤษภาคม 2561 โดยท่ีประชุมมีมติ เห็นดวยในการวางจําหนายผลิตภัณฑสุขภาพในประเทศ และตางประเทศ โดยใหพิจารณาคัดเลือกผลิตภัณฑ (Product) 1) Premium Product (กรมแพทยแผนไทย และการแพทยทางเลือก) 2) Prime Minister Herbal Award (กรมแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก) 3) Thailand Trust Mark 4) Farm Outlet (กระทรวงพาณิชย) 5) OTOP 4-5 ดาว : OTOP Premium / OTOP Classic (กระทรวงมหาดไทย) และ 6) Quality Award / ฐานขอมูลการจดแจง (สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา) มีสถานท่ีวางจําหนาย (Outlet) ในประเทศ ไดแก 1) หางสรรพสินคา (สมาคมศูนยการคาไทย) 2) Community Mall (สมาคมผูคาปลีกไทย) 3) Convenience Store (สมาคมผูคาปลีกไทย) 4) สนามบิน(กระทรวงพาณิชย) 5) Shop ตนแบบ (กรมการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก) 6) Shop ในโรงพยาบาลศูนย/ โรงพยาบาลท่ัวไป (กรมการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก) (พิจารณากฎระเบียบ

หนา 81

Page 86: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ท่ีเก่ียวของ) 7) Farm Outlet (กระทรวงพาณิชย) และ8) รานขายยา (สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา) และสถานท่ีวางจําหนาย (Outlet) ในตางประเทศ ไดแก 1) ประเทศจีน 2) ประเทศเดนมารก และ 3) Los Angeles

3.6 สรุปผลการประชุมหารือกับสมาคมศูนยการคาไทย เรื่อง การจัดตั้ง Product Outlet

สําหรับวางจําหนายผลิตภัณฑสุขภาพในประเทศ 4 มิถุนายน 2561 ณ บริษัท สยามฟวเจอรดีเวลอปเมนท จํากัด (มหาชน) ชั้น 5 อาคารศูนยการคา เอสพลานาด รัชดาภิเษก โดยท่ีประชุมมีมติเห็นดวยในการจัดตั้ง Product Outlet โดยไดมีการเสนอพ้ืนท่ี 2 แหง ไดแก 1) เอสพลานาด รัชดาภิเษก และ 2) ดิ อเวนิว พัทยา โดยตองมีการ Business Matching กับผูประกอบการในการกําหนด Business Model และรายละเอียด ตางๆ ซ่ึงเอสพลานาด รัชดาภิเษกมีความสนใจในการนําผลิตภัณฑจาก Farm Outlet มาจัดเปน Event นอกจากนี้สมาคมฯ จะดําเนินการแจงเวียนสมาชิกเพ่ือสอบถามความประสงควาศูนยการคาใดตองการเขารวมโครงการฯ โดยภายหลังจากการแจงเวียนมีศูนยการคาแปซิฟค พารค ศรีราชาสนใจเขารวม

4. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดมีกําหนดการเดินทางไปราชการ ณ ราชอาณาจักรเดนมารก ระหวางวันท่ี 26 มิถุนายน - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 จึงไดมีการเตรียมการประชุมเพ่ือพิจารณาความเปนไปไดในการนําผลิตภัณฑสุขภาพไปวางจําหนายท่ีราชอาณาจักรเดนมารก เม่ือวันท่ี 21 มิถุนายน 2561 โดยท่ีประชุมมีมติเห็นชอบใหนําผลิตภัณฑสมุนไพร หรือไมใชสมุนไพร ไดแก 1) เครื่องสําอาง เชน Skin Care 2) ผลิตภัณฑนวด/สปา และ 3) อาหารเ พ่ือสุขภาพ โดยเปนผลิตภัณฑออรแกนิค และเปน มิตรกับสิ่ งแวดลอม ไปวางจําหนายท่ีประเทศเดนมารก พรอมท้ังใหมีการกําหนดกลุมเปาหมายใหชัดเจน

5. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดเขาประชุมรวมกับ Ms.Jeanette Aaen ประธานกรรมการบริหาร และผูอํานวยการฝายจัดซ้ือจากหางสรรพสินคา ILLUM เม่ือวันอังคารท่ี 26 มิถุนายน 2561 ณ หางสรรพสินคา ILLUM ราชอาณาจักรเดนมารก โดยมีขอเสนอเชิงนโยบาย ดังนี ้

5.1 พัฒนา Business Model กับผูประกอบการฝายไทยท่ีมีความพรอม โดยสงเสริม พัฒนาท้ังภาครัฐและเอกชนท่ีมีความสนใจ อาทิ เชน โรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศร/ภาคเอกชน

5.2 สงเสริมใหผูประกอบการชาวไทยท่ีมีความพรอมและสนใจ พัฒนาผลิตภัณฑสุขภาพดานสมุนไพรไทยใหไดมาตรฐานตามเกณฑของ EU และของกลุมประเทศนอรดิกตามท่ีกําหนดไว

5.3 ใหผูประกอบการดําเนินงาน Business Matching กับรายชื่อ Agent ของทางหางสรรพสินคา ILLUM

5.4 ให Agent นําตัวอยางของผลิตภัณฑ เสนอใหหาง ILLUM เพ่ือคัดเลือก เชน กลุม Skin Care / Cosmetic/ อาหาร เปนตน

หนา 82

Page 87: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

6. มติท่ีประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางยาและผลิตภัณฑสุขภาพ (Product Hub) ครั้งท่ี 1/2561 เม่ือวันท่ี 1 มิถุนายน 2561 เห็นชอบในหลักการรูปแบบในการจัดตั้ง Product Outlet และการคัดเลือกผลิตภัณฑสุขภาพท่ีมีศักยภาพเพ่ือนํามาพัฒนาวางจําหนายใน Product Outlet ในประเทศและต างประเทศ โดยให มี การจั ดตั้ งคณะทํางานร วมกับผู ประกอบการภาคเอกชน และหนวยงานท่ีเก่ียวของ จัดทํา Business Model และดําเนินการจับคูทางธุรกิจ (Business Matching) เปนโครงการนํารองรวมกับ เอเชียทีค สมาคมผูคาปลีกไทย สมาคมศูนยการคาไทย กระทรวงพาณิชย สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และกระทรวงมหาดไทย โดยมอบหมายใหฝายเลขานุการฯ ดําเนินการ ในสวนท่ีเก่ียวของตอไป

7. มติ ท่ีประชุมคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครั้งท่ี 1/2561 เม่ือวันท่ี 6 มิถุนายน 2561 รับทราบความกาวหนาของการดําเนินงานในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑสุขภาพสําหรับวางจําหนายในประเทศและตางประเทศ (Product Outlet) และมอบหมายใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จัดทํารายชื่อผลิตภัณฑ (Product) รวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ และทํา Business Matching ระหวางผูประกอบการและสถานท่ีวางจําหนาย (Outlet) เพ่ือนํารองในการ จัดตั้ง Product Outlet

8. มติท่ีประชุมเพ่ือดําเนินการเจรจาทางธุรกิจ (Business Matching) ในการจําหนายผลิตภัณฑสุขภาพ (Product Outlet) เม่ือวันท่ี 7 สิงหาคม 2561 ใหมี การดําเนินการใน 2 รูปแบบ ดังนี้ 1) การพัฒนารานท่ีมีอยูเดิมใน Modern Trade ไดแก ราน Pure ในบิ๊กซีซ่ึงจําหนายสินคาของเจาพระยาอภัยภูเบศร และสินคาอ่ืนๆ และรานภูมิใจไทย/ ตํารับไทย ในการเขารวมเปด Outlet ท่ีเอสพลานาด รัชดาภิเษก และ 2) การจัดสรรพ้ืนท่ีใหม สําหรับผูประกอบการท่ีมีความพรอม ในรูปแบบ Shop/ Corner/ Shelf ซ่ึงใหภาครัฐคัดเลือกสินคาท่ีมีความเหมาะสมกับแตละสถานท่ี พรอมท้ังพิจารณาประเด็นโครงสรางของราคาสินคา การจัดทํา Business Model การมอบสัญลักษณกลาง (Logo) และบูรณาการรวมกับกระทรวงทองเท่ียวและกีฬาประชาสัมพันธเปนเสนทางทองเท่ียวในประเทศไทย

9. ภายในเดือนตุลาคม 2561 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองสุขภาพระหวางประเทศ จะมีการนํารองนําโรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศรไป Business Matching กับเอเชียทีค เดอะริเวอรฟรอนท และศูนยการคาเอสพลานาด รัชดาภิเษก เพ่ือจัดตั้ง Product Outlet วางจําหนายผลิตภัณฑของโรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศร

หนา 83

Page 88: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ง. ผลสําเร็จของนโยบาย Medical Hub (ภารกิจดานตางประเทศ) 7. การดําเนินงานภายในประเทศ 7.1 การศึกษาดูงานและการจัดประชุมใหความรูคณะผูศึกษาดูงานจากตางประเทศในกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

7.1.1 โครงการสื่อสารมวลชนเศรษฐกิจสาธารณรัฐเช็กเยือนไทย ระหวางวันท่ี 28 – 29 พ.ย. 2561 ความเปนมา

ตามหนังสือสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงปราก ท่ี 12001/108 ลงวันท่ี 26 มีนาคม 2561 แจงวา สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงปราก จะดําเนินโครงการนําสื่อมวลชนสายเศรษฐกิจสาธารณรัฐเช็ก เยือนไทย โดยมีวัตถุประสงค เพ่ือเสริมสรางและประชาสัมพันธภาพลักษณของประเทศไทยใหเปนท่ีรูจัก ในสาธารณรัฐเช็ก และขอความอนุเคราะหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพพิจารณาจัดบรรยายสรุป และนําคณะฯ เขาเยี่ยมชมสถานพยาบาล โรงงานดานวิจัยและพัฒนา หรือโรงงานผลิตอุปกรณการแพทยท่ีมีความพรอม ระหวางวันท่ี 28 พฤษภาคม – 1 มิถุนายน 2561 ผลการดําเนินงาน 1. รายชื่อคณะสาธารณรัฐเช็ก

1. นาย Peter Kozlicek ผูสื่อขาวดานเศรษฐกิจสํานักขาวเช็กทีวี (Ceska Televize)

2. นาย Jan Stuchlik บรรณาธิการนิตยสารเศรษฐกิจ รายวัน E15

3. น.ส. Adela Skoupa ผูสื่อขาวหนังสือพิมพ์ิเศรษฐกิจรายวัน Hospodarske Noviny

4. นาย Vadim Fojtik ผูสื่อขาวนิตยสารเศรษฐกิจรายสัปดาห Euro 5. นาย Petr Simunek นิตยสาร Forbes 6. น.ส. คคนางค อัมระนันทน ท่ีปรึกษา สถานอัครราชทูต ณ กรุงปราก

2. ขอมูลในการสัมภาษณจากสื่อมวลชน สาธารณรัฐเช็กทางดาน Medical Hub ประเทศไทยมีชื่อเสียงทางดานการทองเท่ียวเชิงการแพทยและโครงสรางเศรษฐกิจท่ีมี การเปลี่ยนแปลงเปนการพัฒนารูปแบบใหมเรียกวา ไทยแลนด 4.0 การสรางนวัตกรรมรวมถึงการสรางคุณคาทางเศรษฐกิจท่ีมีความยั่งยืนและการพัฒนาประกอบดวย 4 ผลผลิตหลักคือ 1.ดานสงเสริมสุขภาพ 2.ดานการบริการทางการแพทย 3. การศึกษาทางการแพทย 4.ผลิตภัณฑทางดานสุขภาพ เนื่องจากนโยบายการทองเท่ียวเชิงสุขภาพของประเทศไทยมาจากการขยายตัวของการทองเท่ียวเชิงการแพทยหรือเชิงสุขภาพ (Medical Tourism) ซ่ึงเกิดข้ึนในหลายประเทศ ในบางกรณีก็มีการผสมผสานบริการดานการรักษาพยาบาลและการพักฟนกับการทองเท่ียวดวยการท่ีประเทศไทยเปนแหลงทองเท่ียวท่ีเปนท่ีนิยมของชาวตางชาติ และเปนประเทศท่ีเปดโอกาสใหชาวตางชาติเขามาลงทุนและทํางานอยางกวางขวาง 3. ขอไดเปรียบหรือจุดแข็งของโรงพยาบาลไทย มี ๓ ประเด็นใหญๆ ประกอบดวย ๑) ความสามารถในการรักษาของแพทยไทย ๒) ไทยถือวามีประสิทธิภาพในการรักษาสูงติดอันดับโลก ๓) การใหบริการทางการตอนรับ (Hospitality) ท่ีดีของไทย 4. สรุปผลการดําเนินงาน 1. สัมภาษณการเปน Medical hub ของประเทศไทยโดยผูอํานวยการกองสุขภาพระหวางประเทศ ณ หองประชุมรับรอง ชัน้ 8 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 2. รับทราบขอมูลเก่ียวกับนโยบาย Medical hub ของประเทศไทย และการบริการรักษาพยาบาลในประเทศไทย

หนา 84

Page 89: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

3. ศึกษาดูงานท่ีโรงพยาบาลยันฮี บริษัทสยามไอโอไซเอนซ จํากัด โรงพยาบาลบํารุงราษฎร และโรงเรียนวัดพระเชตุพน (วัดโพธิ์) 5. ขาวและกิจกรรม

7.1.2 โครงการทําขาวประชาสัมพันธการทองเท่ียวเชิงสุขภาพของประเทศไทย

ความเปนมา สํานักขาวเกาะสันติภาพ ประเทศกัมพูชา มีโครงการทําขาวประชาสัมพันธประเทศท่ีไดรับความ

นิยมจากชาวกัมพูชาดานการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ รวม 6 ประเทศ ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย เวียดนาม เกาหลีใต และจีนซ่ึง สํานักขาวฯ ประสงคเยือนไทยเพ่ือทําขาวประชาสัมพันธเปนประเทศแรก โดยขอความอนุเคราะหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เพ่ือขอเขาสัมภาษณผูบริหารระดับสูง ในวันพฤหัสบดีท่ี 31 พฤษภาคม 2561 ในหัวขอ “การทองเท่ียวเชิงสุขภาพของไทย” เพ่ือนําขอมูลดําเนินการจัดทําวิดีโอประชาสัมพันธการทองเท่ียวเชิงสุขภาพใน 6 ประเทศ ใหแกชาวกัมพูชาไดรับทราบ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดจัดประชุมเพ่ือใหความรูนโยบายดานการทองเท่ียวเชิงสุขภาพของประเทศเทศ เม่ือวันท่ี 31 พฤษภาคม 2561 ใหกับคณะผูสื่อขาวจากสํานักขาวเกาะสันติภาพ ประเทศกัมพูชา

ผลการดําเนินงาน กองสุขภาพระหวางประเทศไดใหขอมูลและชี้แจงนโยบาย Medical Hub และการทองเท่ียว

เชิงสุขภาพในประเทศไทยแกสํานักขาวเกาะสันติภาพ ประเทศกัมพูชา และเนื่องจากชาวกัมพูชานิยม เดินทางเขามารับการรักษาพยาบาลในไทยเปนจํานวนมาก กองสุขภาพระหวางประเทศไดชี้แจงนโยบาย การขยายเวลาพํานักในประเทศไทยรวม 90 วัน ในกรณีเดินทางเขามารับการรักษาพยาบาลสําหรับ กลุมประเทศ CLMV และสาธารณรัฐประชาชนจีน พรอมท้ังมอบคูมือการปฏิบัติงานดังกลาว รวมถึงการตอบ ขอคําถามตางๆ และใหคําแนะนําเก่ียวกับการทองเท่ียวเชิงสุขภาพแกสํานักขาวเกาะสันติภาพ ประเทศกัมพูชา เพ่ือสงเสริมนโยบายในการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ

หนา 85

โรงพยาบลยนัฮีและMedical Hub เย่ียมชมโรงพยาบาลยนัฮี

สมัภาษณ์การดาํเนินงาน Medical hub

Page 90: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

8. การดําเนินงานในตางประเทศ 8.1 สรุปผลการเดินทางไปราชการตางประเทศ เพ่ือเขารวมประชุมคณะกรรมการประสานงานดานบริการอาเซียน (Coordinating Committee on Service: CCS) ครั้งท่ี 88 ระหวางวันท่ี 9 - 13 ตุลาคม 2560 ณ เสียมราฐ ราชอาณาจักรราชอาณาจักรกัมพูชา ความเปนมา

ตามหนังสือกระทรวงพาณิชย ดวนท่ีสุด ท่ี พณ 0603/ ว 4020 ลงวันท่ี 31 สิงหาคม 2560 กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ ไดแจงใหกระทรวงสาธารณสุขสงผูแทนเขารวมการประชุมคณะกรรมการประสานงานดานบริการอาเซียน (Coordinating Committee on Service: CCS) ครั้งท่ี 88 ระหวางวันท่ี 9 - 13 ตุลาคม 2560 ณ เสียมราฐ ราชอาณาจักรกัมพูชา โดยการประชุมจะประกอบดวยการประชุม CCS ซ่ึงจะมีการพิจารณาเรื่องการจัดทําขอผูกพันเปดตลาดบริการชุดท่ี 10 ของประเทศสมาชิกอาเซียน และการประชุมคณะทํางานดาน MRAs และคณะทํางานรายสาขาบริการตางๆ ซ่ึงกระทรวงฯมอบหมายใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ในฐานะหนวยงานท่ีรับผิดชอบภารกิจดานการเคลื่อนยายของผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพตามขอตกลงอาเซียน (MRAs) เปนผูแทนเขารวมการประชุม จํานวน 2 ราย ไดแก (1) นายแพทย สุชาติ เลาบริพัตร ผูอํานวยการกองแผนงาน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ และ (2) นางสาวภาวิณี สังขบูรณ นักวิเทศสัมพันธชํานาญการ กองสุขภาพระหวางประเทศ โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือ (1) เขารวมเปนผูแทนในการประชุมคณะกรรมการประสานงานดานบริการอาเซียน (Coordinating Committee on Service : CCS) ครั้งท่ี 88 (2) เขารวมเปนผูแทนในการประชุมคณะกรรมการประสานงานดานวิชาชีพแพทย (AJCCM) / ทันตแพทย (AJCCD) และพยาบาล (AJCCN) และ (3) เขารวมเปนผูแทนในการประชุม Healthcare Service Sectoral Working Group (HSSWG) ผลการดําเนินงาน

จากการประชุมคณะกรรมการประสานงานดานบริการอาเซียน (Coordinating Committee on Service: CCS) เม่ือวันท่ี 9-13 ตุลาคม 2560 ณ เสียมราฐ ราชอาณาจักรราชอาณาจักรกัมพูชา สามารถสรุปสาระสําคัญของการประชุมไดดังนี ้

(1) คณะกรรมการประสานงานดานวิชาชีพพยาบาล (AJCCN) ครั้งท่ี 25 : ประเทศสมาชิกอาเซียนสวนใหญไดดําเนินการบรรจุสมรรถนะหลักวิชาชีพพยาบาลในอาเซียน (ANCCC) ลงในสมรรถนะหลักวิชาชีพพยาบาลแหงชาติ (NNCC) ของแตละประเทศแลว ไมวาจะบรรจุเปนหัวขอหลัก หรือเปนองคประกอบ ซ่ึงท่ีประชุมไดเสนอวา 5 โดเมนของสมรรถนะหลักดังกลาวควรท่ีจะถูกบรรจุอยูใน NNCC ในลักษณะโดเมนหรือหัวขอหลัก และประเทศสมาชิกสามารถเพ่ิมโดเมนหรือหัวขอหลักใน NNCC ของประเทศตนเองไดตามความจําเปน

(2) การประชุมคณะกรรมการประสานงานดานวิชาชีพแพทย AJCCM ครั้งท่ี 21 : ภายใตการดําเนินการตามหลักสูตรพ้ืนฐานทางการแพทย ประเทศสมาชิกตองใหขอมูลเก่ียวกับ จํานวนของโรงเรียนแพทย และจํานวนของแพทยท่ีสําเร็จการศึกษายอนหลัง 5 ป ตั้งแตปพ.ศ.2556 เพ่ือพิจารณาอัตรา การลนตลาดของบุคลากรทางการแพทย

(3) การประชุมคณะกรรมการประสานงานดานวิชาชีพทันตแพทย ครั้งท่ี 20 (AJCCD) : ประเทศสมาชิกอาเซียนจะรวมหารือกับหนวยงานท่ีเก่ียวของในประเทศเพ่ือพิจารณาประเด็นระหวางประเทศ ภายในวันท่ี 31 ธันวาคม 2560 เก่ียวกับมาตรฐานทางทันตกรรมของอาเซียนกอนท่ีจะนํามาใชในการประชมุครั้งตอไป

(4) กรอบแนวคิดของการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ และ e-Health ประเทศสมาชิกอาเซียนบางสวนเห็นดวยกับแนวคิดดังกลาว แตอยางไรก็ตามไดมีการเสนอขอจํากัด ดังนี้

หนา 86

Page 91: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

- การปกปดความลับของผูปวยเปนสิ่งสําคัญมากและถูกปองกันโดยกฎหมายของประเทศท่ีผูปวยอาศัยอยู

- กฎหมายนั้นสามารถมีอํานาจบังคับใชไดภายในประเทศ - ความลับของผูปวยเม่ือดําเนินการโดยบุคคลท่ีสามในประเทศอ่ืนๆ จะไมสามารถรับรองได - การรักษาความปลอดภัยของขอมูลผูปวยจะมีความซับซอนเม่ือถูกดําเนินการโดยบุคคลอ่ืนซ่ึง

