27
บทที5 การตัดสินใจ ผูบริหารในองคการสมัยใหมจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีทักษะที่สําคัญ คือ การคิดวิเคราะห และสามารถตัดสินใจที่รวดเร็ว ซึ่งทักษะดังกลาวนี้ผูบริหารจะตองเรียนรู สรางความเขาใจและฝกฝน เทคนิควิธีดานการตัดสินใจอยางถูกตองและเหมาะสมอีกดวย เพื่อทําใหองคการสามารถปรับตัว ในสภาวะแวดลอมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาได สําหรับการตัดสินใจมักถูกมองวาเปนการแกไข ปญหาที่สะสมมาตั้งแตในอดีต และมีแนวโนมของความรุนแรงมากขึ้นในอนาคตที่ไมสามารถแกไข ใหหมดไปและยังมีปญหาใหมๆ เพิ่มขึ้นตามมาอีกดวย โดยเฉพาะการปรับเปลี่ยนแนวความคิด ในการพิจาณาถึงปญหาในอนาคต คือ การปองกันปญหาที่ทราบแนวโนมแลววาจะเกิดขึ้นในอนาคต ผูบริหารก็ควรตัดสินใจลวงหนากอนที่ปญหาจะเกิดขึ้น นอกจากนี้ปญหาดานการพัฒนาองคการ ก็ยังเปนปญหาอีกดานหนึ ่งที่ผูบริหารจะตองใหความสําคัญ โดยการใชวิสัยทัศนหรือการพิจารณา เปาหมายที่สําคัญขององคการในการพยากรณเหตุการณในอนาคต พรอมทั้งมีการกําหนดทางเลือก เพื่อการแกไขปญหาในแตละดานนั้นดวย เชน วิเคราะหถึงการเปลี่ยนแปลงดานพฤติกรรมของลูกคา กลยุทธของคูแขงขัน กฎหมายใหม เปนตน ดังนั้นผูบริหารควรทําการตัดสินใจกําหนดกลยุทธในดาน ตางๆ ไมวาจะเปนกลยุทธการบริการลูกคา กลยุทธเพื่อการแขงขัน กลยุทธการเขาสูตลาดใหมๆ เปนตน จากการพิจารณาถึงบทบาทและหนาที่ของผูบริหาร พบวา หนาที่ทางการตัดสินใจเปนบทบาท และหนาที่ของผูบริหารที่มีความสําคัญและจําเปนที่จะตองแสดงบทบาทดังกลาว ดังนั้นผูบริหารจึงไม สามารถหลีกเลี่ยงบทบาทดานการตัดสินใจ (Decision making) ในหนาที่ที่ตองปฏิบัติดานตางๆ ไปได นอกจากนี้ผูบริหารจึงควรฝกฝนเทคนิคดานการตัดสินใจเพื่อเปนการเพิ่มพูนทักษะ และความสามารถ เพื่อชวยใหผูบริหารรวมที่งผูปฏิบัติสามารถปฏิบัติงานไดมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยทั่วไปการตัดสินใจ เปนการนําหลักเกณฑหรือเทคนิคตางๆ เขามาชวยเพื่อทําใหผูบริหารสามารถตัดสินใจไดอยางถูกตอง และลดโอกาสความผิดพลาดใหลดนอยลง โดยเฉพาะการตัดสินใจภายใตสถานการณที่ไมแนนอน และไมสามารถทําการประเมินผลไดอยางแมนยํา หรือการใชหลักเกณฑหรือเทคนิคในการพิจารณา ทางเลือกที่ดีที่สุดในการตัดสินใจ อยางไรก็ตามปจจุบันในการตัดสินใจไดมีการนําหลักการของ ความนาจะเปนและการพิจารณาเงื่อนไขเขามาเกี ่ยวของเสมอ ทั้งนี ้เนื่องจากบุคลากรตางมีเหตุผล ในการปฏิบัติของตนเองทําใหตองการเลือกผลลัพธหรือผลตอบแทนที่ดีที่สุด แตถามีทางเลือกเพียง ทางเดียวปญหาการตัดสินใจก็ไมเกิดขึ้น เพราะถึงอยางไรก็ตองเลือกตามวิธีเดียวที่มีอยูนั่นเอง ซึ่งจะ ไมมีการเปรียบเทียบวาผลลัพธหรือผลตอบแทนที่ดีที่สุดหรือไม แตถามีวิธีที่ใหผลตอบแทนมากกวา หนึ่งทางแลว ผูบริหารก็จะตองทําการตัดสินใจเลือกทางเลือกหรือวิธีที่จะทําใหไดผลตอบแทนสูงที่สุด

การตัดสินใจ 2

Embed Size (px)

Citation preview

บทที่ 5 การตัดสินใจ

ผูบริหารในองคการสมัยใหมจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองมีทักษะท่ีสําคัญ คือ การคิดวิเคราะหและสามารถตัดสินใจที่รวดเร็ว ซ่ึงทักษะดงักลาวนี้ผูบริหารจะตองเรียนรู สรางความเขาใจและฝกฝนเทคนิควิธีดานการตัดสินใจอยางถูกตองและเหมาะสมอีกดวย เพื่อทําใหองคการสามารถปรับตัวในสภาวะแวดลอมท่ีมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลาได สําหรับการตัดสินใจมักถูกมองวาเปนการแกไขปญหาที่สะสมมาตั้งแตในอดีต และมีแนวโนมของความรุนแรงมากข้ึนในอนาคตท่ีไมสามารถแกไขใหหมดไปและยังมีปญหาใหมๆ เพิ่มข้ึนตามมาอีกดวย โดยเฉพาะการปรับเปล่ียนแนวความคิดในการพจิาณาถึงปญหาในอนาคต คือ การปองกนัปญหาท่ีทราบแนวโนมแลววาจะเกดิข้ึนในอนาคต ผูบริหารก็ควรตัดสินใจลวงหนากอนท่ีปญหาจะเกิดข้ึน นอกจากนี้ปญหาดานการพัฒนาองคการก็ยังเปนปญหาอีกดานหนึ่งท่ีผูบริหารจะตองใหความสําคัญ โดยการใชวิสัยทัศนหรือการพิจารณาเปาหมายท่ีสําคัญขององคการในการพยากรณเหตุการณในอนาคต พรอมท้ังมีการกําหนดทางเลือกเพ่ือการแกไขปญหาในแตละดานนั้นดวย เชน วิเคราะหถึงการเปล่ียนแปลงดานพฤติกรรมของลูกคา กลยทุธของคูแขงขัน กฎหมายใหม เปนตน ดังนั้นผูบริหารควรทําการตัดสินใจกําหนดกลยุทธในดานตาง ๆไมวาจะเปนกลยุทธการบริการลูกคา กลยุทธเพื่อการแขงขัน กลยุทธการเขาสูตลาดใหม ๆเปนตน จากการพิจารณาถึงบทบาทและหนาท่ีของผูบริหาร พบวา หนาท่ีทางการตัดสินใจเปนบทบาทและหนาท่ีของผูบริหารที่มีความสําคัญและจาํเปนท่ีจะตองแสดงบทบาทดังกลาว ดังนัน้ผูบริหารจงึไมสามารถหลีกเล่ียงบทบาทดานการตัดสินใจ (Decision making) ในหนาท่ีท่ีตองปฏิบัตดิานตางๆ ไปได นอกจากน้ีผูบริหารจงึควรฝกฝนเทคนิคดานการตัดสินใจเพื่อเปนการเพ่ิมพูนทักษะ และความสามารถเพื่อชวยใหผูบริหารรวมที่งผูปฏิบัติสามารถปฏิบัติงานไดมีประสิทธิภาพมากข้ึน โดยท่ัวไปการตัดสินใจเปนการนําหลักเกณฑหรือเทคนิคตางๆ เขามาชวยเพือ่ทําใหผูบริหารสามารถตัดสินใจไดอยางถูกตองและลดโอกาสความผิดพลาดใหลดนอยลง โดยเฉพาะการตัดสินใจภายใตสถานการณท่ีไมแนนอนและไมสามารถทําการประเมินผลไดอยางแมนยํา หรือการใชหลักเกณฑหรือเทคนิคในการพจิารณาทางเลือกท่ีดีที่สุดในการตัดสินใจ อยางไรก็ตามปจจุบันในการตัดสินใจไดมีการนําหลักการของความนาจะเปนและการพิจารณาเง่ือนไขเขามาเกี่ยวของเสมอ ท้ังนี้เนื่องจากบุคลากรตางมีเหตุผลในการปฏิบัติของตนเองทําใหตองการเลือกผลลัพธหรือผลตอบแทนท่ีดีท่ีสุด แตถามีทางเลือกเพยีงทางเดียวปญหาการตัดสินใจก็ไมเกดิข้ึน เพราะถึงอยางไรก็ตองเลือกตามวิธีเดียวท่ีมีอยูนั่นเอง ซ่ึงจะไมมีการเปรียบเทียบวาผลลัพธหรือผลตอบแทนท่ีดีท่ีสุดหรือไม แตถามีวิธีท่ีใหผลตอบแทนมากกวาหนึ่งทางแลว ผูบริหารก็จะตองทําการตัดสินใจเลือกทางเลือกหรือวิธีท่ีจะทําใหไดผลตอบแทนสูงท่ีสุด

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี108

ความสําคัญของการตัดสินใจ การตัดสินใจเปนกระบวนการของการแสวงหาทางเลือกท่ีมีอยูจากทางเลือกตางๆ และสามารถเลือกทางเลือกที่เปนไปได โดยท่ัวไปการตัดสินใจเปนบทบาทหนาท่ีท่ีบงบอกถึงแตกตางระหวางผูบริหารกับผูปฏิบัติ ซ่ึงผูบริหารที่ทําการตัดสินใจน้ันจะตองมีหลักการและเหตุผล มีเจตคติและวิจารญาณท่ีดี นอกจากนี้การตัดสินใจยังเปนวิธีท่ีสามารถนําไปสูการบรรลุเปาหมายองคการ ดังนั้นผูบริหารควรตระหนักอยูเสมอวาการตัดสินใจมิใชเปนเปาหมายในตัวของมันเอง แตเปนเพียงแนวทางหรือเคร่ืองมือท่ีจะทําใหการบริหารสามารถประสบความสําเร็จลงได นอกจากนี้ส่ิงสําคัญของการตัดสินใจท่ีผูบริหารจะตองเร่ิมตน คือ การคนหาวธีิการและแนวทางการปฏิบัติท่ีหลากหลายตลอดจนสามารถดําเนินการไดอยางเปนข้ันตอน จากน้ันจึงทําการกําหนดแนวทางหรือวิธีการท่ีเหมาะสมท่ีสุด มีการใชความคิดริเร่ิมสรางสรรคในการนําองคการไปสูความสําเร็จตอไป สําหรับการตัดสินใจมีความสําคัญ (http://isc.ru.ac.th/data/BA0000821.doc) ดังนี ้ 1. มีทางเลือกหลายทาง การตัดสินใจเพื่อปฏิบัติในแตละทางเลือกอาจจะอยูในรูปของนโยบายในการปฏิบัติงาน เทคนิคหรือข้ันตอนการดําเนินงาน ซ่ึงการที่มีทางเลือกหลายทาง ถาอาศัยดุลพินจิสวนตัวของผูบริหารเพื่อการตัดสินใจนั้นอาจจะผิดพลาดข้ึนได ดังนั้นผูบริหารจึงตองอาศัยเครื่องมือหรือเกณฑท่ีมีความเหมาะสมในดานตางๆ เขามาชวยผูบริหารเพื่อทําการตัดสินใจ 2. การที่มีขอมูลในปจจุบันมจีํานวนมาก ถาผูบริหารนําดุลยพินิจสวนตวัมาใชในการตัดสินใจบอยคร้ังแลว โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดและขาดความรอบคอบจึงอาจเกิดข้ึนตามมาไดดวย เนื่องจากผูบริหารไมสามารถนําขอมูลท่ีมีอยูท้ังหมดนั้นมาพิจารณาไดครบถวนสมบูรณนั่นเอง 3. เพื่อลดความขัดแยงเนื่องจากพ้ืนฐานความรู รวมท้ังประสบการณของแตละบุคคลมีความแตกตางกัน ดังนัน้ในการตัดสินใจถาหากผูบริหารไมอาศัยหลักเกณฑหรือเคร่ืองมือท่ีเหมือนกนัมาทําการตัดสินใจแลวอาจจะทําการตัดสินใจแตกตางกันออกไปจนทําใหบุคลากรเกิดความขัดแยงข้ึนได 4. เพื่อลดความเส่ียงหรือความไมแนนอน ในการตัดสินใจของผูบริหารที่ปราศจากกฎเกณฑหรือเคร่ืองมือแลวโอกาสท่ีจะเกดิความผิดพลาดน้ันมีโอกาสเกิดข้ึนได แตการตัดสินใจโดยใชเคร่ืองมือท่ีมีความถูกตองและเหมาะสมเขามาชวยโอกาสของการตัดสินใจท่ีผิดพลาดนั้นจะสามารถลดลงได ผูบริหารที่มีการตดัสินใจที่ดีเปรียบเสมือนคนที่มีความคิดท่ีดี ซ่ึงจะทําใหสามารถประสบความสําเร็จในชีวิตการงาน ชีวิตสวนตัว และชีวิตทางสังคมได ในขณะเดียวกันการตัดสินใจท่ีดีก็จะตองมีหลักการและเหตุผลท่ีดีดวย จึงจะทําใหองคการเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดําเนินงาน ดังนั้นผูบริหารจึงตองแสวงหาแนวทางเพ่ือแกไขปญหายูตลอดเวลาเพื่อปรับปรุงการดําเนินงาน และการกําหนดแนวทางใหมๆ เพื่อปองกันปญหาท่ีอาจสงผลกระทบตอการดําเนนิงานได

