40
รรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร 10 รรรรร รรรรรรร รรร 30 รรรรรรร 2563 รรร รรร รรรรรรร รรรรรรร รรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรร รรร covid ร-19 (ร.รรรรรรรรร) รรรร

 · Web viewของ นาย ณ ฐว ฒ ข นเป ง ภายใต โครงกาแผนแก ไขป ญหาฝ นคว นและการสำรวจข

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

รายงานฉบับสมบูรณ์

การปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 10 เดือน กรกฎาคม

ถึง 30 กันยายน 2563

ของ

นาย ณัฐวุฒิ ขันเป็ง

ภายใต้

โครงกาแผนแก้ไขปัญหาฝุ่นควันและการสำรวจข้อมูล ผู้ได้รับผลกระทบจากcovidร-19 (จ.เชียงใหม่)

เสนอ

หน่วยสนับสนุนวิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

รายงานฉบับสมบูรณ์ Final Report โครงการ อว. จ้างงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่นี้ส าเร็จ ลุล่วงได้ด้วยความกรุณาช่วยเหลือ แนะน า ให้ค าปรึกษา ตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วย ความเอาใจใส่อย่างดียิ่งจาก นายพิรุณ กองแปง (พี่เลี้ยงโครงการ 239 แผนแก้ไขปัญหาฝุุนควัน Pm2.5 และส ารวจข้อมูลผู้ได้รับผลกระทบจาก Covid19 – สภาลมหายใจ ) ผู้จัดท าขอกราบ ขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ขอขอบพระคุณ นาย ชัชวาลย์ ทองดีเลิศ ประธานสภาลมหายใจเชียงใหม่ ที่กรุณาน าสภาลม หายใจเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งที่ท าให้เกิดโครงการ รหัส 239 นี้ขึ้นมา ขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.อาวรณ์ โอภาสพัฒนกิจ ที่ปรึกษาและให้ข้อมูล ส่วนกลาง และการขับเคลื่อนโครงการและกิจกรรมการประชุมให้ข้อมูลต่างๆกับผู้รับจ้างงาน ขอขอบคุณ นาย สุวิจักร เชื้อพูล พี่หนึ่ง ที่คอยให้ค าแนะน าการเคลื่อนไหวและสิ่งที่ต้องท าใน งานส่วนกลาง อว.จ้างงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ละติดตามการเบิกจ่ายเงินเดือนให้ผู้รับจ้างงานทุก คน ขอขอบคุณ ครอบครัว และญาติพี่น้องทุกคนที่ช่วยเหลือสนับสนุนทั้งด้านก าลังใจและก าลัง ทรัพย์ด้วยดีตลอดมา นอกจากนี้ยังมีผู้ที่ให้ความร่วมมือช่วยเหลืออีกหลายท่าน ซึ่งผู้เขียนไม่สามารถ กล่าวนามในที่นี้ได้หมด จึงขอขอบคุณทุกท่านเหล่านั้นไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย คุณค่าทั้งหลายที่ได้รับ จากการท างานโครงการจ้างงาน อว. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ครั้งนี้ ผู้จัดท าขอมอบเป็นประโยชน์แก่ ประชาชนที่เข้ามาศึกษาไม่มากก็น้อยในอนาคตต่อไป

นาย ณัฐวุฒิ ขันเป็ง

สารบัญ หน้า

1.1. ความเป็นมาของการเข้าร่วมโครงการ

1.1.1 ภาวะการมีงานทำหรือสถานการณ์ ก่อนสมัครเข้าร่วมโครงการ

1.1.2 การรับรู้ประกาศรับสมัครเข้าร่วมโครงการ

1.1.3 การทำความรู้จักผู้รับผิดชอบโครงการและทีม

1.2. รายละเอียดของโครงการ

1.2.1 ชื่อโครงการ / หัวหน้าโครงการ / หลักการและเหตุผล / วัตถุประสงค์ / ขั้นตอนการดำเนินงาน /

