114
จุลชีวิตในงานภาพพิมพหิน โดย นายสันติสุข สุนกีวิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลปศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2557 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

จุลชีวิตในงานภาพพิมพหิน

โดย นายสันติสุข สุนกี ้

วิทยานิพนธนีเ้ปนสวนหนึง่ของการศกึษาตามหลกัสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลปศึกษา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยัศิลปากร ปการศึกษา 2557

ลิขสิทธิข์องบัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยศลิปากร

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 2: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

จุลชีวิตในงานภาพพิมพหิน

โดย นายสันติสุข สุนกี ้

วิทยานิพนธนีเ้ปนสวนหนึง่ของการศกึษาตามหลกัสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลปศึกษา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยัศิลปากร ปการศึกษา 2557

ลิขสิทธิข์องบัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยศลิปากร

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 3: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

MICROBE OF LITHOGRAPH

By

Mr. Santisuk sunkee

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree Master of Fine Arts Program in Visual Arts Education

Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2014

Copyright of Graduate School, Silpakorn University

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 4: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธเรื่อง “จุลชีวิตในงานภาพพิมพหิน” เสนอโดย นายสันติสุข สุนกี้ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลปศึกษา …………………………………………… (รองศาสตราจารย ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย วันท่ี..........เดือน.................... พ.ศ……... อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ 1. รองศาสตราจารย ทินกร กาษรสุวรรณ 2. อาจารย ดร.อภินภัศ จิตรกร คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ .................................................... ประธานกรรมการ (อาจารย ดร.เตยงาม คุปตะบุตร) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ .................................................... ก ร ร ม ก า ร (ศาสตราจารยเกียรติคุณ เข็มรัตน กองสุข) (รองศาสตราจารยปรีชา เถาทอง) ............/......................../.............. .........../......................../.............. .................................................... กรรมการ .................................................... กรรมการ (รองศาสตราจารย ทินกร กาษรสุวรรณ) (อาจารย ดร.อภินภัศ จิตรกร) ............/......................../.............. ............/......................../.............

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 5: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

56901328: สาขาวิชาทัศนศิลปศึกษา คําสําคัญ: จุลชีวิต / งานภาพพิมพหิน สันติสุข สุนกี้ : จุลชีวิตในงานภาพพิมพหิน. อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ : รองศาสตราจารย ทินกร กาษรสุวรรณ และ อาจารย ดร.อภินภัศ จิตรกร. 104 หนา วิทยานิพนธหัวขอเรื่อง ‘‘จุลชีวิตในงานภาพพิมพหิน’’ มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับ ธรรมชาติของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ท่ีดํารงอยูในธรรมชาติ และสะทอนใหเห็นถึงการปรับตัว การเปล่ียนแปลง รวมท้ัง การเพ่ิมจํานวนของส่ิงมีชีวิตเหลานั้นท่ีเปนไปตามกฎเกณฑของธรรมชาติตามทัศนคติสวนตัว ในลักษณะกึ่งนามธรรมซ่ึงรองรอยการปรับตัวการเปล่ียนแปลงและการเพ่ิมจํานวนของส่ิงมีชีวิตเหลา นี้ทําใหเกิดความรูสึกประทับใจในรูปทรงจึงไดนําความรูสึกประทับใจนี้ มาสรางสรรคผลงานศิลปะผานกระบวนการทางภาพพิมพหิน ขอบเขตของการศึกษาแบงออกเปน 3 ประการไดแก 1.ขอบเขตดานเนื้อหานําเสนอเกี่ยวกับรองรอยการปรับตัวการเปล่ียนแปลงของหอย หลากหลายชนิดตามธรรมชาติท่ีมีการดํารงชีวิตอยูผานชวงระยะเวลาตาง ๆ ซ่ึงสะทอนใหเห็นรองรอย การเปล่ียนแปลงผาน รูปทรง เปลือกผิว รวมท้ังการเพ่ิมจํานวนท่ีเปนไปตามกลไกของตัวมันเอง 2. ขอบเขตดานรูปแบบเปนภาพพิมพกึ่งนามธรรม 2 มิติ ซ่ึงแสดงถึงความเคล่ือนไหวของรูปทรงท่ีสัมพันธและมีความกลมกลืนกันอีกท้ังยังมีรายละเอียดของรองรอยการปรับตัวการเปล่ียนแปลงของส่ิงมีชีวิตเล็กๆทํา ใหเห็นถึงลักษณะการดํารงชีวิตอยางสอดคลองกับธรรมชาติ 3. ขอบเขตดานการนําเสนอใชวิธีการทางภาพพิมพหิน 2 มิติ ดังนั้นจึงไดสรางสรรคออกแบบมาเปนผลงานศิลปะท่ีมีความเกี่ยวของกับเรื่อง ราวของธรรมชาติของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ โดยเฉพาะเรื่องราวของหอยชนิดตาง ๆ เพ่ือตอบสนองความตองการทางดานอารมณความรูสึกอีกท้ังยังมีนําเสนอเอาหลักการทางดานศิลปะมาเสริมสรางใหผลงานถูกตองตามหลักการของศิลปะไดอยางชัดเจน

______________________________________________________________________________ สาขาวิชาทัศนศิลปศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ลายมือช่ือนักศึกษา………………………………………… ปการศึกษา 2557 ลายมือช่ืออาจารยท่ีปรึกษา 1………………………….…… 2……………………………………...

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 6: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

56901328: MAJOR: VISUAL ARTS EDUCATION KEYWORDS: MICROBE/ LTHOGRAPH SANTISUK SUNKEE: MICROBE OF LITHOGRAPH. THESIS ADVSORS: ASSOC. PROF. TINNAKORN KASORNSUWAN AND APINAPUS CHITRAKORN, Ph.D.104 pp. The research entitled "Microbe of lithograph" aims to study about nature of diminutive creatures living in a natural environment. The work reflects the adaptation, alteration, and increase of tiny life complying with personal ideal of natural law presented in a semi-abstract art form. The inspiration to create the works is form the adaption, alteration and increase of diminutive life in nature presented through lithograph printing. The scope of the study is divided into 3 aspects. The first one deals with a subject matter which contains contents about the alteration of a variety kind of shells living in different durations reflecting the change of their forms and colors as well as the increase of their numbers. The second aspect copes with a pattern design which 2 dimensional semi-abstract lithograph printing is presenting a movement of related form including details of the alteration of tiny creatures in nature. The third aspect is the presentations part presented in a form of lithograph printing. The works relate to the nature of tiny life especially shells which respond to the mood and feeling of the researcher. The principle of art is applied to the art works to enhance their distinctive chasscteristics.

______________________________________________________________________________ Program of Visual Arts Education Graduate School, Silpakorn University Student’s signature………………………………………… Academic Year 2014 Thesis Advisors’ signature 1…………………………….... 2………………………………………..

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 7: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

กิตติกรรมประกาศ ในการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ ‘‘จุลชีวิตในงานภาพพิมพหิน’’ ใหสําเร็จไดนั้นตองขอกราบขอบพระคุณในการชวยเหลือเสนอแนะแนวทางขอคิดตาง ๆ ในการพัฒนา และนําสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธจาก รองศาสตราจารยทินกร กาษรสุวรรณ และ อาจารย ดร.อภินภัศ จิตรกร อาจารยท่ีปรึกษาโครงการวิทยานิพนธท่ีใหความรู แนวทางและคําแนะนํา ในการพัฒนาปรับปรุงแกไขปญหาในขอบกพรองของการทํางานและคอยตักเตือนใหกําลังใจเสมอมาตอง ขอกราบขอบพระคุณ ขอกราบขอพระคุณอาจารยคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพและคณาจารยคณะศึกษาศาสตรทุกทานท่ีคอยชวยเหลือช้ีแนะ และใหคําสอนตาง ๆ ในการเรียนและการสรางสรรคผลงาน ขอกราบขอบพระคุณ กราบขอบพระคุณ บิดามารดาผูใหกําเนิดและสนับสนุนทุนการศึกษาในการศึกษาเลาเรียนครั้งนี้อีกท้ังยังคอยใหกําลังแรงใจ คอยตักเตือนใหสติและแรงบันดาลใจใหตัวขาพเจาจนถึงปจจุบันนี้ ขอกราบขอบพระคุณ ขอบคุณ เพ่ือนทัศนศิลปศึกษารุน 5 พ่ี ๆ นอง ๆ และเจาหนาท่ีมหาวิทยาศิลปากรทุกทานท่ีคอยชวยเหลือเกื้อกลูในตลอดระยะเวลาท่ีผานมา ขอขอบคุณ สุดทายนี้ตองขอบคุณตัวขาพเจาเอง ท่ีมีความใฝรู ใฝเรียน และมุงม่ัน อดทนตอการศึกษาเลาเรียน จนสามารถนํามาสูการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธในครั้งนี้ไดอยางสมบูรณขาพเจาขอนอมรําลึกถึงคุณงามความดีท้ังหลายเหลานี้ดวยความเคารพอยางสูงขอกราบขอบพระคุณ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 8: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

สารบัญ บทท่ี ................. หนา บทคัดยอภาษาไทย ............................................................................................................................ ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ ....................................................................................................................... จ กิตตกิรรมประกาศ ............................................................................................................................ ฉ สารบัญภาพ ...................................................................................................................................... ฌ สารบัญภาพ ...................................................................................................................................... ญ บทท่ี 1 บทนํา ...................................................................................................................................... 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ......................................................................... 1 ความมุงหมายและวัตถุประสงคของการศึกษา................................................................ 2 สมมุติฐานของการศึกษา .................................................................................................. 3 ขอบเขตการศึกษา ........................................................................................................... 3 วิธีการศึกษาและสรางสรรค............................................................................................ 4 แหลงขอมูลท่ีใชในการศึกษา .......................................................................................... 5 อุปกรณท่ีใชในการคนควา .............................................................................................. 5 นิยามศัพทเฉพาะ ............................................................................................................ 6 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ ............................................................................................. 7 2 ขอมูลท่ีเกี่ยวของกับการสรางสรรค ........................................................................................ 8 ประวัตคิวามเปนมาของศิลปะภาพพิมพ ......................................................................... 9 วิวัฒนาการของภาพพิมพและความเปนมา ............................................................. 9 ความหมายของศิลปะภาพพิมพ ............................................................................ 11 ความหมายของศิลปะภาพพิมพหิน ....................................................................... 12 วิวัฒนาการภาพพิมพหิน ....................................................................................... 13 วิวัฒนาการของภาพพิมพในประเทศไทย ............................................................. 15 การพัฒนาภาพพิมพในประเทศไทย ..................................................................... 16 อิทธิพลท่ีไดรับจากธรรมชาติและส่ิงแวดลอม .............................................................. 19 นิเวศวิทยาของส่ิงมีชีวิตหรือระบบนิเวศของส่ิงมีชีวิต .......................................... 19 ความหมายของระบบนิเวศ ................................................................................... 20

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 9: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

บทท่ี ................. หนา องคประกอบของระบบนิเวศ ................................................................................ 22 ปจจัยท่ีมีความสัมพันธระหวางส่ิงแวดลอมกับส่ิงมีชีวติในระบบนิเวศ ................ 23 ความสัมพันธระหวางส่ิงมีชีวติ ............................................................................. 24 ระบบนิเวศปาไม ................................................................................................... 26 ระบบนิเวศแหลงน้ํา .............................................................................................. 31 อิทธิพลท่ีไดรับจากผลงานศิลปกรรม ........................................................................... 33 อิทธิพลดานแนวความคิดในงานศิลปะท่ีเกี่ยวของกับศิลปะภาพพิมพ.................. 33 อิทธิพลทางดานรูปแบบ ....................................................................................... 46 อิทธิพลทางดานเทคนิค......................................................................................... 57 3 กระบวนการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ ......................................................................... 61 การศึกษาขอมูลและประเด็นในการสรางสรรค ............................................................ 61 ขั้นตอนการศึกษาขอมูล ........................................................................................ 62 ขั้นตอนการประมวลความคิด ............................................................................... 62 กระบวนการสรางสรรค ................................................................................................ 64 การสรางแบบรางผลงาน ....................................................................................... 64 วัสดุ อุปกรณ และกระบวนการของภาพพิมพหิน ................................................. 70 การวิเคราะหทัศนธาตุท่ีใชในการสรางสรรค ....................................................... 83 4 วิเคราะหผลการดําเนินงานสรางสรรควิทยานิพนธ .............................................................. 85 ผลงานในชวงท่ี 1 ปริญญาตรี (ศิลปนิพนธ พ.ศ.2556) ................................................. 85 ผลงานในชวงท่ี 2 ปริญญาโท (กอนวิทยานิพนธ พ.ศ.2557) ........................................ 88 ผลงานในชวงท่ี 3 ปริญญาโท (วิทยานิพนธ พ.ศ.2558) ................................................ 91 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ...................................................................................... 97 รายการอางอิง .................................................................................................................................. 99 ประวัติผูวจิัย .................................................................................................................................. 102

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 10: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

สารบัญภาพ ภาพท่ี ................ หนา 1 ภาพแสดงตัวอยางผลงานของ บุญมี แสงขํา .................................................................... 34 2 ภาพแสดงตัวอยางผลงานของ บุญมี แสงขํา .................................................................... 35 3 ภาพ แสดงตัวอยางผลงานของ พัดชา แกวทองตาล ......................................................... 37 4 ภาพแสดงตัวอยางผลงานของ พัดชา แกวทองตาล .......................................................... 38 5 ภาพแสดงตัวอยางผลงานของ กมลพันธุ โชติวิชัย ........................................................... 40 6 ภาพแสดงตัวอยางผลงานของ กมลพันธุ โชติวิชัย ........................................................... 41 7 ภาพแสดงตัวอยางผลงานของ อุตะงะวะ คนุิโยะชิ .......................................................... 43 8 ภาพแสดงตัวอยางผลงานของ อุตะงะวะ คนุิโยะชิ .......................................................... 44 9 ภาพเพรียงเกาะหิน ........................................................................................................... 46 10 ภาพเพรียง ........................................................................................................................ 47 11 ภาพซากเพรียง ................................................................................................................. 47 12 ภาพหอยกับเพรียง ........................................................................................................... 48 13 ภาพซากหอย ................................................................................................................... 48 14 ภาพซากหอย ................................................................................................................... 49 15 ภาพหอยเพรียง ................................................................................................................ 49 16 ภาพปูกามดาบ ................................................................................................................. 51 17 ภาพปลาตีน ..................................................................................................................... 51 18 ภาพแสม .......................................................................................................................... 52 19 ภาพหอยนางรม ............................................................................................................... 52 20 ภาพกลุมหอย ................................................................................................................... 53 21 ภาพหอยขม ..................................................................................................................... 54 22 ภาพไขหอย ...................................................................................................................... 54 23 ภาพไขหอยเชอรรี ่............................................................................................................ 55 24 ภาพกบ ............................................................................................................................ 55 25 ภาพกบ ............................................................................................................................ 56 26 ภาพแสดงตัวอยางผลงานของ มณี มีมาก ......................................................................... 58 27 ภาพแสดงตัวอยางผลงานของ มณี มีมาก ......................................................................... 59

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 11: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

ภาพท่ี ................ หนา 28 ภาพแสดงตัวอยางผลงานของ มณี มีมาก ......................................................................... 60 29 ภาพรางผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 1 ................................................................................. 65 30 ภาพรางผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 2 ................................................................................. 65 31 ภาพรางผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 3 ................................................................................. 66 32 ภาพรางผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 4 ................................................................................. 66 33 ภาพรางผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 5 ................................................................................. 67 34 ภาพรางผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 6 ................................................................................. 67 35 ภาพรางผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 7 ................................................................................. 68 36 ภาพรางผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 8 ................................................................................. 68 37 ภาพรางผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 9 ................................................................................. 69 38 ภาพรางผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 10 ............................................................................... 69 39 ภาพแสดงการรางภาพผลงานลงบนแผนอะลูมิเนียม ....................................................... 75 40 ภาพแสดงการเขยีนเพลทใหเกดิแสงเงาและน้ําหลัก ........................................................ 75 41 ภาพแสดงการทําทิชชูผสมกับน้ํามันสน .......................................................................... 76 42 ภาพแสดงการเคลือบแมพิมพดวยกาวบริสุทธ์ิ ................................................................. 76 43 ภาพแสดงการใชผาขาวบางเช็ดกาวบริสุทธ์ิในขั้นตอนการเคลือบกาวบริสุทธ์ิ ............... 77 44 ภาพแสดงการกัดกรดดวยอัตราสวนตามท่ีกําหนดไว ...................................................... 77 45 ภาพแสดงการใชผาขาวบางเช็ดกาวกรดในขัน้ตอนการกัดกรดแมพิมพ.......................... 78 46 ภาพแสดงการลางแมพิมพดวย น้ํามันสน ทินเนอร แลคแกอร ........................................ 78 47 ภาพแสดงการเช็ดเช้ือลงบนแมพิมพ ............................................................................... 79 48 ภาพแสดงการลางแมพิมพดวย น้ํามันสน ทินเนอร แลคแกอร ........................................ 79 49 ภาพแสดงการผสมหมึกท่ีกล้ิงลงบนแมพิมพในการถายเทไปยังกระดาษ ....................... 80 50 ภาพแสดงการกล้ิงหมึกพิมพลงแมพิมพท่ีผานกระบวนการตามขั้นตอนมาแลว ............. 80 51 ภาพแสดงการวางกระดาษลงบนแมพิมพ ........................................................................ 81 52 ภาพแสดงการปาดจาระบีลงแผนอะคลีลิค ...................................................................... 81 53 ภาพแสดงการหมุนแทนพิมพในการนําผลงานเขาสูกระบวนการพิมพ ........................... 82 54 ภาพแสดงการนําผลงานออกจากแมพิมพ ........................................................................ 82 55 ภาพผลงานในชวงปริญญาตรี ช้ินท่ี 1 .............................................................................. 86 56 ภาพผลงานในชวงปริญญาตรี ช้ินท่ี 2 .............................................................................. 86

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 12: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

ภาพท่ี ................ หนา 57 ภาพผลงานในชวงปริญญาตร ีช้ินท่ี 3 .............................................................................. 87 58 ภาพผลงานในชวงปริญญาตรี ช้ินท่ี 4 .............................................................................. 87 59 ภาพผลงานในชวงปริญญาตรี ช้ินท่ี 5 .............................................................................. 88 60 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 1 ............................................................................... 89 61 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 2 ............................................................................... 89 62 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 3 ............................................................................... 90 63 ภาพผลงานกอนวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 4 ............................................................................... 90 64 ภาพผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 1 ....................................................................................... 91 65 ภาพผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 2 ....................................................................................... 92 66 ภาพผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 3 ....................................................................................... 92 67 ภาพผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 4 ....................................................................................... 93 68 ภาพผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 5 ....................................................................................... 93 69 ภาพผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 6 ....................................................................................... 94 70 ภาพผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 7 ....................................................................................... 94 71 ภาพผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 8 ....................................................................................... 95 72 ภาพผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 9 ....................................................................................... 95 73 ภาพผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 10 ..................................................................................... 96

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 13: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

บทที่ 1 บทนํา

ขาพเจาผานชวงชีวิตวัยเด็กมาจากสังคมชนบทท่ีเต็มไปดวยธรรมชาติท่ีอุดมสมบรูณประกอบดวยพืชพันธุไมและส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ท่ีอาศัยอยูภายในธรรมชาติรอบ ๆ ตัวไดอยางกลมกลืนและเห็นถึงการปรับตัว การเปล่ียนแปลงไปของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ เหลานี้ท่ีสามารถดํารงชีวิตและทําหนาท่ีเปนท้ังผูผลิตและผูยอยสลายทําใหเกิดเปนวัฎจักรเกิดเปนความกลมกลืนของธรรมชาติขึ้นมาและมีการรังสรรคใหส่ิงมีชีวิตเหลานี้มีการปรับตัว ปรับสภาพใหเขากับส่ิงแวดลอมในสภาพตาง ๆ ไดอยางชาญฉลาดโดยมีเอกลักษณและความนาสนใจใหสืบคนมาเปนแนวทางในการสรางสรรคผลงาน เชน พฤติกรรมการพ่ึงพาอาศัยกัน การเพ่ิมจํานวน และการเคล่ือนไหวไปอยางเช่ืองชา แตมีความสงบ และสามารถดํารงเผาพันธุใหอยูรอดในสภาพแวดลอมท่ีมีการเปล่ียนแปลงไปทุกวันนั้นคือส่ิงท่ีธรรมชาติไดสรางใหเกิดวัฎจักรของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ เหลานี้ขึ้นเพ่ือมาทําหนาท่ีชวยปรับสมดุลของธรรมชาติทําใหถึงกลไกล การปรับสภาพ การเปล่ียนแปลง เกิดความกลมกลืน ของธรรมชาตท่ีิมีการเปล่ียนแปลงนั้นเอง ดังนั้นขาพเจามีความรูสึกในความงามของธรรมชาติของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ เชน หอยทาก แมลง สัตวไมมีกระดูกสันหลัง หอยชนิดตาง ๆ จึงเกิดความประทับใจในกลไกของส่ิงมีชีวิตนี้จึงไดสังเกตพฤติกรรมของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ เหลานี้ท่ีมีความเปนเอกลักษณ เชน ลวดลาย ลักษณะการสืบพันธุ การอาศัยอยูรวมกัน การเพ่ิมจํานวน และการเคล่ือนไหวจึงไดเกิดจินตนาการในการสรางสรรคผลงานโดยการตัดทอนรูปทรงและเพ่ิมเติมจินตนาการสวนตัวไปดวยเพ่ือใหเกิดความเปนเอกภาพ และความกลมกลืนในผลงานทําใหเกิดความรูสึกในชวงเวลา สถานท่ี ท่ีส่ิงมีชีวิตอาศัยอยูรวมกันในชวงเวลานั้นไดเดนชัดขึ้น ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ส่ิงมีชีวิตในธรรมชาติมีความสัมพันธรวมกันเปนระบบนิเวศโดยเฉพาะส่ิงมีชีวิตท่ีมีขนาดเล็กท่ีอาศัยอยูในธรรมชาติ ทําหนาท่ีเปนผูผลิตและผูยอยสลายเกิดเปนวงจรชีวิตและมีความนาสนใจโดยเฉพาะเรื่องราวของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ท่ีอาศัยในธรรมชาติรอบ ๆ ตัว เชน หอยทาก ไสเดือน สัตวไมมีกระดูกสันหลัง หอยชนิดตาง ๆ เปนตน ท่ีมีการอาศัยอยูในธรรมชาติมีการปรับตัวตามสภาพแวดลอม

1

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 14: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

2

ไดอยางกลมกลืนอีกท้ังมีการปรับตัวเคล่ือนไหวอยางเช่ืองชาตามกฎเกณฑของธรรมชาติไมวาจะเปนการอาศัยรวมกันในสภาพแวดลอมท่ีมีการเปล่ียนแปลงไปแตก็สามารถดํารงชีวิตปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมนั้นไดอยางชาญฉลาดและมีการเพ่ิมจํานวนเพ่ือสืบทอดเผาพันธุใหอยูรอดในธรรมชาติท่ีมีการเปล่ียนแปลงไดอยางสมดุลและยังมีรองรอยท่ีเกิดจากการดํารงชีวิต ใหเห็นถึงชวงกาลเวลาท่ีส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ เหลานี้ไดดํารงชีวิตอยูเกิดเปน รองรอย และรูปทรงท่ี กลมกลืนกับสภาพแวดลอมท่ีส่ิงมีชีวิตเหลานี้อาศัยอยู บงช้ีใหเห็นถึงการปรับตัวอยางสวยงามและกลมกลืนกับสภาพแวดลอมในธรรมชาติไดอยางลงตัว ขาพเจาเห็นคุณคาของความงามในธรรมชาติจากส่ิงมีชีวิตเหลานี้ท่ีมีการรังสรรคตัวเองใหมีการเคล่ือนไหวไปดวยความสงบทีละเล็กทีละนอยอยางสวยงามโดยเปนไปตามกฎเกณฑท่ีธรรมชาติสรางขึ้นจึงทําใหเห็นถึงระยะเวลา ผานรองรอยและรูปทรงของ ส่ิงมีชีวิตเหลานี้ท่ีเกิดขึ้นมาอยางชา ๆ และมีการปรับเปล่ียนทําใหเกิดความรูสึกถึงกลไกของธรรมชาติและเห็นคุณคาของการปรับตัวของส่ิงมีชีวิตเหลานี้เรื่องราวดังกลาวเปนแรงบัลดาลใจท่ีสําคัญในการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธชุดนี้ ความมุงหมายและวัตถุประสงคของการศึกษา 1. เพ่ือสรางสรรคผลงานท่ีสามารถสะทอนถึงคุณคาความงามของธรรมชาติดวยส่ิงมีชีวิตท่ีมีขนาดเล็กโดยการนํามาเอารูปทรงของหอยชนิดตาง ๆ มาลดทอนปรับเปล่ียนตามจินตนาการเพ่ือแสดงใหเห็นถึงคุณคาความงามของธรรมชาติและความกลมกลืน 2. เพ่ือศึกษาการเปล่ียนแปลงการปรับตัวของ หอยชนิดตาง ๆ รวมท้ังสัตวไมมีกระดูกสันหลังในธรรมชาต ิ 3. เพ่ือศึกษารูปแบบผลงานลักษณะกึ่งนามธรรมท่ีคล่ีคลายรูปทรงมาจากหอยตาง ๆ และ สัตวประเภทไมมีกระดูกสันหลังเพ่ือความกลมกลืนและความเปนเอกภาพในผลงาน 4. เพ่ือศึกษากระบวนการในการสรางสรรคผลงานท่ีมีเทคนิคกระบวนการทางภาพพิมพหิน (Lithograph) ท่ีมีเอกรูปแบบอันเปนเอกลักษณเฉพาะตัว

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 15: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

3

สมมุติฐานของการศึกษา จากความประทับใจในเรื่องราวของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ในธรรมชาติขาพเจาไดนําเอา

เรื่องราวของการดํารงชีวิตของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ เหลานี้ท่ีอาศัยอยูในสภาพแวดลอมรอบตัวและเห็นถึงการปรับตัวเปล่ียนแปลงไปตามสภาพของแวดลอมท่ีส่ิงมีชีวิตเหลานี้อาศัยอยูไดอยางกลมกลืน และยังมีการปรับตัวเพ่ิมจํานวนเคล่ือนไหวไปอยางเช่ืองชาเพ่ือใหอยูรอดในสภาวะตาง ๆ ของส่ิงแวดลอมท่ีเปล่ียนไปจึงเกิดเปนแนวทางของการศึกษาสังเกตและนําเรื่องราวเนื้อหาดังกลาวมาสรางสรรคโดยการแสดงรายละเอียดของรูปทรงของหอยและรายละเอียดของพ้ืนผิวท่ีแสดงใหเห็นถึงรองรอยของส่ิงมีชีวิตเหลานี้ท่ีไดดํารงชีวิตและผานชวงระยะเวลาจึงเกิดเปนลวดลายท่ีกลมกลืนสวยงามและปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมท่ีอาศัยนั้น โดยอาศัยเทคนิคกระบวนการทางภาพพิมพหิน (Lithograph) เพ่ือมุงเนนใหเห็นถึงรองรอยการปรับตัวของส่ิงมีชีวิตและเห็นถึงการเพ่ิมจํานวนในสภาพแวดลอมท่ีมีการเปล่ียนแปลงไปและดํารงชีวิตอยูในธรรมชาติไดอยางมีเอกภาพ ขอบเขตการศึกษา ขาพเจาตองการนําเสนอผลงานศิลปะท่ีมีเนื้อหาเกี่ยวกับธรรมชาติของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ท่ีดํารงอยูในธรรมชาติและเห็นถึงรองรอยการปรับตัวเปล่ียนแปลงและการเพ่ิมจํานวนไปตามกฎเกณฑของธรรมชาติตามทัศนคติสวนตัวในลักษณะกึ่งนามธรรมทําใหเกิดความรูสึกประทับใจในรูปทรง และรองรอยท่ีกลมกลืนอยางเปนเอกภาพผานกระบวนการทางภาพพิมพหิน (Lithograph) เพ่ือใหการสรางสรรคผลงานบรรลุตามจุดมุงหมายจึงไดกําหนดเนื้อหาและเรื่องราววิธีการไดดังนี ้ 1. ขอบเขตดานเนื้อหา นําเสนอเกี่ยวกับเรื่องราวของส่ิงมีชีวิตประเภทสัตวไมมีกระดูกสันหลัง เชน หอยทาก หอยชนิดตาง ๆ เปนตนท่ีอาศัยอยูรวมกันในธรรมชาติรอบตัวเราแสดงถึงการปรับตัวของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ท่ีมีการปรับตัวเคล่ือนไหวอยางสงบเปนไปตามกฎเกณฑของธรรมชาติสรางใหเกิดเปนมิติความงาม 2. ขอบเขตดานรูปแบบ เปนภาพพิมพ 2 มิติแบบกึ่งนามธรรมแสดงความเคล่ือนไหวของรูปทรงท่ีสัมพันธกันและมีความกลมกลืนทางเอกภาพของรูปทรงและยังมีรายละเอียดของรองรอยการปรับตัวเปล่ียนแปลงของส่ิงมีชีวิตใหเห็นถึงสภาพการดํารงชีวิตอยางกลมกลืนกับธรรมชาติอยางสวยงาม

