28
รรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร 1 รรรรรรร ร.ร. 2563 รรร 30 รรรรรรร ร.ร. 2563 รรร รรรรรรรรรรรรร รรรรรร รรรรรรรรรรร 332 รรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรร Covid-19 (STeP)

 · Web viewของ นางสาวจ ฑามาศ แสงสาย รห สโครงการ 332 โครงการจ างงานประชาชน เพ

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

รายงานฉบับสมบูรณ์

การปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

ถึง 30 กันยายน พ.ศ. 2563

ของ นางสาวจุฑามาศ แสงสาย

รหัสโครงการ 332 โครงการจ้างงานประชาชนเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจาก Covid-19 (STeP)

เสนอ

หน่วยสนับสนุนวิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

30 กันยายน 2563

บทที่ 1บทนำ

1.1 ความเป็นมาของการเข้าร่วมโครงการ

1.1.1 ภาวะการมีงานทำหรือสถานการณ์ ก่อนสมัครเข้าร่วมโครงการ1.1.2 การรับรู้ประกาศรับสมัครเข้าร่วมโครงการ1.1.3 การทำความรู้จักผู้รับผิดชอบโครงการและทีม

1.2 รายละเอียดโครงการ

1.2.1 ชื่อโครงการ โครงการจ้างงานประชาชนเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจาก Covid-19 (STeP) รหัสโครงการ 332 1.2.2 หัวหน้าโครงการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เกษมศักดิ์ อุทัยชนะ 1.2.3 หลักการและเหตุผล

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หรือ อว. ร่วมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดำเนินการโครงการ “อว.สร้างงาน เฟส 2” ช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด-19 ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2563 จำนวน 2,963 อัตรา โดยมีค่าจ้างเดือนละ 9,000 บาท ระยะเวลา 3 เดือน ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม - กันยายน 2563 เพื่อรองรับผลกระทบจากสถานการณ์วิกฤตและเสริมศักยภาพให้กับกำลังแรงงานสมัยใหม่ และส่งเสริมการพัฒนาทักษะในการทำงานในด้านต่าง ๆ ให้แก่แรงงานตามภารกิจเฉพาะของหน่วยดำเนินการภายใต้ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ที่จะดำเนินการในลักษณะการช่วยงานและการถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของหน่วยงานที่ดำเนินการในชุมชนเมืองและชุมชนชนบท ซึ่งเป็นโครงการที่สอดรับกับนโยบายของรัฐบาลที่ช่วยให้ผู้ว่างงาน ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 ซึ่งมีภูมิลำเนาและมีความพร้อมในการปฏิบัติงานในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน รวมถึงพื้นที่ทำงานร่วมของนักวิชาการมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หรือต้องไม่ได้ได้รับเงินเยียวยาจากโครงการที่รัฐบาลช่วยเหลือ และไม่มีการจำกัดวุฒิการศึกษาได้มีงานทำ และได้รับการพัฒนาทักษะในการทำงานในด้านต่าง ๆ ทางด้านวิชาการเพื่อต่อยอดเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพต่อไปได้

1.2.4 วัตถุประสงค์

1.2.4.1 เพื่อรองรับผู้ที่ว่างงานจากสถานการณ์ COVID-19 1.2.4.2 เพื่อเสริมศักยภาพให้กับกำลังแรงงานสมัยใหม่และส่งเสริมพัฒนาทักษะการทำงานใน ด้านต่าง ๆ ให้แก่แรงงานผ่านการบูรณาการทักษะความรู้ให้สอดคล้องกับวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม

1.2.5 ขั้นตอนการดำเนินการ (ให้กรอกเพียงโครงการของตนเอง)

1.2.5.1 เชื่อมโยงความร่วมมือทั้ง 4 ส่วน ได้แก่ ภาคเอกชน ภาคการศึกษา ภาครัฐบาล และภาคชุมชนในการพัฒนาธุรกิจวิทายาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม 1.2.5.2 ให้บริการโดยผู้เชี่ยวชาญในการผลักดันองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีแลนวัตกรรมออกสู่เชิงพาณิชย์ 1.2.5.3 ให้บริการพัฒนาธุรกิจเทคโนโลยีและนวัตกรรมครบวงจรอย่างมืออาชีพ ด้วยโครงสร้างพื้นฐานที่มีคุณภาพ 1.2.5.4 สร้างระบบบ่มเพาะธุรกิจเทคโนโลยีที่ดีสำหรับ Startup และผู้ประกอบการนวัตกรรม