ผลที่คาดว่าจะได้รับ / งบประมาณ / ระยะเวลา

1.2. รายละเอียดของโครงการ

1.2.1 ชื่อโครงการ / หัวหน้าโครงการ / หลักการและเหตุผล

/ วัตถุประสงค์ / ขั้นตอนการดำเนินงาน /

ผลที่คาดว่าจะได้รับ / งบประมาณ / ระยะเวลา

1.3. หน้าที่/ความรับผิดชอบ/เนื้องานที่ปฏิบัติในโครงการ

1.3.1 หน้าที่/ความรับผิดชอบ

1.3.2 ลักษณะงานที่ปฏิบัติในโครงการ

บทที่ 2

การดำเนินงาน

2.1 การปฏิบัติงาน

2.1.1 การปฏิบัติงานในแต่ละวัน โดยเขียนเป็น เส้น

Timeline ดังตัวอย่าง timeline ต่อไปนี้

2.1.2 ปัญหาที่พบระหว่างทาง และวิธีการแก้ไข

บทที่ 3

ผลการดำเนินงาน

3.1 ผลงานที่เกิดขึ้น

3.1.1 ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม

ตามการมอบหมายของผู้รับผิดชอบโครงการ

ในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้

บทที่ 4

ศักยภาพและการเรียนรู้ของผู้รับการจ้างงานที่เพิ่มขึ้น

4.1 ความรู้ใหม่

4.2 ทักษะใหม่

4.3 กระบวนความคิด/ทัศนคติใหม่

4.4 เพื่อน/เครือข่ายใหม่

4.5 การสร้างงานต่อยอดจากการทำงาน 3 เดือน

4.5.1 การประสานงานเพื่อให้เกิดงานต่อเนื่อง เช่น การพัฒนาข้อเสนอโครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย เป็นต้น

บทที่ 1

บทนำ

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จ านวน 2,963 อัตรา ตามโครงการ อว.จ้างงานในระยะที่ 2 ของกระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

ศาสตราจารย์คลินิก นายแพทย์ นิเวศน์ นันทจิต อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นประธานเปิดการ ปฐมนิเทศโครงการจ้างงานประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระยะที่ 2 ภายใต้กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม และเป็นส่วนหนึ่ง ของยุทธศาสตร์บริการวิชาการที่เป็นเลิศ (Service Excellence) ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และวิสัยทัศน์ของ มหาวิทยาลัย “รับผิดชอบต่อสังคม” สู่ “การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม” โดยทางมหาวิทยาลัยได้รับอนุมัติให้จ้าง งานจ านวน 2,963 อัตรา ระยะปฏิบัติงาน 3 เดือน (ตั้งแต่เดือน กรกฎาคม-กันยายน 2563 โดยมี รอง ศาสตราจารย์ ดร.อาวรณ์ โอภาสพัฒนกิจ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กล่าวรายงาน ณ ห้องประชุม ส านักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ ผ่านระบบ Webinar Zoom และ Facebook Live หรือ Youtube เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2563

ทางกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้อนุมัติให้มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็น หน่วยงานจ้าง ของโครงการ อว.จ้างงานในระยะที่ 2 โดยได้รับอนุมัติให้จ้างงานจ านวน 2,963 อัตรา ระยะ ปฏิบัติงาน 3 เดือน ตั้งแต่เดือน กรกฎาคม-กันยายน 2563 ทั้งนี้มีบุคลากรของมหาวิทยาลัย และภาคีเครือข่าย จ านวนมากกว่า 133 คน 333 โครงการ ได้อาสามาเป็นผู้รับผิดชอบโครงการหรือพี่เลี้ยง โดยน าความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มาสร้างการเรียนรู้ ฝึกฝนทักษะ และช่วยปรับกระบวนการคิดของผู้รับจ้างงาน ตลอดจนสร้างความ ร่วมมือกับภาคีความร่วมมือตลอดระยะเวลา 3 เดือน ผู้รับจ้างงาน รุ่น 2 นี้ นอกจากจะได้งานท า 3 เดือนแล้ว ยัง ได้ความรู้ใหม่จากการท างาน ได้ทักษะใหม่จากการปฏิบัติจริง ได้กระบวนการคิดแบบใหม่ และที่ส าคัญได้เพื่อน ใหม่ที่จะได้ร่วมมือกันในอนาคต