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 16: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

4

3. ขอบเขตดานการนําเสนอ ใชกลวิธีทางการพิมพโดยใชเทคนิคทางดานภาพพิมพหิน (Lithograph) ในการ

นําเสนอภาพผลงาน 2 มิติ ขนาด 60 x 80 เซนติเมตร จํานวน 10 ช้ิน วิธีการศึกษาเละสรางสรรค วิธีการสรางสรรคผลงานศิลปนิพนธชุดนี้สัมพันธภาพกับการปรับตัวมีขั้นตอนพอสังเขปดังนี ้ 1. การรวบรวมขอมูล การศึกษาขอมูลจากหนังสือและศึกษาส่ืออินเตอรเน็ตเละจากการศึกษาภาคสนามในสถานท่ีจริงเชน พ้ืนท่ีธรรมชาติ ปาไม และบริเวณท่ีส่ิงมีชีวิตเชนหอยชนิดตาง ๆ ชอบอาศัยอยูโดยมีลักษณะพ้ืนท่ีอาศัยเฉพาะแตกตางกันออกไปเพ่ือใหสัมผัสรับรูถึงบรรยากาศ สภาพแวดลอมนั้นเปนประสบการณในการถายทอดความรูสึกแสดงออกในผลงานและศึกษาจากผลงานสรางสรรคทางทัศนศิลปของศิลปน 2. การวิเคราะหขอมูลและการสรางสรรคภาพราง เม่ือไดขอมูลแลวจึงนํามารวบรวมเพ่ือวิเคราะหตามแนวทางท่ีแสดงออกไดอยางตรงจุดประสงคและสังเคราะหออกมาโดยการกําหนดรูปทรงและโครงสรางของภาพเปนการควบคุมการแสดงออกโดยใชทัศนธาตุและหลักการจัดองคประกอบศิลป ใหเกิดเอกภาพและความสมบรูณในผลงานนําเสนออาจารยท่ีปรึกษาเพ่ือรับคําแนะนําในการปรับปรุงเปล่ียนแปลงภาพรางใหมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้นและเหมาะสมท่ีจะนําไปสูการสรางสรรคผลงานจริงในขั้นตอนตอไป 3. การสรางสรรคผลงานจริง นํา เ ส น อ ภ า พ รา ง ล า ย เ สน ที ่จัด อ ง คป ร ะ ก อ บสมบูรณแลวมาขยายผลงานพรอมกับการสรางสรรคผลงานโดยใชกระบวนการทางเทคนิคภาพพิมพ (Lithograph) ในการนําเสนอเปนผลงานโดยการนําเอาดินสอไขมา (drawing) มาสรางเปนรายละเอียดของภาพประกอบไดอยางดีและเหมาะสมในการทําผลงาน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 17: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

5

แหลงขอมูลที่ใชในการศึกษา 1. ขอมูลท่ีไดรับจากการรวบรวมเอกสารท่ีเกี่ยวของ 1.1 ศึกษาจากแหงขอมูล จากแกลลอรี่ท่ีมีการเสนองานศิลปะตาง ๆ เพ่ือนํามาเปนสวนประกอบในขอมูล 1.2 ศึกษาจากแหลงขอมูลหองสมุดมหาวิทยาลัยศิลปากรและหองสมุดท่ัวไป 1.3 ศึกษาจากแหลงพ้ืนท่ีระบบนิเวศปาไม แมน้ํา คูคลอง และบริเวณท่ีมีส่ิงมีชีวิตนี้อาศัยอยู 1.4 สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมตาง ๆ 2. ขอมูลท่ีไดจากภาคสนาม 2.1 ศึกษาจากการลงพ้ืนท่ีจริงท่ีสามารถบันทึกภาพของการเปล่ียนแปลงของ ส่ิงมีชีวิตไดไดแก บานของขาพเจา อุปกรณที่ใชในการคนควา วัสดุอุปกรณท่ีใชในการสรางสรรคผลงานชุดนี้ไดแบงออกเปนสามสวน คือสวนของการเก็บขอมูลและสวนของการจัดทําผลงานจริง โดยรายละเอียดดังนี้ 1. อุปกรณท่ีใชบันทึกขอมูล 1.1 กลองถายรูป 1.2 สมุดสเก็ต สมุดบันทึก 1.3 ดินสอ ปากกา 1.4 คอมพิวเตอร 1.5 แผน CD 2. วัสดุท่ีใชในการคนควา 2.1 แผนอลูมิเนียม 2.2 กรดซัลฟูริค 2.3 ทินเนอร 2.4 น้ํามันสน 2.5 แล็กเกอร 2.6 วานิชดํา 2.7 ดินสอไข 2.8 ดินสอ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 18: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

6

2.9 ปากกา 2.10 เทปกาว 2.11 แปงฝุน 2.12 กาวกระถิน 2.13 กระดาษไข กระดาษลอกลาย 2.14 กระดาษปรูฟ 2.15 กระดาษทิชชู 2.16 กระดาษ (fabriano) 2.17 สีภาพพิมพ 3. อุปกรณท่ีใชในการทําคนควา 3.1 ลูกกล้ิงยางขนาดตาง ๆ 3.2 เกรียงผสมหมึก 3.3 แปรง 3.4 พูกัน 3.5 คัตเตอร 3.6 ผาสาร ู 3.7 ฟองน้ํา นิยามศัพทเฉพาะ ภาพพิมพหิน หมายถึง กระบวนการทําภาพพิมพท่ีตัวแมพิมพมีผิวเรียบแบน แตหลักของการพิมพอาศัยกฎเกณฑแหง ความไมเขากันระหวาง น้ํากับน้ํามัน แมพิมพจะเปนหินท่ีมีเนื้อละเอียดมาก และมีผิวแบนเรียบ รูปท่ีตอง การจะเกิดจากการขีด เขียนหรือวาดระบายดวยไข ในการพิมพกอนท่ีจะกล้ิงหมึกพิมพจะตองใชน้ําหลอ เล้ียงผิวของแมพิมพใหชุมช้ืน เม่ือกล้ิงหมึกพิมพซ่ึงเปนไขผานไปบนแมพิมพหมึก พิมพท่ีเปนไขจะติด บนรูปท่ีวาดดวยไขเทานั้น หมึกพิมพจะไมติดบนผิวหินสวนท่ีมีน้ําหลอเล้ียงอยู แลวจึงนําเอากระดาษ มาปดทับบนแมพิมพรีดกดใหหมึกติดกระดาษ เกิดเปนรูปภาพท่ีตองการได ส่ิงแวดลอม หมายถึง ทุกส่ิงท่ีอยูรอบตัวมนุษยท้ังท่ีมีชีวิตและไมมีชีวิตรวมท้ังท่ีเปนรูปธรรมและนามธรรม (ไมสามารถจับตองได) มีอิทธิพลเกี่ยวโยงกันเปนปจจัยในการเกื้อหนุนซ่ึงกันและกันผลกระทบจากปจจัยหนึ่งจะมีสวนเสริมสรางหรือทําลายอีกสวนหนึ่งอยางหลีกเล่ียงไมไดส่ิงแวดลอมจึ่งเปนวงจรและวัฎจักรท่ีเกี่ยวของกันไปท้ังระบบ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 19: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

7

เอกภาพ หมายถึง ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน หรือ ความกลมกลืนกลมเกลียวเขากันได เกิดจากการเช่ือมโยงความสัมพันธของสวนตาง ๆ เชน รูปทรง รูปราง มาจัดเขาดวยกันในแตละหนวยใหเกิดเปนส่ิงมีเรียกวา ความสัมพันธ สัมพันธภาพ หมายถึง การอยูรวมกันพ่ึงพาอาศัยกันและเกิดเปนวงจรวัฎจักรท่ีเกื้อหนุนกันและไมแยกออกจากกันเกิดเปนความสัมพันธ ทัศนคติ หมายถึง แสดงออกถึงความชอบหรือไมชอบหรือเหตุการณส่ิงใดส่ิงหนึ่งท่ีตัวเรารูสึกจึงเกิดเปนความสัมพันธทางจิตใจ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. เพ่ือพัฒนาเทคนิค รูปแบบ แนวคิด และทักษะดานการสรางสรรคผลงานภาพพิมพหิน (Lithograph) ท่ีมีรูปแบบเอกลักษณเฉพาะตัวตามทัศนคติสวนตัวเฉพาะตัว 2. เพ่ือถายทอดใหเห็นถึงความความสวยงามของธรรมชาติของส่ิงมีชีวิตท่ีมีการปรับตัวเปล่ียนแปลงใหอยูรอดในธรรมชาติและดํารงชีวิตไดอยางกลมกลืนกับส่ิงแวดลอมท่ีมันอาศัยอยูเห็นถึง รองรอยและรูปทรง ท่ีกลมกลืนและมีการเพ่ิมจํานวนไดอยางชาญฉลาด 3. ใหผูชมผลงานเกิดความซาบซ้ึงประทับใจในผลงานท่ีสรางสรรคขึ้นและเห็นถึงความสวยงามของธรรมชาติของส่ิงมีชีวิตท่ีมีการรังสรรคตัวเองไดอยางสวยงาม

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 20: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

8

บทที่ 2 ขอมูลทีเ่กีย่วของกบัการสรางสรรค

ในการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ ชุด ‘‘จุลชีวิตในงานภาพพิมพหิน’’ ส่ิงท่ีสําคัญคือ การศึกษาคนควาหาขอมูลตาง ๆ ท่ีจะนํามาสูการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธท่ีสมบูรณโดยประกอบไปดวย แนวทางในความคิด และเปนแนวทางคนควาหาขอมูลในการสรางสรรคผลงานของขาพเจา และในการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธนั้นตองมีแหลงขอมูลท่ีนาเช่ือถือในทํางานขาพเจาไดรวบรวมเนื้อหาขอมูลท่ีไดศึกษามาซ่ึงอธิบายพอสังเขปไดดังนี ้

1. ประวัติศาสตรความเปนมาของศิลปะภาพพิมพ 1.1 วิวัฒนาการของภาพพิมพและความเปนมา 1.2 ความหมายของศิลปะภาพพิมพ 1.3 ความหมายของศิลปะภาพพิมพหิน 1.4 วิวัฒนาการภาพพิมพหิน 1.5 วิวัฒนาการของภาพพิมพในประเทศไทย 1.6 การพัฒนาภาพพิมพในประเทศไทย 2. อิทธิพลท่ีไดรับจากธรรมชาติและส่ิงแวดลอม

2.1 นิเวศวิทยาของส่ิงมีชีวิตหรือระบบนิเวศของส่ิงมีชีวิต 2.2 ความหมายของระบบนิเวศ 2.3 องคประกอบของระบบนิเวศ 2.4 ปจจัยท่ีมีความสัมพันธระหวางส่ิงแวดลอมกับส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศ 2.5 ความสัมพันธระหวางส่ิงมีชีวิต 2.6 ระบบนิเวศปาไม 2.7 ระบบนิเวศแหลงน้ํา 3. อิทธิพลท่ีไดรับจากผลงานศิลปกรรม 3.1 อิทธิพลดานแนวความคิดในงานศิลปะท่ีเกี่ยวของกับศิลปะภาพพิมพ 3.2 อิทธิพลทางดานรูปแบบ 3.3 อิทธิพลทางดานเทคนิค

8

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 21: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

9

1. ประวัติศาสตรความเปนมาของศิลปะภาพพิมพ 1.1 วิวัฒนาการของภาพพิมพและความเปนมา วิวัตนาการภาพพิมพ มีประวัติความเปนมาเริ่มตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร200,000 ปกอนคริสตกาล โดยมนุษยโครมันยอง ดังพบภาพพิมพรูปมือบนผนังถํ้าในถํ้าลาสโควซประเทศฝรั่งเศสและถํ้าอัลตามิรา ประเทศสเปน ตอมาชาวอียิปตและชาวเมโสโปเตเมียรูจักการพิมพภาพแบบใชแรงกดประทับบนผิววัสดุท่ีออนนิ่ม เชน ดิน ขี้ผ้ึง จากนั้นมนุษยคิดคนกระดาษขึ้นไดจึงเปล่ียนวัสดุรองรับท่ีเปนดินหรือขีผ้ึ้งมาเปนกระดาษแทน นับแตนั้นมาภาพพิมพก็ไดพัฒนามาอยางตอเนือ่งท้ังในดานรูปแบบกลวิธีการพิมพตามวิวัฒนาการของมนุษยและความเจริญกาวหนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาจนถึงปจจุบัน ความเจริญกาวหนาทางดานการพิมพเปนส่ิงท่ีชวยสงเสริมความเจริญกาวหนาทางดานศิลปะวิทยาการเพราะวามนุษยสรางสรรคกระบวนการพิมพภาพขึ้นมาก็เพ่ือตอบสนองความตองการ ในการเผยแพรความคิดและความรูของมนุษยใหกระจายไปไดอยางแพรหลาย ตลอดจนเพ่ือเก็บรักษาความรูตาง ๆ ไวใหคนรุนหลังไดศึกษาถึงความเปนมาของความรูในเรื่องตาง ๆ ดังนั้นเพ่ือใหเห็นภาพรวมของพัฒนาการทางดานการพิมพภาพท่ีกอประโยชนใหมนุษยอยางมากในปจจุบัน จึงขอกลาวถึงประวัติความเปนมาของภาพพิมพในกลุมประเทศตะวันออก กลุมประเทศตะวันตกหรือยุโรปและในประเทศไทย วิวัฒนาการดานการพิมพในกลุมประเทศตะวันออก คือ จีน ญี่ปุน นั้นแสดงใหเห็นวา จีนเปนชนชาติแรกท่ีคิดคนการทําภาพพิมพขึ้น โดยการแกะสลักลงบนหิน หยก งาชาง กระดูกสัตว และเขาสัตว เพ่ือทําเปนแมพิมพแลวกดแมพิมพลงบนดินเหนียว ครั่ง ขี้ผ้ึงหรือกระดาษใหเกิดลักษณะเปนรอย ความรูการพิมพนี้ไดเผยแพรไปยังประเทศตะวนัตกและประเทศเพ่ือนบานท่ีสําคัญไดแก ประเทศญี่ปุน เกาหลี ซ่ึงประเทศเกาหลีไดพัฒนาความรูเรื่องการพิมพนี้จนสามารถทําตัวเรียงพิมพ เปนโลหะสําเร็จ ในสวนของประเทศญี่ปุนก็ไดพัฒนาการพิมพขึ้นจนเปนท่ียอมรับในดานของภาพพิมพท่ีมีคุณคา ซ่ึงมีสกุลชางภาพพิมพแกะไมท่ีมีช่ือเสียง คือ สกุลชางอูกิโยเอะท่ีสามารถสรางสรรคผลงานภาพพิมพไดอยางงดงามและมีเอกลักษณเฉพาะตัว ดังจะเห็นไดจากประเทศญี่ปุนไดใหอิทธิพลแกศิลปะของประเทศทางตะวันตกหรือยุโรปในชวงคริสตศตวรรษท่ี 19สวนภาพพิมพในกลุมประเทศตะวันตกมีพัฒนาการมาอยางยาวนานและตอเนื่องนับตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตรท่ีรูจักกระบวนการพิมพโดยการวางมือทาบบนผนังถํ้าแลวเปาสี หรือทาสีบนฝามือ จากนั้นกดประทับเปนรูปมือไวบนผนังถํ้าตอมาอารยธรรมอียิปตไดรูจักนําภาพแกะสลักเล็ก ๆกดลงบนดินใหเกิดเปนรอยขึ้น สวนในดินแดนเมโสโปเตเมีย คนพบการใชดินเหนียวแกะเปนตรา

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 22: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

10

สัญลักษณและนําไปตากแดดใหแหงหรือนําไปเผาไฟ เพ่ือใหเกิดเปนแมพิมพกดประทับตอมาในป ค.ศ. 1450 โจฮัน กูเต็นเบิรก ไดคิดประดิษฐแทนพิมพอยางงายขึ้น จากนั้นในชวง ค.ศ.15 อัลเบรชท ดือเรอร ไดคดิคนกลวิธีภาพพิมพรองลึก พอถึง ค.ศ. 16 ทอมัส บิวิค ไดคิดคนกลวิธีภาพพิมพลายแกะไมไดสําเร็จ หลังจากนั้น วิลเลียม เบลก ไดพยายามปรับปรุงภาพพิมพผิวนูน ดวยวิธีการสรางภาพผลงานลงบนแผนโลหะโดยใหกรดทําปฏิกิริยากับแผนโลหะจนไดแมพิมพผิวนูนและในประเทศเยอรมัน ไดมีการคิดคนกลวธีิภาพพิมพมัชฌิมรงค ในป ค.ศ. 1660 เฮอรคิวลิส ซีเกอร ไดคิดกลวิธีภาพพิมพอยางสีน้ํา พอถึง ค.ศ. 1793 อะลัวส เซเนเฟลเดอร ไดคนพบกลวิธีภาพพิมพหิน และในระหวางป ค.ศ. 1864 - 1901 อองรี เดอ ตูลูส โลเตรก ไดนํากลวิธีภาพพิมพหินมาพัฒนาใหเขากับระบบธุรกิจ โดยทํา โปสเตอรหลาย ๆ สีออกสูสาธารณชน ค.ศ. 1907 ซามูเอล ไซมอน ไดพัฒนาและปรับปรุงกลวิธีภาพพิมพผานฉาก โดยใชเสนไหมมาทําเปนแมพิมพจนสําเร็จ เรียกอีกอยางวา “กลวิธีภาพพิมพตะแกรงไหม” ซ่ึงกลวิธีนี้เปนท่ีนิยมอยางมากของศิลปนใน ค.ศ. 20 เชน รอเบิรต เราเชนเบิรก แอนดี วอรโฮล เปนตน สําหรับภาพพิมพในประเทศไทยนั้น ระยะเริ่มแรกทําขึ้นเพ่ือประโยชนใชสอยเชิงพาณิชยศิลป โดยพิมพเปนภาพประกอบหนังสือและหนังสือเปนสวนใหญ หลังจากนั้นไดรับการพัฒนาจนกลายเปนงานภาพพิมพระยะตอมาในระบบการศึกษา โดยมีคณะจิตรกรรมและประติมากรรมมหาวิทยาลัยศิลปากรเปนผูบุกเบิกการเรียนการสอนทางดานภาพพิมพเปนแหงแรก และก็มีสถาบันอ่ืน ๆ เปดตามมา จนกระท่ังปจจุบันภาพพิมพของศิลปนไทยเปนท่ียอมรับในระดับนานาชาติ สรุปไดวา ภาพพิมพนับเปนศิลปะสาขาหนึ่งท่ีมีความสําคัญปจจุบันการพิมพไดรับการยอมรับมากขึ้น ผูคนและศิลปนหลายทานตางใหความสนใจไดนําผลงานภาพพิมพไปจัดแสดงตามหอศิลปตาง ๆ เพ่ือเผยแพรสูสาธารณะชน และมีการสนับสนุนโดยการจัดใหศิลปะภาพพิมพเขามีสวนรวมในการประกวดการแสดงศิลปากรรมแหงชาติ ทําใหศิลปะภาพพิมพเริ่มขยายตัวเปนวงกวางและเปล่ียนแปลงไปในทิศทางท่ีดี ศิลปะภาพพิมพจึงพัฒนาตอเนื่องเรื่อยมาจนถึงปจจุบันใหเราไดช่ืนชมกัน1

1กมล คงทอง, วิวัฒนาการศิลปะภาพพิมพในประเทศไทยตัง้แตพ.ศ.2503 จนถึง 2536

(กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร), เขาถึงเม่ือ 12 มีนาคม 2557, เขาถึงไดจากhttp://www.penprinting.co.th/trip_sp03.html

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 23: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

11

1.2 ความหมายของศิลปะภาพพิมพ ภาพพิมพโดยความหมายของคํายอมเปนท่ีเขาใจชัดเจนแลววา หมายถึง รูปภาพท่ีสรางขึ้นมาโดยวิธีการพิมพ แตสําหรับคนไทยสวนใหญเม่ือพูดถึง ภาพพิมพอาจจะยังไมเปนท่ีรูจักวาภาพพิมพคืออะไรกันแนเพราะคํา ๆ นี้เปนคําใหมท่ีเพ่ิงเริ่มใชกันมาประมาณเม่ือ 30 ป มานี้เองโดยความหมายของคําเพียงอยางเดียว อาจจะชวนใหเขาใจสับสนไปถึงรูปภาพท่ีพิมพดวยกรรมวิธีการพิมพทางอุตสาหกรรม เชน โปสเตอร ภาพพิมพท่ีจําลองจากภาพถาย หรือภาพจําลองจิตรกรรม อันท่ีจริงคําวาภาพพิมพ เปนศัพทเฉพาะทางศิลปะท่ี หมายถึง ผลงานวิจิตรศิลปท่ีจัดอยูในประเภท ทัศนศิลป เชนเดียวกันกับจิตรกรรมและประติมากรรม ภาพพิมพท่ัวไปมีลักษณะเชนเดียวกับจิตรกรรมและภาพถาย คือตัวอยางผลงานมีเพียง 2 มิติ สวนมิติท่ี 3 คือ ความลึกท่ีจะเกิดขึ้นจากการใช ภาษาเฉพาะของทัศนศิลป อันไดแก เสน สี น้ําหนัก และพ้ืนผิว สรางใหดูลวงตาลึกเขาไปในระนาบ 2 มิติ ของผิวภาพ แตภาพพิมพมีลักษณะเฉพาะท่ีแตกตางจากจิตรกรรมตรงกรรมวิธีการสรางผลงานท่ีจิตรกรรมนั้น ศิลปนเปนผูสรางสรรคขีดเขียน หรือวาดภาพระบาย สีลงไปบนผืนผาใบ กระดาษ หรือสรางออกมาเปนภาพโดยทันที แตการสรางผลงานภาพพิมพศิลปนตองสรางแมพิมพขึ้นมาเปนส่ือกอน แลวจึงผานกระบวนการพิมพ ถายทอดออกมาเปนภาพท่ีตองการได

จากกรรมวิธีในการสรางผลงานดวยการพิมพนี้เองท่ีทําใหศิลปนสามารถสรางผลงานตนแบบ (Original) ท่ีเหมือน ๆ กันไดหลายช้ิน เชนเดียวกับผลงานประติมากรรม ประเภทท่ีปนดวยดินแลวทําแมพิมพหลอผลงานช้ินนั้นใหเปนวัสดุถาวร เชน ทองเหลือง หรือ สําริด ทุกช้ินท่ีหลอออกมาถือวาเปนผลงาน ตนแบบมิใชผลงานจําลอง (Reproduction) ท้ังนี้เพราะวาภาพพิมพนั้นก็มิใชผลงานจําลองจากตนแบบท่ีเปนจิตรกรรม หรือ วาดเสน แตภาพพิมพเปนผลงานสรางสรรค ท่ีศิลปนมีท้ังเจตนาและความเช่ียวชาญในการใชคุณลักษณะพิเศษเฉพาะของเทคนิควิธีการทางภาพพิมพ แตละชนิดมาใชในการถายทอดจินตนาการ ความคิด และอารมณ ความรูสึกออกมาในผลงานไดโดยตรง แตกตางกับการท่ีนําเอาผลงานจิตรกรรมท่ีสรางสําเร็จไวแลวมาจําลองเปนภาพโดยผานกระบวนการทางการพิมพ

ในการพิมพผลงานแตละช้ินศิลปนจะจํากัดจํานวนพิมพตามหลักเกณฑสากลท่ีศิลปสมาคมระหวางชาติ ซ่ึงไทยก็เปนสมาชิกอยูดวย ไดกําหนดไวโดยศิลปนผูสรางผลงานจะเขียนกํากับไวท่ีดานซายของภาพ เชน 3/30 เลข 3 ตัวหนาหมายถึงภาพท่ี 3 สวนเลข 30 ตัวหลังหมายถึงจํานวนท่ี พิมพท้ังหมด ในภาพพิมพบางช้ินศิลปนอาจเซ็นคําวา A/P ไวแทนตัวเลขจํานวนพิมพ A/P นี้ ยอมาจาก (Artist's Proof) ซ่ึงหมายความวา ภาพ ๆ นี้เปนภาพท่ีพิมพขึ้นมาหลังจากท่ีศิลปนไดมีการทดลองแกไขจนไดคุณภาพสมบูรณตามท่ีตองการจึงเซ็นตรับรองไวหลังจากพิมพ A/P ครบตาม

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 24: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

12

จํานวน 10% ของจํานวนพิมพท้ังหมด จึงจะเริ่มพิมพใหครบตามจํานวนเต็มท่ีกําหนดไว หลังจากนั้นศิลปนจะทําลายแมพิมพดวยการขูดขีด หรือวิธีการอ่ืน ๆ และพิมพภาพสุดทายนี้ไวเพ่ือเปนหลักฐาน เรียกวา (Cancellation Proof) สุดทายศิลปนจะเซ็นท้ังหมายเลขจํานวนพิมพ วัน/เดือน/ปและลายเซ็นของศิลปนเอง ไวดานลางขวาของภาพ เพ่ือเปนการรับรองคุณภาพดวยทุกช้ิน จํานวนพิมพนี้อาจจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับความนิยมของ “ตลาด” และปจจัยอ่ืน ๆ อีกหลายประการ

สําหรับศิลปนไทยสวนใหญจะจํากัดจํานวนพิมพไวคอนขางต่ําประมาณ 5 - 10 ภาพตอ ผลงาน 1 ช้ิน กฎเกณฑท่ีศิลปนท่ัวโลกถือปฏิบัติกันเปนหลักสากลนี้ยอมเปนการรักษามาตรฐานของภาพพิมพไวอันเปนการสงเสริมภาพพิมพใหแพรหลายและเปนท่ียอมรับกันโดยท่ัวไป2 1.3 ความหมายของกระบวนการพิมพหนิ คําวา ‘‘การพิมพ’’ มีผูใหคําจาํกัดความไวหลายทัศนะ เชน Lechene ไดแสดงความหมายของการพิมพไววาเปนวิธีการใชแรงกดใหหมึกติด เปนขอความหรือภาพ บนพ้ืนผิวของส่ิงท่ีตองการพิมพซ่ึงความหมายของการพิมพในทัศนะนี้จะเนนเฉพาะการพิมพท่ีตองอาศัยแรงกดเทานั้นแตในกระบวนการพิมพปจจุบันบางระบบไมจําเปนตองอาศัยแรงกดเลยก็ได Mills ไดใหความหมายของ การพิมพอยางกวาง ๆ วา หมายถึง กรรมวิธีใด ๆใน การจําลองภาพ หรือสําเนาภาพ หรือหนังสือจากตนฉบับในลักษณะสองมิติ แบนราบ ท้ังนี้รวมถึงการพิมพผา การพิมพกระดาษปดฝาผนังและการอัดรูป กําธร สถิรกุล กลาววาการพิมพ คือ การจําลองตนฉบับอันหนึ่งจะเปนภาพหรือตัวหนังสือก็ตาม ออกเปนจํานวนมาก ๆ เหมือนกัน บนวัสดุท่ีเปนพ้ืนแบน หรือใกลเคียงกับพ้ืนแบน ดวยการใชเครื่องมือกล พระราชบัญญัติการพิมพ พุทธศักราช 2484 ซ่ึงใชอยูในปจจุบันไดใหคําจํากัดความของคําวา ‘‘พิมพ’’ ไววาทําใหเปนตัวหนังสือ หรือรูปรอยใด ๆ โดยการกดหรือการใชพิมพหิน เครื่องกลวิธีเคมี หรือวิธีอ่ืนใดอันอาจใหเกิดเปนส่ิงพิมพขึ้นหลายสําเนาจากความหมายของการพิมพท่ียกมาท้ังหมดนี้ จะเห็นไดวา ขอบขายของงานพิมพเปนประดิษฐการซ่ึงมุงหมายท่ีจําลองภาพตนฉบับ ไดแก ภาพวาด (Art work) ภาพถาย (Photography) ตัวอักษร (Letter) ใหเกิดเปนช้ินงานท่ี

2 อิทธิพล ตั้งโฉลก, ทศวรรษภาพพิมพ (กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท. 2535), เขาถึงเม่ือ

12 มีนาคม 2557, เขาถึงไดจาก http://www.chaarts.com/article%20print%20making.html

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 25: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