จะไมสามารถควบคุมโดยผูใหบริการได - ดวยเหตุนี้การสงตอขอมูลความลับของผูปวยไมสามารถทําไดในระบบปฏิบัติการ - การรักษาความปลอดภัยของขอมูลเปนสิ่งท่ีประเทศและรัฐบาลตองพิจารณาและไมสามารถ

ตัดสินใจในระดับ HSSWG ได ดวยเหตุนี้ประเทศสมาชิกจําเปนตองมีการหารือภายในประเทศกอน โดยท่ีประชุมมอบหมายใหประเทศสมาชิกหารือภายในประเทศและเสนอแนวทางในการดําเนินการเบื้องตน และสงตอเลขาธิการอาเซียนภายในวันท่ี 30 พฤศจกิายน 2560 เพ่ือพิจารณาในการประชุมครั้งตอไป

(5) กิจกรรมความรวมมือเพ่ือสงเสริมการดําเนินงาน MRAs : ประชุมจะมีการทบทวนอีกครั้งหนึ่งใน action line ใน HSSWG 2025 Work Plan เพ่ือกระชับกิจกรรมความรวมมือระหวาง PRAs และภาคสวนท่ีเก่ียวของในการดําเนินการ MRAs และการตัดสินใจสําหรับประเทศสมาชิกในการใหขอมูลกิจกรรมความรวมมือ เพ่ือสงเสริมการดําเนินงาน MRA ในการประชุมแตละป ซ่ึงท่ีประชุมไดรองขอใหประเทศสมาชิกอาเซียนท้ังหมดใหทํารายชื่อของกิจกรรมตางๆท่ีจะชวยกระตุนการทํางานของ MRA ในป พ.ศ. 2559 - 2560 เพ่ือบันทึกไวสําหรับการประชุมครั้งถัดไป

(6) เว็บไซตการบริการดานสุขภาพอาเซียน และคณะทํางาน : อินโดนี เซียไดแจงตอประชุมถึงสถานะความเคลื่อนไหวของเว็บไซต โดยเนนหนักในเรื่องการขาดขอมูล อัพโหลดของประเทศสมาชิ กอา เ ซียน และการลงขอ มูล ผูประสานงานของประเทศกัมพูชา ลาว และพมา ท่ีประชุมพบวาประเทศสมาชิกบางประเทศเกิดปญหาในการอัพโหลดขอมูลลงเว็บไซต รวมถึงการแปลขอมูลจากภาษาประจําประเทศเปนภาษาอังกฤษดวย โดยอินโดนีเซียไดใหขอมูลการติดตอกับ Webmaster ([email protected]) ท่ีจะสามารถใหความชวยเหลือกับประเทศสมาชิกในการอัพโหลดขอมูลลงเว็บไซตได ซ่ึงท่ีประชุมไดรองขอใหประเทศสมาชิกอัพโหลดขอมูลใหสมบูรณกอน วันท่ี 31 ธันวาคม 2560

หมายเหตุ : ภายหลังจาการประชุมดังกลาว กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดรับการประสานงานเปนการภายในจากกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ วาทางประเทศอินโดนีเซียเสนอใหแตละประเทศ นําขอมูลดานการจัดทําแพคเกจดานการทองเท่ียวเชิงสุขภาพประชาสัมพันธลงในเว็บไซตดวย หากประเทศสมาชิกเห็นดวยจะนํามาหารือในท่ีประชุมคณะกรรมการประสานงานดานบริการอาเซียน (Coordinating Committee on Service: CCS) ในครั้งถัดไป ประเด็นท่ีจะตองขับเคล่ือนการดําเนินการอยางเปนรูปธรรม (Outcome) (1) การอัพโหลดขอมูลวิชาชีพทางการแพทยของประเทศไทย ไดแก แพทยสภา ทันตแพทยสภา และสภาการพยาบาล ลงในเว็บไซตการบริการดานสุขภาพอาเซียน ASEAN Healthcare Service Website ของประเทศอินโดนีเซีย โดยใหอัพโหลดขอมูลใหสมบูรณกอนวันท่ี 31 ธันวาคม 2560

หนา 87

Page 92: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

(2) การจัดทํากรอบแนวคิดดาน Health Tourism และ e-Health ของประเทศสมาชิก โดยใหมีการหารือรวมกันภายในประเทศ และเสนอแนวทางในการดําเนินการเบื้องตนสงตอเลขาธิการอาเซียน ภายในวันท่ี 30 พฤศจิกายน 2560 เพ่ือประกอบการพิจารณาในการประชุมครั้งตอไป (3) กิจกรรมความรวมมือเพ่ือสงเสริมการดําเนินงาน MRAs โดยรองขอใหประเทศสมาชิกอาเซียนท้ังหมดใหทํารายชื่อของกิจกรรมตางๆท่ีจะชวยกระตุนการทํางานของ MRA ในป พ.ศ.2559 - 2560 เพ่ือบันทึกไวสําหรับการประชุมครั้งถัดไป

ผลการดําเนินงาน (1) กองฯ ไดดําเนินการจัดการประชุมคณะกรรมการเตรียมการรองรับการเคลื่อนยาย

ของผูประกอบการวิชาชีพดานสุขภาพตามขอตกลงอาเซียน (MRAs) ครั้งท่ี 2/2560 เม่ือวันท่ี 12 ธันวาคม 2560 และครั้งท่ี 1/2561 เม่ือวันท่ี 29 มีนาคม 2561 เพ่ือพิจารณาขอมูลจาก outcome ท่ีไดรับ จากการประชุม CCS ไปขับเคลื่อนการดําเนินงานอยางเปนรูปธรรมตามมติ ท่ีประชุม ในเรื่องดังนี้ (1) การบริหารจัดการขอมูลนําเขาเว็บไซตบริการสุขภาพอาเซียน ASEAN Healthcare Service Website (2) Concept paper e-Health ของประเทศไทย เพ่ือเสนอ HSSWG/CCS และ (3) Concept paper Health Tourism ของประเทศไทย เพ่ือเสนอ HSSWG/CCS

(2) กองฯ ไดอัพโหลดขอมูลของสภาวิชาชีพไทย ฉบับภาษาอังกฤษ ลงในเว็บไซตการบริการ ดานสุขภาพอาเซียน ASEAN Healthcare Service Website ของประเทศอินโดนีเซียเรียบรอยแลว

8.2 โครงการประชุมความรวมมือไทย-จีนเพ่ือการแลกเปล่ียนเทคโนโลยีดานการคุมครองผูบริโภคดานบริการสุขภาพการแพทยแผนจีน ณ สาธารณรัฐประชาชนจีน 22-25 เมษายน 2561 ความเปนมา

ภายใตวาระแหงการพัฒนาอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม ซ่ึง 1สาธารณรัฐประชาชนจีน

เปนประเทศหนึ่งในกลุม1อาเซียน + 3 1ท่ีมีพันธะกรณีความรวมมือดังกลาว และไดใหความสําคัญกับการพัฒนา

สังคมและวัฒนธรรมใหมีความเขมแข็งรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจภายใตกรอบการพัฒนาเสนทางสายไหม

ศตวรรษท่ี 21 (Belt and Road Initiate) โดยมีกลุมกิจการรักษาพยาบาลเปนหนึ่งในพันธะกรณีดังกลาว

1 การประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทยแผนจีนของประเทศไทย ไดรับการควบคุมมาตรฐาน การประกอบกิจการภายใตพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ.2542 โดยสํานักสถานพยาบาล และการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เปนหนวยงานรัฐท่ีทําหนาท่ีขับเคลื่อนภารกิจตามกฎหมาย และการพัฒนาทางวิชาการโดยความรวมมือกับสมาคมการแพทยแผนจีนแหงประเทศไทย ซ่ึงเชื่อมโยงกับสมาคมการแพทยแผนจีนแหงสาธารณรัฐประชาชนจีน และ 1Tianjin University of Chinese Medicine

หนา 88

Page 93: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

มาอยางยาวนานและตอเนื่อง โดยในปจจุบันศาสตรการแพทยแผนจีนไดมีการยกระดับจากการเปนศาสตรการแพทยทางเลือก (Alternative Medicine) เปนการแพทยผสมผสาน (Complimentary Medicine) ท่ีใชรวมกับการรักษาดวยการแพทยแผนปจจุบัน โดยมีการนําเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาใชอยางมีความกาวหนา ในการนี้ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ไดจัดทําโครงการประชุมความรวมมือไทย-จีนเพ่ือการแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีดานการคุมครองผูบริโภคดานบริการสุขภาพการแพทยแผนจีน ณ สาธารณรัฐประชาชนจีน ในระหวางวันท่ี 22-25 เมษายน 2561 ข้ึน เพ่ือใหกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดมีความรวมมือกับสถาบันวิชาการของสาธารณรัฐประชาชนจีน ในการแลกเปลี่ยนเรียนรูและถายทอดเทคโนโลยีดานการแพทยแผนจีนรวมกัน เพ่ือยกระดับมาตรฐานศาสตรการแพทยแผนจีนในประเทศไทย ใหมีความทันสมัย ไดรับการขับเคลื่อนอยางมีประสิทธิภาพและมีความกาวหนามากยิ่งข้ึน รวมท้ังเสริมสรางโอกาสใหบุคลากร กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดเกิดการเรียนรูและเพ่ิมพูนทักษะในการปฏิบัติหนาท่ีสนับสนุนการพัฒนาการแพทยแผนจีนของประเทศไทยในทางการแพทยผสมผสาน ซ่ึงจะเปนการชวยสนับสนุนการพัฒนาทางเศรษฐกิจ 1 และการศึกษาวิจัยภายใตกรอบการพัฒนาเสนทางสายไหมศตวรรษท่ี 21 (Belt and Road Initiate) ของ1สาธารณรัฐประชาชนจีน1ได1อีกทางหนึ่ง โดยมีรายละเอียดโครงการ ดังนี้ 1. วัตถุประสงคของโครงการ 1.1 เพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรูดานการผสมผสานศาสตรการแพทยแผนจีนกับการแพทยแผนปจจุบัน 1.2 เพ่ือเพ่ิมพูนความรูและประสบการณของบุคลากรกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ในการพัฒนามาตรการและกระบวนการบังคับใชกฎหมายดานการคุมครองผูบริโภคดานการแพทยแผนจีน ของประเทศไทย 1.3 เพ่ือเสริมสรางความรวมมือระหวางประเทศเพ่ือการพัฒนาการประกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทยแผนจีน สอดคลองตามวาระการพัฒนาดานสุขภาพในกลุมอาเซียน + 3 2. พันธะกรณี ความรวมมือภายใตเสาสังคมและวัฒนธรรม ASEAN + 3 และกรอบแนวทาง การพัฒนา1เสนทางสายไหมศตวรรษท่ี 21 (Belt and Road Initiate) 3. ผูเขารวมโครงการ จํานวน 6 คน ดังนี้

3.1 นายแพทยธงชัย กีรติหัตถยากร รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสขุภาพ 3.2 ทันตแพทยอาคม ประดิษฐสุวรรณ ผู อํานวยการสํานักสถานพยาบาลและการ

ประกอบโรคศิลปะ 3.3 นางสาวประนอมณัฐา วิไลรัตน นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ 3.4 นางดรุณี วัชรธรรม นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ 3.5 นางสมพร มีเสถียร นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ 3.6 นางสาวงามเนตร เอ่ียมนาคะ นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ

4. งบประมาณ งบรายจายอ่ืนเพ่ือการเดินทางไปราชการตางประเทศของสํานักสถานพยาบาลและการประกอบ โรคศิลปะ ปงบประมาณ ๒๕61 จํานวนเงิน 220,800 บาท (สองแสนสองหม่ืนแปดรอยบาทถวน)

หนา 89

Page 94: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

5. ผลผลิต/ผลลัพธของโครงการ จากการศึกษาดูงานแลประชุมความรวมมือระหวางกรมสนับสนุนบริการสุขภาพกับหนวยงานและสถาบันการแพทยแผนจีนแหงสาธารณรัฐประชาชนจีน เกิดผลลัพธของโครงการฯ โดยสรุปได ดังนี้

5.1 บุคลากรกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดรับการพัฒนาศักยภาพดานการคุมครองผูบริโภคดานบริการสุขภาพศาสตรสาขาการแพทยแผนจีน

5.2 แนวทางการจัดการความรูดานการควบคุม กํากับมาตรฐานการแพทยแผนจีนในการใหบริการผสมผสานกับการแพทยแผนปจจุบัน

5.3 ความสัมพันธอันดีและความรวมมือไทย-จีน การแลกเปลี่ยนเรียนรูและการถายทอดเทคโนโลยศีาสตรสาขาการแพทยแผนจีน และแผนการพัฒนาผูประกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทยแผนจีน 6. แผนการดําเนินการตอไป 6.1 ความรวมมือดานการแลกเปลี่ยนบุคลากรเพ่ือการพัฒนาศาสตรการแพทยแผนจีนในประเทศไทย 6.2 การพัฒนาเครือขายสถาบันและหลักสูตรการศึกษาการแพทยแผนจีนศึกษาระหวางประเทศ 6.3 ความชวยเหลือทางวิชาการ ดานการศึกษาวิจัยการแพทยแผนจีนในประเทศไทย ผลดําเนินงานสามารถสรุปสาระสําคัญจากการศึกษาดูงาน ไดดังนี้ วันท่ี 23 เมษายน 2561 ประชุมความรวมมือการพัฒนาดานการศึกษาการแพทยแผนจีนกับอธิการบดีและคณะผูบริหาร มหาวิทยาลัยการแพทยแผนจีนเทียนจีน พบปะนักศึกษาไทยท่ีเรียนอยูใน มหาวิทยาลัยเทียนจีน

มหาวิทยาลัยการแพทยแผนจีนเทียนจีน ประกอบดวย

• โรงเรียนแพทย 15 แหง

• โรงพยาบาลเครือขาย 6 แหง

• โรงพยาบาลรวมฝกนักศึกษาแพทยระดับคลินิก 30 แหง

• สถาบันวิจัยการแพทยแผนจีน 1 แหง

• ศูนยวิจัยการแพทยระดับมณฑล 5 แหง

• ฐานวิจัยทางเภสัชวิทยา 2 แหง มหาวิทยาลัยการแพทยแผนจีนเทียนจีน ผลิตผลงานวิจัยทางการแพทยแผนจีนอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะการวิจัยดานตํารับยาจากสมุนไพรจีน และในโอกาสท่ีคณะผูแทนกรมสนับสนุนบริการสุขภาพเดินทางไปรวมประชุมครั้งนี้ มีโอกาสไดพบปะ พูดคุยกับนักศึกษาคนไทยจํานวน 28 คน ซ่ึงทุกคนมีผลการเรียนท่ีดี และตั้งใจจะกลับมาประเทศไทย เพ่ือประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทยแผนจีนและเปนอาจารยสอนในสถาบันการศึกษา นักศึกษาทุกคนสามารถใชภาษาจีนไดดี และในโอกาสนี้ คณะผูแทนกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดเยี่ยมชมโรงพยาบาลการแพทยแผนจีนผสมผสาน (Chinese Complementary Medical Hospital) เครือขายการเรียนการสอนดานการแพทยแผนจีนผสมผสานกับการแพทยแผนตะวันตกของมหาวิทยาลัยเทียนจิน (The Second Teaching Hospital) เปน 1 ใน 3 โรงพยาบาลท่ีสามารถรองรับผูปวยไดกวา 2,000 คน มีศูนยวิจัยและรักษาโรคทางนรีเวชและอาการทางสมอง ศูนยการรักษาโรคหายากดวยการแพทยแผนจีนดวยอุปกรณและเครื่องมือแพทยท่ีทันสมัย รวมท้ัง ศูนยการเรียนการสอนดานคลินิกอีก 16 แหง ซ่ึงเปดสอนดานการฝงเข็ม (Acupuncture) และ การรมยา โดยการใชความรอน (Moxibustion) มีผูปวยเขารับการรักษากวา 6,000 คนตอวัน จากนั้น คณะผูแทน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดเดินทางตอไปเยี่ยมชมวิทยาลัยเขตนานาชาติของมหาวิทยาลัยเทียนจิน ซ่ึงกอสรางข้ึนใหมรองรับนักศึกษาตางชาติกวา 2,000 คน จาก 65 ประเทศท่ัวโลกมาศึกษาตอดานการแพทยแผนจีน ท่ีมหาวิทยาลัยแหงนี้ เม่ือวันท่ี 24 เมษายน 2561

หนา 90

Page 95: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

คณะผูแทนกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดมีการประชุมรวมกับสํานักงานคณะกรรมการวิชาชีพแพทยแผนจีนและยาจีน แหงสาธารณรัฐประชาชนจีน ซ่ึงเปนหนวยงานท่ีจัดตั้งข้ึนตามกฎหมาย ประกอบดวยผูชํานาญการ ผูเชี่ยวชาญ เจาหนาท่ีจากหนวยงานภาครัฐ และผูแทนภาคสวนท่ีเก่ียวของกับการพัฒนาศาสตรการแพทยแผนจีนของประเทศ ทําหนาท่ีควบคุม กํากับมาตรฐานและจรรยาบรรณการประกอบวิชาชีพแพทยแผนจีนของประเทศ รวมท้ังสงเสริมกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรูทางดานทฤษฎี งานวิจัยใหมๆ ตลอดจนประสบการณทางคลินิก เพ่ือการพัฒนาธุรกิจบริการดานแพทยแผนจีนและยาจีน

คณะกรรมการวิชาชีพแพทยแผนจีนและยาจีน แหงสาธารณรัฐประชาชนจีน มีผลงานสําคัญตางๆ ดังนี้

• การสงเสริมและพัฒนาการประกอบวิชาชีพแพทยแผนจีนใหเปนบริการสุขภาพท่ีปลอดภัยและมีประสิทธิผลตอการรักษาพยาบาลประชาชน

• การสงเสริมงานวิจัยทฤษฎีพ้ืนฐานแพทยแผนจีนและยาจีน

• การกําหนดทิศทางการวิจัยเพ่ือสรางการยอมรับในศาสตรการแพทยแผนจีน

• การสรุปประสบการณและจัดการความรูจากแพทยอาวุโส

• การเผยแพรวิธีการรักษาท่ีมีลักษณะโดดเดน และการรักษาโรคท่ีเกิดข้ึนเฉพาะท่ี รวมท้ังการสงเสริมสุขภาพเพ่ือปองกันโรคท่ียังไมเกิด

• พัฒนาศาสตรการฝงเข็มและนวดทุยหนา

• การวิจัยทางดานยาจีน

• การรักษาผสมผสารระหวางแพทยแผนจีนและแผนปจจุบนั

• การกําหนดมาตรฐานของแพทยแผนจีนและยาสมุนไพรจีนในระดับนานาชาติ

• การพัฒนากฎหมายท่ีเก่ียวของ

• การปกปองคุมครองวัฒนธรรมดานแพทยแผนจีน ยาจีนและมรดกทางปญญาการแพทยแผนจนี

• การคุมครองสัตวและพืชท่ีเหลือนอย

• การแลกเปลี่ยนทฤษฎี ปฏิบัติ ประสบการณดานธุรกิจและการบริการทางการแพทยแผนจีนและยาจีน

หนา 91

Page 96: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

นอกจากนี้ คณะกรรมการวิชาชีพแพทยแผนจีนและยาจีน แหงสาธารณรัฐประชาชนจีน ยังเปนองคกรท่ีมีบทบาทสําคัญในการสนับสนุนการจัดประชุมและงานสัปดาหวัฒนธรรมแพทยแผนจีนและยาจีนโลก ท้ังท่ีเคยจัดข้ึนในประเทศไทย เม่ือเดือนตุลาคม 2560 รวมท้ังการจัดงานดังกลาวในประเทศตางๆ ในภูมิภาคเอเชีย ไดแก กัมพูชา อินเดีย เนปาล และฟลิปปนสตามลําดับ

ในการนี้ รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ นายแพทยธงชัย กีรติหัตถยากร และ ผูอํานวยการสํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ ทพ.อาคม ประดิษฐสุวรรณ ไดรวมเปนสักขีพยายานในการ ลงนามบันทึกความเขาใจระหวางคณะกรรมการวิชาชีพแพทยแผนจีนและยาจีน แหงสาธารณรัฐประชาชนจีน และสมาคมแพทยแผนจีนประเทศไทย ในความรวมมือเพ่ือการพัฒนาวัฒนธรรมดานแพทยแผนจีน ยาจีนและมรดกทางปญญาการแพทยแผนจีน ท่ีจะแผขยายและพัฒนาในประเทศไทยตอไป รวมท้ัง การแลกเปลี่ยน และพัฒนา ผูประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทยแผนจีนรวมกัน

ในวันเดียวกันนี้ คณะผูแทนกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดเดินทางไปศึกษาดูงานการพัฒนาตํารับยาจีน ณ สมาพันธการแพทยจีนและยาจีนสากล ซ่ึงผานการจดบันทึกและสืบทอดมาจนถึงปจจุบัน โดยมีทฤษฎ ีท่ีเปนท่ีรูจัก ไดแก ทฤษฎีหยิน - หยาง

แบงสรรพสิ่งในสากลจักรวาล ออกเปน ๒ ดาน คือ หยิน และ หยาง ซ่ึงเปนกฎแหงความสมดุลของธรรมชาติท่ีจะตองมีคูกันเสมอ โดยหยิน แทนสัญลักษณดวยน้ํา หมายถึง ความมืดมิด สงบนิ่งไมเคลื่อนไหว ออนหลา ผูหญิง ความหนาวเย็น หยาง แทนสัญลักษณดวยไฟ หมายถึง แสงสวาง การเคลื่อนไหว กระตือรือรน ผูชาย พลังงาน การเกิด ซ่ึงรางกายของมนุษยตามหลักแพทยแผนจีนทุกอวัยวะลวนสังกัดหยินและหยาง ท่ีแตกตางกันท้ังตางมีหนาท่ีในการเพ่ิม ลด และปรับประสานใหเกิดความสมดุล แตเม่ือใดก็ตามท่ีภาวะ หยิน - หยาง เสียสมดุล จึงเปนสาเหตุของการเกิดโรค ทฤษฎีองครวม