1.2.6 ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.2.6.1 ผู้ที่ว่างงานจากสถานการณ์ COVID-19 ได้รับการจ้างงาน

1.2.6.2 ผู้ที่ว่างงานได้รับการพัฒนาทักษะการทำงาน เสริมศักยภาพให้กับกำลังแรงงานสมัยใหม่ผ่านการบูรณาการทักษะความรู้ให้สอดคล้องกับวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม

1.2.7 งบประมาณและระยะเวลา

กำหนดระยะเวลาการจ้างงานตั้งแต่เดือนกรกฎาคม – กันยายน พ.ศ. 2563 เป็นระยะเวลา 3 เดือน เดือนละ 9,000 บาท (เก้าพันบาทถ้วน) รวมเป็นเงิน 27,000 บาท (สองหมื่นเจ็ดพันบาทถ้วน)

1.3 หน้าที่ / ความรับผิดชอบ / เนื้องานที่ปฏิบัติในโครงการ

1.3.1 หน้าที่/ความรับผิดชอบ

หน้าที่ในการทำงานที่หน่วย SD (Startup Development) ภายใต้โครงการการพัฒนากระบวนการบริหารงานภายในองค์กร โดยใช้แนวคิดและหลักการบริหารงานแบบ “Agile” และ ระบบบริหารงานบุคคลโดยหลัก OKR โดยมีความรับผิดชอบในการสืบค้นและรวบรวมข้อมูล เพื่อทำความเข้าใจในองค์ความรู้เพื่อมาประยุกต์ใช้ในองค์การอย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อปรับปรุงการทำงานขององค์กรให้เกิดกระบวนการในการทำงานที่ดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด รวมถึงการจัดทำสื่อต่าง ๆ เพื่อนำเสนอให้กับกลุ่มผู้บริหารและบุคคลากรให้เข้าใจได้ง่ายในหลักการดังกล่าว เพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไขภายในองค์กรต่อไปในอนาคต 1.3.2 ลักษณะงานที่ปฏิบัติในโครงการ

ลักษณะงานโดยภาพรวมที่ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายส่วนมากจะเป็นการสืบหา ค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวการตลาดของโครงการวิจัยที่จะนำไปสู่การจัดทำ Business model เพื่อออกสู่ตลาด ในอนาคต โดยจะรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่วิธีการผลิต กระบวนการผลิต ความแตกต่างและจุดเด่น แบรนด์คู่แข่ง กฎหมายที่รองรับ พรบ.ที่เกี่ยวข้อง การรับรองมาตรฐาน แนวโน้มการเติบโตของตัวผลิตภัณฑ์ในอนาคตโดยวิเคราะห์ร่วมการตลาดปัจจุบันและแนวโน้มตลาดในอนาคต การตั้งราคาให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีการจัดทำโครงการแข่งขันของผู้ประกอบการ Start up เพื่อหาผู้ที่ได้รับเงินทุนไปต่อยอดกิจการ โดยช่วยเหลือบุคลากรในเรื่องรายละเอียดต่าง ๆ เช่นการจัดเตรียมเอกสารจัดซื้อ ตารางลำดับการทำงาน ตรวจสอบความพร้อมในการจัดงาน เตรียมอุปกรณ์ใช้สำหรับการดำเนินงาน เตรียมสถานที่และลำดับงานภายในวันงานและอำนวยความสะดวกผู้ร่วมงาน ในการจัดกิจกรรมโครงการ และยังมีการทำงานย่อย ๆ เช่น เตรียมกิจกรรมวันเกิด The brick start up space, ซ่อมแซมสิ่งของเครื่องในภายในสำนักงาน ทำรายชื่อวิทยากรที่เชี่ยวชาญในด้านต่าง ๆ การศึกษาข้อมูล Ecosystem เพื่อทำความเข้าใจในหลักการ กระบวนการ และคิดสรุปองค์ความรู้ เพิ่มพูนประสบการณ์และความรู้ ช่วยให้บุคลากรและผู้รับผิดชอบ ง่ายต่อการทำความเข้าใจและดำเนินงานได้ราบรื่นยิ่งขึ้น