13

มีลักษณะเหมือนภาพตนฉบับในปริมาณมาก ๆ บนพ้ืนผิวของวัสดุหลาย ๆ ชนิด ซ่ึงจะพบการพิมพท่ีปรากฏในอุปกรณในการดํารงชีวิต ทองเติม เสมรสุต ไดแก บรรจุภัณฑ (Packaging) นานาชนิด ไมวาจะเปนบุหรี่ ยาสีฟน กระดาษเช็ดมือ กาแฟ นม ฯลฯ เครื่องนุงหม และใชสอยท้ังผาและพลาสติก ท่ีปรากฏลวดลายจากการพิมพ เครื่องใชในบานท่ีพิมพโดยวัตถุนานาชนิด ท้ังเหล็กและสารผสม เชน หนาปดมาตรวัด ความเร็วของรถยนต อุปกรณ วิทยุและโทรทัศน จนถึงการพิมพเพ่ือเปนส่ือแจงขาวสาร ความรู ความบันเทิง การโฆษณา และประชาสัมพันธ สรุปความหมายการพิมพ นั้นเปนการจําลองตนฉบับอันหนึ่งตนฉบับนี้จะเปนภาพหรือเปนตัวหนังสือก็ตาม การพิมพไมไดเปนการสรางตนฉบับ แตเปนการจําลองตนฉบับออกมา การถายรูปเปนการสรางตนฉบับไมใชการพิมพ แตการอัดรูป เปนการจําลองตนฉบับเปนการพิมพการจําลองนี้จะตองเปนการจําลองจํานวนมาก ๆ ไมใชการเขียนลอกแบบภาพออกมาทีละภาพซ่ึงไมเปนการพิมพภาพแตละแผนท่ีจําลองออกมาตองเหมือน ๆ กัน การจําลองนั้น จะตองจําลองบนวัตถุท่ีเปนพ้ืนแบน หรือใกลเคียงกับพ้ืนแบน แมการพิมพบนขวด บนหลอดยาสีฟนท่ีแมเปนรูปแลวจะไมมีลักษณะแบนทีเดียว แตพ้ืนผิวท่ีพิมพเรียบแบนไมขรุขระ 1.4 วิวัฒนาการการภาพพิมพหิน วิวัฒนาการการการภาพพิมพหินเกิดภายหลังการพิมพเล็ทเตอรเพรสสและการพิมพอินทาโย ในป ค.ศ. 1798 นายอะลัว เชเนเฟเดอร (Alois Senefelder) ชาวโบฮีเมียนไดมีการประดิษฐเครื่องพิมพหิน (Lithograph) ซ่ึงเปนการพิมพพ้ืนราบโดยทําภาพท่ีตองการรับหมึกบนแมพิมพหินใหเปนไข แลวใชน้ําผสมกาวกระถินลูบบนแมพิมพหินดังกลาว น้ําท่ีผสมกาวกระถินจะไมเกาะบริเวณไข และเม่ือคลึงหมึกลงบนแมพิมพ หมึกมีคุณสมบัติเปนน้ํามันจะไมเกาะติดบริเวณท่ีเปนน้ําแตจะไปเกาะติดบริเวณท่ีเปนไขซ่ึงเปนบริเวณท่ีเปนภาพ เม่ือนําแผนกระดาษมาทาบบนแมพิมพก็จะเกิดภาพบนกระดาษนั้นและใหภาพท่ีคมชัดสวยงามกวาระบบการพิมพอ่ืนในยุคนั้นในปค.ศ. 1905 ชาวอเมริกันช่ือ นายไอรา วอชิงตัน รูเบล (Ira Washington Rubel) ไดคนพบวิธีทําใหภาพคมชัดขึ้นโดยบังเอิญ กลาวคือ แทนท่ีจะใหกระดาษรับหมึกโดยตรงจากแมพิมพ ก็ใหผายางเปนผูกดทับและรับหมึกจากแมพิมพกอน แลวผายางจึงกดทับถายหมึกท่ีเปนภาพพิมพไปยังกระดาษอีกที เนื่องจากผายางมีความนิ่ม การสงถายหมึกจึงสมบูรณ ภาพจึงคมชัดสวยงามยิ่งขึ้น การพิมพท่ีมีการการพิมพระบบออฟเซ็ทมีการพัฒนาในหลายดาน มีการใชแมพิมพเปนแผนโลหะ เคลือบสารไวแสงลงบนแมพิมพ ปรับปรุงการสรางภาพบนแมพิมพท่ีมีความละเอียดสูงขึ้น มีการคิดคนการพิมพออฟเซ็ทแบบไรน้ําโดยใชแมพิมพท่ีเคลือบดวยซิลิโคนซ่ึงไมถูกกับน้ํามันและสวนท่ีเปนภาพนั้นซิลิโคนจะถูกกัดออกไป อีกท้ังมีการพัฒนาเครื่องพิมพใหพิมพงานเร็วขึ้น แมนยําขึ้น

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 26: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

14

คุณภาพงานพิมพดีขึ้น พิมพสอดสีไดในการพิมพเท่ียวเดียว มีท้ังเครื่องพิมพแบบปอนแผนและเครื่องพิมพแบบปอนมวน เนื่องจากคุณภาพงานพิมพท่ีดีและมีความคลองตัวสูง การพิมพระบบออฟเซ็ทจึงเปนท่ีนิยมและใชกนัอยางแพรหลายและกวางขวางจนถึงปจจุบันกระบวนการพิมพหินในศตวรรษท่ี 19 ไดมีการคิดคน แผนโลหะอะลูมินั่ม และ สังกะสี (Aluminum plate, Zinc plate) ขณะนี้เราใช แมพิมพอะลูมินั่มเกรน 180 หรือ 120 แทนกอนหินปูน มีขอดี ของแมพิมพชนิดนี้คือ มีน้ําหนักท่ีเบา ราคาไมแพงสามารถยกเคล่ือนยายไดสะดวกในกรณีท่ีทําการพิมพงานช้ินใหญ ๆ จะมีความสะดวกมากกวาพิมพดวยกอนหินปูน เพราะหากหินปูนกอนใหญขึ้น ยอมหาไดยากขึ้นและราคาแพงมาก ๆ ผิวหนาของแมพิมพนี้จะมีรูพรุนเชนเดียวกับบนแมพิมพหินแตหยาบกวากระบวนการภาพพิมพเปนเทคนิควิธีการพิมพท่ีเกิดจากปฏิกิริยาทางเคมีเปนหลักโดยการเขียนภาพลงบนหินปูน (Lime Stone) หรือ แผนอลูมินัมเพรท (Aluminum Plate) ดวยวัสดุท่ีเปนไข อาทิเชนแทงดินสอไข (Litho-Pencil) หมึกแทงไข (Litho-Crayon) หมึกแทงละลายน้ํา (Stick tusche) หรือวัสดุตาง ๆ ท่ีมีลักษณะเปนไมทําละลายกับน้ํา เปนตนกอนท่ีภาพท่ีเขียนดวยวัสดุไข จะมีสภาพเปนแมพิมพท่ีสามารถพิมพภาพไดเปนจํานวนมากจะตองผานขั้นตอนการสรางภาพดวยเคมีกอนโดยเรียกขั้นตอนนี้วาการกัดกรดโดยใชสวนผสมของกาวกระถินและกรดในอัตราสวนท่ีเหมาะสมกับเวลาในการกัดกรดเพ่ือใหไดแมพิมพไขท่ีมีน้ําหนักหรือรายละเอียดตาง ๆ ตามตองการในระหวางขั้นตอนการกัดกรดนี้ผิวหนาของหินหรือ แผนอะลูมินั่มบริเวณท่ีไมไดรับการเขียนหรือปกคลุมดวยวัสดุท่ีเปนไขจะถูกกาวกระถินและกรดท่ีผสมอยูในกาวกัดใหรูพรุนท่ีผิวหนาของหินหรือเพลทมีลักษณะลึกมากขึ้น ผิวช้ันบนสุดบางสวนท่ีจะถูกกัดหลุดออกไปดวยการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นนี้อยูในระดับท่ีไมสามารถสังเกตุเห็นไดดวยตาเปลาดังนี้เองผิวหนาของหิน และแผนอลูมินั่มหลังจากผานการกัดกรดแลวสวนท่ีเปนไขหรือภาพจะมีสภาพท่ีจะรับกับไข (หมึกพิมพ) สวนบริเวณท่ีไมไดเขียนดวยไขจะมีสภาพรับน้ําไดดี3

3กําธร สถิรกลุ , ประวัติหนังสือและการพิมพ (กรุงเทพมหานครฯ: มหาวิทยาลัยราม

คําแหง, 2525), 15 – 20.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 27: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

15

1.5 วิวัฒนาการของภาพพิมพในประเทศไทย งานภาพพิมพไดเริ่มขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว จุดกําเนิดหรือการเริ่มตนศิลปะภาพพิมพในประเทศไทยในป พ.ศ.2378 มีพัฒนาการมาจากการพิมพตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยาเรื่อยมาจนกระท่ังสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตน ซ่ึงสวนใหญเปนการพิมพจากแมพิมพแกะไม เพ่ือใชประโยชนในการพิมพหนังสือและตอมานิยมแกะภาพประกอบการพิมพแทรกในหนังสือ ชวงรอยตอสําคัญคือ การแกะแมพิมพไมของนายแดง ภาพราชทูตสยามในสมัยรัชกาลท่ี 4 เปนภาพแทรกในหนังสือสยามประเภท ซ่ึงมีการบันทึกช่ือผูแกะแมพิมพใหปรากฏเปนหลักฐาน งานศิลปะภาพพิมพเริ่มตั้งแตสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวรัชกาลท่ี 5โดยเริ่มจากการพิมพภาพแทรกในหนังสือเปนภาพวิถีชีวิต วัด วัง และสถานท่ีตาง ๆ หลายเมือง เชน อยุธยา เพชรบุรี ราชบุรี ลําปาง เชียงใหม และเชียงราย เทคนิคท่ีใชมีเทคนิคภาพพิมพโลหะ (Intaglio) และเทคนิคภาพพิมพหิน (Lithograph) เปนการพิมพจากชางชาวตางประเทศ รูปสวนมากมักปรากฏในหนังสือของฝรั่งโดยเฉพาะอังกฤษและฝรั่งเศส เพราะสองชาตินี้มีความสัมพันธกับไทยมานานไดเขียนและทํารูปประกอบท่ีเกี่ยวของกับเมืองไทยเอาไวมากมายท่ีเกาแกถึงสมัยกรุงศรีอยุธยาทําเรื่อยมาจนสมัยกรุงรัตนโกสินทรตลอดจนถึงปจจุบัน สําหรับแทนพิมพท่ีพิมพดวยโลหะมีปรากฏในเมืองไทยสันนิษฐานวาราวป พ.ศ. 2379 มีเรือในช่ือ เอมมานะคิลวา มีนายจอหนสันเปนกัปตัน นําแทนพิมพโอทิส (Otis) มาจากเมืองสิงคโปรซ่ึงสง มาจากอเมริกา แตมาขายทอดตลาดท่ีสิงคโปร นับวาเปนแทนพิมพทําดวยโลหะท่ีสงมาจากตางประเทศเขามาในเมืองไทยเปนครั้งแรก ชางเรียงพิมพและชางพิมพสงมาจากอเมริกา การเรียงพิมพตัวหนังสือไทยหมอบรัดเลยเปนผูสอนใหชางเรียงพิมพเขาใจงานภาพพิมพแบงเปน 2 สวน สวนท่ีหนึ่งเปนภาพพิมพท่ีพิมพลงในหนังสือและเปนภาพท่ีแทรกอยูในหนังสือในเรื่องนี้คารลบ็อคกลาววา ในระหวางท่ีทําการสํารวจคารลบ็อคไดวาดภาพคน สถานท่ีในไทยไวตลอดเวลา ภายหลังภาพท่ีเขาสเกตซไวเหลานี้ไดใชเปนแบบแกะแมพิมพเปนภาพเอนเกรนวิ่งหรือภาพลายเสน อีกสวนหนึ่งเปนภาพท่ีพิมพภาพพระบรมฉายาลักษณพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวและพระราชวงศเปนภาพพิมพดวยภาพพิมพหินสีและภาพขาว-ดํา ในประเทศไทยภาพพิมพแกะไมนิยมใชเปนภาพแทรกในหนังสือ “สยามประเภท” เปนการแกะแมพิมพไมเปนเรื่องราวตาง ๆ ท่ีพิมพแทรกในหนังสือและมีการบันทึกหลักฐานใหปรากฏและมีช่ือชางแกะไมคือ นายแดง ก็เริ่มมีขึ้น ในสมัยนี้การเริ่มทําภาพพิมพในประเทศไทยมีลักษณะใกลเคียงกับการเริ่มตนในจีน ญี่ปุน และประเทศยุโรป คือเริ่มตนท่ีการพิมพเปน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 28: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

16

ภาพประกอบเรื่องและพิมพแทรกในหนังสืออาจจะแตกตางกันในดานเรื่องราวและระยะเวลาท่ีเริ่มตนแตกตางกัน จากขอมูลดังกลาวแสดงใหเห็นวามีการใชภาพพิมพ เพ่ือการส่ือสารท่ีเปนภาพประกอบแทรกในหนังสือเปนครั้งแรกในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวไดมีการตั้งโรงเรียนเพาะชางขึ้นในป พ.ศ. 2456 มีแผนกภาพพิมพรูป มีรออมาตยตรีนายเช้ือและนายสิทธ์ิเปนชางพิมพ และแผนกพิมพรูปสมัยนั้นเปนการสรางชางแกะบล็อกไมหรือแมพิมพไมเพ่ือใชเปนภาพประกอบหนังสือซ่ึงแสดงวาการแกะแมพิมพไมเพ่ือใชเปนภาพประกอบหนังสือมีความสําคัญมากจนถึงตั้งกองชางแกะไมเปนแมพิมพใชในการทําหนังสือ ปจจุบันภาพพิมพไดพัฒนาไปมากจากการท่ีไดมีการเปดสอนท่ีคณะจิตรกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร เปนแหงแรก เปดสอนโดยแยกเปนสาขาภาพพิมพในป พ.ศ. 2509 ไดมีการเปล่ียนช่ือเปนคณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ ผูท่ีเริ่มตนในการเปดการเรียน การสอนสาขาภาพพิมพ คือ ชลูด นิ่มเสมอ ซ่ึงเปนศิลปน และอาจารยท่ีสนใจทดลองคนควาศิลปะภาพพิมพมานานจนไดทุนรัฐบาลสหรัฐอเมริกาไปศึกษาภาพพิมพเปนเวลา 6 เดือนและเดินทางไปดูงานศิลปะในอิตาลีและฝรั่งเศสอีก 2 เดือน โดยดูงานดานเทคนิคโดยเฉพาะ และเนนการปฏิบัติการในดานเทคนิคภาพพิมพหิน และ เอชช่ิง การดูงานศิลปะภาพพิมพในสหรัฐอเมริกา ชลูด นิ่มเสมอ ไดดูงานในหลาย ๆ สถาบันท่ีมีช่ือเสียงทางภาพพิมพ เชน (Pratt Graphic Center) ในนิวยอรกและปฏิบัติงานเอชช่ิงกับศาสตราจารย ลาซาวากี้ (Mauscio Lasawaky) ภาควิชาภาพพิมพไดรับอนุมัติจากสภาการศึกษาแหงชาติใหเปดสอนและผลิตบัณฑิต 4 คน ในป พ.ศ. 2511 นับเปนบัณฑิตท่ีสรางช่ือเสียงใหแกมหาวิทยาลัยศิลปากร เชน ทวน ธีระพิจิตร พงศศักดิ์ ภูอารีย ถกล ปรียาคณิตพงษ และสัญญา วงศอราม หลังจากเปดสอนภาพพิมพในระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยศิลปากรแลวไดมีการเปดสอนในมหาวิทยาลัยตาง ๆ รวมท้ังมหาวิทยาลัยราชภัฏ และมหาวิทยาลัยราชมงคล มีนักศึกษาและศิลปนไทยไดเขารวมแสดง ผลงานภาพพิมพในระดับนานาชาติและไดรับรางวัลตาง ๆ อยางตอเนื่อง เปนการแสดงใหเห็นถึงการพัฒนางานภาพพิมพในประเทศไทย ตั้งแตสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลท่ี 5) ปจจุบันภาพพิมพไดมีการพัฒนาในรูปแบบของศิลปะสมัยใหมอยางชัดเจนกรรมวิธีของศิลปะภาพพิมพ ภาพพิมพ หมายถึง ผลงานท่ีศิลปนใชกรรมวิธีในการทาภาพพิมพ (Printmaking) แสดงความรูสึกนึกคิดสวนตัวออกมาแทนท่ีการแสดงออกดวยการใชพูกันระบายสีหรือส่ิงแกะสลัก อัศนีย ชูอรุณ กลาววา ภาพพิมพในคําจํากัดความพจนานุกรมฉบับสเตอรไดให คําจํากัดความไววา ภาพพิมพ คือ เครื่องหมาย หรือ รองรอยท่ีทาใหเกิดขึ้นโดยวิธีการพิมพประทับรอย

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 29: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

17

เชน รูปคน สัตว และรูปลักษณะทาทางตาง ๆ ตองทาบนวัสดุอันหนึ่งกอนแลวจึงกดใหติดประทับรอยบนวัสดุอีกอันหนึ่ง เดนิส โทมัส (Denis Thomas) กลาววา ศิลปะภาพพิมพเปนทัศนศิลปแขนงหนึ่งท่ีเกิดจากการแกะสลักหรือขีดเขียนบนวัสดุตาง ๆ เพ่ือเปนส่ือการพิมพสรางสรรคเสียกอน แลวนําไปกดใหติดบนวัสดุอีกชนิดหนึ่ง ไมเคิล เอฟ แอนดรูว (Michael F Andrews) กลาววา ภาพพิมพมีคําจํากัดความท่ีหลากหลาย แตท่ีสําคัญคือ ในกระบวนการพิมพนั้นเริ่มจากการใชหมึกหรือสีกล้ิงบนพ้ืนท่ีเตรียมไว แลวจึงถายโอนไปสูอีกพ้ืนหนึ่งดวยการใชแรงกดภาพพิมพจําลองแบบ คือ ภาพท่ีเกิดจากแมพิมพซ่ึงสรางขึ้นมาโดยวิธีการถายภาพ หรือใชฝมือจําลองแบบมาจากงานศิลปกรรมของศิลปนอ่ืนซ่ึงอาจจะเปนจิตรกรรม วาดเสน ประติมากรรม หรือส่ืออ่ืนใดก็ได ผูสรางภาพพิมพชนิดนี้ไมไดแสดงความคิดสรางสรรคของตนเองภาพพิมพตนฉบับ คือ งานภาพพิมพท่ีเปนงานศิลปกรรมอันมีความคิดสรางสรรคของศิลปนและมีการทําเทคนิคทางภาพพิมพเองหรืออาจใหผูอ่ืนเปนผูชวยพิมพก็ได 1.6 การพัฒนาภาพพิมพในประเทศไทย การพิมพในยุคแรกตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยาถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตนพ.ศ. 2378 ซ่ึงตรงกับสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวรัชกาลท่ี 3 ทําใหการพิมพของไทยกาวหนาไปสูการพิมพแบบอยางตะวันตกมีการทําตัวพิมพภาษาไทยขึ้นโดยรอยเอกเจมสโลว ไดคิดคนหลอตัวพิมพภาษาไทยขึ้น มีภาพประกอบท่ีใชการแกะแมพิมพไม (Wood Block) เปนการแกะแบบลายเสน (Line Tone) ประกอบตัวพิมพซ่ึงตองใชเวลาในการแกะนานมากในตอนปลายรัชกาลท่ี 3 และตนรัชกาลท่ี 4 มีการพิมพหนังสือและเริม่มีภาพประกอบ เรื่องพิมพแทรกในหนังสือท่ีแกะดวยแมพิมพไมเปนเรื่องราวตาง ๆ ท่ีพิมพแทรกในหนังสือในสมัยรัชกาลท่ี 5 ทรงพัฒนาบานเมืองใหทันสมัยทัดเทียมประเทศตาง ๆ การปรับตนเองใหทันสมัยเทียบเทาประเทศแถบยุโรปมีสวนทําใหเกิดการขาดตอน ศิลปะแบบประเพณีท่ีเคยสืบทอดมาแตโบราณ งานสรางวัดวาอารามหยุดลง ในชวงปลายรัชกาลท่ี 6 เริ่มมีการปรับตัวและเขาสูการเปล่ียนแปลงการปกครองระบอบประชาธิปไตยในสมัยรัชกาลท่ี 7 ผูท่ีมีบทบาทดานศิลปะภาพพิมพเปนคนแรกคือ ศาสตราจารยศิลป พีระศรี ไดกอตั้งโรงเรียนศิลปะขึ้นพรอมกับฝกฝนเยาวชนไทยใหรูจักการสรางสรรคงานศิลปะในแนวสากล อีก 10 ป ตอมาไดยกฐานะขึ้นเปน “มหาวิทยาลัยศิลปากร” งานดานการศึกษาศิลปะ ศาสตราจารยศิลป พีระศรี ไดเริ่มตนการสรางงานศิลปะสมัยใหมของไทย มีศิลปนท่ีทางานศิลปะ มีสถานศึกษา และมีการแขงขันศิลปะเปนครั้งแรกในระดับชาติ คือ การแสดงศิลปกรรม

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 30: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

18

แหงชาติ ครั้งท่ี 1 ในป พ.ศ. 2492 เปนการเปล่ียนแปลงทาง ดานศิลปะจากแบบประเพณีไปสูระดับสากล เปนการปรับตัวไปตามกระแสโลกศาสตราจารยศิลป พีระศรี นอกจากเปนผูท่ีวางรากฐานทางศิลปะแลว ยังไดเริ่มเผยแพรศิลปกรรมท้ังภายในและภายนอกประเทศ แสดงใหเห็นถึงพัฒนาการทางดานศิลปะใน ประเทศไทยศิลปะภาพพิมพไดบรรจุอยูในหลักสูตร ผูท่ีบุกเบิกและทดลอง ในการสรางสรรคศิลปะภาพพิมพคนแรก คือ ชลูด นิ่มเสมอ ดวยการปฏิบัติงาน แมพิมพแกะไมนํามาแกะแมพิมพเทคนคิแกะลายเบา ในเวลาตอมาไดเริ่มนําแผนกระดาษอัดมาแกะแมพิมพในแบบเทคนิคภาพพิมพแกะไม ชลูด นิ่มเสมอ เปนศิลปนในชวงรอยตอระหวางยุคเกากับยุคใหมของศิลปะสมัยของไทยในป พ.ศ. 2500 จิตร บัวบุศย อาจารยใหญโรงเรียนเพาะชาง ไดรื้อฟนวิชาภาพพิมพแกะไมเปนวิชาหนังในแผนกวิจิตรศิลป ใหนักเรียนใชเทคนิคภาพพิมพแกะไมมาทําเปนงานศิลปะเชนเดียวกับการเขียนรูปหรือปนรูป มีจุดมุงหมายเพ่ือทางานศิลปะเพียงอยางเดียวไมทําเปนภาพประกอบในหนังสืออีกตอไปในป พ.ศ. 2516 วิทยาลัยเพาะชางไดยกวิชาภาพพิมพแกะไมเปนวิชาศิลปะภาพพิมพ เชน เดียวกับวิชาเอกจิตรกรรมและประติมากรรมในป พ.ศ. 2526 คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหมเปดสอนภาพพิมพในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตเปนวิชาโท และเปดรับนักศึกษาวิชาเอกภาพพิมพโดยตรงในป พ.ศ. 2528 และมีการเปดการเรียนการสอนวิชาภาพพิมพขึ้นในสถาบันการศึกษาอีกหลายแหงรวมท้ังมหาวิทยาลัยราชภัฏ และมหาวิทยาลัยราชมงคล แตในมหาวิทยาลัยราชภัฎยังเปนการสอนใหเรียนรูในกระบวนของภาพพิมพมากกวาเปดเปนสาขาวิชาภาพพิมพ ซ่ึงแตกตางจากมหาวิทยาลัยราชมงคลเปดสอนเปนภาควิชาภาพพิมพ มีการผลิตบัณฑิตในสาขานี้ออกไปเปนจํานวนมาก ภาพพิมพในประเทศไทยมีการพิมพมาตั้งแตสมัยอยุธยาจนมาถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร มีการพัฒนาท้ังเนื้อหาตลอดจนเทคนิคเริ่มจากการส่ังทําภาพพิมพ ท่ีมาจากตางประเทศและ มีการสอนวิชาแกะไมเพ่ือเปนภาพแทรกในหนังสือจนกระท่ังเปดเปนวิชาเอกภาพพิมพท่ี คณะจิตรกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร และมหาวิทยาลัยตาง ๆ ท่ัวประเทศ4

4บทท่ี 1, บทรวมประเภทของภาพพิมพ, เขาถึงเม่ือ 15 มีนาคม 2557, เขาถึงไดจาก

http://www.teacher.ssru.ac.th/tanin_ta/pluginfile.php/25/block_html/content/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%201.pdf

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 31: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

19

2. อิทธิพลที่ไดรับจากธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 2.1 นิเวศวิทยาของส่ิงมีชีวิตหรือระบบนิเวศของส่ิงมีชีวิตนิเวศวิทยา ความหมาย ของนิเวศวิทยาคําวา (ecology) ไดรากศัพทมาจากภาษากรีกคือ (oikos) หมายถึง บานหรือ ท่ีอยูอาศัย และ (Ology) หมายถึง การศึกษา (ecology) หรือนิเวศวิทยาจึงเปนศาสตรแขนงหนึ่งวาดวยการศึกษาส่ิงมีชีวิตใน แหลงอาศัยและกินความกวางไปถึงการศึกษามีความสัมพันธ ระหวางส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดลอมท่ีส่ิงมีชีวิตอาศัยอยู นิเวศวิทยามีความเกี่ยวของกับ สาขาวิชาหลัก 4 สาขาวิชาคือ พันธุศาสตร วิวัฒนาการ สรีรวิทยา และพฤติกรรม ทฤษฎีของ นิเวศวิทยา นิเวศวทิยามีหลักการของการพัฒนาและทฤษฎี 6 ประการสามารถสรุปไดดังนี้ 1. หลักการของมัลธัส กลาววา ประชากรตองพบกับขีดจํากัดของ ประชากร ถาไมถูกกําจัดดวย การลาโรคภัย หรืออันตรายตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นจากปจจัย สภาพแวดลอม 2. หลักการของดารวิน กลาววา ส่ิงมีชีวิตชนิดหนึ่งจะตองถูกแทน ท่ีไดดวยส่ิงมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง ภายใตสภาวะท่ีส่ิงมีชีวิตชนิดท่ีสองนั้นมีการเจริญพันธุท่ีสูง กวาหรือมีอัตราการตายท่ีนอยกวา 3. หลักการของเกาส กลาววา ส่ิงมีชีวิตตั้งแตสองชนิดขึ้นไปและส่ิง มีชีวิตนั้นสามารถอยูรวมกันไดก็ตอเม่ือมีบทบาทหนาท่ีและความตองการท่ีแตกตางกันออกไป หรืออยู ภายใตอิทธิพลของการแกงแยงระหวางส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวกันสูงกวา การแกงแยงระหวางส่ิงมีชีวิต ตางชนิดกัน 4. หลักการของฮัฟเฟเกอร กลาววาส่ิงมีชีวติท่ีเปนเหยื่อและผูลาท่ีไมสามารถท่ีจะอยูรวมกันไดตลอดไป ยกเวนในกรณีท่ีส่ิงแวดลอมนั้นไมสามารถมีความ สอดคลองเปนเนื้อเดียวกัน 5. หลักการของเมย กลาววา ผลของปจจัยตาง ๆ ขึ้นอยูกับความหนา แนนของประชากร การรักษาเสถียรภาพของขนาดประชากรทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงของจํานวนประชากร เปนวงจร หรือเกิดความผิดปกติ ซ่ึงขึ้นอยูกับระดับความสัมพันธท่ีไมเปนเสนตรงระหวางประชากรในวงจร อายุปจจุบันกับวงจรอายุท่ีผานมาหนึ่งชวง 6. หลักการของลินเดอรมานน กลาววา พลังงานท่ีสามารถนําไปใชประโยชนไดจะลดลงในแตละขั้นของการกินกันเปนทอด ๆ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 32: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