โดยผู้รับจ้างงาน เริ่มท างานตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2563 และกลุ่มล่าสุด เริ่มท างานวันที่ 10 กรกฎาคม 2563 ซึ่งทุกคน ได้รับการ Coach จากผู้รับผิดชอบโครงการและพี่เลี้ยง ให้ท างานหลากหลายลักษณะ เช่น การ พัฒนาทักษะต่างๆ ทางด้านวิชาการ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชน เช่น ทักษะการเก็บข้อมูลชุมชน การส ารวจ และจัดท าฐานข้อมูลด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านวัฒนธรรม ทักษะการวิเคราะห์และจัดท าฐานข้อมูล เช่น ข้อมูล

พื้นฐานของประชากร ด้านเศรษฐกิจ เช่น การเกษตร การท่องเที่ยว ด้านสังคม เช่น ความยากจน หนี้สิน การตก งานเนื่องจากโควิด-19 การพัฒนานวัตกรรมทางสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ปัญหาฝุุนควัน PM 2.5 ของแต่ละ ชุมชน เพื่อน าไปประกอบการวางแผนพัฒนาของชุมชน หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

1.1. ความเป็นมาของการเข้าร่วมโครงการ

1.1.1 ภาวะการมีงานทำหรือสถานการณ์ ก่อนสมัครเข้าร่วมโครงการ

ก่อนหน้านี้เคยทำงานซิปไลน์นทำได้1ปี8เดือนเป็นลูกจ้างในช่วงเดือนกลางเดือนกุมภาพันธ์ทางซิปไลน์ได้มีการให้เปลี่ยนกันมาทำงานโดยคนละ2อาทิตย์และในช่วงเดือนมีนาคมไม่มีนักท่องเที่ยวมาจึงทำให้ทางซิปไลน์มีการเลิกจ้างและมีการตกงานในช่วงนั้นต้องวิ่งหางานทำในช่วงเดือนมิถุนายนได้รับข่าวจากทางอำเภอว่ามีการจ้างทำงานในช่วงนั้นจึงไปสมัครและได้รับข้อมูลข่าวสารจากคุณลุงอุดมอินทร์จันทร์และวันที่13กรกฎาคมได้ไปรับฟังการประชุมและพร้อมเริ่มงาน

1.1.2 การรับรู้ประกาศรับสมัครเข้าร่วมโครงการ

ได้รับรู้การประกาศงานจาก นายอุดม อินทร์จันทร์ จากเครือข่ายอำเภอดอยสะเก็ด วันที่ 30 มิถุนายน 2563

1.1.3 การทำความรู้จักผู้รับผิดชอบโครงการและทีม

วันที่ 13 กรกฎาคม 2563 ได้เข้าร่วมอบรมโครงการจ้างงานประชาชนมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยมี นายอุดม อินทร์จันทร์ ผู้ประสานงานเข้าร่วมโครงการ

1.2. รายละเอียดของโครงการ

1.2.1 ชื่อโครงการ

แผนแก้ไขปัญหาฝุ่นควัน Pm2.5 และสำรวจข้อมูลผู้ได้รับผลกระทบจาก โควิด19

หัวหน้าโครงการ

นายชัชวาล ทองดีเลิศ (สภาลมหายใจจังหวัดเชียงใหม่) นายพิรุณ กองแปง (พี่เลี้ยง)

หลักการและเหตุผล

“ปัญหาหมอกควัน มันไม่ใช่แค่หมอกควัน แต่คือปัญหา “มลพิษ” ที่ต้องอาศัยการแก้ไขปัญหาระยะยาวไปที่สาเหตุ ที่สำคัญ เราเห็นว่า มันเป็นปัญหา conflicts of interest ระหว่างคนเมือง การท่องเที่ยว และโดยเฉพาะอย่างยิ่งภาคเกษตรที่มีอาชีพเกี่ยวข้องกับการเผา ประเด็นก็คือ การแก้ปัญหาของรัฐก็ยังเน้นไปที่เหตุการณ์เฉพาะหน้าระยะ 3 เดือน เราก็เลยมานั่งคุยกันว่าควรจะมีการสังคยนาแนวทางแก้ปัญหากันใหม่”