(ทฤษฎีเจิ่งท่ีกวนเนี่ยน) รางกายของมนุษยเปนองครวม หมายถึง การทํางานของระบบตางๆในรางกายมนุษยลวนเก่ียว

เนื่องกันไมแบงแยกจากกัน (หาอวัยวะตัน, หกอวัยวะกลวงและอวัยวะกลวงพิเศษ) ทุกอวัยวะมีหนาท่ีรับมา และสงตอ ท่ีแตกตางกัน แตทุกสวนก็ลวนเก่ียวเนื่องกันอยางลึกซ้ึงและทํางานรวมกัน หากขาดอวัยวะใดอวัยวะหนึ่งไปรางกายก็ไมสามารถจะดํารงอยูได ซ่ึงการทราบถึงทฤษฎี องครวมนี้จะนําไปสูการวินิจฉัย หาเหตุปจจัยกอโรคและหลักการรักษาโรคตอไป

การรักษาในศาสตรแพทยแผนจีนตองผานการตรวจวินิจฉัยแบบองครวม โดยการ ดู ฟง ถาม จับ (ซ่ือเจิ่น) เพ่ือทราบถึงสาเหตุปจจัยกอโรค จากนั้นแพทยจะสรุปการวินิจฉัยโรคและกําหนดการรักษาโรค การรักษาโรคตามหลักแพทยจีนมีหลายรูปแบบซ่ึงแพทยจะเลือกวิธีการรักษาใหเหมาะสมกับโรคท่ีเกิดข้ึน อาทิเชน การฝงเข็มตามจุดตางๆบนเสนลมปราณของรางกาย การเปดตํารับยาจีน การครอบแกว การนวดทุยหนา การกวาซา รวมไปถึงการใชโกฐจุฬาลัมพา การฝงเข็ม

การใชเข็มปกลงไปบนจุดฝงเข็มตามรางกาย การฝงเข็มเผยแพรไปท่ัวโลก ท้ังในยุโรป อเมริกา และญี่ปุน เปนเวลาหลายรอยป องคการอนามัยโลกไดจัดประชุมเม่ือ พ.ศ. 2522 และ 2538 ใหการรับรองโรคท่ีใชฝงเข็มเปนทางเลือกหนึ่งในการรักษาจํานวน 57 โรค การฝงเข็มรักษาโรคใหหายได โดยผานจุดฝงเข็มท่ีอยูบนเสนลมปราณ ซ่ึงเปนเสนทางไหลเวียนและลําเลียงของพลัง, เลือด และของเหลวในรางกาย รวมท้ังเชื่อมโยงอวัยวะภายในและเนื้อเยื่อตางๆทําใหการไหลเวียนและลําเลียงไมติดขัด อวัยวะและเนื้อเยื่อทํางานประสานกลมกลืนกัน แพทยแผนปจจุบันศึกษาพบวาการฝงเข็มมีผลตอระบบประสาทอัตโนมัติ ซ่ึงควบคุม การทํางานของอวัยวะตางๆ และมีผลตอการหลั่งสารหลายชนิดในรางกาย ซ่ึงชวยระงับอาการปวด

หนา 92

Page 97: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

และลดอาการอักเสบไดดี การฝงเข็มสามารถแกไขการไหลเวียนของเลือดลมปราณท่ีติดขัด, ปรับสภาพความสมดุลอวัยวะตางๆในรางกาย, กระตุนภูมิคุมกันในรางกาย, ชวยบรรเทาความเจ็บปวด และชวยในการ หดเกร็ง ตัวของกลามเนื้อ โดยไมตองรับประทานยา โดยในปจจุบันมีการใช เครื่องอบความรอน และเครื่องกระตุนไฟฟาเพ่ือชวยเสริมประสิทธิภาพในการฝงเข็ม เข็มท่ีใชมีหลายข้ึนอยูกับกลามเนื้อบริเวณ ท่ีฝงเข็ม มีท้ังเข็มขนาดสั้น กลาง ยาว รวมไปถึง เข็มแปะหู และเข็มดอกเหมย การเปดตํารับยาจีน

การใชยาจีนเกิดจากการลองผิดลองถูก การจดบันทึกฤทธิ์ตางๆของยาแตละตัวไวโดยปรมาจารยของยาจีนจนเกิดเปนคัมภีร เสิ่นหนงเปนเฉาจิง อธิบายถึงรูปราง ลักษณะของยา การออกฤทธิ์และรสของยา สรรพคุณท่ีใชในการรักษา โดยการเปดตํารับยาจีนแพทยจะเลือกใชยาจีนเพ่ือรักษาโรคตามสาเหตุปจจัย การกอโรคโดยการเลือกใชยาหลายๆตัว ท้ังยาท่ีมีสรรพคุณเหมือนกัน ใกลเคียงกันเพ่ือชวยเสริมฤทธิ์ยา และยาท่ีฤทธิ์ตรงขามกันเพ่ือลดพิษท่ีเกิดจากยาตัวอ่ืน มาเขาตํารับเพ่ือใหมีคุณสมบัติในการรักษาโรคตางๆ ยาจีนในปจจุบันมีท้ังยาตม ยาเม็ดลูกกลอน ยาแคปซูล และยาผง การครอบแกว (Cupping)

ใชแกวครอบลงบนผิวจากนั้นจึงลดความดันภายใน โดยการใชความรอนหรือการดูดอากาศออก จนผิวหนังและกลามเนื้อถูกดูดเขาไปในแกว สามารถชวยกระตุนการไหลเวียนของเลือดในบริเวณท่ีมีการติดขัดทําใหเลือดและพลังมีการไหลเวียนท่ีดีข้ึน เสมือนเปนดีท็อกซทางผิวหนัง สามารถรักษาอาการปวด โดยเฉพาะบริเวณ บา หลัง และเอว (เหมาะสําหรับผูท่ีทํางานนั่งโตะหรือใชคอมพิวเตอรเปนระยะเวลานาน) และสามารถใชสงเสริมความงามชวยใหผิวพรรณดูเปลงปลั่ง มีเลือดฝาด หลังจากการทําครอบแกวแลว บริเวณผิวหนังอาจมีรอยคล้ํา แตไมมีอันตราย รอยจะหายเองในเวลาประมาณ 5 – 7 วันและสามารถทําไดอีกเม่ือรอยจางหาย การครอบแกว ก็ยังแบงไดหลายประเภท อาทิเชน โจวกวน สานกวน หลิวกวน หลิวเจินปากวน เปนตน การนวดทุยหนา

ทุยคือการผลัก หนาคือการหยิบกลามเนื้อ รวมแลวคือการนวดตามศาสตรแพทยแผนจีนใชวิธี การนวดโดยเฉพาะในจุดตําแหนงบนรางกายเทคนิคท่ีจําเปน จะตองทําไปอยางตอเนื่องมีพลัง ใชแรงสมํ่าเสมอ ละมุนละมอมและลุมลึก วิธีการนวดนั้น มีหลายอยางท่ีนิยมใชกันมี วิธีการผลัก การกด การกดดวยนิ้วเดียว การคลึง การหยิบ การสั่น การตบ การถู เปนตน การนวดทุยหนาและการกดจุดสามารถใชในการบํารุงสุขภาพ เชนการนวดตา การนวดแขนขา การนวดเพ่ือบํารุงกระเพาะอาหารและการนวดเพ่ือสงบจิตใจเปนตน สรรพคุณของ การนวดทุยหนา คือ เสริมสมรรถนะของอวัยวะภายในรางกาย , ทําใหเลือดลมหมุนเวียนไดดี , ปรับและ เสริมกลามเนื้อ เอ็นและไขขอใหแข็งแรงข้ึน และสามารถเพ่ิมภูมิตานทานรางกายไดอีกดวย การกวาซา

การบําบัดดวยการขูดผิวหนังใชเขาสัตวหรือหยก มาขูดผิวหนังเพ่ือขับพิษ กวาซาจะชวยกระตุนการหมุนเวียนของโลหิตภายใตผิวหนัง ขยายรูขุมขนใหเปดกวาง ทําใหรางกายผลัดเซลลเกาสรางเซลลใหม และขับพิษออกทางตอมเหง่ือ ทําใหรางกายมีการปรับสมดุล ชวยฟนฟูสมรรถนะของระบบภูมิตานทานโรค ใหแข็งแรง ไดผลดีในการรักษา เปนไขตัวรอน ปวดเม่ือย หรือชาตามรางกาย หลังจากการทําแลว บริเวณผิวหนังอาจมีรอยแดงคล้ํา แตไมมีอันตราย รอยจะหายเองในเวลาประมาณ 5 – 7 วันและสามารถทําไดอีกเม่ือรอยจางหาย ท้ังนี้การกวาซายังใชในศาสตรความงามอีกดวย คือ การกวาซาใบนาซ่ึงจะชวยใหผิวหนัง เตงตึง สามารถลดรอยเหี่ยวยนบนใบหนาไดอยางชัดเจน การกวาซาประเภทนี้จะไมเกิดรอยแดง

หนา 93

Page 98: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

โกศจุฬาลัมพา เปนไมลมลุก สูงไดถึง 1.5 เมตร รากมีกลิ่นหอม ใบเดี่ยว ใชใบตากแหงมาบดอัดแทง การรักษาใชไฟ

จุดท่ีปลายแทงโกฐฯ และนําปลายแทงโกฐฯไปรมบริเวณจุดฝงเข็มและจุดท่ีตองการ โดยใหความรอน และน้ํามันหอมระเหยจากแทงโกฐฯออกฤทธิ์ในการรักษา โกฐจุลัมพาในปจจุบันมีใหเลือกตามความเหมาะสมในการใชหลายรูปแบบ เชน แบบแทงยาว แบบสั้น และแบบผง การใชโกศจุฬาลัมพารมตามจุดฝงเข็มเฉพาะ นอกจากการรักษาโรคแลวยังสามารถใชดูแลสรางเสริมสุขภาพใหแข็งแรง ชาวจีนจึงมีความเชื่อวาจะทําใหมีอายุวัฒนะไดอีกดวย

มหาวิทยาลัยแพทยศาสตรและเภสัชศาสตรแผนจีนแหงนครปกกิ่ง (Beijing University of

Chinese Medicine; BUCM) เปนสถาบันระดับอุดมศึกษาท่ีมุงเนนผลิตแพทยผูเชี่ยวชาญในสาขาการแพทยแผนจีนโบราณ

และบุคลากรทางดานวิทยาศาสตรสุขภาพ ซ่ึงอยูภายใตการควบคุมของกระทรวงศึกษาธิการ แหงสาธารณรัฐประชาชนจีน มหาวิทยาลัยแหงนี้กอตั้งข้ึนในป 1956 ในนาม วิทยาลัยการแพทยพ้ืนบานจีนแหงนครปกก่ิง ตามนโยบายในการปฏิรูประบบการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ แหงสาธารณรัฐประชาชนจีน คือใหมีการสถาปนาสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเพ่ือการศึกษาคนควาและวิจัยจํานวน 211 แหงท่ัวประเทศ โครงการเริ่มข้ึนในป 1996 โดยใชชื่อโครงการวา 211 และ วทิยาลัยการแพทยพ้ืนบานจีนแหงนครปกก่ิง คือหนึ่งในสถาบันท่ีถูกเลือกใหรวมโครงการนี้ ในป 1993 วิทยาลัยการแพทยพ้ืนบานจีนแหงนครปกก่ิง ไดรับการยกฐานะจาก วิทยาลัย เปน มหาวิทยาลัย และใชนามใหมวา มหาวิทยาลัยแพทยศาสตรและเภสัชศาสตรแผนจีนแหงนครปกก่ิง จนมาถึงป 2000 'วิทยาลัยเวชกรรมฝงเข็มและออรโธปดิกสแหงนครปกก่ิง ไดรวมกิจการเขากับ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตรและเภสัชศาสตรแผนจีนแหงนครปกก่ิง และยังคงใชนามสถาบันวา มหาวิทยาลัยแพทยศาสตรและเภสัชศาสตรแผนจีนแหงนครปกก่ิง มาจนถึงปจจุบัน

มหาวิทยาลัยแพทยศาสตรและเภสัชศาสตรแผนจีนแหงนครปกก่ิง เปนมหาวิทยาลัยท่ีเปดการเรียนการสอนวิชาแพทยศาสตรแผนจีนเต็มระบบท่ีมีชื่อเสียงในระดับแนวหนา และเปนหนึ่งในมหาวิทยาลัย ท่ีเกาแกท่ีสุดท่ีเปดการเรียนการสอนทางดานสาขาวิชาการแพทยแผนจีน และเภสัชศาสตรแผนจีน ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ท่ีโดดเดนดวยคุณภาพของการเรียนการสอน การศึกษา คนควา วิจัย และมีผลงานวิจัยออกมาอยางตอเนื่อง ทําใหมหาวิทยาลัยแพทยศาสตรและเภสัชศาสตรแผนจีนแหงนครปกก่ิง ไดรับการยอมรับในวงการแพทยระดับสากลท่ัวโลก ท้ังในดานการแลกเปลี่ยนขอมูลทางการคนควาวิจัย การแลกเปลี่ยนนักศึกษา อาจารย ตลอดจนการรวมทําสนธิสัญญาความรวมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยตางชาติท่ัวโลก

หลักสูตรการเรียน การสอนของมหาวิทยาลัยแพทยศาสตรและเภสัชศาสตรแผนจีน แหงนครปกก่ิง ประกอบดวย ระดับปริญญาตร ี

• หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต สาขาเวชกรรมแผนจีน Bachelor of Medicine (Chinese Medicine)

หนา 94

Page 99: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

• หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต สาขาเวชกรรมผสมผสานระหวางการแพทยแผนจีนและการแพทยแผนปจจุบัน Bachelor of Medicine (Chinese and Western Medicine Combination)

• หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต สาขาเวชกรรมฝงเข็ม รมยา และทุยหนา Bachelor of Medicine (Acupuncture Moxibustion and Tuina)

• หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาการพยาบาล Bachelor of Nursing Science (Nursing Science)

• หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเภสัชวิทยาแผนจีน Bachelor of Science (Chinese Pharmacology)

• หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีเภสัชกรรม Bachelor of Engineering (Pharmaceutical Technology)

ระดับปริญญาโท

• หลักสูตรแพทยศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเวชกรรมแผนจีน Master of Medicine (Chinese Medicine)

• หลักสูตรแพทยศาสตรมหาบัณฑิต สาขาศัลยศาสตร Master of Medicine (Surgery) ระดับปริญญาเอก

• หลักสูตรแพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาเวชกรรมแผนจีน Doctor of Medicine (Chinese Medicine)

วิทยาเขตของมหาวิทยาลัย

• วิทยาเขตตะวันออก "东校区" หรือเรียกอีกชื่อวา "วิทยาเขตวางจิง 望京校区"

ตั้งอยูท่ี เลขท่ี 6 ถนนวางจิงจงหวนหนาน อําเภอฉาวหยาง นครปกก่ิง สาธารณรัฐ

ประชาชนจีน 100029 (ใกลกับโรงพยาบาลวางจิง "望京医院")

• วิทยาเขตตะวันตก "西校区" เปนวิทยาเขตหลักของมหาวิทยาลัย ตั้งอยูท่ี เลขท่ี 11 ถนนเปยซานหวนตง อําเภอฉาวหยาง นครปกก่ิง สาธารณรัฐประชาชนจีน 100029

(เยื้องกับรถไฟฟาปกก่ิง สาย 13 สถานีกวงซีเหมิน "光熙门站")

จากนั้น คณะผูแทนกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดรวมประชุมการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนการแพทยแผนจีน และพบปะพูดคุยกับนักศึกษาไทย ใหคําแนะนําตอการสอบใบประกอบโรคศิลปะตามกฎหมาย ของประเทศไทย พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 รวมท้ังเยี่ยมชมโรงพยาบาลในสังกัดมหาวิทยาลัยการแพทยแผนจีน ปกก่ิง เปนอันเสร็จสิ้นการศึกษาดูงานในครั้งนี้

หนา 95

Page 100: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

8.3 สรุปผลการเดินทางไปราชการตางประเทศเพ่ือเขารวมงาน“เทศกาลไทย ณ นครเซ่ียงไฮ” ณ สถานกงสุลใหญ ณ นครเซ่ียงไฮ สาธารณรัฐประชาชนจีน ระหวางวันท่ี 16 – 20 พฤษภาคม 2561 ความเปนมา

1. นโยบาย Medical Hub ถือไดวาเปนนโยบายสาธารณะท่ีไดถูกบรรจุไวในนโยบายรัฐบาลและนโยบายรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุขมาโดยตลอด ปจจุบันประเทศไทยไดรับการยอมรับวาเปนอันดับหนึ่งของโลกในดานการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ (Health Tourism) จากความพรอมในดานบริการสุขภาพ ท่ีมีมาตรฐานสากล บุคลากรเชี่ยวชาญทุกสาขา ราคาเหมาะสม เครื่องมือและอุปกรณท่ีทันสมัย สอดแทรกความเปนไทย รวมท้ังมีสถานท่ีทองเท่ียวท่ีสวยงาม มีชื่อเสียง จึงทําใหมีนักทองเท่ียวชาวตางชาติเดินทางมาประเทศไทยเพ่ือรับบริการสุขภาพจํานวนเพ่ิมสูงข้ึน โดยเฉพาะอยางยิ่งผูรับบริการจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ถือไดวามีจํานวนมาก ตลอดจนมีความสัมพันธท่ีดีในระหวางสองประเทศมาโดยตลอด 2. ตามหนังสือกระทรวงการตางประเทศ ท่ี กต 0702.1/499 ลงวันท่ี 10 เมษายน 2561 แจงวาสถานกงสุลใหญ ณ นครเซ่ียงไฮ ไดขอเชิญกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เขารวมงานเทศกาลไทย ณ นครเซ่ียงไฮ ประจําป 2561 ระหวางวันท่ี 18 – 20 พฤษภาคา 2561 เพ่ือประชาสัมพันธขอมูลและสงเสริมภาพลักษณของประเทศไทยใหเขาถึงประชากรชาวนครเซ่ียงไฮและชาวตางชาติท่ีพํานักในนครเซ่ียงไฮ รวมถึงขยายโอกาสทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมระหวางประเทศไทยและนครเซ่ียงไฮ โดยงานเทศกาลไทย ณ นครเซ่ียงไฮ ประจําป 2561 จะมีการสงเสริมยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ซ่ึงอยูภายใตวิสัยทัศนประเทศไทย 4.0 ซ่ึงกรมฯ เปนหนวยงานหลักในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร Medical Hub ดังกลาว โดยขอใหกรมฯนําผูประกอบการท่ีเก่ียวของกับอุตสาหกรรม Medical Hub เขารวมงานเทศกาลไทย ณ นครเซ่ียงไฮ ประจําป 2561 ซ่ึงมีกําหนดจัดงาน ณ สถานกงสุลใหญ ณ นครเซ่ียงไฮ ภายในงานสถานกงสุลใหญฯ ไดอํานวยความสะดวกในการใหพ้ืนท่ีสําหรับหนวยงานภาครัฐ คูหาขนาดกวาง 3 เมตร ยาว 3 เมตร จํานวน 1 คูหา สําหรับผูประกอบการ โตะขนาดกวาง 0.6 เมตร ยาว 1.2 เมตร จํานวน 10 โตะ และการนําหนวยงานภาครัฐและผูประกอบการเขาพบหารือกับหนวยงานท่ีเก่ียวของดานอุตสาหกรรม Medical Hub ในนครเซ่ียงไฮ เพ่ือเปนการสรางความรวมมือ และแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน 3. จากความสําคัญดังกลาว กรมสนับสนุนบริการสุขภาพจึงไดจัดโปรแกรมการเดินทางไปราชการ ณ นครเซ่ียงไฮ สาธารณรัฐประชาชนจีน ในระหวางวันท่ี 16 - 20 พฤษภาคม 2561 โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือ (1) เยี่ยมคารวะกงสุลใหญ ณ นครเซ่ียงไฮ และปรึกษาหารือในนโยบาย Medical Hub (2) ประชุมรวมกับกระทรวงสาธารณสุขของนครเซ่ียงไฮ สาธารณรัฐประชาชนจีน (3) ประชุมรวมกับโรงพยาบาล ท่ีมีชื่อเสียง และมหาวิทยาลัยชั้นนําในนครเซ่ียงไฮเพ่ือบูรณาการดาน Academic Hub (4) เขารวมออกบูธภายในงาน “เทศกาลไทย ณ นครเซ่ียงไฮ” และ (5) เขารวมกิจกรรม Business Matching กับภาคเอกชน ท่ีมีศักยภาพพรอมท้ัง นําเสนอความพรอมของประเทศไทยในการเปนศูนยกลางสุขภาพของโลก รวมกับการนําคณะผูประกอบการไทยกลาวแนะนําศักยภาพของโรงพยาบาลและโอกาสในการสงเสริมการทองเท่ียว เชิงการแพทยของไทยภายใตธีม “Thailand-The Medical Hub of Asia Exploring Strategic Linkages between Thailand 4.0 and the Belt and Road Initative”

หนา 96

Page 101: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ผลการดําเนินงาน 1. รายนามคณะเดินทางฯ

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ในฐานะหนวยงานภาครัฐซ่ึงรับผิดชอบนโยบายและยุทธศาสตร การพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) นําโดยรองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ พรอมดวยคณะเจาหนาท่ีจากกรมฯและภาคเอกชนเดินทางไปตางประเทศ ณ สถานกงสุลใหญนครเซ่ียงไฮ สาธารณรัฐประชาชนจีน เพ่ือเขารวมงาน “เทศกาลไทย ณ นครเซ่ียงไฮ” เม่ือวันท่ี 16 - 20 พฤษภาคม 2561 ดังตอไปนี้ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 1. นายแพทยธงชัย กีรติหัตถยากร รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