บทที่ 2

การดำเนินงาน

2.1 การปฏิบัติงาน

2.1.1 การปฏิบัติงานในแต่ละวัน

วันที่เดือนกรกฎาคม 2563

วันที่เดือนสิงหาคม 2563

วันที่เดือนกันยายน 2563

2.1.2 ปัญหาที่พบระหว่างทาง / แนวทางการแก้ไขปัญหา

ลำดับที่

ปัญหา / ข้อจำกัดในการทำงาน

วิธีการแก้ไขปัญหา

1

ขาดความรู้ในเนื้องานและโครงการ

ศึกษาข้อมูลและถามคนที่มีความรู้

2

การรับงานจากหลายทางมากเกิน

ควรแบ่งพี่เลี้ยงอย่างจริงจัง

3

ขาดการสื่อสารของแต่ละโครงการ

พยายามติดต่ออย่างสม่ำเสมอ

4

ปริมาณงานไม่สอดคล้องกับเวลา

บริหารจัดการและวางแผน

5

ความคิดเห็นไม่ตรงกับทีมงาน

สื่อสารแสดงความต้องการอย่างตรงไปตรงมา

6

อุปนิสัยการทำงานไม่ตรงกับทีมงาน

ปรับการทำงานและฝึกปล่อยวาง

บทที่ 3

ผลการดำเนินงาน

3.1 ผลงานที่เกิดขึ้น

3.1.1 ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม ตามการมอบหมายของผู้รับผิดชอบโครงการ ในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้

ก) ข้อมูล “เนื้อหา” ในรูปความเรียง

Stage-Gate New Product Development Process

ขั้นตอนการพัฒนาสินค้าใหม่

Stage-Gate ที่เป็นรูปแบบการคิดก่อนเริ่มต้นทำธุรกิจหรือพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยการแยกขบวนการทั้งหมดออกเป็นขั้นตอนย่อย ๆ ตั้งแต่เมื่อยังเป็นความคิดไปทีละขั้นจนถึงขั้นตอนสุดท้ายคือผลิตสินค้าออกสู่ตลาด จะมี 0-5 Stage ดังนี้

Stage 0: Discover

In this stage, companies tend to discover the opportunities and what they are capable of doing. This can be achieved by conducting marking research, investigating the market needs, and brainstorming ideas through methods such as mind maps and brainstorming.

Stage 1: Scoping

The team evaluates the product idea and its scope. In this stage, the team tries to identify whether the idea is viable and can present a market opportunity. This can be achieved through tools—such as the SWOT analysis—that help the team to evaluate the idea based on strengths, weaknesses, opportunities, and threats.

Stage 2: Build Business Case

Once the idea is formed and there is clear vision about the product, the team works to build a product definition and analysis, a business case, a project plan, and a feasibility review.

Stage 3: Development

In this stage, the team applies the plan formulated in the above stages and puts it into action by building a prototype for the product. The timeline is this stage is very important to achieve five factors: specific, measurable, actionable, realistic, and time-round (SMART). The timeline is always updated based on the production status.

Figure 2. The standard Stage-Gate New Product Development Process

Stage 4: Testing and Validation

In this stage, the prototype is tested, and feedback is collected to improve the prototype. The testing includes team testing for problems and issues in the product. Then, it goes for the field test, which includes consumer testing for the product in a beta version and a marketing test to identify market feasibility for the product.