20

2.2 ความหมายของระบบ นิเวศ ระบบนิเวศ หมายถึง หนวยของความสัมพันธของส่ิงมีชีวิตในแหลงท่ีอยูแหลงใดแหลงหนึ่งมาจากรากศัพทในภาษากรีก 2 คํา คือ Oikos แปลวา บาน ท่ีอยูอาศัย Logos แปลวาเหตุผล ความคิด ความหมายของคําตาง ๆ ในระบบนิเวศและจะประกอบไปดวยส่ิงเหลานี ้ ส่ิงมีชีวิต (Organism) หมายถึง ส่ิงท่ีตองใชพลังงานในการดํารงชีวิต ซ่ึงมีลักษณะท่ีสําคัญดังนี้ 1. ตองมีการเจริญเติบโต 2. เคล่ือนไหวไดดวยพลังงานท่ีเกิดขึ้นในรางกาย 3. สืบพันธุได 4. สามารถปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอม 5. ประกอบไปดวยเซลล 6. มีการหายใจ 7. มีการขับถายของเสีย 8. ตองกินอาหาร หรือ แรธาตุตาง ๆ ประชากร (Population) หมายถึง ส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวกันท่ีอยูรวมกัน ในพ้ืนท่ีใดพ้ืนท่ีหนึ่ง และเปนสวนหนึ่งของชุมชน คุณลักษณะของประชากรประกอบดวย 1. ขนาด หมายถึง จํานวนของประชากรในแตละพ้ืนท่ี 2. โครงสราง หมายถึง องคประกอบของประชากร ซ่ึงแบงตาม อายุ เพศ 3. ความหนาแนน หมายถึง จํานวนประชากรท่ีนับตอหนึ่งหนวย 4. การเพ่ิมจํานวน หมายถึง การเปล่ียนแปลงขนาดของประชากรท่ีเปนผลรวมสุทธิระหวางอัตราการเกิด การตาย การยายถ่ินเขา และการยายถ่ินออก โดยมีขีดความสามารถของส่ิงแวดลอมในพ้ืนท่ีนั้น เปนตัวกําหนดใหประชากรในพ้ืนท่ีเพ่ิมจํานวนในอัตราท่ีเหมาะสมนั่นคือ การเพ่ิมจํานวนของประชากร แตละชนิดจะตองอยูภายในอิทธิพลของประชากรอ่ืนในส่ิงแวดลอมเดียวกัน ถาเม่ือใดท่ีจํานวนประชากรเพ่ิมมากขึน้ เกินระดับความเหมาะสมสวนท่ีเกินนั้นก็จะถูกชีวิตอ่ืนกําจัดใหลดลง กลุมส่ิงมีชีวิต (Community) หมายถึง ส่ิงมีชีวิตตาง ๆ หลายชนิด มาอาศัยอยูรวมกันในบริเวณใดบริเวณหนึ่ง โดยส่ิงมีชีวิตนั้น ๆ มีความสัมพันธกัน โดยตรงหรือโดยทางออม โลกของส่ิงมีชีวิต (Biosphere) หมายถึง ระบบนิเวศหลาย ๆ ระบบนิเวศมารวมกัน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 33: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

21

แหลงที่อยูอาศัย (Habitat) หมายถึง สถานท่ีท่ีส่ิงมีชีวิตอาศัยอยูกระจัดกระจายอยูตามท่ีตาง ๆ ท่ัวไป เพ่ือใชเปนแหลงท่ีอยูอาศัย หาอาหาร หลบภัยจากศัตรู ผสมพันธุ วางไข เปนตน แหลงท่ีอยูอาศัยนี้มีขอบเขตท่ีแนนอน แตอาจมีขนาดแตกตางกัน เชน แหลงที่อยูอาศัยบนบก (Terrestrial habitat) ส่ิงมีชีวิตพวกนี้ตองมีระบบรางกายแข็งแรง สามารถควบคุมการสูญเสียน้ําจากรางกายได แบงออกเปน 1. แหลงท่ีอยูบนผิวดิน (Ground habitat) 2. แหลงท่ีอยูใตผิวดิน (Underground habitat) 3. แหลงท่ีอยูอาศัยบนตนไม (Arboreal habita) แหลงที่อยูอาศัยในน้ํา (Aquatic habitat) แบงออกเปน 1. แหลงท่ีอยูในทะเลหรือมหาสมุทร (Marine habitat) เปนสถานท่ีท่ีส่ิงมีชีวิตมีการดํารงชีวิตแตกตางกันตามลักษณะท่ีอยู และการหาอาหาร เชน ปลา ปู หมึกสาย หอยนางรม หอยแมลงภู แพลงตอนพืช แพลงตอนสัตว เปนตน 2. แหลงท่ีอยูเปนน้ําจืด (Freshwater habitat) เปนสถานท่ีซ่ึงมีชีวิตท่ีอาศัย อยูตองมีการปรับตัวในดานตาง ๆ เชน มีรางกายท่ีแข็งแรงพอท่ีจะตานกระแสน้ําได หรือมีพฤติกรรมท่ีวายทวนน้ํา ฯลฯ ส่ิงแวดลอม หมายถึง ส่ิงท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมนุษยสรางขึ้นส่ิงท่ีเปนรูปธรรมและนามธรรมส่ิงท่ีเห็นไดดวยตาและไมสามารถเห็นไดดวยตา ส่ิงท่ีเปนประโยชนและไมเปนประโยชน จากคําจํากัดความดังกลาวสามารถสรุปไดวา ส่ิงแวดลอม คือ ส่ิงตาง ๆ ท่ีอยูรอบ ๆ ตัวเรา แต คําวา ‘‘ตัวเรา’’ ในท่ีนี้ไมไดหมายถึงตัวมนุษยเราเทานั้น โดยความเปนจริงแลว ตัวเรานั้นเปนอะไรก็ไดท่ีตองการศึกษาเรียนรู เชน ตัวเราอาจจะเปนดิน ถากลาวถึงส่ิงแวดลอมดิน หรืออาจจะเปนน้ํา ถากลาวถึงส่ิงแวดลอมน้ํา เปนตน นอกจากนี้อาจมีขอสงสัยวา ส่ิงท่ีอยูรอบตัวเรามีรัศมีจํากัดมากนอยเพียงใด ซ่ึงสามารถอธิบายไดวาส่ิงตางท่ีอยูรอบ ๆ ตัวเรา ไมไดมีขอบเขตจํากัด มันอาจอยูใกลหรือไกลตัวเราก็ได จะมีบทบาทหรือมีสวนไดสวนเสียตอตัวเราอยางไรนั้นมันก็ขึ้นอยูกับลักษณะและพฤติกรรมของส่ิงนั้น ๆ เชน โศกนาฏกรรมตึกเวิรดเทรด ซ่ึงตัวมันอยูถึงสหรัฐอเมริกา แตมีผลถึงประเทศไทยไดในเรื่องของเศรษฐกิจ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 34: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

22

สรรพส่ิงที่อยูรอบตัวเราแบงออกเปน 2 ประเภท 1. ส่ิงแวดลอมทางชีวภาพ ไดแก มนุษย สัตว พืช และส่ิงมีชีวติขนาดเล็ก 2. ส่ิงแวดลอมทางกายภาพ แบงออกเปน 2 ประเภท 2.1 ส่ิงแวดลอมตามธรรมชาติ คือ ดิน น้ํา ปาไม อากาศ แสง ฯลฯ 2.1 ส่ิงมีชีวิตท่ีมนุษยสรางขึ้นไดแก ส่ิงกอสราง โบราณสถานศิลปกรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม เปนตน ส่ิงแวดลอมแตละบริเวณจะมีความแตกตางกันไปตามสภาพภูมิศาสตร และสภาพภูมิอากาศทําให มีกลุมส่ิงมีชีวิต (Community) อาศัยอยูในแตละท่ีในบริเวณแตกตางกันไปดวย 2.3 องคประกอบของระบบนิเวศ องคประกอบภายในระบบนิเวศจะประกอบไปดวยสวนสําคัญ 2 สวนดังนี้ องคประกอบที่ไมมีชีวิต (A biotic Components) ไดแก สวนประกอบท่ีไมมี ชีวติ แบงออกเปน อนินทรียสาร เชนคารบอน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปรแตสเซียม น้ํา และออกซิเจน เปนตน สารอนินทรียดังกลาวเปนองคประกอบของเซลส่ิงมีชีวิต สารเหลานี้จะเกี่ยวของกับการหมุนเวียนของแรธาตุในวัฏจักร อินทรียสาร เชน โปรตีน คารโบไฮเดรต ไขมันฮิวมัส เปนตน สารอินทรียเหลานี้จําเปนตอชีวิตทําหนาท่ีเปนตัวเกี่ยวโยง ระหวางส่ิงมีชีวิตและไมมีชีวิต สภาพแวดลอมทางกายภาพ เชน แสง อุณหภูมิ อากาศ ความเปนกรดเปนดาง ความเค็ม ความช้ืน ท่ีอยูอาศัย เปนตน องคประกอบที่มีชีวิต (Biotic Components) ไดแกส่ิงมีชีวิตทุกชนิดท่ีเราสามารถจําแนกองคประกอบท่ีมีชีวิตตามบทบาทหนาท่ีได 3 ชนิด ดังนี ้ ผูผลิต (Producer) เปนผูผลิต คือ พืช แบคทีเรียบางชนิดสวนใหญเปนพืชท่ีมีสีเขียว แพลงตอน พืชซ่ึงมีรงควัตถุสีเขียว คือ คลอโรฟลลไวคอย จับพลังงานแสงอาทิตยมาใชเปนปจจัยรวมในการเกิด ปฏิกิริยาเคมี ระหวางน้ํากับ คารบอนไดออกไซด ทําใหเกิดเปนสารประกอบคารโบไฮเดรตขึ้น พืชบางชนิดแมวา สามารถสรางอาหารไดดวยตนเองแลว ยังจับส่ิงมีชีวติอ่ืนมาเปนอาหารอีก เชน วานกาบหอยแครง หยาดน้ําคาง ตนหมอขาวหมอแกงลิง เปนตน ถึงแมพืชพวกนี้จะบริโภค สัตวเปนอาหารได แตก็จดัพืชพวกนี้เปนผูผลิต

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 35: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

23

ผูบริโภค (Consumer) หมายถึง ส่ิงท่ีมีชีวิตท่ีไมสามารถสรางอาหารไดเองแตไดรับอาหารจากแหลงอ่ืน ส่ิงมีชีวิตท่ีมีบทบาทเปนผูบริโภค คือพวกสัตวตาง ๆ แบงไดเปน 3 ประเภท ผูบริโภคปฐมภูมิ (Primary Consumer) เปนส่ิงมีชีวิตท่ีกินพืชเปนอาหารอยางเดียว เรียกวาผูบริโภคพืช (Herbivores) เชน แมลง กระตาย วัว ควาย ชาง มา ปลาท่ีกินพืช ผูบริโภคทุติยภูมิ (Secondary Consumer) เรียกวา เปนท่ีนิยมผูบริโภคสัตว (Carnivores) เปนส่ิงมีชีวิตท่ีกินสัตวดวยกันเปนอาหารอยางเดียว เชน กบ งู ปลา เนื้อ เสือ สุนัขจิ้งจอก นกฮูก นกเคาแมว จระเข สิงโต เปนตน ผูบริโภคตติยภูมิ (Tertiary Consumer) เปนส่ิงมีชีวติท่ีกินท้ังสัตวและพืช เปนอาหาร เรียกวา พวก (Omnivore) หรือ (top carnivore) เชน คน นก ไก หมู สุนัข แมว เปด เปนตน นอกจากนั้นยังไดแกส่ิงมีชีวิตท่ีอยูในระดับขั้นการกินสูงสุด ซ่ึงหมายถึง สัตวท่ีไมถูกกิน โดยสัตวอ่ืน ๆ ตอไป เปนสัตวท่ีอยูในอันดับสุดทายของการถูกกินเปน อาหาร ซ่ึงไดแกมนุษย ผูยอยสลาย (Decomposer) หมายถึงส่ิงมีชีวติท่ีไมสามารถสรางอาหารไดเองแตจะไดอาหารจากการผลิตเอนไซมออกมา ยอยสลายซาก ของส่ิงมีชีวติ ของเสีย กากอาหาร ใหเปนสารท่ีมีขนาดโมเลกุลเล็กลง แลวจึงดูดซึมไปใชเปนอาหารบางสวน สวนท่ีเหลือ ปลดปลอยออกไป สูระบบนิเวศ ซ่ึงผูผลิตจะสามารถเอาไปใชสรางอาหารตอไป ส่ิงมีชีวิตท่ีมีบทบาทเปนผูยอยสลายสวนใหญไดแก พวกแบคทีเรีย เห็ด และรา จึงนับวาในระบบนิเวศหนึ่ง ๆ ผูยอยสลายเปนสวนสําคัญท่ีทําใหสารอาหารหมุนเวียน เปนวัฎจักรได 2.4 ปจจัยที่มีความสัมพันธระหวางส่ิงแวดลอมกับส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศ 1. แสง ยังมีความสัมพันธตอพฤติกรรมการออกหากินของสัตวตาง ๆ สัตวสวนใหญจะออกหากินเวลากลางวัน แตก็มีสัตวอีกหลายชนิดออกหากินเวลากลางคืน เชน คางคาวนกฮูก เปนตน 2. อุณหภูมิ ส่ิงมีชีวิตแตละชนิดจะดํารงชีวิตอยูไดในอุณหภูมิในประมาณ 10 – 30องศาเซลเซียส ในท่ีท่ีมีอุณหภูมิสูงมากหรืออุณหภูมิต่ํามากจะมีส่ิงมี ชีวิตอาศัยอยูนอยท้ัง ชนิดและจํานวน หรืออาจไมมีส่ิงมีชีวิตอยูไดเลย เชน แถบขั่วโลก และบริเวณทะเล ทราย ในแหลงน้ํา อุณหภูมิไมคอยเปล่ียนแปลง แตส่ิงมีชีวิตก็มีการปรับตัว เชน ในบางฤดูกาลมีสัตวและพืชหลายชนิด ตองพัก ตัวหรือจําศีล เพ่ือหลีกเล่ียงการเปล่ียนแปลงดังกลาว สัตวประเภทอพยพไปสูถ่ินใหม ท่ีมีอุณหภูมิเหมาะสมเปนการช่ัวคราวในบาง ฤดู เชน นกนางแอนอพยพจากประเทศจีนมาหากินในประเทศไทยในชวงฤดูหนาว และอาจเลยไปถึงมาเลเซียราวเดือนกันยายน ทุกป 4 ส่ิงมีชีวิตจะมีรูปรางลักษณะหรือสีท่ีสัมพันธกับอุณหภูมิของแหลงท่ีอยู เฉพาะแตกตาง กันไปดวย เชน สุนัข ใน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 36: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

24

ประเทศท่ีมีอากาศหนาว จะเปนพันธท่ีมีขนยาวปุกปุย แตในท่ีแถบรอนจะเปนพันธุขนเกรียน ตนไม เมืองหนาวก็มีความเฉพาะ เชน ปาสน จะอยูในท่ีท่ีมีเขตหนาวแตกตางจากพืชในปาดิบช่ืนในเขตรอน 3. แรธาตุ แรธาตุตาง ๆ จะมีอยูในอากาศท่ีหอหุมโลก อยูในดินและละลายอยูในน้ําแรธาตุท่ีสําคัญ ไดแก ออกซิเจน คารบอน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และแรธาตุอ่ืน ๆ เปนส่ิงจําเปนท่ีทุกชีวิตตองการในกระบวนการดํารงชีพ แตส่ิงมีชีวิตแตละชนิดตองการแรธาตุเหลานี้ในปริมาณท่ีแตกตางกนัและ ระบบนิเวศแตละระบบจะมีแรธาตุตาง ๆ เปนองคประกอบในปริมาณท่ีแตกตางกัน 4. ความช้ืน ความช้ืนในบรรยากาศจะแตกตางกันไปในแตละภูมิภาคของโลกและยังเปล่ียนแปลงไปตามฤดูกาล ความช้ืนมีผลตอการระเหยของน้ําออกจากรางกายของส่ิงมีชีวิตทําใหจํากัดชนิดและการกระจายของส่ิงมีชีวิตในแหลงท่ีอยูดวย ในเขตรอนจะมี ความช้ืนสูงเนื่องจากมีฝนตกชุกและสมํ่าเสมอ และจะมีความอุดมสมบูรณ จึงมีความหลากหลายของชนิดและปริมาณของส่ิงมีชีวิตมากกวาในเขตอบอุนหรือเขตหนาว 2.5 ความสัมพันธระหวางส่ิงมีชีวิต ความสัมพันธของส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดลอม ความสัมพันธของส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดลอมในระบบนิเวศแบงออกไดเปน 2 ลักษณะ คือ 1. เปนความผูกพัน พ่ึงพากัน หรือสงผลตอกันระหวางส่ิงมีชีวิตดวยกันเอง 2. เปนความเกี่ยวของสัมพันธระหวางส่ิงมีชีวิตกับส่ิงไมมีชีวิตท่ีแวดลอมกันอยู ซ่ึงลักษณะความสัมพันธท้ัง 2 ประการนี้จะเกิดขึ้นพรอม ๆ กันและมีอยูในทุกระบบนิเวศและความสําคัญของความสัมพันธระหวางส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดลอมก็คือ การถายทอดพลังงานและการแลกเปล่ียนสสารซ่ึงเปนความสัมพันธท่ีเปนไปตาม กฎเกณฑ อยางมีระเบียบภายในระบบ ทําใหระบบอยูในภาวะท่ีสมดุลนั้นคือ การดํารงชีวิตของส่ิงมีชีวิตจะไดพลังงานโดยตรงม าจ าก ดวงอาทิตยซ่ึงพลังงาน จากดวงอาทิตยจะถูกตรึงไวในชีวบริเวณดวยขบวนการสังเคราะหแสงของพืชสี เขียวทําใหมีการเจริญเติบโตและ เปนอาหารใหกับสัตว ขณะเดียวกันตลอดระยะเวลาของการเติบโตของพืชสีเขียว มันก็จะปลอยกาซออกซิเจนท่ีเปนประโยชนตอกระบวนการหายใจของพืชและสัตว นี้คือตัวอยางของการถายทอดพลังงานและการแลกเปล่ียนสสารระหวางส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดลอมในระบบนิเวศ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 37: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

25

ความสัมพันธของส่ิงมีชีวิตตางชนิดกัน ความสัมพันธระหวางส่ิงมีชีวิตตางชนิดกันเปนความสัมพันธท่ีเกิดขึ้นในลักษณะตาง ๆ ดังนี้ 1. ภาวะ การเปนผูอาศัย เปนความสัมพันธของส่ิงมีชีวิต 2 ชนิดท่ีอาศัยอยูรวมกันฝายผูอาศัยเปนผูไดรับประโยชน ผูท่ีใหอาศัยเปนผูเสียประโยชน เชน ตนกาฝากซ่ึงเกิดบนตนไมใหญ มีรากพิเศษท่ีเจาะลงไปยังทอน้ําและทออาหารของตนไมเพ่ือดูด น้ําและธาตุ อาหารหรือสัตวประเภทหมัด เรือด เห็บ ปลิง ทาก เหา ไร เปนตน 2. การลาเหยื่อ เปนการอยูรวมกันของส่ิงมีชีวิตท่ีชีวิตหนึ่งตองตกเปนอาหารของอีกชีวิตหนึ่ง เชน กวางเปนอาหารของสัตว ปลาเปนอาหารของมนุษย ซ่ึงส่ิงมีชีวิตลาชีวิตอ่ืนเปนอาหาร เรียกวา ผูลา และชีวิตท่ีตองตกเปนอาหารนั้น เรียกวา เหยื่อ 3. การไดประโยชนรวมกัน เปนการอยูรวมกันระหวางส่ิงมีชีวิต 2 ชนิด ท่ีตางฝาย ตางไดรับประโยชนกันและกัน แตไมจําเปนตองอยูดวยกันตลอดเวลานั่นคือบางครั้งอาจอยูดวยกัน บางครั้งก็อาจแยกใชชีวิตอยูตามลําพังได เชน นกเอียงกับควายการท่ีนกเอียงเกาะอยูบนหลังควายนั้นมันจะจิกกินเห็บใหกับควายขณะเดียวกันก็จะสงเสียงเตือนภัยใหกับควายเม่ือมีศัตรูมาทําอันตรายควาย 4. ภาวะแหงการเกื้อกูลกัน เปนความสัมพันธของส่ิงมีชีวิต 2 ชนิดท่ีฝายหนึ่งท่ีฝายไดประโยชนสวนอีกฝายไมเสียประโยชน แตก็ไมไดประโยชนอยาง เชน กลวยไมปา ท่ีเกาะ อยูตามเปลือกของตนไมใหญในปาอาศัยความช้ืนและธาตุอาหารจากเปลือกไม แตก็ไม ไดชอนไชรากเขาไปทําอันตรายกับลําตนของตนไม ตนไมจึงไมเสียผลประโยชน แตก็ไมไดประโยชนจากการเกาะของกลวยไมนั้น 5. ภาวะท่ีตองพ่ึงพากันและกันเปนการอยูรวมกันของส่ิงมีชีวิต 2 ชนิดท่ีไมส่ิงมีชีวิตนั้นสามารถมีชีวิตอยูได ถาแยกจากกัน เชน ไลเคน ซ่ึงประกอบดวยราและสาหราย สาหรายนั้น สามารถสรางอาหารไดเอง แตตองอาศัยความช้ืนจากราและราก็ไดอาหารจากสาหราย 6. ภาวะของการสรางสารปฎิชีวนะเปนการอยูรวมกันของส่ิงมีชีวิตท่ีฝายหนึ่งท่ีไม ไดรับประโยชนแตอีกฝายหนึ่งตองเสียประโยชน 7. ภาวะกีดกัน เปนภาวะท่ีการดํารงอยูของส่ิงมีชีวิตไปมีผลตอการอยูรอดของ ส่ิงมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง เชน ตนไมใหญบังแสงไมใหสองถึงไมเล็กท่ีอยูขางลาง ทําใหไมเล็กไมอาจเติบโตได 8. ภาวะของการแขงขัน เปนความสัมพันธของ ส่ิงมีชีวิต 2 ชีวิต ซ่ึงอาจเปนท่ีชนิดเดียวกันหรือตางชนิดกันท่ีมีความตองการท่ีอยูอาศัยหรืออาหารอยางเดียวกันในการดํารงชีวิตและ ปจจัยดังกลาวนั้นลวนมีจํากัด

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 38: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

26

9. ภาวะเปนกลาง เปนการอยูรวมกันของส่ิงมีชีวิต 2 ชีวิตใน ชุมชนเดียวกันแต แตกตางดํารงชีวิตเปนอิสระแกกันโดยไมใหและไมเสียประโยชนตอกัน 10. ภาวะยอยสลาย เปนการดํารงชีวิตของพวกเห็ดรา บัคเตรี ท่ีมีชีวิตอยูดวย การหลังสารเอนไซมออกมานอกรางกาย เพ่ือยอยซากส่ิงมีชีวิตใหเปนรูปของเหลว แลวดูดซึมเขาสูรางกาย ในรูปของเหลว5 2.6ระบบนิเวศปาไม ระบบนิเวศปาไม เปนระบบนิเวศซ่ึงมีตนไมชนิดตาง ๆ เปนส่ิงมีชีวิตหลักมีความแตกตางของระบบนิเวศตามลักษณะสภาพภูมิศาสตรและระดับความสูงจากน้ําทะเลโดยจะสามารถจําแนกระบบนิเวศปาไมไดเปน 2 กลุมใหญ ๆ คือ ปาไมผลัดใบ และ ปาไมไมผลัดใบซ่ึงแตละกลุมมีสมบัติ และลักษณะระบบนิเวศท่ีแตกตางกัน ปาไมผลัดใบ (deciduous forest) เปนปาท่ีมีตนไมสวนใหญเปนไมผลัดใบในฤดูแลง และจะผลิใบใหมในฤดูฝน พบไดท้ังในเขตอบอุนและเขตรอนโดยปาไมผลัดใบเขตอบอุนจะพบพืชพันธุไดหลายชนิด เชน ตนโอค เปนตน เขตนี้มีฝนตกประมาณ 30 - 6 นิ้ว ตอป อุณหภูมิในฤดูรอนและหนาวจะตางกันมากในแตละป สัตวท่ีพบมาก ไดแก สุนัขจิ้งจอก กวาง ตัวตุน เปนตน ปาไมผลัดใบเขตอบอุนพบมากในแถบทวีปยุโรป ประเทศญี่ปุน และออสเตรเลีย สวนปาไมผลัดใบเขตรอนจะมีลักษณะเปนปาเบญจพรรณหรือปาเต็งรัง ซ่ึงประกอบดวยตนไมผลัดใบหลายชนิดขึ้นปะปนกัน ตนไมท่ีสําคัญ ไดแก ตนไผ ตนสัก เปนตน ปาไมผลัดใบเขตรอนนี้มี ลักษณะเปนปาโปรงมีตนไมขึ้นกระจายรอยรอยละ 70 ของเนื้อปาประเทศไทย ปาไมไมผลัดใบ (Evergreen forest) ปาไมประเภทนี้จะเปนปาท่ีมีความเขียวชอุมตลอดท้ังป ไมมีระยะเวลาผลัดใบท่ีแนนอน เม่ือใบเกาแหงเห่ียวรวงไปจะมีการงอกใบใหมขึ้นทดแทนทันที ซ่ึงสามารถจําแนกออกเปน 6 ประเภท คือ ปาสน ปาดงดิบ ปาดิบเขา ปาชายเลน ปาพรุ และปาชายหาด ซ่ึงปาแตละชนิดจะมีลักษณะสภาพแวดลอมท่ีแตกตางกันดังนี ้

5นิวัติ เรืองพานิช, นิเวศวิทยาทรัพยากรธรรมชาต,ิ เขาถึงเม่ือ 18 มีนาคม 2557, เขาถึง

ไดจาก http://www.slideshare.net/weerabong2516/ss-4524846

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 39: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

27

ปาพรุ (swamp forest) ปาพรุจําแนกโดยลักษณะภูมิประเทศสภาพดินและพันธุไมในสังคมพืชเปนหลัก จัดเปนปาท่ีไมผลัดใบอยูในท่ีลุมท่ีมีน้ําจืดขังติดตอกันเปนเวลายาวนาน อาจมีการแหงแลงในบางครั้งแตดินยังคงช้ืนสูง และดินเปนกรดจัด มีซากของใบไมและเศษพืชทับถมหนาโดยไมสลายตัวหรือสลายนอยเรียกวาดินพีท (peat) ชนิดไมของปานี้ตองมีการปรับตัวเปนพิเศษท่ีตองขึ้นอยูในน้ําและดินท่ีเปนกรดสูงนี้ ไมสวนใหญมีรากแกวคอนขางส้ันรากแขนงแผกวาง มีรากค้ํายันท่ีลําตนมัน (stilt roots)โคนตนมีพูพอน และมีรากหายใจไมดัชนีของสังคมนี้เชน ตังหน (Calophyllum inophylloides) ละไมปา (Baccaurea bracteata) อายบาว (Stemonurus malaccensis) หลุมพี (Eleiodoxa conferta) สะเตียว (Ganua motleyana) ชางให (Neesia altissima) เลือดควาย (Horsfieldia sp.) และทองบ้ึง (Koompassia malaccensis) เปนตน ผลจากการสํารวจชนิดพรรณพืชในปาพรุ พบวามีชนิดพันธุไมดอก 109 วงศ 437 ชนิด และเฟรน 15 วงศ 33 ชนิด ปจจุบันปาพรุท่ีมีอาณาเขตกวางใหญของประเทศคือ ปาพรุโตะแดง จังหวัดนราธิวาส ระบบนิเวศของปาพรุนับวามีความแตกตางจากแหลงอ่ืนคอนขางมากเนื่องจากเปนระบบท่ีเปนกึ่งปาบกและกึ่งระบบของบึงน้ํา ปาพรุในประเทศไทยซ่ึงเปนพรุเขตรอนมีพลังงานเพ่ือการสรางอินทรียวัตถุสูง และธาตุอาหารในดินก็มีมากพอสมควรแตปญหาท่ีกําหนดระดับการสรางคือสภาพดินท่ีเปนกรดจัดและมีน้ําทวมอยางตอเนื่อง การสรางผลผลิตมูลฐานท้ังหมดสวนใหญเกิดขึ้นในไมยืนตนขนาดใหญในระดับเรือนยอดช้ันบนสุดและช้ันรอง ดังนั้นผลผลิตสดและใหมท่ีจะถายทอดไปสูสัตวจึงขึ้นไปอยูในระดับสูงดวยเหตุนี้จึงมีสัตวท่ีหากินในช้ันเรือนยอด (arboreal species) มากกวาปกติ ในสวนท่ีเปนพ้ืนปาเนื่องจากมีน้ําขังระยะยาวนานเปนสวนใหญพืชท่ีอยูชิดดินจึงมีนอย ยกเวนในชองวางทําใหผลผลิตมูลฐานมีนอย นอกจากนี้เนื่องจากการสกัดกั้นพลังงานแสงจากเรือนยอดช้ันบนทําใหพืชคลุมดินขึ้นไดยากและโตชา ดวยเหตุนี้ปริมาณสัตวท่ีเปนผูเสพอินทรียวัตถุท่ีผิวดินจึงมีคอนขางนอยกวาปาชนิดอ่ืน ในสวนของผูยอยสลายนับไดวามีการดําเนินไปไดชามาก เห็นไดจากการทับถมของซากพืชท่ีหนาเกินกวา 40 เซนติเมตร ขึ้นไป สาเหตุท่ีทําใหซากพืชสลายตัวยากเนื่องจากความเปนกรดของน้ําท่ีทวมขังอยูโดยตลอดซ่ึงสกัดกั้นการยอยสลายของจุลินทรีย การขาดสัตวในดนิและน้ําคอนขางนิ่งทําใหการคลุกเคลาของซากพืชกับดินแรธาตุช้ันลางเปนไปโดยยาก อยางไรก็ตามเนื่องจากพ้ืนท่ีพรุเปนท่ีลุมจึงเปนแหลงสะสมตะกอนจากปาบกขางเคียงทําใหปญหาการติดขัดของการหมุนเวียนของธาตุอาหารพืชหมดไป แตถาหากมีการทําลายปาชนิดนี้ลงและเปล่ียนเปนพ้ืนท่ีเกษตรกรรมท่ีปลูกพืชลมลุกสภาพปญหาเกี่ยวกับดินเปรี้ยวก็จะรุนแรงยิ่งขึ้น อาจกลาวไดวาสังคมปาพรุเปนระบบนิเวศท่ีคอนขางเปราะบางมีการเปล่ียนแปลงและเสียหายไดงายการพัฒนาใด ๆ ท้ังภายในและบริเวณโดยรอบตองใชความระมัดระวังเปนพิเศษ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 40: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

