84
วาทกรรมเกี่ยวกับรูปรางดี โดย นายอัคร มีสมโภชน รายงานการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individual Study) เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2552

วาทกรรมเกี่ยวกับรูปร างดี · 2016-07-12 · วาทกรรมเกี่ยวกับรูปร างดี ú Ü โดย

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

วาทกรรมเกี่ยวกับรูปรางด ี

โดย นายอัคร มีสมโภชน

รายงานการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individual Study) เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต

ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2552

สำนกัหอ

สมุดกลาง

ภาควิชามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหรายงานการศึกษาเฉพาะบุคคลเร่ือง “วาทกรรมเกี่ยวกับรูปรางดี” เสนอโดยนายอัคร มีสมโภชน เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา (ลงชื่อ) .................................................... (อาจารยปรารถนา จันทรุพันธุ) หัวหนาภาควิชามานุษยวิทยา วันที่ ........ มีนาคม พ.ศ. 2553 ที่ปรึกษา ................................................. (อาจารยพุฒ วีระประเสริฐ) วันที่ ........ มีนาคม พ.ศ. 2553 กรรมการสอบ ................................................. (อาจารยชินวร ฟาดิษฐ)ี

วันที่ ........ มีนาคม พ.ศ. 2553

สำนกัหอ

สมุดกลาง

ช่ือรายงานการศึกษาคนควาเฉพาะบุคคล : วาทกรรมเกี่ยวกับรูปรางดี คําสําคัญ (Keyword) : เพาะกาย / รูปราง / วาทกรรม ช่ือนักศึกษา : นายอัคร มีสมโภชน รหัสนักศึกษา : 03490182 ภาควิชา : มานุษยวิทยา คณะ : โบราณคดี มหาวิทยาลัย : ศิลปากร อาจารยท่ีปรึกษา : อาจารยพุฒ วีระประเสริฐ ปการศึกษา : 2552

บทคัดยอ การวิจัยคร้ังนี้เปนการศึกษาเร่ืองวาทกรรมเกี่ยวกับรูปรางดี ที่สภาพของสังคมในปจจุบันไดกาวเขาสูโลกยุคโลกาภิวัฒน (Globalization) กอใหเกิดความเจริญกาวหนาและการเปล่ียนแปลงในหลายดาน รวมทั้งเปนสังคมแหงยุคการบริโภค สงผลใหรางกายของมนุษยไดเขามามีบทบาทสําคัญตอคนในสังคมยุคปจจุบันเปนอยางมาก คือ กลายมาเปนศูนยกลางในการสรางความเปนตัวตนของคนแตละคน การนิยามความหมายของความสวย ความหลอ ในสังคมปจจุบันอาจจะใหคํานิยามที่เปนสากลไดยาก เนื่องจากความสวย ความหลอของแตละสังคมยอมมีความแตกตางกันไป ตามทัศนคติ คานิยมและความเชื่อของลังคมนั้นๆ ทําใหปจจุบันการนิยามความสวย ความหลอมีลักษณะของความแตกตางและหลากหลายกันออกไป วัตถุประสงคของการศึกษา คือ ตองการศึกษาวาทกรรมที่เกี่ยวกับรูปรางที่ดี วาสงผลตอทัศนคติและการปฏิบัติตนของคนในสังคมอยางไร โดยใชแนวคิดในเร่ืองของวาทกรรมเปนแนวคิดหลักในการศึกษา ซึ่งจากการศึกษาพบวา คนที่เลนเพาะกายและไมเลนเพาะกายนั้นมีความแตกตางในดานของทัศนคติที่เกี่ยวกับการเพาะกายและการปฏิบัติตนในเร่ืองของการรักษารูปรางเปนอยางมาก ทั้งนี้มีปจจัยเร่ืองเพศ การศึกษา อาชีพ และโดยเฉพาะอยางยิ่งเร่ืองของวาทกรรม ถือวามีสวนสําคัญเปนอยางมาก ตอการสรางทัศนคติ คานิยม และความเชื่อใหกับคนสวนใหญในสังคม ที่ในปจจุบันผูหญิงสวนใหญจะเห็นวาผูชายที่มีรูปรางที่ดีควร ผอม สูง ไมมีกลาม สวนผูชายจะมองวาผูชายที่มีรูปรางที่ดีวาควรจะมีกลามเล็กนอย และสําหรับคนที่เลนเพาะกายจะมองวารูปรางที่มีกลามเยอะเปนรูปรางที่ดี จะเห็นวาทัศนคติและคานิยมที่แตกตางในเร่ืองรูปรางดีนั้นเปนผลมาจากความเชื่อในวาทกรรมที่แตกตางกัน

76 หนา

สำนกัหอ

สมุดกลาง

สารบัญ

หนา บทคัดยอภาษาไทย……………………………………………………………….…………………ก กิตติกรรมประกาศ..................................................................................................................ข สารบัญตาราง........................................................................................................................จ สารบัญภาพ…………………………………………………………………………………...…….ช บทท่ี 1 บทนํา..............................................................................................................................1 ที่มาและความสําคัญของปญหา.................................................................................1 วัตถุประสงคในการศึกษา...........................................................................................5 แนวคิดและทฤษฎีที่ใชในการศึกษา.............................................................................5

วรรณกรรมที่เกี่ยวของ................................................................................................7นิยามศัพท...............................................................................................................14

ระเบียบวิธีการศึกษา............................................................................................. ....14 ขอบเขตของการศึกษา..............................................................................................15 แผนการดําเนินงานตลอดโครงการ.............................................................................16 2 ผลการศึกษา………………………………………............................................................17 สรุปผลการสัมภาษณแบบเจาะลึกของผูที่เลนเพาะกาย…………………………………41 3 บทวิเคราะหและสรุป.......................................................................................................44 บทวิเคราะห………………………………………………………………………………44 บทสรุป...................................................................................................................52

สำนกัหอ

สมุดกลาง

สารบัญ (ตอ)

หนา บรรณานุกรม.......................................................................................................................54 ภาคผนวก............................................................................................................................57 ภาคผนวก ก ประวัติความเปนมาและพัฒนาการของกีฬาเพาะกาย..............................57 ภาคผนวก ข กีฬาเพาะกายเบื้อตน............................................................................66 ภาคผนวก ค แบบสอบถามทัศนคติเกี่ยวกับการเพาะกาย............................................72 ประวัติผูวิจัย........................................................................................................................76

สำนกัหอ

สมุดกลาง

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หนา 1 ลักษณะสัดสวนของอายุและจํานวนคน…..................................................................18 2 อายขุองผูตอบแบบสอบถาม……………………………………………………………..19 3 ระดับการศึกษาของผูตอบแบบสอบถาม....................................................................20 4 อาชีพของผูตอบแบบสอบถาม……………………………………………………………21 5 คําถามขอที่ 5

ผลสํารวจเกี่ยวกับผูเลนกีฬาเพาะกายมีวัตถุประสงคในการเลนเพื่อใหแข็งแรงหรือใหรูปรางดี และเพราะอะไร………………………………….………………………………23

6 คําถามขอที ่6 ผลสํารวจความคิดจะเลนเพาะกายหรือไม และเพราะอะไร ตารางนี้จะไมแสดงขอมูล

ของนักเพาะกายเพราะนักเพาะกายก็เลนเพาะกายทุกคนอยูแลว.................................24 7 คําถามขอที่ 7 ผลสํารวจเกี่ยวกับรางกายผูชายที่มีรูปรางดี มีลักษณะอยางไร……………….....………26 8 คําถามขอที่ 8 ผลสํารวจเกี่ยวกับผูหญิงที่เลนเพาะกาย มีกลาม เปนผูหญิงที่รูปรางดีหรือไม

เพราะอะไร….......................................................................................................…28 9 คําถามขอที่ 9

9.1 แสดงผลใครคือดารา นักรองผูชายและผูหญิงที่ทานเห็นวาหุนดี เพราะอะไร.………29 9.2 ผลสํารวจจากนักศึกษาชายตอดารานักรองชายทีเ่ห็นวาหุนด.ี................................29 9.3 ผลสํารวจจากนักศึกษาชายตอดารานักรองหญิงทีเ่ห็นวาหุนด.ี...............................29 9.4 ผลสํารวจจากนักศึกษาหญงิตอดารานักรองชายทีเ่ห็นวาหุนด.ี...............................30 9.5 ผลสํารวจจากนักศึกษาหญิงตอดารานักรองหญิงทีเ่ห็นวาหุนด.ี.............................30 9.6 ผลสํารวจจากผูชายและผูหญิงอายุ 40-59 ป และผูชายกับผูหญิงอายุ 60-70 ป

9.6.1 ตอดารานักรองชายทีเ่ห็นวาหุนด.ี.....................................................31 9.7 ผลสํารวจจากผูชายและผูหญิงอายุ 40-59 ป และผูชายกับผูหญิงอายุ 60-70 ป

ตอดารานักรองหญิงที่เห็นวาหุนด.ี.......................................................................31 9.8 ผลสํารวจจากนักเพาะกายตอดารานักรองหญิงและชายที่เห็นวารูปรางด.ี...............32

สำนกัหอ

สมุดกลาง

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางท่ี หนา 10 คําถามขอที่ 10

แสดงผลวิธกีารรักษารูปรางใหมีหุนดี และที่มาของวิธีนั้นมาจากที่ใด………...…………34 10.1 ผลสํารวจจากนักศึกษาชาย นักศึกษาหญงิ, ผูชายและผูหญิงอายุ 40-59 ป, ผูชายและผูหญิงอายุ 60-70 ป และนักเพาะกายเกี่ยวกับวิธีรักษารูปราง...............34 10.2 ผลสํารวจจากนักศึกษาชาย นักศึกษาหญิง, ผูชายและผูหญิงอายุ 40-59 ป, ผูชายและผูหญิงอายุ 60-70 ป และนักเพาะกายถงึที่มาของวิธีการรักษา รูปรางที่ดี.........................................................................................................35

11 คําถามขอที่ 11 แสดงผลของการนําวิธีดังกลาวมาปฏิบัติกับตัวทานเองหรือไม.....................................37 12 แสดงผลของรูปรางของผูชายที่หุนด.ี..........................................................................40

สำนกัหอ

สมุดกลาง

สารบัญภาพ

ภาพท่ี หนา 1 ภาพถายรูปรางของ นายแบบชาวตางชาติ 39 2 ภาพถายรูปรางของ cristiano ronaldo 39 3 ภาพถายรูปรางของมาริโอ เมาเรอ 39 4 ภาพถายรูปรางของ อารโนล ชวาสเนกเกอร 39 5 ภาพถายของยูจีน แซนดาว 60 6 ภาพถายของลูอิส เซียร 61 7 ภาพถายของซิกมัน เคลียน 61 8 ภาพถายของจอรน กริเม็ด 62 9 ภาพถายของสตีฟ รีฟฟ 62 10 ภาพถายของอารโนล ชวาลเซเนกเกอร 63

สำนกัหอ

สมุดกลาง

บทท่ี 1

บทนํา

ท่ีมาและความสําคัญของปญหา

มนุษยจําแนกเพศออกไดเปนสองเพศ ตามความแตกตางของรางกายตามธรรมชาติ คือ เพศชายและเพศหญิง ไมวาจะเปนเพศไหนทุกคนลวนแตตองการใหตัวเองเปนที่ยอมรับของสังคมเปนคนที่ดีมีคุณคาตามที่สังคมเห็นวาดี แตเม่ือเวลาผานไปส่ิงตางๆที่สังคมนั้นเห็นวาดีก็สามารถเปล่ียนแปลงไปไดดวยเชนกัน คนสมัยตนกรุงรัตนโกสินทร โดยทั่วไปแลวคนทั้งชายหญิงทั่วประเทศนุงผากันเปนหลัก หาไดนุงกางเกงเปนปกติไม กางเกงไทยก็คือแบบขาสามสวน เหตุผลหนึ่งที่คนไทยนิยมนุงผาเสียมากกวากางเกงเพราะไมตองเสียเวลาเย็บอะไรเลย เปนตน (อเนก นาวิกมูล, 2547 : 12) จนกระทั่งถึงสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ประชาชนไทยไดรับคําส่ังใหแตงกายใหมตามที่ทานผูนําเห็นวาเปนการแตงกายแบบแสดงความเปนชาติอารยะ กลาวคือ ผูชายผูหญิงตองเลิกนุง โสรง โจงกระเบน หันมานุงกางเกงขายาว กระโปรง เส้ือนอก รองเทา ถุงเทา หมวกแถมดวยถุงมือในบางโอกาส ทุกคนถูกกวดขันเร่ืองมารยาทและบุคลิกภาพเปนอยางมาก เพราะทานผูนําเชื่อวา ประชาชนของชาติที่ศิวิไลซตองสรางภาพพจนนาประทับใจแกผูที่พบเห็น รัฐบาลไดจัดสัมมนาขาราชการ กํานัน ผูใหญบาน เพื่อจะส่ังสอนลูกบานใหรูจักเปนคนมีอนามัย รูจักรักษารูปทรงใหงดงาม ไมนั่งกับพื้น ไมกระเดียดกระจาด หรือไมอุมลูกใสสะเอว เพราะอาจจะทําใหขาเกเอวคด (แถมสุข นุมนนท, 2521 : 61)

หลังจากยุคสมัยของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ประเทศไทยก็ยังรับเอาอิทธิพลของตะวันตกในเร่ืองของการแตงกาย โดยประมาณปพุทธศักราช 2513 เกิดแบบกางเกงข้ึนมาคูหนึ่ง ที่กลายเปนที่นิยมกันทั่วทั้งประเทศ นั่นคือกางเกงเดฟและกางเกงมอด ลักษณะกางเกงเดฟ เปนกางเกงขาลีบเรียว ลักษณะของกางเกงมอดเปนกางเกงลีบตรงหัวเขาแลวบานออกไปจนคลุมเทาเหมือนขามา (อเนก นาวิกมูล, 2547 : 199) จะเห็นไดวาการแตงกายของคนไทยมีการเปล่ียนแปลง พัฒนาไปตามแตละยุคสมัยอยูอยางตอเนื่อง จากการนุงหมผาตามแบบที่ผูปกครองเปนผูกําหนด ตามแบบที่ผูนําประเทศตองการจะเปล่ียนภาพลักษณของคนในประเทศ จนกระทั่งการรับอิทธิพลมาจากชาติตะวันตก

สำนกัหอ

สมุดกลาง

2

ถึงแมการแตงกายของคนในสังคมไทยจะมีการเปล่ียนแปลงไปตามยุคสมัย แตภายใตการเปล่ียนแปลงดังกลาวที่เกิดข้ึน ยอมตองไมขัดกับบรรทัดฐานทางสังคม ซึ่งในแตละสังคมจะมีกฎเกณฑอันหนึ่งซึ่งใชกันอยูเสมอ นั่น คือ การแบงแยกปรากฏการณตางๆ ออกเปนสองดาน (Dichotomy) เชน ใช-ไมใช, ถูก - ไมถูก, เหมาะ - ไมเหมาะ, ปกติ – ผิดปกติ เพราะถึงแมทุกคนในสังคมจะมีสิทธิและเสรีภาพในการแสดงออก แตในสังคมสวนใหญมักจะมีบรรทัดฐานทางสังคมซึ่งเปนส่ิงที่คอยควบคุมกํากับพฤติกรรมการแสดงออกของคนในสังคม เพื่อไมใหกระทําเกินขอบเขตของความเหมาะสมดีงาม เชน ในเร่ืองการแตงกาย ควรที่จะแตงกายใหเหมาะสมตามกาลเทศะ เปนตน ทั้งนี้ในเร่ืองเพศก็เชนเดียวกันที่มีการแบงเปน เพศหญิง – เพศชาย ซึ่งในการจัดประเภทเชนนี้มีส่ิงที่กํากับอยู คือ ความหมายที่สังคมใหกับเพศหญิงและเพศชายซึ่ งประกอบไปดวย คุณลักษณะทางดานรางกาย เอกลักษณทางเพศ บทบาทของแตละเพศ ลักษณะทางเพศที่ไดมาโดยกําเนิด (Gender Ascription) มักจะสืบทอดตอมาโดยสังคมเปนผูสอนใหบุคคลรับรูถึงความสัมพันธและความสําคัญ รวมทั้งความเปนมาตามธรรมชาติขององคประกอบทางเพศ มีการสอนใหรูวาอะไรบางที่จะเปนไปไดสําหรับเพศนั้นๆ และอะไรบางที่เปนไปไมไดและไมควรทํา เชน เพศหญิงเปนเพศที่ธรรมชาติสรางใหเกิดมาเพื่อเปนแม เปนเพศที่ออนแอกวาชาย มีบุคลิกที่ออนโยน นุมนวล และเปนฝายถูกกระทํา ในขณะที่เพศชายเปนฝายที่บึกบึน แข็งแรงลํ่าสัน เปนฝายปกปองและเปนฝายกระทํา (อนันต นาวิไล 2537 : 16)

การนิยามความหมายของความสวย ความหลอ เราอาจจะนิยามใหเปนสากลไดยากเพราะสังคมบนโลกมีความหลากหลาย ซึ่งความสวย ความหลอของแตละสังคมยอมมีความแตกตางกันไป เชน ชวงหนึ่งของประวัติศาสตรจีน มีประเพณีสําคัญอยางหนึ่ง คือ นิยมใหสตรีรัดเทาใหเล็ก เพราะถือกันวาเทาเล็กบงบอกถึงเทาตระกูลผูดี เทาคนชนชั้นสูง บงบอกถึงฐานะครอบครัว ในชวงสมัยราชวงศฉิน ผูหญิงเทาเล็กถือไดวาเปนผูหญิงที่สวยงาม เปนผูหญิงที่ชายจีนปรารถนาที่จะแตงงานดวย ทําใหหญิงตองรัดเทาเพื่อใหชายชาตรีมาสูขอ ถึงขนาดมีการพูดกันวา “หญิงควรมีเทาเบาบาง แหลม โคง หอม นุม และที่สําคัญเทาทั้งสองขางเทากัน (ธันวา วิน, 2543 : 136-137) หรืออยางในตะวันตก “เรือนรางสตรีที่สวย” (perfect body) จะมีลักษณะ เชน ผอม, สูง, มีสวนเวา, มีสวนโคง, สวนนูนเฉพาะที่ ฯลฯ เรือนรางสตรีที่สวยในปจจุบันนําไปสูลัทธิบูชาความผอมดวยการชูความผอมวาคือความสวย (thinness is beauty) พรอมนําไปสูพฤติกรรมการกินอาหารที่ไมถูกตอง อยางเชนการอดอาหารเพื่อใหผอม (anorexia) หรือการกินอาหารอยางไมระมัดระวัง แลวอาเจียนหรือถายออกมาภายหลัง (bulimia) (ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร, 2549 : 32) จากความหลากหลายของสังคมบนโลก ทําใหพอที่จะเขาใจถึงการมองเร่ืองของความงามที่แตละ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

3

สังคมใหความหมายและคุณคาที่แตกตางกันออกไป ตามทัศนคติ คานิยมและความเชื่อของลังคมนั้นๆ สังคมยุคปจจุบันไดกาวเขาสูยุคโลกาภิวัฒน (Globalization) นักวิชาการเรียกยุคสมัยที่เรามีชีวิตอยูนี้วาเปนสังคมบริโภค และการบริโภคสินคานานาชนิดที่มีอยูในตลาด ไมไดเปนการบริโภคเพราะสินคาเหลานั้นมีหนาที่ในการใชสอยบางอยางที่มีประโยชนเทานั้น แตเปนเพราะสินคาสรางความหมายบางอยางใหแกผูบริโภค มันทําใหรูสึกวาเปนคนทันสมัยบาง ประสบความสําเร็จบาง มีรสนิยมและอ่ืนๆ ตามแตวาเราจะมีภาพของคนที่พึงปรารถนาอยางไร ในตรรกะของการบริโภคเชนนี้ รางกายถือวามีบทบาทสําคัญอยางมาก เปนศูนยกลางในการสรางความเปนตัวเปนตนของแตละคน ที่เขาตองการจะส่ือใหคนอ่ืนรับรู จึงไมนาแปลกใจวา เนื้อหาของโฆษณาที่เห็นอยูทุกเม่ือเชื่อวัน จะเต็มไปดวยผลิตภัณฑที่ใชกับรางกาย ทั้งใชตกแตง ชําระลาง ดื่มกิน และอํานวยความสะดวกสบายเพลิดเพลินสารพัดชนิด นอกจากจะเปนเร่ืองของการหอหุมรางกายดวยผลิตภัณฑแบรนดเนมตางๆ หรือที่นักวิชาการบางทานตั้งชื่อใหวาเปนอาการ “หลุยติงตอง” แลว การจัดการใหรางกายมีรูปรางทรวดทรงและคุณลักษณะที่พึงปรารถนาก็ยังเปนเร่ืองที่มีความสําคัญอยางยิ่ง รางกายที่พึงปรารถนาในสังคมปจจุบันนั้น จะตองเปนรางกายที่ดูงดงาม เยาววัย กระฉับกระเฉง และดูสุขภาพดีอยูตลอดเวลา ใครก็ตามที่ปลอยใหรางกายดูเหน็ดเหนื่อย ทรุดโทรมไปตามวัยหมดเร่ียวแรง ก็จะตองถูกคํายอปนตลกแกมเคี่ยวเข็ญดวยความปรารถนาดี ใหไปว่ิงออกกําลังกายบาง เลนโยคะ / ฤาษีดัดตน / แอโรบิค / เพาะกาย ฯลฯ

จากการสํารวจสแกนรูปรางของคนไทยของเนคเทค พ.ศ. 2551จากการเก็บขอมูลโดยการ วัดรูปรางในกลุมตัวอยางทั้งชายและหญิงจํานวน 13,442 คนจากทั่วประเทศ อายุระหวาง 16-60 ป มาเปนเวลา 2 ป พบวาสวนใหญ อยูในภาวะอวน โดยเฉล่ียทั้งชายและหญิงอวนข้ึนรอยละ 50 โดยชายไทยมีสัดสวนปกติรอยละ 36.21 ทวมถึงอวนมากรอยละ 58.43 และผอมรอยละ 5.36 ขณะที่หญิงไทยมีสัดสวนปกติรอยละ 42.26 ทวมถึงอวนมากรอยละ 48.05 และผอมรอยละ 9.69 ซึ่งมีการวิเคราะหและประมวลผลของสาเหตุความอวนที่เกิดข้ึนวามาจากหลายปจจัย เชน พฤติกรรมการใชชีวิต อาหารที่รับประทาน เปนตน (สํานักงานเลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติ, ออนไลน, 2552)

จากผลสํารวจดังกลาวชี้ใหเห็นวาคนไทยมีสัดสวนที่เพิ่มข้ึน หมายความวาอวนข้ึนจากเดิม คนไทยทั้งหญิงและชายมีรูปรางขยายใหญเพราะมีการบริโภคที่มากข้ึนและออกกําลังกายนอยลง สงผลใหคนในสังคมทั้งในอดีตและปจจุบันตางก็ปฏิบัติตัวตามคานิยมของสังคม หรือภายใตวาทกรรมตางๆที่แตละสังคมสรางข้ึนมา ทําใหในปจจุบันการออกกําลังกาย ถือไดวาเปนอีกหนึ่งกิจกรรมที่กําลังไดรับความนิยมเปนอยางมาก คนไหนที่มีรางกายที่อวน ก็จะถูกคนในสังคมมองวา

สำนกัหอ

สมุดกลาง

4

เปนคนที่มีรูปรางไมสวย สุขภาพไมดี ไมออกกําลังกาย อาจจะไมถึงกับเปนคนที่สังคมรังเกียจ แตอยางนอยก็เปนรูปรางที่ผิดแปลกไปจากมาตรฐานของสังคม ฉะนั้นคนเราในปจจุบันจึงพยายามจะรักษา รูปราง ผิวพรรณและสุขภาพใหดีอยูเสมอ สังเกตไดจากการที่มีผลิตภัณฑเกี่ยวกับการเสริมความงามวางจําหนายในทองตลาดเปนจํานวนมากใหผูบริโภคไดเลือกใชตามความพึงพอใจ การเกิดข้ึนของสถานบริการเกี่ยวกับความงามและสถานที่สําหรับออกกําลังกายที่เพิ่มจํานวนมากข้ึน มีกระจายอยูในสังคมทั่วทุกแหงหน ดังจะเห็นวาผูหญิงในสมัยปจจุบันไมจําเปนตองใสคอรเซตที่ผูหญิงชั้นสูงในยุโรปตะวันตกเม่ือรอยปมาแลวจําเปนตองใสอีกตอไป เพราะคอรเซตไดถูกดูดกลืนเขาไปอยูในรางกายเรียบรอยแลว เปนสวนหนึ่งของความกลัวอวน ซึ่งจะทําใหตองรีบอดอาหาร หรือเขาคอรสลดความอวนทันทีที่รู สึกวาน้ําหนักมากเกินความตองการ (ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล, 2541 : 2-3)

จากปรากฏการณดังกลาว ทําใหผูศึกษาสนใจศึกษาปจจัยที่กอใหเกิดวาทกรรมเกี่ยวกับ

รูปรางดีที่สงผลตอทัศนคติ คานิยมของกลุมคนที่มาใชบริการสถานออกกําลังกาย ทั้งนี้เพื่อสะทอนใหเห็นถึงแงมุมหนึ่งจากพฤติกรรมของมนุษยในสังคมผานการใชบริการสถานออกกําลังกาย ที่เขามามีบทบาทและอิทธิพลในดานของทัศนคติและคานิยมภายใตบริบทวาทกรรมเกี่ยวกับรูปราง และยังศึกษาประวัติศาสตรในเร่ืองของความงามของการมีกลามวามีการคล่ีคลายมาอยางไร ซึ่งจะทําใหเห็นการเปล่ียนแปลงของวาทกรรมวาไมไดมีการหยุดนิ่ง และความจริงที่ถูกสรางข้ึนก็สามารถจะถูกเปล่ียนแปลงไดเชนเดียวกัน พรอมทั้งศึกษาทัศนคติของนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากรและคนที่อายุ 40-59 ป และ 60-70 ป ที่คนที่ไมไดเลนเพาะกาย เพื่อจะสะทอนใหเห็นอีกแงมุมหนึ่งของทัศนคติที่มีความหลากหลายในสังคมไทย