Stage 5: Launch

Once the product passes all the stages, it moves directly to the launch stage, where the product is introduced to the market based on a marketing strategy. In this stage, the marketing team plays an essential role in creating the market need and increasing market exposure for the product.

https://www.designorate.com/stage-gate-new-product-development-process/

Stage gate models

· Origins in military and particularly in Robert Cooper’s Project NEWPROD

· Widely used and adapted – principles the same but needs configuring to local circumstances

· Increasingly hard to pass through later gate (higher invesment of resources)

· Multiple tracks for different kinds of project – simple light touch through to detailed review

Using a stage gate approach

· Use a series of gate within a project which allow for periodic review

· If everything still looks OK, then open the gate

· If there are problems, review and perhaps pivot

· If things are going badly wrong, kill the project

· Without some form of review we risk project overruns, failure to meet specifications, market and other failures

Summary

· Need to manage differant stage – development funnel

· Need. project management

· Need uncertainly management, regular review

· Stage gate and similar checks and option to stop, pivot, shelve, etc

· Variations on the stage gate theme

ในส่วนของ Stage-gate ที่เป็นกระบวนการในการคัดกรองโครงการสำหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือกระบวนการต่าง ๆ โดยอาศัยการแบ่งลำดับออกเป็นขั้นๆ เพื่อความสะดวกในการเลือกโครงการที่จะทำ หรือประเมินความเป็นไปได้และติดตามความคืบหน้าของโครงการเป็นระยะ จะแบ่งได้ดังนี้

Stage 0 Ideation ค้นหาความเป็นไปได้ในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หรือตลาดแบบคร่าว ๆ แล้วเสนอเข้า Gate 1

Stage 1 Analysis หรือ Preliminary experiment เป็นขั้นตอนต่อมาหลังผ่าน Gate 1 มาได้ โดยทดลองในระดับเบื้องต้นก่อน ใช้งบลงทุนไม่มาก ทำกันในห้อง lab เล็ก ๆ เมื่อเล็งเห็นแล้วว่ามีความเป็นไปได้ ก็เสนอเข้า Gate 2

Stage 2 Lab-scale development เมื่อได้ผลและผ่าน Gate 2 มาแล้ว จึงเริ่มงานวิจัย พร้อม ๆ กับดูข้อมูลด้านการตลาด การผลิต และอื่น ๆ อย่างรอบด้านในระดับย่อย ๆ ไปด้วย พอได้ต้นแบบ Prototype จริง ๆ พร้อมความเป็นไปได้ในทางการตลาด และการผลิต ค่อยเสนอ Gate 3 ต่อ

Stage 3 Pilo scale หรืออาจจะเป็น Pre commercial โดยทำการ scale up จาก lab สู่ตลาดในระดับต้น เพื่อลองตลาดก่อน และนำข้อมูลที่ได้ไปวินิจฉัยต่อว่าควรจะลุย Gate 4 หรือไม่

Stage 4 Commercialization คือการลุยตลาดและขายเต็มตัว

เกี่ยวกับการบริหารงานด้วยหลัก agile/scrum/sprint

แนวคิดแบบอไจล์ (Agile) คือ การปรับปรุงกระบวนการให้ทำงานได้เร็วขึ้น มีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ใช่ว่าอไจล์จะเหมาะกับทุกองค์กร แต่ละองค์กรย่อมมีวัฒนธรรมการทำงานที่แตกต่างกันออกไป ดังนั้นการนำแนวคิดแบบอไจน์มาใช้จึงไม่มีแบบสำเร็จรูปตายตัว แต่ละองค์กรจะต้องหาวิธีมาปรับใช้ให้เหมาะกับวัฒนธรรมขององค์กรเอง

โลกของการทำงานทุกวันนี้ องค์กรต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วตลอดเวลา ทั้งในด้านการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี สงครามการค้าระหว่างประเทศ รวมถึงความต้องการของผู้บริโภคที่แปรผันไปตามกระแสสังคมและเป็นแบบส่วนบุคคลมากยิ่งขึ้น เหล่านี้จึงเป็นเหตุให้องค์กรที่ปรับตัวช้า ไม่ทันต่อกระแสยุคดิจิตอล กลายเป็นองค์กรที่ล้าหลังและอาจต้องปิดกิจการลงในที่สุด ดังนั้นการที่องค์กรจะอยู่รอดได้ จำเป็นต้องเตรียมพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ไม่เฉพาะแค่เรื่องการเพิ่มขีดความสามารถเท่านั้น แต่ต้องเพิ่ม ‘ความเร็ว’ ที่องค์กรจะต้องบริหารเรื่องนี้อย่างมีประสิทธิภาพด้วย