วัตถุประสงค์

สภาลมหายใจเชียงใหม่เอง ซึ่งได้รับทราบสาเหตุปัญหาที่เกิดขึ้นเช่นกัน จึงมุ่งออกแบบกิจกรรมเน้นไปที่การแก้ไขที่สาเหตุ และหนึ่งในเป้าหมายใหญ่ของกิจกรรมของสภาฯ คือการปรับเปลี่ยนวิถีการผลิตของคนในภาคเกษตรที่อยู่รอบๆ

โดยความช่วยเหลือของคณะกรรมการร่วมภาคเอกชน 3 สถาบัน(กกร.)และสภาองค์กรชุมชน สภาฯ เริ่มออกแบบโครงการ ดิน น้ำ ป่า อากาศยั่งยืน ที่มุ่งช่วยเหลือเกษตรกรใน 25 อำเภอ ปรับเปลี่ยนวิถีการผลิตที่พึ่งพาการเผา ผ่านโครงการนำร่องในแต่ละตำบลของอำเภอทั้งหมด 32 ตำบล โดยใช้โมเดลจากอำเภอแม่แจ่มที่เคยดำเนินการโดย กกร.

จากโมเดลแม่แจ่มที่ ไพรัช โตวิวัฒน์ หนึ่งในคณะกรรมการแก้ปัญหาฝุ่นควัน ของ กกร.ดำเนินการในช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมา โดยทดลองปรับเปลี่ยนวิถีการเกษตรการปลูกข้าวโพดในพื้นที่ โดยมีชาวบ้านกว่า 200 คน เข้าร่วม เกิดเป็นการใช้ประโยชน์ที่ดินแบบผสมสานการปลูกพืชที่เน้นความยั่งยืนทางอาหารให้กับเกษตรกร และการส่งเสริมรายได้แบบยั่งยืนผ่านการปลูกไม้ผลต่างๆ ที่สามารถเลือกได้ถึงกว่า40-50 ชนิด รวมทั้งกาแฟ

ที่สำคัญคือ การแก้ปัญหาหนี้สินร่วมกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร(ธกส.) ที่ไพรัชได้รับการบอกกล่าวว่าชาวบ้านในแม่แจ่มมีหนี้สินถึงกว่า 700,000 แสนต่อครัวเรือนในขณะที่มีค่าใช้จ่ายในครัวเรือนสูงถึง 70,000 บาทต่อปี และการช่วยเหลือทางด้านตลาดที่ภาคธุรกิจมีความชำนาญ

ขั้นตอนการดำเนินงาน

-เป็นพื้นที่กลางเพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ทุกคนทุกกลุ่มทำงานร่วมกัน ตามศักยภาพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน -มีวาระร่วม เป้าหมายร่วม “แก้ฝุ่นควันpm2.5ยั่งยืน ฟื้นฟูระบบ นิเวศน์ ลดความขัดแย้งสร้างการมีส่วนร่วมทุกฝ่าย ” -เชื่อมโยงพลังบนฐานทุนคน องค์กรและเครือข่ายเดิม -ใช้งานข้อมูลวิชาการเป็นฐานในการขับเคลื่อน -มีการออกแบบกระบวนการขับเคลื่อนร่วมกัน(การวิเคราะห์ ปัญหา แผนงาน กลยุทธ จังหวะก้าว ปฏิบัติ สรุปบทเรียน) -เชื่อมโยงEVENT ให้เป็น MOVEMENT

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

“จากการดำเนินการ เราได้โมเดลที่ทำให้เห็นองค์ประกอบ 3 อย่างที่จะทำให้การแก้ไขปัญหาในส่วนนี้เกิดความสำเร็จ คือ การสร้างชุดองค์ความรู้ให้กับเกษตรกร เพราะเค้ารู้แต่การปลูกข้าวโพด การจัดการผลผลิตหรือการทำตลาด และเรื่องของทุนที่ต้องจัดการ ซึ่งเราก็ถือว่าเป็นความสำเร็จในเชิงนโยบายที่อยากเอามาขยายผลต่อ” ไพรัชกล่าว