สำนกัหอ

สมุดกลาง

5

วัตถุประสงค

1. ศึกษาปจจัยที่กอใหเกิดวาทกรรมเกี่ยวกับรูปราง การเปล่ียนแปลงและทัศนคติเกี่ยวกับรูปรางของผูที่เลนเพาะกาย ณ ลือชายิม และผูที่ไมไดเลนเพาะกาย

แนวคิดและทฤษฎีท่ีใชในการศึกษา

การศึกษาคร้ังนี้ผูศึกษาไดนําแนวคิดเร่ือง วาทกรรม ของ มิแช็ล ฟูโกต (Michel Foucault) มาใชวิเคราะหซึ่งแนวคิดในเร่ืองของวาทกรรมมีดังตอไปนี้

วาทกรรม คือ ระบบของอํานาจ ระบบของการผลิต/สราง และการเก็บกดปดกั้นที่ยิ่งใหญ วาทกรรมเปนเร่ืองของระบบ ระเบียบ กฎเกณฑ เงื่อนไขและความเปนไปไดของการดํารงอยูของสรรพส่ิง วาทกรรมพยายามปดบังฐานะของตัวเองในรูปของความรู ความจริง ความเปนธรรมชาติ หรือความเปนปกติธรรมดา (ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร, 2549 : 6) วาทกรรมเปนมากกวาเร่ืองของภาษาหรือคําที่พูด แตมีภาคปฏิบัติการจริงของวาทกรรม (discursive practices) ซึ่งรวมถึงจารีตปฏิบัติ ความคิด ความเชื่อ คุณคา และสถาบันตางๆ ในสังคมที่เกี่ยวของกับเร่ืองนั้นๆดวย ฟูโกตกลาวไวอยางชัดเจนวา : “วาทกรรมถูกสรางข้ึนมาจากความแตกตางระหวางส่ิงที่สามารถพูดไดอยางถูกตองในชวงเวลาหนึ่ง (ภายใตกฎเกณฑและตรรกะชุดหนึ่ง) กับส่ิงที่ถูกพูดอยางแทจริง สนามของวาทกรรมในขณะใดขณะหนึ่งก็คือกฎเกณฑวาดวยความแตกตางนี้ ฉะนั้น วาทกรรมจึงสรางสรรพส่ิงตางๆ ข้ึนมา ภายใตกฎเกณฑที่ชัดเจนชุดหนึ่ง กฎเกณฑนี้จะเปนตัวกําหนดการดํารงอยู การเปล่ียนแปลง หรือ การเลือนหายไปของสรรพส่ิง นั่นคือควบคูไปกับสรรพส่ิงตางๆ ที่สังคมสรางข้ึน ยังมีการสรางและการเปล่ียนแปลงส่ิงที่ถูกพูดถึงโดยวาทกรรมอีกดวย (Foucault,1972 อางถึงใน ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร,2545 : 21)

การวิเคราะหวาทกรรม (discourse analysis) คือ การพยายามศึกษาและสืบคนถึงกระบวนการ ข้ันตอน ลําดับเหตุการณ และรายละเอียดปลีกยอยตางๆ ในการสรางเอกลักษณและความหมายใหกับสรรพส่ิงที่หอหุมเราอยูในสังคมในรูปของวาทกรรม และภาคปฏิบัติการของวาทกรรมวาดวยเร่ืองนั้นๆ วามีความเปนมาอยางไร มีการตอสูเพื่อชวงชิงการนํา (hegemony) ในการกําหนดกฎเกณฑวาดวยเร่ืองนั้นๆ อยางไรบาง มีความเกี่ยวของสัมพันธกับบุคคล สถาบัน สถานที่ เหตุการณอะไรบาง หัวใจของการวิเคราะหวาทกรรมอยูที่การพิจารณาคนหาวา ดวยวิธีการหรือกระบวนการใดที่ส่ิงตางๆ ในสังคมถูกทําใหกลายเปนวัตถุเพื่อการศึกษา/เพื่อการพูดถึงวาทกรรม (an object of discourse/discursive object) หรือก็คือ การพิจารณาถึงภาคปฏิบัติการจริงของวาทกรรมนั่นเอง วัตถุธรรมของวาทกรรมนี้ ฟูโกตมิไดหมายถึงโลกวัตถุที่สามารถจับตองได แต

สำนกัหอ

สมุดกลาง

6

หมายถึงชุดของความสัมพันธที่มีความสลับซับซอนในสังคม ( a complex group of relations) ที่เปนตัวกําหนดการพูดถึงส่ิงนั้นๆ เชน บรรดาแบบแผนพฤติกรรม จารีตปฏิบัติ เทคนิควิทยาการ ระบบการจัดประเภทแยกแยะตางๆในสังคม แตที่สําคัญยิ่งไปกวานั้นก็คือ ชุดของความสัมพันธที่สลับซับซอนนี้ มิไดดํารงอยูในตัววัตถุธรรมของวาทกรรมหรือโลกแหงความเปนจริง แตอยูภายนอกตัววัตถุธรรมของวาทกรรรม และเปนตัวกําหนดการดํารงอยูของวัตถุธรรมนั้นๆ อีกตอหนึ่งในรูปของวาทกรรม หรือที่ฟูโกตเรียกวา “a field of exteriority” (Foucault,1972 อางถึงใน ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร,2545 : 28) หรือบรรดาปจจัยเงื่อนไขตางๆ ที่กอใหเกิดวาทกรรมข้ึนมา ภาคปฏิบัติการของวาทกรรมจะเปนตัวกําหนดขอบเขตของส่ิงที่พูด/ส่ิงที่ศึกษาวาจะพูดอยางไร พูดเร่ืองอะไร พูดเม่ือไร ใครเปนผูพูด จึงจะไดความหมาย ส่ือสารกันรูเร่ืองและเปนที่ยอมรับในสังคม ประโยคเดียวกันถาหากพูดโดยบุคคลที่มีฐานะทางสังคมแตกตางกัน ตางโอกาส ตางสถานที่กัน ความหมายก็ไมเหมือนกัน เชน แพทยพูดกับคนไขในบริบทของการตรวจรักษาวา “อาการปวยของคุณไมนาวิตก” ยอมมีความหมายและความนาเชื่อถือมากกวาญาติของคนไขพูดกับคนไขในประโยคเดียวกันในบริบทของการปลอบโยน/เยี่ยมไข นอกจากนี้ ภาคปฏิบัติการจริงของวาทกรรมยังสถาปนาผูพูดใหมีอํานาจ/ความชอบธรรมในการพูดถึงเร่ืองนั้นๆ อีกดวย เชน แพทยมีอํานาจ/ความชอบธรรมในการพูดถึงความเจ็บปวย สุขภาพอนามัยของคนไข หรือ นักเศรษฐศาสตรพูดถึงการพัฒนาเศรษฐกิจ เปนตน แตมิไดหมายความวาผูพูดเหลานี้ สามารถพูดอะไรก็ไดตามใจชอบ หรือมีอิสรเสรีในการพูด แตตองพูดตาม/ภายใตกฎเกณฑของวาทกรรมวาดวยเร่ืองนั้นๆ เชน วาทกรรมทางการแพทย หรือวาทกรรมทางเศรษฐศาสตรตามตัวอยางขางตน (Dryfus and Rabinow, 1982 : xx อางถึงใน ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร, 2545 : 28)

วาทกรรมมิใชทางผานหรือที่แสดงออก (ปกปด) ของความปรารถนา วาทกรรมมิใชเปนเพียงผลลัพธอันเกิดจากการตอสูเพื่อเปล่ียนแปลงระบบของการครอบงํา แตวาทกรรมในตัวของมันเองคือการตอสูและการครอบงํา วาทกรรมคือตัวอํานาจที่ตองเขาไปจัดการ/ยึดเอาไว (Foucault 1970 อางถึงใน ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร, 2545 : 30) วาทกรรมสามารถพบไดในประโยคทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน ชุดของประโยคเหลานี้สะทอนความคิดและวิธีของมนุษยตลอดจนโครงสรางความสัมพันธเชิงอํานาจในสังคมนอกจากนี้ ฟูโกต ยังมองวา วาทกรรมยังเปนเทคโนโลยีอยางหนึ่งที่มนุษยสรางข้ึนเพื่อนํามาใชในการพูดคุยและสงผานเร่ืองราวตางๆที่เกิดข้ึนและที่ควรจะเปนในสังคม ซึ่งฟูโกตมองวา เร่ืองราวเหลานั้นก็คือ ความรู (knowledge) ของมนุษยนั่นเอง ฟูโกตยังเชื่อวาพฤติกรรมทางสังคมของมนุษยในทุกรูปแบบมีความหมาย (meaningful) และมีความเกี่ยวพัน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

7

กับวาทกรรมทั้งส้ิน และปจเจกชนก็ไมไดเปนผูผลิต (source) ความรูแตเปนผูรับ (barrier) เอาระบบความรูตางๆที่ถูกผลิตหรือถูกสรางข้ึนจากการปฏิบัติการทางวาทกรรมของสังคมเขามาไวในตัวเอง ดังนั้นวาทกรรมจึงมีบทบาทในการกําหนดโลกทัศน ควบคุมโลกทัศน สรางมาตรฐานความถูกผิด สรางอุดมการณสรางภาพเชิงอุดมคติ และชี้นําพฤติกรรมตางๆ ของสมาชิกในสังคม วาทกรรมเปนเคร่ืองมือที่มนุษยสรางข้ึนมาและถูกใชรวมกับอํานาจ (power) เสมอ เพื่อผลิต ถายทอดและตอกย้ําความรูเกี่ยวกับสังคม เพราะฉะนั้นวาทกรรมจึงไมมีความเปนกลางและจากการที่วาทกรรมทํางานรวมกับอํานาจในการผลิต ผลิตซ้ํา และปลูกฝงความรูนี่เอง ความรูจึงถูกทําใหกลายสภาพเปนความจริง (truth) (สุชาดา ทวีสิทธิ,์ 2545 : 8-9)

แนวคิดเร่ืองอํานาจและวาทกรรมสามารถนํามาใชเชื่อมโยงและวิเคราะหเกี่ยวกับ

ปรากฏการณของคนในสภาพสังคมปจจุบันไดเปนอยางดี เนื่องจากคนในสังคมปจจุบันนิยมหันมาสนใจดูแลสุขภาพรางกายเพิ่มมากข้ึน โดยมีการจัดการกับรางกายมากมายไมวาจะเปน การอดอาหาร การออกกําลังกาย การกินอาหารที่มีไขมันต่ํา เพื่อจะใหรางกายมีรูปรางที่ดีตามคานิยมของสังคม ซึ่งเบื้องหลังของคานิยมของสังคม เชน ความสวย ความงาม ความหลอ ก็จะมีวาทกรรมมากมายและสลับซับซอนอยูเบื้องหลังคานิยมเหลานั้น และวาทกรรมตางๆเหลานี้ก็มีอํานาจมากพอที่จะสงผลใหเราเห็นดวยหรือพรอมทําตามกับคานิยมเหลานั้น การนําแนวคิดวาทกรรมมาวิเคราะหรูปรางที่ดีของคนในปจจุบัน จะสามารถสะทอนใหเราเห็นองคความรู วาทกรรม ที่สรางคานิยมที่เห็นวาการมีกลามสําหรับรูปรางผูชายนั้นเปนภาพที่นาชื่นชม วรรณกรรมท่ีเกี่ยวของ

ในการศึกษาคร้ังนี้ ผูศึกษาไดเลือกงานวิจัยและหนังสือที่มีความเกี่ยวของกับประเด็นที่ศึกษา ซึ่งเหลานี้จะแสดงใหเห็นถึง วาทกรรมเกี่ยวกับรูปราง ที่สงผลตอมุมมอง ทัศนคติและคานิยมของกลุมคนในสังคม

วิทยานิพนธของ กชกรณ เสรีฉันทฤกษ (2551) วาทกรรมความงามของผูหญิงใน

สังคมไทย : มุมมองพหุมิติ เปนการศึกษาวิวัฒนาการความงามของผูหญิงในหลายยุคหลายสมัยวา มีวาทกรรมเกี่ยวกับความงามเชนไรบาง และอะไรเปนปจจัยที่ทําใหวาทกรรมความงามของผูหญิงในแตละยุคสมัยเกิดการเปล่ียนแปลง รวมถึงการกระทําของผูหญิงไทยวาเปนผูกระทําและผูถูกกระทําภายใตวาทกรรมความงามนั้นๆอยางไรบาง ผูศึกษาไดแบงการศึกษาออกเปนยุค

สำนกัหอ

สมุดกลาง

8

สมัย คือ ยุคจารีตประเพณี (ชวงเวลากอนป พ.ศ.2411) , ยุคศิวิไลซ (พ.ศ.2411 – 2488) , ยุคเร่ิมประชาธิปไตย (พ.ศ.2475 – 2481) และยุคสุดทาย ยุคเสรีนิยม ยุคโลกาภิวัตน ซึ่งในยุคทุนนิยมและบริโภคนิยม (ชวงหลังสงครามโลกคร้ังที่สอง พ.ศ. 2488 ถึงปจจุบัน) ผูศึกษามิไดศึกษาเพียงความงามของรางกายเทานั้น แตยังศึกษาถึงความงามดานจริตและเคร่ืองประดับ สวนปจจัยที่กอใหเกิดการเปล่ียนแปลงความงามในสังคมไทยนั้นผูศึกษาไดสรุปไวในหลายประเด็น เชน ความเหนือกวาทางวัฒนธรรมและเชื้อชาติ , ส่ือในยุคทุนนิยมและบริโภคนิยม เปนตน

งานวิจัยนี้ทําใหผูศึกษาเห็นถึงความเปนมาในเร่ืองของความงามของผูหญิงในแตละยุคสมัย ที่มีการเปล่ียนแปลงไปตามปจจัยทางดานสังคมและส่ิงแวดลอม สวนหนึ่งมาจากการสรางวาทกรรมในเร่ืองความงามของผูหญิงในแตละยุคสมัย งานวิจัยนี้ชวยใหผูศึกษาเกิดความเขาใจเบื้องตนเกี่ยวกับความเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึน และผลกระทบทีมีตอมุมมอง ทัศนคติ คานิยมใหคนในสังคมเชื่อถือและปฏิบัติตาม แมจะเปนความงามของผูหญิงซึ่งมีความแตกตางไปจากงานของผูศึกษาที่เลือกศึกษากลุมคนที่เปนผูชายเทานั้น แตชวยใหผูศึกษาสามารถนํามาใชสรางมุมมองเกี่ยวกับทัศนคติและคานิยมที่กลุมคนในสังคมใหความสําคัญกับรูปรางของตนเองมาตลอดทุกยุคทุกสมัย โดยจะนําไปเปนแนวทางในการศึกษาหาปจจัยตางๆที่ทําใหเกิดวาทกรรม วาการมีกลามทําใหรางกายดูดีข้ึนมา ความแตกตางระหวางงานของผูศึกษากับวิทยานิพนธเร่ืองวาทกรรมความงามของผูหญิงในสังคมไทย : มุมมองพหุมิติ คือ งานวิทยานิพนธชิ้นนี้สะทอนแตวาทกรรมหลักของความงามในแตละยุคสมัย ซึ่งในงานของผูศึกษาจะสะทอนทั้งวาทกรรมหลักและวาทกรรมยอยที่มีอยูในสังคม เพื่อเปดใหเห็นวาวาทกรรมในสังคมไมไดมีเพียงวาทกรรมหลักเพียงวาทกรรมเดียวแตยังมีวาทกรรมยอยอยูดวย

วิทยานิพนธของ จงกลนี โตสกุลวงศ (2542) การวิเคราะหวาทกรรม การให

ความหมายสื่อสิ่งพิมพลามกของ 9 สถาบันในสังคมไทย เปนการศึกษาถึงคํานิยามและความหมายของส่ือส่ิงพิมพลากมกในสังคมไทย ของ 9 สถาบันในสังคมไทย เชน กลุม Feminist ,สถาบันชางภาพ , สถาบันที่เกี่ยวของกับกฎหมาย , สถาบันส่ือมวลชน , ชางภาพนูด ซึ่งการใหคํานิยามและความหมายของแตละสถาบันก็มีความแตกตางกันไป แตโดยรวมทุกสถาบันจะเห็นวา ส่ือลามก เปนอันตรายและเปนปญหาที่ทุกฝายตองรวมมือกันควบคุม ปราบปรามกําจัด อยางนอยที่สุดก็เปนอันตรายในแงของจิตใจเม่ือผูบริโภคเปดรับเนื้อหาที่มีความโจงแจงทางเพศโดยปราศจากความงดงามทางศิลปะ การใหความหมายถึงส่ือส่ิงพิมพลามกของแตละสถาบันก็เปน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

9

การสรางวาทกรรมข้ึนมา และวาทกรรมนั้นก็สงผลมาคอยเปนตัวกําหนดวาส่ิงไหนลามก ส่ิงไหนไมลามก และส่ิงที่ลามกสงผลเสียอยางไรตอสังคม

ในงานวิจัยนี้ทําใหผูศึกษาเห็นภาพของการใหความหมายของส่ือส่ิงพิมพลามกในสังคมไทย ของกลุมคนที่อยูในสถาบันทางสังคมที่มีความแตกตางกัน ที่มีทั้งกลุมคนที่เห็นวาเปนส่ิงที่สวยงามและกลุมคนที่เห็นวาเปนอันตรายและเปนปญหา ทั้งนี้สวนหนึ่งเปนผลมาจากวาทกรรมที่แตละสถาบันสรางข้ึนมาใหกลุมคนของตนไดเขาใจ ในงานวิจัยนี้มีความเหมือนในประเด็นที่แสดงใหเห็นถึงการกอตัวและกระบวนการสรางความหมายของวาทกรรมของกลุมคนในสังคมที่มีความแตกตางกันออกไป ซึ่งมีความเกี่ยวของกับงานของผูศึกษา อีกทั้งผูศึกษาสามารถใชเปนแนวทางในการศึกษาหาการกอตัวและกระบวนการสรางวาทกรรมวามีที่มาอยางไร

งานวิจัยของ ศศิธร เกตุทัต (2549) วาทกรรมวาดวยภาพนูด : กรณีศึกษาผลงานศิลปะนูดรวมสมัย ในงานวิจัยนี้ไดมุงศึกษาถึงนัยยะขอผลงานภาพนูด ที่ศิลปนจํานวนหนึ่งใชแนวคิดในการอธิบาย โดยผูศึกษาไดศึกษาจากงานของศิลปนรวมสมัยจํานวนสามคน คือ ทวีศักดิ์ ศรีทองดี, ศักดิ์วุฒิ วิเศษมณี, สมศักดิ์ รักษสุวรรณ โดยจะเจาะลึกถึงงานของทั้งสามศิลปนตั้งแตอดีตถึงปจจุบันรวมถึงประวัติของศิลปนแตละคนดวยวากอนที่จะมาเปนศิลปนรวมสมัยมีประวัติความเปนมาของแตละคนอยางไร ทั้งนี้เพื่อศึกษาและทําความรูจักกับศิลปะภาพนูดของศิลปนรวมสมัยของไทยอยางละเอียด และทําความเขาใจปรากฏการณทางสังคมที่เกิดจากศิลปะภาพนูดรวมสมัย โดยใชกรอบความคิดวาทกรรม อํานาจ เพศสภาวะและรางกาย จากการศึกษาสรุปไดวา การมองภาพนูดในเชิงวาทกรรม ข้ึนอยูกับคนแตละกลุมมีชุดความรูที่แตกตางกัน กลุมศิลปนและนักวิจารณศิลปะ ก็มีชุดความรูทางศิลปะที่เปนไปในทางการตีความวานูดไมอนาจาร และชุดความรูทางจิตสํานึกเชิงคุณธรรมหรือจริยธรรมของคนกลุมนี้ เปนไปตามรูปแบบของการเรียนการสอนที่ไดรับมาจากสถาบันการศึกษา ในขณะที่ชุดความรูของคนที่เรียนรูมาทางศิลปะชั้นสูง เชน โขนหรือคนที่ทํางานอยูในกระทรวง หรือสถาบันที่เกี่ยวของกับการจัดการวัฒนธรรมของสังคม ก็มีชุดความรูหลุดออกไปจากความรูทางศิลปะที่เปนไปในรูปแบบของการตองนับถือศิลปะชั้นสูง และมองวาภาพนูดเปนส่ิงที่หลุดออกไปจากความรูที่พวกเขาไดรับ ชุดความรูทางจิตสํานึกเชิงคุณธรรมหรือจริยธรรมจึงแตกตางไป

งานวิจัยชิ้นนี้เปนงานวิจัยที่มีความนาสนใจ ชี้ใหเห็นถึงปรากฏการณทางสังคมของศิลปะ

ภาพนูด ที่เปนอยูในปจจุบันที่จะตัดสินวาดีหรือไมดีนั้น ยอมข้ึนอยูกับวาทกรรมที่มีอยูในความคิด

สำนกัหอ

สมุดกลาง

10

ของแตละกลุมคนซึ่งมีความแตกตางกันไป ในสวนประเด็นดังกลาวมีความคลายคลึงกับประเด็นในงานของผูศึกษาเร่ืองของชุดความรูของคนแตละคนในสังคมที่ไมเหมือนกัน สามารถนํามาเชื่อมโยงกับประเด็นการศึกษาถึงองคความรูที่แตละคนรับมา ซึ่งทําใหเห็นเบื้องลึกของความคิดแตละคนวามีที่มาที่ไปอยางไร เพื่อชวยสรางแนวทางแกงานของผูศึกษาไดเปนอยางดี

ความแตกตางระหวางงานของผูศึกษากับวิทยานิพนธเร่ืองการวิเคราะหวาทกรรม การใหความหมายส่ือส่ิงพิมพลามกของ 9 สถาบันในสังคมไทย และวาทกรรมวาดวยภาพนูด : กรณีศึกษาผลงานศิลปะนูดรวมสมัย คือ งานของผูศึกษาจะชี้ใหเห็นถึงการเปล่ียนแปลงของวาทกรรมวาวาทกรรมไมไดเปนส่ิงที่แนนอนตายตัวแตมีการเปล่ียนแปลงไดเสมอ แตในงานวิทยานิพนธ 2 ชิ้นนี้ไมไดสะทอนใหเห็นถึงการเปล่ียนแปลงของความวาทกรรมแตแคเพียงสะทอนความแตกตาง

วิทยานิพนธของ เยาวนุช เวศรภาดา (2545) วาทกรรมความรูในการฟนฟูวัฒนธรรม

ทองถ่ิน กรณีศึกษา อุทยานการศึกษา – หมูบานวัฒนธรรมเขาขุนศรี ตําบลบานเกาะ อําเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช เปนการศึกษากระบวนการสรางองคความรูและเอกลักษณของทองถิ่นใหสมกับที่ไดรับใหเปนหมูบานวัฒนธรรม โดยหมูบานนี้ไดมีการใชองคความรูตางๆมากมายเพื่อเสริมสรางใหหมูบานเปนหมูบานที่คงรักษาขนบประเพณีดั้งเดิมไว เชน ประเพณีใหทานไฟ, การแหเศียรทาวมหาพรหมในวันสงกรานต เปนตน และหมูบานก็มีการพัฒนาใหทันสมัยแบบตะวันตกอีกดวย ภาพที่หมูบานวัฒนธรรมเขาขุนศรีสะทอนออกมาใหเห็นนั้นเปนแคเพียงภาพสะทอนความจริง เพราะภาพดังกลาวผานการขัดเกลาและเลือกสรรแลววาส่ิงไหนควรจะนําเสนอและส่ิงไหนไมควรนําเสนอ ส่ิงที่เห็นชัดคือการนําเสนอประวัติศาสตรของหมูบานวัฒนธรรมเขาขุนศรีที่นําเสนอวา เปนหมูบานที่เกาแกมีอดีตอันยาวนาน นําเสนอแตภาพความรุงเรืองของนครศรีธรรมราช โดยใชผูนําเสนอที่มีพลังอํานาจใหมีความนาเชื่อถือ เชน นักประวัติศาสตร นักวิชาการ เปนตน หมูบานวัฒนธรรมเขาขุนศรีไดสรางวาทกรรมที่ทําใหหมูบานวัฒนธรรมเขาขุนศรีเปนหมูบานที่มีประวัติอันยาวนานและเปนหมูบานที่รุงเรือง และมีประเพณีที่สืบตอกันมาเปนเวลานาน เชน การเลือกบันทึก “ความทรงจํา” บางสวนในประวัติศาสตร โดยเลือกนิทานทองถิ่นเร่ือง “เขาขุนศรี” ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความสัมพันธทางอํานาจระหวางอยุธยากับนครศรีธรรมราช ซึ่งเขาขุนศรีมีสถานะเปนเมืองหนาดานและมีการสรางวัดที่เคยเปนที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราชแหงเมืองนครศรีธรรมราช และมีการร้ือฟนความเชื่อที่วา สมเด็จพระเจาตากสินไดสวรรคตที่เขาขุนศรี เพื่อดึงดูผูคนที่มีศรัทธาตอสมเด็จพระเจาตากสินใหเดินทางมาสักการะนอกจากวาทกรรมในเร่ืองของประวัติศาสตรหมูบานวัฒนธรรมเขาขุนศรีไดสรางศูนยวิทยาศาสตรเขาขุนศรี เพื่อใหเปนตัวแทนของความเจริญ ความทันสมัย และการตามทันโลกปจจุบันของหมูบาน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