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี109

ความหมายของการตัดสินใจ

การตัดสินใจ (Decision making) มีนักวิชาการไดใหความหมายไว ดังนี ้ ศิริพร พงศศรีโรจน (2540, หนา 187) กลาววา การตดัสินใจหรือการวนิิจฉยัส่ังการ หมายถึง การเลือกปฏิบัติหรืองดเวนการปฏิบัติ หรือการเลือกทางดําเนินการท่ีเห็นวาดีท่ีสุดทางใดทางหน่ึงจากทางเลือกหลายๆ ทาง เพื่อใหบรรลุวตัถุประสงคตามท่ีตองการหรือการวินจิฉัยส่ังการ คือ การชัง่ใจไตรตรองและตัดสินใจเลือกทางดําเนินงานท่ีเห็นวาดีท่ีสุดทางใดทางหน่ึงจากหลายๆ ทางเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคตามท่ีตองการ ชนงกรณ กณุฑลบุตร (2547, หนา 44-45) กลาววา การตัดสินใจทางการจัดการ หมายถึง การท่ีผูมีหนาที่รับผิดชอบในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงการทําการเลือกทางเลือกใดจากหลายทางเลือกเพื่อใหแผนการบรรลุวัตถุประสงค บรรยงค โตจนิดา (2548, หนา 178) กลาววา การวินิจฉัยส่ังการหรือการตัดสินใจ หมายถึง การที่ผูบริหารหรือผูบังคับบัญชาพิจารณาตดัสินใจและส่ังการในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง การวินจิฉัยส่ังการหรือการตัดสินใจเปนเร่ืองท่ีมีความสําคัญมาก เพราะการวินิจฉัยส่ังการจะเปนการเลือกทางเลือกดําเนินการท่ีดท่ีีสุดในบรรดาทางเลือกหลายๆ ทาง สมคิด บางโม (2548, หนา 175) ) กลาววา การตัดสินใจ หมายถึง การตัดสินใจเลือกทางปฏิบัติซ่ึงมีหลายทางเปนแนวปฏิบัติไปสูเปาหมายท่ีวางไว การตดัสินใจนี้อาจเปนการตัดสินใจท่ีจะกระทําการส่ิงใดส่ิงหนึ่งหรือหลายส่ิงหลายอยาง เพื่อความสําเร็จตรงตามท่ีตั้งเปาหมายไว ในทางปฏิบัติการตัดสินใจมักเกี่ยวของกับปญหาท่ียุงยากสลับซับซอน และมีวิธีการแกปญหาใหวินิจฉัยมากกวาหนึ่งทางเสมอ ดังนั้นจึงเปนหนาท่ีของผูวินิจฉัยปญหาวาจะเลือกส่ังการปฏิบัติ โดยวิธีใดจึงจะบรรลุเปาหมายอยางดีท่ีสุดและบังเกดิผลประโยชนสูงสุดแกองคการนั้น (http://en.wikipedia.org/wiki/Decision_making) การตดัสินใจ (Decision making) หมายถึง กระบวนการในการคัดเลือกเพื่อการปฏิบัติท่ีมีทางเลือกอยูหลายทาง และผลลัพธมีความแตกตางกนั ในการตัดสินใจน้ีจะมีข้ันตอนท่ีเร่ิมตนจากการท่ีไดตระหนักถึงปญหา และข้ันตอนสุดทายจะนําไปสูการตัดสินใจอยางมีเหตุผล จากการท่ีมีผูใหความหมายดังกลาวขางตนผูเขียนมีความเห็นวา การตัดสินใจ หมายถึง กระบวนการท่ีผูบริหารตัดสินใจใชในการแกไขปญหาขององคการ หรือการกําหนดแนวทางการปฏิบตั ิซ่ึงตั้งอยูบนพ้ืนฐานขอมูลขาวสารที่ไดรับจากโครงสรางองคการ พฤติกรรมของบุคคล และกลุม

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี110

ทฤษฎีการตัดสินใจ ทฤษฎีการตัดสินใจเปนการนําแนวความคิดท่ีมีเหตุผลท่ีผูบริหารใชในการเลือกทางเลือกท่ีดีท่ีสุด ซ่ึงสามารถจําแนกไดเปน 2 ประเภท คือ ทฤษฎีการตัดสินใจจําแนกตามวิธีการตัดสินใจและทฤษฎีการตัดสินใจตามบุคคลท่ีตัดสินใจ (สุโขทัยธรรมาธิราช, 2548, หนา 263-264) ดังนี ้ 1. ทฤษฎีการตัดสินใจจําแนกตามวิธีการตัดสินใจ สามารถจําแนกทฤษฎีการตัดสินใจตามวิธีการตัดสินใจออกเปน 3 วิธี ดังนี ้ 1.1 ทฤษฎีการตัดสินใจโดยการคาดการณ มีการใชเทคนิคการคาดการณและการพยากรณเขามาประกอบการตัดสินใจ เชน การพยากรณโดยใชแนวโนม เปนตน 1.2 ทฤษฎีการตัดสินใจโดยการพรรณนา เปนการใชกระบวนการวจิัยเปนเคร่ืองมือในการตัดสินใจ ดังนั้นผูวจิัยจะตองมีการพิสูจนและเห็นจริงจึงจะดําเนนิการตัดสินใจได บางคร้ังเรียกการตัดสินใจแบบนี้วา การตัดสินใจทางวิทยาศาสตร 1.3 ทฤษฎีการตัดสินใจโดยกาํหนดความ เปนทฤษฎีท่ีคํานึงถึงวาแนวทางการตัดสินใจ ควรจะเปนหรือนาจะเปนอยางไรจึงจะสามารถบรรลุเปาหมายท่ีตองการตัดสินใจได 2. ทฤษฎีการตัดสินใจจําแนกตามบุคคลท่ีตัดสินใจ สามารถจําแนกทฤษฎีการตัดสินใจโดยการจาํแนกตามบุคคลท่ีตัดสินใจไดเปน 2 ลักษณะ ดงันี้ 2.1 การตัดสินใจโดยคนเดียว เปนการตัดสินใจโดยคนๆ เดียวจะทําใหเกิดความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพในการตัดสินใจ มักจะใชธุรกิจขนาดยอมท่ีมีผูประกอบการท่ีเปนเจาของกจิการ และเปนผูท่ีใกลชิดปญหาและทราบขอมูลไดดีกวา 2.2 การตัดสินใจโดยกลุม เปนการตัดสินใจท่ียดึทีมงาน และคณะกรรมการเปนผูรวมตัดสินใจเปนการมุงเนนการมีสวนรวมในการตัดสินใจ เม่ือใดก็ตามท่ีตองการความรวมมือผูบริหารจึงควรใหผูท่ีเกี่ยวของเขามามีสวนรวม ดังนั้นการกระจายอํานาจและการมีสวนรวมในการตัดสินใจจึงจําเปนสําหรับองคการในอนาคต อยางไรก็ตามในการตัดสินใจโดยคนเดยีวหรือกลุมนัน้ผูบริหารจําเปนท่ีจะตองพจิารณาความสลับซับซอนของปญหาปจจยัท่ีเกีย่วของกับการตัดสินใจดวย ซ่ึงความสลับซับซอนของปญหา

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี111

ประเภทของการตัดสินใจ การตัดสินใจเปนกระบวนการเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่ง จากหลายๆ ทางเลือกท่ีไดพิจารณาหรือประเมินอยางดแีลววาเปนทางใหบรรลุวตัถุประสงคและเปาหมายขององคการ ในขณะที่การตัดสินใจจะเปนปจจัยท่ีมีความสําคัญ และเกี่ยวของกับหนาท่ีการบริหารหรือการจัดการเกือบทุกข้ันตอนไมวาจะเปนการตัดสินใจเพือ่การวางแผน การจัดองคการ การจดัคนเขาทํางาน การประสานงาน และการควบคุม เปนตน ดังนั้นผูบริหารจงึตองมีบทบาทและหนาท่ีในการตัดสินใจ ผูบริหารที่ทําการตดัสินใจเลือกทางเลือกภายใตสถานการณตาง ๆนั้น อาจตองทําการตัดสินใจในลักษณะท่ีแตกตางกนั ซ่ึงข้ึนอยูกับขอมูลขาวสารที่จะเกิดข้ึนท้ังในปจจุบันและเหตกุารณในอนาคต สําหรับการแบงประเภทของการตัดสินใจจึงข้ึนอยูกับขอมูลที่มีอยูเปนสําคัญ อยางไรก็ตามผูตัดสินใจสามารถคาดคะเนสถานการณท้ังหมดท่ีจะเปนไปไดในอนาคตนั้น เปนเพียงการระบุความเปนไปไดของสถานการณท่ีอาจจะเกิดข้ึน ซ่ึงผูตัดสินใจยังไมทราบถึงความแนนอนของสถานการณจะเกิดข้ึนและสถานการณท้ังหมดนั้นก็มีเพียงสถานการณเดียวเทานั้นท่ีจะเกิดข้ึน นอกน้ันอาจเปนเพียงสถานการณท่ีมีโอกาสเปนไปไดแตไมไดเกิดข้ึนจริงก็ได จากความหมายขางตนผูบริหารแตละคนอาจใหความหมายและความสําคัญของการตัดสินใจท่ีแตกตางกันออกไปในรายละเอียดของแตละสถานการณ ในสวนท่ีพจิารณาเหมือนกัน ไดแก 1. กระบวนการการตดัสินใจ เปนการตัดสินใจท่ีตองผานกระบวนการวิเคราะหและพจิารณาถึงขอมูลท่ีเกิดข้ึนจากนั้นผูบริหารจึงทําการตัดสินใจเลือกทางเลือกท่ีเหมาะสมและดีท่ีสุด สําหรับกระบวนการตัดสินใจประกอบดวยข้ันตอนการแสวงหาขอมูล การออกแบบการตัดสินใจ รวมท้ังการตัดสินใจเลือกทางเลือกเพือ่ใหสามารถเลือกทางเลือกไดดีท่ีสุด ดังนั้นในการวิเคราะหและพิจารณาจะตองมีการเกบ็รวบรวมขอมูลสารสนเทศ และผานกระบวนการตัดสินใจนัน่เอง 2. การตัดสินใจเก่ียวของกับทางเลือก การตัดสินใจเปนความพยายามในการสรางทางเลือกใหมากท่ีสุดเทาท่ีทําได ทางเลือกที่นอยอาจปดโอกาสความคิดสรางสรรคหรือทางเลือกท่ีดีกวาได ดังนั้นผูบริหารจึงมีความจําเปนตองมีการฝกฝนในการสรางทางเลือกท่ีหลากหลาย และมีความสรางสรรคอีกดวย การตัดสินใจเกี่ยวของกับทางเลือก ซ่ึงโดยท่ัวไปจะเปนการตัดสินใจท่ีไมไดกําหนดแนวทางการปฏิบัติไวลวงหนาเปนการตัดสินใจท่ีแตกตางออกไปจากสถานการณปกติ ท่ีไมไดมีการกําหนดโครงสรางการตัดสินใจไว ดังนั้นผูบริหารจึงตองคนหาแนวทางการตัดสินใจเพื่อ