บัณรสกล่าวว่า ปัญหาเรื่องหมอกควันเป็นเรื่องที่ท้าทาย โดยเฉพาะในช่วงที่วิกฤติผ่านไป และต้องยกระดับความคิดจากการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าไปสู่การแก้ปัญหาระยะยาว 

เขากล่าวว่า แม้ว่าปัญหาจะเกิดขึ้นในพื้นที่ห่างไกล แต่คนเมืองและภาคธุรกิจสามารถมีบทบาทในการช่วยแก้ไขปัญหานี้ได้จากองค์ความรู้และความเชี่ยวชาญที่มี โดยเฉพาะการจัดการผลผลิตและความต้องการในตลาด

ในวันอาทิตย์นี้ พวกเขาเตรียมรวมกลุ่มกันเพื่อช่วยกันคิดเรื่องการสร้างแบรนด์ให้สินค้าของภาคเกษตรที่กำลังจูงใจให้มีการปรับเปลี่ยนวิถีใน32 ตำบลเป้าหมาย

ระยะเวลา

ผู้รับจ้างงานรายชื่อรอบที่ 1 เริ่ม 1กรกฎาคม 2563 – 30 กันยายน 2563

1.3. หน้าที่/ความรับผิดชอบ/เนื้องานที่ปฏิบัติในโครงการ

1.3.1 หน้าที่/ความรับผิดชอบ

สำรวจข้อมูลที่ได้รับมอบหมายมาแล้วช่วยเหลือผู้นำในการจัดทำแผนในตำบลเข้มข้น

1.3.2 ลักษณะงานที่ปฏิบัติในโครงการ

เป็นการทำแบบสำรวจข้อมูลและเก็บข้อมูลของฝุ่นpm2.5

และโรคโควิด2019จากผู้ที่ได้รับผลกระทบ

บทที่ 2

การดำเนินงาน

(1 กรกฎาคม - 30 กันยายน 2563 หรือ ตั้งแต่วันที่ผู้รับการจ้างงานเริ่มทำงาน)

2.1 การปฏิบัติงาน

2.1.1 การปฏิบัติงานในแต่ละวัน โดยเขียนเป็น เส้น Timeline ดังต่อไปนี้

การปฎิบัติงานตั้งแต่วันที่1กรกฎาคมถึง30กันยายน2563

เริ่มงานทำหนังสือขอข้อมูล ทำการเก็บ

ข้อมูลรวบรวม

ข้อมูล

สรุปรายงานให้เป็นรายงานสมบูรณ์ มีการเก็บรูปภาพ

ในการทำงานของแต่ละ

ครั้ง

มีการถ่ายวิดีโอเพื่อสรุปงานตลอด3เดือนที่ผ่านมา

2.1.2 ปัญหาที่พบระหว่างทางและวิธีการแก้ไข

ลำดับ

ปัญหา/ข้อจำกัดในการทำงาน

วิธีการแก้ไข

1

มีเวลาจำกัดเวลาหาข้อมูล

การบริหารเวลาให้พอดี

2

ไม่ได้รับข้อมูลตามที่ต้องการ

ไปถามผู้ที่สามารถให้ข้อมูลเพิ่มเติมตามที่เราต้องการ

ศักยภาพและการเรียนรู้ของผู้รับการจ้างงานที่เพิ่มขึ้น

ความรู้ใหม่

ได้เรียนรู้ในการทำงานร่วมกับผู้อื่นและได้รับรู้ในการรับมือและแก้ไขปัญหาและช่วยเหลือชาวบ้าน

4.2 ทักษะใหม่

ได้รับรู้ผลกระทบปัญหาที่เกิดขึ้นในช่วงที่เกิดฝุ่นpm2.5และช่วงโควิด19มีการช่วยเหลือในส่วนของภาครัฐ