11

งานวิจัยชิ้นนี้แสดงใหเห็นวา ความจริงที่เราเห็นไมใชความจริงทั้งหมดที่มีอยู แตเปนความจริงที่ถูกสังคมหรือกลุมคนบางกลุมคัดกรองมาแลววา อะไรที่จะเปนความจริงที่นําเสนอ ฉะนั้นภาพที่ถูกนําเสนอออกมาจึงเปนแคภาพสะทอนความจริงที่ยังมีความจริงที่ไมไดถูกเปดเผยยังถูกกดทับ ปดกั้นไวอยู และการสรางองคความรูเกี่ยวกับประวัติศาสตรตางๆก็ตองใชบุคคลที่ไดรับการยอมรับจากสังคมเพื่อใหคําพูดนั้นมีน้ําหนักและนาเชื่อถือ เพื่อที่สังคมจะไดยอมรับกับวาทกรรมที่สรางข้ึนมา จากประเด็นที่ชี้ใหเห็นถึงความจริงที่ถูกสรางข้ึน และกระบวนการการสรางความจริงตองมีองคประกอบอะไรบางที่จะทําใหความจริงนั้นนาเชื่อถือ ผูศึกษาเห็นวาสามารถนํามาเปนแนวทางในการศึกษาเร่ืองของการเลนเพาะกายไดวา ความงามที่เห็นวาการมีกลามเปนส่ิงสวยงามบางทีก็อาจจะมีความคิดเห็นที่แตกตางออกไป จากภาพสะทอนความจริงของการเลนเพาะกายที่กดทับ ปดกั้นความงามในทัศนคติอ่ืนๆ โดยที่งานของผูศึกษามีความแตกตางกับวิทยานิพนธเร่ืองวาทกรรมความรูในการฟนฟูวัฒนธรรมทองถิ่น กรณีศึกษา อุทยานการศึกษา – หมูบานวัฒนธรรมเขาขุนศรี ตําบลบานเกาะ อําเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช คือ วิทยานิพนธชิ้นนี้ศึกษาวาทกรรมที่นํามาใชพัฒนาชุมชน แตงานของผูศึกษาเปนการตรวจสอบวาทกรรมเกี่ยวกับการเพาะกายวาเปนวาทกรรมหลักจริงหรือไม และยังมีวาทกรรมอะไรบางที่ยังคอยตอสูเพื่อชวงชิงการใหความหมายตอรูปราง

วิจัยของ อภิวัฒน เผาพันเลิด (2529) การออกแบบเลขนศิลปสิ่งพิมพสถานเพาะกาย

ในงานวิจัยชิ้นนี้เปนการออกแบบโฆษณาสถานเพาะกายที่ผูศึกษาสมมุติชื่อสถานเพาะกายข้ึนมาเอง ชื่อ “BodyClub” โดยทําการโฆษณาผานทางโปสเตอร, นามบัตร, บัตรสมาชิก, ใบปลิว ซึ่งในการออกแบบแตละอยางของผูศึกษาจะมีการแฝงสัญลักษณในการออกแบบส่ือส่ิงพิมพ เชน ใชภาพของชายที่กําลังโชวกลามเนื้อใหเห็นอยางเดนชัด หรือ การใชสีแดงเลือดหมูและดํา โดยผูศึกษาใหเหตุผลวา สีแดงเลือดหมูทําใหรูสึกเปนชายชาตรี สีดําทําใหรูสึกหนักแนน

งานวิจัยชิ้นนี้ก็ถือไดวาเปนประโยชนตองานการศึกษาของผูวิจัย ประเด็นที่นาสนใจ คือ

การโฆษณาถือวาคนที่ทําโฆษณาข้ึนมา ตองมีการคํานึงและคิดไตรตรองถึงส่ิงที่โฆษณาออกมาเปนอยางดี โดยจุดมุงหมายสําคัญของการโฆษณา คือ ทําอยางไรใหคนสนใจและหันมาใชบริการ จากจุดมุงหมายนี้ก็ทําใหการโฆษณาตองแฝงสัญลักษณหรือการจูงใจ ชักชวนใหคนมาใชผลิตภัณฑหรือบริการ โฆษณาก็ถือไดวาเปนวาทกรรมหนึ่งที่เปนตัวสรางความหมายอะไรบางอยางใหกับสังคม การศึกษาถึงส่ือโฆษณาจะทําใหเห็นถึงการสรางวาทกรรมความหมายของการเลน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

12

เพาะกายไดเปนอยางดี ผูศึกษาเห็นวาสามารถนํามาใชเปนแนวทางสวนหนึ่งของการศึกษาในงานของผูศึกษาได

งานวิจัยเร่ืองการออกแบบเลขนศิลปส่ิงพิมพสถานเพาะกายนี้ มีความแตกตางจากงานวิจัยของผูศึกษา คือ งานชิ้นนี้จะเปนการออกแบบโฆษณาที่เนนไปทางศิลปะ แตงานของผูศึกษาเปนการศึกษาทางดานสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ที่มีการใชแนวคิดทฤษฎีในการศึกษาโดยใชแนวคิดวาทกรรม วาวาทกรรมนั้นสงผลอยางไรตอทัศนคติเกี่ยวกับรูปรางของคนในสังคมและวาทกรรมใดเปนวาทกรรมหลัก

วิทยานิพนธของ กิตติพร ใจบุญ (2538) ความจริงในเร่ืองเขื่อน : บทศึกษาการ

ปฏิบัติการทางวาทกรรมในสังคมไทยตั้งแต พ.ศ.2490 – 2537 เปนการศึกษาการเปล่ียนแปลงความหมายของเข่ือน ตั้งแตป พ.ศ.2490 – 2537 โดยผูศึกษาจะศึกษาจากตัวบท (text) หรืองานเขียนประเภทตางๆ เชน หนังสือ บทความแสดงความคิดเห็น บทความทางวิชาการ บทสัมภาษณในวารสาร นิตยสารตางๆ ขาวในหนาหนังสือพิมพ เอกสารตาง ผูศึกษาแสดงใหเห็นถึงการกอตัวของวาทกรรมในแตละชวงวาวาทกรรมในแตละชวงมีการเปล่ียนแปลง เชน ในชวงแรกของการสรางเข่ือน วาทกรรมที่ออกมาเผยแพรอยูในสังคม คือ เข่ือน แสดงถึงการพัฒนาของประเทศ โดยวาทกรรมนี้ถูกสรางข้ึนมาจากรัฐ แตมาในภายหลังวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 ก็มีวาทกรรมอีกชุดหนึ่งข้ึนมาตอสูกับวาทกรรมชุดเดิม คือ การสรางเข่ือน เปนการทําลายระบบนิเวศ ทําลายธรรมชาติ โดยวาทกรรมชิ้นนี้ถูกสรางข้ึนมาจากองคกรพัฒนาเอกชนตางๆ นักวิชาการ นักศึกษา ซึ่งแสดงใหเห็นวาแทที่จริงแลวในสังคมไมไดมีเพียงวาทกรรมชุดเดียว คือ วาทกรรมจากรัฐที่ใหภาพของเข่ือนคือความเจริญการพัฒนาของประเทศชาติ แตมีหลายวาทกรรม ซึ่งอาจจะมีวาทกรรมหลักไมกี่อัน แตยังมีวาทกรรมยอยๆที่คอยจะตอสูและสรางความหมายที่แตกตางไปจากวาทกรรมหลักอยูเสมอ

วิทยานิพนธของ ศิริพร ศรีสินธุอุไร (2542) ปฏิบัติการทางวาทกรรมของชาวบาน : กรณีศึกษา “ปาทามกุดเปง” เปนการศึกษาการตอสูและสรางวาทกรรมของชาวบานกับรัฐซึ่งเกี่ยวกับการอนุรักษปาทามกุดเปง และตอสูกรณีฝายราษีไศลที่ชาวบานไดรับผลกระทบ โดยหลังจากรัฐไดดําเนินนโยบายปาไมแหงชาติป 2528 ซึ่งปาไมที่ทางรัฐประกาศใหเปนพื้นที่อนุรักษทางรัฐก็จะเปนผูดูแล ทําใหชาวบานที่อยูอาศัยในพื้นที่ไมมีสวนในการดูแลเหมือนเชนในสมัยกอน ชาวบานจึงมีการตอสูโดยการสรางวาทกรรมตางๆ เพื่อที่จะใหตัวเองไดมีสิทธิความชอบธรรมใน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

13

การจะใชทรัพยากรปาไมเชนเดิม โดยการวิพากยวาทกรรมหลักที่รัฐนํามาใชในการถือสิทธิจะมาเขาครอบครองจัดสรรดูแลปาไม ในการสรางวาทกรรมของชาวบานยังมีนักวิชาการและองคกรพัฒนาเอกชนที่เขามามีสวนรวมกับชาวบานหรือจะพูดอีกอยางหนึ่งก็คือเขามาชวยเหลือและอยูฝงชาวบานเพื่อที่จะผลักดันวาทกรรมตางๆ ใหสูกับวาทกรรมหลักของรัฐ

วิทยานิพนธของ สุภิญญา กลางณรงค (2543) มาตรา 40 กับวาทกรรมการปฏิรูปสื่อ

เปนการศึกษาการเปล่ียนแปลงสิทธิและเสรีภาพในการใชส่ือตางๆ โดยที่มุงไปที่ประเด็นการปฏิรูปส่ือในมาตรา 40 ที่แสดงใหเห็นถึงบุคคลหลายกลุมที่มีสวนเกี่ยวของในการปฏิรูปส่ือ และสะทอนใหเห็นถึงวาทกรรมที่แตละกลุมคนยกและอางข้ึนมาเพื่อใหวาทกรรมของแตละคนนั้นเปนที่ยอมรับและถูกบัญญัติไวในกฎหมาย จากการศึกษาก็แสดงใหเห็นถึงความขัดแยงของวาทกรรมของคนแตละกลุมไมวาจะเปนฝายรัฐบาล ฝายทหาร ฝายนักวิชาการ ฝายส่ือมวลชน องคกรพัฒนาเอกชน ในแตกลุมก็มีประเด็นและจุดมุงหมายที่เสนอออกมาทีแตกตางกัน ฝายทหารก็ชูเร่ืองของความม่ันคงวาถาส่ือเปนอิสระเสรี ความม่ันคงก็จะมีนอยลง ฝายนักวิชาการ ฝายส่ือมวลชน องคกรพัฒนาเอกชน ก็ชูประเด็นของความมีสิทธิเสรีภาพของประชาชนที่สามารถจะเขาถึงและมีเสรีในการใชส่ือตางๆได โดยที่ไมตองถูกควบคุมเหมือนสมัยกอน เชน ในเหตุการณ 6 ตุลาคม 2519 ที่ส่ือวิทยุและโทรทัศนถูกใชเปนเคร่ืองมือในการทําสงครามแยงชิงมวลชนของภาครัฐในการสรางภาพของนักศึกษาวาเปนคอมมิวนิสตที่นากลัวเลวราย งานวิจัยทั้ง 3 ชิ้น คือ 1. ความจริงในเร่ืองเข่ือน : บทศึกษาการปฏิบัติการทางวาทกรรมในสังคมไทยตั้งแต พ.ศ.2490 – 2537 2. ปฏิบัติการทางวาทกรรมของชาวบาน : กรณีศึกษา “ปาทามกุดเปง” 3. มาตรา 40 กับวาทกรรมการปฏิรูปส่ือ ทั้ง 3 งานวิจัยแสดงใหเห็นวาทกรรมอันหลากหลายจากหลายคนหลายกลุมที่สรางวาทกรรมตางๆข้ึนมาตอสู เพื่อชวงชิงพื้นที่ใหกับกลุมของตน โดยจะมีวาทกรรมหลักของรัฐที่จะโดนตอสู ตอรองจากวาทกรรมรองของกลุมคนตางๆ พรอมถึงแสดงใหเห็นถึงประวัติศาสตรของวาทกรรมที่มีการเปล่ียนแปลงไมหยุดนิ่งและมีการปรับตัวใหเขากับบริบทของสังคมในชวงขณะนั้น ซึ่งมุมมองเหลานี้ผูศึกษาจะนํามาใชเปนแนวทางในการศึกษาการเพาะกายวามียังมีวาทกรรมอ่ืนๆอีกหรือไมที่กําลังตอรองกับวาทกรรมการเพาะกาย และดูในอดีตนั้นการเพาะกายเคยถูกใหความหมายอยางไร

สำนกัหอ

สมุดกลาง

14

นิยามคําศัพท

วาทกรรม หมายถึง ระบบและกระบวนการผลิตเอกลักษณและความหมายใหแกส่ิงตางๆ เชน ความรู ความเปนจริง ตัวตนของมนุษย ฯลฯ เปนกฎเกณฑในการกําหนดการดํารงอยู การเปล่ียนแปลงหรือการหายไปของส่ิงตางๆ เชน ในเร่ืองของความรู (สุภางค จันทวานิช 2551 : 283)

การตอสูของวาทกรรม หมายถึง การตอสูชวงชิงการใหความหมายตอส่ิงหนึ่งส่ิงใดของวาท

กรรม 2 วาทกรรมข้ึนไป เพื่อใหวาทกรรมใดวาทกรรมหนึ่งเปนวาทกรรมหลัก ซึ่งวาทกรรมหลักจะมีอํานาจมากกวาวาทกรรมอ่ืนๆ ระเบียบวิธีการศึกษา

1.ศึกษาจากขอมูลเอกสาร หนังสือ บทความ ส่ือออนไลนและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2. ศึกษาจากขอมูลภาคสนามในพื้นที่ที่เลือกทําการศึกษา คือ ลือชายิม โดยผูศึกษาจะทํา

การสัมภาษณอยางไมเปนทางการ 3. ศึกษาจากการแจกแบบสอบถามเกี่ยวกับทัศนคติตอการเพาะกาย ใหกับนักศึกษา

มหาวิทยาลัยศิลปากรที่ไมไดเลนเพาะกายจํานวนทั้งส้ิน 50 คน โดยแบงเปนผูชาย 25 คน และผูหญิง 25 คน 4. ศึกษาจากการแจกแบบสอบถามและการสัมภาษณอยางไมเปนทางการเกี่ยวกับทัศนคติตอการเพาะกายในชวงวัยรุนของผูชายและผูหญิงที่มีอายุ 40-59 ป ที่ไมไดเลนเพาะกาย ผูชายจํานวน 10 คน และผูหญิงจํานวน 10 คน ผูชายและผูหญิงที่มีอายุ 60-70 ป ที่ไมไดเลนเพาะกาย ผูชายจํานวน 10 คน และผูหญิงจํานวน 10 คน สาเหตุที่ผูศึกษาเลือกทําการศึกษาจากกลุมคนในหลายชวงอายุก็เพื่อใหเห็นถึงความแตกตางของทัศนคติในแตละชวงสมัยของวัยรุนในแตละยุค โดยวัยรุนที่ผูศึกษาทําการเลือก คือ วัยรุนตอนปลาย (Late Adolescence) ทั้งเด็กผูหญิงและผูชาย จะมีอายุระหวาง 18-21 ป (ชัยนาถ นาคบุปผา 2515 : 3 ) ชวงวัยรุนจะมีความตองการหลายอยาง แตความตองการที่สําคัญอยางหนึ่งของเด็กวัยนี้คือ ตองการใหผูอ่ืนยอมรับในความเปนชายหญิงของตน ทั้งจากเพศเดียวกันและเพศตรงขาม เนื่องจากเด็กวัยรุนตองการที่จะใหผูอ่ืนยอมรับ จึงมักเอาใจใสกับรูปรางของตนมากข้ึน (สุชา จันทนเอม 2515 : 70-71)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

15

ขอบเขตการศึกษา

ผูศึกษาจะทําการเก็บขอมูลดวยการสัมภาษณ ณ สถานออกกําลังกาย ลือชายิม อยูที่มุมถนนอิสรภาพ เขตคลองสาน ตัวอาคารสถานที่เปนตึกสองชั้น ภายในไมไดติดเคร่ืองปรับอากาศ มีอุปกรณสําหรับออกกําลังกายเพื่อบริหารกลามเนื้อสวนตางๆ ของรางกายโดยเฉพาะ มีตูล็อกเกอรสําหรับเก็บสัมภาระและของใชสวนตัวและหองน้ําสําหรับอาบน้ําไวสําหรับใหผูใชบริการหลังจากออกกําลังกายเสร็จ ผูศึกษาจะทําการศึกษากลุมตัวอยางจํานวน 6 คน โดยจํากัดเฉพาะเพศชายทั้งหมด เนื่องจากผูศึกษาคาดวาการเขามาใชบริการ ณ สถานที่ออกกําลังกายดังกลาวนาจะมีกลุมคนที่เปนเพศชายสวนใหญ โดยทําการสัมภาษณตั้งแตชวงเวลาประมาณ 10.00 น. ถึงเวลาประมาณ 15.00 น. เนื่องจากชวงเวลาดังกลาวเปนชวงที่จะมีผูมาใชบริการเปนจํานวนมาก โดยผูศึกษาจะสัมภาษณในประเด็นที่เกี่ยวของกับทัศนคติ คานิยม และมูลเหตุจูงใจตอการมาเลนเพาะกาย

นอกจากจะศึกษาเก็บขอมูลจากผูที่มาออกกําลังกายที่ สถานออกกําลังกาย ลือชายิม ผู

ศึกษายังศึกษาเก็บขอมูลโดยใชการแจกแบบสอบถามแกนักศึกษามหาลัยวิทยาลัยศิลปากรที่ไมไดเลนเพาะกาย จํานวน 50 คน แบงเปนผูชาย 25 คน และผูหญิง 25 คน และสัมภาษณอยางไมเปนทางการพรอมทั้งแจกแบบสอบถามเกี่ยวกับทัศนคติตอการเพาะกายในชวงวัยรุนของผูชายและผูหญิงที่มีอายุ 40-59 ป ที่ไมไดเลนเพาะกาย ผูชายจํานวน 10 คน และผูหญิงจํานวน 10 คน ผูชายและผูหญิงที่มีอายุ 60-70 ป ที่ไมไดเลนเพาะกาย ผูชายจํานวน 10 คน และผูหญิงจํานวน 10 คน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

16

แผนการดําเนินงานตลอดโครงการ

ระยะเวลาในการดําเนินงาน ข้ันตอนในการดําเนินการ

มิถุนายน-กันยายน 2552 คนควาหนังสือ บทความ เอกสาร ส่ือออนไลนและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ตุลาคม – พฤศจิกายน 2552 เก็บขอมูลภาคสนามโดยการสัมภาษณ

ธันวาคม 2552 – มกราคม 2553 รวบรวมขอมูลจากการสัมภาษณ และวิเคราะหขอมูล

มกราคม – กุมภาพันธ 2553 สรุปผลการศึกษาและแกไขสวนที่ตองเพิ่มเติม

สำนกัหอ

สมุดกลาง

บทท่ี 2

ผลการศึกษา

การศึกษาแจกแบบสอบถามและสัมภาษณในคร้ังนี้เพื่อตรวจสอบเกี่ยวกับทัศนคติวารูปรางที่ดีนั้นเปนอยางไร โดยผูศึกษาไดเลือกกลุมศึกษาหลายทั้งผูที่เลนและไมเลนเพาะกาย และศึกษาคนในหลายชวงอายุ เพื่อจะใหเห็นถึงการความแตกตางและการเปล่ียนแปลงของวาทกรรมในหลายชวงเวลา ซึ่งจะทําใหเราเขาใจและเห็นภาพไดวาที่จริงแลว วาทกรรม สงผลตอทัศนคติจริงหรือไม และสงผลไปถึงภาคปฏิบัติของคนดวยหรือไม

เม่ือผูศึกษาไดศึกษาเก็บและรวบรวมขอมูลภาคสนาม ดวยวิธีการการแจกแบบสอบถาม

และการสัมภาษณเจาะลึก (Indept Interview) ในกรอบการศึกษาเร่ือง “วาทกรรมกับการเพาะกาย” โดยมีขอสมมติฐานการศึกษา ดังนี้

วาทกรรมจากส่ือตางๆ เชน โทรทัศน หนังสือ นิตยสาร สงผลตอทัศนคติเกี่ยวกับรูปรางของคนทั่วไปในสังคมใหมีความคิดเห็นไปในทางเดียวกันวา รูปรางผูชายที่ดีตองมีกลามตามที่วาทกรรมสรางข้ึน จากขอสมมติฐานดังกลาว ผูศึกษาไดเลือกศึกษาจากการกลุมตัวอยางที่สามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ

1. กลุมคนที่เลนเพาะกาย ณ สถานเพาะกาย ลือชา ยิม บริเวณส่ีแยกบานแขก จํานวน 6 คน

2. กลุมคนที่ไมไดเลนเพาะกาย จํานวน 90 คน 2.1 นักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร โดยการแจกแบบสอบถาม จํานวน 50 คน

โดยแบงเปน ผูชาย 25 คน และ ผูหญิง 25 คน 2.2 กลุมคนที่มีอายุระหวาง 40 – 59 ป โดยการแจกแบบสอบถามและการ

สัมภาษณ จํานวน 20 คน โดยแบงเปน ผูชาย 10 คน และ ผูหญิง 10 คน 2.3 กลุมคนที่มีอายุระหวาง 60-70 ป โดยการแจกแบบสอบถามและการ

สัมภาษณ จํานวน 20 คน โดยแบงเปน ผูชาย 10 คน และ ผูหญิง 10 คน แบบสอบถามที่ใชในสัมภาษณคร้ังนี้ ผูศึกษาไดตั้งคําถามสวนใหญในเร่ืองของทัศนคติ

เกี่ยวกับรูปรางที่ดีและวิธีการรักษารูปรางของแตละบุคคลวาทราบมาจากแหลงใด ซึ่งแบบสอบถาม

สำนกัหอ

สมุดกลาง

18

มีจํานวนคําถามทั้งส้ิน 12 คําถาม โดยในคําถามขอที่ 1-4 เปนคําถามเกี่ยวกับขอมูลพื้นฐานของผูใหสัมภาษณ เชน เพศ, อาย,ุ การศึกษา, อาชีพ เปนตน สวนคําถามในขอที่ 5-12 จะเปนคําถามที่เกี่ยวกับทัศนคติของการเพาะกาย จากการไปแจกแบบสอบถามคําตอบที่ไดอาจจะไมครบถวนสมบูรณ แตอยางนอยก็พอทําใหเห็นถึงทัศนคติบางอยางที่แตกตางจากกลุมอ่ืนที่ไปสัมภาษณ แบบสอบถามนี้ไดนําไปสัมภาษณคนทุกกลุม แตในกรณีของนักเพาะกายผูศึกษาไมไดทําการสัมภาษณขอ 6 ในแบบสอบถาม เนื่องจากเปนที่ทราบอยูแลววานักเพาะกายไดมีการเลนเพาะกาย ขอมูลที่ไดรับจากแบบสอบถามสามารถแจกแจงไดดังนี ้ ลักษณะสัดสวนของอายุและจํานวนคน

ตารางที่ 1

ผูตอบแบบสอบถาม จํานวน / คน

นักศึกษาผูชาย* 25 นักศึกษาผูหญิง* 25 ผูชายอายุ 40-59 ป 10 ผูหญิงอายุ 40-59 ป 10 ผูชายอายุ 60-70 ป 10 ผูหญิงอายุ 60-70 ป 10 ผูชายที่เลนเพาะกาย** 6

* หมายถึง เฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังทาพระ ** หมายถึง เฉพาะผูชายที่เลนเพาะกาย ณ สถานเพาะกาย ลือชายิม บริเวณส่ีแยกบานแขก

สำนกัหอ

สมุดกลาง

19

อายุ

ตารางที่ 2

ผูตอบ

แบบสอบถาม

อายุ / ป

นอยกวา 20

20-30 31-40

41-50 51-60 61-70

นักศึกษาผูชาย* 6 (24%) 19 (76%) - - - - นักศึกษาผูหญิง* 2 (8%) 23 (92%) - - - - ผูชายอายุ 40-59 ป - - - 6 (60%) 4 (40%) - ผูหญิงอายุ 40-59ป - - - 4 (40%) 6 (60%) - ผูชายอายุ 60-70 ป - - - - - 10 (100%) ผูหญิงอายุ 60-70 ป

- - - - - 10 (100%)

นักเพาะกาย** - 2 (33.3%)

1 (16.6%)

1 (16.6%)

1 (16.6%)

1 (16.6%)

* หมายถึง เฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังทาพระ ** หมายถึง เฉพาะผูชายที่เลนเพาะกาย ณ สถานเพาะกาย ลือชา ยิม บริเวณส่ีแยกบานแขก

สำนกัหอ

สมุดกลาง

20

ระดับการศึกษา

ตารางที่ 3

ผูตอบแบบสอบถาม

การศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ปริญญาตรีหรือ

เทียบเทา สูงกวาปริญญา

ตรี นักศึกษาผูชาย* - - 25 (100%) - นักศึกษาหญิง* - - 25 (100%) - ผูชาย อายุ 40-

59 ป 4 (40%) 4 (40%) 2 (20%) -

ผูหญิง อายุ 40-59 ป

4 (40%) 3 (30%) 3 (30%) -

ผูชาย อายุ 60-70 ป

5 (50%) 4 (40%) - 1 (10%)