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี112

3. การตัดสินใจเก่ียวของกับโครงสรางขององคการ ผูบริหารในแตละระดับจะมีบทบาทและหนาท่ีในการตัดสินใจท่ีแตกตางกนั เชน ผูบริหารระดับสูงจะเกีย่วของกับการตัดสินใจเชิงกลยทุธ ผูบริหารระดับกลางจะเกี่ยวของกับการตัดสินใจดานการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ ผูบริหารระดับปฏิบัติจะเกี่ยวของกับการตัดสินใจในการดําเนินงานใหสําเร็จตามระยะเวลา และเปาหมายท่ีกําหนดไว การตัดสินใจเกีย่วกับโครงสรางขององคการเปนการตัดสินใจในงานประจํา โดยท่ัวไปจะเปนกฎ ระเบียบ ขอบังคับ ข้ันตอนการปฏิบัติ เปนตน เพื่อใหทุกคนทราบและถือปฏิบัติ ดังนัน้ผูบริหารจึงตองมีบทบาทในการกําหนดมาตรฐานและแนวทางการปฏิบัติไวลวงหนาในองคการ 4. การตดัสินใจเก่ียวของกับพฤติกรรมของบุคลากร การตัดสินใจจะมีผลกระทบตอบุคคล กลุม และท้ังองคการ ซ่ึงพฤติกรรมของบุคคลแตละคนจะมีความแตกตางกัน ดังนั้น ผูบริหารจะตองมีความเขาใจและมีจิตวิทยาท่ีเกี่ยวของกับบุคคล กลุม และองคการท่ีดี จึงจะทําใหการตัดสินใจประสบความสําเร็จได สําหรับการตัดสินใจท่ีมีลักษณะสรางสรรคท่ีเปนการตัดสินใจท่ีเกิดจากความคิดริเร่ิมของผูบังคับบัญชาเปนสําคัญและเปนการตัดสินใจโดยคนๆ เดียว สวนการตัดสินใจโดยกลุมเปนการตัดสินใจท่ีมีความสลับซับซอนท่ีไมสามารถตัดสินใจโดยคนๆ เดียวได จึงตองอาศัยความรวมมือจากทุกฝายก็จําเปนท่ีจะตองมีการตัดสินใจโดยกลุมเพื่อแกไขปญหารวมกัน ในการแบงประเภทของการตัดสินใจ สามารถแบงได ดังนี้ (http://irrigation.rid.go.th/rid15/ppn/Knowledge/Decision%20Support%20Systems/dss1.htm) 1. การตัดสินใจแบบโครงสราง (Structure) บางครั้งเรียกวาแบบกําหนดไวลวงหนา เปนการตัดสินใจเกีย่วกับปญหาท่ีเกิดข้ึนเปนประจํา จึงมีมาตรฐานในการตัดสินใจเพื่อแกปญหาอยูแลว โดยวิธีการในการแกปญหาที่ดีท่ีสุดจะถูกกําหนดไวอยางชัดเจน ตามวตัถุประสงคท่ีวางไว เชน การหาระดับสินคาคงคลังท่ีเหมาะสมหรือการเลือกกลยุทธในการลงทุนท่ีเหมาะสมท่ีสุด เม่ือมีวัตถุประสงคเพื่อใหเกิดคาใชจายตํ่าท่ีสุดหรือเพื่อใหเกิดกําไรสูงสุด การตัดสินใจแบบโครงสรางนี้จึงมักใชแบบจําลองทางคณิตศาสตร ความรูทางดานวิทยาการการจัดการ การวิจัยเพ่ือการดําเนินงานเขามาใช เปนตน ตัวอยางของการตัดสินใจ ไดแก การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับสินคาคงคลัง การวิเคราะหงบประมาณ การตัดสินใจดานการลงทุน ระบบการจดัสง เปนตน 2. การตัดสินใจแบบไมเปนโครงสราง (Unstructured) เปนการตัดสินใจเกี่ยวกบัปญหาท่ีมีรูปแบบไมชัดเจนหรือมีความซับซอน จึงไมมีแนวทางในการแกปญหาแนนอนเปนปญหาท่ีไมมีการระบุวิธีแกไวอยางชัดเจนวาตองทําอะไรบาง การตัดสินใจกับปญหาลักษณะนี้ จะไมมีเคร่ืองมือ

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี113

3. การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสราง (Semi structure) เปนการตัดสินใจแบบผสมระหวางโครงสรางและไมเปนโครงสราง ปญหาแบบกึ่งโครงสรางนี้จะใชวิธีแกปญหาแบบมาตรฐานและการพิจารณาโดยมนษุยรวมเขาไวดวยกัน คือ มีลักษณะเปนกึ่งโครงสราง แตมีความซับซอนมากข้ึน ข้ันตอนจึงไมชัดเจนวาจะมีข้ันตอนอยางไร ปญหาบางสวนเขียนเปนแบบจําลองทางคณิตศาสตรได แตปญหาบางสวนไมสามารถเขียนออกมาในรูปของแบบจําลองได เชน การทําสัญญาทางการคา การกําหนดงบประมาณทางการตลาดสําหรับผลิตภัณฑ เปนตน

องคประกอบของการตัดสินใจ การตัดสินใจมีองคประกอบท่ีตองพิจารณามี 4 ประการคือ 1. ผูทําการตัดสินใจ เปนองคประกอบท่ีสําคัญท่ีสุดเพราะการตัดสินใจจะดีหรือไมข้ึนกับบุคคลผูตัดสินใจเปนสําคัญ ดังนั้นผูตัดสินใจจําเปนตองมีขอมูล มีเหตุผล มีคานิยมท่ีถูกตองสอดคลองตอการบรรลุเปาหมายองคการ แตในบางครั้งถาผูทําการตัดสินใจขาดขอมูลท่ีถูกตองขาดเหตุผลและมีคานยิมท่ีมาสอดคลองแลวจะทําใหผลของการตัดสินใจไมดพีอได ผูทําการตัดสินใจบางเร่ืองตองมุงสูการตัดสินใจเปนกลุมบางเรื่องบางกรณีก็ตัดสินใจโดยคนๆ เดียว ดังนั้นผูบริหารจึงตองวิเคราะหสถานการณใหถูกตอง 2. ประเด็นปญหาท่ีตองตดัสินใจ เปนองคประกอบท่ีสองท่ีตองใหความสําคัญ ปญหาท่ีตองตัดสินใจน้ันจําแนกไดหลายประการ เชน จําแนกตามโรคโครงสรางและระบบงานบกพรอง โรคพฤติกรรมบกพรอง และโรคเทคโนโลยีและวิทยาการบกพรอง เม่ือกําหนดปญหาไดชัดวาเปนปญหาเร่ืองอะไรก็สามารถหาแนวทางแกไขปญหาไดถูกตอง 3. ทางเลือกตาง ๆ ท่ีบรรลุเปาหมายได เปนองคประกอบท่ีสามท่ีตองคํานึง ผูบริหารตองพยายามท่ีจะคนหาทางเลือกท่ีดีกวาอยูเสมอและสรางทางเลือกใหมากกกวา 2 ทางเลือก ในปจจุบันการบริหารองคการมุงสูการสรางทางเลือกสูการผลิตสินคาและบริการท่ีถูกกวา มีคุณภาพสูงกวา มีความรวดเร็ว มีการบริการท่ีประทับใจมากกวา นอกจากนี้ควรจะสรางทางเลือกเพื่อมุงสูการเรียนรูและสรางนวัตกรรมดานผลิตภัณฑซ่ึงเปนปจจัยท่ีมีความสําคัญตอองคการอีกดวย

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี114

4. สภาวการณท่ีทําการตดัสินใจ ในการตัดสินใจจําเปนตองคํานึงถึงสภาวการณท่ีทําการตัดสินใจเปนแบบใด ซ่ึงมี 3 ประการ ไดแก สภาวการณท่ีแนนอน เปนสภาวการณท่ีผูทําการตัดสินใจทราบทางเลือกตางๆ และทราบถึงผลที่จะเกิดข้ึนของแตละทางเลือกอยางดีดวย การตัดสินใจดังกลาวยอมมีโอกาสถูกตองมากท่ีสุด เชน ตัดสินใจนําเงินฝากธนาคารยอมคํานวณดอกเบ้ียไดชัดเจนในระยะส้ันและยะยาว สภาวการณที่เสี่ยง เปนสภาวการณท่ีผูบริหารตัดสินใจทราบทางเลือกตางๆ และทราบโอกาส ความนาจะเปนท่ีเกิดข้ึนผูบริหารจะตัดสินใจเม่ือโอกาสท่ีจะไดรับผลประโยชนมากกวาเสียประโยชน การตัดสินใจในสภาวการณเส่ียงผูทําการตัดสินใจตองเรียนรูทําความเขาใจเร่ืองทฤษฏีความนาจะเปนและแขนงการตัดสินใจ และสภาวการณท่ีไมแนนอน เปนสภาวการณท่ีผูทําการตัดสินใจอาจทราบทางเลือกตางๆ แตไมทราบผลท่ีอาจจะเกิดข้ึนในแตละทางเลือกโดยไมสามารถคาดคะเนความนาจะเปนของแตละทางเลือกภายใตสภาวการณดังกลาว ผูทําการตัดสินใจจึงไมควรตัดสินใจใดๆ ลงไปจนกวาจะมีขอมูลสารสนเทศท่ีนาเช่ือถือมากกวาท่ีมีอยู

ขั้นตอนในการตัดสินใจ การตัดสินใจเปนหนาท่ีของผูบริหารทีเ่ปนกระบวนการ (Process) และตองมีการพิจารณาขอมูลตางๆ อยางรอบคอบ จากน้ันจึงทําการกําหนดทางเลือกและเลือกทางท่ีดีท่ีสุดข้ึนมาและนาํไปสูการปฏิบัติตอไป ซ่ึงแนวความคิดของนักวิชาการไดแบงข้ันตอนการตัดสินใจไวมีลักษณะที่ใกลเคียงกัน โดยท่ัวไปกระบวนการตดัสินใจจะมีความแตกตางกนัในดานการจัดกลุมของแตละข้ันตอน สําหรับกระบวนการตัดสินใจ (ชนงกรณ กุณฑลบุตร, 2547, หนา 50-52) ดังนี ้ 1. การกําหนดปญหาและวิเคราะหสาเหตุของปญหา สําหรับข้ันตอนแรกของการตัดสินใจจะเปนการกําหนดปญหาและวิเคราะหสาเหตุของปญหาใหเกิดความชัดเจนกอน ซ่ึงปญหาท่ีเกิดข้ึนกับองคการบางคร้ังยากตอการระบุวามาจากสาเหตุใด เชน องคการประสบปญหาเกี่ยวกับตนทุนการผลิตท่ีสูงข้ึนซ่ึงอาจเกิดข้ึนจากหลายสาเหตุ ดังนั้นผูบริหารจึงตองทําการศึกษาวิเคราะหเพื่อระบุและกําหนดปญหาใหชัดเจนวาเกิดจากสาเหตุอะไร โดยทั่วไปการแบงประเภทของปญหา ไดแก ปญหาท่ีเปนมาต้ังแตอดีตและปญหามีแนวโนมรุนแรงมากข้ึนในอนาคต ปญหาท่ีทราบลวงหนาวาจะเกิดข้ึนและควรเตรียมการปองกันหรือปญหาเฉพาะดานเปนปญหาท่ีเกิดจากสาเหตุเดียว และสามารถแกไขสําเร็จไดงาย เปนตน ดังนัน้การกําหนดปญหาและวิเคราะหสาเหตุของปญหาจึงเปนข้ันตอนท่ีมีความสําคัญมากท่ีสุดตอการตัดสินใจของผูบริหาร