28

ปาสนหรือปาสนเขา (Coniferous forest หรือ pine forest) พบไดท่ัวไปในเขตภูเขาท่ีสูงกวาระดับน้ําทะเล 700 - 1,000 เมตร อยูระหวางเสนรุงท่ี 50 - 60 องศาเหนือบริเวณในตอนบนของทวีปอเมริกาเหนือและทวีปเอเชีย ปาสนในแถบซีกโลกเหนือนี้เรียกวา ไทกา (Tiga) มีสภาพอากาศหนาวเย็น ฝนตกคอนขางมากพืชท่ีพบในเขตนี้ ไดแก สน รวมถึงไมใหญ เชน เรดวูด เปนตน สัตวท่ีพบมาก ไดแก กระตาย เสือ และนกตาง ๆ หลายชนิด ปาดงดิบ (tropical rain forest) เปนปาในเขตท่ีมีความช้ืนสูง มีอุณหภูมิเฉล่ียประมาณ 27 องศาเซลเซียส มีฝนตกชุกในอัตรา 80 - 90 นิ้วตอป พบกระจายอยูในทวีปตาง ๆ ในแนวบริเวณเสนศูนยสูตรและพ้ืนท่ีใกลเคียง เชน ปาในประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย ภาคใตของไทย ทวีปอเมริกาใตบริเวณลุมแมน้ําแอมะซอน ทวีปแอบฟริกาบริเวณคองโก ไนเจอร เปนตน พืชท่ีพบในปาชนิดนี้จะมีขนาดใหญ ใบสีเขียวชอุมตลอดป ปาดงดิบนี้มีแสงแดดสองถึงพ้ืนปานอยมากจึงพบตนไมท่ีมีขนาดเล็กไดนอย สามารถพบส่ิงมีชีวิตหลายชนิด และมีความหลากหลายของส่ิงมีชีวิต ปาดิบเขา (Hill evergreen forest) เปนปาท่ีพบไดในระดับความสูงตั้งแต 1,000 เมตร เหนือระดับน้ําทะเลขึ้นไป สภาพปามีความหนาวเย็นมีความช้ืนสูง มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง สามารถพบพืชพันธุไดหลายชนิด เชน สนสองใบ สนสามใบ หวา และสมแปะ เปนตน นอกจากนี้ยังพบไมพุมและไมพ้ืนราบ เชน กุหลาบพันป มอส ขาวตอกฤๅษี และสามรอยยอด ปาดิบเขาท่ีพบในประเทศไทยไดแกท่ีอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม เปนตน ชายเลน (Mangrove forest) ปาชายเลนจําแนกโดยลักษณะของ ภูมิประเทศสภาพ แวดลอมและพันธุไมเดนในสังคมเปนปาท่ีปกคลุมอยูบนดินเลนริมฝงทะเลในแถบน้ํากรอยหรือน้ําทะเลเขาถึงโดยเฉพาะปากแมน้ําตาง ๆ ท่ีเปนแหลงตะกอนของอนุภาคดินท่ีถูกพัดลงมากับสายน้ําปกติตองมีน้ําเค็มทวมถึงและมีไมเดนท่ีมีการปรับตัวใหขึ้นไดบนดินเลนท่ีออนนิ่มและขาดกาซออกซิเจนในดินโดยการมีรากค้ํายัน (Prop root) รากหายใจ (pneumatophores) พูพอน (buttress) ท่ีใชสวนใหญใบมีสารเคลือบเพ่ือปองกันการเสียน้ํามากเกินไปบางชนิดมีตอมขับเกลือท่ีโคนใบ สนิท กลาววา พันธุไมท่ีบอกดัชนีท่ีใชแยกสังคมพืชนี ้ไดแก ไมในสกุลของ ตนไมโกงกาง (Rhizophora) แสม (Avicennia) ลําพูและลําแพน (Sonneratia) ถ่ัว (Bruguiera) และโปรง (Ceriops) เปนตน จากการรายงานการสํารวจพันธุพืชในปานี้พบวามีพันธุไมอยูถึง 74 ชนิด ใน 53 สกุล จาก 35 วงศ suntisuk กลาววา ปาชายเลนในประเทศไทยมีกระจายเปนตอน ๆ ริมฝงทะเล ในท่ี ภาคตะวันออกตั้งแตจังหวัดตราดขึ้นมาจนถึงจังหวัดฉะเชิงเทราพบตามแนวฝงทะเลของภาคกลางจากจังหวัดสมุทรปราการถึงจังหวัดประจวบคีรีขันธ และลงไปใตสุดจดชายแดนประเทศมาเลเซียท่ีจังหวัดปตตานี สวนทางฝงทะเลตะวันตกปรากฏตั้งแตจังหวัดระนองลงไปจนสุดเขตแดน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 41: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

29

ระบบนิเวศของปาชายเลนจัดไดวาเปนระบบท่ีเปดธาตุอาหารตาง ๆ ท่ีหล่ังไหลเขาสูระบบนิเวศนี้สวนใหญลงมากับสายน้ําจากระบบนิเวศท่ีอยูในแหลงตนน้ํา โดยเฉพาะปาบกเมืองพ้ืนท่ีเกษตรกรรมและแหลงอุตสาหกรรมธาตุอาหารเหลานั้นถูกเปล่ียนรูปเปนผลผลิตอินทรียวัตถุพอกพูนในพืชและสัตวถูกเก็บเกี่ยวในรูปของเนื้อไม โดยเฉพาะถาน ไมฟน เปลือกไม และสัตว โดยเฉพาะ กุง หอย ปู ปลา นกสัตวเล้ียงลูกดวยนม นํากลับไปใชและปลดปลอยในระบบนิเวศอ่ืน ๆ ท่ีอยูในแผนดินตอไปธาตุอาหารบางอยางอาจวนเวียนกลับมาอีกแตอีกไมนอยอาจไมหวนกลับมาอยางไรก็ตามระบบนิเวศปาชายเลนมักเปนผูไดมากกวาผูเสียจึงมักคงความสมบูรณสูงตลอดไปลักษณะโครงสรางของปาชายเลนมีสวนท่ีแตกตางจากปาบกอ่ืน ๆ อยูมากคือองคประกอบของผูสรางอินทรียวัตถุ (producers) มิไดมีเฉพาะพืชช้ันสูงเพียงอยางเดียวแตมีแพลงตอนพืชท่ีมีสวนการผลิตตอปคอนขางสูงดาย นอกจากนี้ยังมีสาหรายอีกหลายชนิดท่ีมีการผลิตอินทรยีวัตถุได สนิท กลาววา รายงานวาปาชายเลนท่ีจังหวัดสตูลมีผลผลิตสุทธิเฉล่ียโดย ประมาณ 10.56 – 23.46 กิโลกรัมคารบอนตอเฮกแตรตอวัน สวนการรวงหลนของซากพืชในปาชนิดนี้อยูในระหวาง 3.44 ถึง 9.31 ตัน ตอเฮกแตร ตอป และมวลชีวภาพยืนตนประมาณ 20.06 - 710.81 ตัน ตอเฮกแตรโดยน้ําหนักแหง ความแปรผันขึ้นกับแถบสังคมและสภาพทองถ่ิน สวนผลผลิตขั้นมูลฐานของแพลงตอนในน้ําใกลปาชายเลนตกประมาณ 4.69 ตันคารบอนตอเฮกแตรตอป Wium – Anderson กลาววา การผุสลายในปาชายเลน (Decomposition) ผูสลายท่ีสําคัญในปาชายเลนไดแก จุลินทรีย (Microorganism) เช้ือรา (fungi) นอกจากนี้ยังมีผูชวยยอยสลายท่ีทําใหอินทรียวัตถุกลายเปนช้ินเล็กช้ินนอยอีกหลายชนิด โดยเฉพาะแมลง และเตซีน (crustacean) เชน ปู หอย กุง เพรียง เปนตน ปาชายหาด (beach forest) ปาชนิดนี้จําแนกตามสภาพภูมิประเทศ สภาพแวดลอม ลักษณะดินและพรรณพืชคลุมดิน เปนปาท่ีปกคลุมอยูบริเวณชายฝงทะเลท่ีดินเปนดินทรายจัด น้ําทะเลทวมไมถึง หรือ บริเวณหาดทรายเกาท่ียกตัวสูงขึ้น หรือ บริเวณท่ีเปนหินชิดฝงทะเล ดินคอนขางเค็มและท่ีสําคัญคือมีไอเค็ม (salt spray) จากทะเลพัดเขาถึงพรรณพืชสวนใหญของปาชนิดนี้เปนพืชทนเค็ม (halophytes) และคดงอดวยแรงลมปาชายหาดปรากฏอยูท่ัวไป ตามชายทะเลท่ีเปนหาดทรายเกาน้ําทวมไมถึงท้ังชายฝงภาคตะวันออกตั้งแตจังหวัดชลบุรีลงไปถึงจังหวัดตราด และทางภาคใตแถบฝงทะเลดานอาวไทยจากจังหวัดเพชรบุรีลงไปจนตอเขตแดนประเทศมาเลเซียรวมถึงเกาะตาง ๆ ในอาวไทยดวย ในทางฝงตะวันตกมีพบตั้งแตจังหวัดระนองลงไปจนถึงจังหวัดสตูลรวมท้ังหมูเกาะนอยใหญในทะเลอันดามันดวย โดยเฉพาะเกาะตะรุเตามีปาชายหาดท่ีสวยงามและคอนขางสมบูรณมากแหงหนึ่ง เนื่องจากปจจัยกําหนดทําใหปาชายหาดมีการกระจายขาดเปนตอน ๆ บางพ้ืนท่ีสลับกับปาชายเลนและบางพ้ืนท่ีสลับกับปาดงดิบหรือสังคมผาหิน เนื่องจากสังคม

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 42: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

30

ปาชนิดนี้ตองอยูชิดทะเลจึงถูกทําลายและเปล่ียนสภาพเปนแหลงทองเท่ียวบานเมืองและชุมชนจนเกือบหมดส้ิน คงเหลือใหเห็นเปนหยอมเล็ก ๆ ท่ีมีสภาพเส่ือมโทรมเปนสวนใหญพันธุไมและลักษณะโครงสรางของปาชายหาด องคประกอบของพันธุไมและลักษณะโครงสรางของปาชายหาดแปรผันไปตามปจจัยแวดลอมในแตละทองท่ี ตนไมโดยท่ัว ๆ ไปมีลักษณะเปนพุมลําตนคดงอและแตกกิ่งกานมาก กิ่งส้ัน ใบหนาแข็ง ประกอบดวยไมใหญนอยสวนมากเปนไมหนามขนาดไมพุมและเถาวัลย ชายฝงท่ีเปนดินทรายจัดทางตอนใตของภาคใตอาจพบสังคมสนทะเลนี้มักกอตัวในหาดทรายท่ีเกิดใหมและมีไมสนทะเลเดนนําแตเพียงชนิดเดียว ในสภาพฝงทะเลท่ีเปนหินโดยเฉพาะตามเกาะตาง ๆ เปนสังคมของรังกะแท (Kadelia candel) ตะบูน (Xylocarpus granatum) หูกวาง (Terminalia catappa) โพธ์ิทะเล และยังมี(Hibiscus tiliaceus) มะนาวผี (Atalantia monophylla) และกระทิง (Calophyllum inophyllum) ไมเหลานี้มีความสูงไมมากและลําตนคดงอดวยแรงลมแตมีเรือนยอดท่ีตอเนื่องกันโดยตลอดและแนนทึบจนจรดดิน Smitinand กลาววา พ้ืนปามักโลงเตียนเนื่องจากดินท่ีเปนทรายจัดและถูกปกคลุมดวยใบสนหนา ไมพ้ืนลางท่ีอาจพบบางไดแก ผักบุงทะเล (Poemoea pescaprae) หญาลอยลม และ (Spinifex littoreus) ถ่ัวคลา (Canallia rosea) พืชเหลานี้เปนพืชเล้ือยชิดดินแสดงถึงการรุกลํ้าเขายึดหาดทรายเพ่ือการทดแทนตามธรรมชาติ รากท่ีงอกตามขอชวยยึดทรายและเปนท่ีฝากเมล็ดไมอ่ืนตอไประบบนิเวศของปาชายหาด โดยท่ัวไปมีผลผลิตขั้นมูลฐานคอนขางต่ําท้ังนี้เนื่องจากขอจํากัดในเรื่องความเค็มของดิน ปริมาณธาตุอาหารพืชในดินท่ีมีอยูนอย และสภาพดินท่ีเก็บความช้ืนไวไดไมนาน ฉะนั้นพืชสวนใหญจึงเจริญเติบโตไดชา และจากไอเค็มท่ีพัดเขามาจากทะเลและความรุนแรงของลมพายุทําใหไมใหญหักโคนไดงาย การหมุนเวียนของพลังงานใน ระบบนิเวศของปานี้โดยพ้ืนฐานแลวเปนไปไดในอัตราท่ีรวดเร็ว เนื่องจากปจจัยหลายประการคอนขางเหมาะสมคือ ปริมาณพลังงานท่ีตกลงบนพ้ืนท่ีตอปมีอยูอยางมากพืชสามารถนําไปใชไดอยางตอเนื่อง อุณหภูมิอยูในชวงท่ีพืชสามารถสังเคราะหแสงไดตลอดป ความช้ืนในบรรยากาศคอนขางสูง อยางไรก็ตามการขาดแคลนน้ําในดินมักเปนตัวกําหนดในการสังเคราะหแสงของพืช การสลายตัวของซากพืชซากสัตวมักเปนไปไดอยางรวดเร็วเนื่องจากอุณหภูมิท่ีคอนขางรอนและความช้ืนของบรรยากาศท่ีคอนขางสูงในชวงฤดูฝน จึงทําใหจุลินทรียและราสามารถทําลายซากพืชและสัตวใหสลายโดยสมบูรณไดภายในเวลารวดเร็ว ปญหาท่ีมักเกิดขึ้นก็คือซากของใบสนทะเลท่ีมีการผุสลายชาและปกคลุมดินคอนขางหนาเปนการสกัดกั้นการสืบตอพันธุของไมชนิดอ่ืน ๆ อีกท้ังอาจกอใหเกิดไฟผิวดินขึ้นได

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 43: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

31

2.7 ระบบนิเวศแหลงน้ํา ระบบนิเวศน้ําจืด เปนระบบนิเวศในแหลงน้ําจืดมีท้ังท่ีเปนแบบแหลงน้ํานิ่ง ไดแก อางเก็บน้ํา ทะเลสาบ หนอง บึงหรือสระน้ํา เปนตน และแหลงน้ําไหลซ่ึงไดแก แมน้ํา ลําคลอง ลําธาร เปนตน โดยระบบนิเวศน้ําจืดจะมีส่ิงมีชีวิตท่ีเปนองคประกอบของระบบนิเวศแตกตางกันไปตามระดับความลึกของแหลงน้ําและอัตราการไหลของกระแสน้ําดั้งนี ้ 1. บริเวณชายฝง เปนบริเวณท่ีอยูตามแนวขอบของแหลงน้ํา มีน้ํานิ่ง แสงแดดสามารถสองถึงพ้ืนน้ําได ประกอบดวยส่ิงมีชีวิตหลายชนิดซ่ึงเปนท้ังผูผลิตและผูบริโภคลําดับตาง ๆ พืชท่ีอยูในบริเวณนี้จะมีท้ังพืชท่ีขึ้นตามแนวชายฝงและพืชท่ีขึ้นอยูใตน้ําท่ีแสงแดดสองถึงไดแก บัว กระจูด เปนตน 2. บริเวณผิวน้ํา เปนบริเวณผิวน้ําของแหลงน้ํานิ่งลึกลงไปจนถึงกลางน้ําท่ีมีแสง สองถึง พืชชนิดตาง ๆ สามารถสังเคราะหดวยแสงไดดี ส่ิงมีชีวิตท่ีพบ ไดแก พืชน้ําท่ีลอยอยู แพลงคตอน สาหรายท่ีและปลาชนิดตาง ๆ 3. บริเวณพ้ืนดินใตน้ํา เปนบริเวณพ้ืนดินของแหลงน้ํานิ่งท่ีแสงแดดสองไมถึง จึงไมพบส่ิงมีชีวิตท่ีเปนผูผลิตในบริเวณนี้ เปนบริเวณท่ีมีออกซิเจนต่ํา ส่ิงมีชีวิตท่ีพบ ไดแก รา แบคทีเรีย และจุลินทรียตาง ๆ รวมถึงสัตวท่ีอาศัยอยูบริเวณพ้ืนดินใตน้ํา เชน กุง ปู หอย ตาง ๆ เปนตน 4. บริเวณน้ําไหลเชี่ยว เปนบริเวณท่ีกระแสน้ําไหลแรง จึงไมมีตะกอนสะสมอยูใตน้ํา ส่ิงมีชีวิตท่ีพบในบริเวณนี้จะเปนส่ิงมีชีวิตท่ีสามารถตานทานความแรงของกระแสน้ําไดดี เชน ตนพืชท่ีมีรากยึดเกาะติดอยู กับวัตถุใตน้ํา หรือ ปลาท่ีสามารถวายทวนกระแสน้ําไดด ีเปนตน 5. บริเวณน้ําไหลชา เปนบริเวณแหลงน้ําไหลท่ีมีระดับน้ําลึก ส่ิงมีชีวิตท่ีพบ ไดแก สัตวท่ี ขุดรูอยูใตพ้ืนพ้ืนน้ําเชน หอยสองฝา ตัวออนของแมลง เปนตน และอาจพบปลาชนิดตาง ๆ ได ระบบนิเวศน้ําเค็ม เปนระบบนิเวศในแหลงน้ําเค็มหรือน้ําทะเล ไดแก ทะเล และมหาสมุทร ท่ีประกอบดวยชายฝงทะเล หาดทราย หาดหิน แนวปะการัง ทะเลลึก เปนตน ระบบนิเวศน้ําเค็มนี้มีลักษณะ ส่ิงมีชีวิตท่ีเปนองคประกอบแตกตางกันออกไปตามแตละบริเวณดังนี ้ 1. บริเวณแนวชายฝง เชน หาดทราย หาดหิน ชายฝง เปนบริเวณท่ีมีการ เปล่ียนแปลงของอุณหภูมิและความเค็มมาก เนื่องจากน้ําขึ้นน้ําลงและการซัดเขาหาฝงตลอดเวลาของน้ําทะเล ส่ิงมีชีวิตท่ีอาศัยอยูตามแนวชายฝงนี้จะตองมีความทนทานตอแรงกระแทกและทนตอความเค็มของน้ําทะเลไดดี ส่ิงมีชีวิตท่ีพบ ไดแก หอยหญาทะเล สาหราย แพลงคตอนพืช แพลงคตอนสัตว ปู ปลา บางชนิด ฯลฯ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 44: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

32

2. บริเวณพ้ืนดินใตทองทะเล เปนบริเวณท่ีพบส่ิงมีชีวิตไดแตกตางกันไปตามระดับความลึกจากผิวน้ําโดยในบริเวณท่ีแสงอาทิตยสองถึงจะสามารถพบส่ิงมีชีวิตไดหลากหลายชนิดกวา เชน ปะการัง สาหราย และปลาตาง ๆ ท่ีอาศัยอยูตามแนวปะการังและสาหราย สวนในระดับความลึกท่ีแสงอาทิตยสองไมถึงจะ สามารถพบส่ิงมีชีวิตไดนอยลง 3. บริเวณผิวน้ําทะเล คือ บริเวณผิวน้ําและบริเวณระดับท่ีลึกลงไปเทาท่ีแสง อาทิตยสองถึง เปนบริเวณระดับท่ีลึกลงไปเทาท่ีแสงอาทิตยสองถึง เปนบริเวณท่ีอบอุน จะพบส่ิงมีชีวิต เชน แพลงคตอนพืช และสัตว ปลาชนิดตาง ๆ ท่ีมีขนาดใหญ และปลาท่ีวายน้ําเร็ว เชน ฉลาม ปลาทู เปนตน ระบบนิเวศน้ํากรอย เปนระบบนิเวศท่ีพบไดในบริเวณปากแมน้ําหรือปากอาวท่ีมีน้ําจืดไหลมาบรรจบกับน้ําทะเล ทําใหน้ําบริเวณนั้นมีสภาพเปนน้ํากรอย เปนแหลงท่ีมีแรธาตุตาง ๆ ละลายอยูสูง จึงมีสภาพเปนดางออน ๆ มีความอุดมสมบูรณของสารอินทรียและสารเคมีตาง ๆ ท่ีไหลมากับแมน้ํา มีการเปล่ียนแปลงระดับออกซิเจนและคารบอนไดออกไซดอยางรวดเร็ว สามารถพบส่ิงมีชีวิตไดหลายชนิด เชน พืชตาง ๆ และแพลงคตอนพืช สัตวท่ีพบในระบบนิเวศนี้ ไดแก ปู หอยนางรม หอยสองฝา ดาวทะเล หอยเมน ตัวออนของปลาหลายชนิด ฯลฯ6

6ฤทธ์ิวัฒน ชัยยิ่งเจริญ, ชีวิตกับส่ิงแวดลอมส่ิงมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต

(กรุงเทพ ฯ: อักษรเจริญทัศน 2532), เขาถึงเม่ือ 15 มีนาคม 2557, เขาถึงไดจาก http://www.truepl ookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/2965-00/

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 45: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

33

3. อิทธิพลที่ไดรับจากผลงานศิลปกรรม อิทธิพลจากผลงานศิลปกรรมเปนปจจัยนํามาสูการสรางสรรคงานศิลปะเปนการรวบรวมเอาความรู ความคิด ความชอบนํามาวิเคราะหสรางสรรคงานกลายมาเปนผลงานท่ีมีลักษณะเฉพาะตัว ซ่ึงเกิดจากประสบการณท่ีไดรับรูของงานศิลปะการเปนสวนหนึ่งดานนี้ เราจะปฏิเสธไมไดวาการท่ีสรางสรรคผลงานนั้นจะตองไดรับความดลบันดาลใจจากผลงานของผูอ่ืนท่ีช่ืนชอบดวยขาพเจาก็เชนกันมีความช่ืนชอบของศิลปนมากมายท้ังศิลปนไทยและตางประเทศท่ีไดรับอิทธิพลแตท่ีมีชัดเจนมีดวยกัน 4 ทานคือ ศิลปนไทย 3 ทานและตางประเทศ 1 ทานดังนี้

3.1 อิทธิพลดานแนวความคิดในงานศิลปะที่เกี่ยวของกับงานภาพพิมพในประเทศ ผลงานของศิลปนในประเทศ

บุญมี แสงขํา ท่ีขาพเจาหยิบเอาความสามารถนําเอารูปแบบแนวความคิด ขบวนการทํางานมาเปนแบบอยางในการทํางานศิลปะของขาพเจาใหเกิดความสมบูรณในงานมากยิ่งขึ้นขาพเจาไดมีความประทับใจในการสรางสรรคผลงานของ บุญมี แสงขํา สาขาภาพพิมพ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปกร ซ่ึงเปนบุคคลหนึ่งท่ีช่ือเสียงในวงการศิลปะในเมืองไทย โดยเนื้อหาของผลงานเกี่ยวกับความเช่ือศรัทธาในปรัชญาแหงพระพุทธศาสนา สูแนวความคิดของการนําเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับวัฏจักรแหงการกําเนิด เกิดขึ้น ตั้งอยูและดับไปของสรรพส่ิงมากมายในธรรมชาติ ซ่ึงมีสวน สงผลใหผูท่ีเฝาสังเกตความเปล่ียนแปลงดวยปญญา ไดตระหนักถึงแกนการดํารงชีวิตอยางพอเพียง ดวยความสงบ ความวางและความสวางของตนเอง โดยใชรูปลักษณของพืชผักเมล็ดพันธุ เปนส่ือในการแสดงออกเชิงความคิดดวยผลงานภาพพิมพ เทคนิคส่ิวโยก (Mezzotint) ท่ีละเอียดออนประณีต ซ่ึงตัวของขาพเจามีความช่ืนชอบในผลงานของศิลปนอยูดวยจึงไดนําความงามของธรรมชาติรอบตัวขาพเจาอาศัยอยูในธรรมชาติมาสรางเปนผลงานโดยเนนรูปทรงและเสริมสรางจินตนาการเพ่ิมเติมไปดวย 7

7บุญมีแสงขํา, นิทรรศการ บุญมีแสงขํา, เขาถึงเม่ือ 20 กุมภาพันธ 2557, เขาถึงไดจาก http://m.posttoday.com/article.php?id=4485&channel_id3000

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 46: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

34

ภาพท่ี 1 แสดงตัวอยางผลงานของ บุญมี แสงขํา ท่ีมา: บุญมี แสงขํา, ดอกชมพูปา ชดุ เมลด็พันธุแหงความสุข [ภาพพิมพส่ิวโยก], เขาถึงเม่ือ 20 กุมภาพันธ 2557, เขาถึงไดจาก http://artbangkok.com

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 47: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

35

ภาพท่ี 2 แสดงตัวอยางผลงานของ บุญมี แสงขํา ท่ีมา: บุญมี แสงขํา, ดอกชมพูปา ชุด เมล็ดพันธุแหงความสุข [ภาพพิมพส่ิวโยก], เขาถึงเม่ือ 20 กุมภาพันธ 2557, เขาถึงไดจาก http://artbangkok.com

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 48: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

36

พัดชา แกวทองตาล ความสัมพันธ แหงชีวิต ผลงานภาพพิมพโลหะรองลึกโดย พัดชา แกวทองตาล นําเสนอแงคิดในเชิงบวก เกี่ยวกับความสัมพันธระหวางมนุษยกับสรรพชีวิตแวดลอมในธรรมชาติ ซ่ึงมีความเกี่ยวโยงและเอ้ืออิงกันอยูอยางลึกซ้ึงดุจดั่งหวงโซแหงชีวิต ในนิทรรศการ “ความสัมพันธแหงชีวิต” อันเปนนิทรรศการแสดงศิลปกรรมเดี่ยวครั้งแรกของศิลปนหญิงผูนี้ โดยศิลปนไดถายทอดความรูสึกนึกคิดและแสดงใหเห็นถึงการปรับตัวเขาหากัน ของมนุษยกับธรรมชาติ เพ่ือใหทุกชีวิตดํารงอยูสืบตอไปในอนาคต เพราะมนุษยกับธรรมชาติ คือ ส่ิงท่ีสอดคลองกันเสมอมา ศิลปนไดอาศัยเรื่องราวและมุมมองเหลานี้เปนแรงบันดาลใจในการสรางผลงานชุดนี้โดยนําเอาความรูสึกท่ีตัวเองไดใกลชิดกับธรรมชาติและมุมมองตาง ๆ มาถายทอดเปนผลงานสะทอนความรูสึกไดอยางเดนชัดและสอดคลองกับตัวขาพเจาท่ีมีความรูสึกประทับใจในเรื่องราวและกฎเกณฑของธรรมชาติจึงเปนเปนแหลงขอมูลและอิทธิพลใหตัวขาพเจาสามารถประกอบอางอิงในการทํางานวิทยานิพนธในครั้งนี้8

8พัดชา แกวทองตาล ,นิทรรศการ “ความสัมพันธแหงชีวิต’’, เขาถึงเม่ือ 19 กุมภาพันธ 2557, เขาถึงไดจาก http://www.ardelgallery.com/exhibition/219

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 49: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

37

ภาพท่ี 3 แสดงตัวอยางผลงานของ พัดชา แกวทองตาล ท่ีมา: พัดชา แกวทองตาล, Relationship of Life No.10 [ภาพพิมพหิน], เขาถึงเม่ือ 19 กุมภาพันธ 2557, เขาถึงได จาก http://www.ardelgallery.com/exhibition/219

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 50: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

38

ภาพท่ี 4 แสดงตัวอยางผลงานของ พัดชา แกวทองตาล ท่ีมา: พัดชา แกวทองตาล, Relationship of Life No.10 [ภาพพิมพหิน], เขาถึงเม่ือ 19 กุมภาพันธ 2557, เขาถึงได จาก http://www.ardelgallery.com/exhibition/219

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 51: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