4.3 กระบวนความคิด/ทัศนคติใหม่

1เริ่มจากการหาข้อมูล

2เริ่มเข้าไปขอข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

3ได้เริ่มมีการวางแผนในการช่วยเหลือจากผู้ที่ได้รับผลกระทบ

4มีการสรุปข้อมูลในการทำงาน

4.4 เพื่อน/เครือข่ายใหม่

ได้รู้จักผู้คนมากขึ้นทั้งพี่ๆที่เป็นหน่วยยงานของรัฐและเพื่อนร่วมงาน

4.5 การสร้างงานต่อยอดจากการทำงาน 3 เดือน

4.5.1 การประสานงานเพื่อให้เกิดงานต่อเนื่อง เช่น การพัฒนาข้อเสนอโครงการ 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย เป็นต้น

อยากให้มีงานแบบนี้ขึ้นมาอีกเพราะช่วยเหลือผู้ที่ตกงานจากโควิด19

สรุปรวบยอดได้ไปศึกษาปัญหา ฝุ่นPM2.5 และโควิด19 ชุมชนเป็นยังไงบ้าง

ข้อมูลผู้ได้รับผลกระทบจาก covid-19 (ข้อมูลจาก อสม.รพสต.)

2.1.ข้อมูลผู้ได้รับผลกระทบจาก covid-19 (ข้อมูลจาก อสม.รพสต.)

มีการประชาสัมพันธุ์ประชุมกับอสมในการตรวจสอบข้อมูลคนเข้าออกในแต่ละหมู่บ้านและมีการตรวจร่างกายผู้ที่เข้าออกในพื้นที่มีการตั้งด่านโควิด19ส่วนใครที่เดินทางมาจากต่างจังหวัดนั้นท่างเราจะให้มีการกักตัว14วันโดยจะมีที่แพทย์และที่อสมเข้าไปดูแลมีผู้เดินทางมาจากต่างจังหวัด10คนไม่พบเชื้อโควิด19จากในการตรวจสอบนั้นเทศบาลตำบลป่าป้องไม่พบผู้ติดเชื้อโควิด19

2.2.ข้อมูลปัญหาฝุ่นควัน pm 2.5/จุดhotsport(ข้อมูลจาก องค์การบริหารส่วนตำบล)

ในปีนี้ฝุ่นควันส่วนใหญ่เกิดจากการเผาป่าพื้นที่แล้วลมพัดเข้ามาในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลป่าป้องทำให้มีค่าเกินมาตรฐาน7วันส่วนที่เกิดในพื้นที่ส่วนใหญ่ของชาวบ้านจะเข้าไปดับได้ทัน ส่วนจุดHotsport 3จุดมีฝุ่นเกินค่ามาตรฐาน7วันเกินค่ามาตรฐาน55

2.3 สัมภาษณ์ผู้นำชุมชน(นายก,กำนัน ผญ.อสม.สภาองค์กรชุมชน อื่นๆ)

บทสัมภาษณ์ นางสาวจิราพร วรรณกิตร์

ตำแหน่งหัวหน้าสำนักงานปลัด

เทศบาลตำบลป่าป้อง

ประเด็นที่1 เกี่ยวกับปัญหาCovid19

สัมภาษณ์:จากสถานการณ์covid19ในฐานะที่ท่านเป็นผู้นำชุมชนหรือบุคลากรในองค์กรที่เกี่ยวข้องได้รับรู้ผลกระทบของตนเองประชาชนหรือต่อชุมชนอย่างไรบ้าง

ผู้ให้สัมภาษณ์:ทำให้รายได้ลดลงในชุมชนทำให้ทางเทศบาลมีปัญหาเรื่องงบเพราะงบประมาณไม่เพียงพอเช่นโครงการที่เราเคยทำมีการปรับลดในเจ้าหน้าที่จะไปดูเรื่องโควิด19ไม่เพียงพอ

ผู้สัมภาษณ์:จากสถานการณ์covid19ได้มีการช่วยเหลือบรรเทา รณรงค์มีส่วนร่วมหรือโครงการอะไรให้กับปํญหานี้ต่อชุมชนบ้าง