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี115

2. การกําหนดทางเลือกตางๆ ท่ีจะใชแกปญหา เม่ือผูบริหารสามารถกําหนดปญหาไดชัดเจนแลว โดยจะตองมีการกล่ันกรองขอมูลตางๆ ท่ีเกี่ยวของกับปญหาท้ังหมด เชน ขอมูลเกี่ยวกับสภาวะแวดลอมภายในและภายนอกองคการเพื่อคนหาปจจัยตางๆ ท่ีเปนองคประกอบของปญหาท่ีมีระดับความรุนแรงแตกตางกัน ขอมูลท่ีเกี่ยวของทั้งหมดจะถูกนาํมากาํหนดเปนทางเลือกเพื่อแกไขปญหา ทางเลือกท่ีกําหนดในข้ันตอนนี้อาจมีหลายทางเลือก เชน ทางเลือกในการแกปญหาตนทุนการผลิตท่ีสูงข้ึนอาจเกิดข้ึนไดตั้งแตการปรับวิธีการทํางานของฝายผลิต การฝกอบรมทีมงานเพื่อเพิ่มทักษะการผลิต การปรับปรุงการออกแบบผลิตภัณฑ เปนตน 3. การประเมินผลทางเลือกตางๆ ท่ีไดกําหนด หลังจากวิเคราะหปญหา ทําการกําหนดทางเลือกตางๆ ท่ีจะใชแกปญหา จากนั้นจึงทําการประเมินผลทางเลือกตางๆ ซ่ึงเปนแนวทางการนําปญหาไปสูการแกไข ในข้ันตอนนี้ผูตัดสินใจจะวิเคราะหและประเมินวาทางเลือกใดสามารถแกไขปญหาไดดีท่ีสุด ทางเลือกใดควรจะดําเนินการกอนและหลัง มีการใชกระบวนการช่ังน้ําหนกัเพื่อพจิารณาถึงผลดีและผลเสียในแตละทางเลือกดวย นอกจากนี้จะตองพจิารณาดวยวาการตัดสินใจในทางเลือกหน่ึงยอมสงผลกระทบตอปญหาอ่ืนๆ ตามมาได ดังนั้นควรวิเคราะหและประเมินทางเลือกอยางรอบคอบ สําหรับปญหาท่ีเกิดข้ึนจะเปนการพิจารณาปญหาจากภายในองคการมากกวาภายนอก เชน บุคลากร อุปกรณขาดแคลน แนวทางแกไขสามารถทําไดโดยการเพิ่มบุคลากรการจัดซ้ืออุปกรณเพิ่ม เปนตน

การกําหนดปญหาและวิเคราะหสาเหตุของปญหา

การกําหนดทางเลือกตางๆ ที่จะใชแกปญหา

การประเมินผลทางเลือกตางๆ ที่ไดกําหนด

การตัดสินใจเลือกที่เหมาะสมที่สุด

ดําเนินการตามทางเลือกที่ตัดสินใจ

ประเมินผลที่เกิดจากทางเลือกน้ันๆ

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี116

ภาพท่ี 5.1 ข้ันตอนในการตัดสินใจ ท่ีมา (ชนงกรณ กณุฑลบุตร, 2547, หนา 50)

จากภาพท่ี 5.1 แสดงถึงข้ันตอนในการตดัสินใจ ไดแก ข้ันตอนการกําหนดปญหาและวิเคราะหสาเหตุของปญหา การกําหนดทางเลือกตางๆ ท่ีจะใชแกปญหา การประเมินผลทางเลือกตางๆ ท่ีไดกําหนด การตัดสินใจเลือกท่ีเหมาะสมท่ีสุด การดําเนินการตามทางเลือกที่ตัดสินใจ รวมท้ังการประเมินผลท่ีเกิดจากทางเลือกนั้นๆ ตามลําดับ 4. การตัดสินใจเลือกท่ีเหมาะสมท่ีสุด เปนการนําเอาทางเลือกตางๆ มาเปรียบเทียบวาทางเลือกใดจะเหมาะสมและเปนไปไดมากกวากนั เชน องคการมีเงินทุนไมเพยีงพออาจใชทางเลือกท่ีเปนไปไดมากท่ีสุด คือ การกูยืมจากภายนอก การนําเงินกําไรสะสมมาใช เปนตน 5. ดําเนินการตามทางเลือกท่ีตัดสินใจ เปนการเลือกทางเลือกท่ีดีสุดและมีความเหมาะสมมากท่ีสุด จากนั้นจึงนําผลการตัดสินใจสูการปฏิบัติและประเมินผลตอไป 6. ประเมินผลที่เกิดจากทางเลือกนั้นๆ การประเมินผลเปนการพิจารณาคุณคาของผลงานและความแตกตางระหวางผลการปฏิบัติงานกับเกณฑ และมาตรฐานท่ีไดเลือกจากทางเลือกท่ีตดัสินใจ ท้ังนี้ผูบริหารตองทําการเปรียบเทียบผลงานกับเกณฑ และมาตรฐานกอนวามีความแตกตางกนัหรือไมและความแตกตางนัน้มีความสําคัญมากนอยเพยีงใด จะกอใหเกดิความเสียหายหรือไมมากนอยเพยีงใด โดยตีคาของความแตกตางนั้นจากผลกระทบท่ีคาดวาจะเกิดข้ึนวาเปนผลดีหรือผลเสียตอองคการอยางไร

ตัวแบบการตัดสินใจทางการบริหาร นักวิชาการไดทําการกําหนดตัวแบบการตัดสินใจไวแตกตางกันตามพื้นฐานของการตัดสินใจในสถานการณท่ีแตกตางกัน เชน ความตองการท่ีจะไดรับประโยชนสูงสุด ความพึงพอใจสูงท่ีสุด คาใชจายตํ่าท่ีสุด การตัดสินใจท่ีไมเกดิเผชญิมากอน การตัดสินใจท่ีมีความไมแนนอนเขามาเกีย่วของ หรือการตัดสินใจเพ่ือผลิตผลิตภัณฑใหมๆ เปนตน สําหรับตัวแบบของการตัดสินใจทางการบริหารนั้น ปจจุบันมีอยูดวยกันหลายประเภทท่ีสําคัญ (สุโขทัยธรรมาธิราช, 2548, หนา 269-278) มีดังนี้

1. ตัวแบบการตัดสินใจโดยใชเหตุผล

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี117

ปจจัยสําคัญของการตัดสินใจผูบริหารควรใชหลักการและเหตุผลในการตัดสินใจ ซ่ึงในบางสถานการณท่ีตองทําการตัดสินใจอาจมีความไมแนนอนเกิดข้ึน เนื่องจากผูทําการตัดสินใจขาดขอมูลท่ีถูกตองและครบถวน นอกจากนีค้วามรอบคอบและความคิดเชิงวิทยาศาสตรก็มีความสําคัญท่ีผูทําการตดัสินใจตองการอีกดวย นัน่คือ ถาหากผูบริหารไมตัดสินใจโดยใชเหตุผลแลว ผลการตดัสินใจก็ยากท่ีจะประสบผลสําเร็จลงได สําหรับตัวแบบการตัดสินใจโดยหลักเหตุผล มีดังนี้ 1.1 ตัวแบบเศรษฐศาสตร เปนตัวแบบการตัดสินใจท่ีอยูบนพื้นฐานของผลตอบแทนสูงสุด เชน เกิดใชคาใชจายต่ําท่ีสุดเพื่อใหเกิดผลตอบแทนสูงสุด ซ่ึงแนวคิดการตัดสินใจดังกลาวไดรับอิทธิพลจากแนวคิดทางเศรษฐศาสตร นั่นคือ เม่ือใดท่ีคาใชจายลดลงแตผลลัพธยังคงเทาเดิมหรือรายไดมากกวารายจายจะมีผลทําใหเกดิกําไรสูงสุดดวย 1.2 ตัวแบบวทิยาศาสตร สําหรับตัวแบบการตัดสินใจโดยใชตวัแบบทางวิทยาศาสตรเปนแนวคิดท่ีเนนหลักเหตุผลโดยใชหลักการทางคณิตศาสตรเขามาเกี่ยวของ โดยพยายามแสวงหาแนวทางสูความสําเร็จโดยวิธีท่ีดีท่ีสุดก็จะทําใหเกิดการประหยัดในคาใชจาย รวมทั้งมีการนําศาสตรในเชิงปริมาณหรือแบบทางคณิตศาสตรท่ีเกี่ยวกับปจจัยเชิงปริมาณมาใชในการตัดสินใจ เชน ความนาจะเปนก็จะทําใหการตัดสินใจมีเหตุผลมากข้ึน ตราบใดท่ีโอกาสของผลดีมีมากกวาผลเสียก็ควรท่ีจะตัดสินใจลงทุนหรือดําเนินการในดานนั้นๆ การตัดสินใจโดยใชหลักเหตุผลมีลักษณะท่ีสําคัญ คือ จะมีลักษณะท่ีเปนการตัดสินใจท่ีมุงไปสูความสําเร็จตามเปาหมายที่องคการท่ีไดกาํหนดไว โดยปญหาตางๆ ตองมีการถูกคาดคะเนและกําหนดแนวทางการแกไขไวแลว ซ่ึงเปนการตัดสินใจภายใตเง่ือนไขของความแนนอนในทุก ๆ ทางเลือกถูกกาํหนดใหเปนผลลัพธท่ีแนนอน สําหรับเกณฑในการตัดสินใจในทางเลือกใดน้ันผูบริหารอาจจะยดึหลักทางเลือกตางๆ เชน การใหผลตอบแทนทางเศรษฐกจิสูงสุด เปนตน ในการตัดสินใจดังกลาวอาจเปนแนวคิดของการใชเหตุผลหรือคานิยมในการประเมินผลทางเลือก ซ่ึงเปนการตัดสินใจท่ีมุงไปสูผลประโยชนสูงสุดขององคการ 2. ตัวแบบการตดัสินใจโดยความพึงพอใจ ตัวแบบการตัดสินใจโดยความพึงพอใจ เปนตัวแบบท่ีมุงในการลดขอจาํกัดของตวัแบบการในการตัดสินใจ โดยหลักเหตุผลท่ีวามนุษยเปนผูท่ีมีเหตุผล โดยคํานึงถึงประโยชนสูงสุด กําไรสูงสุดเทาท่ีจะเปนไปได เปนตน แตความเปนจริงแลวบางสถานการณผูบริหารไดตัดสินใจโดยท่ีไมกอใหเกิดกาํไรสูงสุด แตสรางความพึงพอใจใหแกผูท่ีเกี่ยวของหรือบุคลากร ผูบริหารที่ประสบปญหาอาจมีความจําเปนในการลดคาใชจาย จึงพยายามแสวงหาแนวทางในการลดตนทุนโดยเฉพาะการลดบุคลากรท่ีไมจําเปนออกไป ซ่ึงอาจจะสงผลเสียทันที คือ เกิดคนวางงานเปนปญหาของสังคม

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี118

2.1 การตัดสินใจเปนเร่ืองของการคาดการณในส่ิงท่ีจะกระทําหรือเกิดข้ึนในอนาคต ซ่ึงแมแตผูตัดสินใจจะยึดหลักเหตุผลและขอเท็จจริงมากเพียงใดก็ตาม แตก็อาจเกิดความผิดพลาดได รวมท้ังจากสถานการณท่ีมีการเปล่ียนแปลงไป หรือการตัดสินใจไปกระทบผลประโยชนของผูอ่ืนดังนั้นจึงตองมีการทบทวนและทําการตัดสินใจใหม อยางไรก็ตามการตัดสินใจควรมีการดําเนินการอยางเปนกระบวนการท่ีมีความยืดหยุนและมีความตอเนื่องสัมพันธกัน โดยกระบวนการดังกลาวข้ึนอยูกับความสมดุลระหวางผูตัดสินใจ และผูท่ีไดรับผลกระทบจากการตัดสินใจนั้น 2.2 การตัดสินใจและการบริหารเปนเร่ืองท่ีเกี่ยวของสัมพันธกันเปนการดําเนินการเพื่อรักษาสัมพนัธภาพอันดีภายในองคการใหเกิดข้ึนระหวางผูบังคับบัญชากับใตผูบังคับบัญชา และเปนเพื่อเปนการผนึกกําลังของทุกฝายเพื่อสรางกลยุทธเหนือคูแขงขันได 2.3 การบริหารที่ดีควรใชหลักเหตุผลมากท่ีสุดแตการตัดสินใจกไ็มอาจใชหลักเหตุผลไดในทุกกรณีเราะมีทางเลือกจํานวนมากท่ีคาดการณผลท่ีจะเกิดข้ึนไดยาก และเหตุการณในอนาคตท่ีเปนเร่ืองท่ีไมแนนอนและไมอาจใชเหตผุลประกอบการตัดสินใจไดอยางสมบูรณ ผูบริหารจะตองใชการตัดสินใจโดยความพึงพอใจแทนการใชหลักและเหตุผล 2.4 ผูบริหารควรจัดโครงสรางองคการ เพ่ือใหพนักงานไดทราบถึงสภาวะแวดลอมจุดมุงหมายและจุดประสงคขององคการอยางชัดเจน จะทําใหทุกคนม่ันใจไดวามีผูบริหารมีการตัดสินใจโดยยึดจุดมุงหมาย วัตถุประสงคและขอมูลขององคการเปนพื้นฐานประกอบการตัดสินใจ 3. ตัวแบบการตดัสินใจโดยสวนเพิ่ม ตัวแบบการตัดสินใจแบบสวนเพิ่ม เปนตัวแบบท่ีมีแนวคิดท่ีวาการเปล่ียนแปลงแบบคอยเปนคอยไปจะนํามาซ่ึงการเปล่ียนแปลงท่ีสําคัญและไมกอใหเกิดผลเสียตอองคการ โดยท่ัวไปพบวาการตัดสินใจของบุคคลมักมีลักษณะอนุรักษนิยม การตัดสินใจในแตละคร้ังมักอาศัยการตัดสินใจคร้ังกอนเปนหลักในการพิจารณาตัดสินใจคร้ังใหมแตอาจมีการปรับปรุงแกไขเล็กนอย เนื่องจากความไมแนนอนในอนาคตและขอจํากดัดานความสามารถของผูตัดสินใจท่ีจะศึกษา และรวบรวมขาวสารขอมูลใหมๆ ท้ังหมดไดในการตัดสินใจ ดวยเหตุนี้ทางเลือกของการตดัสินใจท่ีมีความเสีย่งท่ีนอยท่ีสุดและประหยัดท่ีสุด คือ การตัดสินใจโดยใชหลักฐานของการขอคร้ังกอนเปนสําคัญ สําหรับลักษณะของการตัดสินใจโดยสวนเพิ่ม มีดังนี้