ผูชาย อายุ 60-70 ป

9 (90%) - 1 (10%) -

นักเพาะกาย** 2 (33.3%) - 4 (66.6%) - * หมายถึง เฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังทาพระ ** หมายถึง เฉพาะผูชายที่เลนเพาะกาย ณ สถานเพาะกาย ลือชา ยิม บริเวณส่ีแยกบานแขก

จากตารางที่ 1, 2 และ 3 แสดงใหเห็นถึงขอมูลพื้นฐานของผูตอบแบบสอบถาม ที่แสดงถึง เพศ อายุ และการศึกษา สามารถแบงออกไดเปน นักศึกษาเพศชาย จํานวน 25 คน การศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเทา จํานวน 25 คน มีอายุนอยกวา 20 ป 6 คนและอายุ 20-30 ป 19 คน , นักศึกษาเพศหญิง จํานวน 25 คน การศึกษา ปริญญาตรีเทียบเทา จํานวน 25 คน มีอายุนอยกวา 20 ป 2 คน และอายุ 20-30 ป 23 คน, ผูชายอายุระหวาง 40-59 ป จํานวน 10 คน การศึกษา ประถมศึกษา 4 คน มัธยมศึกษา จํานวน 4 คน และปริญญาตรีหรือเทียบเทา 2 คน มีอายุ 41-50 ป 6 คน และ 51-60 ป 4 คน, ผูหญิงอายุระหวาง 40-59 ปจํานวน 10 คน การศึกษาระดับชั้น

สำนกัหอ

สมุดกลาง

21

ประถมศึกษา จํานวน 4 คน ระดับชั้นชั้นมัธยมศึกษา 3 คน ระดับชั้นปริญญาตรีหรือเทียบเทา จํานวน 3 คน มีอาย ุ41-50 ป 4 คน และอายุ 51-60 ป 6 คน, ผูชายอายุระหวาง 60-70 ป จํานวน 10 คน การศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา จํานวน 5 คน ระดับชั้นมัธยมศึกษา จํานวน 4 คน สูงกวาระดับชั้นปริญญาตรี 1 คน, ผูหญิงอายุระหวาง 60-70 ป จํานวน 10 คน การศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา จํานวน 9 คน ระดับชั้นปริญญาตรีหรือเทียบเทาจํานวน 1 คน และนักเพาะกาย 6 คน การศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา 2 คน และระดับชั้นปริญญาตรี 4 คน จํานวนของผูที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 96 คน อาชีพ

ตารางที่ 4

ผูตอบแบบสอบถา

อาชีพ / คน นักศึก

ษา ราชการ พนัก

งานบริษัท

รับจางทั่วไป

คาขาย ธุรกิจสวนตัว

การ เกษตร

เกษียณหรือ ไมได

ทํางาน ผูชาย อายุ 40-59 ป

- 5 (50%)

- 4 (40%) - 1 (10%)

- -

ผูหญิง อายุ 40-59 ป

- 2 (20%)

- 3 (30%) - 3 (30%)

- 2 (20%)

ผูชาย อายุ 60-70 ป

- - - 2(20%) - - - 8 (80%)

ผูหญิง อายุ 60-70 ป

- - - 1 (10%) 2 (20%)

- 2 (20%)

5 (50%)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

22

ตารางที่ 4 (ตอ)

ผูตอบแบบ สอบถาม

อาชีพ / คน

นักศึก ษา

ราช การ

พนัก งาน

บริษัท

รับจาง ทั่วไป

คา ชาย

ธุรกิจ สวน ตัว

การ เกษตร

เกษียณหรือไมได

ทํางาน นักเพาะ

กาย* 2

(33.3%) - 2

(33.3%)

2 (33.3%)

- - - -

* หมายถึง เฉพาะผูชายที่เลนเพาะกาย ณ สถานเพาะกาย ลือชายิม บริเวณส่ีแยกบานแขก ตารางนี้ไมแสดงขอมูลในสวนของนักศึกษามหาลัยศิลปากร เนื่องจากเปนทั้งหมดมีอาชีพเปนนักศึกษา

จากตารางที่ 4 แสดงถึงอาชีพของผูตอบแบบสอบถามโดยที่ผูชาย อายุ 40-59 ป จะมีอาชีพราชการ 5 คน รับจางทั่วไป 4 คนและธุรกิจสวนตัว 1 คน ผูหญิงอายุ 40-59ป มีอาชีพรับราชการ 2 คน รับจางทั่วไปและธุรกิจสวนตัวอยางละ 3 คน เกษียณหรือไมไดทํางาน 2 คน ผูชายอายุ 60-70 ป มีอาชีพรับจางทั่วไป 2 คนและเกษียณหรือไมไดทํางาน 8 คน ผูหญิง อายุ 60-70 ป มีอาชีพรับจางทั่วไป 1 คน คาขาย 2 คน ทําการเกษตร 2 คน และเกษียณหรือไมไดทํางาน 5 คน สวนนักเพาะกาย มีอาชีพ นักศึกษา พนักงานบริษัท รับจางทั่วไป อยางละ 2 คน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

23

คําถามขอท่ี 5 ทานคิดวาผูเลนกีฬาเพาะกายมีวัตถุประสงคในการเลนเพื่อใหแข็งแรงหรือใหรูปรางดี และเพราะอะไร

ตารางที่ 5

ผูตอบแบบสอบถาม แข็งแรง / คน รูปรางดี / คน แข็งแรงและรูปรางด ี/ คน

นักศึกษาผูชาย* - 16 (64%) 9 (36%) นักศึกษาผูหญิง* - 19 (76%) 6 (24%) ผูชายอายุ 40-59 ป 4 (40%) 6 (60%) - ผูหญิงอายุ 40-59 ป 9 (90%) 1 (10%) - ผูชายอาย ุ60-70 ป 4 (40%) 5 (50%) 1 (10%) ผูหญิงอายุ 60-70 ป 4 (40%) 5 (50%) 1 (10%) นักเพาะกาย** - 6 (100%) -

* หมายถึง เฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังทาพระ ** หมายถึง เฉพาะผูชายที่เลนเพาะกาย ณ สถานเพาะกาย ลือชายิม บริเวณส่ีแยกบานแขก บทสัมภาษณ “ผูที่เลนเพาะกายคงอยากเลนเพื่อใหมีรูปรางดี เหมือนตามในหนังสือการตูนญี่ปุน เชน บากิ เปนตน” นักศึกษาหญิง ชั้นปที่ 4 อายุ 21 ป “ใหรูปรางดี เพราะกีฬาเพาะกายเหมาะสมหรับผูที่ตองการมีรูปรางดี ถาหากตองการความแข็งแรง ไมจําเปนตองเลนกีฬาเพาะกาย” นักศึกษาหญิง ชั้นปที่ 4 อายุ 21 ป “รูปรางดี เพราะอยากใหสวยงามเปนจุดเดนและเปนที่สนใจของผูอ่ืน” ผูชาย อายุ 40 ป “แข็งแรง เพราะ รักษาสุขภาพ โรคภัยไขเจ็บจะไดไมมี” ผูหญิง อายุ 52 ป

สำนกัหอ

สมุดกลาง

24

จากตารางที่ 5 สรุปผลเร่ืองความคิดเห็นวาผูที่ไปเลนเพาะกายเลนเพื่อใหรูปรางดีหรือแข็งแรง นักศึกษาผูชายคิดเห็นวาเลนเพื่อใหแข็งแรง 9 คน และเพื่อรูปรางดี 16 คน นักศึกษาผูหญิงคิดเห็นวาเลนใหรูปรางดี 19 คน เลนเพื่อแข็งแรงและรูปรางดี 6 คน ผูชายอายุ 40-59 ป คิดเห็นวาเลนเพื่อใหแข็งแรง 4 คน เลนเพื่อใหรูปรางดี 6 คน ผูหญิงอายุ 40-59 ป คิดเห็นวาเลนเพื่อใหแข็งแรง 9 คน เลนเพื่อใหรูปรางดี 1 คน สวนผูชายอายุ 60-70 ป คิดเห็นวาเลนใหแข็งแรง 4 คน เลนเพื่อใหรูปรางดี 5 คน เลนเพื่อใหแข็งแรงและรูปรางดี 1คน ผูหญิงอายุ 60-70 ป คิดเห็นเทากับผูชายอายุ 60-70 ป นักเพาะกายคิดเห็นวาคนที่มาเลนมาเลนเพื่อรูปรางดี 6 คน นักศึกษาผูชายและผูหญิงสวนใหญจะคิดวาผูเลนเพาะกายเลนเพื่อใหรูปรางดี สวนผูที่มาอายุ 40-59 ป และ 60-70 ป จะคิดวาผูเลนเพาะกายเลนเพื่อใหรูปรางดีหรือแข็งแรงในอัตราสวนใกลเคียงกัน มีแตผูหญิงอายุ 40-59 ป ที่คิดวาผูเลนเพาะกายสวนใหญจะเลนเพื่อใหรางกายแข็งแรง และนักเพาะกายจะมองคนที่มาเลนเพาะกายไปในทิศทางเดียวกันหมดจากการสัมภาษณคือเลนเพื่อใหรูปรางดี คําถามขอท่ี 6 ทานมีความคิดจะเลนเพาะกายหรือไม และเพราะอะไร ตารางน้ีจะไมแสดงขอมูลของนักเพาะกายเพราะนักเพาะกายก็เลนเพาะกายทุกคนอยูแลว

ตารางที่ 6

ผูตอบแบบสอบถาม

เลนเพาะกาย ไมเลนเพาะกาย

นักศึกษาผูชาย* 9 (36%) 16 (64%) นักศึกษาผูหญิง* - 25 (100%)

ผูชายอายุ 40-59 ป 3 (30%) 7 (70%) ผูหญิงอายุ 40-59 ป - 10 (100%) ผูชายอายุ 60-70 ป 4 (40%) 6 (60%) ผูหญิงอายุ 60-70 ป - 10 (100%)

* หมายถึง เฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังทาพระ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

25

บทสัมภาษณ “ไม เพราะจะทําใหรางกายไมสูง มีกลามควรมีแบบพอดีๆ ขยับเคล่ือนไหวรางกายไดอยางคลองแคลว” นักศึกษาหญิง ชั้นปที่ 4 อายุ 22 ป

“ไมมีความคิดเลยแมแตนอย โดยสวนตัวผมคิดวาถึงไมตองมีรูปรางเหมือนนักเพาะกาย ก็มีสุขภาพดีและแข็งแรงได” นักศึกษาชาย ชั้นปที่ 3 อายุ 21 ป “เคยมีบาง เพื่อใหรางกายแข็งแรง และกระชับสัดสวน แตไมอยากใหมีกลามใหญโตเกินไป” นักศึกษาชาย ชั้นปที่ 2 อายุ 19 ป

“เลน อยากใหมีกลาม เพราะเปนคนผอม” ผูชาย อายุ 67 ป

ตารางที่ 6 ทานมีความคิดจะเลนเพาะกายหรือไม นักศึกษาผูชาย คิดจะเลนเพาะกาย 9 คน และไมคิดเลนเพาะกาย 16 คน ผูชายอายุ 40-59 ป คิดจะเลนเพาะกาย 3 คน และไมจะคิดเลนเพาะกาย 7 คน ผูชายอายุ 60-70 ป คิดจะเลนเพาะกาย 4 คน และไมคิดเลนเพาะกาย 6 คน สวนนักศึกษาผูหญิง ผูหญิงอายุ 40-59 ป และผูหญิงอายุ 60-70 ป ไมมีความคิดจะเลนเพาะกายแมแตคนเดียว คําตอบของสวนใหญในคําถามขอนี้ คือ ผูตอบแบบสอบถามจะไมคิดเลนเพาะกาย มีสวนนอยที่คิดจะเลนเพาะกายและเปนผูชายทั้งส้ิน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

26

คําถามขอท่ี 7 ทานคิดวารางกายผูชายท่ีมีรูปรางดี มีลักษณะอยางไร

ตารางที่ 7

* หมายถึง เฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังทาพระ ** หมายถึง เฉพาะผูชายที่เลนเพาะกาย ณ สถานเพาะกาย ลือชา ยิม บริเวณส่ีแยกบานแขก

ผูตอบแบบสอบถาม

สูง ผอม สมสวน อวนเล็กนอย

มีกลามเฉพาะสวน

มีกลามเล็กนอย

มีกลามเยอะ

นักศึกษาผูชาย*

5 (15.15%)

5 (15.15%)

7 (21.2%)

1 (3.03%)

3 (9.09%)

9 (27.7%)

3 (9.09%)

นักศึกษาผูหญิง*

9 (21.95%)

10 (24.93%)

9 (21.95%)

- 2 (4.88%)

10 (24.39%)

1 (2.44%)

ผูชายอาย ุ40-59 ป

7 (33.33%)

- 4 (19.05%)

- - 9 (42.86%)

1 (4.76%)

ผูหญิงอายุ 40-59 ป

10 (37.04%)

- 9 (33.33%)

- - 8 (29.63%)

-

ผูชายอาย ุ60-70 ป

7 (43.75%)

- 4 (25%) - - 5 (31.25%)

-

ผูหญิงอายุ 60-70 ป

9 (45%) 1 (5%) 6 (30%) - - 3 (15%) 1 (5%)

นักเพาะกาย**

3 (20%) - 6 (40%) - - 3 (20%) 3 (20%)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

27

บทสัมภาษณ “ไมอวนหรือไมผอมจนเกินไป มีหุนรูปรางที่พอดีกับขนาดตัว” นักศึกษาชาย ชั้นปที่ 3 อายุ 20 ป

“ลักษณะสมสวน ไมมีสวนใดสวนหนึ่งของรางกายเปนจุดเดนจนเกินไป” นักศึกษาชาย ชั้นปที่ 2 อายุ 20 ป

“อยากมีหุนแบบ เรน (ดารานักรองชาวเกาหลี) แคพอมีกลามพอสมควร ไมถึงขนาดนักเพาะกาย” ผูชาย นักเพาะกาย อายุ 22 ป

“สูง มีกลามเล็กนอย เวลาใสเส้ือผาจะไดดูดี มีสวนนูน สวนเวา” ผูชาย นักเพาะกาย อายุ 24 ป

ตารางที่ 7 ลักษณะรางกายผูชายที่มีรูปรางดีนั้นนักศึกษาผูชายบอกวา ควรสูง 5 คน ผอม 5 คน สมสวน 7 คน อวนเล็กนอย 1 คน มีกลามเฉพาะสวน 3 คน มีกลามเล็กนอย 9คนและมีกลามเยอะ 3 คน นักศึกษาผูหญิงคิดเห็นวาลักษณะผูชายที่รูปรางดีควรจะ สูง 9 คน ผอม 10 คน สมสวน 9 คน มีกลามเฉพาะสวน 2 คน มีกลามเล็กนอย 10 คน มีกลามเยอะ 1 คน ผูชายอายุ 40-59 ป คิดเห็นวาลักษณะผูชายที่รูปรางดีควรจะ สูง 7 คน สมสวน 4 คน มีกลามเล็กนอย 9 คนและมีกลามเยอะ 1 คน ผูหญิงอายุ 40-59 ปคิดเห็นวาลักษณะรูปรางที่ดีของผูชายควร สูง 10 คน สมสวน 9 คน มีกลามเล็กนอย 8 คน ผูชายอายุ 60-70 ป คิดเห็นวาผูชายรูปรางดีควรจะ สูง 7 คน สมสวน 4 คน มีกลามเล็กนอย 5 คน ผูหญิงอายุ 60-70 ป คิดเห็นวาผูชายรูปรางดีควรจะสูง 9 คน ผอม 1 คน สมสวน 6 คน มีกลามเล็กนอย 3 คน และมีกลามเยอะ 1 คน สวนนักเพาะกายนั้นมองรูปรางผูชายรูปรางดีควรจะสูง 3 คน สมสวน 6 คน มีกลามเล็กนอย 3 คนและมีกลามเยอะ 3 คน

นักศึกษาผูชายสวนใหญจะคิดวารูปรางผูชายที่ดีควรสมสวนและมีกลามเล็กนอย

นักศึกษาผูหญิงจะชอบรูปรางผูชายแบบ สูง ผอม สมสวนหรือมีกลามเล็กนอย แตในผูชายและผูหญิงที่มีอายุ 40-59 ป และ 60-70 ป จะเห็นวาผูชายผอมคือรูปรางที่ไมดี รูปรางผูชายที่ดีควรจะ สูง สมสวนและมีกลามเล็กนอย

สำนกัหอ

สมุดกลาง

28

คําถามขอท่ี 8 ทานคิดวาผูหญิงท่ีเลนเพาะกาย มีกลาม เปนผูหญิงท่ีรูปรางดีหรือไม เพราะอะไร

ตารางที่ 8

ผูตอบแบบสอบถาม รูปรางดี รูปรางไมดี

นักศึกษาผูชาย* 8 (32%) 17 (68%) นักศึกษาผูหญิง* 11 (44%) 14 (56%)

ผูชายอายุ 40-59 ป 2 (20%) 8 (80%) ผูหญิงอายุ 40-59 ป - 10 (100%) ผูชายอายุ 60-70 ป 2 (20%) 8 (80%) ผูหญิงอายุ 60-70 ป - 10 (100%)

นักเพาะกาย** 5 (83.3) 1 (16.6) * หมายถึง เฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังทาพระ ** หมายถึง เฉพาะผูชายที่เลนเพาะกาย ณ สถานเพาะกาย ลือชา ยิม บริเวณส่ีแยกบานแขก บทสัมภาษณ

“ไมสวยงาม ดูนาเกลียด ผูหญิงไมควรมีกลาม ควรหุน เพรียว สูงมากกวา” ผูหญิง อายุ 59 ป

“แลวแตความคิด ถาคิดในแงของคนในวงการเพาะกาย อาจมองวาสวย แตสําหรับขาพเจานั้น มองวาไมสวย เพราะผูหญิงที่มีกลามนั้น มองดูไมคอยเปนผูหญิง” นักศึกษาชาย ชั้นปที่ 4 อายุ 22 ป

“ผูหญิงควรจะสูง สมสวน ไมมีกลาม” ผูชาย อายุ 54 ป

“มีกลามนิดหนอยดี แบบเพาะกายไมดีดูนาเกลียด” ผูชาย นักเพาะกาย อายุ 65 ป

สำนกัหอ

สมุดกลาง

29

ตารางที่ 8 สรุปผลการศึกษาไดวา ผูหญิงที่เลนเพาะกาย มีกลาม เปนผูหญิงรูปรางดีหรือไม นักศึกษาผูชายเห็นวารูปรางดี 8 คน รูปรางไมดี 17 คน นักศึกษาผูหญิงคิดเห็นวาผูหญิงเลนเพาะกายรูปรางดี 11 คน รูปรางไมดี 14 คน ผูชายอายุ 40-59 ป คิดเห็นวาผูหญิงเลนเพาะกายรูปรางดี 2 คน รูปรางไมดี 8 คน ผูชาย อายุ 60-70 ปคิดเห็นวาผูหญิงเลนเพาะกายรูปรางดี 2 คน รูปรางไมดี 8 คน ผูหญิงอายุ 40-59 ป และผูหญิงอายุ 60-70 ป คิดเห็นเทากันอยางละ 10 คน วาผูหญิงเพาะกายรูปรางไมดี สวนของนักเพาะกายกลับมองแตกตางจากผูที่ไมเลนเพาะกายพอสมควร โดยนักเพาะกายมองวาผูหญิงเลนเพาะกายรูปรางดี 5 คน และรูปรางไมดี 1 คน สวนใหญของผูตอบแบบสอบถามจะมองวาผูหญิงเลนเพาะกายเปนผูหญิงที่มีรูปรางไมดี มีเพียงนักเพาะกายเทานั้นที่เห็นวาผูหญิงเลนเพาะกายมีรูปรางดีมากกวาจะรูปรางไมดี คําถามขอท่ี 9 ใครคือดารา นักรองผูชายและผูหญิงท่ีทานเห็นวาหุนดี เพราะอะไร

ตารางที่แสดงตอไปนี้ เนื่องจากกลุมผูตอบแบบสอบถามบางกลุมตอบดารานักรองที่ชอบกระจัดกระจาย ผูศึกษาจึงขอใสขอมูลดารานักรองที่มีคนตอบมากสุด 5 อันดับ

ตารางที่ 9.1

ผูตอบแบบสอบถาม

ดารา นักรองผูชาย อธิชาติ ชุม

นานนท (อ้ัม) ธีรเดช วงพัวพันธ (เคน)

อนันดา เอเวอรร่ิงแฮม

ปกรณ ลัม (โดม) และ

เรน

อารโนล ชวาสเนกเกอร

นักศึกษาผูชาย* 4 (16%) 3 (12%) 3 (12%) 2 (8%) 2 (8%)

ตารางที่ 9.2

ผูตอบแบบสอบถาม

ดารา นักรองผูหญิง พัชรภา ไชยเชื้อ (อ้ัม)

ศุภักษร ไชยมงคล

(กระแต)

อัฐมา ชีวนิชพันธ (โบว่ี)

วิริฒิพา ภักดีประสงค (วุน

เสน)

อารยา เอฮารเก็ต (ชมพู)

นักศึกษาผูชาย* 6 (24%) 2 (8%) 1 (4%) 1 (4%) 1 (4%)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

30

ตารางที่ 9.3

ผูตอบ

แบบสอบถาม ดารา นักรองผูชาย

ปกรณ ลัม (โดม)

ธีรเดช วงพัวพันธ (เคน)

อธิชาติ ชุมนานนท (อ้ัม)

อนันดา เอเวอรร่ิงแฮม

สุกฤษฎ์ิ วิเศษแกว (บี๋)

นักศึกษาผูหญิง* 7 (28%) 6 (24%) 5 (20%) 4 (16%) 1 (4%)

ตารางที่ 9.4

ผูตอบแบบสอบถาม

ดารา นักรองผูหญิง พัชรภา ไชยเชื้อ (อ้ัม)

เขมนิจ จามิกรณ (แพน

เคก)

วรนุช วงษสวรรค (นุน)

ปานวาด เหมมณี (เปย)

อารยา เอฮารเก็ต (ชมพู)

นักศึกษาผูหญิง* 7 (28%) 2 (8%) 1 (4%) 1 (4%) 1 (4%) * หมายถึง เฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังทาพระ ** หมายถึง เฉพาะผูชายที่เลนเพาะกาย ณ สถานเพาะกาย ลือชา ยิม บริเวณส่ีแยกบานแขก

สำนกัหอ

สมุดกลาง

31

ตารางที่ 9.5

ผูตอบแบบสอบถาม

ดารา นักรองผูชาย สมบัติ เมทน ี มิตรชัย

บัญชา สรพงศ ชาตรี ไพโรจน สัง

วริยบุตร สันติสุข พรหมศิริ

ผูชายอาย ุ40-59 ป

5 (50%) 2 (20%) - 1 (10%) -

ผูหญิงอาย ุ40-59 ป

2 (20%) 4 (40%) 1 (10%) - 1 (10%)

ผูชายอาย ุ60-70 ป

4 (40%) 6 (60%) - - -

ผูหญิงอาย ุ60-70 ป

5 (50%) 5 (50%) - - -

ตารางที่ 9.6

ผูตอบ

แบบสอบถาม ดารา นักรองผูหญิง

อรัญญา นามวงศ

เพชรา เชาวราษฎร

สุพรรษา เนื่องภิรมย

จินตรา สุขพัฒน

สินจัย เปลง

พาณิชย ผูชายอาย ุ40-59 ป

5 (50%) 1 (10%) - - -

ผูหญิงอาย ุ40-59 ป

4 (40%) 3 (30%) 1 (10%) 1 (10%) 1 (10%)

ผูชายอาย ุ60-70 ป

1 (10%) 9 (90%) - - -

ผูหญิงอาย ุ60-70 ป

4 (40%) 4 (40%) - - -

สำนกัหอ

สมุดกลาง

32

ตารางที่ 9.7

ผูตอบแบบสอบถาม

ดารานักรองผูชาย ดารานักรองผูหญิง อารโนล ชวาสเนกเกอร

เรน อัฐมา ชีวนิชพันธ (โบว่ี)

เมทินี กิ่งโพยม (ลูก

เกด)

พัชรภา ไชยเชื้อ

(อ้ัม) นักเพาะกาย* 5 (83.3%) 1 (16.6%) 3 (50%) 2 (33.3%) 1 (16.6%)

* หมายถึง เฉพาะผูชายที่เลนเพาะกาย ณ สถานเพาะกาย ลือชายิม บริเวณส่ีแยกบานแขก บทสัมภาษณ

“ดาราชายที่หุนดี คือ พี่โดม ปกรณ ลัม เพราะสมสวน มีกลามเนื้อกําลังดี ขาวดวย ดาราหญิงที่หุนดี คือ เคท แบลคลินเซล เพราะรูปรางไดสัดสวน หนาอก เอว สะโพกกําลังดี พอเหมาะกับความสูงของเธอ” นักศึกษาหญิง ชั้นปที่ 4 อายุ 21 ป

“ผูชาย เคน ธีรเดช เพราะมีกลามเล็กนอยพอประมาณ ผูหญิง อ้ัม พัชราภา ไชยเชื้อ เพราะหุนมีสวนเวาสวนโคง” นักศึกษาชาย ชั้นปที่ 4 อายุ 22 ป

“สมบัติ เพราะมีกลามเนื้อ ลํ่าสัน อยากมีหุนแบบสมบัติ ดูแลวดีคนอ่ืนก็ชอบ ฝายหญิง อรัญญา นามวงศ ไมอวนไมผอมจนเกินไป หุนเพรียว” ผูชาย อายุ 58 ป

“ดาราชาย สุริยา ชินพันธ เพราะ ไมมีกลามดูผอมหนอย ดาราหญิง สินจัย เปลงพานิช เพราะหุนพอเหมาะ ไมอวน ตัวเล็ก” ผูหญิง อายุ 59 ป