2. นางสาวภาวิณี สังขบูรณ นักวิเทศสัมพันธชํานาญการ กองสุขภาพระหวางประเทศ ภาคเอกชน 3. โรงพยาบาลบํารุงราษฎร ประกอบดวย

3.1 นายสรวงศ ศิริบุญพันธ Manager, International Marketing 3.2 คุณ คิม อุน จู Manager, Expatriate Marketing

4. โรงพยาบาลจุฬารัตน 11 ประกอบดวย 4.1 แพทยหญิงชุติมา ปนเจริญ Deputy Managing Director 4.2 นางสาวนิภาพร ประถมพาส Head of Chularat IVF Center

5. โรงพยาบาลเจาพระยา ประกอบดวย 5.1 นางสาวรภัสลดา เลาหะกุล เจาหนาท่ีประสานงานแผนกตางประเทศ 5.2 นางสาวอลิลดา ดีณรงค เจาหนาท่ีประสานงานแผนกตางประเทศ

6. โรงพยาบาลกลวยน้ําไท ประกอบดวย 6.1 ดร.จิรทัย ชเนศร Director 6.2 นายศรัณยู ชเนศร Vice President 6.3 นายวรวุฒิ ทรงศิริ Marketing Sale

7. โรงพยาบาลกรุงเทพ ประกอบดวย 7.1 นายแพทยมารุต สิริวัฒนเดชากุล ผูชวยผูอํานวยการโรงพยาบาลกรุงเทพ สํานักงานใหญ 7.2 แพทยหญิงหงส ประสาธนากร แพทยประจําโรงพยาบาลกรงุเทพ (Internal Medicine) 7.3 นางวาณิศา เตชวรนันท IPUs International Manager (Support)

8. โรงพยาบาลเอกชัย ประกอบดวย 8.1 นายศักดิ์ธัช พัฒนปุณยาภิรมย เจาหนาท่ีการตลาด แผนกพัฒนาธุรกิจตางประเทศ

9. ศูนยรักษาผูมีบุตรยากเจตนิน ประกอบดวย 9.1 นางสาวแพรวทิพย พินธุโสภณการ เจาหนาท่ีใหคําปรึกษาทางดานผูมีบุตรยาก 9.2 นาย อนินทร กุชราล Marketing and Foreign Affair Manager 10. ศูนยรักษาผูมีบุตรยาก บอรน ไอวีเอฟ ประกอบดวย

10.1 นายสวัสดิ์ ไตรตรึงษทัศนา ผูอํานวยการศูนยรักษาผูมีบุตรยาก บอรน ไอวีเอฟ 11. Rubiktrips by Gentosia Co.,Ltd. ประกอบดวย

11.1 นางสาวแพรวพรรณ เคนกุล HEAD OF MEDICAL SERVICES 11.2 นางสาวกนกพร วงศสืบชาติ Content Development and Medical Services Operation 11.3 นางสาวจันทรา ใจแชมชื่นมาก Chief Marketing Officer (CMO)

หนา 97

Page 102: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

2. ขอมูลของนครเซ่ียงไฮ (Shanghai)

• ในป 2560 เซ่ียงไฮเปนเมืองแรกในจีนท่ีมีขนาด GDP มากกวา 3 ลานลานหยวน (4.6 แสนลานดอลลารสหรัฐฯ) โดยมีอัตราการขยายตัวของ GDP ท่ีรอยละ 7.1 มีปริมาณการขนสงตูคอนเทนเนอรจํานวน 40 ลานตู ซ่ึงเปนจํานวนมากท่ีสุดในโลกตอเนื่องเปนปท่ี 8

• น ค ร เ ซ่ี ย ง ไ ฮ เ ป น เ มื อ ง ท่ี มี บ ร ร ษั ท ข า ม ช า ติ (Multinational Corporation : MNC) ตั้งอยูมากท่ีสุดในจีน เปน สนง. ใหญระดับภูมิภาคจํานวน 625 แหง มีศูนยวิจัยและพัฒนา 426 แหง โดยมีจํานวน MNC ท่ีมีขนาดการลงทุนสูงกวา 3 พันลานบาทจํานวน 1,477 แหง

• Oxford Economics คาดการณวาในป ค.ศ. 2035 นครเซ่ียงไฮจะมีขนาด GDP เปนอันดับ 5 ของโลก และ Global Financial Centres Index (GFCI) จัดอันดับนครเซ่ียงไฮอยูในอันดับ 6 ศูนยกลางทางการเงินของโลกในป ค.ศ. 2017

• นครเซ่ียงไฮตั้งเปาหมายเปนศูนยกลางของโลกดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมภายในป ค.ศ. 2020

ขอมูลท่ัวไป พ้ืนท่ี 6,340.50 ตร.กม. เลขาธิการพรรคฯ นายหลี่ เฉียง (Mr. Li Qiang) นายกเทศมนตรี นายอิง หยง (Mr. Ying Yong) ประชากร 24.20 ลานคน ปธ.สภาผูแทน ปชช. นางอิง อีชุย (Mrs. Ying Yicui) ภาษา จีนกลาง จีนเซ่ียงไฮ ปธ.สภาท่ีปรึกษา นายตง หยุนหู (Mr. Dong

Yunhu) ศาสนา พุทธมหายาน ลัทธิเตา คริสต อิสลาม

ชนชาติหลัก ฮ่ัน (98.80%) ชนกลุมนอยอ่ืนๆ

(1.20%) ขอมูลเศรษฐกิจ (ป 2559) GDP 3 ลานลานหยวน

(ประมาณ USD 4.6 แสนลาน) สกุลเงิน หยวน (RMB)

GDP per Capita 113,719 หยวน (ประมาณ USD 16,529)

Disposable income per Capita

57,692 หยวน (เมือง) +8.9% (ประมาณ USD 8,385)

GDP Growth +7.1% CPI +3.20% ทรัพยากรธรรมชาติ สัตวทะเลตามชายฝง 20 กวา

ชนิด น้ํามันดิบในภาพอุตสาหกรรม และ กาซธรรมชาติ

อุตสาหกรรมหลัก อุปกรณอิเล็กทรอนิกส/เทคโนโลย ีการคมนาคม/การสื่อสาร ภาคบริการการเงิน การทองเท่ียว เครื่องจักรกลไฟฟา

การคากับตางประเทศ

2.87 ลานลานหยวน (ประมาณ USD 4.17 แสนลาน)

มูลคาการสงออก 1.21 ลานลานหยวน (-0.5%) (ประมาณ USD 1.76 แสนลาน)

หนา 98

Page 103: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

การขยายตัวของการคา

+2.7% มูลคาการนําเขา 1.66 ลานลานหยวน (+5.2%) (ประมาณ USD 2.41 แสนลาน)

สินคาสงออกท่ีสําคัญ

สินคาเครื่องจักรกลและอิเล็กทรอนิกส สินคาท่ีใชเทคโนโลยีการผลิตข้ันสูง อุปกรณและชิ้นสวนคอมพิวเตอร IC เครื่องโทรศัพท

ตลาดสงออกท่ีสําคัญ

สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ญี่ปุน ฮองกง

สินคานําเขาท่ีสําคัญ

สินคาเครื่องจักรกลและอิเล็กทรอนิกส สินคาท่ีใชเทคโนโลยีการผลิตข้ันสูง IC สินคาทางการเกษตร รถยนต

ตลาดนําเขาท่ีสําคัญ

สหภาพยุโรป อาเซียน อเมริกาเหนือญี่ปุน สหรัฐอเมริกา เยอรมนี

สถิติสําคัญท่ีเก่ียวของกับประเทศไทย (ป 2559)

การคากับไทย USD 16,515.81 ลาน (+1.77%) โดยเซ่ียงไฮนําเขาสินคาจากไทย USD 6,445.09 ลาน (+2.27%) และสงออกไปไทย USD 10,070.71 ลาน (+1.46%) ไทยเสียดุลการคา USD -3,625.62 ลาน

สินคานําเขาจากไทย

(1) เครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส (2) พลาสติก (3) เครื่องจักร (4) 26อุปกรณทางการแพทย 26(5) ยางพารา

สินคาสงออกไปไทย (1) เครื่องจักร (2) เครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส (3) ยานพาหนะ/ชิ้นสวน/อะไหล (4) พลาสติก (5) 26อุปกรณทางการแพทย

ธุรกิจสําคัญของไทย บ. เครือเจริญโภคภัณฑ (เชน Super Brand Mall , CP Lotus, CPF Food), ธ. กรงุเทพ, บ. ดับเบิ้ลเอ, บ. สห-ยูเนี่ยน และ บ. แอรโรเฟลกซ

จํานวนคนไทย

(มี.ค. 59)

ประมาณ 3,200 คน เปนผูมาทํางานและผูติดตามประมาณ 600 คน นักศึกษาประมาณ 2,600 คน

พ้ืนท่ีความรับผิดชอบ

สถานกงสุลใหญฯ/สนง. สงเสริมการคาในตางประเทศ/สนง. เศรษฐกิจการลงทุน/ททท. ณ นครเซ่ียงไฮ/ฝายการเกษตร ประจําสถานกงสุลใหญ ณ นครเซ่ียงไฮ สนง.ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ/สนง. ท่ีปรึกษาการศุลกากร ประจําสถานกงสุลใหญ ณ นครกวางโจว

หนา 99

Page 104: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

นครเซ่ียงไฮวันนี้ : ส่ิงท่ีผูประกอบการไทยตองรู

จุดแข็งของมณฑล

• รัฐบาลจีนไดวางนโยบายให เปนศูนยกลางระหวางประเทศใน 4 ดาน ไดแก ศูนยกลางเศรษฐกิจ ศูนยกลางการเงิน ศูนยกลางการคา และศูนยกลางการคมนาคมขนสงทางเรือ

• ไดดํา เนินนโยบายปรับโครงสรางเศรษฐกิจ จ า ก ภ า ค ก า ร ผ ลิ ต ไ ป สู ภ า ค บ ริ ก า ร แ ล ะอุตสาหกรรมเทคโนโลยีระดับสูง และเนนภาคเศรษฐกิจสรางสรรค ซ่ึงสรางมูลคา เ พ่ิมใหเศรษฐกิจของนครเซ่ียงไฮ

• ระบบการคมนาคมทันสมัย มีสิ่งอํานวยความสะดวกท่ีครบครัน มีเทคโนโลยีระดับสูงและการบริหารจัดการท่ีเปนระบบ โดยทาเรือนครเซ่ียงไฮมีปริมาณการขนถายตูคอนเทนเนอร (Container Throughput) มากท่ีสุดในโลก 7 ปซอน

• ถือเปนผูบุกเบิกการปฏิรูปและการเปดกวางทางเศรษฐกิจของจีน โดยเฉพาะอยางยิ่ง Shanghai Pilot Free Trade Zone และมีนโยบายดึงดูดบริษัทและบุคลากรจากตางชาติ ทําใหนครเซ่ียงไฮ เปน พ้ืน ท่ี ท่ี มีบริ ษัทขามชาติ เข ามาจัดตั้ งสํานักงานใหญมากท่ีสุดในจีน

• มีสิ่ งแวดลอมท่ีเ อ้ือตอการเขามาของธุ ร กิจตางชาติมากในอันดับตน ๆ ของจีน

• ใหความสําคัญกับการพัฒนานวัตกรรมทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยงบประมาณ R&D คิดเปนสัดสวนถึง 3.8% ของ GDP นครเซ่ียงไฮ ถือเปนอันดับตนของจีน และมีการสรางศูนยกลางนวัตกรรมทางวิทยาศาสตรและเ ท ค โ น โ ล ยี ท่ี เ ข ต จ า ง เ จี ย ง แ ล ะ จั ด ตั้ ง เมืองวิทยาศาสตรจางเจียง

• ผูบริโภคมีฐานะทางเศรษฐกิจดี มีรสนิยมและกําลังซ้ือสูง สอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจท่ีเติบโตอยางมากของนครเซ่ียงไฮในปจจุบัน

จุดออนของมณฑล

• อัตราคาครองชีพในนครเซ่ียงไฮอยูในเกณฑสูงมาก หาก เ ป ร ีย บ เ ท ีย บ ก ับ เ ม ือ ง อื ่น ๆ ข อ ง จ ีน โดยเฉพาะอยางยิ่งคาอสังหาริมทรัพย ซ่ึงไมวาจะเปนคาเชาท่ีพักอาศัย คาเชาสํานักงาน หรือคาเชาหนาราน รัฐบาลนครเซ่ียงไฮกําหนดคาแรงงานข้ันต่ําท่ีเดือนละ 2,190 หยวน สูงเปนอันดับ 1 ในจีน และท่ีชั่วโมงละ 19 หยวน สูงเปนอันดับ 2 รองจากปกก่ิง (ขอมูลจากกระทรวงแรงงานนครเซ่ียงไฮ ในป 2559)

• ความเปนทางการและสากลนํามาซ่ึงกฎระเบียบและมาตรฐานท่ีเขมงวด ทําใหการทําธุรกิจในนครเซ่ียงไฮมีข้ันตอนและไมยืดหยุนเทากับการทําธุรกิจในเมืองอ่ืน ๆ ของจีน

• ปจจัยท้ังหมดดังกลาวขางตนลวนสงผลใหตนทุนการทําธุรกิจหรือการใชชีวิตในนครเซ่ียงไฮอยูในระดับท่ีสูงมาก

หนา 100

Page 105: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

โอกาสของไทย

• นโยบายของนครเซ่ียงไฮท่ีมุงเนนภาคบริการเปนหลักจึงเปนโอกาสของธุรกิจบริการของไทยซ่ึงมีความเชี่ยวชาญมากกวาจีนในแงการบริหารจัดการหรือเทคโนโลยี เชน ธุรกิจรานอาหาร สปา โรงแรม เปนตน ธุรกิจโรงพยาบาลและธุรกิจเพ่ือสุขภาพก็เปนอีกสาขาหนึ่งท่ีไทยมีศักยภาพ เนื่องจากนครเซ่ียงไฮ เริ่มเขาสูสังคมผูสูงอายุ ทําให มีความตองการบริการดานสุขภาพท่ีมีคุณภาพสูง

• ตลาดนคร เ ซ่ี ย ง ไฮ เ ป น โอกาสของสิ นค า ดี มี คุณภาพ และมีดี ไซนสร า งสรรคของไทย เนื่องจากชาวเซ่ียงไฮมีกําลังซ้ือท่ีสูง นิยมในของดี และเปดรับตอสินคาใหม ๆ อาทิ สินคาเกษตรท่ี มีคุณภาพสูง ของตกแตงบานหรือสินคาท่ีดูดี มีดีไซน

• ชาวนครเซ่ียงไฮมีรายไดและกําลังซ้ือสูง จึงเหมาะแกการนําสินคาระดับ Hi – End หรือ Luxury มาทําตลาด

ความทาทาย

• ตนทุนธุรกิจท่ีสูงประกอบกับอัตราการแขงขันท่ีสูงในธุรกิจประเภทเดียวกันทําใหบริษัทท่ีตองการเขามาลงทุนในนครเซ่ียงไฮควรมีพ้ืนฐานทางธุรกิจท่ีเขมแข็งและมีเงินทุนมากพอในระดับหนึ่ง

• เนื่ องจากมีความหลากหลายของสินค าและผลิตภัณฑในตลาด โดยเฉพาะอยางยิ่งสินคานําเขาจ า กต า งป ร ะ เ ทศ ทํ า ใ ห ผู บ ริ โ ภ ค เ กิ ด ก า รเปรียบเทียบสินคาในลักษณะเดียวกันท้ังเรื่องราคาและคุณภาพ สินคาท่ีจะเขามาในตลาดแหงนี้จํ า เ ป น ต อ ง ส ร า ง แ บ ร น ด ส ร า ง คุ ณ ภ า พ สรางเอกลักษณและความโดดเดน เพ่ือดึงดูดความสนใจของผูบริโภคท่ีมีกําลังการซ้ือสูง และมักเลือกสิ่งท่ีดีท่ีสุดใหกับตนเอง

ขอมูลจาก : สถานกงสุลใหญ ณ นครเซ่ียงไฮ (สถานะเดือนพฤษภาคม 2561)

การมีบุตรของประชาชนชาวจีน สาธารณรัฐประชาชนจีนหลังยุคคอมมิวนิสตปกครองไมนานก็มีประชากรเพ่ิมข้ึนหลายเทา

อยางรวดเร็ว จนกระท่ังกลายเปนประเทศท่ีมีประชากรมากท่ีสุด แตในขณะเดียวกันนโยบายลูกคนเดียวก็มีผลเสียไมนอย ไมวาจะเปนการเพ่ิมอัตราการทําแทง เพราะคนจีนสวนใหญอยากมีลูกชายไวสืบสกุล ความเสี่ยงท่ีมีลูกคนเดียวแลวไมมีหลักประกันตอนอายุมาก ยังไมรวมถึงปญหาความแตกตางสัดสวนระหวางประชากรชายกับหญิงและปญหาทางสังคมของครอบครัวท่ีมีลูกคนเดียวจํานวนมากๆ ปญหาใหญท่ีสุดก็ คือ ถาอัตราการมีลูกหรือการเพ่ิมประชากรยังคงเปนเหมือนหลายปกอนตอไปก็มีการประเมินวาเม่ือถึงป 2025 จะมีแรงงานจีนลดลงติดลบราวปละ 10 ลานคน จากท่ีปจจุบันมีแรงงานอยูท้ังหมดประมาณ 930 คน ในขณะท่ีประชากรสูงอายุจะเพ่ิมข้ึนจาก 200 ลานคน ไปเปน 360 ลานคนเปนจํานวนมาก ดังนั้นในภายหลังทําใหจีนไดตัดสินใจออกนโยบาย การผอนผันใหมีลูกคนท่ี 2 ในป 2559 ไดแบบมีเง่ือนไข ซ่ึงประเมินวาแตละปจะทําใหมีประชากรเพ่ิมข้ึนราว 2 ลานคน

1. ประเด็นหารือความรวมมือตามนโยบาย Medical Hub 1.1 ชี้แจงขอมูลความพรอมของประเทศไทยในการจัดบริการรักษาพยาบาลและบริการ

เพ่ือสงเสริมสุขภาพแกชาวจีน ในเรื่องดังตอนี้ 1.2 การขยายเวลาพํานักในราชอาณาจักรไทย รวม 90 วัน สําหรับผูปวยและผูติดตาม รวม 4 ราย

กรณีเดินทางเขามารับการรักษาพยาบาล สําหรับกลุมประเทศ CLMV และจีน ตามมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันท่ี 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 พรอมท้ัง Work Flow แสดงข้ันตอนการขอเขารับบริการฯ

หนา 101

Page 106: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

1.3 การใหบริการดานเทคโนโลยีชวยการเจริญพันธุทางการแพทย ตามพระราชบัญญัติคุมครองเด็กท่ีเกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีชวยการเจริญพันธทางการแพทย พ.ศ.2558 ซ่ึงมีสถานพยาบาลท่ีไดรับ การรับรองมาตรฐานฯ จํานวน 75 แหงท่ัวประเทศ

1.4 การจัดทําแพคเกจพิเศษเพ่ือสุขภาพ รองรับ “ปทองเท่ียววิถีไทย เกไกยั่งยืน” 2561 ในกิจกรรม Medical and Wellness Tourism ของสถานพยาบาลเอกชนและสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพไทยท่ีไดคุณภาพมาตรฐานเพ่ือใหบริการแกชาวตางชาติ

1.5 การใหบริการขอมูลสุขภาพแกชาวไทยและชาวตางชาติผาน Web Portal www.thailand medicalhub.net และ Counter Service ณ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ผาน Call Center 02-193-7999 และเตรียมการจัดตั้ง Counter Service ณ ทาอากาศยานดอนเมือง 2. สรางความเชื่อม่ันในการใหบริการทางการแพทย และการรักษาสุขภาพของประเทศไทยใหแกประชาชนชาวจีนจากความพรอมในดานบริการรักษาพยาบาล/ สิ่งอํานวยความสะดวก/ ภูมิประเทศ และวัฒนธรรม

3. สงเสริมใหมีการทํา Business Matching ระหวางสถานพยาบาลและสถานประกอบการภาคเอกชนของไทยกับนักธุรกิจชาวจีนพัฒนาความรวมมือทางวิชาการรวมกัน ไดแก การสงเสริมความรวมมือดานการรักษาพยาบาล การแลกเปลี่ยนบุคลากรทางการแพทย ความรวมมือดานการคนควาวิจัยทางการแพทย เปนตน

4. บูรณาการทํางานตอเนื่องกับสถานกงสุลใหญไทย ณ นครเซ่ียงไฮ ในดาน Wellness/ Service/ Academic และ Product Hub รองรับนโยบาย Medical Hub 5. สรุปภาพรวมการเดินทางไปราชการตางประเทศ ในการเดินทางไปตางประเทศ ณ สถานกงสุลใหญนครเซ่ียงไฮ สาธารณรัฐประชาชนจีน เพ่ือเขา รวมงาน “เทศกาลไทย ณ นครเซ่ียงไฮ” ครั้งนี้ในปนี้เปนปแรก ท่ี มีการจัด กิจกรรมการทอง เ ท่ียว เชิ งสุขภาพ ภายใต ธี ม “Thailand-The Medical Hub of Asia Exploring Strategic Linkages between Thailand 4.0 and the Belt and Road Initative” ซ่ึงภายในงานนี้มีการประชาสัมพันธนโยบาย Medical Hub และนโยบายการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ Medical Tourism ของไทยซ่ึงในตลาดจีนถือวามีศักยภาพและความนิยมเดินทางมาประเทศไทย ในการเยือนประเทศจีนเม่ือวันท่ี 17 พฤษภาคม 2561 กรมฯและคณะไดมีการเขารวมหารือกับหนวยงานภาครัฐดานสาธารณสุขในเรื่องความรวมมือดานการคุมครองผูบริโภค การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานสถานพยาบาล มาตรการการคุมครองเด็กท่ีเกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีชวยการเจริญพันธุทางการแพทยรวมกัน และนโยบายการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ (Medical Tourism) ณ Shanghai Municipal Commission of Health and Family Planning