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี119

3.1 ไมกําหนดวัตถุประสงค ตัวแบบการตัดสินใจนี้จะไมมีการกําหนดวัตถุประสงคข้ึนกอน การกําหนดวตัถุประสงคและทางเลือกจะเปนกิจกรรมท่ีดําเนินไปพรอมๆ กับการตัดสินใจเกีย่วกับแนวทางการปฏิบัติท่ีจะเกิดข้ึนเม่ือไดมีการพิจารณาถึงทางเลือกและผลท่ีคาดจะไดรับแลว โดยเฉพาะอยางยิ่งปญหาท่ีถูกนํามาพิจารณามีความสลับซับซอนมากเทาใด องคการก็จะตองมีการเปล่ียนแปลงดานวัตถุประสงคเพ่ือใหไดแนวทางแกปญหาท่ีเหมาะสมตอไป

3.2 เปนทางเลือกมากกวาทฤษฎี เนื่องจากการนําความรูที่เกี่ยวของมาแกไขปญหาเฉพาะดานตอเม่ือมีปญหาท่ีมีความสลับซับซอนมากยิ่งข้ึน ผูบริหารจะตองตัดสินใจไดดีข้ึนถามีการเปรียบเทียบทางเลือกหรือแนวปฏิบัติท่ีเปนรูปธรรม ในเชิงทฤษฎีตัวแบบการตัดสินใจโดยสวนเพิม่โดยสวนเพ่ิมตองอาศัยพื้นฐานของการปฏิบัติท่ีมีการปฏิบัติจริง และเคยปฏิบัติกอนจึงเปนหลักประกนัถึงความม่ันใจไดวาจะไมเกิดความผิดพลาดแนนอนและไมตองเส่ียงตอความลมเหลว ในการตัดสินใจโดยสวนใหญเปนการตัดสินใจโดยใชฐานเดิม หรือประสบการณเดิมเปนสําคัญ เชน ในการทํางานท่ีทําบอยๆ จนเกิดความชํานาญการเปล่ียนแปลงทีละเล็กทีละนอยก็คือการตัดสินใจโดยสวนเพ่ิม อยางไรก็ตามการตัดสินใจบางคร้ังอาจทําใหเกิดการสูญเสียไปโดยไมจําเปน กลาวคือ ในกรณีจัดทํางบประมาณประจําปมักจะใชวิธีการงบประมาณแบบสวนเพิ่ม เชน ในปนี้เพิ่มรอยละ 5 จากปท่ีผานมาท้ังๆ ท่ีปนี้โครงการใหญๆ ไมมีแลวก็ควรจะลดงบประมาณลงไดและไมควรเพิ่มข้ึนทุกป สําหรับองคการธุรกิจจะใชวิธีการงบประมาณฐานศูนยท่ีใชวิธีการเร่ิมคํานวณงบประมาณใหมท้ังหมดในแตละป ดังนัน้ความตองการงบประมาณจะมากหรือนอยจึงไมข้ึนอยูกับปท่ีผานมา แตข้ึนอยูกับปจจยัดานลูกคา การแขงขันเปนสําคัญ 4. ตัวแบบการตดัสินใจโดยความไมแนนอน ตัวแบบการตดัสินใจโดยความไมแนนอนหรือตัวแบบไมมีโครงสรางชัดเจน เปนตวัแบบของการตัดสินใจท่ีกลาววา ผูบริหารควรสามารถตัดสินใจในอนาคตท่ีมีภาวะไมแนนอนไดอยางเหมาะสม ผูบริหารจะตองมีการสรางแนวคิดท่ีเกี่ยวกับแนวทางการแกไขใหมเพื่อทีจ่ะชวยใหองคการสามารถปรับตัวใหสอดคลองตอการเปล่ียนแปลงของสภาวะแวดลอมได ผูบริหารตองตัดสินใจในภาวะที่มีความสลับซับซอน มีความสามารถในการวิเคราะหสภาวะแวดลอมท่ีมีการเปล่ียนแปลงได ซ่ึงเปนการตัดสินใจแบบไมมีแผนงานไวลวงหนา สําหรับลักษณะของการตัดสินใจบนความไมแนนอนเนื่องจากในปจจุบันสภาวะแวดลอมมีการเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา ดังนัน้การบริหารงานจึงมุงไปสูการปรับตัวใหเกิดความสอดคลองและเหมาะสมกับสภาวะแวดลอมท่ีเปล่ียนแปลงไป เชน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี ลูกคา คูแขงขัน เปนตน

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี120

นอกจากนี้สภาวะแวดลอมจะมีการเปล่ียนแปลงท่ีรวดเร็ว ผูบริหารจงึตองใชความรูความสมารถในการแกปญหาหรือวกิฤติการณตางๆ ใหไดและพรอมท่ีจะรับสถานการณตางๆ อยูเสมอ การแกปญหาจะยุงยากสลับซับซอน จําเปนตองอาศัยบุคคลท่ีมีความรูในลักษณะสหวิทยาการเขามาปฏิบัติ รวมท้ังตองตระหนกัถึงหลักของความไมแนนอน ดังนั้นการบริหารความไมแนนอน จําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองนําแนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธมาประยุกตใชไดอยางเหมาะสม ผูทําการตัดสินใจนอกจากจะประเมินสภาวะแวดลอมภายในและภายนอกองคการแลว ยังจําเปนท่ีจะตองกําหนดภารกจิ วิสัยทัศน นโยบาย และปรัชญาการบริหารใหสอดคลองความสําเร็จในอนาคตอีกดวย 5. ตัวแบบการตดัสินใจโดยนวัตกรรมและการเรียนรู ผูบริหารจะตองมุงการตัดสินใจอยางมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอยางยิ่งการตัดสินใจเพ่ือผลิตผลิตภัณฑนวัตกรรมจากการเรียนรูเพื่อใหไดผลิตภัณฑในราคาท่ีเหมาะสม มีคุณภาพที่ดกีวา ผลิตไดเร็วกวาและลูกคาพึงพอใจเปนสําคัญ นั่นคือ ตองเร่ิมตนท่ีลูกคาเปนสําคัญ ซ่ึงลูกคาในอนาคตจะมีความพึงพอใจในผลิตภัณฑท่ีมีความแตกตาง ผลิตภัณฑเดิมๆ และลาสมัยยอมสามารถสรางความเบ่ือหนายและไมซ้ือซํ้า ดังนั้นผูบริหารจึงจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองสรางความแตกตางหรือความแปลกใหมใหเกิดข้ึนอยูตลอดเวลา ในขณะท่ีมีคูแขงขันจํานวนเพ่ิมข้ึนความจําเปนท่ีจะตองมีผลิตภณัฑนวตักรรมจึงมีมากข้ึน มิฉะนัน้องคการจะไมสามารถกาวไปสูความเปนเลิศได ในการสรางผลิตภัณฑนวัตกรรมและการเรียนรูมีปจจัยท่ีสําคัญ คือ แนวคิดนี้ตองอยูในความคิดของผูบริหารและบุคลากรตลอดเวลาโดยคนหาวิธีการใหมๆ เกี่ยวกับกลยุทธและแนวทางการสรางผลิตภัณฑนวัตกรรม ผลจากการสรางผลิตภัณฑนวตักรรมจะกอใหเกิดมูลคาเพิม่ได ดังนั้นผูบริหารระดับสูงจําตองทําใหบุคลากรตระหนักวาการสรางวัตกรรมใหม และการเรียนรูเปนปจจัยท่ีทุกฝายตองรับผิดชอบรวมกันและตองสรางความผูกพันในการปฏิบัติใหเกดิข้ึน สําหรับการสรางผลิตภัณฑนวตักรรมมีกระบวนการท่ีสําคัญท่ีผูบริหารตองตัดสินใจ คือ การกาํหนดวิสัยทัศนดานผลิตภณัฑนวัตกรรมวาใน 5-10 ปขางหนาจะมีผลิตภณัฑอะไรท่ีแตกตางไปจากเดิมและเหนือกวาคูแขงขัน จากน้ันจงึทําการพฒันากลยทุธและการออกแบบเทคโนโลย ี มีการสะสมแนวคิดผลิตภัณฑนวัตกรรมใหมากข้ึน ในการพัฒนากลยุทธสามารถตัดสินใจไดวาจะเลือกกลยุทธในดานความแตกตาง กลยุทธความเปนผูนําดานตนทุนท่ีต่ํากวา กลยุทธมุงเนนเฉพาะตลาด เปนตน ในการกําหนดกระบวนการพฒันาผลิตภัณฑนวตักรรม โดยการวิจัยและพัฒนาเพื่อสามารถสรางความพึงพอใจใหแกลูกคาได การคนหาวิธีท่ีมีผลการดําเนินงานท่ีดีกวาหรือดีท่ีสุดในธุรกิจหรืออุตสาหกรรมเดียวกันใหพยายามทําความเขาใจวาองคการอ่ืนๆ มีวิธีการอยางไรในการปฏิบัติจนไดรับผลการดําเนินงานท่ีดีเลิศ และพยายามประสานความคิดหรือวิธีในการปฏิบัติขององคการอื่นๆ

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี121

เทคนิคการตัดสินใจเชิงปริมาณ เทคนิคการตัดสินใจเชิงปริมาณเปนเทคนิคท่ีใชสถิติ ตัวเลข ตัวแบบทางคณิตศาสตรเขามาใชในการตัดสินใจเพื่อใหการตัดสินใจถูกตองและเหมาะสมกับสภาวะแวดลอม สําหรับเทคนิคการตดัสินใจเชิงปริมาณท่ีสําคัญ ไดแก เทคนิคแขนงการตัดสินใจและเทคนิคผลตอบแทนท่ีคาดหวงั สวนเทคนิคการตัดสินใจเชิงปริมาณอ่ืนๆ นอกจากเทคนิคแขนงการตัดสินใจและเทคนิคผลตอบแทนท่ีคาดหวัง ไดแก การวิเคราะหจดุคุมทุน โปรแกรมเสนตรง การวิจยัเชิงปฏิบัติการ เปนตน สําหรับเทคนิคการตัดสินใจเชิงปริมาณในเอกสารนี้ จะนําเสนอเฉพาะเทคนิคดานแขนงการตัดสินใจและเทคนิคผลตอบแทนท่ีคาดหวัง ดังนี ้ 1. แขนงการตัดสินใจ (Decision tree) แขนงการตัดสินใจเปนเทคนิควิธีในการตัดสินใจในการเลือกทางเลือกท่ีดีท่ีสุด จากหลายๆ ทางเลือก โดยผูบริหารจะทํานายโอกาสที่จะเกิดข้ึนหรือความนาจะเปนในแตละทางเลือกท่ีแตกตางกัน เม่ือนําผลตอบแทนในแตละแขนงการตัดสินใจคูณกับความนาจะเปนในแตละแขนงการตัดสินใจ ผูตัดสินใจก็สามารถทราบผลของการตัดสินใจท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต แขนงการตัดสินใจเปนเทคนิคหรือเคร่ืองมือท่ีชวยใหผูบริหารสามารถทําการตัดสินใจในสถานการณท่ีตองเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่งและระบุความนาจะเปนในอนาคตดวย โดยมูลคาของผลตอบแทนท่ีจะไดรับนั้น ผูบริหารจะนํามาใชในการพิจารณาจากคาคาดหวังสูงสุดท่ีจะไดรับจากทางเลือกเหลานั้น โดยเฉพาะอยางยิง่การตัดสินใจระยะยาวท่ีมีความสําคัญตอองคการอยางสูง เนื่องจากองคการจะตองมีการลงทุนในดานการเพ่ิมแรงงาน เคร่ืองจักร เคร่ืองมือ อุปกรณ เปนตน ดังนั้นการตัดสินใจทางเลือกที่ใหเประโยชนตอองคการสูงสุดจึงเปนทางเลือกท่ีเหมาะสม สําหรับกระบวนการในการนําแขนงการตัดสินใจมาใชมีแนวทาง ไดแก มีการกําหนดทางเลือกท่ีตองการตัดสินใจข้ึนมากอนอยางนอย 2 ทางเลือก จากนั้นจึงทําการกําหนดเหตุการณและความนาจะเปนท่ีสามารถเกิดข้ึนได การกําหนดคาทางเลือกตางๆ เปนตัวเงิน การคํานวณคาคาดหมายของแตละทางเลือกและการเลือกทางเลือกท่ีดีท่ีสุด ตามลําดับ (Gaither & Frazier, 2002, p.174)