‘Agile’ เป็นแนวคิดในการทำงาน (โดยเฉพาะ งาน IT, Technology, Software Development) เป็นทางเลือกอีกทางหนึ่ง ที่เข้ามาแทนที่แนวคิดเดิมอย่าง ‘Waterfall’ ซึ่งแต่ก่อนนี้ การทำงานแบบ Waterfall จะเป็นการวางแผน กำหนดเป้าหมาย กระจายงาน ใน step ขั้นตอนเดียว ทำให้กว่าจะได้ผลลัพธ์สุดท้าย ใช้เวลานาน เกิดเป็นปัญหาใหญ่ตามมา 2 ประการสำคัญ ได้แก่

•ปัญหาเรื่องการวางแผนให้เป็นไปตามเวลา และงบประมาณ เนื่องจาก scope ของงานใหญ่ และมีการแบ่งทีมกันดูแล ทำให้ใช้เวลาในการรวบรวมงาน หรือ communicate กันระดับหนึ่ง ส่งผลให้กว่าจะสำเร็จดังเป้าหมาย

•ปัญหาเรื่องการเปลี่ยนแปลงทั้งภายใน และภายนอก ที่ส่งผลให้โปรเจคต้องถูกพับเก็บไป เนื่องจากเป็น scope ใหญ่ ที่วางแผนระยะยาว ทำให้เมื่อเกิดปัญหา ที่ผิดพลาดไปจากแผน ก็ไม่สามารถปรับตัว หรือเปลี่ยนแปลงอะไรได้มากนัก

สกรัมคือการนำแนวคิดในการทำงานแบบ Agile (อไจล์) มาปฏิบัติตามขั้นตอนของสกรัม เพื่อระบุปัญหาที่มีความซับซ้อน เปลี่ยนแปลงบ่อย เพื่อให้สามารถส่งมอบผลิตภัณฑ์ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว

สกรัม (Scrum) จึงแบ่งรอบการดำเนินงานเป็นช่วงเวลาสั้นๆ เรียกว่า สปรินท์ (Sprint) คือช่วงเวลาในการดำเนินงานที่จะสามารถส่งมอบผลิตภัณฑ์ เมื่อจบสปรินท์จะต้องได้รับชิ้นงานตามที่วางแผนไว้และสามารถนำไปส่งมอบให้แก่ผู้ใช้ ทำให้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรอจนงานเสร็จทั้งหมดก่อนจึงจะได้รับ แต่สามารถนำบางส่วนไปใช้งานก่อนได้เลยและส่วนอื่นๆ ทยอยตามมาเพิ่มเติมในภายหลัง

คู่มือการออกแบบบริการ (Service Design)

Service Design หรือ “การออกแบบบริการ” หมายถึง การสร้างสรรค์กระบวนการของงานบริการ เพื่อให้ตอบโจทย์ความต้องการหรือแก้ปัญหาของผู้บริโภค เป็นอีกกลยุทธ์ที่สามารถพัฒนาธุรกิจการบริการให้ก้าวไปอีกขั้นได้ อันที่จริง Service Design ไม่ได้จำกัดแค่การออกแบบเท่านั้น แต่ยังครอบคลุมไปถึงการวิเคราะห์ พัฒนาปรับปรุงการบริการให้ดีขึ้นด้วย

ข) ข้อมูล “ภาพนิ่ง”

ค) ข้อมูล “ภาพเคลื่อนไหว หรือ Clip Video”

https://www.youtube.com/watch?v=Kin-CDfE-kQ&t=19s

https://www.youtube.com/watch?v=fDLuObNgPBM#action=share

https://www.youtube.com/watch?v=rtqk-lqEKJE

http://www.youtube.com/watch?v=BVLqBSFHcTg

บทที่ 4

ศักยภาพและการเรียนรู้ของผู้รับการจ้างงานที่เพิ่มขึ้น

4.1 ความรู้ใหม่

Stage-gate ที่เป็นกระบวนการในการคัดกรองโครงการสำหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือกระบวนการต่าง ๆ โดยอาศัยการแบ่งลำดับออกเป็นขั้นๆ เพื่อความสะดวกในการเลือกโครงการที่จะทำ หรือประเมินความเป็นไปได้และติดตามความคืบหน้าของโครงการเป็นระยะ จะแบ่งได้ดังนี้