หนา 102

Page 107: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ซ่ึงเปนหนวยงานรับผิดชอบดานสาธารณสุขระดับทองถ่ิน โดยมีประเด็นพิจารณาในเรื่องการแลกเปลี่ยนประสบการณและโอกาสความรวมมือดานสวัสดิการสาธารณสุข (Healthcare utilization) การรับมือกับการเขาสูสังคมผูสูงอายุ และความรวมมือดานการศึกษาสาขาสาธารณสุข อีกท้ังยังไดเขารวมหารือกับผูบริหารโรงพยาบาลเอกชนชั้นนําของจีน ณ Shanghai United Family Hospital ในเรื่องการพัฒนาความรวมมือดานระบบการสงตอผูปวย (Referral)

ในระหวางวันท่ี 18 – 20 พฤษภาคม 2561 คณะฯไดเขารวมงาน “เทศกาลไทย ณ นครเซ่ียงไฮ” มีการบรรยายพิเศษของ นายแพทยธงชัย กีรติหัตถยากร ในเรื่องนโยบายการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ (Medical Tourism) และนําเสนอศักยภาพของสถานพยาบาลเอกชนของไทย รวมท้ังมีการประชาสัมพันธออกบูธและ การทํา Business Matching ระหวางผูประกอบการชาวจีนและสถานพยาบาลของไทย ไดแก โรงพยาบาลบํารุงราษฎร โรงพยาบาลกรุงเทพ โรงพยาบาลจุฬารัตน 11 โรงพยาบาลกลวยน้ําไท โรงพยาบาลเจาพระยา โรงพยาบาลเอกชัย ศูนยรักษาผูมีบุตรยากเจตนิน และศูนยรักษาผูมีบุตรยาก บอรน ไอวีเอฟ ท้ังนี้ ในงาน มีผูใหความสนใจเปนจํานวนมากและมีกระแสตอบรับเปนอยางดี

ประเด็นท่ีจะตองขับเคล่ือนการดําเนินการอยางเปนรูปธรรมตอไป (Outcome) 1. ความรวมมือดาน Medical and Wellness Tourism อยางใกลชิดระหวางกรมสนับสนุนบริการสุขภาพและสถานเอกอัครราชทูตไทย ณ นครเซ่ียงไฮ สาธารณรัฐประชาชนจีน 2. การแลกเปลี่ยนเรียนรูดานวิชาการและความรวมมือดานการแพทยของสถานพยาบาลเอกชนของประเทศไทย และสถานพยาบาลเอกชนท่ีมีความพรอมของ นครเซ่ียงไฮ ไดแก Shanghai United Family Hospital โดยจดัใหมีการทําบันทึกขอตกลงรวมกัน (MOU) ในการดําเนินงานในระยะถัดไป

3. การสงเสริมและประชาสัมพันธศักยภาพ/ ความเชี่ยวชาญเฉพาะดานของสถานพยาบาลเอกชนของไทย โดยเฉพาะในดานการใชเทคโนโลยีชวยการเจริญพันธุทางการแพทย และนโยบาย การทองเท่ียวเชิงสุขภาพ (Medical Tourism)

หนา 103

Page 108: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

8.4 การเดินทางไปราชการตางประเทศ ณ ประเทศญ่ีปุน ระหวางวันท่ี 27 พฤษภาคม –

1 มิถุนายน พ.ศ 2561

วัตถุประสงค 1. เพ่ือพัฒนาเครือขายงานความรวมมือดานสาธารณสุขมูลฐานระหวางประเทศกับประเทศญี่ปุน 2. เพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณรูปแบบ/การจัดการผูสูงอายุ (Long Term Care) งานนวัตกรรม การสาธารณสุขมูลฐานของชุมชนระหวางประเทศ 3. เพ่ือพัฒนาสมรรถนะกําลังคนในงานสาธารณสูขมุลฐานใหมีความพรอมกับการเปลี่ยนแปลงของระบบสุขภาพโลก คณะผูเขารวมดูงาน (ช่ือ-สกุล/ตําแหนง/หนวยงาน) 1. แพทยหญิงประนอม คําเท่ียง อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 2. นายแพทยภานุวัฒน ปานเกตุ รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 3. นายแพทยอัครพล คุรุศาสตรา รองผูอํานวยการกองบริหารการสาธารณสุข 4. นายชาติชาย สุวรรณนิตย นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ 5. นางสาวงามเนตร เอ่ียมนาคะ นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ ผลการดูงาน กิจกรรมการประชุมปรึกษาหารือความรวมมือการดูแลสุขภาพผูสูงอายุ โดยกระบวนการชุมชน ณ ประเทศญี่ปุน 1. รูปแบบการดําเนินงาน Aso Medical Serviceกิจกรรมทางการแพทยของตระกูล Aso ซ่ึงเปนสถานท่ีพักคางผูสูงอายุ (Assisted Living) ซ่ึงดําเนินการภายใต Aso Group มีการเดินเยี่ยมชมอาคาร ท่ีพักอาศัยซ่ึงมีตั้งแตหองอาหาร ท่ีพัก ซ่ึงไมไดอนุญาตใหบันทึกภาพ 2. การดําเนินงานการจัดระบบสวัสดิการสังคม (Social Welfare) ระดับตําบลโดยภาคเอกชน ชุมชน Jinsenkai Sara Goidou มีท้ังการดูแลผูสูงอายุและเด็กเล็กใหดูการปลูกฝงเด็กเล็ก วินัย ท่ีดิน ของสิ่งปลูกสรางนี้ ไดรับสิทธิพิเศษยกเวนภาษีท่ีดิน จายเพียงรอยละ 1 ของภาษีรายได มีอีกท่ีหนึ่งแบบเดียวกัน อยูท่ีจังหวัดยามากูจิ รูปแบบการดูแล 4 ประเภท 1) แผนกเด็กเล็ก 2) Daily service for elder เชาไป-เย็นกลับ 3) พํานักชั่วคราว ระยะสั้น 4) long stay for end stage สําหรับคนแกท่ีอาศัยอยูในตําบลคะชิบะนี้เทานั้น Care Giver ดูแลผูสูงอายุ ตองผานการอบรมตามหลักสูตรท่ีกําหนด จากสถาบันเฉพาะ ทํางานภายใตการควบคุมดูแลโดยพยาบาลและกําหนดสัดสวนผูดูแลตอผูสูงอายุ/เด็ก อยางชัดเจน กลุมท่ีชวยเหลือตัวเองไมได/ตองพ่ึงพา ก็จะมีกําหนดจํานวน CG ไวอยางชัดเจนตามกฎหมายการประกันสุขภาพดานสวัสดิการและสังคม ท่ีรัฐบาลกลางกําหนด ซ่ึงการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาลกลาง ก็จะแตกตางกันไปตามภาวะการพ่ึงพาของผูสูงอายุ ปญหาดานกําลังคน CG คือ ขาดแคลนคนทํางาน เนื่องจากรายไดไมสูงมากเม่ือเทียบกับอาชีพอ่ืนรวมท้ังตองเปนผูท่ีมีทัศนคติดีตอการดูแลผูสูงอายุดวย ซ่ึงหาไดยาก กรณีเจ็บปวยตองรักษา สามารถตามแพทยจากทุกสถานพยาบาลโดยรอบ ตามความชํานาญเฉพาะทางมาดูแลหากเจ็บปวย ตองเขาโรงพยาบาล ทองถ่ินก็จะสงรถบริการมารับไปโรงพยาบาล เครือขายการทํางานท่ีแข็งแรง คือ เจาของสถานประกอบการนี้ เปนเพ่ือนกับนายอําเภอ เรื่อง regulating law

หนา 104

Page 109: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ขอสังเกตสําคัญ : เนื่องจากเปนกิจการภาคเอกชน ดังนั้น การพํานักระยะยาวจนถึงวาระสุดทายของชีวิต จึงจะไมครอบคลุมประชากรสูงอายุทุกคนในพ้ืนท่ี จะมีเฉพาะคนมีเงินเทานั้นท่ีเขาถึงได คนยากจนในพ้ืนท่ีก็จะไดรับการดูแลโดยรัฐบาลทองถ่ินในลักษณะการไปเยี่ยมบาน หรือ Hospital At Home ลักษณะทางประชากรท่ีสําคัญคือ ประชากรของคะขิบะกําลังเพ่ิมข้ึนเรื่อยๆ ท้ังเด็กและผูสูงอายุเปนเพียง 3 เมืองในญ่ีปุนท่ีมีลักษณะนี้ (โตเกียว ยามากูจิ คะชิบะ) ขอหวงใยของผูประกอบการคือ ขาดแคลน CG ตองการกําลังคนดานนี้ เพราะมีแผนขยายกิจการไปเรื่อยๆสนใจลงทุนในประเทศไทย แตรัฐบาลยังไมใหการสนับสนุน แผนกเด็กเล็ก ผูดูแล/ครูอนุบาลเรียกวา เซนเสะ จบการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย และผานการอบรมตามหลักสูตรท่ีกําหนด ครู 1 คน ดูแลเด็ก 1-2 ขวบ จํานวน 6 คน ถาอายุ 3 ขวบข้ึนไป 1:20 (อัตราสวนนี้กําหนดโดยรัฐบาล) ดูแลเชาไปเย็นกลับ 7 โมงเขา - 6 โมงเย็น หองน้ําเด็กเล็ก 3-5 ขวบมีการจัดกิจกรรมใหผูสูงอายุกับเด็กเล็กมาทํารวมกันตามเทศกาลหรือวันสําคัญ และมาออกกําลังกายรวมกัน เม่ือผูสูงอายุเปดหนาตางหองพักมา ก็จะเห็นเด็กๆเลนอยูในสนาม หองแบบดูแลรายวัน (Day Room) ขอเสนอแนะ (ตอกระทรวงสาธารณสุข) ในการดําเนินการตอไป การประชุมหารือครั้งนี้ไดขอมูลท่ีเปนประโยชนตอการพัฒนางาน ผูสูงอายุ.ในชุมชน ในรูปแบบการมีสวนรวมของภาคเอกชนและทองถ่ิน สําหรับประเทศไทย ดังนี้ ๑. การจัดตั้งศูนยผูสูงอายุในชุมชนเพ่ือลดภาระคาใชจายดานสุขภาพของครอบครัวและหนวยบริการภาครัฐ จําเปนอยางยิ่งตองพัฒนารูปแบบและขอเสนอเพ่ือการยกระดับคุณภาพชีวิตของผูสูงอาย ุในประเทศไทย ๒. การศึกษาวิจัยรูปแบบสวัสดิการดานสุขภาพและสังคม รวมท้ังงบประมาณดําเนินการ ของภาครัฐ เอกชน และการมีสวนรวมจากภาคประชาชน ตองพัฒนารูปแบบ/แนวทาง ท่ีเปนขอเสนอ/ทางเลือกในการจัดระบบบริการสุขภาพและสังคมอยางไรรอยตอ ๓. การคัดเลือกพ้ืนท่ีนํารองในการดําเนินการ จัดระบบบริการสุขภาพและสังคมอยางไรรอยตอ เพ่ือคุณภาพชีวิต ผูสูงอายุ ในชุมชน ๔. การพัฒนามาตรฐานการดูแลผูสูงอายุในชุมชน เพ่ือการจัดระบบบริการดานสุขภาพและสวัสดิการ ใหเชื่อมตอกับหนวยบริการทุกระดับอยางไรรอยตอ ๕. การพัฒนาระบบฐานขอมูลผูสูงอายุใหเปนระบบเดียวท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ือใชในการวางแผนและติดตามประเมินผล รวมท้ังการคืนขอมูลใหกับชุมชน

8.5 สรุปผลการเดินทางไปราชการตางประเทศเพ่ือเขารวมโครงการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงสุขภาพของไทยในเคนยา และยูกันดา จัดข้ึนโดยสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงไนโรบี ระหวางวันท่ี 24 – 29 มิถุนายน 2561 ณ สาธารณรัฐเคนยาและยูกันดา ความเปนมา

ตามหนังสือสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงไนโรบี ท่ี 26001/226 ลงวันท่ี 27 มีนาคม 2561 แจงวาจะจัดโครงการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงสุขภาพของไทยในเคนยาและยูกันดา โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือเปดตลาดและขยายสวนแบงการตลาดการทองเท่ียวเชิงสุขภาพใหเปนท่ีรูจักมากข้ึนในเคนยาและยูกันดา เพ่ือใหการทองเท่ียวเชิงสุขภาพของไทยใหเปนท่ีรูจักมากข้ึนผานการพบหารือกับผูแทนของโรงพยาบาลเอกชนชั้นนํา บริษัทประกันสุขภาพ ตัวแทนบริษัททองเท่ียวท่ีมีศักยภาพ ซ่ึงกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เปนหนวยงานท่ีกํากับดูแลยุทธศาสตรและนโยบายการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ ซ่ึงสถานเอกอัครราชทูตไดขอเชิญผูแทนกรมฯเขารวมโครงการดังกลาว โดยมีกําหนดจัดข้ึน ณ สาธารณรัฐเคนยาและสาธารณรัฐยูกันดา ระหวางวันท่ี 24 – 29 มิถุนายน 2561 ซ่ึงกรมฯ ไดสงรายชื่อผูแทนจํานวน 2 ราย ไดแก

หนา 105

Page 110: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

(1) นายแพทยอัครพล คุรุศาสตรา ตําแหนงนายแพทยชํานาญการ และ (2) นางสาวภาวิณี สังขบูรณ ตําแหนงนักวิเทศสัมพันธชํานาญการ เดินทางไปเขารวมโครงการดังกลาว ผลการดําเนินงาน 1. สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงไนโรบี นําคณะผูบริหารและเจาหนาท่ีจากกระทรวงการตางประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และโรงพยาบาลเอกชนชั้นนําของไทย เขารวมโครงการสงเสริม การทองเท่ียวเชิงสุขภาพของไทยในเคนยาและยูกันดา ซ่ึงจัดข้ึนโดยสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงไนโรบี เม่ือวันท่ี 24 – 29 มิถุนายน 2561 ณ สาธารณรัฐเคนยาและยูกันดา โดยการเขารวมพบปะหารือ เชิงนโยบายกับสถานพยาบาลภาครัฐและเอกชนชั้นนํา สมาคมโรงพยาบาลเอกชน บริษัทประกัน และบริษัททัวรของสาธารณรัฐเคนยาและยูกันดา โดยมีรายละเอียดและสรุปผลการประชุมหารือ ดังตอไปนี้ 1.1 รายนามคณะเดินทาง ประกอบดวย (1) สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงไรโรบี (1.1) นายเชิดเกียรติ อัตถากร เอกอัครราชทูต ณ กรุงไนโรบี (1.2) นางสาวทิพยสุดา คําโท เลขานุการเอก (2) กรมเศรษฐกิจระหวางประเทศ กระทรวงการตางประเทศ (2.1) นายนิธิรุจน โผนประเสริฐ ผูอํานวยการกองสนเทศเศรษฐกิจ (2.2) นายชารีฟ โยธาสมุทร นักการทูตปฏิบัติการ (2.3) นายนราวิชญ องคมงคล นักการทูตปฏิบัติการ กรมเอเชียใตตะวันออกกลางและแอฟริกา (3) โรงพยาบาลปยะเวท (3.1) นายแพทยวิทิต อรรถเวชกุล ประธานเจาหนาท่ีบริหารและกรรมการผูจัดการ (3.2) นางสาวสุภาวรรณ นิตยจํารูญ ผูอํานวยการฝายการตลาดตางประเทศ (4) โรงพยาบาลเวชธานี (4.1) แพทยหญิงปวีณา ศรีมโนทิพย ผูอํานวยการฝายการแพทย (4.2) Mr. Pedrenelle Maniquiz ผูชวยผูอํานวยการฝายการตลาด (5) กระทรวงสาธารณสุข (5.1) นายแพทยอัครพล คุรุศาสตรา นายแพทยชํานาญการ กองบริหารการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข (5.2) นางสาวภาวิณี สังขบูรณ นักวิเทศสัมพันธชํานาญการ กองสุขภาพระหวางประเทศ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 1.2 สรุปผลการเขารวมโครงการ มีดังนี้ 1.2.๑ การเยือนเคนยา (๑) Kenya Association of Travel Agents (KATA) CEO ของ KATA แจงวา ๑) ธุรกิจการทองเท่ียวเชิงสุขภาพกําลังเติบโตอยางมากในเอเชีย โดยเฉพาะอินเดีย เนื่องจากมีเครือขายกับโรงพยาบาล ในเคนยา ๒) เสนอใหจัดทําความตกลงระหวางบริษัทตัวแทนทองเท่ียวเคนยากับโรงพยาบาลเอกชนของไทย เอกอัครราชทูต ณ กรุงไนโรบี กลาววา ไทยมีจุดแข็ง 3 ดาน คือ คุณภาพการรักษา ราคา และอัธยาศัยไมตรี ผูแทนโรงพยาบาลเอกชนเสนอให KATA ชวยสงเสริมการทองเท่ียวเชิงสุขภาพของไทย เนื่องจากการรักษาพยาบาลมีคุณภาพและคาใชจายท่ีไมสูง ผูแทนกระทรวงสาธารณสุขแจงวา ไทยมีจํานวนโรงพยาบาล

หนา 106

Page 111: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ท่ีไดรับการรับรองมาตรฐานนานาชาติแบบ Joint commission International (JCI) มากท่ีสุดในภูมิภาคเอเชีย และมีความเชี่ยวชาญดานการรักษาโรคท่ีไมติดตอ เชน โรคหัวใจ โรคทางสมอง และอาการบาดเจ็บรุนแรงตางๆ (2) Association of Kenya Insurers (AKI) ผูบริหาร AKI กลาววา ๑) แผนประกันสุขภาพระดับ premium สวนใหญจะครอบคลุมคารักษาพยาบาลในตางประเทศ ๒) เสนอใหไทยสรางเครือขายกับโรงพยาบาลเอกชน และบริษัททองเที่ยวในเคนยาเพื่อสงเสริมธุรกิจการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ ผูแทนโรงพยาบาลเอกชน เสนอใหบริษัทประกันเคนยาจัดใหมีการจายคารักษาพยาบาลตรงกับโรงพยาบาลของไทยเพื่ออํานวยความสะดวกสําหรับลูกคาบริษัทประกันเคนยาที่เดินทางมารักษาพยาบาลในไทย และพรอมท่ีจะใหขอมูลเก่ียวกับแพ็กเกจคารักษาพยาบาลกับ AKI (3) โรงพยาบาล Karen ผูบริหารโรงพยาบาล Karen กลาววาโรงพยาบาลเชี่ยวชาญดานโรคหัวใจ แตยังขาดความเชี่ยวชาญดานกุมารเวช ซ่ึงในหลายกรณีตองสงตอ (refer) ไปยังโรงพยาบาลในตางประเทศ โดยเฉพาะอินเดียและแอฟริกาใต และประสงคทราบสาขาท่ีโรงพยาบาลไทยมีความเชี่ยวชาญ เอกอัคราชทูตฯ แจงวา ไทยมีความเชี่ยวชาญหลายสาขา ผูแทนกระทรวงสาธารณสุขแจงวา ไทยมีจุดแข็งท้ังดานคุณภาพการรักษา การบริการ และอัธยาศัยไมตรี รวมท้ังมีความโดนเดนดานอ่ืน ๆ อาทิ การนวดสปา การเสริมความงาม อาหารและแหลงทองเท่ียว (4) โรงพยาบาล Nairobi ผูบริหารโรงพยาบาลไนโรบี กลาววา ท่ีผานมาโรงพยาบาลเคยรับผูปวยจากประเทศเพ่ือนบาน เชน ยูกันดา แตยังไมเคยมีกรณีท่ีตองสงตอผูปวย ท้ังนี้ โรงพยาบาลมีท่ีปรึกษาทางการแพทยลักษณะ part-time และเครือขายผูเชี่ยวชาญในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร และเห็นวา การสรางความรวมมืออาจเริ่มตนดวยการจัดใหมีแพทยไทยมาทํางานชั่วคราวในโรงพยาบาลได (5) สมาคมโรงพยาบาลเอกชนเคนยา ผูบริหาร สมาคมฯ แนะนําวา การทําตลาดธุรกิจการทองเท่ียวเชิงสุขภาพควรมีเครือขายกับโรงพยาบาลเคนยา และมีแผนสงเสริมการตลาดท่ีชัดเจน เชน การจัดประชุม การประชาสัมพันธ ท้ังในระยะสัน้และระยะยาว (6) ผูประกอบการทองเท่ียวเคนยา ผูประกอบการฯ แจงวา ธุรกิจการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ ของอินเดียไดรับความนิยม เนื่องจากมีตัวแทนในโรงพยาบาลเคนยา มีสายสัมพันธท่ีดีกับแพทยเคนยา และมีความสะดวกในการขอรับการตรวจลงตราท่ีใชเวลาเพียง 2 วัน และสามารถสมัครออนไลนไดในทุกประเทศในแอฟริกายกเวน ไนจีเรีย คองโก และเบนิน 1.2.2 การเยือนยูกันดา (1) โรงพยาบาล Norvik ผูบริหาร โรงพยาบาล Norvik แจงวา ๑) ไดจัดตั้งบริษัทในเครือ เพ่ือดําเนินธุรกิจสงตอผูปวยไปรักษาในตางประเทศ โดยเฉพาะท่ีอินเดียเนื่องจากมีโรงพยาบาลในเครือขายจํานวนมาก ๒) มีแพทยตางชาติมารักษาท่ี รพ. แบบประจําและชั่วคราว ๓) เสนอใหจัดทํา MoU ระหวางโรงพยาบาลกับโรงพยาบาลเอกชนไทย หรือจัดใหมีแพทยไทยมารักษาในโรงพยาบาลเพ่ือสรางความคุนเคยกับผูปวยชาวยูกันดา (2) โรงพยาบาล Kampala ผูบริหารโรงพยาบาล Kampala ประสงคใหมีความรวมมือดานการถายทอดเทคโนโลยีทางการแพทย องคความรู และการใหความเห็นของแพทยทานท่ีสอง (Second Opinion) ผูแทนโรงพยาบาลเอกชน แจงวา มีศูนยความเปนเลิศทางการแพทยดานตาง ๆ ท่ีพรอมแลกเปลี่ยนองคความรูกับโรงพยาบาล (3) โรงพยาบาล CASE ผูบริหาร โรงพยาบาล CASE แจงวา ยังขาดความเชี่ยวชาญในดานการผาตัดซับซอน และไมมีเครือขายกับโรงพยาบาลตางประเทศในการสงตอผูปวย พรอมท้ังเสนอใหมีแพทยไทยมารักษาในโรงพยาบาลแทนการสงตอผูปวยเนื่องจากเสี่ยงตอการติดเชื้อของผูปวย