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี122

ตัวอยางท่ี 5.1 ผูจัดการภัตตาคารแหงหนึ่งกําลังพิจารณาตดัสินใจขยายกิจการ ซ่ึงมี 3 ทางเลือกในการขยายธุรกิจ ไดแก ทางเลือกท่ี 1 คือ การสรางหองอาหารแหงใหม (A) ทางเลือกท่ี 2 คือ การเชาพื้นท่ีวาง (B) และทางเลือกท่ี 3 คือ การขยายหองอาหารเดิม (C) ซ่ึงในแตละทางเลือกเพื่อการตัดสินใจน้ี ผูบริหารตองเผชิญกับสถานการณดานอุปสงคท่ีอาจขยายตัวสูง อุปสงคปานกลางหรืออุปสงคต่ําก็ได ดังนั้นผูจัดการสามารถแตกแขนงการตัดสินใจไดท้ังหมด 9 แขนง คือ (a1, a2 และ a3) (b1, b2 และ b3) (c1, c2 และ c3) ในแตแขนงจะมีการคํานวณรายไดท่ีคาดวาจะไดรับกับความนาจะเปนเพื่อหาผลตอบแทนในแตละแขนง และนํามาคํานวณหามูลคาท่ีคาดหวังสุทธิในแตละทางเลือก โดยสมมุติวามูลคาท่ีคาดหวังสุทธิท่ีคํานวณไดทางเลือกท่ี A B และ C คือ 200,000 บาท 100,000 บาท และ 150,000 บาท ตามลําดับ จากภาพท่ี 5.2 แสดงแขนงการตัดสินใจ พบวา ผลจากการพิจารณาผลตอบแทนท่ีคาดหวังของทางเลือก A B และ C ผูจัดการควรตัดสินใจเลือกทางเลือก A หรือสรางหองอาหารแหงใหม เนื่องจากจะใหผลตอบแทนสูงสุด คือ 200,000 บาท นั่นเอง แนวทางในการคํานวณ มีดังนี้ ทางเลือก แขนงการตัดสินใจ ความนาจะเปน ผลตอบแทน มูลคาที่คาดหวังสุทธิ

a1 .25 xxxxxx a2 .50 xxxxxx 200,000 a3 .25 xxxxxx b1 .25 xxxxxx b2 .50 xxxxxx 100,000 b3 .25 xxxxxx c1 .25 xxxxxx c2 .50 xxxxxx 150,000 c3 .25 xxxxxx ภาพที่ 5.2 แขนงการตัดสินใจ 2. ผลตอบแทนท่ีคาดหวัง (Payoff matrix) เปนเทคนิคท่ีชวยใหผูตัดสินใจภายใตสถานการณท่ีมีความเส่ียง โดยกาํหนดความนาจะเปน (Probability) ใหกับสถานการณตางๆ ผูตัดสินใจสามารถคํานวณผลตอบแทนท่ีคาดหวัง และตัดสินใจทางเลือกท่ีใหผลตอบแทนสูงสุด

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี123

ตัวอยางท่ี 5.2 บริษัท คลังเจริญ จํากัด เปนองคการที่ทําธุรกิจในการเปดใหมีการเชาพืน้ท่ีเพ่ือเก็บสินคาสาธารณะ ซ่ึงในขณะนี้ผูบริหารกําลังมีการพิจารณาปรับปรุงกําลังการผลิตในระยะ 1-2 ปนี้ เพื่อใหสอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจท่ีอาจจะมีการขยายตัวในอนาคต ที่คาดวาโอกาสท่ีเศรษฐกิจจะดแีละไมดเีปน 0.6 และ 0.4 ตามลําดับ ขอใหนกัศึกษาทําการตัดสินใจเลือกแนวทางใดแนวทางหนึ่งในการกําหนดกําลังการผลิตในอนาคต สําหรับแนวทางที่องคการกําลังตัดสินใจมีดังนี้

เงินลงทุน รายไดท่ีวาจะไดรับในแตละป

ปท่ี 1 และ 2 ปท่ี 3 4 และ 5

แนวทาง

ปแรก

ปท่ี 2 โอกาสดี

(0.6) โอกาสไมดี

(0.4) โอกาสดี

(0.6) โอกาสไมดี

(0.4)

1. ขยายขนาดใหญครั้งเดียว 1.5 ลาน - 700,000 -50,000 700,000 -50,000

2.ขยายขนาดใหญแต 2 ครั้ง 0.85 ลาน 0.95 ลาน 400,000 10,000 700,000 -50,000

3.ไมทําการขยาย - - 100,000 30,000 100,000 30,000

วิธีคิด แนวทางท่ี 1 ขยายขนาดใหญคร้ังเดยีว

เหตุการณ รายไดปละ จํานวนป ความนาจะเปน ผลคูณ ผลลัพธ

โอกาสดี (0.6) 700,000 5 0.6 x 3,500,000 2,100,000 โอกาสไมดี (0.4) -50,000 5 0.4 x (-250,000) -100,000

2,000,000

ผลตอบแทนและการลงทุนขยายขนาดใหญครั้งเดียว = 2,000,000 – 1,500,000 500,000

วิธีคิด แนวทางท่ี 2 ขยายขนาดใหญแตขยาย 2 คร้ัง

เหตุการณ รายไดปละ จํานวนป ความนาจะเปน ผลคูณ ผลลัพธ 400,000 2 0.6 x 2 x 400,000 โอกาสดี (0.6) 700,000 3 0.6 x 3 x 700,000

1,740,000

10,000 2 0.4 x 2 x 10,000 โอกาสไมดี (0.4) -50,000 3 0.4 x 3x(-50,000)

-52,000

1,688,000 ผลตอบแทนและการลงทุนขยายขนาดใหญ 2 ครั้ง = 1,688,000 – 1,800,000 -112,000

วิธีคิด แนวทางท่ี 3 ไมทําการขยาย

เหตุการณ รายไดปละ จํานวนป ความนาจะเปน ผลคูณ ผลลัพธ

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี124

โอกาสดี (0.6) 100,000 5 0.6 x 500,000 300,000 โอกาสไมดี (0.4) 30,000 5 0.4 x 150,000 60,000

360,000

ผลตอบแทนและการลงทุน = 360,000 – 0 360,000

แนวทางท่ีองคการควรตัดสินใจเลือก คือ แนวทางการลงทุนขยายพื้นท่ีคร้ังเดียวเนื่องจากจะไดผลตอบแทนท่ีสูงท่ีสุดใน 3 ทางเลือก คือ 500,000 บาท

เทคนิคการตัดสินใจเชิงคุณภาพ การตัดสินใจเชิงคุณภาพ เปนเทคนิคท่ีไมไดนําตัวเลขหรือแบบทางคณิตศาสตรมาชวยในการตัดสินใจแตเปนการใชทักษะความรู สติปญญา และประสบการณของผูจัดทําการตัดสินใจเปนสําคัญ การตัดสินใจเชิงคุณภาพ 4 เทคนิค ไดแก การระดมสมอง มติเอกฉันท เทคนิคเดลฟาย และกลุมคุณภาพ รายละเอียด (สุโขทัยธรรมาธิราช, 2548, หนา 283-285) ดังนี ้ 1. การระดมสมอง เปนวิธีการรวบรวมขอมูลท่ีเกาแกท่ีสุดวิธีหนึ่งและมีประสิทธิผลท่ีกอใหเกดิความคิดแปลกใหม เนื่องจากเปนเทคนิคท่ีชวยกระตุนใหเกิดจนิตนาการและกอใหความคิดท่ีกวางขวาง เปนวิธีประสานความคิดโดยมุงแกไขปญหาใดปญหาหนึ่ง และทําใหเกิดความคิดดีๆ ท่ีหลากหลายมากข้ึน การระดมสมองท่ีดีจําเปนตองสนับสนุนใหบุคลากรเสนอความคิดเห็น โดยไมถูกขัดจังหวะถูกโตแยงหรืออธิบายความหมายเพ่ิมเติม โดยปลอยใหคิดอยางอิสระกระตุนใหมีขอคิดเห็นมากข้ึน การระดมสมองมีหลักท่ีสําคัญ คือ จะไมมีการตัดสินความคิดท่ีสมาชิกเสนอ ทุกความคิดจะไมมีการนาํไปวิพากษวจิารณหรือประเมินคากอนจะนาํความคิดท่ีเสนอออกมาท้ังหมดกอน จะตองมีการยอมรับความคิดท่ีแปลกใหม และเปนการใหไดจํานวนความคิดมากกวาเนนคุณภาพของความคิด ยิ่งไดความคิดมากโอกาสไดความคิดดีๆ กมี็มากเชนกนั 2. มติเอกฉันท การตัดสินใจโดยท่ัวไปจะใชหลักเสียงสวนใหญหรือเสียงขางมากเปนเกณฑในการตัดสิน ในกรณีท่ีมีการใชเสียงแบบพวกมากลากไปหรือคนสวนมากอาจใชเหตุผลสูกับคนสวนนอยไมได ดังนั้นเพื่อใหมีการใชเหตุผลอยางไตรตรองก็ควรจะมีอภิปรายวิพากษวิจารณกันอยางรอบคอบทุกแงมุมแลว พยายามท่ีหักลางดวยเหตุผลจนกระท่ังทุกฝายทุกคนมีความเหน็เปนแบบมติเอกฉันท หรือ การเห็นพองตองกันจะทําใหไมเกดิภาวะผูชนะและผูแพแตอยางไร การตัดสินใจโดยมติเอกฉันทมีการหลักสําคัญ คือ ใชเหตุผลใหเสนอขอคิดเห็นของตนเองใหแจมแจงและมีเหตุผลท่ีสุดและตองฟงปฏิกิริยาจากคนอ่ืนๆ ดวยไมเนนการแพชนะ แตเนนชนะรวมใจกัน คิดเห็นหลักการอภิปรายเหมือนกันไมเปล่ียนใจงายๆ ใครท่ีคิดมีขอมูลดีก็ควรจะเขารวมในการแสดงความ