Stage 0 Ideation ค้นหาความเป็นไปได้ในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หรือตลาดแบบคร่าว ๆ แล้วเสนอเข้า Gate 1

Stage 1 Analysis หรือ Preliminary experiment เป็นขั้นตอนต่อมาหลังผ่าน Gate 1 มาได้ โดยทดลองในระดับเบื้องต้นก่อน ใช้งบลงทุนไม่มาก ทำกันในห้อง lab เล็ก ๆ เมื่อเล็งเห็นแล้วว่ามีความเป็นไปได้ ก็เสนอเข้า Gate 2

Stage 2 Lab-scale development เมื่อได้ผลและผ่าน Gate 2 มาแล้ว จึงเริ่มงานวิจัย พร้อม ๆ กับดูข้อมูลด้านการตลาด การผลิต และอื่น ๆ อย่างรอบด้านในระดับย่อย ๆ ไปด้วย พอได้ต้นแบบ Prototype จริง ๆ พร้อมความเป็นไปได้ในทางการตลาด และการผลิต ค่อยเสนอ Gate 3 ต่อ

Stage 3 Pilo scale หรืออาจจะเป็น Pre commercial โดยทำการ scale up จาก lab สู่ตลาดในระดับต้น เพื่อลองตลาดก่อน และนำข้อมูลที่ได้ไปวินิจฉัยต่อว่าควรจะลุย Gate 4 หรือไม่

Stage 4 Commercialization คือการลุยตลาดและขายเต็มตัว

Ecosystem Ecosystem มีความหมายว่าระบบนิเวศที่สิ่งต่างๆ ในระบบมีความเกี่ยวข้อง เชื่อมโยงและเกื้อกูลซึ่งกันและกัน แต่ในทางธุรกิจ คำว่า Business Ecosystem มาจากการรวมกันของ Business คือ ธุรกิจ กับ Ecosystem คือระบบนิเวศ ระบบนิเวศทางธุรกิจ (Business Ecosystem) เป็นการรวมกลุ่มของธุรกิจ หน่วยงาน องค์กร บุคคล และสถาบันต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง มารวมตัวกันเพื่อดำเนินกิจกรรม การพึ่งพาอาศัยกันในกลุ่มธุรกิจเดียวกันอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงกัน มีการเชื่อมโยงกันของห่วงโซ่อุปทานของแต่ละกลุ่มธุรกิจ (Supply Chain) เพื่อร่วมมือ ช่วยเหลือ เกื้อหนุน การเสนอและออกกฎเกณฑ์ ส่งเสริม สนับสนุน ซึ่งกันและกัน ทำงานร่วมกันมากขึ้น การสร้างเครือข่ายของ ผู้ซื้อ ผู้จัดส่งวัตถุดิบ และผู้ผลิตและผู้ให้บริการต่างๆ การสร้างสิ่งแวดล้อมเชิงสังคมเศรษฐกิจ รวมทั้งกรอบการทำงานในด้านสถาบัน องค์กรและกฎระเบียบต่างๆ ให้เกื้อหนุนและสอดคล้องกับบริบทในการดำเนินธุรกิจ

เกิดขึ้นจากเทคโนโลยีที่พัฒนาและเติบโตอย่างก้าวกระโดด โดยเฉพาะ Internet of Things (IoT) ที่เข้ามาจับและเชื่อมโยงทุกอย่างให้กลายเป็นโลกเสมือนจริงหรือโลกจริงๆ สำหรับใครหลายคน ทำให้เกิด Ecosystems ในระดับที่ทำให้ธุรกิจเติบโแบบก้าวกระโดด StartUp รุ่นใหม่ที่เข้าใจกลายเป็น Unicorn ทันที แต่สิ่งสำคัญที่ท้าทายนักพัฒนาหรือนักออกแบบธุรกิจ ผู้ประกอบการ นักกลยุทธ์ และเป็นหัวใจที่ทำให้ Ecosystems ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ คือ การออกแบบประสบการณ์ของลูกค้าหรือผู้ใช้งาน (User Experience)