ผู้ให้สัมภาษณ์:มีการแจกหน้ากากอนามัยให้แก่ผู้สูงอายุและเด็กแล้วมีการสอนทำหน้ากากอานามัยให้ไปใช้เองและมีการทำอาหารแจกให้ชาวบ้านเพื่อบรรเทาในช่วงตกงาน

ผู้สัมภาษณ์:จากปัญหาการระบาด covid19นี้อยากให้มีโครงการกิจกรรมการช่วยเหลือหรืออยากเสนอสิ่งใดให้เกิดขึ้นต่อตนเองหรือในชุมชน

ผู้ให้สัมภาษณ์:อยากให้มีการช่วยเหลือเรื่องงบประมาณและถุงยังชีพ

สรุปผลสำรวจข้อมูลปัญหาผลกระทบจากโควิด

มีประชาชนได้ผลกระทบจำนวนมากมีทั้งประชาชนในท้องที่ทำให้ผู้ที่มีอาชีพค้าขายรับจ้างและสถานประกอบการปิดจึงมีการประกาศให้มีการลงทะเบียนขอรับการช่วยเหลือจึงมีคณะกรรมการพิจารณาตรวจสอบและดำเนินการคัดซื้อถุงยังชีพมอบให้กับประชาชน

ข้อมูลปัญหาฝุ่นควัน pm 2.5/จุดhotsport

ในเทศบาลตำบลป่าป้องนั้นเป็นที่โซนล่างทำให้ในพื้นรับผลกระทบมากกว่าและมีพื้นที่ทำนาทำให้ชาวบ้านมีการเผาเฟืองทางเทศบาลจึงทำให้มีการรับซื้อเฟืองของชาวบ้านมาทำเป็นเฟืองอัดก้อนและนำไปไปขายให้ฟาร์ม

สัมภาษณ์ผู้นำชุมชน(นายก,กำนัน ผญ.อสม.สภาองค์กรชุมชน อื่นๆ

ประเด็นที่2ปัญหาฝุ่นpm2.5

สัมภาษณ์:ในฐานะที่ท่านเป็นผู้นำชุมชนหรือบุคลากรในองค์กรที่เกี่ยวข้องได้รับรู้เกี่กับผลกระทบปัญหาฝุ่นpm2.5นี้ต่อตนเองประชาชนหรือต่อชุมชนอย่างไรบ้าง

ผู้ให้สัมภาษณ์:มีผลกระทบในผู้สูงอายุและเด็กและมีภูมิต้านทานต่ำกว่าคนไวทำงาน

สัมภาษณ์:จากสถานการณ์p.m2.5ที่เกิดขึ้นได้มีส่วนร่วมกิจกรรมบรรเทาหรือช่วยเหลือแนะนำสิ่งใดบ้างต่อชุมชน

ผู้ให้สัมภาษณ์:มีการแจกหน้ากากpm2.5ให้เด็กและผู้สูงอายุเกิน70ขึ้นไปโดยเด็กนั้นทางเทศบาลตำบลป่าป้องแจกที่ศูนย์เด็กเล็กในตำบล

ผู้สัมภาษณ์:จากปัญหาฝุ่นpm.2.5นี้อยากให้มีโครงการกิจกรรมการช่วยเหลือหรืออยากเสนอสิ่งใดให้เกิดขึ้นต่อตนเองหรือในชุมชน

ผู้ให้สัมภาษณ์: มีการจัดอบรมเรื่องหมอกครัวและการแก้ปํญหาในการเผาขยะในตำบลเราและมีการสอบทำหน้ากากอานามัยในแต่ละหมู่บ้านมีการแจ้งค่าฝุ่นp m2.5ให้ชาวบ้านรับรู้โดยแจ้งในกลุ่มไลย์ของในแต่ละหมู่บ้าน

2.ปัญหาที่พบเจอในช่วงโควิด19 และฝุ่น PM2.5

ปัญหาที่พบเจอในช่วงโควิด19

1.ประชาชนในพื้นที่ขาดรายได้จากการประกอบอาชีพเนื่องจากสถานประกอบการไม่สามารถดำเนินกิจการได้ ทำให้เกิดอัตราการว่างงานเพิ่มขึ้น