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี125

3. เทคนิคเดลฟาย (Delphi technique) เปนเทคนิคท่ีคิดคนวิธีเสาะหาความคิดเห็นของผูเช่ียวชาญเพือ่ใชเปนแนวทางในการตัดสินใจ โดยเสาะหาความคิดเห็นท่ีเปนอันหนึ่งอันเดยีวกันของกลุมคนเกีย่วกับความเปนไปในอนาคตในเร่ืองเกีย่วกบัเวลา ปริมาณ และสภาพท่ีตองการจะใหเปน เนนการเสาะหาความคิดเห็นดวยการสอบถามแทนการเรียกประชุม มีหลักการท่ีสําคัญ คือ ผูเช่ียวชาญท่ีเขารวมใชวิธีการเสนอความคิดเห็นโดยตอบสนองแบบสอบถาม ผูเช่ียวชาญที่เขารวมโครงการจะไมทราบวามีผูใดเขารวมโครงการดวยและไมทราบคําตอบของผูเช่ียวชาญอื่น และผูเช่ียวชาญจะทราบตําแหนงของคําตอบของตนเม่ือเปรียบเทียบความคิดเห็นของกลุมผูเช่ียวชาญท้ังหมดและมีสิทธิเปล่ียนแปลงความคิดเห็นท่ีใหไวแตเดิมแตตองระบุเหตุผลประกอบ การดําเนินการของเทคนิคเดลฟาย เร่ิมจากผูวจิัยคัดเลือกผูเช่ียวชาญเขารวมโครงการหลังจากนั้นออกแบบสอบถาม 4 รอบ ซ่ึงรอบแรกเปนคํานําคําตอบของผูเช่ียวชาญทั้งหมดมาใหผูเช่ียวชาญแตละคนใหน้ําหนัก รอบท่ีสามเปนการนําคําตอบของผูเช่ียวชาญที่ไดแบบมาในรอบท่ีสาม มาเปรียบเทียบกับคาน้ําหนักของคําตอบของผูเช่ียวชาญทั้งหมดเพื่อใหผูเช่ียวชาญแตละคนไดทบทวนคําตอบของตน สวนในรอบท่ีส่ีเปนการนําคําตอบท่ีไดรับจากรอบท่ีสามนําใหผูเช่ียวชาญทบทวนอีกคร้ังหนึ่ง ซ่ึงคําตอบท่ีไดรับจากการวิจยันี้ผูบริหารสามารถนําไปใชในการกําหนดเปนแนวทางเพ่ือการตัดสินใจตอไป 4. กลุมคุณภาพ เปนการตัดสินใจโดยใชกลุมเขามามีสวนรวม ซ่ึงโดยทัว่ไปมักจะคุนช่ือกันในรูปแบบกลุมควบคุมคุณภาพเปนการตัดสินใจโดยกลุมคนขนาดเล็ก ในสถานท่ีเดียวกันและมีงานลักษณะเดยีวกนัมารวมตวักนัอยางอิสระเพื่อทํากิจกรรมเดียวกับหารปรับปรุงงานอยางตอเนื่อง เพื่อพัฒนาตนเอง และพัฒนาซ่ึงกันและกันภายใตรอบอํานาจหนาท่ีของกลุมเปนไปโดยสอดคลองกับนโยบายของหนวยงานอันจะสงผลใหมีการปรับปรุงคุณภพการปฏิบัติงานของหนวยงาน หลักการที่สําคัญของกลุมคุณภาพ คือ เปนกลุมขนาดเล็กประมาณ 3-10 คน ทํางานในสถานท่ีเดียวกัน และทํางานในลักษณะเดียวกนั มีการรวมตัวอยางเต็มใจและอิสระไมมีการบังคับ มีการประชุมเพื่อแกไขปญหาประจํา การประชุมดังกลาวกอใหเกดิการเรียนรูและพัฒนาตนเองในกลุม และเปนการรวมกันในการคิดและการตัดสินใจเพื่อแกปญหาของทีมงาน ซ่ึงสอดคลองตอนโยบายของหนวยงานตน การดําเนนิงานของกลุมคุณภาพ มีข้ันตอนแรก คือ การคนหาปญหาและเลือกปญหาท่ีจะดําเนนิการ แลวรวบรวมขอมูลต้ังเปาหมายดําเนินการ วิเคราะหสาเหตุ วางแผน แกไขตรวจสอบผลปรับปรุงแกไขมาตรฐานเสนอผลงาน และเร่ิมทํากจิกรรมใหมในกระบวนการของกลุมคุณภาพสามารถสรุปเปนวงจรคุณภาพ 4 ประการ คือ พีดีซีเอ (PDCA) ซ่ึงหมายถึง วางแผน (Plan) ปฏิบัติ (Do)

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี126

เทคนิคการแกปญหา ในการคิดเพื่อหาวธีิแกไขปญหานั้นผูบริหารจะตองใชความคิดสรางสรรคอยางเต็มท่ีเพื่อหาวิธีท่ีมีความแตกตางและหลากหลายโดยควรจะวิเคราะหหาสาเหตุท่ีแทจริงเสียกอน จากน้ันพยายามใชความคิดสรางสรรคท่ีจะหาวิธีแกไขไวหลายๆ แนวทาง ซ่ึงมีหลักการที่สําคัญ คือ พยายามคิดอยางสรางสรรคจากประสบการณและความชํานาญท่ีมีอยู การใหความสําคัญกับทุกแนวความคิดเพื่อหาแนวทางการแกไข หลีกเล่ียงการวิพากษวิจารณหรือตัดสินความคิดเห็นใหมๆ ออกไป แตควรนําความคิดนั้นเปนตัวกระตุนใหเกิดความคิดท่ีสรางสรรค เพ่ือหาวิธีแกไขท่ีสืบเนื่องตอจากความคิดนั้น ถึงแมวาจะคิดหาทางแกไขท่ีไดดีท่ีสุดแลวก็ตาม แตก็ไมควรหยดุความพยายามท่ีจะคิดหาวิธีตอไป นอกจากนี้ควรพยายามทําความเขาใจเก่ียวกับวิธีแกไขทุกวิธีใหชัดเจน เพราะจะชวยทําใหผูบริหารเกิดความคิดใหมๆข้ึนมาได โดยท่ัวไปการกําหนดกลยุทธของธุรกิจมักจะเผชิญกับปญหา ท้ังท่ีมีสาเหตุมาจากภายนอกองคการหรือมาจากภายในองคการอยางหลีกเล่ียงไมได ดงันั้นผูบริหารเชิงกลยุทธจําเปนจะตองพยายามลดปญหาท่ีเกิดข้ึนใหเหลือนอยที่สุด โดยเฉพาะอยางยิ่งปญหาท่ีมาจากภายในองคการและสามารถแกไขได ปญหา หมายถึง อุปสรรคหรือปจจัยท่ีกอใหเกดิความขัดของ ตลอดจนทําใหผลการดําเนนิงานท่ีไมสามารถบรรลุถึงจุดหมายท่ีกําหนดไว และเม่ือมีปญหาหรืออุปสรรคเกิดข้ึนไมวาปญหาน้ันจะมีความสาํคัญหรือไม การท่ีจะใหไดมาซ่ึงแนวทางในการแกไขเพื่อท่ีใหเกดิประโยชนสูงสุดไดนั้น ผูบริหารจะตองทําการวิเคราะหปญหาท่ีเกดิข้ึน คนหาสาเหตุ วิเคราะหสถานการณ เปนตน สําหรับการวิเคราะหปญหาเพื่อหาวิธีแกไขอยางเหมาะสมมี 2 วิธี ไดแกการหาประเดน็ท่ีสําคัญของปญหาและการตีประเด็นปญหาใหแตก (สุโขทัยธรรมาธิราช, 2546, หนา 38-42) ดังนี ้ 1. การหาประเด็นท่ีสําคัญของปญหา กระบวนการหาจุดสําคัญของปญหา เร่ิมตนดวย การตั้งคําถามข้ึนแลวหาคําตอบท่ีคิดวาจะเปนสาเหตุ ดังนั้นการใชคําถามท่ีเหมาะสมจึงมีความสําคัญเพราะจะนําไปสูการแกปญหาอยางตรงจุดดวยการตั้งคําถาม การจับประเด็นหรือจุดสําคัญของปญหา คือ การบีบประเด็นปญหาตางๆ ใหแคบโดยการศึกษาลักษณะปญหาอยางถ่ีถวน การทําใหประเด็นปญหาแคบลงจากการรวบรวมส่ิงท่ีเกิดข้ึนและคิดวาเปนสาเหตุสําคัญ วิธีการรวบรวมส่ิงท่ีเกิดข้ึนอาจทําโดยการใชแบบแสดงความคิดเห็นขอเสนอแนะของลูกคา แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี127

2. การตปีระเดน็ปญหาใหแตก วิธีการในการตีประเดน็ปญหาเพื่อสาเหตุของปญหาไดอยางแทจริง คือ การใชแผนภาพประเดน็ปญหา วิธีการหาแผนภาพประเดน็ปญหา คือ การคอยๆ แตกแขนงประเด็นปญหาท่ีมีอยูออกเปนประเด็นยอยๆ โดยการต้ังคําถามไปสูคําตอบใชหรือไมใช ดวยวิธีการเชนนี้จะทําใหสามารถแตกประเด็นปญหายอยๆ ไดจากประเด็นปญหายอยๆ สามารถนําไปสูวิธีการแกปญหาไดอยางเหมาะสม เชน องคการแหงหนึ่งใชแผนภาพประเดน็ปญหาเพื่อตีประเด็นปญหาของสินคาซ่ึงกําลังเส่ือมความนิยมจากลูกคา เนื่องจากราคาที่กําหนดไวสูงกวาสินคาประเภทเดียวกันกับองคการอ่ืนๆ ปญหาท่ีเกิดข้ึน คือ จะลดตนทุนการผลิตสินคานี้ไดอยางไร สําหรับการแกไขปญหาและการตัดสินใจ ประกอบดวยการวิเคราะหในดานตางๆ เชน การวิเคราะหสถานการณ เปนการพิจารณาถึงงานท่ีรับผิดชอบหรือปญหาท่ีตองแกไข หากมีหลายปญหาที่ตองดําเนินการจัดลําดับความสําคัญเพื่อท่ีจะดูวาตองทําอะไรกอนและอะไรทําหลัง การวิเคราะหหาสาเหตุแหงปญหา เพ่ือการแกไขปญหาใหตรงสาเหตุ การวิเคราะหวิธีแกปญหา โดยปญหาหนึ่งอาจมีทางออกหลายทางตองวิเคราะหแลวเลือกวิธีท่ีเหมาะสมในการแกไขปญหา และ การวิเคราะหวิธีปองกันไมใหปญหาเกิดขึ้น และเตรียมการแกไขปญหาในอนาคต

ส่ิงท่ีเกิดขึน้จริง 1. อายุเฉล่ียของบุคลากรเพ่ิมขึ้น 2. การเล่ือนตําแหนงยึดตามระบบอาวุโส

3. บุคลากรอายุนอยขาดกําลังใจ 4. มีการทํางานลวงเวลาประจํา

5. ไมมีผลิตภัณฑใหมออกสูตลาด 6. กําไรลดลง

การจัดกลุมปญหา 1. ดานทรัพยากรมนุษย 2. ดานการผลิต

ผลท่ีเกิดขึ้นจากปญหา 1. ขาดความคลองตัวในการจัดองคการ 2. การบริหารบุคลากรขาดประสิทธิภาพ

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี128

3. ตนทุนการผลิตสูงขึ้น

กําหนดวิธีการแกไข 1. ทําการจัดองคการใหม 2. แผนเพ่ิมผลกําไร

ภาพท่ี 5.3 แสดงกระบวนการทําประเด็นปญหาใหแคบลง ท่ีมา (สุโขทัยธรรมาธิราช, 2546, หนา 39)

จากภาพที่ 5.3 แสดงกระบวนการทําประเด็นปญหาใหแคบลงประกอบดวย 4 ข้ันตอน ซ่ึงมีกระบวนการเร่ิมตนจาก การระบุถึงส่ิงท่ีเกิดข้ึนจริง การจัดกลุมปญหา การระบุผลที่เกิดข้ึนจากปญหาและกาํหนดวิธีการแกไข ตามลําดับ กระบวนการทําประเด็นปญหาใหแคบลง เชน องคการแหงหนึ่งมีปญหาหลายดาน ไดแก เกดิตนทุนสูงเนือ่งจากการทํางานลวงเวลา อายุเฉล่ียของบุคลากรเพิ่มข้ึนแตผลงานลดลง การเล่ือนตําแหนงยึดตามระบบอาวุโสทําใหบุคลากรท่ีมีอายุนอยขาดกําลังใจในการทํางาน เงินเดือนบุคลากรสูงข้ึน เปนตน ประเดน็ปญหาท่ีเกิดข้ึนนี้ผูบริหารสามารถทําใหปญหาแคบลงและกําหนดวิธีการแกไขไดอยางเหมาะสมตอไป