39

กมลพันธุ โชติวิชัย นําเสนอผลงานภาพพิมพเทคนิคผสมภายใตเรื่องราวเนื้อหาเกี่ยวกับการใชสติสํารวจตัวตนของตนเองตามแกนแกนหลักคิดแหงพระพุทธศาสนา ดวยการจดจอกับความเปล่ียนแปลง เคล่ือนไหว และไมจีรังของชีวิต ผานกระบวนการกรีดกระดาษพิมพภาพเรือนรางของศิลปนใหเปนเสนริ้วอันละเอียด เพ่ือแทนคาเสมือนสัญลักษณของความวางและความไมมี ผลงานภาพพิมพท่ีเต็มไปดวยทักษะอันโดดเดนและแนวความคิดอันลึกซ้ึง การกรีดและทําใหภาพท่ีสมบูรณแยกออกจากกัน เปนความตั้งใจของศิลปะหญิงอนาคตไกล “กมลพันธุ โชติวิชัย” ซ่ึงนําเสนอศิลปะแบบใหมไมซํ้าใครดวยไอเดียเฉพาะตัวท่ีเธอครุนคิดดวยสมองและสองมือ กับเทคนิคการกรีดกระดาษ ซ่ึงบรรจงกรีดดวยใบมีดอันแหลมคมและความตั้งใจอันเปยมลน เพ่ือตองการบอกเลาและสะทอนเรื่องราวความคิดของคนท่ียึดติดกับส่ิงตาง ๆ มากเกินไป ศิลปนไดอาศัยเรื่องราวและมุมมองเหลานี้เปนแรงบันดาลใจในการสรางผลงานชุดนี้โดยนําเอาความรูสึกท่ีตัวเองไดรูสึกสังเกตเรื่องราวตาง ๆ ของมนุษยและมุมมองตาง ๆ มาถายทอดเปนผลงานสะทอนความรูสึกไดอยางเดนชัดและสอดคลองกับตัวขาพเจาท่ีมีความรูสึกประทับใจในเรื่องราวและกฎเกณฑของธรรมชาติจึงเปนเปนแหลงขอมูลและมีอิทธิพลใหตัวขาพเจาสามารถนําประกอบอางอิงในการทํางานวิทยานิพนธในครั้งนี้9

9 กมลพันธุ โชติวิชัย, นิทรรศการ ความวางเปลา, เขาถึงเม่ือ 19 กุมภาพันธ 2557, เขาถึงไดจาก http://www.ardelgallery.com/exhibition/301

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 52: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

40

ภาพท่ี 5 แสดงตัวอยางผลงานของ กมลพันธุ โชติวิชัย ท่ีมา: กมลพันธุ โชติวิชัย, Collapse 2013 [ภาพพิมพเทคนิคผสม], เขาถึงเม่ือ 19 กุมภาพันธ 2557 เขาถึงไดจาก http://www.ardelgallery.com/exhibition/301

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 53: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

41

ภาพท่ี 6 แสดงตัวอยางผลงานของ กมลพันธุ โชติวิชัย ท่ีมา: กมลพันธุ โชติวิชัย, Body no.3 2013 [ภาพพิมพเทคนิคผสม], เขาถึงเม่ือ 19 กุมภาพันธ 2557 เขาถึงไดจาก http://www.ardelgallery.com/exhibition/301

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 54: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

42

ผลงานของศิลปนตางประเทศ อุตะงะวะ คุนิโยะชิ เกิดราวป ค.ศ. 1797 เปนลูกของชางยอมไหมเดิมช่ือ โยะชิซะบุโร (Yoshisaburo) ดูเหมือนวาคุนิโยะชิจะชวยกิจการของบิดาโดยเปนผูออกแบบลาย และขอมูลบางแหลงก็เสนอวาประสบการณจากผูออกแบบลายผาและทําสีไดมีอิทธิพลตอการสรางผลลงานของเขาเปนอยางมากในการทํางานไมวาท้ังลายผาและผลงานภาพพิมพ อาจจะเปนไดวาเขาไดรับอิทธิพลมาจากประสบการณจากลวดลายบนผาและสีสันท่ีไดเห็นและคุนเคยมาตั้งแตเด็กเม่ือเติบโตมาเขาก็ไดสรางสรรคผลงานเปนท่ีนิยมเรื่อย ๆ มา หลังจากนั้นเขาก็ไดทํางานภาพพิมพท่ีเอามาจากตํานานสงครามเชน “ตํานานเฮเคะ” และ “ตํานานเง็นเป เซซุค”ิ (Genpei seisuki) ภาพนักรบของคุนิโยะชิมีลักษณะท่ีเปนเอกลักษณตรงท่ีเปนภาพของนักรบผูเปนท่ีนิยมจากตํานานท่ีจะเนนความฝน การปรากฏตัวของปศาจ ส่ิงช่ัวราย และพฤติกรรมของวีรบุรษ งานเชิงท่ีวานี้จะเห็นไดชัดในงานพิมพ “ปศาจของไทระ โทะโมะโมริท่ีอาวไดโมะซึ” (Taira Tomomori borei no zu) และ บานพับภาพสาม “สะพานโกโจ” ท่ีสรางในป ค.ศ. 1839 ท่ีคุนิโยะชิสรางบรรยากาศอันเขมขนรุนแรงของการปะทะกันระหวางโยชิซึเนะกับเบ็งเค ภาพวาดของคุนิโยะชิสนองความตองการของสาธารณชนทางดานงานท่ีสรางความตื่นเตน และ บรรยากาศท่ีพิสดารท่ีเปนท่ีนิยมกันอยางแพรหลายในชวงนัน้ เราจะเห็นไดวาการสรางสรรคผลงานของศิลปนนั้นมักจะอาศัยประสบการณและเหตุการณเรื่องราวใกลตัวและสะทอนความรูสึกนั้นออกมาเปนผลงานศิลปะใหเราไดรับรูและเขาใจในเจตนาของผูสรางสรรคผลงานอยางมีความชํานาญไมวาจะเปน ลวดลายอันละเอียดออนและลายเสนของภาพ สะทอนความชํานาญไดอยางดีเยี่ยมเพราะเขาไดเขาใจในส่ิงท่ีเขาพบและรูสึกและทําความเขาใจกับส่ิงท่ีเขาตองการแสดงออกมาผานช้ินงานแตละช้ิน10

10กําจร สุนพงษศรี, ประวัติศาสตรศิลปะญี่ปุน (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2551) เขาถึงเม่ือ 19 กุมภาพันธ 2556, เขาถึงไดจาก http://jumpsuri.blogspot.com/ 2013/04/ado-period.html

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 55: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

43

ภาพท่ี 7 ภาพแสดงผลงานตัวอยางของ อุตะงะวะ คุนิโยะชิ ท่ีมา: อุตะงะวะ คุนิโยะชิ, โรนิงผูมีชื่อเสียงมิยาโมโตะ มุซาชิสังหารนุเอะ [ภาพพิมพแกะไม], เขาถึงเม่ือ 20 กุมภาพันธ 2557, เขาถึงไดจาก http://commons.wikimedia.org/wiki/File:Miyamoto_Mus

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 56: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

44

ภาพท่ี 8 ภาพแสดงผลงานตัวอยางของ อุตะงะวะ คุนิโยะชิ ท่ีมา: อุตะงะวะ คุนิโยะชิ, คิงเฮียวชิ โยริง จากภาพพิมพชุดโดยคุนิโยะชิเปนภาพจากตํานาน 108 ผูกลาหาญแหง ซุอิโคะเด็ง [ภาพพิมพแกะไม], เขาถึงเม่ือ 20 กุมภาพันธ 2557, เขาถึงไดจาก http://commons.Wikimedia.org/wiki/File:Suikoden.jpg

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 57: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

45

ตารางท่ี 1 วิเคราะหอิทธิพลผลงานของศิลปนท่ีมีอิทธิผลตอการสรางสรรคผลงาน

ศิลปน

ภาพผลงาน

อิทธผิลทีน่ํามาใชในการพัฒนาสรางสรรคผลงาน

อิทธิพลดาน แนวความคิด

อิทธิพลดานรูปแบบ ที่ใชในผลงาน

บุญมี แสงขํา

นําเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับวัฏจักรแหงการกําเนิด เกิดขึ้น ตั้งอยูและดับไป โดยใชรูปลักษณของพืชผักเมล็ดพันธุเปนส่ือในการแสดงออกเชิงความคิด

ไดนําเอาหลักการแนวความคดิมาของศิลปนมาเสริมและพัฒนาผลงานของตัวเองใหมีท่ีมามากขึ้น

พัดชา แกวทองตาล

นําเสนอแงคิดในเชิงบวก เกี่ยวกับความสัมพันธระหวางมนุษยกับสรรพชีวิตแวดลอมในธรรมชาติ ซ่ึงมีความเกี่ยวโยงและเอ้ืออิงกันอยูอยางลึกซ้ึงดุจดั่งหวงโซแหงชีวิต

ไดนําเทคนคิวิธีการกระสรางสรรคภาพพิมพหินมาปรับใชในผลงานของขาพเจาเพราะศิลปนเปนคนท่ีมีความชํานาญดานภาพพิมพ

กมลพันธุ โชติวิชัย

นําเสนอแนวคิดภายใตเรื่องราวเนื้อหาเกี่ยวกับการใชสติสํารวจตัวตนของตนเองตามแกนแกนหลักคิดแหงพระพุทธศาสนา ดวยการจดจอกับความเปล่ียนแปลง เคล่ือนไหว และไมจีรังของชีวิต

ไ ด รั บ แ น ว คิ ด แ ล ะกระบวนการใหม ๆ ในการสรางสรรคผลงานใหมีลักษณะท่ีโดดเดนและเปนเอกลักษณ

อุตะงะวะ คุนิโยะชิ

นําเสนอเรื่องของการดํารงชีวิตของตัวเองและเรื่องราวในวัฒนธรรมประเพณีวรรณคดี นิทาน และเรื่องราวของธรรมชาต ิ

ไดความรูจากการไปคิดทบทวนเนื้อหาเรื่องราวใกล ตๆัวเราในการนาํมาสรางสรรคผลงาน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 58: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

46

3.2 อิทธิพลทางดานรูปแบบ การศึกษาขอมูล จากรูปแบบผลงงานศิลปะตาง ๆ เพ่ือเปนพ้ืนฐานท่ีจะสามารถทําใหเกิดความเขาใจในรูปแบบผลงานทางทัศนศิลป ท่ีสามารถสอดคลองกับผลงานสรางสรรคของตนเองได โดยจะศึกษาจากการแหลงขอมูลตาง ๆ และศึกษาจากเอกสารตําราท่ีสามารถสืบคนได และเช่ือม่ันวาเปนขอมูลจริงโดยขาพเจาไดศึกษาเอาในระบบนิเวศของส่ิงมีชีวิตท่ีเราพบเจอไดท่ัวไปดังนี้ ระบบนิเวศตามหาดหิน หาดหิน (Rocky Shore) คือ หาดท่ีมีแตหินติดตอกันไปเปนบริเวณกวาง หินเหลานี้ถูกน้ําทะเลซัด กระแทกเขามาตลอดท้ังวันท้ังคืน จึงทําใหเกิดรูรอง เปนแอง หรือโคงเวา กลายเปนหินรูปรางแปลก ๆ แองหินบางแหงท่ีถูกน้ําทะเลทวมขังมีสาหรายเกาะติดอยูกลายเปนท่ีอยูของสัตวทะเลเล็กๆไดเปนอยางดี ท่ีหาดหินมีน้ําทะเลขั้นลงวันละ 1 ครั้ง ในบริเวณเหลานั้นจึงเปนแหลงท่ีอยูอาศัยของสัตวหลายชนิดท่ีมีตัวติดแนนอยูกับหิน เชน หอยนางรม เพรียงภูเขาไฟ นี้จึงเปนแหลงขอมูลทางรูปแบบในการศึกษาและคนควาขอมูลของขาพเจา

ภาพท่ี 9 เพรียงเกาะหิน ท่ีมา: ระบบนิเวศตามหาดหิน, เพรียงเกาะหิน, เขาถึงเม่ือ 25 พฤษภาคม 2557, เขาถึงไดจาก https://bestbobbob.files.wordpress.com/2013/02/index.jpg

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 59: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

47

ภาพท่ี 10 เพรียง ท่ีมา: ระบบนิเวศตามหาดหิน, เพรียง, เขาถึงเม่ือ 25 พฤษภาคม 2557, เขาถึงไดจาก http://www.jaxshells.org/barnacle.htm

ภาพท่ี 11 ซากเพรียง ท่ีมา: ระบบนิเวศตามหาดหิน, ซากเพรียง, เขาถึงเม่ือ 25 พฤษภาคม 2557, เขาถึงไดจาก http://www.okeefes.org/barnacles/barnacles.htm

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 60: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

48

ภาพท่ี 12 หอยกับเพรียง ท่ีมา: ระบบนิเวศตามหาดหิน, หอยกับเพียง, เขาถึงเม่ือ 25 พฤษภาคม 2557, เขาถึงไดจาก https://writingfornature.wordpress.com/tag/photography/

ภาพท่ี 13 ซากหอย ท่ีมา: ระบบนิเวศตามหาดหิน, ซากหอย, เขาถึงเม่ือ 25 พฤษภาคม 2557, เขาถึงไดจาก http://en.wikipedia.org/wiki/Bay_barnacle

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 61: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

49

ภาพท่ี 14 ซากหอย ท่ีมา: ระบบนิเวศตามหาดหิน, ซากหอย, เขาถึงเม่ือ 26 พฤษภาคม 2557, เขาถึงไดจาก http://barnegatshellfish.org/images/barnacles/barnacles_705_03l.PNG

ภาพท่ี 15 หอยเพรียง ท่ีมา: ระบบนิเวศตามหาดหิน , หอยเพรียง, เขาถึงเม่ือ 26 พฤษภาคม 2557, เขาถึงไดจาก http://barnegatshellfish.org/images/barnacles/barnacles_705_03l.PNG

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 62: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

50

ระบบนิเวศปาชายเลน ระบบนิ เวศในปาชายเลนนั้นจะพบส่ิงมีชีวิตมากมายโดยเฉพาะส่ิงมีชีวิตเล็กโดยเฉพาะ สัตวในปาชายเลน สัตวท่ีอาศัยอยูในปาชายเลนนอกจาก สัตวน้ํา เชน กุง หอย ปู ปลา และสัตวชนิดอ่ืน ๆ เชน นก สัตวท่ีเล้ียงลูกดวยนม สัตวเล้ือยคลาน และแมลงแลว ในปาชายเลนยังพบตัวแทนของสัตวเกือบทุกตระกูล ตั้งแตสัตวท่ีมีขนาดเล็ก เชน โปรโตซัว หนอนตัวกลม หนอนตัวแบน และพวกไสเดือนทะเลสัตวพวกนี้จะมีหลายชนิด และดํารงชีวิตหลายแบบ กลาวคือ บางชนิดสามารถเคล่ือนท่ีไดและจับสัตวอ่ืนเปนอาหาร บางชนิดสามารถฝงตัวอยูกับท่ีและกรองอาหารจากน้ําและบางชนิดก็ฝงตัวอยูกับท่ีมีหนวด หรือรยางคออกกวาดอินทรียสารเปนอาหาร และสัตวท่ีดํารงชีวิตในปาชายเลนสวนใหญท่ีพบมาก็จะมี หอยสองฝา เชน หอยนางรม หอยแครง และ หอยจอบ ซ่ึงอาจจะฝงตัวในดินหรือเกาะตามตนราก กิ่งและใบของไมปาชายเลน นอกจากนี้ยังมีหอยเจาะซ่ึงพบมากตามซากตนไมท่ีหักพังดวยหอบฝาเดียว ไดแก หอยขี้นก นอกจากนั้นก็จะมีปูท่ีพบในปาชายเลนมีอยูประมาณ 30 ชนิด ท่ีรูจักกันดี คือ ปูแสม และปูกามดาบ ซ่ึงปูท้ัง 2 ชนิด นี้มีสีสันตาง ๆ สวยงาม ดังนั้นในระบบนิเวศปาชายเลนนี้จึงเปนขอมูลในการอางอิงของขาพเจาในการศึกษาไดเปนอยางด1ี1

11กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, เร่ืองสัตวในปาชายเลน, เขาถึงเม่ือ 17 มกราคม 2557, เขาถึงไดจาก http://www.dmcr.go.th/marinecenter/mangrove-lesson4.php

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 63: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

51

ภาพท่ี 16 ปูกามดาบ ท่ีมา: เรื่องสัตวในปาชายเลน, ปูกามดาบ, เขาถึงเม่ือ 26 พฤษภาคม 2557, เขาถึงไดจาก http://travel.mthai.com/blog/86526.html/attachment/biodiversity-121889-1

ภาพท่ี 17 ปลาตีน ท่ีมา: เรื่องสัตวในปาชายเลน, ปลาตีน, เขาถึงเม่ือ 26 พฤษภาคม 2557, เขาถึงไดจาก http://www.khontone.com/index.php?topic=4267.0

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 64: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

52

ภาพท่ี 18 แสม ท่ีมา: เรื่องสัตวในปาชายเลน, ปูแสม, เขาถึงเม่ือ 3 มิถุนายน 2557, เขาถึงไดจาก http://www.magnoliathailand.com/webboard/index.php?topic=10822.0

ภาพท่ี 19 หอยนางรม ท่ีมา: ปาชายเลน, หอยนางรม, เขาถึงเม่ือ 3 มิถุนายน 2557, เขาถึงไดจาก https://bestbobbob.files.wordpress.com/2013/02/index.jpg

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 65: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

53

ภาพท่ี 20 กลุมหอย ท่ีมา: ปาชายเลน, กลุมหอย, เขาถึงเม่ือ 3 มิถุนายน 2557, เขาถึงไดจาก http://fieldtrip.ipst.ac.th/backend/images/resources/krabaen/content_pic/7-8.jpg ระบบนิเวศของแมน้ําลําคลอง เปนพ้ืนท่ีของกลุมส่ิงมีชีวิตในแหลงท่ีอยู เดียวกัน มีความสัมพันธกันและมีความสัมพันธระบบนิเวศของแมน้ํา ลําคลอง เปนระบบนิเวศหนึ่งท่ีนาสนใจตลอด แนวตาง ๆ ท้ังบนบกและใน แมน้ํา ลําคลอง จะพบส่ิงตาง ๆ มากมายท้ังพืชน้ํา และ พืชบก หลายชนิดและ ยังเปนแหลงท่ีอยูอาศัยของ สัตวตาง ๆ ท่ีมีความหลากหลายทางชีวภาพไมวาจะเปนสัตวตัวเล็กตาง ๆ เชน กุง หอย ปู ปลา กบ รวมท้ังสัตวชนิดตาง ๆ เกิดเปนระบบนิเวศท่ีสมบูรณและมีการพ่ึงพาอาศัยและปรับตัวเองใหเขากับสภาพแวดลอมลอมนั้นไดอยางดีเยี่ยมและกลมกลืนกับธรรมชาติอยางนาสวยงาม

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 66: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

54

ภาพท่ี 21 หอยขม ท่ีมา: ระบบนิเวศแมน้ํา, หอยขม, เขาถึงเม่ือ 3 มิถุนายน 2557, เขาถึงไดจาก http://1.bp.blogspot.com

ภาพท่ี 22 ไขหอย ท่ีมา: ระบบนิเวศทุงนา, ไขหอย, เขาถึงเม่ือ 3 มิถุนายน 2557, เขาถึงไดจาก http://www.lotus.rmutt.ac.th/wp-content/uploads/2011/08/IMG_4571.jpg

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 67: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

55

ภาพท่ี 23 ไขหอยเชอรี ่ท่ีมา: ระบบนิเวศทุงนา, ไขหอยเชอร่ี, เขาถึงเม่ือ 3 มิถุนายน 2557, เขาถึงไดจาก http://www.bloggang.com/data/mygarden/picture/1234723547.jpg

ภาพท่ี 24 กบ ท่ีมา: ระบบนิเวศตามแหลงน้ํา, กบ, เขาถึงเม่ือ 15 มีนาคม 2557, เขาถึงไดจาก http://fishbanna.blogspot.com/2011/09/blog-post_1739.html

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 68: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

56

ภาพท่ี 25 กบ ท่ีมา: ระบบนิเวศตามแหลงน้ํา, กบ, เขาถึงเม่ือ 15 มีนาคม 2557, เขาถึงไดจาก http://pantip.com/topic/32979031

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 69: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

57

3.3 อิทธิพลทางดานเทคนิค จากการศึกษาขอมูลและการสรางสรรคผลงานนั้นตองอาศัยเทคนิคกระบวนการเพ่ือเปนพ้ืนฐานในการทําความเขาใจและสามารถนํามาเสริมสรางในกระบวนการสรางสรรคผลงานของขาพเจาได ดังนั้นกระบวนการในการคนควาดานเทคนิคจึงมีความสําคัญเปนอยางมากในการพัฒนาผลงานของขาพเจาใหมีความโดดเดนยิ่งขึ้นและสามารถนํามาเช่ือมโยงในการใชเทคนิคในผลงานได ผลงานของ มณี มีมาก มณี มีมาก ศิลปนผูมีความสามารถในการสรางสรรคผลงานภาพพิมพ ไดรับรางวัลท้ังในระดับประเทศและระดับนานาชาติ เชน รางวัลชนะเลิศศิลปกรรมการประกวดศิลปกรรมรวมสมัยโดยธนาคารกสิกรไทย ป 2543 และไดรับทุน (Work shop) และแสดงผลงาน“Inter print 2003” จาก University of Connecticut ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา ในป 2546 นอกจากนี้ยังไดเขารวมแสดงนิทรรศการตางๆ อยางตอเนื่อง อาทิเชนนิทรรศการเดี่ยวท่ี (Gallery Saoh & Tomos) ณ โตเกียว ประเทศญี่ปุนป 2545 นิทรรศการพุทธธรรมไทย-จีน หอศิลปมหาวิทยาลัยศิลปากร ในป 2550 ผลงานท่ีจะจัดแสดงในนิทรรศการครั้งนี้ เปนผลงานภาพพิมพ (Lithograph) ท่ีสะทอนใหเห็นถึงความงามของรัตติกาล อันเปยมไปดวยบรรยากาศของความอบอุนจากแสงจันทร จํานวนท้ังส้ิน 33 ช้ิน ผลงานของ มณี มีมาก จะเนนรายละเอียดของธรรมชาติและวิถีชีวิตของชาวใตท่ีมีการประกอบอาชีพเปนชาวสวนยางท่ีมีความเรียบงายในวิถีชีวิต สงผลตอความรูสึก ถึงความสุข ความสงบในบรรยากาศของการดําเนินชีวิต ท่ีตัวศิลปนไดไปสัมผัสและมีความคุนเคยนําเอาเอกลักษณท่ีสะทอนมาสะทอนใหเกิดความรูสึกภายในจิตใจของตนเองและผูท่ีไดสัมผัสรับชมจึงเปนแรงบันดาลใจใหขาพเจาทําการศึกษา เทคนิคกระบวนการสรางสรรคผลงานของ มณี มีมากมาประกอบกับการพัฒนาผลงานของขาพเจา12

12 มณี มีมาก, นิทรรศการศิลปากรรมภายใตแสงจันทร, เขาถึงเม่ือ 15 มีนาคม 2557

เขาถึงไดจาก http://www.oknation.net/blog/Artifact/2007/10/10/entry-1

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 70: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

58

ภาพท่ี 26 แสดงตัวอยางผลงานของ มณี มีมาก ท่ีมา : มณี มีมาก, Nightspace1 [ภาพพิมพหิน], เขาถึงเม่ือ 15 มีนาคม 2557, เขาไดถึงจาก http://www.kasikornbank.com/globalhome/artcollection/thai/work_artist07.html

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 71: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

59

ภาพท่ี 27 แสดงตัวอยางผลงานของ มณี มีมาก ท่ีมา: มณี มีมาก, พ้ืนที่และเวลาแหงความสุขสงบ [ภาพพิมพหิน], เขาถึงเม่ือ 15 มีนาคม 2557 เขาไดถึงจาก https://instagram.com/p/1hn1ueImgj/

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 72: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

60

ภาพท่ี 28 แสดงตัวอยางผลงานของ มณี มีมาก ท่ีมา: มณี มีมาก, Space and time of serenity [ภาพพิมพหิน], เขาถึงเม่ือ 15 มีนาคม 2557, เขาได ถึงจาก https://www.facebook.com/1557946677805093/photos/a.1559481920984902.1073741 828.1557946677805093/1559481904318237/?type=1&theater

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 73: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

61

บทที่ 3 กระบวนการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ

การสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธชุดนี้ ขาพเจาไดจัดทําขึ้นเพ่ือตองการท่ีจะนําเสนอขอมูลทางดาน เนื้อหา รวมท้ังเทคนิคกระบวนการตาง ๆ และแรงบันดาลใจท่ีเกิดขึ้นในการสรางสรรคผลงานและยังสามารถถายทอดใหบรรลุตามจุดมุงหมายในการสรางสรรคผลงานชุดนี้และมีขั้นตอน 1.การศึกษาขอมูลและประเด็นในการสรางสรรค 1.1 ขั้นตอนการศึกษาขอมูล 1.2 ขั้นตอนการประมวลความคิด 2. กระบวนการสรางสรรค 2.1 การสรางแบบรางผลงาน 2.2 วัสดุ อุปกรณ และกระบวนการของภาพพิมพหิน 2.3 ทัศนธาตุท่ีใชในการสรางสรรค 1. การศึกษาขอมูลและประเด็นในการสรางสรรค การสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธในหัวขอ ‘‘จุลชีวิตในงานภาพพิมพหิน’’ นั้นขาพเจาไดรับ แรงบันดาลใจมาจากการดํารงชีวิตของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ในธรรมชาติท่ีมีการดํารงชีวิตและมีการปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมท่ีมีการเปล่ียนแปลงไปโดยเฉพาะเรื่องราวของ สัตวไมกระดูกสันหลัง แมลง หอยชนิดตาง ๆ ซ่ึงมีการปรับตัว เพ่ิมจํานวน ใหเขากับสภาพแวดลอมในธรรมชาติของตัวมันเองไดอยางกลมกลืนอีกท้ังยัง สะทอนเรื่องราวใหเห็นถึง การผานชวงเวลาในการดํารงชีวิต ท่ีมีท้ังรองรอย และรูปทรงท่ี จากกาลเวลาและปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมนั้นดังนั้นขาพเจาท่ีไดนําเอาความประทับใจจากธรรมชาติในการท่ีไดไปรับรูและสัมผัสมากับสถานท่ีจริงและมาพัฒนาโครงสรางและรูปแบบมาถายทอดเปนผลงานศิลปะตามขั้นตอนดังนี ้

61

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 74: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

62

1.1 ขั้นตอนการคนควาหาขอมูล ขั้นตอนการคนควาหาขอมูลท่ีนําเอาไปเปนกระบวนการของการประมวลความคดินั้นมีแรงบันดาลใจท่ีสําคัญซ่ึงมีอิทธิพลตอการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธชุดนี้ข าพเจาไดรวบรวมแรงบันดาลใจนํามาวิเคราะหคิดสรรคเพ่ือนํามาพัฒนาทางดานแนวความคิดแลตอเตมินาํมาสรางสรรคเปนผลงานและมีการสรางสรรคผลงานศิลปะอยางเดนชัดและตรงจุดมุงหมายและประเด็นในการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธโดยมีลําดับขั้นตอนในการศึกษาหาขอมูล 3 ขั้นตอนดังนี้ 1.1.1 การศึกษาคนควาหาขอมูลจากเอกสารตําราท่ีเกี่ยวของกับ เรื่องราวของส่ิงมี ชีวิตเล็ก ๆ ในธรรมชาติ เชน สัตวไมมีกระดูกสันหลัง แมลง หอยชนิดตาง ๆ เปนตน เพ่ือใหเกิดเปนสวนประกอบของการอางอิงถึงแหลงท่ีมาของแนวความคิดท่ีชัดเจนมากท่ีสุด และยังเปนสวนเสริมสรางของแรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงานและตอสนองตอความสุนทรียของผู ท่ีตองการศึกษาอยางตรงตามเปาหมาย 1.1.2 การศึกษาคนควาลงพ้ืนท่ีภาคสนามในสถานท่ีจริง เชน พ้ืนท่ีตามธรรมชาต ิและส่ิงแวดลอมท่ีส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ เหลานี้อาศัยอยู เชน พ้ืนท่ีตาม ปาไม ทะเล ภูเขา แมน้ําลําคลอง และบริเวณตาง ๆ เปนตนโดยเฉพาะเรื่องราวของหอยชนิดตาง ๆ ท่ีมีลักษณะการดํารงชีวิตอีกท้ังยังมีปรับตัว เพ่ิมจํานวน ตามสภาพแวดลอมท่ีอาศัยอยูไดอยางกลมกลืน ทําใหขาพเจาเกิดความซาบซ้ึงกับการดํารงชีวิตของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ เหลานี้และถายทอดออกมาเปนผลงานศิลปะ 1.1.3 จากการศึกษาผลงานสรางสรรคทางดานศิลปกรรมของศิลปนท้ังภายใน ประเทศและตางประเทศท่ีมีเรื่องราวท่ีเกี่ยวของกับผลงานของขาพเจาเพ่ือมาเปนสวนเสริมสรางกกระบวนการทางดานความรู เทคนิค กระบวนการใหม ๆ ท่ีตัวศิลปนไดนําเสนอผานผลงานของตัวเขาเองมาเปนสวนประกอบในการสรางสรรคผลงานของขาพเจาใหมีท่ีมาและรูปแบบท่ีสามารถถายทอดออกมาเปนผลงานศิลปะใหผูรับชมไดเขาถึงได 1.2 ขั้นตอนการประมวลความคิด ขั้นตอนการศึกษาในการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธในชุด ‘‘จุลชีวิตในงานภาพพิมพหิน’’การศึกษาขอมูลทําใหขาพเจาสามารถท่ีจะทําการวางโครงสรางโดยรวมของผลงานวิทยานิพนธชุดนี้จากการท่ีนําเอาแนวความคิดของผลงานตลอดจนวิธีการสรางสรรคผลงานดวยกระบวนการภาพพิมพหินนํามาสรางสรรคเปนผลงานศิลปะเชิงสรางสรรคท่ีเกี่ยวของกับดานทัศนศิลปและมีขั้นตอนการนําเสนอและรวบรวมขอมูลจากการท่ีไดศึกษาคนควาขอมูลตาง ๆ มาประมวลความคิดตามหลักการทางองคประกอบศิลปท่ีเปนโครงสรางหลังทางศิลปะท่ีมีท้ังดาน รูปแบบ เนื้อหา โดยมีการอธิยายรายละเอียดดงันี้