Burn rate คือ อัตราการเผาผลาญเงินในการทำธุรกิจ การคิดค้นสิ่งประดิษฐ์หรือ  Applications ใหม่   ก่อนที่จะได้รับความนิยมนั้นจำเป็นต้องลงทุนในการโปรโมทให้สินค้าหรือผลิตภัณฑ์นั้นได้รับการยอมรับในวงกว้าง  เกิดการบอกต่อ  เล่าขานในแวดวงผู้ใช้งาน   ดังนั้นเงินทุนในการสร้างแบรนด์หรือสินค้าเป็นเรื่องที่ผู้พัฒนานวัตกรรมนั้นจำเป็นต้องบริหารจัดการเพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายด้วยทั้งนี้จำนวนเงินทุนจะมากหรือน้อยคงขึ้นอยู่กับสเกลของธุรกิจหรืออาจจะค่อยๆ พัฒนาไปตามเงินทุนที่มี แต่แบบหลังนี้อาจทำให้ธุรกิจโตไปค่อนข้างช้า    ด้วยเหตุนี้เจ้าของไอเดียจำต้องมองหานายทุนที่พร้อมจะร่วมลงทุนเพื่อให้ธุรกิจโตไว

4.2 ทักษะใหม่

          ทักษะกระบวนการทำงานช่าง หมายถึง การลงมือทำงานด้วยตนเอง โดยมุ่งเน้นการฝึกวิธีการอย่างสม่ำเสมองานช่างทุกประเภทมีขั้นตอนการทำงานดังนี้

1. การวิเคราะห์งาน  คือการแจกแจงงานที่ทำว่าเป็นงานประเภทใด ลักษณะใด อุปกรณ์ เครื่องมือใด

2. การวางแผนในการทำงาน

3. การปฏิบัติงาน

4. การประเมินผลงาน

4.3 กระบวนความคิด / ทัศนคติใหม่

กระบวนการของการคิดเชิงออกแบบ Design Thinking Process จะสามารถทำให้เราลำดับการปฏิบัติการ รู้วิธีคิดและการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ 5 ขั้นตอน

1. Empathize – เข้าใจปัญหา

2. Define – กำหนดปัญหาให้ชัดเจน

3. Ideate – ระดมความคิด

4. Prototype – สร้างต้นแบบที่เลือก

5. 5. Test – ทดสอบ

ประโยชน์ของระบบการคิดเชิงออกแบบ

· ฝึกกระบวนการแก้ไขปัญหาตลอดจนหาทางออกที่เป็นลำดับขั้นตอน

· มีทางเลือกที่หลากหลาย

· มีตัวเลือกที่ดีที่สุด เหมาะสมที่สุด

· ฝึกความคิดสร้างสรรค์

· เกิดกระบวนการใหม่ตลอดจนนวัตกรรมใหม่

· มีแผนสำรองในการแก้ปัญหา

· องค์กรมีการทำงานอย่างเป็นระบบ

4.4 เพื่อน / เครือข่ายใหม่

ได้รู้จักเพื่อนจากหลากหลายสาขาอาชีพ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ประสบการณ์ต่าง ๆ กันการทำงาน การช่วยเหลือแบ่งปัน ประสางาน และรู้จักการทำงานเป็นหมู่คณะ ความคิดเห็นจากหลายมุมมอง ทัศนคติใหม่ ๆ ในการทำงานและการใช้ชีวิต ช่วยให้เราพัฒนาความคิดและรู้จักคนหมู่มาก ได้ทั้งความรู้อย่างรอบด้านมากขึ้น พบจากคนจากหลากหลายช่วงอายุและหลายระดับการศึกษา ทั้งนักศึกษาจบใหม่ เจ้าของธุรกิจ และ Start Up ต่าง ๆ ทำให้ได้เรียนรู้ความคิดจากพวกเขาอย่างเข้าใจ