ตารางที่ 9.1-9.7 สามารถแยกดารานักรองที่มีคนตอบมากที่สุดไดดังนี้ ดารานักรองผูชายที่นักศึกษาชายตอบมากที่สุด 5 อันดับ คือ อธิชาติ ชุมนานนท 4 คน ธีรเดช วงพัวพันธ 3 คน อนันดา เอเวอรร่ิงแฮม 3 คน ปกรณ ลัมและเรน อยางละ 2 คน อารโนล ชวาสเนกเกอร 2 คน ดารนักรองผูหญิงที่นักศึกษาชายตอบมากที่สุด 5 อันดับ คือ พัชรภา ไชยเชื้อ 6 คน ศุภักษร ไชยมงคล 2 คน อัฐมา ชีวนิชพันธ วิริฒิพา ภักดีประสงค และอารยา เอฮารเกต อยางละ 1 คนเทากัน ดารานักรองผูชายที่นักศึกษาผูหญิงตอบมากที่สุด 5 อันดับ คือ ปกรณ ลัม 7 คน ธีรเดช วงพัวพันธ 6 คน อธิ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

33

ชาติ ชุมนานนท 5 คน อนันดา เอเวอรร่ิงแฮม 4 คน สุกฤษฏ์ิ วิเศษแกว 1 คน ดารานักรองผูหญิงที่นักศึกษาหญิงตอบมากที่สุด 5 อันดับ คือ พัชรภา ไชยเชื้อ 7 คน เขมนิจ จามิกรณ 2 คน วรนุช วงสวรรค ปานวาด เหมมณี และอารยา เอฮารเก็ต อยางละ 1 คน เทากัน

ดารานักรองผูชายที่มีผูชายอายุ 40-59 ป ตอบมากที่สุด คือ สมบัติ เมทนี 5 คน มิตรชัย

บัญชา 2 คน ผูหญิงอายุ 40-59 ปตอบ สมบัติ เมทนี 2 คน มิตรชัย บัญชา 4 คน ผูชาอายุ 60-70 ป ตอบดารานักรองที่มีรูปรางดีมากที่สุด คือ มิตรชัย บัญชา 6 คน และสมบัติ เมทนี 4 คน สวนผูหญิงอายุ 60-70 ป ตอบ สมบัติ เมทนี และ มิตรชัย บัญชา อยางละ 5 คนเทากัน ดารานักรองผูหญิงที่ผูชายอายุ 40-59 ป ตอบมากที่สุด คือ อรัญญา นามวงศ 5 คน ผูหญิงอายุ 40-59 ป ตอบ อรัญญา นามวงศ 4 คน และ เพชรา เชาวราษฎร 3 คน ผูชายอายุ 60-70 ป ตอบดารานักรองหญิงที่รูปรางดี คือ เพชรา เชาวราษฎร 9 คน และอรัญญา นามวงศ 1 คน สวนผูหญิงอายุ 60-70 ป ตอบอรัญญา นามวงศ และเพชรา เชาวราษฎร จํานวนเทากัน 4 คน ในสวนของนักเพาะกายมองวา อารโนล ชวาสเนกเกอร เปนผูชายรูปรางดี 5 คน และเรน 1 คน ดารานักรองผูหญิงที่นักเพาะกายตอบมากที่สุด คือ อัฐมา ชีวนิชพันธ 3 คน เมทินี กิ่งโพยม 2 คน และพัชรภา ไชยเชื้อ 1 คน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

34

คําถามขอท่ี 10 ทานคิดวามีวิธีใดบางท่ีจะรักษารูปรางใหมีหุนดี และทานทราบวิธีน้ันมาจากท่ีใด

ตารางที่ 10.1

ผูตอบแบบสอบถาม วิธีรักษารูปรางใหมีหุนด ี

ออกกําลังกาย กินอาหารที่มีประโยชน

ควบคุมอาหาร

นักศึกษาผูชาย* 23 (57.50%) 7 (17.50%) 10 (25%) นักศึกษาผูหญิง* 20 (52.63%) 5 (13.15%) 13 (34.21%)

ผูชาย อายุ 40-59 ป 10 (58.82%) 4 (23.53%) 3 (17.65%) ผูหญิง อาย ุ40-59 ป 10 (43.48%) 7 (30.43%) 6 (26.09%) ผูชาย อายุ 60-70 ป 10 (52.63%) 5 (26.32%) 4 (21.05%) ผูหญิง อายุ 60-70 ป 8 (47.06%) 4 (23.53%) 5 (29.41%)

นักเพาะกาย** 6 (33.33%) 6 (33.33%) 6 (33.33%) * หมายถึง เฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังทาพระ ** หมายถึง เฉพาะผูชายที่เลนเพาะกาย ณ สถานเพาะกาย ลือชายิม บริเวณส่ีแยกบานแขก

สำนกัหอ

สมุดกลาง

35

ตารางที่ 10.2

ผูตอบ

แบบสอบถาม ส่ือตางๆ เชน

โทรทัศน, วิทยุ ,

หนังสือ

คนรอบขาง โรงเรียน ประสบการณตรง

แพทย

นักศึกษาผูชาย*

6 (33.33%) 9 (50%) 1 (5.56%) 2 (11.11%) -

นักศึกษาผูหญิง*

9 (52.94%) 4 (23.53%) 3 (17.65%) - 1 (5.88%)

ผูชาย อายุ 40-59 ป

10 (66.67) 3 (20%) 1 (6.67%) - 1 (6.67%)

ผูหญิง อายุ 40-59ป

3 (25%) 3 (25%) 4 (33.33%) 1 (8.33%) 1 (8.33%)

ผูชายอายุ 60-70 ป

3 (25%) 3 (25%) 4 (33.33%) 1 (8.33%) 1 (8.33%)

ผูหญิงอาย ุ60-70 ป

3 (25%) 2 (16.67%) 2 (16.67%) 4 (33.33%) 1 (8.33%)

นักเพาะกาย** 6 (40%) 4 (26.67%) 4 (26.67%) 1 (6.67%) - * หมายถึง เฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังทาพระ ** หมายถึง เฉพาะผูชายที่เลนเพาะกาย ณ สถานเพาะกาย ลือชา ยิม บริเวณส่ีแยกบานแขก บทสัมภาษณ

“ควบคุมปริมาณและประเภทของอาหาร ออกกําลังกายอยางเปนประจําสมํ่าเสมอ ทราบจากส่ือตางๆ” นักศึกษาหญิง ชั้นปที่ 4 อายุ 21 ป

สำนกัหอ

สมุดกลาง

36

“ดื่มน้ําเยอะๆ รับประทานอาหารที่ไมมีไขมันหรือไขมันต่ํา ผักสด ผลไม และออกกําลังกาควบคูกันไป ทราบวิธีนี้มาจากคําแนะนําของแพทยและดารา นักรองที่รักษาสุขภาพและรูปรางดี” นักศึกษาหญิง ชั้นปที่ 4 อายุ 21 ป “ออกกําลังกายทุกเย็น รับประทานอาหารที่มีประโยชน ดื่มน้ําสะอาด ทราบมาจากคุณครูที่สอนสมัยตอนเด็ก” ผูหญิง อายุ 64 ป “ออกกําลังกายสมํ่าเสมอ พยายามกินอาหารใหครบ 5 หมู ไมกินของมัน” ผูชาย นักเพาะกาย อายุ 31 ป

ตารางที่ 10.1-10.2 วิธีรักษารูปรางใหมีรูปรางที่ดีนั้นมีอยู 3 วิธีหลัก คือ ออกกําลังกาย โดยนักศึกษาผูชายตอบวิธีนี้ 23 คน นักศึกษาผูหญิงตอบ 23 คน ผูชายและหญิงอายุ 40-59 ปและผูชายอายุ 60-70 ป ตอบ วิธีนี้อยางละ 10 คน ผูหญิงอายุ 60-70 ปตอบ 8 คน และนักเพาะกายตอบ 6 คน วิธีที่ 2 ที่จะรักษารูปรางใหดี คือ กินอาหารที่มีประโยชน โดยนักศึกษาผูชายและผูหญิงตอบอยางละ 7 คน ผูชายอายุ 40-59 ปตอบ 4 คน ผูหญิงอายุ 40-59 ป ตอบ 7 คน ผูชายอายุ 60-70 ป ตอบ 5 คน ผูหญิงอายุ 60-70 ป ตอบ 4 คนและนักเพาะกายตอบวิธีนี้ 6 คน วิธีที่ 3 ที่ทําใหรูปรางดี คือ ควบคุมอาหาร โดยนักศึกษาผูชายและผูหญิงตอบเทากันอยางละ 10 คน ผูชายอายุ 40-59 ป ตอบ 3 คน ผูหญิงอายุ 40-59 ปตอบ 6 คน ผูชายอายุ 60-70 ปตอบ 4 คน ผูหญิงอายุ 60-70 ปตอบวิธีนี้ 5 คนและนักเพาะกายตอบ 6 คน

แหลงที่มาของวิธีการรักษารูปรางใหดีนั้นมีอยู 5 แหลงหลักๆ คือ ส่ือตางๆ เชน โทรทัศน , วิทยุ , หนังสือ โดยมีนักศึกษาชายทราบจากแหลงขอมูลนี้ 6 คน นักศึกษาหญิง 9 คน ผูชายอายุ 40-59 ป 10 คน ผูหญิงอายุ 40-59 ป 3 คน ผูชายและผูหญิงอายุ 60-70 ป อยางละ 3 คน และนักเพาะกาย 6 คน แหลงที่มาที่ 2 คือ คนรอบขาง นักศึกษาชายทราบวิธีรักษารูปรางมาจากแหลงนี้ 9 คน นักศึกษาหญิง 4 คน ผูชายและผูหญิงอายุ 40-59 ป อยางละ 3 คน ผูชายอายุ 60-70 ป 3 คน ผูหญิงอายุ 60-70 ป 2 คน และนักเพาะกาย 4 คน แหลงที่มาที่ 3 ของวิธีการรักษารูปรางใหดี คือ โรงเรียน นักศึกษาชายทราบมาจากโรงเรียน 1 คน นักศึกษาผูหญิง 3 คน ผูชายอายุ 40-59 ป1 คน ผูหญิงอายุ 40-59 ปและผูชายอายุ 60-70ป อยางละ 4 คน ผูหญิงอายุ 60-70 ป 2 คน และนักเพาะกาย 4 คน แหลงที่มาที่ 4 ของวิธีการรักษารูปรางใหดี คือ จากประสบการณตรง มีนักศึกษาผูชายตอบ 2 คน ไมมีนักศึกษาผูหญิงและผูชายอายุ 40-59 ป ตอบขอนี้ ผูหญิงอายุ 40-59 ปและผูชายอายุ 60-70ป ตอบอยางละ 1 คน ผูหญิงอายุ 60-70 ปตอบ 4 คน และนักเพาะกายตอบ 1 คน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

37

แหลงที่มาสุดทายคือทราบมาจาก แพทย โดยนักศึกษาผูชายไมมีคนตอบวาทราบมาจากแพทยเลย สวนนักศึกษาผูหญิง ผูชายและผูหญิงอายุ 40-59 ป ผูชายและผูหญิงอายุ 60-70 ป ทราบจากแพทยอยางละ 1 คนเทากัน สวนนักเพาะกายไมมีใครทราบจากแพทยแมแตคนเดียว วิธีออกกําลังกายเปนวิธีทีมี่ผูตอบแบบสอบถามมากที่สุด สวนแหลงที่ทราบวิธีรักษารูปรางใหดี สวนใหญก็ทราบจากส่ือตางๆ เชน โทรทัศน , วิทยุ , หนังสือ และโรงเรียน มีนักศึกษาชายที่จะทราบมาจากคนรอบขางมากกวาส่ือตางๆ แตโดยสวนใหญแลวแหลงที่ใหความรูเร่ืองการรักษารูปรางใหดีก็จะมาจาก 2 แหลง คือ

1. ส่ือตางๆ 2. โรงเรียน

คําถามขอท่ี 11 ทานไดนําวิธีดังกลาวมาปฏิบัติกับตัวทานเองหรือไม

ตารางที่ 11 ผูตอบแบบสอบถาม ปฏิบัติ ไมปฏิบัติ

นักศึกษาผูชาย* 20 (80%) 5 (20%) นักศึกษาผูหญิง* 16 (64%) 9 (36%) ผูชายอายุ 40-59 ป 8 (80%) 2 (20%) ผูหญิงอายุ 40-59 ป 10 (100%) - ผูชายอายุ 60-70 ป 10 (100%) - ผูหญิงอายุ 60-70 ป 9 (90%) 1 (10%) นักเพาะกาย** 6 (100%) -

* หมายถึง เฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังทาพระ ** หมายถึง เฉพาะผูชายที่เลนเพาะกาย ณ สถานเพาะกาย ลือชา ยิม บริเวณส่ีแยกบานแขก

สำนกัหอ

สมุดกลาง

38

บทสัมภาษณ “ไมเคยนํามาใช เคยแตกินยาลดความอวน ตอนอายุ 15 ตอนนั้นอวนและไมออกกําลัง

กาย แตก็อยากหุนดี กินไดสักพักก็หยุด“ ผูหญิง อายุ 58 ป “ทําบางเล็กนอย แตทําไดไมกี่ วัน ที่ทําก็ไดแก ออกกําลังกาย และควบคุมอาหาร” นักศึกษาชาย ชั้นปที่4 อายุ 22 ป “ทําแตไมบอย ถามีเวลาก็จะทํา” ผูชาย อายุ 50 ป จากตารางที่ 11 แสดงถึงภาคปฏิบัติของผูตอบแบบสอบถามวามีการนําวิธีของการรักษารูปรางใหดี มาปฏิบัติกับตนเองหรือไม นักศึกษาผูชาย 20 คน นํามาปฏิบัติ อีก 5 คน ไมไดนํามาปฏิบัติ นักศึกษาผูหญิงนํามาปฏิบัติ 16 คน และไมไดนํามาปฏิบัติ 9 คน ผูชายอายุ 40-59 ป นําวิธีดังกลาวมาปฏิบัติ 8 คน และไมไดนํามาปฏิบัติ 2 คน ผูหญิงอายุ 40-59 ปและผูชายอายุ 60-70 ปฏิบัติอยางละ 10 คน ผูหญิงอายุ 60-70 ป นํามาปฏิบัติ 9 คนและไมไดปฏิบัติ 1 คน สวนนักเพาะกายนํามาปฏิบัติ 6 คน ไมมีคนใดที่ไมนํามาปฏิบัติ โดยสวนใหญแลวผูตอบแบบสอบถามจะนําวิธีรักษารูปรางใหหุนดีที่ตนเองทราบ นํามาปฏิบัติกับตัวเอง แตอาจจะบอยคร้ังหรือไมก็ข้ึนอยูกับแตละบุคคล

สำนกัหอ

สมุดกลาง

39

คําถามขอท่ี 12 ถาใหทานเลือกรูปรางของผูชายท่ีหุนดี ทานคิดวาควรมีรางกายแบบใด เลือกไดเพียง 1 ขอ เทาน้ันและเพราะอะไร

ภาพที่ 1 แสดงภาพถายของ นายแบบชาวตางชาติ ภาพที่ 2 แสดงภาพถายของ Cristiano Ronaldo

1 2

ภาพที่ 3 แสดงภาพถายของ มาริโอ เมาเรอ ภาพที่ 4 แสดงภาพถายของ

อารโนล ชวาสเนกเกอร 3 4

สำนกัหอ

สมุดกลาง

40

ตารางที่ 12

ผูตอบแบบสอบถาม หมายเลข 1 หมายเลข 2 หมายเลข 3 หมายเลข 4

นักศึกษาผูชาย* 12 (48%) 7 (28%) 5 (20%) 1 (4%) นักศึกษาผูหญิง* 6 (24%) 2 (8%) 17 (68%) -

ผูชาย อายุ 40-59ป 9 (90%) - - 1 (10%) ผูหญิง อายุ 40-59 ป 5 (50%) - 5 (50%) - ผูชาย อายุ 60-70 ป 6 (60%) 1 3 (30%) - ผูหญิง อายุ 60-70 ป 3 (30%) - 7 (70%) -

นักเพาะกาย** 3 (50%) - - 3 (50%) * หมายถึง เฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวังทาพระ ** หมายถึง เฉพาะผูชายที่เลนเพาะกาย ณ สถานเพาะกาย ลือชา ยิม บริเวณส่ีแยกบานแขก บทสัมภาษณ

“เลือกภาพที่ 2 เพราะเฟรมกําลังดีไมมากไมนอยไป ภาพที่ 1 ก็ดี แตภาพที่ 3 และภาพที่ 4 แหงไปกับมากไป” นักศึกษาชาย ชั้นปที่ 5 อายุ 23 ป “ภาพที่ 1 เพราะไมลํ่าเกินไป สวนภาพที่ 2 และ 3 แหงๆไป แบบภาพที่ 4 ก็ไมไหว สมัยนั้น ถามีกลามจะดูนาชื่นชมมากกวาไมมีกลาม เพราะสมบัติ ดารา ทําใหภาพการมีกลามดูดี ” ผูชาย อายุ 58 ป “ภาพที่ 4 กลามชัดเจนดี ดูแลวสงา ภาพที่ 3 ผอมเกินไป” สถาพร อายุ 31 ป

จากตารางที่ 12 จํานวนผูที่เลือกรูปรางผูชายที่รูปรางดี คือ หมายเลข 1 มีดังนี้ นักศึกษาผูชายเลือก 12 คน นักศึกษาผูหญิงเลือก 6 คน ผูชายอายุ 40-59 ป เลือก 9 คน ผูหญิงอายุ 40-59 ปเลือก 5 คน ผูชายอายุ 60-70 ปเลือก 6 คน ผูหญิงอายุ 60-70 ป เลือก 3 คนและนักเพาะกายเลือก 3 คน รูปภาพหมายเลขมีผูเลือกดังนี้ นักศึกษาผูชายเลือก 7 คน นักศึกษาผูหญิงเลือก 2 คน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

41

และผูชายอายุ 60-70 ป เลือก 1 คน รูปภาพหมายเลข 3 มีคนเลือกดังนี้ นักศึกษาผูชายเลือก 5 คน นักศึกษาผูหญิงเลือก 17 คน ผูหญิงอายุ 40-59 ปเลือก 5 คน ผูชายอายุ 60-70 ป เลือก 3 คน และผูหญิงอายุ 60-70 ป เลือก 7 คน รูปภาพสุดทายหมายเลข 4 นักศึกษาผูชายและผูชายอายุ 40-59 ป เลือกอยางละ 1 คน และนักเพาะกายเลือกรูปภาพนี้ 3 คน สวนใหญรูปภาพหมายเลข 1 จะเปนรูปรางที่ผูชายสวนใหญเห็นวาเปนรูปรางที่ดี แตภาพหมายเลข 3 จะเปนรูปรางผูชายที่ผูหญิงสวนใหญเห็นวาดี สรุปผลการสัมภาษณแบบเจาะลึกของผูท่ีเลนเพาะกาย

การสัมภาษณกลุมผูที่เลนเพาะกายเพื่อจะไดเห็นถึงความแตกตางอยางชัดเจนกับผูที่ไมไดเลนเพาะกายวาทัศนคติและการปฏิบัติตัวนั้นมีความแตกตางกันอยางไรบาง ซึ่งสามารถสรุปผลการสัมภาษณแบบเจาะลึกของผูที่เลนเพาะกาย ผูศึกษาไดนํามาจากการสัมภาษณคนที่เลนเพาะกาย ณ สถานเพาะกาย ลือชา ยิม บริเวณส่ีแยกบานแขก จํานวน 6 คน สามารถสรุปไดดังนี้

จุดประสงคหลักของผูที่มาเลนเพาะกาย คือ ตองการใหรางกายใหญข้ึน มีกลามเนื้อ ซึ่งเหตุผลของแตละคนที่มาเลนเพาะกายนั้น จะมีลักษณะที่ไมแตกตางกันมากนัก คุณธนกร อายุ 42 ป ไดใหสัมภาษณวา

“เร่ิมเลนเพาะกายชา เม่ือตอนอายุ 30 เนื่องจากหนาที่การงานที่ตองไปทําตางจังหวัดและสมัยตอนเด็กก็ตองเรียนยังไมมีเงินพอจะมาเสียคาบริการ แตในวัยเด็กก็มีความชอบอยากจะมีกลามแลว ตอนประมาณเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3-4 หลังจากที่ไดกลับมาทํางานในกรุงเทพฯ ก็มาเลนโดยทันที ถาไดเลนตั้งแตเด็ก จะมุงม่ันเลนใหถึงข้ันประกวดได เพราะตัวเองมีความชอบในกีฬาประเภทนี้มาก”

สวนใหญที่มาเลนเพาะกาย เพราะไดดูภาพยนตร เร่ืองคนเหล็ก ที่มีดารานักแสดงชาย คือ

อารโนล ชวาสเนกเกอร เปนผูรับบทแสดงนํา ดวยลักษณะของรูปรางที่มีความโดดเดน กลามเนื้อเปนมัดสวยงาม เม่ือผูชมที่เปนเพศชายเห็นรูปรางของอารโนล ชวาสเนกเกอร ในภาพยนตรเร่ืองนี้แลวเกิดความรูสึกชอบ เห็นวารูปรางในลักษณะนี้ คือ หุนที่สมชายชาตรี เปนลักษณะของหุนที่ผูชายในยุคนั้นพึงปรารถนา ฉะนั้น อารโนล ในภาพยนตรเร่ือง “คนเหล็ก” จึงเปนปจจัยสําคัญอยางหนึ่งที่ทําใหคนหันมาเลนเพาะกาย แตมีในบางกรณีที่ผูมาเลนเพาะกาย เพื่อตองการใหรางกายของตนเองนั้นมีความสมสวน เชน อวนเกินไป ผอมเกินไป เปนตน จากการสัมภาษณ คุณพณิช อายุ 24 ป ที่กลาวถึงสาเหตุที่มาเลนเพาะกาย วา

สำนกัหอ

สมุดกลาง

42

“ก็เพราะวามักจะโดนคนอ่ืนทักอยูบอยๆวา เสพยาเสพยติดหรือปาว หรือดูรางกายออนแอข้ีโรค จริงๆ แลวก็ไมไดเสพยาเสพยติดหรือเปนโรคอยางที่คนอ่ืนทัก แตเม่ือมีคนอ่ืนทักบอยข้ึน จึงตัดสินใจมาเลนเพาะกายตอนอายุ 20 ป”

นอกจากนี้ยังมีคุณ เฮง อายุ 65 ป ที่สมัยกอนมีรางกายผอมและไดเห็นคนที่เลนเพาะกายที่ลือชา มีรูปรางทีดี ก็คิดอยากจะมีรูปรางแบบนี้บาง จึงไดเขามาเลนตั้งแตตอนอายุ 45 ป โดยกลาววา “เลนตอน 45 เลนเพื่อแข็งแรง เลนตั้งแตเร่ิมที่นี่ ตอนแรกตัวผอม อยากตัวใหญ แข็งแรงเลยมาเลน เพื่อออกกําลังกาย กีฬาอยางอ่ืนไมชอบ แตเม่ือกอนเคยเลนปงปองมากอน”

ซึ่งคุณเฮงจะดูตางจากคนที่มาเลนทานอ่ืน ตรงที่เลนมานานแลวรูปรางดูอวนไมมีกลาม ซึ่งในตอนแรกคุณเฮง อยากที่จะมีกลาม แตเม่ือไดมาลองเลนไปสักระยะหนึ่ง ปรากฏวาคุณเฮงไมมีเวลามาเลนสมํ่าเสมอ ทําใหการเลนจึงไมไดจริงจังเทาที่ควร แตปจจุบันคุณเฮงยังคงมาเลนเพาะกาย เพื่ออยากจะใหสุขภาพแข็งแรงเทานั้น

นอกจากนี้ผูศึกษา ยังพบวาพฤติกรรมของคนที่มาเลนเพาะกายขณะออกกําลังกายนั้น คนสวนใหญมักจะเลนแคบริเวณชั้น 1 ของโรงยิม สวนชั้น 2 จะไมคอยเปนที่นิยมข้ึนไปเลนสักเทาไรหนัก อาจจะเพราะเคร่ืองเลนขางบนและขางลางเหมือนกัน และพฤติกรรมคนสวนใหญที่มาเลนเพาะกายเวลาเลนจะนิยมถอดเส้ือหรือใสเส้ือกลาม สาเหตุที่ตองแตงกายแบบนี้ เนื่องจากตองการโชวกลามรูปรางของตัวเองใหกับคนผูอ่ืนไดเห็น ดวยสถานที่ตั้งของลือชายิมแหงนี้ อยูริมถนนอิสรภาพใกลกับบริเวณส่ีแยกบานแขก ดานหนาของโรงยิมเปนกระจกที่คนภายนอกสามารถมองเห็นคนภายในไดอยางชัดเจน ทําใหเปนจุดสังเกตของผูคนที่สัญจรไปมาบนถนนหรือขณะรถติดสัญญาณไฟจราจร พฤติกรรมที่เดนชัดอีกอยางหนึ่งของผูที่เลนเพาะกาย คือ เวลาเลนอุปกรณตางๆ ที่สามารถเคล่ือนที่ได เชน ดัมเบลล ผูเลนจะหันหนาเขาหากระจกเพื่อที่จะมองตัวเองเวลากําลังเลนอุปกรณตางๆ ซึ่งจากที่ผูศึกษาไดสังเกตพบวาแทบจะทุกคนจะมีพฤติกรรมนี้ และจากการที่ไดสัมภาษณคุณสถาพร อายุ 31 ป วาทําไมตองมีพฤติกรรมเชนนี้ก็ไดคําตอบวา “ที่ตองมองกระจกสวนใหญก็มอง เพราะ จะไดดูวาเรากําลังเลนอุปกรณนั้นในทาที่ถูกตองหรือยัง และเปนการดูรูปราง กลาม ตัวเองไปในตัวดวยวาใหญหรือยัง “