2.ประชาชนมีความวิตกกังวลด้านปัญหาสุขภาพมากขึ้น

3.ชุมชน ผู้นำชุมชน อปท.ต้องตื่นตัวเฝ้าระวังรับข้อมูลข่าวสาร เพื่อป้องกันและควบคุมโรคจากสถานการณ์ดังกล่าว

4.กิจกรรมแผนงานโครงการที่วางแผนไว้ต้องมีการยกเลิกกิจกรรมบางกิจกรรมไป

5.การให้บริการใน รพ.สต.เปลี่ยนไป ผู้รับบริการลดลงเน้นการให้บริการเชิงรุกมากกว่า

ปัญหาที่พบเจอในช่วงฝุ่นPM2.5

1.ผู้ป่วยที่มีปัญหาในระบบทางเดินหายใจเพิ่มขึ้น และส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน ซึ่งผู้ป่วยหรือกลุ่มเสี่ยงยังขาดการป้องกันตัว รวมถึงการติดตามข่าวสาร

2.กรณีฝุ่น PM2.5 ประชาชนไม่ตระหนักถึงผลเสีย และสิ่งที่จะส่งผลต่อสุขภาพของตนเองและการส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม จึงทำให้ประชาชนยังคงดำรงชีวิตเหมือนเดิม

3.อปท.ได้ประชาสัมพันธ์รณรงค์ป้องกันเกี่ยวกับ PM2.5 ให้แก่ประชาชน แต่ประชาชนเองไม่ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงทำให้สุขภาพเสื่อมโทรม มีปัญหาทางระบบหายใจ

4.ภูมิทัศน์ไม่สวยงาม

3.เราได้เรียนรู้อะไรบ้างจากงานที่ทำ

3.1ได้ประสบการณ์ใหม่ๆจากงานที่ทำ

3.2ได้เรียนรู้และหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่พบเจอระหว่างทำงาน

3.3ได้พบปะผู้คนเพื่อนร่วมงานในกลุ่ม ได้พี่เลี้ยงที่ปรึกษางานที่ดี

3.4ได้รับความรู้จากการลงพื้นที่ปฏิบัติงาน

3.5 ได้เรียนรู้และพัฒนาการใช้เทคโนโลยีเพิ่มมากขึ้น

4.การใช้เทคโนโลยี

4.1 ด้านสังคม สภาพเสมือนจริง การใช้อินเตอร์เน็ตเชื่อมโยงการทำงานต่างๆ จนเกิดเป็นสังคมที่ติดต่อผ่านทางอินเตอร์เน็ต หรือที่รู้จักกันว่า ไซเบอรฺ์สเปช (cyber space) ซึ่งมีกิจกรรมต่างๆ เช่นการพูด การซื้อสินค้า และบริการ การทำงานผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทำให้เกิดสภาพที่เสมือนจริง (virtual) เช่น เกมส์เสมือนจริง ห้องเรียนเสมือนจริง ซึ่งทำให้ลดเวลาในการเดินทางและสามารถใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลา

 4.2. ด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารส่งผลให้เกิดสังคมโลกาภิวัตน์ (globalization) เพราะสามารถชมข่าว ชมรายการโทรทัศน์ที่ส่งกระจายผ่านดาวเทียมของประเทศต่างๆ ได้ทั่วโลก สามารถรับรู้ข่าวสารได้ทันที ใช้อินเทอร์เน็ตในการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ระบบเศรษฐกิจซึ่งแต่เดิมมีขอบเขตจำกัดภายในประเทศ ก็กระจายเป็นเศรษฐกิจโลก เกิดกระแสการหมุนเวียนแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ระบบเศรษฐกิจของทุกประเทศในโลกจึงเชื่อมโยงและผูกพันกันมากขึ้น 

 4.3 ด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีประโยชน์ในด้านธรรมชาติและและสิ่งแวดล้อม เช่น ระบบป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง โดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม หรือ