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 75: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

63

1.2.1 ดานรูปแบบ จากการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธ ชุดนี้ ขาพเจานําเอาเทคนิคกระบวนการทางดานศิลปะ มานําเสนอเปนผลงานในรูปแบบกึ่งนามธรรมโดยอาศัยเทคนิคกระบวนการทางดานศิลปะภาพพิมพหิน มาเปนส่ือในการถายทอดเรื่องราวของแนวความคิดท่ีเกี่ยวของกับธรรมชาติของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ เชน สัตวไมกระดูกสันหลัง แมลง หอยชนิดตาง ๆ โดยขาพเจาไดเนนถึงเรื่องราวของหอยชนิดตาง ๆ ท่ีดํารงชีวิตอยูในธรรมชาติและส่ิงแวดลอมอีกท้ังยังมีการปรับตัว เพ่ิมจํานวนและยังมีรายละเอียดของ รูปทรง รองรอย พ้ืนผิว ของการดํารงชีวิตใหเขากับสภาพแวดลอมนั้น ไดอยางกลมกลืนและเห็นถึงการวิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิตนี้ท่ีมีการรังสรรคตัวเองใหอยูรอดในสภาพแวดลอมท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลาขาพเจาจึงไดนําเอาความประทับใจตรงนี้มาสรางสรรคเปนผลงานศิลปะภาพพิมพท่ีสามารถแสดงรายละเอียดตาง ๆ เหลานี้ และมีการสรางองคประกอบใหมทางดาน ทัศนธาตุไมวาจะเปน จุด เสน สี น้ําหนัก รูปทรง และ พ้ืนผิวท่ีรวมตัวกันในผลงานช้ินนี้ไดอยางสมบรูณและมีเอกภาพอีกท้ังยังมีรายละเอียดของเทคนิคกระบวนการทางดานศิลปะภาพพิมพหิน อันมีเอกลักษณเฉพาะตัว 1.2.2 ดานเนื้อหา สําหรับกระบวนการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธชุดนี้ขาพเจาไดทําการรวบรวมเนื้อหาท่ีเกี่ยวของกับการนําเสนอผลงานโดยแสดงรายละเอียดของเนื้อหาท่ีมีความเกี่ยวของกับผลงานท้ังภายนอกและภายในผลงานไวดังนี้ เนื้อหาภายนอก นั้นจะเปนเรื่องราวความรูสึกจากความประทับใจในธรรมชาติของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ในธรรมชาติรอบ ๆ ตัวมาเปนแนวความคิดแรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงานตามทัศนคติสวนตัวของขาพเจา และสะทอน ความคิด ความสมบูรณทําใหเกิดความซาบซ้ึงในเหตุและผลของการสรางสรรคผลงานช้ินนี ้ เนื้อหาภายใน จะเปนเนื้อหาท่ีเกี่ยวของกับการจัดองคประกอบทางดานหลักการทางทัศนศิลปหรือท่ีเรียกวาการจัดองคประกอบจะประกอบไปดวย จุด เสน สี น้ําหลัก รูปทรง พ้ืนผิว นําเอามาสรางสรรคและจัดองคประกอบใหมในการสรางสรรคผลงานของขาพเจาและถายทอดออกมาเปนผลงานศิลปะท่ีผานกระบวนการทางศิลปะภาพพิมพหิน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 76: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

64

2. กระบวนการสรางสรรค กระบวนการในการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธชุด‘‘จุลชีวิตในงานภาพพิมพหิน’’ จะมีการรวบรวมขอมูลตาง ๆ ท่ีผานการประมวลความคิดและวิเคราะหดีแลวมาแสดงออกเปนกระบวนการของการสรางภาพรางตอไปเพ่ือใหใหถึงจุดประสงคและเปาหมายของการท่ีจะนําเสนอผลงานออกมาใหตรงตามการท่ีจะแสดงออกตอไป 2.1 การสรางแบบรางผลงาน (sketch)

กระบวนการสรางสรรคในผลงานชุด ‘‘จุลชีวิตในงานภาพพิมพหิน’’ เปนการนําเสนอผลงานศิลปะในรูปแบบ 2 กึ่งนามธรรม ท่ีมีการแสดงรายละเอียดของเนื้อหาขอมูลตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับการทําวิทยานิพนธโดยการนําเอามาวิเคราะหเพ่ือสรางรูปทรงและภาพลายเสนท่ีอาศัยเทคนิคกระบวนการของการดรออ้ิงผสมกับการใชเทคนิคสวนตัวของขาพเจาในการสรางลวดลายพ้ืนผิวของภาพรางเพ่ือใหเห็นถึงท่ีมาของแนวความคิดเห็นถึงจุดมุงหมายท่ีขาพเจาไดรบัรูและสัมผัสมาและถายทอดออกมาเปนภาพรางและในการสรางภาพรางแตละช้ินจะมีการจัดองคประกอบและปรับเปล่ียนรปูทรงใหมีความเหมาะสมแตกตางกันในแตละผลงานเพ่ือคัดสรรคเอาช้ินงานภาพรางท่ีตรงจุดประสงคตามท่ีตองการและผานการแนะนําโดยอาจารยท่ีปรึกษาหลักพิจารณาเพ่ือปรับปรุงแกไขใหภาพรางมีความสมบูรณเหมาะสมแกการท่ีจะนําพัฒนาสรางสรรคเปนผลงานจริง

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 77: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

65

ภาพท่ี 29 ภาพรางผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 1

ภาพท่ี 30 ภาพรางผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 2

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 78: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

66

ภาพท่ี 31 ภาพรางผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 3

ภาพท่ี 32 ภาพรางผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 4

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 79: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

67

ภาพท่ี 33 ภาพรางผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 5

ภาพท่ี 34 ภาพรางผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 6

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 80: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

68

ภาพท่ี 35 ภาพรางผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 7

ภาพท่ี 36 ภาพรางผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 8

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 81: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

69

ภาพท่ี 37 ภาพรางผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 9

ภาพท่ี 38 ภาพรางผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 10

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 82: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

70

2.2 วัสดุอุปกรณการทําภาพพิมพลิโธกราฟบนแผนอะลูมินั่ม (Aluminum Plate) ในการสรางสรรคผลงานครั้งขาพเจาไดอาศัยเทคนิคกระบวนการทางดานศิลปะภาพพิมพหินเปนสวนในการถายทอดผลงานวิทยานิพนธ วัสดุอุปกรณในการเขียน 1. ดินสอไข (Litho pencil) 2. เกรยองไข (Litho crayon) 3. แทงหมึกไข (Rubbing ink & Rubbing crayon) 4. ทูชชนิดน้ํา และแทง (Liguid tusche & Stick tusche) 5. วัสดุท่ีมีความเปนไขคงท่ี เชน ไขสัตว ไขสบู เขมาดํา เ ชลแลค ขี้ผ้ึง วัสดุอุปกรณในกระบวนการกัดกรด และสําหรับการพิมพงาน 1. ฟองน้ําเซลลูโลส 2 กอน 2. ผาสาลูหรือผาขาวบางชนิดเนื้อผาท่ีมีความนิ่ม 2 ถึง 3 ผืน 3. แปงฝุน (Talcum powder) 4. แปรงขนกระตาย และภูกันจีน 5. กาวอาระบิค (Arabic gum) 6. เซลลูโลส (Cellulose gum) ใชผสมทําใหกาวมีความล่ืนขึ้น 7. กรดฟอสฟอริค (Phosphoric acid) 8. น้ํามันสน (Turpentine) 9. น้ํามันทินเนอร (Thinner) 10. แลคเกอรแดง (Red lacquer) 11. แอสฟลตั้มท่ีเคี่ยวแลว (Asphaltum) วัสดุอุปกรณในการพิมพ แทนพิมพ เปนแทนพิมพระบบกดเคล่ือน อุปกรณที่ใชกับแทนพิมพ 1. จารบี (Grease) 2. เกรียงสําหรับปราดจารบี 3. น้ํามันหลอล่ืน 4. แผนพลาสติก P.V.C. ทนแรงกด 5. ลูกกล้ิงยาง 6. หมึกพิมพ ใชหมึกพิมพ ออฟเซ็ท แทนหมึกลิโธกราฟ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 83: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

71

7. ผงแมกนีเซียม (Light Magnesium powder) 8. กระดาษบรูฟ 4-5 แผน ใชสําหรับรองพิมพ (ควรมีสํารองเผ่ือไวดวย) 9. กระดาษพิมพ ฟาเบรียนโน (Fabriano) หรือ Rives BFK ขั้นตอนการสรางแมพิมพ 1. การเตรียมเพลท 1.1 ตัดเพลทใหไดขนาดตามท่ีตองการโดยคํานึงถึงขนาดของ Scraper Bar และ ขนาดของกระดาษท่ีจะนํามาพิมพภาพผลงาน 1.2 นําเพลทไปลางดวยกรดซัลฟุริคเจือจาง (สัดสวนกรด 2 ออนซ ตอ น้ําเปลา 4.5 ลิตร ใชผาขาวบางหรือแปรงขนออนก็ไดลูบท่ีผิวหนาเพลทสักครู (10 วินาที) ลางออกดวยน้ําแลวทําซํ้าอีกรอบ เสร็จแลวลางน้ําเปลาใหสะอาด 1.3 ซับดวยกระดาษบรูฟ แลวนําไปผ่ึงดวยลมใหแหง ท้ังดานหนาและดานหลัง 2. การเขียนไข ภาพพิมพหินจะใชไขเปนตัวนําทางใหหมึกพิมพสามารถเกาะติดได การเขียนไขก็คือ การสรางภาพขึ้นมาดวยวัสดุท่ีเปนไข บริเวณท่ีเปนก็จะเปนสวนท่ีหมึกจะเกาะติดเปนภาพเวลาท่ีเขียนดวยไขหรือวัสดุท่ีเปนไข ควรใชไมค้ํารองมือหรือกระดาษรองมือดวยเพ่ือกันไมใหมือซ่ึงมีไขสัมผัสกับผิวหนาของเพลท 3. ขั้นตอนการกัดกรด คือ การควบคุมสภาพของวัสดุท่ีเปนไขใหคงสภาพเดิมไว ซ่ึงหลังจากขั้นตอนท่ีเขียนภาพลงบนแผนอะลูมินั่มเสร็จแลว 3.1 โรยแปงฝุนลงบนผิวหนาเพลทแลวลูบเบา ๆ ใหท่ัวท้ังภาพและท่ัว ๆ เพลทแลวปดออกใหเหลือติดบาง ๆ บนผิวหนาเพลท 3.2 ใชกาวบริสุทธ์ิ (Pure gum) เทลง บนเพลทลูบดวยมือหรือฟองน้ําท่ีมีความช้ืนใหท่ัวในลักษณะแนวนอน และแนวตั้งประมาณ 1 - 2 นาที เช็ดกาวออกใหบางท่ีสุดดวยผาขาวบาง (จะใหไดผลดีท่ีสุดท้ิงไว 1 คืน หรืออยางต่ํา 15 นาที ถึง ครึ่งช่ัวโมง) 3.3 ใชกาวบริสุทธ์ิผสมกับกาวกรด (Gum Etch) (โดยสัดสวนกาวบริสุทธ์ิ 8 ออนซตอ กรดฟอสฟรอริค 5.6 ml โดยคิดเปนสัดสวน กาวกรด 1 สวน ตอ กาวบริสุทธ์ิ 3 สวน หรือในอัตราสวนท่ีเหมาะสมตอช้ินงานเพ่ือทําการกัดกรดภาพท่ีเขียน แลวเทกาวลงบนเพลท ลูบกาวใหท่ัวดวยฟองน้ําช้ืน ควบคุมเวลาใหเหมาะสม คือ ประมาณ 5-7 นาที แลวเช็ดกาวออกใหบางแลวนวดดวยกาวบริสุทธ์ิอีกรอบ เช็ดใหเรียบท่ีสุดดวยผาขาวบาง

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 84: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

72

3.4 การนวดดวยกาวบริสุทธ์ิ หรือ REGUM คือ ใชกาวบริสุทธเทลงบนเพลท ลูบไปมาในลักษณะแนวตั้งและแนวนอนกอนทําการพิมพ หรือหลังการกัดกรดทุกครั้ง หากตองการเช็ดกาวใหออกงายๆ ควรผสมเซลลูโลส (Cellulose gum) แลวท้ิงไว 30 นาที การกัดกรดครั้งท่ี 2 คือ การกัดกรดซํ้าอีกรอบใหเพลทมีสภาพคงทนถาวรและพิมพไดหลาย ๆ ช้ินงาน (Edition) และเปนการแทนคาวัสดุไขท่ีตางชนิดกันบนผิวหนาเพลทดวยหมึกพิมพ ซ่ึงมีความเปนไขมากกวาเขาไปแทนท่ีวัสดไุขท่ีใชเขียนในตอนแรก ๆ 3.5 โรยแปงฝุน (Talcum powder) ลูบไปมาใหท่ัวปดออกใหเหลือติดบาง ๆ 3.6 เทกาวกรด (Gum Etch) ลูบไปมาใหท่ัว ประมาณ 5 นาที แลวเช็ดออกใหบางและใหมีความเรียบท่ีสุด ท้ิงไว 15 - 30 นาที 3.7 ทํา Regum แลวท้ิงไวซัก 15-30 นาที เทน้ํามันสน (Turpentine) เช็ดใหท่ัวเพ่ือลางไขและเขมาของไขชนิดตาง ๆ ออกใหหมด และเช็ดตามดวยทินเนอรอีกครั้ง 3.8 แทนท่ีไขดวยแอสฟลตั้มเหลว (Asphaltum) เช็ดใหเรียบและใหบางสมํ่าเสมอ (ในขั้นตอนนี้ระวังอยาใหโดนน้ําเปนอันขาด คือ ตอนลางไขและเช็ดดวยแอสฟลตั้ม) 3.9 เม่ือเช็ดแอสฟลตั้มท่ัวเพลทแลวใชฟองน้ําชุบน้ําลางแอสฟลตั้มและกาวท่ีผิว หนาเพลทลูบบริเวณรอบ ๆ ภาพ เช็ดไปมาจนกาวหลุดแลวลูบภายในสวนท่ีเปนภาพดวยฟองน้ําหมาด ๆ ขั้นตอนนี้ตองทําอยางรวดเร็ว ควรลางเพลทใหสะอาดแลวกล้ิงหมึกท่ีเตรียมไวแลวลงบนเพลทโดยใชฟองน้ําหมาด ๆ ลูบบนผิวหนาเพลทอยางสมํ่าเสมอ พยายามอยาปลอยใหผิวหนาเพลทแหง กล้ิงสีจนไดน้ําหนกัและรายละเอียดตามท่ีตองการแลวจึงทดลองพิมพดูเม่ือไดภาพและน้ําหนักท่ีดีแลว จึงคอยเริ่มทําการพิมพงานจริง 4. วิธีการเตรียมกาว ใสเม็ดกาวอาระบิค หรือ กาวกระถินลงกะละมังขนาดเล็ก เทน้ําบริสุทธ์ิ หรือน้ํากล่ันก็ไดใหทวมเม็ดกาวแชท้ิงไว เอาผาสะอาดปดปากกะละมังไวดวยประมาณ 1 คืน จากนั้นคนใหเม็ดกาวละลาย กรอง ดวยผาขาวบาง 2 ช้ัน เพราะกาวมีเศษไมอยูมาก นํากาวท่ีกรองแลวไปวัดความเขมขนดวยเครื่องมือวัดใหอยูท่ีขีดประมาณ 12 - 14 หากเขมขนไปเติมน้ํา แลววัดอีกครั้งจนพอดีเทกาวกลับลงอางหรือกาละมังใบเล็ก ใสน้ํายาฟอรมาลีน ประมาณ 1 ชอนชาตอกาว 1 ขวดเพ่ือชวยชะลอไมใหกาวบูดเนา

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 85: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

73

การเตรียมกรดซัลฟูริคเจือจางสําหรับลางเพลท (น้ํายา COUNTER ETCH) กรอกน้ําใสแกลลอน 4.5 - 5 ลิตร แลวเติมกรดซัลฟูริค 2 ออนซ เขยาแกลลอนผสมใหเขากัน (อาจใชไฮโดรคลอริกแทนซัลฟุริคได แตควรลดปริมาณลงเล็กนอย) ขั้นตอนการพิมพ 1. เตรียมการพิมพ 1.1 กําหนดจุด (Register Mark) ลงบนเพลทและกระดาษท่ีจะพิมพ 1.2 เตรียมช้ืนกระดาษโดยใชฟองน้ําสะอาดชุบน้ําใหชุม ๆ ลูบลงหลังกระดาษแลวซอนกันไวในหอพลาสติก ท้ิงไวอยางนอย 1 ช่ัวโมง ระหวางนี้อาจจะเตรียมอยางอ่ืนตอไป 1.3 เตรียมหมึกท่ีจะทําการพิมพ ตักหมึกจากกระปองกะปริมาณใหเพียงพอกับการพิมพใชเกรียงนวดหมึกสักพักถาหากหมึกเหลวเกินไปใหผสมดวยแมกนีเซียม (Magnesium) 1.4 เตรียมแทนพิมพดวยการนําเพลทท่ีจะทําการพิมพผนึกติดกับแทน พิมพ (Bed Plate) โดยใชน้ํานิดหนอยหยดลงดานหลังเพลทแลววางลงบนแทนรองพิมพขยับนิดหนอย ตรวจดู Scraper Bar ใหมีขนาดกวางกวาภาพ (Image) และควรใหกวางกวากระดาษแตตองแคบ กวาเพลทหาระยะท่ีจะกดและยก Scrapper Bar แลวทําเครื่องหมายไว เพราะเม่ือจะทําการพิมพจริงจะไมสามารถกะระยะได การกดแทนพิมพกอนถึงเพลทและ การพิมพจนตกเพลทจะสรางความเสียหายใหกับแทน (Scraper bar) และแผนพลาสติก 2. การทําความสะอาดเพลท หรือ Wash Out 2.1 ใชน้ํามันสนลางหมึกพิมพบนเพลท (Image) จนสะอาดท่ีสุด 2.2 แลวใชทิชชูช้ืนน้ํามันสนแตะแอสฟลตั้มเช็ดลงบนบริเวณท่ีเปนภาพใหเรียบยัง คงความบางถาเปนการพิมพสีใหใชหมึกท่ีจะพิมพแทนการใชแอสฟลตั้ม (ถาเปนการพิมพแบบไลเฉดสี (Gradient) ใหใชสีออน เชน สีฟาไปหาสีน้ําเงินเขมหรือมวง ควรจะใชฟา) 2.3 ลางกาวท่ีเคลือบผิวหนาเพลทออกโดยใชฟองน้ําชุบน้ําลางคราบน้ํามันและน้ํา หมึกบนผิวหนาเพลท กาวและสีท่ีไมอยูในสวนของภาพจะหลุดออกไปดวยในขั้นตอนการ Wash (Out) ท่ีเปนการเช็ดดวยน้ํามันนั้นตองทําอยางรวดเร็ว

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 86: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

74

3. การกลิ้งสี หรือ Roll Up กล้ิงหมึกสลับกับใชฟองน้ําเช็ดดวยน้ําใหเปนฟลมบางๆ ภาพท่ีสรางไวจะคอย ๆ ปรากฏชัดขึ้นเรื่อย ๆ ใหคอย ๆ ทําการกล้ิงสีจนกระท่ังภาพ (สวนท่ีเขียนดวยไข) รับหมึกจนเต็มท่ี 4. การพิมพ 4.1 วางกระดาษท่ีจะพิมพ 4.2 ตามดวยกระดาษบรุฟ 5 - 7 แผน (หรือกระดาษรองพิมพชนิดอ่ืน ๆ) 4.3 ปดทับดวยแผนพลาสติก P.V.C 4.4 แลวทําการพิมพ 5. การพิมพจํานวนภาพผลงาน เม่ือยกกระดาษท้ังหมดออกออกจากเพลทแลว ใหรีบลูบน้ําบาง ๆ เคลือบท่ีผิวหนาเพลทไว แลวนําลูกกล้ิงไปรับหมึกพิมพนํามากล้ิงไว ๆ เพ่ือถอนหมึกออกจากผิวหนาเพลท หลังจากนั้นทําการกล้ิงลูกกล้ิงชา ๆ เพ่ือถายหมึกลงบนเพลทสลับกับการเช็ดน้ําจนกวาสวนท่ีเปนภาพรับหมึกเต็มท่ีแลวจึงทําการพิมพ (Edition) ตอไป การเก็บรักษาแมพิมพ Keep plate เม่ือพิมพไดจํานวนตามตองการหรือตองการหยุดการทํางานจะตองทําการท่ีจะ ดังตอไปนี ้ขณะท่ีเพลทยังผนึกติดอยูกับแทนพิมพกล้ิงหมึกลงบนเพลทใหสมบูรณเสมือนจะทําการพิมพ พัด หรือปลอยท้ิงไวใหน้ําบนผิวหนาเพลทแหงทําการลูบแปงใหท่ัวท้ังเพลท แลวปดออกใหแปงเหลือติดบาง ๆ ใชกาวบริสุทธ์ิ (Pure gum) ลูบใหท่ัวเพลทประมาณ 1- 2 นาทีใชผาขาวบางหรือผาสาลูแหงเช็ดกาวใหเรียบและบาง (พยายามไมใหกาวหนา) แกะเพลทออกจากแทน เช็ดคราบกาวดานหลังเพลท แลววางพิงไวสักพักใหแหงสนิทจริง ๆ แลวลูบดวยแปงฝุนอีกรอบนําไปหอเก็บรักษาไวในท่ีแหง1

1 ศิลปะภาพพิมพ, เทคนิคภาพพิมพหิน,เขาถึงเม่ือ 15 มีนาคม 2557, เขาไดถึงจาก

http://www.chaarts.com/article%20print%20making%20%20Lithograph.html

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 87: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

75

ภาพท่ี 39 ภาพแสดงการรางภาพผลงานลงบนแผนอะลูมิเนียม

ภาพท่ี 40 ภาพแสดงการเขียนเพลทใหเกิดแสงเงาและน้ําหลัก

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 88: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

76

ภาพท่ี 41 ภาพแสดงการทําทูชผสมกับน้ํามันสน

ภาพท่ี 42 ภาพแสดงการเคลือบแมพิมพดวยกาวบริสุทธ์ิ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 89: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

77

ภาพท่ี 43 ภาพแสดงการใชผาขาวบางเช็ดกาวบริสุทธ์ิในขั้นตอนการเคลือบกาวบริสุทธ์ิ

ภาพท่ี 44 ภาพแสดงการกัดกรดดวยอัตราสวนตามท่ีกําหนดไว

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 90: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

78

ภาพท่ี 45 ภาพแสดงการใชผาขาวบางเช็ดกาวกรดในขั้นตอนการกัดกรดแมพิมพ

ภาพท่ี 46 ภาพแสดงการลางแมพิมพดวย น้ํามันสน ทินเนอร เล็กแกอร

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 91: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

79

ภาพท่ี 47 ภาพแสดงการเช็ดเช้ือลงบนแมพิมพ

ภาพท่ี 48 ภาพแสดงการลางแมพิมพดวย น้ํามันสน ทินเนอร แลคเกอร

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 92: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

80

ภาพท่ี 49 ภาพแสดงการผสมหมึกท่ีจะกล้ิงลงบนแมพิมพในการถายเทไปยังกระดาษ

ภาพท่ี 50 ภาพแสดงการกล้ิงหมึกพิมพลงบนแมพิมพท่ีผานกระบวนตามขั้นตอนมาแลว

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 93: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

81

ภาพท่ี 51 ภาพแสดงการวางกระดาษลงบนแมพิมพ

ภาพท่ี 52 ภาพแสดงการปาดจารบีลงบนแผนอะคลีลิค

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 94: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

82

ภาพท่ี 53 ภาพแสดงการหมุนแทนพิมพในการนําผลงานเขาสูกระบวนการพิมพ

ภาพท่ี 54 ภาพแสดงการนําผลงานออกจากแมพิมพ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 95: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

83

2.3 การวิเคราะหทัศนธาตุที่ใชในการสรางสรรคผลงาน ทัศนธาตุ (Visual element) คือองคประกอบตาง ๆ ท่ีใชในการสรางสรรคผลงานศิลปะโดยทําการแบงทัศนธาตุแตละอยางเพ่ือวิเคราะหหนาท่ีและลักษณะใหชัดเจนตามผลงานท่ีไดสรางสรรคเพ่ือใหเกิดความเขาใจในหลักการของศิลปะเราก็ตองอาศัยหลักการทางทัศนธาตุมาเปนตัวเสริมใหผลงานของเรามีความนาเช่ือมันเพ่ิมยิ่งขึ้นและในผลงานของขาพเจาไดอาศัยทัศนธาตุในผลงานดังตอไปนี ้

เสน (Line) เสนเปนทัศนธาตุท่ีสําคัญในการสรางสรรคผลงานศิลปะของขาพเจา โดยเสนท่ีเกิดภายในภาพนั้นเปนเสนท่ีเกิดจากขอบนอกของรูปทรงใหญและประกอบกันเกิดเปนโครงสรางของเสนท่ีแสดงรายละเอียดของรูปทรงของหอยและมีลักษณะเปนเสนท่ีล่ืนไหลภายในภาพกอเกิดความเคล่ือนไหวของภาพ ในสวนของเสนท่ีแสดงรายละเอียดของรูปทรงเชน ของลวดลายของหอยท่ีมีลายเสนขนาดเล็กขนาดใหญแตกตางกันไปทําใหเกิดรายละเอียดท่ีนาสนใจโดยจะมี เสนตรง เสนโคง ท่ีแสดงใหเห็นลักษณะของอาณาเขตภายนอกและภายในของรูปแบบและทําใหเกิดความเคล่ือนไหวภายในภาพและมีความสัมพันธกันในผลงาน รูปทรง (Form) รูปทรงถือเปนหลักสําคัญอีกอยางหนึ่งในการสรางสรรคผลงานศิลปะของขาพเจาเพราะรูปทรงท่ีใชภายในผลงานนั้นจะประกอบไปดวยรูปทรงขนาดใหญและรูปทรงขนาดเล็กท่ีแตกตางกันไปโดยใชรูปทรงของหอยชนิดตาง ๆ และขนาดตาง ๆ มาประกอบกันทําใหผลงานมีความหมายและยังแสดงรายละเอียดของโครงสรางท่ีเดนชัดเห็นถึงลักษณะของโครงสรางของหอยและแหลงท่ีมาวาเกิดขึ้นจากโครงสรางของส่ิงใดและขาพเจาไดเนนถึงบรรยากาศของการอยูรวมกันเปนกลุมกอนของหอยและเกิดรวมตัวกันเปนรูปทรงและเพ่ิมลวดลายท่ีนาสนใจในลงไปและเกิดพ้ืนท่ีวางจะเปนจุดพักสายตา

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 96: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