จะเห็นไดวา จากการสัมภาษณกลุมคนที่เลนเพาะกายจะเห็นไดวา กลุมคนที่เลนเพาะกาย

จะมีมุมมองและทัศนคติที่แตกตางไปจากกลุมคนที่ไมไดเลนเพาะกาย คือ จะเห็นวาการมี

สำนกัหอ

สมุดกลาง

43

กลามเนื้อตามสวนตางๆ ของรางกาย ขนาดปานกลางจนกระทั่งถึงใหญนั้น วาเปนลักษณะของคนที่มีหุนดี สวยงาม เปนที่ชื่นชมนาหลงใหล และชวยเสริมสรางความม่ันใจในตนเอง พรอมทั้งใหความสําคัญเกี่ยวกับการดูแลรักษารูปรางควบคูไปดวย โดนการเนนในเร่ืองของการรับประทานเนื้อสัตวและควบคุมอาหารที่มันก็จะไมรับประทาน แตก็ยังไมถึงขนาดรับประทานอาหารเสริมหรือรับประทานอาหารอยางจริงจังเหมือนกับที่หนังสือเพาะกายแนะนํา

สำนกัหอ

สมุดกลาง

บทท่ี 3

บทวิเคราะหและสรุปผล การศึกษาในเร่ือง “วาทกรรมเกี่ยวกับรูปรางดี” ผูศึกษามีขอสมมุติฐานวา วาทกรรมมีผล

ตอทัศนคติการเพาะกายของคนในสังคม โดยผูศึกษาไดทําการแจกแบบสอบถามใหกับคนที่เลนและไมเลนเพาะกายเพื่อตรวจสอบวามีทัศนคติเกี่ยวกับรูปรางดีมีความแตกตางกันหรือเหมือนกันอยางไร ผูศึกษาไดทําการออกแบบสอบถามเพื่อจะดูวามีปจจัยอะไรบางที่สงผลตอทัศนคติของผูตอบแบบสอบถาม โดยปจจัยที่ผูศึกษาคิดไววานาจะมีผลตอทัศนคติรูปรางที่ดี คือ

1. เพศ 2. การศึกษา 3. อาชีพ 4. อายุ 5. คนที่เลนเพาะกายและคนที่ไมเลนเพาะกาย 5. วาทกรรม ผูศึกษาจึงไดออกคําถามในแบบสอบถามไปในลักษณะดังกลาวนี้เพื่อตรวจสอบวาปจจัย

ใดบางที่สงผลตอทัศนคติเกี่ยวกับรูปรางที่ดี เร่ืองเพศถือวาเปนปจจัยตัวหนึ่งที่ทําใหทัศนคติเกี่ยวกับรูปรางที่ดีมีความแตกตางกัน

ออกไปพบวา ถาเปนเพศหญิงจะไมมีความคิดเลนเพาะกายแมแตคนเดียว เพราะผูหญิงมองวาการที่ผูหญิงมีกลามเปนรูปรางที่ดูแลวไมสวยงาม ซึ่งถาเปนเพศชายจะมีคนที่คิดเลนเพาะกายอยูบาง เนื่องจากผูชายบางคนคิดวาการมีกลามเล็กนอยจะทําใหรูปรางดูดี

จากขอมูลแสดงใหเห็นถึงวาเพศนั้นมีสวนสําคัญตอการตัดสินจะเลนหรือไมเลนเพาะกาย โดยเหตุผลสวนใหญของผูหญิงที่ไมคิดเลนเพาะกายนั้น ก็จะมีลักษณะคลายคลึงกัน คือ เลนแลวจะมีรูปรางที่นาเกลียด นากลัว ดูแลวไมเหมาะสมกับรูปรางของผูหญิงที่ควรจะเปน เพราะผูหญิงควรผอม สูง มากกวาจะมีกลามบึกบึนเหมือนกับผูชาย และรูปรางของผูชายที่ดี ทัศนคติของเพศหญิงและชายก็แตกตางกัน โดยจากคําถามขอ 12 ในแบบสอบถาม ซึ่งจากผลการสํารวจผูหญิงสวนใหญจะเลือก รูปภาพหมายเลข 3มากที่สุด และหมายเลข 1 รองลงมา แตไมมีใครเลือก

สำนกัหอ

สมุดกลาง

45

หมายเลข 4 ผิดกับในผูชาย ที่จะเลือกรูปภาพหมายเลข 1 มากที่สุด และหมายเลข 3 , 2 และ 4 รองลงมาตามลําดับ จะเห็นไดวา ผูชายจะนิยมรูปรางที่มีกลามเล็กนอย แตในผูหญิงกลับมองในทางตรงกันขามวารูปรางผูชายที่ดี ควรจะเปนแบบหมายเลข 3 ที่มีรูปรางผอมไมมีกลาม ทัศนคติตอรูปรางที่ดีของผูชาย ถาเพศตางกันก็จะแสดงใหเห็นถึงทัศนคติที่แตกตางกันออกไป

เร่ืองอายุก็เปนปจจัยตัวหนึ่งที่สงผลตอทัศนคติเกี่ยวกับรูปรางที่ดี โดยรูปรางดาราที่คนใน

แตละชวงอายุชอบจะแตกตางกันออกไป ซึ่งดาราที่ชื่นชอบนั้นก็จะเปนดาราที่ผูตอบแบบสอบถามชอบในตอนที่ผูตอบแบบสอบถามเปนวัยรุน โดยที่ดาราที่ตอบในแตละชวงอายุก็จะมีลักษณะใกลเคียงกัน เชน ใน นักศึกษาผูชาย จะชอบรูปรางของ อ้ัม อธิชาติ ชุมนานนท มากที่สุด สวนผูหญิงจะชอบ โดม ปกรณ ลัม มากที่สุด แตอ้ัม อธิชาติ ชุมนานนท ก็ชอบเปนอันดับที่ 3 หรือในชวงอายุ 60-70 ป ดาราผูชายที่ชอบก็จะเปน สมบัติ เมทนี กับ มิตรชัย บัญชา 2 คนนี้เทานั้น แตถามาในชวงอายุ 40-59 ป ดาราที่ชอบจะเร่ิมมีความหลากหลายมากข้ึน สมบัติ เมทนี และ มิตรชัย บัญชา อาจจะมีคนชอบอยูพอสมควร แตดาราคนอ่ืนก็เร่ิมจะมีคนชอบมากข้ึน เชน ไพโรจน สังวริยบุตร ซึ่งแตกตางจากคนอายุ 60-70 ป ที่จะชอบดาราผูชายอยูแค 2 คน เทานั้น นอกจากอายุจะสงผลตอดารานักรองที่ชอบแลว ลักษณะรางกายของผูชายที่มีรูปรางดี อายุก็ยังเปนปจจัยที่ทําใหทัศนคติแตกตางกันออกไป เห็นไดวาในวัยรุนในปจจุบันที่เปนนักศึกษาชายและหญิงจะเห็นวารูปรางผูชายที่ดีจะตอง สูง ผอม สมสวน และมีกลามเล็กนอย แตเม่ือดูในชวงอายุของคน 40-59 ป และ 60-70 ป ความผอมไมใชลักษณะของรูปรางผูชายที่ดีเลย โดยสวนใหญจะชอบผูชายที่สูง สมสวน และมีกลามเล็กนอย แสดงใหเห็นวาความผอมในสมัยกอนนั้นไมใชรูปรางของผูชายที่ดีแตในสมัยนี้ความผอมกลับเปนลักษณะหนึ่งที่คนใหการยอมรับวาเปนรูปรางที่ดี อาจเปนเพราะดาราสมัยนี้ที่ไดรับความนิยมบางคนก็ไมจําเปนตองมีกลาม เชน มาริโอ เมาเรอ ที่รูปรางสูง ผอม ไมมีกลาม ก็ไดรับความนิยมอยางมากในหมูวัยรุนปจจุบัน ผิดกับสมัยกอนของคนในชวง อายุ 60-70 ป ที่ดาราผูชายที่ไดรับความนิยมจะตองมีรูปรางในลักษณะ ที่มีกลาม สูงใหญ เชน สมบัติ เมทนี เร่ืองของอายุที่รับวาทกรรมในชวงเวลาที่แตกตางกันก็แสดงใหเห็นถึงทัศนคติตอรูปรางที่ดีแตกตางกันออกไปดวย เพราะวัยรุนสมัยนี้คงมีสวนนอยเทานั้นที่ชอบดาราอยาง สมบัติ เมทนี สวนใหญก็จะไปชอบดาราพระเอกในสมัยนี้เปนหลัก เชน อ้ัม อธิชาติ ชุมนานนท, มาริโอ เมาเรอ เปนตน

เร่ืองการศึกษาเปนปจจัยที่มีผลตอทัศนคติเกี่ยวกับรูปรางที่ดีที่วา ผูหญิงที่เลนเพาะกายมี

กลาม เปนผูหญิงที่รูปรางดีหรือไม โดยสวนใหญจะตอบรูปรางไมดี แตก็มีคนที่ตอบรูปรางดี โดยคน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

46

ที่ตอบจะมีการศึกษาที่เปนมาตรฐานภาคบังคับหรือสูงกวาภาคบังคับของคนในแตละยุค เชน ผูชายอายุ 60-70 ป จะมีคนตอบวาผูหญิงเพาะกายรูปรางดีอยู 2 คน ซึ่งผูชาย 2 คนนี้ถือวามีการศึกษาที่สูงกวาภาคบังคับในยุคนั้นคือ ประถมศึกษาปที่ 4 โดยคุณกิตติศักดิ์ มีการศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย และคุณเดชา มีการศึกษาระดับปริญญาเอก ซึ่งทั้ง 2 คนนี้ไดตอบวาผูหญิงเพาะกายเปนผูหญิงที่รูปรางดี โดยใหเหตุผลที่คลายคลึงกัน คือ เลนเพาะกายก็ทําใหรางกายแข็งแรง สมสวน จะเห็นไดวาในชวงอายุของคน 40-59 ป และ 60-70 ป คนจะมองวาผูหญิงเลนเพาะกายเปนผูหญิงที่รูปรางดี มีจํานวนนอย แตในปจจุบันผูหญิงที่เลนเพาะกายกลับไดรับการยอมรับมากข้ึน เห็นไดจากจํานวนนักศึกษาหญิงและชายที่มีจํานวนตอบที่คิดวาผูหญิงที่เลนเพาะกายเปนรูปรางที่ดีมีจํานวนคนตอบมากข้ึน แสดงใหเห็นวาการศึกษามีสวนสําคัญตอทัศนคติในการเลนเพาะกาย โดยคนที่มีการศึกษาที่ดีจะมองวาการเพาะกายนั้นเปนการออกกําลังกายอยางหนึ่งทําใหสุขภาพแข็งแรง ถึงแมการศึกษาจะสงผลตอทัศนคติใหเห็นวาผูหญิงเลนเพาะกายเปนคนที่รูปรางดีแตทุกคนที่ตอบแบบสอบถามก็จะใหเหตุผลเพิ่มเติมดวยวา ไมควรจะเลนใหมีกลามเยอะจนเกินไปควรเลนใหรางกายดูกระชับแข็งแรง คนที่มีการศึกษาสูงก็ยอมตองถูกปลูกฝงการเรียนการสอนจากโรงเรียนมาเปนระยะเวลานานและนาจะซึมซับความรูตางๆที่โรงเรียนสอนไดเยอะกวาคนที่มีการศึกษาที่นอยกวา เห็นไดวาคนที่มีการศึกษาสูงกวาภาคบังคับจะมองการเลนกีฬาอยางเพาะกายก็เปนการออกกําลังกายชนิดหนึ่งที่ทําใหรางกายแข็งแรง ซึ่งเปนผลดีตอรางกาย เขาเหลานั้นจึงเห็นวาถึงแมจะเปนการเพาะกายแตไดออกกําลังกายถึงแมจะเปนผูหญิงเลนเพาะกายเขาเหลานั้นก็ยังมองวาเปนผูหญิงที่มีรูปรางที่ดี

ปจจัยเ ร่ืองของอาชีพสงผลตอพฤติกรรมเกี่ยวกับการรักษารูปรางที่ดีของผูตอบ

แบบสอบถาม โดยคนที่รับราชการหรือเคยรับราชการเม่ือรูวิธีปฏิบัติที่จะรักษารูปรางใหดีก็จะนํามาปฏิบัติทุกคน สวนอาชีพอ่ืนๆ เชน คาขาย, รับจางทั่วไป เปนตน มีคนตอบนําวิธีที่ทราบวาจะทําใหรูปรางดีมาปฏิบัติเปนสวนใหญ แตก็ยังมีบางคนที่ไมไดนํามาปฏิบัติ แสดงใหเห็นวา อาชีพราชการนั้นมีสวนสําคัญที่จะทําใหคนออกกําลังกาย กินอาหารที่มีประโยชน หรือควบคุมอาหาร ทั้งนี้อาจจะมาจากที่ระบบราชการโดยเฉพาะ ทหาร มักจะมีการออกกําลังกายอยูสมํ่าเสมอ ฉะนั้นผูที่รับอาชีพนี้จึงไดปฏิบัติอยูเปนประจํา ถึงแมเราอาจพบทหารที่มีรูปรางอวนบางแตนั้นก็ถือเปนสวนนอยถาเทียบกับคนทั้งหมด การมีอาชีพเหมือนกันก็ทําใหอยูในสังคมเดียวกัน เชน การรับราชาการ คนที่ทํางานแบบนี้ก็จะถูกสอนมาจากสถาบันการอบรมที่เดียวกัน ฉะนั้นความชอบอะไรบางอยางก็

สำนกัหอ

สมุดกลาง

47

จะไปในทิศทางเดียวกัน เพราะถาเราชอบอะไรหรือปฏิบัติตัวที่แตกตางออกไปก็จะดูแปลกแยกจากสังคมที่เราอยู เหมือนกับคําสุภาษิตที่วา “เขาเมืองตาหล่ิว ตองหล่ิวตาตาม”

ในสวนของเร่ืองความแตกตางของคนที่เลนเพาะกายและคนที่ไมเลนเพาะกาย จากการ

สํารวจพบวาคนที่เลนเพาะกายและคนที่ไมเลนเพาะกายนั้นมีความแตกตางในทัศนคติเกี่ยวกับรูปรางที่ดีและการปฏิบัติในเร่ืองการรักษารูปรางเปนอยางมาก อาทิเชนผูที่ไมเลนเพาะกายจะมองวาคนที่เลนเพาะกายนั้นเลนเพื่อรูปรางหรือแข็งแรงปะปนกันไป แตสําหรับนักเพาะกายมองวาคนที่เลนเพาะกายนั้นเลนเพื่อใหมีรูปรางดีทั้งหมดจากการสัมภาษณ หรือในสวนของรูปรางผูชายที่ดี คนที่ไมเลนเพาะกายจะมีความคิดเห็นที่แตกตางกันออกไป แตสวนใหญรูปรางผูชายที่ดีควรจะ สูง สมสวน มีกลามเล็กนอย แตในสวนของนักเพาะกายจะมองแตกตางออกไปซึ่งจะมองวาควรมีกลามเปนสําคัญจะนอยจะมากก็ข้ึนอยูกับความชอบแตละบุคคล สวนลักษณะผอมนักเพาะกายมองวาเปนรูปรางที่ไมดี ผิดกับผูที่ไมเลนเพาะกายบางคนก็ยังมองคนที่ผอมเปนคนที่รูปรางดีได สวนดารานักรองที่รูปรางดีคนที่ไมไดเลนเพาะกายกับเลนเพาะกายก็มีความทัศนคติที่แตกตางกันอยางส้ินเชิง โดยผูที่ไมเลนเพาะกายจะชอบดารานักรองที่สวนใหญที่สูงใหญ มีกลามเล็กนอย คนที่ดูจะมีกลามมากที่สุดและไดรับความนิยมในคนที่ไมเลนเพาะกาย คือ สมบัติ เมทนี แตสําหรับนักเพาะกายแลวดารานักรองที่รูปรางดีนั้น คือ อารโนล ชวาสเนกเกอร ซึ่งเปนนักเพาะกายมากอนที่จะเปนนักแสดง และเคยไดรับรางวัลในการประกวดเพาะกายมามากมาย ซึ่งแสดงใหเห็นวาคนที่เลนและไมเลนเพาะกายทัศนคติในเร่ืองของรูปรางผูชายที่ดีและการเพาะกายมีความแตกตางกันอยางมาก

ปจจัยสุดทายเกี่ยวกับรูปรางที่ดี คือ เร่ืองของ “วาทกรรม” แปลมาจากคําวา “Discourse”

ในภาษาอังกฤษ วาทกรรมมีอิทธิพลในการกําหนดความรูสึกนึกคิดและการแสดงออกของมนุษย วาทกรรมยังมีอํานาจใจการตัดสินใจเชิงคุณคาตางๆในความรับรูของคนเราดวย เชน ความดี / ไมดี ถูก / ผิด ใชได / ใชไมได (ธงชัย วินิจจะกูล, 2534 : 18) ทัศนคติความคิดเห็นของคนในสังคมก็เปนผลมาจากวาทกรรมเชนเดียวกัน แตวาทกรรมในสังคมไมไดมีเพียงแคหนึ่งวาทกรรมเทานั้น แตในสังคมยังมีอีกหลายวาทกรรมที่ยังคอยตอสูซึ่งกันและกันเพื่อที่จะแยงชิงใหตัวมันเองเปนวาทกรรมหลักในสังคมและวาทกรรมอ่ืนๆเปนวาทกรรมที่รองลงไป

เพาะกาย ถือเปนกีฬาที่อาจจะไมไดรับความนิยมเทากับกีฬาชนิดอ่ืนๆ เชน ฟุตบอล, เทนนิส, วายน้ํา เปนตน แตปฏิเสธไมไดวากีฬาชนิดนี้เปนที่นิยมกับคนกลุมหนึ่งในสังคมที่มีใจรักและชอบกีฬาชนิดนี้ ความชอบที่แตกตางของคนที่เลนและไมไดเลนเพาะกาย หรือความคิดเห็นที่

สำนกัหอ

สมุดกลาง

48

แตกตางของคนในชวงอายุที่แตกตางกัน ซึ่งทัศนคติที่หลากหลายและแตกตางของคนกลุมตางๆที่ผูศึกษาไดไปแจกแบบสอบถาม และสัมภาษณอยางไมเปนทางการ ปจจัยที่สงผลมากที่สุดคงจะหนีไมพน วาทกรรม จากผลการวิจัยสะทอนใหเห็นถึงวาทกรรมเกี่ยวกับรูปรางมีการเปล่ียนแปลง ล่ืนไหลอยูตลอดเวลา ซึ่งการเปล่ียนแปลงของวาทกรรมก็สะทอนออกมาในความคิด ทัศนคติ ของคนในแตละยุคสมัย ตัวอยางหนึ่งที่สามารถสะทอนทัศนคติตอรูปรางไดวาคนชอบรูปรางแบบไหนก็คือดารานักรองที่คนชอบ เนื่องจากดารานักรองที่ไดรับบทนักแสดงนํา เชน พระเอกหรือนางเอก เปนตน ไมวาจะในอดีตหรือปจจุบันก็จะถูกเลือกมาแลววาเปนคนที่มีรูปรางและหนาตาที่ดี ฉะนั้นเวลาคนทั่วไปไดรับชมภาพยนตร, ละครหรือนิตยสาร ที่เห็นรูปรางของดาราพวกนี้ ก็จะรูสึกชอบเพราะหุนแบบนี้ไดรับการเลือกสรรมาแลววาเปนหุนที่ดี เม่ือคนเห็นก็อยากจะมีรูปรางตามแบบดารานักรองพวกนี้ ถึงแมในภาพยนตรหรือละคร จะไมไดมีแตเพียงพระเอกและนางเอกเทานั้น แตยังมีตัวละครอ่ืนๆ ที่นอกเหนือไปจากพระเอกและนางเอกอีกมากมาย แตจากการแจกแบบสอบถามและสัมภาษณ พบวาดารานักรองที่คนเห็นวารูปรางดี จะเปนพระเอกและนางเอกแทบทั้งส้ิน จึงเปนขอพิสูจนไดวา ดารานักรองที่เปนนักแสดงนําโดยเฉพาะพระเอกและนางเอกนั้น สงผลตออิทธิพลในเร่ืองของทัศนคติเกี่ยวกับรูปรางที่ดีของคนในสังคมไทยอยางแทจริง

ผูชายและผูหญิงอายุ 60-70 ป ดารานักรองที่ไดรับความนิยมที่มีคนชอบมีอยูเพียง 2 คน

คือ สมบัติ เมทนี และ มิตรชัย บัญชา ผูชายและผูหญิงอายุ 40-59 ป ดารานักรองที่ไดรับความนิยมเร่ิมมีหลากหลายมากข้ึน เชน สมบัติ เมทนี, อําพล ลําพูน, ไพโรจน สังวริยบุตร เปนตน จะสังเกตไดวาในผูชายอายุ 60-70 ป ดารานักรองที่ไดรับความนิยมรูปรางจะเปนแบบสูงใหญ มีกลาม แตพอมาถึงผูชายอายุ 40-59 ป ดารานักรองที่ไมมีกลาม เชน ไพโรจน สังวริยบุตร ซึ่งเร่ิมไดรับความนิยมเชนเดียวกับดารานักรองที่มีกลามราวกับ สมบัติ เมทนี ในชวงเวลานี้ วาทกรรมเกี่ยวกับรูปรางที่ดีเร่ิมมีการเปล่ียนแปลงมีการตอสู ตอรอง เพื่อที่จะแยงกันเปนวาทกรรมหลักในสังคม แตพอมาถึงปจจุบันจากการแจกแบบสอบถามใหกับนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากรผูชายและผูหญิง พบวาดารานักรองที่ไดรับความนิยมมีความหลากหลาย อาจเนื่องจากกระแสของยุคโลกาภิวัตนในปจจุบัน สงผลใหสังคมเกิดการเปล่ียนแปลงในหลายดาน ในสวนของดารา นักรอง นักแสดงเชนเดียวกันที่มีจํานวนเพิ่มมากข้ึน ทําใหคนในสังคมมีของความชื่นชอบดารา นักรอง นักแสดงที่แตกตางกันตามรสนิยมที่หลากหลาย จึงทําใหคําตอบที่พบจากการสํารวจมีลักษณะที่หลากหลายดวยเชนกัน ถึงคําตอบจะมีความหลากหลายแต เม่ือวิเคราะหถึงรูปรางของดารานักรองที่นักศึกษา

สำนกัหอ

สมุดกลาง

49

มหาวิทยาลัยศิลปากรผูชายและผูหญิงตอบมานั้น จะพบวาทัศนคติเกี่ยวกับรูปรางที่ดีมีลักษณะที่ไมแตกตางกัน คือ มีลักษณะสูง มีกลามเล็กนอย และสมสวน

ดารานักรองซึ่งถือวาเปนคนที่มีอิทธิพลตอคนในสังคมมากพอสมควร ซึ่งไมแปลกที่รูปรางหรือหนาตาของดารานักรองจะเปนที่นิยมของคนดูโดยทั่วไป รูปรางผูชายที่ดีจากนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร ถึงคนอายุ 60-70 ป เห็นไดวารูปรางอวน ยังคงเปนรูปรางที่ไมดีในสายตาของคนในอดีตถึงปจจุบัน นอกจากดารานักรองที่ไดรับความนิยมที่คนโดยทั่วไปอยากมีรูปรางตามจะเปนคนไมอวนแลว แพทยก็ยังเปนบุคคลที่มีความสําคัญที่คอยตอกย้ํารูปรางที่ดี ใหกับคนในสังคมวา คนที่มีสุขภาพดี จะตองไมอวน เพราะ ความอวนก็เหมือนกับแหลงเพาะเชื้อโรคนั้นเอง ฉะนั้นความอวนก็เปรียบเสมือนตัวแทนของรูปรางที่สะสมโรคเอาไวอยางมากมาย ซึ่งการที่จะไมเปนคนที่มีรูปรางอวนไดนั้นก็ตองออกกําลังกาย รูปรางที่ไมอวนหรือมีกลามเล็กนอย จึงดูเปนรูปรางที่ดี ไมเปนโรคงายคนโดยทั่วไปจึงอยากมีรูปรางแบบนี้ เพราะเชื่อวาทกรรมที่มาจากแพทย ซึ่งมีอํานาจอันชอบธรรมที่จะพูดเร่ืองสุขภาพ อนามัย ถาในทางกลับกันคําพูดเดียวกันแตไมใชแพทยพูด แตกลับเปนคนแมคาขายผลไมคนหนึ่ง วาทกรรมนี้ก็จะไมมีอํานาจมากพอที่จะไปครอบงําใหคนทั่วไปเชื่อ เนื่องจากความชอบธรรมในตัวของผูพูดนั้นไมมี เพราะผูพูดคือแมคาขายผลไม ซึ่งไมมีความรูเร่ืองสุขภาพที่มารองรับเร่ืองที่พูด ผิดกับแพทยที่เรียนจบจากสถาบันการศึกษามีผลการศึกษารับรอง มีความรูที่นาเชื่อถือ ที่คนในสังคมใหการยอมรับ ฉะนั้นอํานาจของแพทยในเร่ืองสุขภาพจึงมีมากกวาแมคาขายผลไม