หนา 107

Page 112: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

(4) ผูประกอบการทองเท่ียวยูกันดา ผูประกอบการฯ แจงวา ธุรกิจการทองเท่ียวเชิงสุขภาพกําลังเติบโตในแอฟริกา โดยมีผู เลนหลัก ไดแก อินเดีย แอฟริกาใต ดูไบ และตุรกี ผูแทนโรงพยาบาลเอกชน จะสงแพ็กเกจการรักษาพยาบาลใหกับผูประกอบการฯ และขอใหชวยสนับสนุนโรงพยาบาลเอกชนไทยใหเปนท่ีรูจัก (5) บริษัทประกันสุขภาพยูกันดา (Jubilee/UAP) บริษัทประกันฯ แจงวา มีความรวมมือ ในการจายคารักษาพยาบาลกับโรงพยาบาลในอินเดียแลว และเชิญชวนใหเอกชนไทยมาเปดโรงพยาบาล ในยูกันดา ผูแทนโรงพยาบาลเอกชน แจงวา จะสงราง MoU ความรวมมือในการจายคารักษาพยาบาลใหบริษัทประกันฯ พิจารณา2.๓ การติดตามประเด็นทวิภาคีท่ีค่ังคางกับสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงไนโรบี 1.2.๔. ขอสังเกตและขอคิดเห็น (๑) อินเดียเปนผูเลน (player) สําคัญในธุรกิจการทองเท่ียวเชิงสุขภาพในเคนยาและยูกันดาเนื่องจากมีเครือขายกับ

โรงพยาบาลเอกชนในเคนยาและยูกันดา โดยเฉพาะในยูกันดามีแพทยอินเดียประจําใน โรงพยาบาลยูกันดาและมีบริษัทอินเดียบางแหงท่ีทําธุรกิจการทองเท่ียวเชิงสุขภาพแบบครบวงจร ท้ังนี้ ปจจัยสําเร็จดังกลาวนาจะเปนผลมาจากอิทธิพลในสมัยอาณานิคมท่ีอินเดีย เคนยา และยูกันดา ตกอยูภายใตการปกครองของอังกฤษ โดยคนอินเดียจํานวนมากถูกนํามาเปนแรงงานและตอมาไดตั้งรกรากในเคนยาและยูกันดา โดยปจจุบันคนเคนยา/ยูกันดาเชื้อสายอินเดีย ไดสรางเครือขายทางธุรกิจหลายแหงในทองถ่ินโดยมีการเชื่อมโยงกับธุรกิจในอินเดีย (2) รัฐบาลอินเดียมีนโยบายกระชับความรวมมือกับแอฟริกามากข้ึนเพ่ือแขงขันกับจีนรวมถึงการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงสุขภาพของอินเดียในแอฟริกา โดยการอํานวยความสะดวกดานการตรวจลงตราผานสถานเอกอัครราชทูต/สถานกงสุลใหญ อินเดียในแอฟริกาท่ีมีจํานวน 29 ประเทศ ท้ังนี้ รัฐบาลอินเดีย มีแผนจัดตั้งสถานเอกอัครราชทูตเพ่ิมเติมในแอฟริกาอีก 18 ประเทศภายในป 2564 (3) ตุรกีไดเริ่มเขามาเจาะตลาดธุรกิจการทองเท่ียวเชิงสุขภาพในแอฟริกาแลว ซ่ึงนาจะเปนผลจากอิทธิพลดานธุรกิจของตุรกีท่ีกําลังเติบโตในหลายประเทศของแอฟริกา กอปรกับตุรกีมีสถานเอกอัครราชทูตใน 41 ประเทศของแอฟริกา ซ่ึงมีสวนสําคัญในการสงเสริมและรักษาผลประโยชนของตุรกีในแอฟริกาอยางมาก (4) โดยท่ีตลาดการทองเท่ียวเชิงสุขภาพของไทยในแอฟริกามีคูแขงหลายราย โดยเฉพาะอินเดีย ดังนั้นไทยควรปรับกลยุทธทางการแขงขัน โดยอาศัยจุดแข็งของไทยท่ีตางจากอินเดีย เชน สถานท่ีทองเท่ียว อาหาร วัฒนธรรม และการใหบริการทางการแพทยท่ีมีคุณภาพและมีความหลากหลาย อาทิ การตรวจสุขภาพ การศัลยกรรมเสริมความงาม และการรักษาโรคไมติดตอตางๆ โดยอาจเจาะตลาดเฉพาะกลุม (Niche Market) เชน กลุมนักการเมือง/ขาราชการระดับสูง กลุม expat และกลุมชนชั้นกลางรุนใหมของแอฟริกา ซ่ึงเปนกลุมท่ีไมออนไหวตอปจจัยดานราคามาก (price-sensitive) แตยังคํานึงถึงคุณภาพดวย (สรุปผลจาก : กรมเอเชียใต ตะวันออกกลางและแอฟริกา กระทรวงการตางประเทศ)

หนา 108

Page 113: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

2. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองสุขภาพระหวางประเทศ ไดเดินทางไปหารือรวมกับโรงพยาบาลเอกชนท่ีเขารวมเดินทางไปราชการตางประเทศ ไดแก โรงพยาบาลเวชธานี และโรงพยาบาลปยะเวท เม่ือวันท่ี 5 กรกฎาคม 2561 เพ่ือสํารวจความพรอมในดานการใหบริการรองรับชาวตางชาติ และประเด็นท่ีตองการใหกรมฯ และสถานเอกอัครราชทูตขับเคลื่อนดําเนินการอยางเปนรูปธรรม

3. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองสุขภาพระหวางประเทศ ไดดําเนินการจัดการประชุมเพ่ือปรึกษาหารือเก่ียวกับนโยบายการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ เม่ือวันท่ี 6 กรกฎาคม 2561 โดยมีเอกอัครราชทูต ณ กรุงไนโรบี (นายเชิดเกียรติ อัตถากร) เขารวมหารือและรับฟงนโยบายของกรมฯ และแนวทางการดํ า เนินงานตอไปจากการเดินทางไปราชการตางประเทศครั้งนี้ และโดยมีผูเขารวมประชุมประกอบดวย ผูบริหารกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ผู อํ านวยการกองสถานประกอบการ เพ่ือสุขภาพ ผูแทนสํานักสถานพยาบาลและการประกอบโรคศิลปะ กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน และกองสุขภาพระหวางประเทศ สรุปสาระสําคัญไดดังนี้ 3.1 ผูแทนกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดนําเสนอสรุปผลการเขารวมโครงการวาท้ังสาธารณรัฐเคนยาและยูกันดานิยมเดินทางไปใชบริการดานสุขภาพในตางประเทศ รอยละ 70 นิยมเดินทางไปรักษาท่ีประเทศอินเดีย รอยละ 27 นิยมเดินทางไปรักษาในยุโรป/อเมริกาและอ่ืนๆ มีเพียงรอยละ 3 ท่ีเดินทางมารักษาท่ีประเทศไทย เหตุผลสําคัญคือ (1) ระยะทาง พบวาการเดินทางจากทวีปแอฟริกาไปยังอินเดียและยุโรป ใกลวาเดินทางมาไทย (2) อัตราคารักษาพยาบาลในอินเดียถูกกวาไทย รอยละ 50-70 เม่ือเทียบกับโรงพยาบาลเอกชนชั้นนําของไทย และ (3) การขอวีซาและการขออยูตอในประเทศอินเดียสามารถขอวีซาไดงายกวา พํานักไดนานกวา และข้ันตอนการดําเนินการไมยุงยาก แตท้ังนี้ประเทศไทยก็มีความพรอมในดานของการบริการ ไดแก (1) คุณภาพการใหบริการ ไทยมีโรงพยาบาลท่ีผานมาตรฐานสากล JCI มากท่ีสุดในอาเซียน จํานวน 63 แหง (2) มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินระหวางการพํานักในประเทศไทย และ (3) มีสิ่งอํานวยความสะดวก และการใหบริการในแบบไทย รวมท้ังมีบริการ Wellness นวดไทย-สปา ซ่ึงจุดแข็งของไทยก็คือมีสถานท่ีทองเท่ียวท่ีนาดึงดูดใจซ่ึงอินเดียจะขาดสิ่งนี้ไป แตอยางไรก็ตามสิ่งท่ีควรจะดําเนินการตอไปในระดับนโยบาย คือ การมีความรวมมือดาน Medical and Wellness Tourism อยางใกลชิดกับสถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงไนโรบี การแลกเปลี่ยนเรียนรูดานวิชาการระหวางเคนยา-ยูกันดาและไทย การสงเสริมใหสถานพยาบาลเอกชนของไทยเปนท่ีรูจักในทวีปแอฟริกามากข้ึน ขอเสนอแนะเพ่ิมเติมจากโรงพยาบาลเวชธานี และโรงพยาบาลปยะเวท (1) ใหมีการประชาสัมพันธศักยภาพ และความเชี่ยวชาญเฉพาะดานของสถานพยาบาลเอกชนของไทยใหกับชาวตางชาติ (2) ใหมีการจัดตั้งสํานักงาน Information Office มีการทําการตลาดรวมกันท้ังโรงพยาบาลรัฐและเอกชน (3) ใหมีความรวมมือดานการแพทยระหวางกัน (4) สงเสริมใหมีการจัดทําแพคเกจรวมกับบริษัทตัวแทน เชน Check-up และ Wellness เปนตน (5) ในเชิงกิจกรรมเพ่ือสังคม (CSR) ตองการใหมีการสรางสโมสรคูมิตรไมตรี ไทย-ยูกันดา เพ่ือแนะนําไทย ใหเปนท่ีรูจักพรอมจัดกิจกรรมสงเสริมอาชีพ เชน การเพาะพันธุปลา ประปาหมูบาน เปนตน

หนา 109

Page 114: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

(6) ใหกรมฯการปรับเปลี่ยนรูปแบบและภารกิจการใหบริการของศูนย Medical Hub Center เชิงรุก และมีการประชาสัมพันธใหชาวตางชาติรับทราบมากข้ึน 3.2 เอกอัครราชทูต ณ กรุงไนโรบี ใหขอคิดเห็นวานโยบายการสงเสริมการทองเท่ียว เชิงสุขภาพในปจจุบันเนนทางกลุมยุโรปซ่ึงบริการในกลุมประเทศเหลานี้ดีอยูแลวแตในกลุมประเทศแอฟริกาบริการรักษาพยาบาลยังไมดีเทาท่ีควร สําหรับกลุม Hi-end ท่ีมีศักยภาพตางแสวงหาบริการในตางประเทศ แมวาตลาดในแอฟริกาจะไมใหญเทายุโรป แตถาประเทศไทยใหความสําคัญในเรื่องการประชาสัมพันธ และการสรางความเขาในในระบบบริการรักษาพยาบาลของไทยใหเปนท่ีรูจักสรางความประทับใจในอนาคตกลุมประเทศเหลานี้จะมาสามารถเติบโตตอไปไดดี โดยในปงบประมาณ 2562 สถานเอกอัครราชทูตฯ มีแผนการดําเนินงานท่ีจะนําคณะผูบริหารและเจาหนาท่ีจากเคนยาและยูกันดามาศึกษาดูงานในดานสาธารณสุขและการจัดบริการสุขภาพในประเทศไทย โดยจะขอรับการสนับสนุนจากกรมฯในการจัดโปรแกรมการศึกษาดูงานใหมีความครอบคลุมภารกิจท่ีจะเปนการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงสุขภาพและความสัมพันธอันดีระหวางกันตอไป ในสวนท่ีมีการรองขอใหสถานเอกอัครราชทูตดําเนินการในเรื่องดังกลาวขางตน จะขอดู ความพรอมในหลายๆดานของสาธารณรัฐของเคนยาและยูกันดากอน ในดานกิจกรรมเพ่ือสังคมจะขอใหเปนโครงการของทางโรงพยาบาลเอกชนดําเนินการ ในการแลกเปลี่ยนเรียนรูดานวิชาการและความรวมมือ ดานการแพทยของสถานพยาบาลเอกชนของประเทศไทย และสถานพยาบาลเอกชนท่ีมีความพรอมของสาธารณรัฐเคนยา - ยูกันดา ไดแก Karen Hospital และ Kampala Hospital ในกรณีของการเบิกจายประกันของชาวเคนยา-ยูกันดาทางบริษัทประกันจะมีเครือขายกับโรงพยาบาลของอินเดียในสวนของประเทศไทย จะใชวิธีการนําใบเสร็จรับเงินไปเบิกจายตอไป ดานศักยภาพสมุนไพรไทยในแอฟริกาจะมีมุมมองตางจากไทย สมุนไพรจะเปนกลุมทางเลือกเพราะชาวแอฟริกามีสมุนไพรอยูในวิถีชีวิตประจําวันอยูแลวเนื่องจากพลเมืองสวนใหญมีความยากจนเกินกวาจะซ้ือยาแผนปจจุบันมารับประทานได แตสมุนไพรก็ยังมิไดถูกพัฒนาในเชิงพาณิชย โอกาสทางดานการจําหนายผลิตภัณฑสุขภาพของไทยท่ีแอฟริกายังมีความเปนไปไดอยูแตตองทําการตลาดมากกวาเรื่องอ่ืน ในสวนของบริการสปาไทยจะไดรับความนิยมโดยเฉพาะสปาสากลและนวดแผนไทย สวนใหญผูใชบริการจะเปนระดับ Hi-end เพราะราคาคอนขางสูง ปจจุบันยังไมมีนักลงทุนไทยไปเปดตลาดท่ีแอฟริกามากนักจะมีเพียงแตลูกจางชาวไทยท่ีไปใหบริการเทานั้น 3.3 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ มีความยินดีในการจัดโปรแกรมใหหากทางสถานเอกอัครราชทูตประสงคจะนําคณะจากเคนยาและยูกันดาเขามาศึกษาดูงานในประเทศไทย เพราะทางกรมฯ มีสถานพยาบาลเอกชนท่ีมีศักยภาพในการใหบริการ และมีสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพท่ีมีความพรอมรองรับชาวตางชาติอยูแลว สามารถทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูทางดานบุคลากรระหวางกัน ประกอบกับ ท่ีผานมาไดมีคณะนักขาวและผูศึกษาดูงานจากหลายประเทศใหความสนใจมาศึกษาดูงานเปนประจําทุกป พรอมท้ังยินดี ท่ีจะสงเสริมให เ กิดความรวมมือทางดานการแพทยระหวางโรงพยาบาลเอกชนไทย และโรงพยาบาลในเคนยา-ยูกันดา พรอมท้ังสงเสริมกิจกรรมเชิงสังคมของโรงพยาบาลเอกชนไทยดวย ในสวนของ Product ของไทยท่ีจะไปเปดตลาดท่ีแอฟริกาจะขอใหเนนทางดานการรักษาโรคมาเลเรียซ่ึงยังเปนปญหาใหญของชาวแอฟริกาอยูขณะนี้ ในระยะตอไปอาจจะมีการพิจารณาใหชาวแอฟริกาท่ีเขามารักษาพยาบาล ในไทยสามารถเบิกจายตรงคารักษาพยาบาลจากบริษัทประกันได รวมท้ังการ Business Matching ธุรกิจ สปาไทยโดยอาศัยบริษัท Minor ท่ีไปเปดบริการในแอฟริกาในอนาคตตอไป

หนา 110

Page 115: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

8.6 สรุปผลการเดินทางไปราชการ ณ ราชอาณาจักเดนมารก ของคณะผูแทนกรมสนับสนุนบรกิารสุขภาพนําโดยแพทยหญิงประนอม คําเท่ียง อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ระหวางวันท่ี 26 มิถุนายน – 2 กรกฎาคม 2561 1. วัตถุประสงค การเดินทางไปราชการ ณ ราชอาณาจักเดนมารก ของคณะผูแทนกรมสนับสนุนบริการสุขภาพเดินทางไปราชการในครั้งนี้ เปนไปตามคําเชิญของสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงโคเปนเฮเกน เขารวมกิจกรรมในงานฉลองโอกาสครบรอบ 160 ป ความสัมพันธทางการทูตไทย – เดนมารก โดยมีวัตถุประสงค คือ

(1) การผลักดันนโยบาย Medical Hub รวมกับสถานเอกอัครราชทูตไทยในราชอาณาจักรเดนมารก (2) เพ่ือบูรณาการนโยบาย Medical Hub รวมกับกลุมประเทศนอรดิก (3) เพ่ือสงเสริมใหผูรับบริการในกลุมประเทศนอรดิกมาใชบริการทางการแพทยในประเทศไทย

และสรางความเชื่อม่ันตอระบบสุขภาพของไทย (4) เพ่ือชี้แจงความพรอมในการใหบริการรักษาพยาบาลของประเทศไทยแกกระทรวง

สาธารณสุขเดนมารก/ บริษัท Private Insurance ชั้นนํา (5) เพ่ือสงเสริมดานธุรกิจสุขภาพและการจับคูเจรจาทางธุรกิจ (Business Matching) (6) การเจรจาเรื่องการเบิกจายคารักษาพยาบาล รวมท้ังความเปนไปไดในแนวทางรองรับ

Treatment Abroad กรณีสงผูปวยชาวเดนมารกมารับการรักษาพยาบาลในประเทศไทย ท้ังในชุด สิทธิประโยชนและนอกสิทธปิระโยชน

(7) เพ่ือสงเสริมและพัฒนาการรับรองมาตรฐานสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพไทย ในตางประเทศ

(8) การสงเสริมใหผลิตภัณฑสมุนไพรท่ีมีความพรอมมาวางจําหนายใน Product Outlet ในเดนมารก และการเจรจาดานกฎระเบียบกับ FDA ของเดนมารก 2. องคประกอบคณะผูแทนกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ประกอบดวย (1) แพทยหญิงประนอม คําเท่ียง อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (หัวหนาคณะเดินทาง) (2) นายแพทยภัทรพล จึงสมเจตไพศาล ผูชวยอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ผูแทนกรมสนับสนุนบริการสขุภาพ (3) นายแพทยอัครพล คุรุศาสตรา นายแพทยชํานาญการ

ผูแทนกรมสนับสนุนบริการสขุภาพ (4) นางเสาวภา จงกิตติพงศ ผูอํานวยการกองสุขภาพระหวางประเทศ เลขานุการคณะ (5) นางสาวศิรินภา สระทองหน นักวิเคราะหนโยบายและแผนปฏิบัติการ

ผูชวยเลขานุการคณะ

หนา 111

Page 116: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

3. กําหนดการเดินทาง คณะออกเดินทางจากทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ประเทศไทย ในวันอังคารท่ี 26 มิถุนายน 2561 เวลา 01.20 น. โดยเครื่องบินของสายการบินไทย เท่ียวบินท่ี TG950 คณะเดินทางกลับถึงทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ประเทศไทย ในวันจันทรท่ี 2 กรกฎาคม 2561 เวลา 06.00 น. โดยเครื่องบินของสายการบินไทย เท่ียวบินท่ี TG951 4. กิจกรรมสําคัญระหวางการเดินทางไปราชการ ณ ราชอาณาจักเดนมารก 4.1 ประชุมรวมกับ Ms.Jeanette Aaen ประธานกรรมการบริหาร และผูอํานวยการฝายจัดซ้ือจากหางสรรพสนิคา ILLUM เม่ือวันอังคารท่ี 26 มิถุนายน 2561 เวลา 13.00 น. ณ หางสรรพสินคา ILLUM