ปญหา

ไมใช ใช

ไมใช ใช ไมใช

ไมใช ใช ใช

ไดหรือไม

ขอกําหนดลักษณะเฉพาะของผลิตภัณฑ ราคาสูงไปหรือไม

ตนทุนคงที่สูงหรือไม ลูกคาช่ืนชอบคุณภาพผลิตภัณฑหรือไม

จัดซื้ออยางประหยัดหรือไม

ผลิตชาไปหรือไม

พิจารณากลยุทธการตลาดใหม ออกแบบ

ผลิตภัณฑใหม

ควบคุมคาใชจายคงที ่

ตนทุนผันแปรสูงไปหรือไม

สามารถลดตนทุนการผลิตสินคา

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี129

ไมใช ใช ไมใช ใช

ภาพท่ี 5.4 แสดงการหาประเด็นปญหาจากสาเหตุ ท่ีมา (ศิริวรรณ เสรีรัตน, กิง่พร ทองใบ, สมชาย หิรัญกิตติ, สุพาดา สิริกุตตา และนชุนาฏ รามสมภพ, 2541, หนา 29) จากภาพที่ 5.4 แสดงถึงวิธีการหาประเดน็ปญหาท่ีเกิดจากสาเหตุ พบวา จากการตัดสินใจทางธุรกิจโดยสวนใหญนั้นจะเปนการตัดสินใจภายใตสถานการณท่ีมีความไมแนนอนอยูดวย ซ่ึงผลท่ีเกิดจากการตัดสินใจอาจบรรลุเปาหมายหรือไมก็ได เนื่องจากผูบริหารอาจจะขาดขอมูลท่ีสําคัญในการตัดสินใจ เปนตน อยางไรก็ตามผูบริหารก็ยังสามารถใชเหตุผลเพ่ือสนับสนุนการตัดสินใจได เชน ปญหาท่ีเกิดจากการกําหนดราคาผลิตภัณฑไวสูงทําใหลูกคาซ้ือนอยลง ผูบริหารจึงไดทําการหาแนวทางในการแกไข โดยผูบริหารอาจจะพิจารณาลดตนทุนเพื่อกาํหนดราคาขายท่ีลดลง เปนตน

ขั้นตอนการแกไขปญหา ข้ันตอนของการตัดสินใจของผูบริหารท่ีมองการณไกลในดานปญหา มีข้ันตอนท่ีสําคัญในการดําเนินการ 5 ข้ันตอน (สุโขทัยธรรมาธิราช, 2546, หนา 41-42) ดังนี ้ 1. การกําหนดขอบเขตของธุรกิจ การกําหนดขอบเขตของธุรกิจไมควรกําหนดกวางเกินไป เนื่องจากจะทําใหเกิดการกระจายทรัพยากรท่ีมีอยูอยางจํากัดของธุรกิจมากเกินไป ดังนั้นการพัฒนาความสามารถในการสรางความเขาใจในการผลิตท่ีสอดคลองกับความตองการของลูกคา 2. การสรางภาพเชงิกลยุทธ กลยุทธระยะยาวท่ีประสบความสําเร็จนั้นมักเปนกลยุทธท่ีเขาใจงาย โดยจะเปนกลยทุธท่ีกําหนดขึน้จากการผลิตผลิตภณัฑหรือดาํเนนิการในธุรกิจใหม ๆ ไดแก การวเิคราะหลูกคาเปาหมาย ทําใหองคการทราบวาควรปรับปรุงผลิตภัณฑท่ีสอดคลองกับความตองการได การวิเคราะหเปนตนทุนท่ีใชบริการลูกคา และการทําความเขาใจถึงสาเหตุของการยอมรับจากลูกคาแลวหาแนวทางพัฒนาผลิตภณัฑข้ึนตอไป

ปรับปรุงกระบวนการผลิต

ปรับปรุงการจัดซื้อ ปรับปรุงการบํารุงรักษาบุคลากร

ปรับปรุงการควบคุมคุณภาพ

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี130

3. การเผชิญกับทางเลือก หลังจากกลยุทธไดถูกกาํหนดข้ึนแลว การเลือกวิธีการท่ีจะดําเนินการ องคการควรใชทรัพยากรที่มีอยูดําเนินการตามลําดับความสามารถและความสําคัญในการบริหารและการจัดสรรทรัพยากรอยางเหมาะสม ซ่ึงเปนปจจัยท่ีมีความสําคัญตอความสําเร็จทางธุรกิจ 4. การดําเนินการอยางม่ันคง เวลาเปนองคประกอบที่สําคัญตอการดําเนินกลยุทธใหประสบความสําเร็จ ถึงแมเปาหมายจะถูกกําหนดไวเปนอยางดีเพียงใด แตเม่ือนาํมาปฏิบัติก็มักจะถูกจํากัดดวยเง่ือนไขจากทรัพยากรท่ีมีอยู ดังนั้นการกาวไปอยางชาๆ แตมีความม่ันคงจะสามารถไปสูจุดมุงหมายไดดกีวารีบรอนโดยขาดความรอบคอบ การตดัสินใจท่ีรอบคอบจะเปนปจจยัท่ีสําคัญตอการประสบผลสําเร็จในการดําเนินธุรกิจ 5. การยึดม่ันกับพื้นฐาน ผูบริหารท่ีมองการณไกลจะตองยึดถือพื้นฐานท่ีสําคัญในการดําเนินธุรกิจของตน ไมวาจะเปนสวนของตลาดที่ดําเนนิธุรกิจอยูหรือชนิดของธุรกิจหรือบริการท่ีใหลูกคา ประเภทของลูกคา เปนตน ผูบริหารท่ีมีความสามารถจะไมเปล่ียนแนวทางการดําเนินธุรกิจเพียงเพราะตองการตอบสนองความตองการของตนเอง แตจะเปล่ียนแนวทางการดําเนินธุรกิจ เนื่องจากความเขาใจถึงความจําเปนในการเปล่ียนแปลงอยางแทจริง การตัดสินใจของผูบริหารที่ถูกตองและสามารถมองการณไดไกลนัน้ จะตองอาศัยเง่ือนไขท่ีสําคัญ คือ การทําความเขาใจอยางชัดเจนถึงธุรกิจท่ีกาํลังดําเนินการอยูและกลยุทธท่ีเหมาะสมท่ีถูกนํามาใช ประกอบกับความสามารถในการบริหารทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอยางยิ่งทรัพยากรมนษุย รวมท้ังความเช่ือม่ันในความสําเร็จตลอดจนความพรอมท่ีจะเปล่ียนแนวทางธุรกิจท่ีทําอยูใหสอดคลองกับความตองการของลูกคา ซ่ึงลวนเปนปจจยัท่ีสําคัญตอความสําเร็จท้ังส้ิน

สรุป บทบาทและหนาท่ีของผูบริหารที่สําคัญ ไดแก หนาท่ีในการตัดสินใจซ่ึงเปนบทบาทท่ีมีความสําคัญท่ีสุดและจาํเปนท่ีจะตองทําการตัดสินใจในสถานการณตางๆ นัน่คือผูบริหารไมสามารถหลีกเล่ียงบทบาทและหนาดานการตัดสินใจ (Decision Making) ไปได ดังนั้นผูบริหารจึงควรฝกฝนเทคนคิดานการตัดสินใจ เพือ่เปนการเพิ่มพูนทักษะความสามารถดานการตัดสินใจเพ่ือชวยใหสามารถปฏิบัติงานไดมีประสิทธิภาพมากข้ึน การตัดสินใจ หมายถึง กระบวนการท่ีผูบริหารใชในการแกไขปญหาขององคการ ซ่ึงอยูบนพื้นฐานขอมูลขาวสารที่ไดรับจากโครงสรางองคการ พฤติกรรมของบุคคล และกลุมในองคการ จากน้ัน จึงผูบริหารทําการคนหาทางเลือกหรือแนวทางปฏิบัติท่ีเหมาะสมและดีท่ีสุดเพื่อการบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายขององคการท่ีไดกําหนดไว

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี131

การแบงประเภทของการตัดสินใจ สามารถแบงได คือ การตัดสินใจแบบโครงสราง การตัดสินใจแบบไมเปนโครงสราง และการตัดสินใจแบบกึ่งโครงสราง ซ่ึงองคประกอบของการตัดสินใจมี 4 ประการ คือ ผูทําการตัดสินใจ เปนองคประกอบท่ีสําคัญท่ีสุด ประเด็นปญหาท่ีตองตัดสินใจ ทางเลือกตาง ๆ ท่ีบรรลุเปาหมายได และสภาวการณท่ีทําการตัดสินใจ สําหรับกระบวนการตัดสินใจ ไดแก การกําหนดปญหา และวิเคราะหสาเหตุของปญหา การกําหนดทางเลือกตางๆ ท่ีจะใชแกปญหา การประเมินผลทางเลือกท่ีกําหนด การตดัสินใจเลือกท่ีเหมาะสมท่ีสุด ดําเนนิการตามทางเลือกท่ีตัดสินใจ และการประเมินผลท่ีเกิดจากทางเลือกนั้นๆ โดยผูบริหารสามารถใชตวัแบบของการตดัสินใจทางการบริหาร ไดแก ตวัแบบการตัดสินใจโดยใชเหตุผล ตัวแบบการตดัสินใจโดยความพึงพอใจ ตัวแบบการตัดสินใจโดยสวนเพิ่ม ตัวแบบการตัดสินใจโดยความไมแนนอน ตัวแบบการตัดสินใจโดยนวัตกรรมและการเรียนรู การตัดสินใจเชิงปริมาณท่ีสําคัญ เชน เทคนิคแขนงการตัดสินใจและเทคนิคผลตอบแทนท่ีคาดหวัง คือ แขนงการตัดสินใจ (Decision Tree) และผลตอบแทนที่คาดหวัง (Payoff Matrix) สวนการตัดสินใจเชิงคุณภาพเปนเทคนิคท่ีไมไดนําตัวเลข หรือแบบทางคณิตศาสตรมาชวยในการตัดสินใจแตเปนการใชทักษะความรู สติปญญา และประสบการณของผูจัดทําการตัดสินใจเปนสําคัญ การตัดสินใจเชิงคุณภาพ 4 เทคนิค ไดแก การระดมสมอง มติเอกฉันท เทคนิคเดลฟาย และกลุมคุณภาพ ในการวิเคราะหปญหาเพื่อหาวิธีแกไขอยางเหมาะสมมี 2 วิธี ไดแก การหาประเด็นท่ีสําคัญของปญหาและการตีประเด็นเกี่ยวกับปญหาใหแตกฉาน สวนข้ันตอนของการตัดสินใจของผูบริหารในการแกไขปญหา มีข้ันตอน คือ การกําหนดขอบเขตของธุรกิจ การสรางภาพเชิงกลยุทธ การเผชิญกับทางเลือก การดําเนินการอยางม่ันคง และการยึดม่ันกบัพืน้ฐาน ตามลําดับ

แบบฝกหัดทายบท

เอกสารอางอิง

ชนงกรณ กุณฑลบุตร. (2547). หลักการจัดการ: องคการและการจัดการแนวคิดการบริหารธุรกิจใน สถานการณปจจุบนั. (พิมพคร้ังท่ี 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. บรรยงค โตจินดา. (2548). องคการและการจัดการ. (พมิพคร้ังท่ี 3). กรุงเทพฯ: รวมสาสน. ศิริพร พงศศรีโรจน. (2540). องคการและการจัดการ. (พมิพคร้ังท่ี 6). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี132

ธุรกิจบัณฑิตย. ศิริวรรณ เสรีรัตน, กิ่งพร ทองใบ, สมชาย หรัิญกิตติ, สุพาดา สิริกุตตา และนุชนาฏ รามสมภพ. (2541). นโยบายธุรกิจและการบริหารเชิงกลยุทธ. กรุงเทพฯ: ธีระการพิมพและไซเท็กซ จํากัด. สมคิด บางโม. (2548). องคการและการจัดการ. (พิมพคร้ังท่ี 4). กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน. สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย. (2546). การจัดการเชิงกลยุทธ. (พิมพคร้ังท่ี 3). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

องคการและการจัดการ. (พิมพคร้ังท่ี 6). นนทบุรี: ชวนพิมพ. . (2548). (http://en.wikipedia.org/wiki/Decision_making) (http://www.nrru.ac.th/article/leadership/page8.1.html) (http://irrigation.rid.go.th/rid15/ppn/Knowledge/Decision%20Support%20Systems/dss1.htm) (http://isc.ru.ac.th/data/BA0000821.doc) บทท่ี 5 การตัดสินใจ ความสําคัญของการตัดสินใจ ความหมายของการตัดสินใจ ทฤษฎีการตัดสินใจ ประเภทของการตัดสินใจ องคประกอบของการตัดสินใจ ข้ันตอนในการตัดสินใจ ตัวแบบการตดัสินใจทางการบริหาร เทคนิคการตัดสินใจเชิงปริมาณ เทคนิคการตัดสินใจเชิงคุณภาพ เทคนิคการแกปญหา สรุป ภาพท่ี 5.1 ข้ันตอนในการตัดสินใจ ภาพที่ 5.2 แขนงการตัดสินใจ ภาพท่ี 5.3 แสดงกระบวนการทําประเด็นปญหาใหแคบลง ภาพท่ี 5.4 แสดงการหาประเด็นปญหาจากสาเหตุ

วิชาองคการและการจัดการ ผศ.ดร.วรพจน บุษราคัมวด ี133