สําหรับผูหญิงที่ เลนเพาะกายมีกลามโดยความเห็นของคนสวนใหญจากการแจกแบบสอบถามและสัมภาษณก็จะเห็นวาเปนรูปรางที่ไมดี อาจจะมีบางที่เห็นวาผูหญิงเพาะกายมีกลามเปนผูหญิงรูปรางแตก็มีขอแมที่วาตองไมมีกลามมากจนเกินไป เลนพอใหกลามเนื้อกระชับพอ ซึ่งคนที่ตอบผูหญิงเลนเพาะกายมีกลามเปนผูหญิงรูปรางดีจะมองวาเพาะกายเปนการออกกําลังกายที่จะใหกลามเนื้อกระชับรูปรางไมอวนมากกวาที่จะมองวาผูหญิงเลนเพาะกายมีกลามมากจะเปนผูหญิงที่สวย ประกอบกับการตอบคําถามที่วา ดารานักรองผูหญิงที่ทานชอบของผูตอบแบบสอบถามยิ่งทําใหเห็นวา ผูหญิงที่ไดรับการตอบทั้งหมดจะมีรูปรางที่คลายคลึงกัน คือ สมสวน ไมมีกลาม เห็นไดวารูปรางของผูหญิงที่ดีนั้นมีความแตกตางกับผูชายพอสมควร ที่ผลออกมาในลักษณะนี้ก็เปนเพราะ ดารานักรองไมวาจะในอดีตหรือปจจุบันที่ไดรับความนิยมวาเปนคนที่รูปรางดีก็มีมาตรฐานเดียวกัน คือ สมสวน ไมมีกลาม ฉะนั้นรูปรางที่ดีไมวาจะเปนผูชายหรือผูหญิงของคนในสังคมก็ลวนถูกวาทกรรมที่ถูกสรางข้ึนจากคนในสังคมคอยครอบงําและทําใหคนในสังคมคิดไปในทางเดียวกัน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

50

สําหรับคนที่เลนเพาะกาย ดารานักรองที่เห็นวารูปรางดีจะมีความแตกตางอยางเห็นไดชัดกับคนที่ไมไดเลนเพาะกาย โดยสวนใหญดารานักรองที่นักเพาะกายชื่นชอบและเห็นวามีรูปรางที่ดี ก็จะเปนอารโนล ชวาสเนกเกอร หรืออาจจะมีคนอ่ืนบาง แตทั้งหมดตองมีรูปรางที่มีกลามจะมากหรือนอยก็แลวแตความชอบสวนบุคคล แตกับคนที่ไมเลนถึงจะมีชอบรูปรางที่มีกลามเล็กนอย แตก็ยังมีบางคนที่ชอบรูปรางแบบผอม ไมมีกลาม ซึ่งผิดกับนักเพาะกายที่มีความชอบไปในทางเดียวกัน คือ รูปรางผูชายที่ดีตองมีกลาม ถารูปรางผอมนักเพาะกายจะมองวา เปนรูปรางที่ออนแอ ดูแลวไมสมกับความเปนผูชาย ทัศนคติที่แตกตางกันระหวางนักเพาะกายกับผูที่ไมไดเลนเพาะกายก็มาจากวาทกรรมที่คอยตอกย้ําของแตละคนที่แตกตางกันออกไป อยางเชน ผูที่เลนเพาะกายที่ลือชายิม ที่ผูศึกษาไดไปสัมภาษณพบวาจุดเร่ิมแรกของการมาเลนเพาะกาย คือ การชอบดารา มีดาราเปนตนแบบ นอกจากนั้นยังคอยติดตามผลงานของดาราที่ตนชื่นชอบอยูเปนประจํา และคอยหาหนังสือ นิตยสารที่เกี่ยวกับการเลนกลามมาอานอยูเสมอ และอีกหนึ่งจุดสําคัญที่ทําใหคนมาเลนเพาะกาย คือ การเห็นรูปรางของคนที่เลนเพาะกายจริงๆ โดยจากการสัมภาษณพบวา คนที่มาเลนเพาะกายที่ลือชายิม ทุกคน จะมีเหตุผลคลายๆกัน คือ บานหรือทํางานอยูแถวลือชายิม และเวลาผานไปผานมาที่หนาลือชายิมหรือโรงยิมอ่ืนๆ ก็จะเห็นคนที่มาเลนเพาะกาย เห็นรูปรางของคนที่เลนวามีกลามตัวใหญ จึงเพิ่มความอยากเลนมากข้ึนไปอีก จนในที่สุดจึงตัดสินใจมาเลน อาจจะไมใชวาเห็นคนที่เพาะกายที่ลือชายิมแลวอยากมาเลนเลย แตความจริงแลวกอนหนาที่จะเห็นทุกคนก็ลวนแตชื่นชอบรูปรางแบบที่มีกลามมากอนอยูแลว การไดมาเห็นคนที่เลนเพาะกายจริงๆ เปรียบเสมือนจิ๊กซอชิ้นสุดทายที่เติมเต็มใหกับคนที่ชอบ ไดมาเร่ิมเลนเพาะกาย

วาทกรรมนอกจากจะสงผลตอทัศนคติของคนแลว วาทกรรมยังสงผลตอพฤติกรรมตางๆของคนอีกดวย เหมือนกับที่ ซูซาน บอรโด (Bordo, 1993) ไดแสดงใหเห็นอยางนาสนใจในการศึกษาเร่ือง “เรือนรางสตรี” (female bodies) ของเธอวาในสังคมตะวันตกมีกระบวนการสรางส่ิงที่เรียกวา “เรือนรางสตรีที่สวย” (perfect body) อยางไร ทําไมเรือนรางสตรีที่ถือกันวา “สวย” ในสังคมตะวันตกจึงตองเปนแบบนั้น เชน ผอม สูง มีสวนเวา สวนโคง สวนนูนเฉพาะที่ ฯลฯ บอรโดไดแสดงใหเห็นวามีวาทกรรมชุดหนึ่งกํากับความสวยของเรือนรางสตรี ดวยการสืบคนกลับไปเพื่อชี้ใหเห็นวารูปรางสตรีที่พึงปรารถนานั้นคือผลรวมหรือการตกผลึกของพลังอํานาจตางๆที่สลับซับซอนในสังคมตะวันตกและมีภาคปฏิบัติจริงของวาทกรรมวาดวยเรือนรางสตรีที่สวย เชน ตองมีวิธีควบคุมอาหาร การควบคุมราง (การออกกําลังกาย) รวมถึงการทําศัลยกรรมตบแตงเพื่อใหดู “สวย” ตามกฎเกณฑวาดวยความสวยที่วาทกรรมกําหนดข้ึน (ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร 2549, :32) ในทํานองเดียวกันกับรูปรางที่คนที่ไมไดเลนเพาะกายและเลนเพาะกายเห็นวารูปรางดี

สำนกัหอ

สมุดกลาง

51

ก็มีภาคปฏิบัติการจริงของวาทกรรมเชนเดียวกับ “เรือนรางสตรีที่สวย” ของบอรโด จะเห็นไดจากขอมูลที่ไปแจกแบบสอบถามและสัมภาษณอยางไมเปนทางการ พบวา วิธีที่คนใหความสําคัญกับการควบคุมรูปรางมากที่สุด คือ การออกกําลังกาย รองลงมาคือควบคุมอาหารและกินอาหารที่มีประโยชน และวิธีดังกลาวคนก็นําไปปฏิบัติกันเปนจํานวนมาก แสดงถึงอํานาจของวาทกรรมที่มากพอที่จะคอยบงการรางกายของคนแตละคนวาควรจะบังคับตนเองใหออกกําลังกาย หรือควบคุมอาหาร เพื่อที่จะไดมีรูปรางทีดีตามแบบฉบับที่สังคมใหนิยามเอาไว ในสวนของผูที่ไมไดเลนเพาะกายก็จะนําวิธีที่ทําใหรูปรางดีมาปฏิบัติกับตนเองในบางคร้ังบางคราว จะไมสมํ่าเสมอจริงจังเทากับนักเพาะกายที่จะมีการนํามาปฏิบัติที่บอยคร้ังและดูเหมือนนะจะเปนกิจวัตรประจําวัน เนื่องจากทัศนคติที่แตกตางกันของผูที่เลนและไมเลนเพาะกายสงผลใหภาคปฏิบัติแตกตางกันออกไป ถาคนที่เลนเพาะกายปฏิบัติเหมือนกับคนที่ไมไดเลนเพาะกาย คือ ออกกําลังกายบางคร้ังบางคราว กลามที่ตัวเองอยากมีก็คงจะไมเกิดข้ึน ฉะนั้นการจะมีกลามอยางที่นักเพาะกายวาดฝนไว จึงนํามาซึ่งการออกกําลังกายที่จริงจังตามไปดวย

รูปรางที่ดีของแตละคนในสังคมมีความแตกตางหลากหลายกันออกไป รูปรางผูชายมีกลามใหญอาจไดรับความนิยมในคนกลุมหนึ่ง แตสําหรับคนอีกกลุมหนึ่งกลับมองวาเปนรูปรางที่ไมดี และรูปรางที่ดีในชวงเวลาบางชวงก็ไดรับการยอมรับวาเปนรูปรางที่ดี เชน ในสมัยประมาณ พ.ศ.2500 รูปรางดาราแบบสมบัติ เมทนี ก็ไดรับความนิยมอยางสูง โดยทําใหในยุคนั้นภาพของผูชายที่มีกลามก็ถูกเสนอใหเปนรูปรางที่ดี แตพอถัดตอมาในยุคหนึ่งดาราผูชายที่เปนนักแสดงนํากลับเร่ิมมีหุนผอมไมมีกลาม คนในยุคนั้นก็เร่ิมเห็นวารางกายผูชายที่ดีก็ไมจําเปนตองมีกลามเสมอไป แคสูง ผอม สมสวน ก็ถือเปนรูปรางที่ดี ซึ่งรูปรางที่ดีในแตละยุคแตละสมัยก็มีเปนผลมาจากวาทกรรมของดารา ส่ือโทรทัศน นอกจากวาทกรรม เชน ส่ือตางๆ ไมวาจะเปน โทรทัศน, วิทยุ, หนังสือ ฯลฯ ที่สรางความจริง / ไมจริง สวย / ไมสวย ใหกับเราแลว กลุมสังคมที่เราเปนสมาชิกอยูก็มีสวนสําคัญในการผลักดันความคิดหรือคานิยมของเราใหเอนเอียงไปในทางเดียวกับสังคมที่เราอยู เชน คนที่ไมไดเลนเพาะกายมีคนทราบวิธีรักษารูปรางใหดีมาจากคนรอบขางก็พอสมควรและก็นํามาปฏิบัติดวย สวนคนที่เลนเพาะกายอยางเชน คุณพณิช ที่มาเลนเพาะกายก็เพราะถูกคนรอบขางที่รูจักทักวา มีรางกายที่ผอมไปเหมือนกับคนติดยาหรือข้ีโรค หลังจากที่ถูกทักบอยข้ึนก็รูสึกวาตัวเองอยากมีรางกายที่ใหญข้ึน จึงหันมาเลนเพาะกาย เห็นไดวาคนเราตองการเปนที่ยอมรับของคนในสังคม คงไมมีใครอยากทําตัวแปลกแยกออกไปจากส่ิงที่สังคมเห็นวาดีงาม ฉะนั้นคนจึงพยายามปฏิบัติตัวเองใหเขากับบรรทัดฐานของสังคมที่กําหนด ซึ่งบรรทัดฐานนี้ที่สุดแลวก็ถูกหลอ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

52

หลอมมาจากวาทกรรม เพราะคนรอบขางที่คอยสอนคอยเตือนเราอยูนั้นส่ิงที่เขาคิดและมาสอนเรา เขาก็ถูกวาทกรรมอันหนึ่งคอยกํากับเขาอยูเชนเดียวกัน สรุป ในโลกของเราการจะตัดสินวาส่ิงไหน ดี / ไมดี สวย / ไมสวย ไมไดข้ึนอยูกับส่ิงนั้นแตข้ึนอยูกับวาทกรรมที่คอยกํากับ เชน การจะตัดสินวา คนที่มีผิวขาว เปนคนที่มีผิวดีหรือไม ถาในสังคมไทยก็จะมองวาคนที่ผิวขาวเปนคนที่มีผิวดี ก็เพราะวาทกรรมในสังคมไทยคอยกํากับวาผิวขาว แสดงถึงการรักษาผิวไมใหโดนแสงแดด และแสดงถึงการไมไดทํางานหนักกลางแจงซึ่งหมายถึงการมีหนาที่การงานที่ดีดวย และผลิตภัณฑตางๆที่ขายเกี่ยวกับทําใหผิวขาวไมวาจะเปน ครีมกันแดด ครีมบํารุงตางๆ ก็ยังเปนตัวแสดงใหเราเห็นวา สังคมไทยใหคุณคาความหมายกับผิวขาวอยางไร ผิดกับในสังคมตะวันตกถาคนที่มีผิวขาวก็จะดูเปนคนที่ธรรมดาผิวไมไดรับความนิยม เพราะ ผิวของสังคมตะวันตกที่เปนที่นิยมจะเปนผิวสีแทน ซึ่งผิวสีนี้แสดงถึงการที่คนนั้นมีเงินและวันหยุดในการที่จะไปอาบแดดเพื่อใหผิวของตัวเองกลายเปนสีแทน และครีมที่มีชาวตะวันตกใชทาก็เปนครีมที่ทําใหผิวไหม ซึ่งแตกตางกับครีมที่คนไทยทากันอยางส้ินเชิง

เร่ืองผิวขาวของคนไทยกับคนตะวันตก ก็เปรียบเสมือนความชอบที่แตกตางของคนในสังคมไทยจะมองรูปรางที่ดีแตกตางกัน คนที่อายุ 60-70 ป กับนักศึกษามหาลัยศิลปากรก็มีความคิดเห็นในเร่ืองรูปรางที่ดีแตกตางกัน หรือจะเปนคนที่เลนและไมเลนเพาะกายก็จะยิ่งมองรูปรางที่ดีแตกตางกันอยางเห็นไดชัด เนื่องจากคนที่มีอายุที่แตกตางกันและการรับส่ือที่แตกตางกันก็ทําใหความชอบในรูปรางที่ดีมีความแตกตางกันออกไป สําหรับคนที่ไมไดเลนเพาะกายจะเชื่อกับวาทกรรมที่บอกวา ผูชายที่รูปรางดีจะตองสูง สมสวน มีกลามเล็กนอยหรือผอม ซึ่งเม่ือวาทกรรมนี้มีอํานาจมากกวาอีกวาทกรรมหนึ่ง ก็จะทําวาทกรรมที่แตกตางออกไปกลายเปนความเปนอ่ืน ซึ่งกลามแบบนักเพาะกายในความคิดของผูที่ไมไดเลนมองวาเปนกลามที่มากเกินไป แตสําหรับผูที่เลนเพาะกายจะมองวากลามแบบนักเพาะกายเปนกลามที่สวยงามสมบูรณ ซึ่งทัศนคติที่แตกตางของทั้ง 2 กลุมมาจากวาทกรรมแตกตางกัน ถาวาทกรรมไหนมีอํานาจมากกวาอีกวาทกรรมหนึ่ง วาทกรรมรองลงมาก็จะกลายเปนความเปนอ่ืนในสายตาของคนที่เชื่อในอีกวาทกรรมหนึ่งไปในทันที สําหรับรูปรางที่ดีระหวางผูที่เลนและไมเลนเพาะกายเราอาจจะมองเห็นภาพไดชัดวาผูที่เลนเพาะกายและไมเลนเพาะกายมองรูปรางที่ดีเปนแบบไหนและไมดีเปนไหน แตใชวาผูที่ไมเลนเพาะกายก็จะมองรูปรางที่ดีไปในทิศทางเดียวกันหมด ในสวนของผูที่ไมเลนเพาะกายก็ยังมอง

สำนกัหอ

สมุดกลาง

53

รูปรางที่ดีแตกตางกันออกไป เปนเพราะชวงอายุที่แตกตางกันหรืออาชีพที่แตกตางกันก็ตาม เหตุปจจัยเหลานี้เปนตัวที่ทําใหคนที่อยูในสถานะที่แตกตางกันรับวาทกรรมที่แตกตางกันออกไปดวย เชน คนในอายุ 60-70 ป ก็จะเห็นภาพของดาราพระเอก ที่มีกลาม สูงใหญ ฉะนั้นคนในวัยนี้ก็มองรูปรางของผูชายทีด่ีควรจะเหมือนหรือคลายกับดาราพระเอกที่เขาชื่นชอบ เชน สมบัติ เมทนี แตคนอายุ 40-59 ป ก็ไดมองรูปรางที่ดีของผูชายหลากหลายมากข้ึนกวาคนอายุ 60-70 ป เนื่องจากในชวงนี้ดาราพระเอก เร่ิมจะมีรูปรางที่ผอม สูง ไมมีกลาม คนบางสวนก็เร่ิมหันมาชอบและเห็นวารูปรางแบบนี้เปนรูปรางที่ดี แตใชวารูปรางแบบ สมบัติ เมทนี ที่มีกลาม สูงใหญ จะไมไดรับความนิยมเลยแตแคไดรับความนิยมนอยลงไปเพราะมีรูปรางที่แตกตางออกไปมาแยงชวงชิง ความหมายของคําวา รูปรางที่ด ี

ดังนั้น ไมวารูปรางในลักษณะใดที่ไดรับการยอมรับจากคนที่ไมไดเลนเพาะกายทั้งนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร, คนอายุ 40-59 ป, คนอายุ 60-70 ป และผูที่เลนเพาะกายวาเปนรูปรางที่ดี สุดทายแลวคงไมมีใครตัดสินไดวารูปรางแบบไหนดีกวากันและแยกวากัน เพราะการตัดสินนั้นข้ึนอยูกับแตละบุคคลวาจะเลือกเชื่อและยอมรับในวาทกรรมใดมากกวากันมากกวา และมิอาจกลาวไดวาลักษณะของรูปรางที่ดีจะตองมีลักษณะตายตัวเสมอไป แนนอนวาในอนาคตสังคมมนุษยยอมตองมีการเปล่ียนแปลงตามกาลเวลาและยุคสมัย ซึ่งรูปรางแบบนักเพาะกายที่มีลักษณะของกลามเยอะ อาจกลับมาไดรับความนิยมจากคนหมูมากในสังคมดังเชนอดีตก็เปนได

สำนกัหอ

สมุดกลาง

54

บรรณานุกรม

หนังสือ เอกสารและบทความ

Ken Druck and James C.Simmons. กระชากหนากาผูชาย. แปลโดย รัตนะ โสภาพรรณ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพขาวฟาง, 2533

ชัยนาถ นาคบุปผา. โลกของวัยรุน. เชียงใหม : โรงพิมพแสงศิลปะ, 2515

ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร. วาทกรรมการพัฒนา : อํานาจ ความรู ความจริง เอกลักษณ และความ เปนอ่ืน. พิมพคร้ังที3. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพวิภาษา. 2545

ฟอง เกิดแกว. การพลศึกษา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพวัฒนาพานิช. 2520

แถมสุข นุมนนท. การปกครองและสังคมไทย. นครปฐม : แผนกบริการกลาง สํานักงานอธิการบดี พระราชวังสนามจันทร มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2521

ธงชัย วินิจจะนุกูล. “วิธีการศึกษาประวัติศาสตรแบบวงศาวิทยา (Genealogy)”. รายงานโครงการวิ ขัยเสริมหลักสูตร ของ คณะศิลปะศาสตร, กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2534

ธันวา วิน. “ประเพณีรัดเทาหญิงในจีน” ศิลปวัฒนธรรม ปที่21, ฉบับที่4 (ประจําเดือน กุมภาพันธ 2543) : 136-137

นพคุณ วันแตง. โลกเพาะกาย1. กรุงเทพฯ : เม็ดสีการพิมพ, 2542

ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล. “ความนํา” ใน เผยราง – พรางกาย. กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพ คบไฟ, 2541

พิชิต ภูดิจันทร. เวชศาสตรการกีฬา Sports Medicne. กรุงเทพฯ : โอ.เอส. พร้ินติ้ง เฮาส, 2535

สุชา จันทนเอม. จิตวิทยาวัยรุน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพอักษรบริการ, 2515

สำนกัหอ

สมุดกลาง

55

สุชาดา ทวีสิทธิ.์ “วาทกรรมกับการร้ือสรางตัวตนของผูหญิงในสังคมไทย” วารสารมนุษยศาสตร และสังคมศาสตร ปที1่0, ฉบับที่2 (ประจําเดือนกรกฏาคม – ธันวาคม 2545) : 8-9

สายพิณ ศุพุทธมงคล , ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล , พรรณราย โอสถาภิรัตน และสุดแดน วิ สุทธิลักษณ. “สํารวจทฤษฎีรางกาย” ใน เผยราง – พรางกาย. 14 – 50. กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพคบไฟ. 2541

อเนก นาวิกมูล. การแตงกายสมัยรัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ : ดานสุทธาการพิมพ. 2525

วิทยานิพนธและงานวิจัย

กชกรณ เสรีฉันทฤกษ. “วาทกรรมความงามของผูหญิงในสังคมไทย : มุมมองพหุมิติ.” วิทยานิพนธ ศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสตรีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2551.

กิตติพร ใจบุญ. “ความจริงในเร่ืองเข่ือน : บทศึกษาการปฎิบัติการทางวาทกรรมในสังคมไทย ตั้งแต พ.ศ. 2490-2537.” วิทยานิพนธสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต สาขา มานุษยวิทยา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2538.

จงกลนี โตสกุลวงศ. “การวิเคราะหวาทกรรม การใหความหมายส่ือส่ิงพิมพลามกของ 9 สถานบัน ในสังคมไทย.” วิทยานิพนธวารสารศาสตรมหาบัณฑิต สาขาส่ือสารมวลชน คณะวารสาร ศาสตรและส่ือสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2542.

เยาวนุช เวศรภาดา. “วาทกรรมความรูในการฟนฟูวัฒนธรรมทองถิ่น กรณีศกึษา อุทยานการศึกษา หมูบานวัฒนธรรมเขาขุนศรี ตําบลบานเกาะ อําเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช.” วิทยานิพนธสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต สาขามานุษยวิทยา คณะสังคม วิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2545.

ศิริพร ศรีสินธุ อุไร. “ปฏิบัติการทางวาทกรรมของชาวบาน : กรณีศึกษา “ปาทามกุดเปง.” วิทยานิพนธสังคมและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต สาขาสังคมวิทยา คณะสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2542.

สำนกัหอ

สมุดกลาง

56

ศศิธร เกตุทัต. “วาทกรรมวาดวยภาพนูด : กรณีศึกษาผลงานศิลปะนูดรวมสมัย.” สารนิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2549.

สุภิญญา กลางณรงค. “มาตรา 40 กับวาทกรรมการปฏิรูปส่ือ.” วิทยานิพนธวารสารศาสตรมหา บั ณ ฑิ ต ส า ข า ส่ื อ ส า ร ม ว ล ช น ค ณ ะ ว า ร ส า ร ศ า ส ต ร แ ล ะ ส่ื อ ส า ร ม ว ล ช น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2543.

อภิวัฒน เผาพันเลิด. “การออกแบบเลขนศิลปส่ิงพิมพสถานเพาะกาย.” ศิลปะนิพนธศิลปะบัณฑิต สาขาออกแบบนิเทศศิลป คณธมัณฑศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2529.