ขอเท็จจริง หางสรรพสินคาอิลลุม (Illum) เปนการรวมทุนกับหางสรรพสินคา Central ของไทย ตั้งอยูกลางกรุงโคเปนเฮเกน เมืองหลวงของราชอาณาจักรเดนมารกบนถนนสตรอยก (Stroget) ซ่ึงเปนแหลงชอปปง ท่ียาวท่ีสุดของยุโรป มีอายุ 125 ป มีพ้ืนท่ี 20,000 ตรม. ภายนอกยังคงสถาปตยกรรมอันเกาแก ซ่ึงกลมกลืนกับตึกประวัติศาสตรในบริเวณโดยรอบ ภายในตกแตงอยางทันสมัยงดงามเพ่ือความประทับใจ ของลูกคา โดยมีคนมาเยือนประมาณ 6.5 ลานคนตอป ดังนั้น การนําผลิตภัณฑมาวางจําหนายตองผานเกณฑมาตรฐานกฎหมายทางการคาของ EU และของกลุมประเทศนอรดิก โดยเฉพาะดาน Organic/ Fair trade/ CSR แบบยัง่ยืน ประเภทของสินคาท่ีนิยมของลูกคา ไดแก Skin Care Head to Toe/ Cosmetic/ อาหารและเครื่องดื่ม/ ของใชภายในครัวเรือน โดยมีแหลงผลิตมาจาก เอเชีย/ อเมริกา/ ทวีปยุโรป และประเทศเดนมารก ขอเสนอเชิงนโยบาย 1. พัฒนา Business Model กับผูประกอบการฝายไทยท่ีมีความพรอม โดยสงเสริม พัฒนาท้ังภาครัฐและเอกชนท่ีมีความสนใจ อาทิ เชน โรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศร/ภาคเอกชน 2. ใหผูประกอบการชาวไทยท่ีมีความพรอมและสนใจ พัฒนาผลิตภัณฑสุขภาพดานสมุนไพรไทยใหไดมาตรฐานตามเกณฑของ EU และของกลุมประเทศนอรดิกตามท่ีกําหนดไว

3. ใหผูประกอบการดําเนินงาน Business Matching กับรายชื่อ Agent ของทางหางสรรพสินคา ILLUM

4. ให Agent นําตัวอยางของผลิตภัณฑ เสนอใหหาง ILLUM เพ่ือคัดเลือก เชน กลุม Skin Care / Cosmetic/ อาหาร เปนตน แนวทางการดําเนินงานตอไป 1. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพประชุมรวมกับผูประกอบการสมุนไพรไทยท่ีสนใจนําสินคา ไปวางจําหนายในเดนมารก เชน โรงพยาบาลอภัยภูเบศร และภาคเอกชน

หนา 112

Page 117: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

2. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพรวมกับสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาใหการสงเสริม พัฒนาผูประกอบการเพ่ือใหเตรียมการพัฒนาผลิตภัณฑใหไดตามมาตรฐานของ EU และของกลุมประเทศนอรดิก 3. ประสานการทํา Business Matching กับ Agent 4.2 เยี่ยมคารวะเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงโคเปนเฮเกน ราชอาณาจักรเดนมารก และประชุมปรึกษาหารือรวม เม่ือวันวันพฤหัสบดีท่ี 28 มิถุนายน 2561 เวลา 10.00 น. สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงโคเปนเฮเกน ขอเท็จจริง กรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดตระหนักถึงความสําคัญของกลุมเปาหมายหลักในกลุมนอรดิก ซ่ึงเปนประเทศท่ีมีศักยภาพและมีความพรอมในการเขามารับบริการสุขภาพในประเทศไทย รวมท้ังในปจจุบันไดมีผูประกอบการชาวไทยใหความนิยมดําเนินธุรกิจนวดไทยและสปาไทยเปนอยางมาก กรมฯจึงไดมีนโยบายสําคัญ ท่ีจะบูรณาการทํางานรวมกับสถานเอกอัครราชทูตไทยในตางประเทศ รวมท้ังสมาคม ภาคเอกชน เพ่ือยกระดับคุณภาพ มาตรฐาน ในการจัดบริการสุขภาพใหเปนท่ียอมรับของผูรับบริการชาวตางชาติ ประกอบดวย

1. นโยบายการทองเท่ียวเชิงสุขภาพ (Health Tourism) จากความพรอมของประเทศไทยในการใหบริการรักษาพยาบาลในทุกโรค/ สาขา แบบครบวงจร รวมท้ังมีราคาเหมาะสม มีบุคลากรเชี่ยวชาญ มีเทคโนโลยีทันสมัย รวมท้ังมีสถานท่ีทองเท่ียวสวยงาน โดยมีโรงพยาบาล/ คลินิก ท่ีผานมาตรฐานนานาชาติแบบ JCI แลว รวม 63 แหง และสถานประกอบการ เพ่ือสุขภาพท่ีไดรับการรับรองตามกฎหมายกวา 2,954 แหง (ขอมูล พ.ศ. 2561) พรอมใหบริการแก ชาวเดนมารกท่ีประสงคจะเดินทางเขามารับการรักษาพยาบาลในประเทศไทย 2. การพิจารณาการเบิกจายคารักษาพยาบาล (Reimbursement) เนื่องดวยระบบสุขภาพในเดนมารก เปนลักษณะรัฐสวัสดิการ ท่ีมีงบประมาณสนับสนุนจาก การเก็บภาษีของพลเมือง (Tax based) โดยมีลักษณะแบบ Universal Coverage ผานระบบ National Insurance Scheme โดยกําหนดเปนชุดสิทธิประโยชน (Benefit package) รวมท้ัง Group 1 และ Group 2 เม่ือพลเมืองชาวเดนมารกเจ็บปวยจึงสามารถเขารับการรักษาพยาบาลไดตามเกณฑท่ีกําหนด ซ่ึงอาจจะตองมีการรวมจายคาธรรมเนียม (Deductible) ตามอัตราท่ีกําหนด ปญหาดานสุขภาพท่ีพบ คือ มีอัตราการ รอคอยในการเขารับการรักษาพยาบาลในชุดสิทธิประโยชนนาน (Long waiting list) และบริการนอกชุดสิทธิประโยชนจะมีคาใชจายท่ีสูง ซ่ึงในบางกลุมโรค หากมีการรอคิวเขารับการรักษาพยาบาลนานกวาท่ีกําหนด หนวยงานรับผิดชอบจะอนุญาตใหชาวเดนมารกเดินทางไปรับการรักษานอกพ้ืนท่ีได รวมท้ังยังพบวามี การเดินทางไปรับการรักษาพยาบาลนอกประเทศแตยังอยูใน EU ดังนั้น จึงพบวามีชาวเดนมารกนิยมเดินทางมารับการรักษาพยาบาลในไทย เนื่องดวยมีคาใชจายท่ีไมสูงมาก โรงพยาบาลมีคุณภาพมาตรฐานนานาชาติ และไมตองรอคิวนาน

หนา 113

Page 118: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

3. การขยายเวลาพํานักในราชอาณาจักรไทยเพ่ือการรักษาพยาบาล รวม 90 วัน และเพ่ือการพํานักระยะยาว (Long Stay Visa) ชาวตางชาติใหความนิยมในการเดินทางเขามาพํานักในประเทศไทยแบบพํานักระยะยาว มีแนวโนมเพ่ิมสูงข้ึน โดยเฉพาะจากประเทศญ่ีปุนและทวีปยุโรป จากเหตุผลคุณภาพการใชชีวิต คาครองชีพ ราคา สิ่งอํานวยความสะดวก ภูมิประเทศ โครงสรางพ้ืนฐาน ตลอดจนบริการดานสุขภาพ ท่ีสอดรับกับ ความตองการของแตละประเทศ จึงถือไดวาบริการแบบพํานักระยะยาวเปนอีกหนึ่งบริการท่ีสามารถ สรางรายไดใหแกประเทศไทยไดเปนอยางดี ขณะเดียวกันในตางประเทศตางใหความสนใจและจัดทําเปนนโยบายสําคัญระดับประเทศ ไดแก มาเลเซีย สิงคโปร ญ่ีปุน ฟนแลนด ออสเตรเลีย สเปน สหรัฐอเมริกา ทําใหผูรับบริการบางสวนเดินทางไปใชสิทธิ์การพํานักระยะยาวในประเทศเหลานี้

1. ขยายเวลาพํานักในราชอาณาจักรไทยเพ่ือการรักษาพยาบาล รวม 90 วัน สําหรับผูปวยและผูติดตาม รวมไมเกิน 4 ราย เดิม 11 ประเทศ ไดแก 1. ราชอาณาจักรบาหเรน 2. รัฐคูเวต 3. รัฐสุลตานโอมาน 4. รัฐกาตาร 5. ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย 6. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส 7. กัมพูชา 8. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 9. เมียนมา 10. เวียดนาม 11. สาธารณรัฐประชาชนจีน และเสนอเพ่ิมเติมอีก 5 ประเทศ ไดแก 1. ราชอาณาจักรนอรเวย 2. ราชอาณาจักรเดนมารก 3. ราชอาณาจักรสวีเดน 4. สหรัฐอเมริกา 5. ญี่ปุน

2. การขยายระยะเวลาพํานักในราชอาณาจักรไทยสําหรับกลุมพํานักระยะยาว (Long Stay Visa) 10 ป เดิม 14 ประเทศ ไดแก 1. ญี่ปุน 2. เครือรัฐออสเตรเลีย 3. ราชอาณาจักรเดนมารก 4. สาธารณรัฐฟนแลนด 5. สาธารณรัฐฝรั่งเศส 6. สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี 7. สาธารณรัฐอิตาลี 8. ราชอาณาจักรเนเธอรแลนด 9. ราชอาณาจักรนอรเวย 10. ราชอาณาจักรสวีเดน 11. สมาพันธรัฐสวิส 12. สหราชอาณาจักร บริเตนใหญและไอรแลนดเหนือ 13. ราชอาณาจักรนอรเวย 14. สหรัฐอเมริกา และเสนอประเทศเปาหมายเพ่ิมเติม ไดแก นิวซีแลนด ราชอาณาจักรเบลเยียม สาธารณรัฐเกาหลี และสาธารณรัฐออสเตรีย ขอเสนอเชิงนโยบาย 1. พิจารณาความเปนไปไดในกรณีท่ีชาวเดนมารกเดินทางมารับการรักษาพยาบาลใน กลุมโรคในชุดสิทธิประโยชนในประเทศไทย แลวสามารถเบิกคาใชจายตรงกับรัฐบาล (Reimbursement) ได 2. ประชาสัมพันธขอมูลของประเทศไทยเก่ียวกับนโยบาย Long Stay 10 ปเดิม ใหตรงกับความตองการของชาวเดนมารก 3. ยกระดับคุณภาพ มาตรฐาน รานนวด/สปาไทย ในเดนมารก แนวทางการดําเนินงานตอไป 1. สงเสริม พัฒนาผูประกอบการชาวไทย และ Therapist ท่ีเปดดําเนินการรานนวดไทย/สปาไทย ใหมีคุณภาพ มาตรฐาน 2. รวมกลุมกันเปนสมาคม/ ชมรม เพ่ือเผยแพรภาพลักษณท่ีดีสูประเทศไทย 3. ประชุมรวมกับ Mr. Thorir Aronsson and Mr. Nicolai Rasmussen จากบริษัท Falck Global Assistance เม่ือวันวันพฤหัสบดีท่ี 28 มิถุนายน 2561 เวลา 13.30 น. ณ บริษัท Falck Global Assistance

หนา 114

Page 119: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ขอเท็จจริง บริษัท Falck กอตั้งโดย นาย Sophus Falck เม่ือ ปค.ศ. 1884 มีเปาหมายในการเปนผูนําดานการใหบริการรถพยาบาลระดับโลก รวมท้ังเปนผูนําดานการดูแลสุขภาพของพนักงานและการให ความชวยเหลือดานรถเสียของชาวนอรดิก ดวยประสบการณมากกวา 100 ป ประกอบกับไดมีกลุมบริษัท ในเครือทํางานรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของในทองถ่ินและระดับชาติเพ่ือปองกันการเกิดอุบัติ เหตุ ความเจ็บปวยและสถานการณฉุกเฉินเพ่ือชวยเหลือผูประสบภัย พรอมท้ังยังมีประสบการณดานการฟนฟู และดูแลผูปวยหลังจากเจ็บปวยและบาดเจ็บ โดย บริษัท Falck ดําเนินธุรกิจใน 35 ประเทศ และมีพนักงานมากกวา 37,000 ราย ธุรกิจของบริษัท Falck ประกอบดวยหนวยธุรกิจหลัก 3 สวน ไดแก รถพยาบาลสําหรับพนักงานและสวัสดิการพนักงาน การดับเพลิงกรณีเกิดเหตุในอุตสาหกรรมตางๆ การใหความชวยเหลือและความปลอดภัย ท่ัวโลก โดยมีการใหบริการ ดังนี้ (1) บริการทางการแพทยฉุกเฉิน (2) บริการขนสงผูปวย (3) ศูนยการแพทยคลินิกและบริการทางการแพทยผานระบบ Doctor on call service (4) ความชวยเหลือทางการแพทยและ การรักษาความปลอดภัยท่ัวโลก (5) โครงการใหความชวยเหลือพนักงาน (6) บริการดานการดูแลสุขภาพ (7) บริการดับเพลิง (8) ความปลอดภัยของน้ํามันและกาซธรรมชาติ (9) บริการเหมืองแร (10) การจัดการเหตุฉุกเฉินเบื้องตนการตอบสนองเบื้องตน (11) ชวยเหลือรถเสียฉุกเฉิน (12) ความปลอดภัยของบานและอาคาร (13) บริการชวยเหลือบุคคลท่ีมีความเคลื่อนไหวบกพรอง สาขาบริษัท Falck ในประเทศไทยเริ่มดําเนินการในป พ.ศ. 2552 ตั้งอยูใกลกับสนามบินนานาชาติสุวรรณภูมิ มีหองเรียนท่ีทันสมัยและสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับการดับเพลิงข้ันพ้ืนฐาน การให ความชวยเหลือดานการรักษาความปลอดภัย การจัดการภาวะวิกฤติและการแกปญหาในสถานท่ีสําหรับนักธุรกิจท่ีเดินทางมาพักผอนและธุรกิจตลอดจนบริษัท และองคกรระดับโลก ขอเสนอเชิงนโยบาย เสนอให บริษัท Falck บรรจุรายชื่อโรงพยาบาล/คลินิก ของประเทศไทยท่ีผาน JCL หรือ HA ใหเปนทางเลือกแกผูถือกรมธรรมของบริษัท ใหแกชาวเดนมารก แนวทางการดําเนินงานตอไป 1. Matching โรงพยาบาลในประเทศไทยกับ บริษัท Falck 2. พัฒนา Claim Center เพ่ือชวยโรงพยาบาลใหเบิกได 4.4 ประชุมร วมกับผูประกอบการชาวไทยท่ี เปดดํ า เนินการร านนวดไทย/ สปาไทย ในราชอาณาจักรเดนมารก รวมกับนายกสมาคมสงเสริมสุขภาพไทยในนอรเวยและสถานประกอบการ ในราชอาณาจักรเดนมารก เม่ือวันวันพฤหัสบดีท่ี 28 มิถุนายน 2561 เวลา 10.00 น. ณ สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรงุโคเปนเฮเกน

หนา 115

Page 120: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ขอเท็จจริง กรมสนับสนุนบริการสุขภาพประชุมรวมกับผูประกอบการชาวไทยท่ีเปดดําเนินการรานนวดไทย/ สปาไทยในราชอาณาจักรเดนมารก เพ่ือพิจารณาแนวทางการสงเสริมพัฒนาธุรกิจสุขภาพ การยกระดับเพ่ือรับรองคุณภาพมาตรฐานรวมกัน โดยกรมฯ ไดชี้แจงวัตถุประสงค การประเมินมาตรฐานสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพในตางประเทศ เพ่ือเปนแนวทางในการดําเนินธุรกิจบริการสุขภาพในตางประเทศใหมีมาตรฐานสากล และสรางภาพลักษณท่ีดีของสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพของไทยในตางประเทศ และรวมกอตั้งปฏิญญา การจัดต้ังชมรมนวดไทยเพ่ือสุขภาพในเดนมารก โดยมีนายกสมาคมสงเสริมสุขภาพไทยในนอร เวย (คุณชุติกาญจน ภา เอสแลนด) เปนพ่ีเลี้ยงในการจัดตั้งชมรม โดยกรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดมอบโลโกนวดไทยใหแก ประธานชมรมนวดไทยเพ่ือสุขภาพในเดนมารก (คุณศุทธินี พันธชัยศรี) ไวใหเปนตัวอยาง และกําหนดมาตรฐานนวดไทยใหถูกตองตามกฎหมายทองถ่ินในประเทศเดนมารก เพ่ือลดอัตราการเก็บภาษีจากการเปดราน และการสรางภาพลักษณท่ีดี ขอเสนอเชิงนโยบาย ไดปฏิญญาการจัดตั้งชมรมนวดไทยเพ่ือสุขภาพในเดนมารก มีรายละเอียดดังนี้ โครงสรางปฏิญญาการจัดตั้งชมรมนวดไทยเพ่ือสุขภาพในเดนมารก (1) ผูรวมการจัดตั้งชมรม

ก. ผูแทนจากสถานประกอบนวดไทยและสปาไทยในเดนมารก ข. นายกสมาคมสงเสริมสุขภาพไทยในนอรเวย ค. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ง. สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงโคเปนเฮเกน

(2) บทบาทหนาท่ี 1. จัดประชุมเดือนละ 1 ครั้ง 2. กําหนดใหมี 1 สมาคมในเดนมารก 3. กําหนดคุณสมบัติของสมาชิก (3) วัตถุประสงค 1. เปนการรวมตัวกันของผูประกอบการในเดนมารกเพ่ือสรางภาพลักษณท่ีดีตอบริการ นวดไทยในเดนมารก 2. การสรางมาตรฐานดานบริการตามกฎหมายทองถ่ิน และมาตรฐานของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 3. เปนตัวแทนของสมาชิกในการประสานงานกับสถานเอกอัครราชทูตและหนวยงานภาครัฐของประเทศไทยท่ีเก่ียวของ 4. การสงเสริม พัฒนา ศักยภาพ จรรยาบรรณ ของสมาชิก 5. ชวยกันแกไขปญหาอุปสรรคของสมาชิก 6. การเสริมสรางความสัมพันธท่ีดีของสมาชิก (4) เปาหมายสูงสุดของชมรม “รานนวดไทยในเดนมารกมีคุณภาพ และสามารถกําหนดราคามาตรฐานได” (5) เปาหมายการเพ่ิมสมาชิก 3 เดือนแรก 100 ราย / 6 เดือนแรก 200 ราย และภายใน 1 ป 300 ราย (รายละเอียดตามเอกสารแนบ)

หนา 116

Page 121: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

แนวทางการดําเนินงานตอไป 1. จัดทําปฏิญญาการจัดตั้งชมรมนวดไทยเพ่ือสุขภาพในเดนมารก 2. จัดทําธรรมนูญเพ่ือกําหนดกฎระเบียบ ขอบังคับ ของการจัดตั้งชมรมนวดไทยเพ่ือสุขภาพในเดนมารก 3. จัดตั้งชมรมนวดไทยเพ่ือสุขภาพในเดนมารก โดยมีนายกสมาคมนวดไทยในนอรเวยเปนท่ีปรึกษา 4. พัฒนาศักยภาพของพนักงานผู ใหบริการ (Therapist) 5. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพและสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงโคเปนเฮเกน ใหการสนับสนุนการจัดประชุมของผูประกอบการชาวไทยท่ีเปดดําเนินการรานนวดไทย/ สปาไทยในราชอาณาจักรเดนมารก เดือนละ 1 ครั้ง 6. การรวมตัวกันของผูประกอบการในเดนมารกเพ่ือสรางภาพลักษณท่ีดีตอบริการนวดไทย ในเดนมารก

7. พิจารณาแนวทางการสงเสริมพัฒนาธุรกิจสุขภาพ การยกระดับเพ่ือรับรองคุณภาพมาตรฐานรวมกัน 8. รวมตัวระหวางสมาคม/ชมรม นวดไทย โดยเริ่มในกลุมประเทศสแกนดิเนเวีย (นอรเวย/สวีเดน/เดนมารก/ฟนแลนด) 4.5 ประชุมรวมกับ Mr. Thomas Klear ผูอํานวยการฝายบริหาร จากโรงพยาบาลเอกชน Capio CFR เม่ือวันวันพฤหัสบดีท่ี 28 มิถุนายน 2561 เวลา 13.00 น. ณ โรงพยาบาลเอกชน Capio CFR ขอเท็จจริง กลุม บริษัท Capio เปนหนึ่งในบริษัทดานการดูแลสุขภาพชั้นนําของยุโรปท่ีใหบริการ ทางการแพทย การผาตัดและดานจิตเวชท่ีมีคุณภาพสูงผานทางโรงพยาบาล คลินิกเฉพาะทาง และหนวยบริการปฐมภูมิเบื้องตน บริษัท Capio ดําเนินงานในหาประเทศ ไดแก ประเทศสวีเดน ประเทศนอรเวย ประเทศเดนมารก ประเทศฝรั่งเศส และประเทศเยอรมนี ในป พ.ศ. 2560 มีจํานวนพนักงานประจําท้ังหมด 13,314 คน ท่ีใหบริการดานสุขภาพแกผูปวยประมาณ 5.1 ลานคน ซ่ึงมียอดเงินเขาบริษัทของการรักษาผูปวยและยอดขายผลิตภัณฑ เ พ่ือการดูแลสุขภาพ มียอดขายสุทธิรวม 15,327 ดอลลารสหรัฐ ผลประกอบการของบริษัท Capio แบงตามการดําเนินงานธุรกิจในสามพ้ืนท่ี คือ กลุมประเทศนอรนิกส (ยอดขายสุทธิรวม 57%) ประเทศฝรั่งเศส (ยอดขายสุทธิรวม 35%) และประเทศเยอรมนี (ยอดขายสุทธิรวม 8%) Model ของบริษัท Capio คือ คุณภาพชวยเพ่ิมผลผลิตและการเติบโต จะทํางานรวมกัน เพ่ือประโยชนของผูปวยและสังคม และพัฒนาการดูแลสุขภาพท่ีด ี ตลาดดานการดูแลสุขภาพของยุโรปมีการเปลี่ยนแปลง โดยมีการเปลี่ยนแปลงในแงของการ มีผูใหบริการภาคเอกชน ซ่ึงเกิดจากปจจัยดานแนวโนมการเติบโตและเง่ือนไขการระดมทุน การพัฒนาระบบ การดูแลสุขภาพของยุโรปกําลังขับเคลื่อนไปไกล และการเปลี่ยนคนไขจากผูปวยใน ใหไปสูการเปนผูปวยนอก เปนการขับเคลื่อนดวยการพัฒนาวิธีการรักษารูปแบบใหม อุปกรณทางการแพทยและโปรโตคอลในรูปแบบตางๆ ตอไปการรักษาตัวท่ีโรงพยาบาลของคนไขจะถูกแทนท่ีดวยการรักษาตัวท่ีบาน เพ่ือใหคนไขหลีกเลี่ยง จากผลกระทบขางเคียงจากการนอนรักษาตัวในโรงพยาบาล เชน การติดเชื้อในโรงพยาบาล โดยมีระบบการ จายคาตอบแทนท่ีเพียงพอเพ่ือสงเสริมการพัฒนานี้ ซ่ึงผูชําระเงินชาวยุโรปจะไดรับเงินชดเชยจากการจาย คารักษาพยาบาลตอวันในบางประเทศ ระบบการชําระเงินคืนเหลานี้ไมไดสรางแรงจูงใจใหแกผูใหบริการ