4.5 การสร้างงานต่อยอดจากการทำงาน 3 เดือน

จากประสบการณ์การทำงานได้เรียนรู้กระบวนการ ขั้นตอน และหลักการทางวิชาการต่าง ๆ ทั้งในภาคองค์กรและภาคธุรกิจ ทำให้เราสามารถความความรู้ไปปรับใช้ หากต้องการทำธุรกิจในอนาคตรวมถึงการได้เรียนรู้งานเอกสาร ฐานข้อมูล การใช้โปรแกรมการนำเสนอรูปแบบต่าง ๆ เพิ่มทักษะติดตัวในการทำงาน สามารถนำไปใช้กับงานในอนาคตได้

ภาคผนวก

3

เตรียมงาน Final Pitching ของงาน creative lanna league

4

เตรียมงาน Final Pitching ของงาน creative lanna league

5

เตรียมงาน Final Pitching ของงาน creative lanna league

6

7

10

11

13

17

18

21

24

25

26

เตรียมงาน Final Pitching ของงาน creative lanna league

เตรียมงาน Final Pitching ของงาน creative lanna league

เตรียมงาน Final Pitching ของงาน creative lanna league

เตรียมงาน Final Pitching ของงาน creative lanna league

เตรียมงาน Final Pitching ของงาน creative lanna league

เตรียมงาน Final Pitching ของงาน creative lanna league

จัดงาน Final Pitching ของงาน creative lanna league

เตรียมงาน 4th anniversary the brick start up space

เตรียมงาน 4th anniversary the brick start up space

เตรียมงาน 4th anniversary the brick start up space

เตรียมงาน 4th anniversary the brick start up space

เตรียมงาน 4th anniversary the brick start up space

งาน 4th anniversary the brick start up space

14

19

27

28

31

Market research ผลิตภัณฑ์หน้ากากอนามัย

ทำ list วิทยากรงานบ่มเพาะผู้ประกอบการฯ

ทำ list วิทยากรงานบ่มเพาะผู้ประกอบการฯ

20

Market research ผลิตภัณฑ์หน้ากากอนามัย

1

ทำ list วิทยากรงานบ่มเพาะผู้ประกอบการฯ

2

ซ่อมแซมของใช้สำนักงาน

3

ซ่อมแซมของใช้สำนักงาน

7

8

9

10

17

18

จัดทำโครงการ TBI friday clinic

จัดทำโครงการ TBI friday clinic

ทำ list วิทยากรงานบ่มเพาะผู้ประกอบการฯ

ศึกษาข้อมูลขั้นตอน Service design

เตรียมงาน Start up league

เตรียมงาน Start up league

จัดทำโครงการ TBI friday clinic

ทำรายงานฉบับสมบูรณ์

ทำข้อมูล พรบ.ที่ต้องทราบก่อนจำหน่ายผลิตภัณฑ์กีฬา

11

15

รวมข้อมูลการเติบโตของตลาผลิตภัณฑ์กีฬาและแนวโน้มการเติบโตในอนาคต

16

4

1

ปฐมนิเทศน์ รายงานตัว

2

ทำข้อมูลหน้าอนามัย Market research

3

lean canvas & SWOT

8

9

10

13

14

16

17

20

21

22

24

29

31

รวมข้อมูลมาตรฐานการผลิตเครื่องมือทางการแพทย์

รวมข้อมูลสถาบันตรวจสอบเครื่องมือทางการแพทย์

ศึกษาข้อมูลวิธีการ Design Thinking

ศึกษาข้อมูลขั้นตอน Stage gate

โครงการผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับพิษผึ้งและนมผึ้ง

Market research ผลิตภัณฑ์พิษผึ้ง

รวมข้อมูลผลิตภัณฑ์ผึ้งที่มีในเอเชียและในประเทศไทย

รวมข้อมูลแบรนด์คู่แข่งของผลิตภัณฑ์ผึ้ง

รวมข้อมูลการเติบโตของตลาผลิตภัณฑ์ผึ้งและแนวโน้มการเติบโตในอนาคต

ทำข้อมูล พรบ.ที่ต้องทราบก่อนจำหน่ายผลิตภัณฑ์ครีมทาผิว

หา ref. การจัดรูปแบบของ Co-working space

งาน Final Pitching ของงาน creative lanna league

งาน Final Pitching ของงาน creative lanna league

งาน Final Pitching ของงาน creative lanna league

15