84

สี (Color) สีถือเปนอีกหนึ่งทัศนธาตุในการสรางสรรคผลงานเพราะวาสีนั้นยอมมีอิทธิพลในการสรางจุดเดนใหงานมีความนาสนใจสําหรับผลงานของขาพเจานั้น สีท่ีใชในผลงานจะเปนสีโทนขาวดําเปนหลักเพราะตองการสราง บรรยากาศ ความสงบ ความเรียบงาย และเนนลักษณะพ้ืนผิวท่ีท่ีมีสีขาวเทาดําเปนตัวสรางความสมดุลในภาพเกิดเปนระยะมิติของความลึก ตื้น หนาบางทําใหผลงานเกิดความกลมกลืนกันในภาพและสามารถตอบสนองทางสุนทรียภาพของผลงาน พ้ืนผิว (Texture) พ้ืนผิวในการสรางสรรคผลงานศิลปะของขาพเจานั้นมีความสําคัญเปนอยางมากในการแสดงออกถึงความรูสึกและเรื่องราวท่ีมาของเปาหมายโดยพ้ืนผิวในผลงานของขาพเจานั้นจะสะทอนรายละเอียดตาง ๆ ของหอยชนิดตาง ๆ ท่ีมีการดํารงชีวิตและปรับตัวเกิดเปนรองรอยของ รูปทรง พ้ืนผิว ท่ีชัดเจน แสดงใหเห็นถึงชวงเวลาของการดํารงชีวิตและสรางพ้ืนผิวใหมีความสมดุลกับสภาพแวดลอมนั้นไดท่ีกลมกลืนกับแหลงท่ีอยูอาศัยเกิดเปนเรื่องราวของชีวิตผานพ้ืนผิวนี ้

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 97: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

85

บทที่ 4 วิเคราะหผลการดําเนินงานสรางสรรควิทยานิพนธ

ผลการดําเนินงานในการสรางสรรควิทยานิพนธชุด ‘‘จุลชีวิตในงานภาพพิมพหิน’’ เปนการนําเสนอเนื้อหาเรื่องราวท่ีเกี่ยวของกับความรูสึกประทับใจในกฎเกณฑของธรรมชาติของสิงมีชีวิตเล็ก ๆ ในธรรมชาติโดยขาพเจามุงเนนไปยังเรื่องราวของหอยชนิดตาง ๆ ท่ีมีการดํารงชีวิตอยูในธรรมชาติมีท้ังการปรับตัวเพ่ิมจํานวนอีกท้ังยงัมีการเปล่ียนแปลงใหเขากับสภาพแวดลอมท่ีส่ิงชีวิตเหลานี้ดํารงชีวิตอยูไดอยางกลมกลืน จึงไดนํามาถายทอดเปนผลงานศิลปะโดยมีเนื้อหาและเทคนิคกระบวนการทางดานทัศนศิลปมาเปนตัวถายทอดผลงานดวยกระบวนการทางภาพพิมพหินและผลงานวิทยานิพนธชุดนี้ยังมีความตอเนื่องจากผลงานในชวงปริญญาตรีท่ีนําเอาแนวความคิดมาปรับปรุงแกไขและเกิดการพัฒนาเพ่ิมขึ้นในผลงานวิทยานิพนธชุดนี้โดยมีการอธิบายหลักการในการปฏิบัติในแตละชวง 3 ชวงดังนี ้ ชวงที่ 1 (ปริญญาตรี พ.ศ 2556) ผลงานชวงท่ี 1 เปนผลงานศิลปนิพนธสรางสรรคผลงานชุด ‘‘สัมพันธภาพของส่ิงมีชีวิต’’ เปนผลงานในชวงแรกของการศึกษาคนควาท่ีมีกระบวนการทางดานเทคนิคภาพพิมพหินโดยนําเสนอเรื่องราวของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ในธรรมชาติจากการสังเกตและเกิดความรูสึกประทับใจในกฎเกณฑของการเปล่ียนแปลงปรับตัวของส่ิงมีชีวิตตามสภาพแวดลอมตาง ๆ ผสมกับจินตนาการของขาพเจาและเลือกเอาแนวในเรื่องของธรรมชาติของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ในธรรมชาติ มาเปนแรงบันดาลใจในการถายทอดออกมาเปนผลงานศิลปะ เกิดการสรางสรรคท่ีมีความเปนเอกลักษณเฉพาะตัว และอาศัยเทคนิคกระบวนการทางดานภาพพิมพหินใหการถายทอดเปนผลงานศิลปะไดสมบูรณยิ่งขึ้น การสรางสรรคผลงานชุดนี้ ไดนําเสนอมุมมองความคิดท่ีเกี่ยวของกับธรรมชาติของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ เชน แมลง สัตวไมมีกระดูกสันหลัง หอยทาก หอยชนิดตาง ๆ เปนตนท่ีมีการปรับตัวเพ่ิมจํานวนและการเคล่ือนไหวไปอยางเช่ืองชาแตก็ยังมีความสงบและสามรถดํารงชีวิต ดํารงเผาพันธุใหอยูรอดในสภาพแวดลอมเหลานี้ไดอยางกลมกลืนและมีความเปนเอกภาพจึงนําไปสูการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธชุดนี ้

85

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 98: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

86

ภาพท่ี 55 ผลงานชวงปริญญาตรี ช้ินท่ี 1 ช่ือผลงาน สัมพันธภาพของส่ิงมีชีวิต 1 เทคนิค ภาพพิมพหิน (Lithograph) ขนาด 77 x 104 ซม.

ภาพท่ี 56 ผลงานชวงปริญญาตรี ช้ินท่ี 2 ช่ือผลงาน การเคล่ือนไหวภายในส่ิงมีชีวิต 2 เทคนิค ภาพพิมพหิน (Lithograph) ขนาด 77 x 104 ซม.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 99: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

87

ภาพท่ี 57 ผลงานชวงปริญญาตรี ช้ินท่ี 3 ช่ือผลงาน การเคล่ือนไหวภายในส่ิงมีชีวิต 3 เทคนิค ภาพพิมพหิน (Lithograph) ขนาด 77 x 104 ซม.

ภาพท่ี 58 ผลงานชวงปริญญาตรี ช้ินท่ี 4 ช่ือผลงาน การเคล่ือนไหวอยางสมดุล 4 เทคนิค ภาพพิมพหิน (Lithograph) ขนาด 77 x 104 ซม.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 100: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

88

ภาพท่ี 59 ผลงานชวงปริญญาตรี ช้ินท่ี 5 ช่ือผลงาน การเคล่ือนไหวอยางสมดุล 5 เทคนิค ภาพพิมพหิน (Lithograph) ขนาด 77 x 104 ซม.

ชวงที่ 2 กอนวิทยานิพนธ (ปริญญาโท พ.ศ 2557) ชวงท่ี 2 ในการสรางสรรคผลงานในชวงกอนวิทยานิพนธชุดนี้ขาพเจาไดศึกษาคนควาและทดลองสรางสรรคผลงานท่ีมีเนื้อหาและเอกลักษณเฉพาะตนในการสรางสรรคเปนผลงานศิลปะโดยผลงานชวงกอนวิทยานิพนธชุดนี้จะมีการนําเสนอเรื่องราวความประทับใจในธรรมชาติของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ท่ีมีการปรับตัวเพ่ิมจํานวนโดยขาพเจามุงเนนไปยังเรื่องราวของหอยชนิดตาง ๆ ท่ีมี การปรับตัว เพ่ิมจํานวน ไมวาจะเปน รูปทรง พ้ืนผิวและลวดลาย อันเกิดเปนเอกลักษณะท่ีสะทอนเรื่องราวของกาลเวลาในการดํารงชีวิตท่ีเกิดจากการปรับตัวเปล่ียนแปลงส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ เหลานี้ใหเขากับสภาพแวดลอมท่ีดํารงอยูไดอยางกลมกลืนและขาพเจาไดนําเอาแนวความคิดนี้มาสรางสรรคเปนผลงานศิลปะโดยมีการตัดทอนรูปทรงและเพ่ิมรายละเอียดของพ้ืนผิวลวดลายตามจินตนาการของขาพเจาทําใหเกิดความรูสึกในบรรยากาศของผลงานและทําใหผลงานมีความนาสนใจมากยิ่งขึ้น

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 101: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

89

ภาพท่ี 60 ผลงานกอนวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 1 ช่ือผลงาน สัมพันธภาพกับการปรับตัว 1 เทคนิค ภาพพิมพหิน (Lithograph) ขนาด 60 x 80 ซม.

ภาพท่ี 61 ผลงานกอนวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 2

ช่ือผลงาน สัมพันธภาพกับการปรับตัว 2 เทคนิค ภาพพิมพหิน (Lithograph) ขนาด 60 x 80 ซม.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 102: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

90

ภาพท่ี 62 ผลงานกอนวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 3 ช่ือผลงาน สัมพันธภาพกับการปรับตัว 3 เทคนิค ภาพพิมพหิน (Lithograph) ขนาด 60 x 80 ซม.

ภาพท่ี 63 ผลงานกอนวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 4 ช่ือผลงาน สัมพันธภาพกับการปรับตัว 4 เทคนิค ภาพพิมพหิน (Lithograph) ขนาด 60 x 80 ซม.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 103: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

91

ชวงที่ 3 (ผลงานชวงวิทยานิพนธ 2557) ในการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธชุด ‘‘จุลชีวิตในงานภาพพิมพ’’ เปนการนําเสนอเรื่องราวความรูสึกสวนตัวของขาพเจาท่ีมีความรูสึกถึงธรรมชาติของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ท่ีมีการปรับตัว เพ่ิมจํานวน อีกท้ังมี การเปล่ียนแปลงตัวเองใหอยูรอดในสภาพแวดลอมของธรรมชาติท่ีดํารงชีวิตอยูโดยขาพเจามุงเนนถึงเรื่องราวของหอยชนิดตาง ๆ ท่ีมีการปรับตัวโดยการสังเกตพฤติกรรมการดํารงชีวิต ของหอยชนิดตาง ๆ เหลานี้ตามแหลงท่ีอยูอาศัยตาง ๆ ในธรรมชาติรอบตัวของขาพเจา เชน ปาไม แมน้ําลําคลอง ชายทะเล เปนตน โดยจะปรากฏ รองรอย รูปทรง พ้ืนผิว ท่ีผานชวงเวลาของการดํารงชีวิตและการปรับสภาพตัวเอง แสดงใหเห็นถึงพฤติกรรมการเปล่ียนแปลงชีวิตใหอยูรอดในสภาพแวดลอมนี้ไดอยางกลมกลืมจึงเกิดเปนแรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงานผานกระบวนการภาพพิมพหินท่ีสามารถสะทอนเรื่องราว ความรูสึกถึง สภาพแวดลอมของส่ิงมีชีวิตตาง ๆ เหลานี้ และไดอยางสมบูรณ

ภาพท่ี 64 ผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 1 ช่ือผลงาน จุลชีวิตในงานภาพพิมพหิน 1 เทคนิค ภาพพิมพหิน (Lithograph) ขนาด 60 x 80 ซม.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 104: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

92

ภาพท่ี 65 ผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 2 ช่ือผลงาน จุลชีวิตในงานภาพพิมพหิน 2 เทคนิค ภาพพิมพหิน (Lithograph) ขนาด 60 x 80 ซม.

ภาพท่ี 66 ผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 3 ช่ือผลงาน จุลชีวิตในงานภาพพิมพหิน 3 เทคนิค ภาพพิมพหิน (Lithograph) ขนาด 60 x 80 ซม.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 105: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

93

ภาพท่ี 67 ผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 4 ช่ือผลงาน จุลชีวิตในงานภาพพิมพหิน 4 เทคนิค ภาพพิมพหิน (Lithograph) ขนาด 60 x 80 ซม.

ภาพท่ี 68 ผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 5 ช่ือผลงาน จุลชีวิตในงานภาพพิมพหิน 5 เทคนิค ภาพพิมพหิน (Lithograph) ขนาด 60 x 80 ซม.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 106: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

94

ภาพท่ี 69 ผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 6 ช่ือผลงาน จุลชีวิตในงานภาพพิมพหิน 6 เทคนิค ภาพพิมพหิน (Lithograph) ขนาด 60 x 80 ซม.

ภาพท่ี 70 ผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 7 ช่ือผลงาน จุลชีวิตในงานภาพพิมพหิน 7 เทคนิค ภาพพิมพหิน (Lithograph) ขนาด 60 x 80 ซม.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 107: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

95

ภาพท่ี 71 ผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 8 ช่ือผลงาน จุลชีวิตในงานภาพพิมพหิน 8 เทคนิค ภาพพิมพหิน (Lithograph) ขนาด 60 x 80 ซม.

ภาพท่ี 72 ผลงานวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 9 ช่ือผลงาน จุลชีวิตในงานภาพพิมพหิน 9 เทคนิค ภาพพิมพหิน (Lithograph) ขนาด 60 x 80 ซม.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 108: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

96

ภาพท่ี 73 ผลงานกอนวิทยานิพนธ ช้ินท่ี 10 ช่ือผลงาน จุลชีวิตในงานภาพพิมพหิน 10 เทคนิค ภาพพิมพหิน (Lithograph) ขนาด 60 x 80 ซม.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 109: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

97

บทที่ 5 สรุปอธิปลายและขอเสนอแนะ

ส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ท่ีดํารงชีวิตอยูภายในธรรมชาตินั้นสามารถพบเห็นไดท่ัวไปตามธรรมชาติท่ีมีความอุดมสมบูรณและเห็นถึงสภาพส่ิงแวดลอมท่ีส่ิงมีชีวิตเหลานี้ดํารงชีวิตอยูทําใหเห็นถึงสภาพความกลมกลืนของธรรมชาติและมีความนาสนใจไมวาจะเปนเรื่องราวตาง ๆ ของส่ิงมีชีวิต เชน การดํารงชีวิต การปรับตามใหเขากับสภาพแวดลอมท่ีอาศัยอยู การพ่ึงพาอาศัยกันเปนกลุมกอน เห็นถึงวิวัฒนาการของธรรมชาติและความนาหลงใหลในเรื่องราวของวิถีชีวิตของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ จากการศึกษาคนควาเก็บรวบรวมขอมูลตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับเรื่องราวของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ในธรรมชาติโดยเฉพาะเรื่องราวของหอยชนิดตาง ๆ นั้นทําใหขาพเจาไดคนควาหาเรื่องราวและเทคนิคกระบวนการวิธีการสรางสรรคผลงานเพ่ือท่ีจะถายทอดความรูสึกความประทับใจในเรื่องราวของธรรมชาติและส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ นํามาสรางสรรคเปนผลงานศิลปะและตอบสนองความตองการทางดานจิตใจและสรางความสุนทรียะใหแกผูรับชมอีกท้ังยังมีการนําเอาหลักการทางการเรียนรูทางดานทัศนศิลปมาใชในกระบวนการสรางสรรคผลงานไมวาจะเปนหลักการทางองคประกอบศิลปมาใชการจัดรูปแบบผลงานและหลักการทางดานทัศนะธาตุเพ่ือสรางความนาสนใจอีกท้ังยังมีการพัฒนาทางดานเทคนิคกระบวนการ รูปแบบใหม ๆ ขึ้นอยูเสมอในการพัฒนาปรับปรุงผลงานในแตละครั้งพรอมกับการแกไขปญหาและอุปสรรคในการทํางานจึงทําใหเกิดเปนประสบการณจากการเรียนรู มาเปนบททดสอบ ความคิด สติ ของตัวเรา ในการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธชุดนี้ มีความตอเนื่องมาจากผลงานกอนวิทยานิพนธท่ีไดรับคําเสนอแนะจากอาจารยท่ีปรึกษาและกลุมอาจารยผูสอนชวยปรับปรุงใหแงคิดรูปแบบและแกไขขอบกพรองและอุปสรรคในการสรางสรรคผลงานจึงนําไปสูกระบวนการพัฒนาและการศึกษาหาขอมูลในการท่ีจะแกปญหาและนําไปสูการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธท่ีสมบูรณ ตรงตามรูปแบบ เนื้อหา เทคนิค และ แรงบันดาลใจตามเปาหมายท่ีไดคิดไวและยังสามารถตอยอดพัฒนาผลงานในรูปแบบตาง ๆ ในครั้งตอไป

87

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 110: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

98

ขอเสนอแนะในการสรางสรรคผลงาน กระบวนการในการสรางสรรคผลงานนั้นยอมเกิดปญหาและอุปสรรคในการทํางานทําใหเกิดกระบวนการเรียนรู การแกไข และ แนวทางการปรับปรุงเพ่ือใหเกิดความสมบูรณทุกขั้นตอนในการทํางานโดยตองอาศัยประสบการณจากการดําเนินการปฏิบัติงานตามขั้นตอนอยางถูกวิธีโดยมีคําแนะนําจากคณาจารยผูสอนและอาจารยท่ีปรึกษาทางดานศิลปะท่ีมีประสบการณและมีความชํานาญในการชวยช้ีแนะแนวทางในการสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธดังนี้ 1. ศึกษาคนควาหาขอมูลท่ีเกี่ยวของกับธรรมชาติของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ในธรรมชาติตามสถานท่ีตาง ๆ ในส่ิงแวดลอม เชน ปาไม ปาชายเลน ทะเล เปนตน 2. ศึกษาคนควาหาขอมูลและเอกสารประกอบขอมูลในการทํางานวิทยานิพนธชุดนี้ท่ีสามารถนํามาเสริมสรางและเกี่ยวโยงในการนําเอาเนื้อหาขอมูลมาใชในการอางอิงใหวิทยานิพนธนี้มีท่ีมาและมีความนาเช่ือถือมากยิ่งขึ้น 3. ศึกษารูปแบบผลงานดานศิลปกรรมท่ีมีอิทธิพลในปจจุบันและอดีตนํามาเปนสวนเสริมเติมแตงและนําเอาแนวคิดมาประยุกตมาเช่ือมโยงในผลงานวิทยานิพนธใหมีความแปลงใหมและไมซํ้ากับงานศิลปะท่ีมีอยูแลว 4. การสรางสรรคผลงานวิทยานิพนธชุด ‘‘จุลชีวิตในงานภาพพิมพหิน’’เปนผลงานหนึ่งท่ีมีแนวความคิดและมุมมองท่ีนาสนใจเหมาะสมท่ีสามรถนําไปพัฒนาตอยอดในรูปแบบใหมไดเสมอ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 111: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

99

รายการอางอิง

กมล คงทอง. วิวัฒนาการศิลปะภาพพิมพในประเทศไทยตัง้แต พ.ศ. 2503 จนถึง 2536. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครนิทรวโิรฒประสานมิตร. เขาถึงเม่ือ 12 มีนาคม 2557. เขาถึงไดจาก http://www.penprinting.co.th/trip_sp03.html กมลพันธุ โชติวิชัย. นิทรรศการ ความวางเปลา. เขาถึงเม่ือ 19 กุมภาพันธ 2557. เขาถึงไดจาก http://www.ardelgallery.com/exhibition/301 ________. Collapse 2013, เขาถึงเม่ือ 19 กุมภาพันธ 2557, เขาถึงไดจาก http://www. ardelgallery.com/exhibition/301 ________. Body no.3 2013, เขาถึงเม่ือ 19 กุมภาพันธ 2557, เขาถึงไดจาก http://www.ardelgallery.com/exhibition/301 กําจร สุนพงษศร.ี ประวัติศาสตรศิลปะญี่ปุน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย: 2551 เขาถึงเม่ือ 19 กุมภาพันธ 2557. เขาถึงไดจาก http://jumpsuri.blogspot.com/2013/04/ adoperiod.html กําธร สถิรกุล. ประวัติหนังสือและการพิมพ. กรุงเทพมหานครฯ: มหาวิทยาลัยรามคําแหง. 2525 นิวัติ เรืองพานิช. นิเวศวิทยาทรัพยากรธรรมชาต.ิ เขาถึงเม่ือ 18 มีนาคม 2557. เขาถึงไดจาก http://www.slideshare.net/weerabong2516/ss-4524846 บทท่ี 1. ‘‘บทรวมประเภทของภาพพิมพ’’. เขาถึงเม่ือ 15 มีนาคม 2557. เขาถึงไดจาก http://www.teacher.ssru.ac.th/tanin_ta/pluginfile.php/25/block_html/content/%EB%9A% E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%201.pdf บุญมี แสงขํา. นิทรรศการ บญุมีแสงขํา. เขาถึงเม่ือ 20 มีนาคม 2557. เขาถึงไดจาก http://m.posttoday.com/article.php?id=4485&channel_id3000 ________. ดอกชมพูปา ชดุ เมล็ดพันธุแหงความสุข, เขาถึงเม่ือ 20 กุมภาพันธ 2557, เขาถึงได จาก http://artbangkok.com ________. ดอกชมพูปา ชดุ เมล็ดพันธุแหงความสุข, เขาถึงเม่ือ 20 กุมภาพันธ 2557, เขาถึงไดจาก http://artbangkok.com ปาชายเลน. กลุมหอย. เขาถึงเม่ือ 3 มิถุนายน 2557. เขาถึงไดจาก http://fieldtrip.ipst.ac.th /backend/images/resources/krabaen/content_pic/7-8.jpg ________. หอยนางรม. เขาถึงเม่ือ 3 มิถุนายน 2557. เขาถึงไดจาก https://bestbobbob.files. wordpress.com/2013/02/index.jpg

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 112: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

100

พัดชา แกวทองตาล. นิทรรศการ ความสัมพันธแหงชีวิต. เขาถึงเม่ือ 19 กุมภาพันธ 2557. เขาถึง ไดจาก http://www.ardelgallery.com/exhibition/219 ________. Relationship of Life No.10, เขาถึงเม่ือ 19 กุมภาพันธ 2557, เขาถึงได จาก http://www.ardelgallery.com/exhibition/219 ________. Relationship of Life No.10, เขาถึงเม่ือ 19 กุมภาพันธ 2557, เขาถึงได จาก http://www.ardelgallery.com/exhibition/219 มณี มีมาก. นิทรรศการศิลปากรรม. ‘‘ภายใตแสงจันทร’’. เขาถึงเม่ือ 15 มีนาคม 2557. เขาถึงได จาก. http://www.oknation.net/blog/Artifact/2007/10/10/entry-1 ________. พ้ืนที่และเวลาแหงความสุขสงบ. เขาถึงเม่ือ 15 มีนาคม 2557. เขาไดถึงจาก https://instagram.com/p/1hn1ueImgj/ ________. Nightspace1. เขาถึงเม่ือ 15 มีนาคม 2557. เขาไดถึงจาก. http://www.kasikornbank. com/globalhome/artcollection/thai/work_artist07.html ________. Space and time of serenity. เขาถึงเม่ือ 15 มีนาคม 2557. เขาไดถึงจาก. https://www.facebook.com/1557946677805093/photos/a.1559481920984902.1073741 828.1557946677805093/1559481904318237/?type=1&theater ระบบนิเวศตามแหลงน้ํา. กบ. เขาถึงเม่ือ 15 มีนาคม 2557. เขาถึงไดจาก. http://fishbanna. blogspot.com/2011/09/blog-post_1739.html ________. กบ. เขาถึงเม่ือ 15 มีนาคม 2557.เขาถึงไดจาก http://pantip.com/topic/32979031 ระบบนิเวศทุงนา. ไขหอย. เขาถึงเม่ือ 3 มิถุนายน 2557. เขาถึงไดจาก http://www.lotus.rmutt.ac.th/wp-content/uploads/2011/08/IMG_4571.jpg ________. ไขหอยเชอร่ี. เขาถึงเม่ือ 3 มิถุนายน 2557. เขาถึงไดจาก http://www.bloggang.com/data/mygarden/picture/1234723547.jpg ระบบนิเวศตามหาดหิน. ซากเพรียง. เขาถึงเม่ือ 25 พฤษภาคม 2557 เขาถึงไดจาก http://www.okeefes.org/barnacles/barnacles.htm ________. ซากหอย. เขาถึงเม่ือ 25 พฤษภาคม 2557. เขาถึงไดจาก http://en.wikipedia.org/wiki/Bay_barnacle ________. ซากหอย. เขาถึงเม่ือ 26 พฤษภาคม 2557. เขาถึงไดจาก http://barnegatshellfish.org/images/barnacles/barnacles_705_03l.PNG

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 113: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

101

เรื่องสัตวในปาชายเลน. ปลาตีน. เขาถึงเม่ือ 26 พฤษภาคม 2557. เขาถึงไดจาก http://www.khontone.com/index.php?topic=4267.0 ________. ปูกลามดาบ. เขาถึงเม่ือ 26 พฤษภาคม 2557. เขาถึงไดจาก http://travel.mthai.com/blog/86526.html/attachment/biodiversity-121889-1 ________. ปูแสม. เขาถึงเม่ือ 3 มิถุนายน 2557. เขาถึงไดจาก http://www.magnoliathailand.com/webboard/index.php?topic=10822.0 ________. เพรียงเกาะหิน. เขาถึงเม่ือ 25 พฤษภาคม 2557. เขาถึงไดจาก https://bestbobbob.files.wordpress.com/2013/02/index.jpg ระบบนิเวศแมน้ํา. หอยขม. เขาถึงเม่ือ 3 มิถุนายน 2557, เขาถึงไดจาก. http://1.bp.blogspot.com ระบบนิเวศตามหาดหิน. เพรียง. เขาถึงเม่ือ 25 พฤษภาคม 2557. เขาถึงไดจาก http://www.jaxshells.org/barnacle.htm ________. หอยกบัเพียง. เขาถึงเม่ือ 25 พฤษภาคม 2557. เขาถึงไดจาก https://writingfornature.wordpress.com/tag/photography/ ________. หอยเพรียง. เขาถึงเม่ือ 26 พฤษภาคม 25572557. เขาถึงไดจาก http://barnegatshellfish.org/images/barnacles/barnacles_705_03l.PNG ศิลปะภาพพิมพ. เทคนคิภาพพิมพหนิ. เขาถึงเม่ือ 15 มีนาคม 2557. เขาไดถึงจาก http://www.chaarts.com/article%20print%20making%20%20Lithograph.html อิทธิพล ตั้งโฉลก. ทศวรรษภาพพิมพ. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท. , ม.ป.พ., 2535. เขาถึงเม่ือ 12 มกราคม 2557, เขาถึงไดจากhttp://www.chaarts.com/article%20print%20making.html อุตะงะวะ คนุิโยะชิ. โรนิงผูมีชือ่เสียงมิยาโมโตะ มุซาชิสังหารนุเอะ. เขาไดถึงเม่ือ 20 กุมภาพันธ 2557, http://commons.wikimedia.org/wiki/File:Miyamoto_Mus ________. คิงเฮียวชิ โยริง จากภาพพิมพ ชดุ ตํานาน “108 ผูกลาหาญแหงซุอโิคะเดง็. เขาถึงเม่ือ 20 กุมภาพันธ 2557, เขาถึงไดจาก http://commons.Wikimedia.org/wiki /File:Suikoden.jpg ฤทธ์ิวัฒน ชัยยิ่งเจริญ. ชีวิตกับส่ิงแวดลอมส่ิงมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต. (กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน). เขาถึงเม่ือ 18 มีนาคม 2557 เขาถึงไดจาก. htt p://www. trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/2965-00/ ________. ชีวิตกับส่ิงแวดลอมส่ิงมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต. (กรุงเทพ ฯ: อักษรเจริญทัศน). เขาถึงเม่ือ 15 มีนาคม 2557. เขาถึงไดจาก http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/2965-00/

สำนกัหอ

สมุดกลาง

Page 114: Ü โดย นายสันติสุข สุ นกี้ข จุลชีวิตในงานภาพพิมพ หิน ÿ Ü โดย นายสันติสุข

102

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ-สกุล นาย สันติสุข สุนกี้ วันเดือนปเกิด 23 มีนาคม 2533 ที่อยูปจจุบัน 59 หมูท่ี 12 ตําบล ควนเมา อําเภอ รัษฎา จังหวัด ตรัง E-mail [email protected] เบอรโทร 089-4640496 ประวัติการศึกษา พ.ศ 2549 - ระดับประถมศึกษาโรงเรียนควนเมา จังหวัดตรัง พ.ศ 2552 - ระดับมัธยมศึกษาโรงเรียน รัษฎา จังหวัดตรัง พ.ศ 2555 - ระดับปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตรสาขาทัศนศิลป วิชาเอกภาพพิมพ มหาวิทยาลัยทักษิณ (วิทยาเขตสงขลา) พ.ศ 2557 - ระดับปริญญาโท ศิลปมหาบัณฑิต สาขาทัศนศิลปศึกษา คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพและศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ประวัติการแสดผลงาน พ.ศ 2555 - รวมแสดงผลงานนิทรรศการภาพพิมพไทย - มาเลเซีย ณ พิพิธภัณฑบานหัตถกรรมและศิลปกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร - รวมแสดงผลงานนิทรรศการศิลปะไทย – ภาพพิมพ ณ พิพิธภัณฑ - บานหัตถกรรมและศิลปกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เขารวมแสดงผลงานศิลปกรรมนิสิต คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งท่ี 6 เกียรติประวัต ิ พ.ศ 2555 - ไดรับเลือกเขารับทุนกองทุนสงเสริมการศึกษา การ สรางสรรคศิลปะ ‘‘มูลนิธิรัฐบุรุษ พลเอกเปรม ติณสูลานนท’’

สำนกัหอ

สมุดกลาง