หนา 117

Page 122: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

ดานการดูแลสุขภาพ เพ่ือใหเกิดการปรับปรุงคุณภาพและประสิทธิภาพดังกลาว กวาทศวรรษท่ีผานมาระบบ การดูแลสุขภาพในยุโรปตะวันตกไดมีการพัฒนาในอัตราท่ีเร็วข้ึนสําหรับการยอมรับโครงสรางการชําระเงินตามผลการปฏิบัติงานดังกลาว บริษัท Capio ยึดหลักการเปนสังคมท่ียั่งยืน โดยเนนการมีสวนรวมกับสังคม ในการสรางสังคมท่ียั่งยืน คือ การใหการดูแลสุขภาพท่ีมีคุณภาพสูง พรอมดวยการดูแลพนักงานและทรัพยากร ของสังคมท่ีเหมาะสมเพ่ือสนับสนุนการพัฒนาและสรางความเสถียรภาพในระยะยาวของระบบการดูแลสุขภาพ ขอเสนอเชิงนโยบาย สรางความรวมมือระหวางโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทยและเดนมารก แนวทางการดําเนินงานตอไป ประสานกับสมาคมโรงพยาบาลเอกชน/โรงพยาบาลเอกชนท่ีสนใจเพ่ือทํา Business Matching กับทางโรงพยาบาลเอกชนในประเทศเดนมารก ในการสงผูปวยมารักษาตัวในประเทศไทย 5. ตรวจเย่ียมสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ ณ กรุงโคเปนเฮเกน ขอเท็จจริง กรมสนับสนุนบริการสุขภาพเยี่ยมชมสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพในเดนมารกท้ังหมด 5 ราน ไดแก (1) ราน Moon Massage (2) ราน Kalasin Thai Massage (3) ราน Saitarn Beauty (4) ราน Saitarn Thaiwellness (5) ราน Surin fysiurgisk Massage สวนใหญเปนรานขนาดเล็กและขนาดกลาง มีประมาณ 2 - 8 เตียง เพ่ือรับฟงขอมูลในการประกอบธุรกิจ พบวา มีกฏหมายเฉพาะ Business License ท่ีเก่ียวของกับการเสียภาษีของรายได/ ภาษีเงินเดือนของพนักงาน สําหรับพนักงานผูใหบริการ ไมมีกฎหมายเปนการเฉพาะ สวนใหญเรียนจบจากประเทศไทยในหลักสูตรกลางท่ีมีอยู โดยไมตองมาสอบ License ในเดนมารกอีก พบวา ผลิตภัณฑท่ีใชในรานสวนใหญ มีคนกลางนํามาวางจําหนาย ชื่อราน "รานเดนจันทร" หรือนําเขามา พบปญหาดานภาพลักษณ/ การรวมตัวการจัดตั้งเปนชมนวดไทย และการเปดเปนรานสปา มีรายละเอียดดังนี้ 5.1 ราน Moon Massage โดย คุณมาเอง ชุงกระโทก เยี่ยมชมรานเม่ือวันพุธท่ี 27 มิถุนายน 2561 ณ Willemoesgade 8, kld 2100 København, Denmark 5.2 ราน Kalasin Thai Massage โดยคุณประภาพร ดันโรจน เยี่ยมชมรานเม่ือวันพุธท่ี 27 มิถุนายน 2561 ณ Lyngbyvej 93, 2100, Kobenhavn, Denmark 5.3 ราน Saitarn Beauty โดย คุณผาสุข โฉมดี เยี่ยมชมรานเม่ือวันศุกรท่ี 29 มิถุนายน 2561 ณ Nikolajgade 19, 1068 København K, Denmark 5.4 ราน Saitarn Thaiwellness โดย คุณผาสุข โฉมดี เยี่ยมชมรานเม่ือวันศุกรท่ี 29 มิถุนายน 2561 ณ Trondhjems Plads 3, 2100 København Ø, Denmark 5.5 ราน Surin fysiurgisk Massage โดย คุณอํานวย เปยกโข เยี่ยมชมรานเม่ือวันศุกรท่ี 29 มิถุนายน 2561 ณ Smallegade 52 A, 2000 Frederiksberg, Denmark สวนใหญเปนรานขนาดเล็กและขนาดกลาง มีประมาณ 2-8 เตียง ขอเสนอเชิงนโยบาย 1. สงเสริมใหรวมตัวกันเปนสมาคม/ชมรม นวดไทยในเดนมารก 2. สงเสริมใหมีคุณภาพ มาตรฐาน 3. รักษาภาพลักษณนวดไทย

4. มีตัวแทนรานนวด/สปาไทยมา Set up โมเดลในเดนมารก ใหแกรานสปาขนาดเล็ก

หนา 118

Page 123: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

แนวทางการดําเนินงานตอไป 1. จัดประชุมรวมกับสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพไทยขนาดใหญ (ศิลาสปา/ OASIS Spa) เพ่ือพัฒนา Model Spa ขนาดกลาง สําหรับนําไปเปดดําเนินการในเดนมารก 2. ยกระดับคุณภาพ มาตรฐาน รานนวด/สปาไทย ในเดนมารก 3. ใหข้ึนทะเบียนพนักงานผูใหบริการ (Therapist) ออนไลน 4. เผยแพรมาตรฐานสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพในตางประเทศ

6. รวมงานฉลองโอกาสครบรอบ 160 ป ความสัมพันธทางการทูตไทย – เดนมารก ทานเอกอัครราชทูตวิชิต ชิตวิมาน ไดจัดงานเลี้ยงรับรองข้ึนท่ีทําเนียบเอกอัครราชทูตไทย ในกรุงโคเปนเฮเกน โดยมีนายชัยสิริ อนะมาน ท่ีปรึกษารัฐมนตรีว าการกระทรวงการตางประเทศ และอดีตเอกอัครราชทูต ณ กรุงโคเปนเฮเกน ในชวงป พ.ศ. 2548 - 2550 เปนประธานในงานเลี้ยงรับรองดังกลาว โดยกรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดรับคําเชิญของสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงโคเปนเฮเกน เขารวมงานฉลองโอกาสครบรอบ 160 ป ความสัมพันธทางการทูตไทย – เดนมารก ในวันพุธท่ี 27 มิถุนายน 2561 ณ ทําเนียบเอกอัครราชทูตไทย ในกรุงโคเปนเฮเกน

7. เขารวมงาน Thai Festival @ Copenhagen 2018 งาน Thai Festival @ Copenhagen 2018 จัดโดยสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงโคเปนเฮเกน ราชอาณาจักรเดนมารก ภายใตหัวขอ งานฉลองโอกาสครบรอบ 160 ป ความสัมพันธทางการทูตไทย – เดนมารก เม่ือวันเสารท่ี 30 มิถุนายน 2561 ณ สวนสาธารณะ Havneparken เขต Islands Brygge โดยมี นายชัยสิ ริ อนะมาน ท่ีปรึกษารัฐมนตรีว าการกระทรวงการตางประเทศและอดีตเอกอัครราชทูต ณ กรุงโคเปนเฮเกน เปนประธานเปดงาน โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือเผยแพรประเทศไทยในมิติตางๆ ใหเปนท่ีรูจัก ในกลุมประเทศนอรดิก ซ่ึงท่ีผานมา ไดรับความรวมมือจากหนวยงานราชการและภาคเอกชนของไทยท้ังท่ีตั้งอยู ในพ้ืนท่ีและจากประเทศไทย อาทิ กระทรวงพาณิชย กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงสาธารณสุข การทองเท่ียว แหงประเทศไทย สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน สมาคม/ชมรมคนไทยตางๆ ตลอดจน ผูประกอบการรานอาหารไทยและรานนวด/สปาไทย เขารวมงานอยางตอเนื่อง ท้ังนี้การจัดงานในแตละปถือไดวาประสบความสําเร็จเปนอยางดี ท้ังในดานการประชาสัมพันธและประเทศไทยและจํานวนผูเขารวมชมงาน กิจกรรมภายในงานประกอบดวย การจัดซุมจําหนายอาหาร เครื่องดื่ม และสินคาไทย การใหขอมูลดานการลงทุน การทองเท่ียวประเทศไทย และนโยบายสําคัญของประเทศไทย รวมท้ังการแสดงนาฏศิลป ดนตรี มวยไทย และการแสดงของสมาคมชุมชนไทยในเดนมารก

หนา 119

Page 124: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

8. ประโยชนท่ีไดรับ 8.1 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดมีโอกาสชี้แจงการประเมินมาตรฐานสถานประกอบ การเพ่ือสุขภาพในตางประเทศ ใหมีความเขาใจท่ีถูกตองในการดําเนินธุรกิจบริการสุขภาพในตางประเทศ ใหมีมาตรฐานสากล แกผูประกอบการชาวไทยในเดนมารก 8.2 การกอตั้งปฏิญญาการจัดตั้งชมรมนวดไทยเพ่ือสุขภาพในเดนมารก เพ่ือรวมตัวกัน ของผูประกอบการในเดนมารก เพ่ือสรางภาพลักษณท่ีดีของสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพของไทยในตางประเทศ 8.3 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพได ใช โอกาสในการหารือกับเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงโคเปนเฮเกน ถึงการสรางความรวมมือกันระหวางดานตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งดานการสรางภาพลักษณ ท่ีดีของสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพของไทยในตางประเทศ และการขยายเวลาพํานักในราชอาณาจักรไทย เพ่ือการรักษาพยาบาล รวม 90 วัน และเพ่ือการพํานักระยะยาว (Long Stay Visa) ของประชาชนชาวเดนมารก 8.4 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดใชโอกาสในการหารือกับหางสรรพสินคา อิลลุม (Illum) โดยไดแนวทางเตรียมการพัฒนาผลิตภัณฑไทยใหไดตามมาตรฐานของ EU และของกลุมประเทศนอรดิก เพ่ือวางผลิตภัณฑสุขภาพจําหนายท่ีหางสรรพสินคา อิลลุม (Illum) 8.5 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพไดมีโอกาสชี้แจงการสงเสริมดานธุรกิจสุขภาพและความเปนไปไดในการทํา Business Matching กับบริษัทประกันภัยและโรงพยาบาลเอกชนในเดนมารก เพ่ือสรางโอกาสในการลงทุนในประเทศไทย 8.6 ไดเผยแพรขอมูลความพรอมในการเปนศูนยกลางดานบริการรักษาพยาบาลของประเทศไทยในมิติตางๆ ใหเปนท่ีรูจักในกลุมประเทศนอรดิก 9. ขอเสนอแนะ (ตอกระทรวงสาธารณสุข) ในการดําเนินการตอไป 9.1 ดานบริการเพ่ือสงเสริมสุขภาพ (Wellness Hub) 9.1.1 จัดประชุมรวมกับหนวยงานหลักท่ีเก่ียวของ ไดแก กระทรวงการทองเท่ียว และกีฬา/ การทองเท่ียวแหงประเทศไทย/ Agent ดานการทองเท่ียว เพ่ือกําหนดแผนการทํางานรวมกัน ในการเตรียมจัดบริการสุขภาพรองรับชาวตางชาติในกลุมประเทศนอรดิก 9.1.2 จัดประชุมรวมกับสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพไทยขนาดใหญ เพ่ือพัฒนา Model Spa ขนาดกลาง สําหรับนําไปเปดดําเนินการในเดนมารก 9.1.3 ผลักดันใหข้ึนทะเบียนพนักงานผูใหบริการ (Therapist) ออนไลนอยางถูกกฎหมาย 9.1.4 สงเสริม พัฒนาผูประกอบการชาวไทย ท่ีเปดดําเนินการรานนวดไทย/สปาไทย ใหมีคุณภาพ มาตรฐานสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพในตางประเทศ 9.1.5 พัฒนาหลักเกณฑ และประชาสัมพันธนโยบาย Long Stay Visa 10 ป ใหตรงกับความตองการของชาวเดนมารก 9.1.6 ผลักดันการรวมตัวระหวางสมาคม/ชมรม นวดไทย ในกลุมประเทศนอรดิก(นอรเวย/สวีเดน/เดนมารก/ฟนแลนด) 9.2 ดานการบริการสุขภาพ (Medical Service Hub) 9 .2 .1 ประสานกับสมาคมโรงพยาบาลเอกชน/โรงพยาบาลเอกชนท่ีสนใจ เพ่ือทํา Business Matching กับทางโรงพยาบาลเอกชนในประเทศเดนมารก ในการสงผูปวยมารักษาตัวในประเทศไทย 9.2.2 ประสานกับสมาคมประกันวินาศภัย/ บริษัทประกันภัยท่ีสนใจ เพ่ือทํา Business Matching กับทางโรงพยาบาลเอกชนในประเทศเดนมารก ในการสงผูปวยมารักษาตัวในประเทศไทย 9.2.3 พัฒนา Claim Center เพ่ือชวยโรงพยาบาลใหเบิกได

หนา 120

Page 125: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

9.3 การพัฒนาผลิตภัณฑสุขภาพ (Product Hub) 9.3.1 ประชุมรวมกับผูประกอบการสมุนไพรไทยท่ีสนใจนําสินคาไปวางจําหนาย ในประเทศเดนมารก เชน โรงพยาบาลอภัยภูเบศร และภาคเอกชน 9.3.2 ส ง เสริม พัฒนาผู ประกอบการ เ พ่ือให เตรี ยมการพัฒนาผลิตภัณฑ ใหไดตามมาตรฐานของ EU และของกลุมประเทศนอรดิก 9.3.3 ประชุมรวมกับ Agent ดานผลิตภัณฑเพ่ือสุขภาพ เพ่ือกําหนดแผนการทํางานรวมกันในการเตรียมจัดบริการสุขภาพรองรับชาวตางชาติในกลุมประเทศนอรดิก 8.7 สรุปผลการเดินทางไปราชการเพ่ือสงเสริมพัฒนาสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ ณ กรุงปราก สาธารณรัฐเช็ก ระหวางวันท่ี 12 สิงหาคม – 19 สิงหาคม 2561 โดยคณะศึกษาดูงาน ดังนี้

1. แพทยหญิงประนอม คําเท่ียง อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 2. นายแพทยจิโรจ สนิธวานนท ท่ีปรึกษาระดับกระทรวง(ดานเวชกรรม) 3. นายแพทยภานุวัฒน ปานเกต ุ รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 4. นายภัทรพล จึงสมเจตไพศาล ผูอํานวยการกองสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ 5. นายแพทยอัครพล คุรุศาสตรา รองผูอํานวยการกองบริหารการสาธารณสุข 6. นางสาวสุวภรณ แนวจําปา นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ 7. นางปภิภากร สุวรรณกาศ นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ 8. นางสาวงามเนตร เอ่ียมนาคะ นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ

หนา 121

Page 126: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

เปนโรงแรมระดับ 4 ดาว ต้ังอยูใจกลางเมือง Karlovy Vary Spa แหงนี้เปนประเภท Wellness Center

ผสมผสาน Medical มีการใชประโยชนจากน้ําแร (healing water) เพ่ือการดูแลสุขภาพ โดยการตอทอจากแหลงน้ําแร

ซ่ึงมีสโลแกนของ Thermal Spa วา In the heart of the city Karlovy Vary

4 ศูนยสุขภาพ Balneo - Wellness แหงนี้มีสระวายน้ําในรมอางน้ําวน ศูนยฟตเนส Kneipp Path หองอบไอน้ํา หองซาวนา แบบฟนแลนด และตูอบแบบอินฟาเรด 4 Medical Spa ท่ีนี่เนนเรื่องความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร ความผิดปกติของการเผาผลาญและปญหาเก่ียวกับระบบตาง ๆ ของรางกาย 4 4ท่ีนี่มีวารีบําบัดการบําบัดดวยไฟฟา การนวด การออกกําลังกาย และการรักษาพยาบาลอ่ืน ๆ 4 ท่ีนี่ 4ไดรับ การรับรองโดยสมาคม สปาใน Carlsbad และไดรับรางวัลดานสปาการบําบัดและฟนฟู ในป 2012 WELLNESS CENTER & FITNESS ศูนยสุขภาพ Balneo Wellness Center อันทันสมัย มีสปาและบริการเพ่ือสุขภาพ ศูนยบริการทรีทเมนตและบริการดานสุขภาพ มีการบริการกวา 50 รายการ สามารถซ้ือแพคเกจ ไดท่ีแผนกตอนรับ Balneo (ชั้น 2) ยกเวนการนวดตางๆวารีบําบัด บําบัดไฟฟา การเดินนอรดิก และการรักษาสุขภาพอ่ืน ๆ

WELLNESS CENTRUM : มีสระวายน้ําในรม อางน้ําวน หองอบไอน้ําซาวนาแบบฟนแลนด ซาวนา infra cabine และฟตเนส

เวลาทําการ วันจันทรวันศุกร 13:00 น. - 15:00 น. (สําหรับสตรีเทานั้น) 13.00 น. - 20.30 น. วันเสาร 10.00 น. - 20.30 น. วันอาทิตย 09.00 น. - 20.30

สรุป Spa hotel Thermal

หนา 122

Page 127: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

Balneo Reception (2 floor) วันจันทร - วันศุกร 07.00 น. - 19.00 น วันเสาร - อาทิตย 07.00 น. - 15.30 น

ผูเขามารับบริการจะมีการพบแพทยกอนเลือกการใชบริการ มีท้ังแบบท่ัวไป และแบบติดตาม

ความกาวหนา (ท่ีนี่มีแพทยใหคําปรึกษากอนเลือกใชบริการ 4 คน) โดยมีการบริการ 4 ประเภท ดังนี้

1. Free Sale Treatments เปนบริการท่ัวไปท่ีไมยุงยากซับซอน เชน Massage นวดตัว

นวดเทา นวดน้ํามัน body wrap hot stone

2. Health Services (Health Exercise) มีการตรวจ lab และใหคําปรึกษาการดูแล

สุขภาพจากผล lab การใหคําปรึกษา โดยจะมีแพทยและ staff ประจําตัว

3. Treatment on Medical Presription ใหบริการเปนแบบแพคเกจ มีบริการดาน

สุขภาพใหเลือก โดยจะมีการวิเคราะหขอมูลจากการตรวจ Lab และใหผูมารับบริการเลือก

4. Wellness Treatment เปนบริการใหบริการแบบแพคเกจดานสุขภาพและความงาม

เปนการดูแลสุขภาพดวยสปาแบบผสมผสาน มี4โปรแกรมเพ่ือสุขภาพสําหรับความสมดุลทางรางกายและจิตใจ

เปนโปรแกรมสุขภาพและความงาม4 ในเวลาเดียวกัน

หนา 123

Page 128: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต

คณะผูจัดทํา

ท่ีปรึกษา : นายแพทยณัฐวุฒิ ประเสริฐสิริพงศ อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ แพทยหญิงประนอม คําเท่ียง อดีตอธิบดีกรมสนับสนนุบริการสุขภาพ (ระหวางวันท่ี 1 ต.ค. 2560 - 30 ก.ย. 2561) นายแพทยธงชัย กีรติหัตถยากร รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ นายแพทยประภาส จิตตาศิรินุวัตร รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ นายแพทยภานุวัฒน ปานเกตุรอง รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ นางเสาวภา จงกิตติพงศ ผูอํานวยการกองสุขภาพระหวางประเทศ บรรณาธิการ : นางสาวภาวิณี สังขบูรณ นักวิเทศสัมพันธชํานาญการ

นางสาวศิรินภา สระทองหน นักวิเคราะหนโยบายและแผนปฏิบัติการ

นายสุรกิจ ศิรินอย นักวิเคราะหนโยบายและแผนปฏิบัติการ

นายทัตเทพ เมืองวงศ นักวิเคราะหนโยบายและแผน

นายเอกลักษณ คุมเมือง นักจัดการงานท่ัวไป

คณะทํางาน : นางสาวโรสลิน มามะ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

นางสาวจุฑามาศ คลังชํานาญ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

นายภักดี กลั่นภักดี นักจัดการงานท่ัวไป

นางสาวศลิษา มหาชน นักจัดการงานท่ัวไป

นางสาวสมกมล เกรัมย นักวิเทศสัมพันธ

นางสาววรรณนิศา ศรีเลอจันทร นักวิเทศสัมพันธ

นายปาลิตา อําพงษ นักวิเทศสัมพันธ

นางสาวนุชศรา จงรัตนากร นักวิชาการสาธารณสุข

หนวยงาน : กองสุขภาพระหวางประเทศ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข

โทรศัพท 0 2193 7000 ตอ 18400

จํานวน : 250 เลม

ปท่ีพิมพ : 2561 - 2562

Page 129: คํานํา · 2019-12-04 · สารบัญตาราง หน า ตารางที่ 1 จํานวนโรงพยาบาลเอกชน ตั้งแต