เว็บไซตและสื่อออนไลน

ดร.พันธศัก. เนคเทคสแกนรูปรางคนไทย สาวเอวไมคอดแถมอวนเยอะ. [Online]. Accessed 20 July 2009. Available from http://www.never-age.com/wb/viewtopic.php?f=2&t=231

พ.ต.ต.วิษณุ ตุวยานนท. ประวัติศาสตรการเพาะกาย. [Online]. Accessed 18 September 2009. Available from http://www.tuvayanon.net/2hty.html

ประวัติสมาคมกีฬาเพาะกายแหงประเทศไทย. [Online]. Accessed 18 September 2009. Available from http://www.tbba.or.th/?page_id=2

สำนกัหอ

สมุดกลาง

ภาคผนวก ก

ประวัติความเปนมา และพัฒนาการของกีฬาเพาะกาย

สำนกัหอ

สมุดกลาง

58

ภาคผนวก ก

ประวัติความเปนมา และพัฒนาการของกีฬาเพาะกาย

สังคมไทยปจจุบัน คนนิยมหันมาสนใจและใสใจกับสุขภาพรางกายกันมากข้ึน ดวยวิวัฒนาการของเทคโนโลยีที่ทันสมัยและกาวหนา ทําใหยาบํารุงสุขภาพ จําพวกวิตามินและอาหารเสริมที่สังเคราะหข้ึนกําลังไดรับความนิยมเปนอยางมาก เนื่องจากงายตอการหาซื้อและบริโภคของคนในสังคมที่ตองใชชีวิตแขงขันกับเวลา ซึ่งตามหลักการพื้นฐานที่ถูกตองนั้น การที่คนจะมีสุขภาพรางกายที่สมบูรณแข็งแรงจะตองออกกําลังกายสมํ่าเสมออยางถูกวิธีและรับประทานอาหารที่ถูกตองตามหลักโภชนาการ ในบทนี้ผูศึกษาจะกลาวถึงความหมายของการเพาะกาย ประวัติความเปนมาของการเพาะกาย รวมถึงประวัติเพาะกายในประเทศไทยและสมาคมเพาะกายแหงประเทศไทย พรอมทั้งหลักการเบื้องตนของการเพาะกายและประโยชนที่ไดรับ ความหมายของการเพาะกาย

การเพาะกาย (Body building) เปนคําที่มีความหมายครอบคลุมกิจกรรมทั้งปวงที่เกี่ยวของกับการฝกรางกายดวยอุปกรณที่อาศัยแรงกดดัน ทําใหผูฝกตองออกแรงตานขณะเคล่ือนไหวรางกาย ทาที่ใชฝกการเพาะกายนั้นจัดอยูในการออกกําลังกายแบบที่เ รียกวา “Anaerobic exercise” คือ การออกกําลังกายที่มีความเขมขนสูง โดยการเผาผลาญพลังงานที่ไดจากน้ําตาลเสียสวนมาก เพราะการออกกําลังกายที่มีความเขมขนสูงนี้จําเปนตองใชพลังงานจากแหลงพลังงานที่มีการเผาผลาญอยางทันทวงที พลังงานดังกลาวรางกายจะเก็บสะสมไวในมัดกลามเนื้อและตับในรูปของไกลโคเจน (Glycogen) น้ําตาลที่รางกายสะสมไวจากการไดรับสารอาหารประเภทคารโบไฮเดรต จึงสามารถเปล่ียนเปนพลังงานฉุกเฉิน ที่รางกายนําไปใชเปนพลังงานไดทันที ดังนั้นหลังจากการออกกําลังดวยการเพาะกาย กลามเนื้อสวนตางๆของรางกายจะไดรับพลังงานอยางเต็มที่นั่นเอง ประวัติความเปนมาของการเพาะกาย

การออกกําลังกายนั้นมีมาตั้งแตในสมัยกรีกโบราณ ราว 3,000 ป กอนคริสตศักราช การออกกําลังกายในสมัยกรีกโบราณมีมากมาย เชน การว่ิง มวยปลํ้า การกระโดด การเตนรํา การพุงแหลม ฯลฯ คนกรีกโบราณถือวาการออกกําลังกายเหลานี้มิใชจะกระทําเพื่อการรับรางวัลเปนการตอบแทน แตเพื่อความสมบูรณและพลานามัยที่แข็งแรงของรางกาย โดยมุงหวังที่จะใหเปนผูมี

สำนกัหอ

สมุดกลาง

59

รางกายไดสวนสัด ถือวาเปนศิลปะอยางหนึ่งในการที่จะประกวดสวนสัดอันแทจริงของรางกาย เปนการพัฒนาตนเองที่จะนําไปสูการเปนผูมีรางกายอันสงางามตอไป (ฟอง เกิดแกว 2520 : 7)

หลังจากสมัยกรีกโบราณมาถึงค.ศ.1900 ตรงกับป พ.ศ.2443 ผูคนในอเมริกาให

ความสําคัญกับเร่ืองการดูแลรักษาสุขภาพใหแข็งแรง โดยมีการทํางานในฟารม รับประทานอาหารที่มาจากแหลงธรรมชาติ ไมมีการดัดแปลงอาหาร ตอมาเม่ือเกิดความเจริญกาวหนาข้ึนในเมืองหลวง คนหนุมสาวจึงนิยมพากันเดินทางจากเมืองเล็กๆ ในชนบทเขาสูเมืองหลวงที่เต็มไปดวยรถยนต เคร่ืองจักร ดวยสภาวะแวดลอมแบบสังคมเมือง ทําใหเกิดการรับประทานอาหารที่ไมมีประโยชน เชน อาหารจําพวกฟาสตฟูด (Fast Food) เปนตน และยังตองดําเนินชีวิตที่แขงขันกันในการทํางาน กอใหเกิดความเครียดและไมมีเวลาออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ ทําใหคนในสังคมเมืองตางพากันรางกายทรุดโทรม

ชวงเวลาดังกลาว มีผูพยายามปลุกกระแสคนในเมืองใหดูแลรักษาสุขภาพตนเอง และมี

สรางคานิยมการยกยองผูที่มีความแข็งแกรงในรางกาย เพื่อจะไดนําไปลบลางกับคานิยมที่ทํางานหาแตเงินอยางเดียว สมัยนั้น มีผูแข็งแกรงที่แสดงออกดวยการโชวพละกําลังตามงานตางๆหลายๆคน และยูจีน แซนดาว (Eugene Sandow) ซึ่งเปนชาวเยอรมันก็เปนหนึ่งในนั้น

ยูจีน แซนดาว (Eugene Sandow) เดินทางเขามาถึงอเมริกาในป ค.ศ.1890 หรือตรงกับ

ป พ.ศ.2433 ของไทย โดยมีพี่เล้ียงคือ ฟลอเรนส เซยเฟล ที่พาเขาตระเวนโชวตัวไปตามที่ตางๆ เขาโดงดังมาจากการทาแขงอะไรก็ไดกับผูที่มีชื่อเสียงวาแข็งแรงที่สุด เนื่องจากแซนดาวชนะหมดทุกคร้ัง เขามีพละกําลังอยางมหาศาล เขายกคนสองคนข้ึนจากพื้น เขายกลูกเหล็กขนาดใหญที่ทดลองใหคนสองคนชวยกันยกอยางทุลักทุเล แตเขากลับยกข้ึนไดดวยมือเดียว เขาสามารถเอาเหล็กยาวๆพาดบนหนาขา แลวใหมาเดินผานเหล็กนั้น อันเปนการแสดงถึงพละกําลังอันมหาศาล ความแข็งแกรงและกลามเนื้อที่งดงามนี้ที่ทําใหแซนดาวมีชื่อเสียงโดงดัง แซนดาวจะข้ึนไปบนเวทีแลว และโพส (post) ทาตางๆในสภาพไรอาภรณ มีเพียงใบไมปดของสงวนไวเทานั้น ทุกๆคนยอมรับในความสวยงาม ความสมสวน และพัฒนาการของกลามเนื้อเขา รูปรางเพศชายในทัศนะใหมๆถูกสรางข้ึนมาในขณะนั้น

สำนกัหอ

สมุดกลาง

60

ภาพที่ 5 แสดงภาพถายของยูจีน แซนดาว

เขาไดจัดการแขงขันเพาะกายเปนคร้ังแรกเม่ือวันที่ 14 กันยายน 1901 โดยเรียกการแขงคร้ังนั้นวา “Great Competition” โดยจัดการแขงขันที่ Royal Albert Hall ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ โดยมีกรรมการตัดสินคือ Sandow, Sir Charles Lawes, และ Sir Arthur Conan Doyle โดยการตัดสินจะใชสายวัด วัดสวนตางๆของรางกายเทียบขนาดกัน การแขงคร้ังนั้นประสบความสําเร็จเปนอยางมาก รางวัลในคร้ังนั้นเปนรูปหลอสีทองแดงของนายแซนดาวเอง รางวัลแกะสลักโดย Frederick Pomeroy ผูชนะในคร้ังนั้นคือ William L. Murray จาก Nottingham ประเทศอังกฤษ

หลังจากนั้นเขาไดเสียชีวิตลงจากที่รถของยูจีนว่ิงตกถนนไปแชอยูในคูน้ําเล็กๆ แทนที่เขาจะใหรถมาลาก เขากลับใชมือขางเดียวของเขาเองยกรถคันดังกลาวข้ึนมาได แตเพราะการออกแรงมากเกินไป เขาเกิดอาการเลือดออกในสมอง ซึ่งจบชีวิตของเขาลงในเวลาตอมา ค.ศ.1920 - 1930 (พ.ศ.2463 - 2473)

ในชวง ค.ศ.1920 - 1930 (พ.ศ.2463 - 2473) เปนชวงเวลาที่ "การพัฒนากลามเนื้อ" กับ "การพัฒนาสุขภาพ" ใกลจะรวมกันแลว สมัยนั้นรูแตเพียงวาการยกลูกน้ําหนักเปนการพัฒนากลามเนื้อไดอยางรวดเร็ว แตจะตองยกทาไหนอยางไร ยังไมมีคําตอบที่ชัดเจน เพราะความรูเกี่ยวกับการเลนกลามมีจํากัดมาก ผูคิดคนตางๆไดลองผิดลองถูก โดยลองดูวาทาไหนบริหารแลว ไดผลออกมาทําใหรางกายใกลเคียงกับนักเพาะกายรุนกอนหนาพวกเขา เขาก็จะบันทึกไว

สำนกัหอ

สมุดกลาง

61

ภาพที่ 6 แสดงภาพถายของลูอิส เซียร ภาพที่ 7 แสดงภาพถายของซิกมัน เคลียน ตอมาชวงตนศตวรรษที่ 19 "ลูอิส เซียร" ไดโดงดังข้ึนมาในฐานะตัวแทนแหงความ

แข็งแกรงของมวลมนุษย เขามีน้ําหนักตัว 136 กิโลกรัม ,รางกายหนาแบบมะขามขอเดียว เนื้อตัวแนนแบบถังเบียร แต 20 ปตอมาก็มีผูแข็งแกรงคนใหมข้ึนมาทาบ ลูอิส เขาคือ ซิกมัน เคลียน รูปรางของซิกมัน แตกตางกับลูอิส ราวฟากับเหว ซิกมันมีรูปทรงกลามเนื้อที่สวยงาม สมดุลและสมสวน ไขมันทั่วรางกายมีนอยนิด และมีรอยแตกของกลามเนื้อตามสวนตางๆชัดเจนเตะตา เขาเปนเจาของโรงยิม และเปนคนเขียนตําราการยกน้ําหนัก แตในชวงดังกลาว (ค.ศ.1930 หรือ พ.ศ.2473) ผูคนบางกลุมก็ยังไมยอมรับวาการยกน้ําหนักเปนกีฬา แตกลับมองวามันเปนการ "ข้ีโกง" ที่เอาเวลาสวนใหญไปฝกตัวเองดวยลูกเหล็ก ทําใหรางกายออกมาดูดีกวานักกีฬากรีฑาที่ฝกหนักตลอดปเหมือนกัน

อยางไรก็ตาม การพยายามแสดงวากีฬาของตัวเองดีกวากีฬาชนิดอ่ืน ทําใหเกิดการเปรียบเทียบ ประกวดประชันกันบนเวทีข้ึนมา ค.ศ.1930 - 1938 (พ.ศ.2473 ถึง 2481)

ในชวงระหวางป ค.ศ.1930 - 1938 (พ.ศ.2473 ถึง 2481) มีการนําเอานักมวย, นักยิมนาสติก, นักวายน้ํา, นักยกน้ําหนัก (weightlifters) และนักกีฬาอยางอ่ืนข้ึนโชวตัวบนเวทีเดียวกัน และใหทุกๆคนโชวความสามารถตางๆในกีฬาที่ตัวเองถนัด และกลายเปนวานอกจากนักยกน้ําหนักจะยกน้ําหนักโชวแลว เขายังสามารถทรงตัวอยูบนแขนขางเดียวและยังทําทาทางไดเหมือนนักยิมนาสติกอีกดวย

สำนกัหอ

สมุดกลาง

62

ค.ศ.1939 - 1940 (พ.ศ.2482 ถึง 2483) ในชวง ค.ศ.1939 (พ.ศ.2482) ไดเกิดการประกวด มิสเตอรอเมริกา ข้ึนเปนคร้ังแรกที่เมดิ

สันสแควร ผูที่เขารวมประกวด มาจากนักกีฬาหลายสาขา ยังไมใชคนที่มาจากนักยกน้ําหนักลวนๆ บางก็ใสกางเกงชกมวยขาส้ัน บางก็ใสกางเกงจอกกี้ข่ีมา แตผูที่ชนะก็ยังเปนผูที่สรางรางกายมาจากลูกน้ําหนักอยูดีใน ป ค.ศ.1940 (พ.ศ.2483) ไดมีการบัญญัติศัพทนักเพาะกาย "body builder" แยกมาจาก นักยกน้ําหนัก (weightlifters) และไดนักเพาะกายคนแรกคือ จอหน กริเม็ค ซึ่งก็คือผูชนะการประกวดมิสเตอร USA

ในป ค.ศ.1940 จอหน กริเม็ค คือผูชี้ใหเห็นวา

การจะเพาะกายใหมีรูปรางสวยงามเหมือนตนแบบนั้น จะตองฝกดวยตารางฝกเดียวกันกับครูตนแบบ จอหน กริเม็คแสดงการโพสทาตางๆบนเวทีแตละคร้ังเปนเวลา 30 นาทีรวดเพื่อโชวกลามเนื้อ, ความสมสวน, การประสานการทํางานของกลามเนื้อตางๆ

ภาพที่ 8 แสดงภาพถายของจอรน กริเม็ด

ค.ศ.1947 - 1950 (พ.ศ.2490 ถึง 2493)

ในชวง ค.ศ.1947 (พ.ศ.2490) ก็ไดเกิดนักเพาะกายที่มี

ชื่อเสียงอีกคนหนึ่ง คือ สตีฟ รีฟ เด็กหนุมอายุวัย 21 ป ไดแชมปมิสเตอรอเมริกา พออายุ 22 ป เขาก็ตําแหนง Mr.World สตีฟเปนนักเพาะกายที่หนาตาหลอเหลา สุภาพ รูปรางแข็งแกรงสมชายชาตรี สตีฟ รีฟฟ ทําใหคนหันมาสนใจการเพาะกายมากข้ึนอีก และโดยเฉพาะอยางยิ่งหลังจากที่ชนะรายการ Mr.Universe

ภาพที่ 9 แสดงภาพถายของสตีฟ รีฟฟ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

63

ตอมาในป ค.ศ.1950 (พ.ศ.2493) แลวเขาไดเปนดาราภาพยนตรหลายเร่ืองและที่สรางชื่อเสียงก็คือในบทของเฮอรคิวลิส นั่นเองที่ทําใหผูคนโดยทั่วไปไดเห็นเนื้ออยางชัดๆของเขาบนแผนฟลม

อีกหนึ่งคน คือ อารโนลด ชวาลเซเนกเกอร เกิดป ค.ศ.1947 (พ.ศ.2490) ชวงที่สตีฟรีฟ กําลังเร่ิมโดงดังพอดี จากนั้นเม่ือเวลาผานไป 20 ป คือใน ป ค.ศ.1967 (พ.ศ.2510) อารโนลดฯข้ึนประกวดรายการมิสเตอรยูนิเวอรส และไดแชมปในรุนสมัครเลน (Amature Mr.Universe) และในปตอมาอารโนลดก็เขาแขงรายการเดิมอีกคร้ัง และเขาก็ชนะการแขงขันอีกคร้ังหนึ่งการลองผิดลองถูกมาตั้งแตยุคของกรีเม็ค จนถึงยุคอารโนลด ความรูทางดานเพาะกายไดตกผลึกจนสามารถสรุปออกมาไดทําใหบุคคลรุนหลังไมตองเสียเวลาทดลอง ลองผิด ลองถูกดวยตนเองอีก การบริหารที่ถูกตอง จะตองมีการแบงเปนเซท มีการพักระหวางเซต การบริหารกลามเนื้อจะตองแยกสวนกันบริหาร กลามเนื้อชิ้นใหญตองพักอยางนอย 3 วัน, สวนกลามเนื้อชิ้นเล็ก พักอยางนอย 2 วัน ฯลฯ

ในยุคของอารโนลดเปนตนมา ถือวาเปนยุคที่เรียกวา “Modern Bodybuilding” เนื่องจาก

เปนการเพาะกายยุคใหม และเม่ือมีภาพยนตรเร่ือง “Pumping Iron” ที่เปนหนังกึ่งสารคดี แสดงโดยอารโนลดและนักเพาะกายทานอ่ืนๆที่มีชื่อเสียงในยุคเดียวกัน ออกสูแผนฟลมทําใหคนทั่วไปรูจักการเพาะกายมากข้ึนไปอีก

ภาพที่ 10 แสดงภาพถายของอารโนล ชวาสเนกเกอร

สำนกัหอ

สมุดกลาง

64

อาจกลาวไดวาทั้ง จอหน กริเม็ค และสตีฟ รีฟฟ นี่เอง ที่เปนจุดเร่ิมตนของการทําลายขอบเขตความเปนไปไดของรางกายมนุษยที่ปรากฎอยูในตําราการแพทยทั้งหลาย ไมวาจะเปนขอสรุปนี้วา คนเราไมสามารถยกของที่หนักกวาน้ําหนักตัวได, เปนไปไมไดที่กลามแขนของมนุษยเราจะใหญกวา 15 นิ้ว เม่ือเทียบกับขนาดเอว 27 นิ้ว เหลานี้เปนตน ทําใหคนสวนใหญเร่ิมเขาใจถึงวาการที่จะมีรางกายที่สวยงามนั้นสามารถ "สราง” (Build) ข้ึนมาได และการเพาะกายเร่ิมไดรับการศึกษาอยางกวางขวางในเวลาตอมา สวนในชวงสิบกวาปของอารโนลดหลังจากนั้น ถือเปน "ยุคทอง" ของการเพาะกาย เพราะมีการเผยแพรความรูดานเพาะกายมากที่สุดในประวัติศาสตร มีคนเลนกลามมากที่สุดเทาที่เคยมีมา อันเห็นไดจากอุตสาหกรรมการผลิตเคร่ืองออกกําลังกาย, อาหารเสริมสุขภาพ, นิตยสารเพาะกายหลายสํานักพิมพ, ชื่อรายการประกวด ใหมๆเกิดข้ึนในทุกรัฐของอเมริกา ทุกอยางที่เกี่ยวของกับการเพาะกายเติบโตอยางมาก สงผลใหสถานที่ออกกําลังกายหรือโรงยิมส (Gym) ตางๆ เต็มไปดวยคนที่สนใจเลนกลาม (“ประวัติศาสตรเพาะกาย,” ออนไลน, 2552) ประวัติเพาะกายในประเทศไทยและสมาคมเพาะกายแหงประเทศไทย

กีฬาเพาะกายในประเทศไทยมีประวัติคลายๆของตางประเทศ โดยจุดกําเนิดกีฬาเพาะกายนั้นเร่ิมมาจากกีฬามวยปลํ้าในซึ่งไดรับความนิยมมาในประเทศไทยในอดีต มีการถายทอดใหชมทางสถานีโทรทัศนชอง 4 บางขุนพรหม มวยปลํ้าที่นํามาแพรภาพนั้นจะเปนของตางประเทศ โดยมีอาจารย เจือ จักษุรักษ เปนคนพากย เนื่องจากนักกีฬามวยปลํ้าตองมีรางกายที่สมบูรณแข็งแรงมีกลาม จากกีฬามวยปลํ้าจึงไดพัฒนาตอมาจนเกิดเปนกีฬาเพาะกาย จากกีฬาเพาะกายเปนที่รูจักของคนทั่วไปก็ไดเกิดการกอตั้งสมาคมเพาะกายแหงประเทศไทย ชวงแรกของการกอตั้งเกิดจากบุคคลที่สนใจในกีฬาเพาะกายรวมกันจัดตั้งข้ึนมา ซึ่งในตอนแรกไมไดมีเงินสนับสนุนจากรัฐเหมือนกับสมาคมอ่ืนๆ (ลือชา 2552)

จากนั้นไดจดทะเบียนสมาคมที่ ที่ทําการกองตํารวจสันติบาล เม่ือ วันที่ 31 สิงหาคม 2496 และ สภาวัฒนธรรมแหงชาติ ในวันที่ 12 พฤษภาคม 2496 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ สรางเสริมสุขภาพพลานามัย และทรวดทรงของรางกาย, เพื่อบํารุงจิตใจปญญา สามัคคี, เพื่อแนะนําและเผยแพรกีฬาเพาะกายที่ถูกตองเพื่อความปลอดภัยแหงชีวิต และเพื่ออบรมเยาวชนและประชาชนใหสนใจในการเพาะกายมากข้ึน ซึ่งเปนวิธีที่จะชวยใหหลีกเล่ียงจากอบายมุข ตอมาไดจดทะเบียนตอการกีฬาแหงประเทศไทย และไดรับอนุญาตใหใชคําวา “แหงประเทศไทย” ตามกฎหมาย ใบอนุญาตที่ 002 / 2535 ใหไว ณ วันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2535 โดย นายสมชาย ประเสริฐศิริพันธ ผูวาการการกีฬาแหงประเทศไทย และไดรับใบอนุญาตใหดําเนินการจัดตั้งชื่อสมาคมสงเสริมการ

สำนกัหอ

สมุดกลาง

65

เพาะกายแหงประเทศไทย ตามใบอนุญาตที่ 007 / 2535 เม่ือ วันที่ 7 สิงหาคม 2543 ไดมีการตกลงทําหนังสือปฎิญญารวมกันระหวางสมาคมสงเสริมการเพาะกายแหง ประเทศไทย และสมาคมเพาะกายสมัครเลนแหงประเทศไทย ในการจัดองคกรกีฬาภายใตชื่อเดียววา สมาคมกีฬาเพาะกายแหงประเทศไทย ตามใบอนุญาตที่ 001 / 2544 ลงนามโดย นายเจริญทัศน จิตนเสรี ผูวาการการกีฬาแหงประเทศไทย ณ วันที่ 9 มีนาคม 2544 เปนตนมา (สมาคมเพาะกายแหงประเทศไทย, ออนไลน, 2552)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

ภาคผนวก ข

กีฬาเพาะกายเบื้องตน

สำนกัหอ

สมุดกลาง

67

ภาคผนวก ข

หลักการเบื้องตนของการฝกเพาะกาย การฝกเพาะกายเม่ือฝกอยางหนัก กลามเนื้อที่ใชฝกอยางหนักนั้นตองไดรับการพักฟนเปนเวลาประมาณ 48 – 96 ชั่วโมง กอนที่จะถูกใชงานอยางหนักในคราวตอไป ชวงพักดังกลาว คือ การปลอยโอกาสใหรางกายไดซอมแซมและเสริมสรางกลามเนื้ออยางเพียงพอ จนกระทั่งกลามเนื้อมีมวลเพิ่มข้ึน และแข็งแรงมากข้ึน ดวยเหตุผลขางตน ผูฝกเพาะกายจึงตองฝกสัปดาหละ 3 คาบ ตามหลักสากล ไดแก วันจันทร วันพุธและวันศุกร สวนในวันอังคาร วันพฤหัสบดี วันเสารและวันอาทิตยเปนวันวางเวนจากการฝก หรืออีกทางเลือกหนึ่ง คือ การฝกวันอาทิตย วันอังคาร และวันพฤหัสบดี เปนตน คําศัพทเบื้องตนท่ีนักเพาะกายควรรู เร็ป (rep) เปนคําเรียกส้ันๆ ที่มาจากคําวา “Repetition” ในการฝกแตละทาจะมีคําอธิบายประกอบ กําหนดวาผูฝกจะตองฝกทานั้นๆ กี่คร้ัง เร็ปก็คือจํานวนคร้ังที่ฝกในแตละทานั่นเอง การนับคร้ังของการฝกใหนับตั้งแตเร่ิมเคล่ือนไหวทาฝกไปจนถึงจุดส้ินสุดการเคล่ือนไหวทาฝก ซึ่งจะนับการเคล่ือนไหวตั้งแตจังหวะเร่ิมตนจนสุดปลายจังหวะนี้วา คร้ัง ทั้งนี้ผูฝกตองศึกษาทาฝกแตละทาใหเขาใจจนแจมแจงวา ทานั้นๆ เร่ิมตนอยางไร ตรงจุดไหน เนื่องจากทาฝกตางๆ แตละทามีจุดเร่ิมตนไมเหมือนกันอาทิ เชน ทาเดดลิฟท (deadlift) จุดเร่ิมตนนับตั้งแตกมตัวลงจับบารเบลลซึ่งวางอยูบนพื้น และจุดส้ินสุดอยูที่ยกบารเบลลจากพื้นอยูในทายืนตรงเหยียดแขนจับคานบารเบลลเชนนี้ใหนับ 1 คร้ัง คําวาเร็ปซึ่งหมายถึงคร้ังที่เคล่ือนไหวทาฝกนี้ มีความหมายรวมไปถึงทาฝกซ้ําติดตอกันเทานั้นเทานี้คร้ังหรือทําซ้ําติดตอกันเทานั้นเทานี้คร้ัง กอนที่จะหยุดพักดวย เซ็ต (set) คํานี้มีผูเรียกกันเปนหลายอยาง ใชเรียกทับศัพทวา เซ็ต บางเรียกวา ชุด หรือ รอบ หรือ ยก บาง ซึ่งความหมายก็ คือ การเคล่ือนไหวในทาฝกเทานั้นเทานี้คร้ัง กอนที่จะหยุดพัก เราเรียกรวมจํานวนคร้ังที่เคล่ือนไหวทาฝกติดตอกันนี้วา เซ็ต ตัวอยางเชน ในทายืนตรงงอแขนยกบารเบลลในการฝกกลามแขนดานหนาที่มีชื่อเรียกวา barbell curl เม่ือมีคําอธิบายกํากับวาในทานี้ฝกสามเซ็ต เซ็ตละ 6 ครง (นิยมเขียนวา 3 x 6) ก็หมายความถึงวา ผูฝกตองยกบารเบลลจากบริเวณหนาตนขาจนถึงหนาอกหรือใตคางเปนรัศมีโคจรรูปคร่ึงวงกลมจนครบ 6 จึงวางบารเบลล

สำนกัหอ

สมุดกลาง

68

เม่ือถึงตอนนี้ หมายความวา ผูฝกเพาะกายไดเคล่ือนไหวทาฝกนี้ครบหนึ่งเซ็ตแลว จากนี้ผูฝกพักชวงส้ันๆ แลวกมลง ยกบารเบลลข้ึน ฝกซ้ําติดตอกันอีก 6 คร้ัง จึงวางบารเบลล ซึ่งหมายถึงวา ผูฝกไดเคล่ือนไหวทาทางฝกเซตที่สองเสร็จส้ินแลว ความสมสวนของรางกาย (Body symmetry) พิจารณาจากทรวดทรงโดยทั่วไป เชนมีไหลผายกวาง ลําตัวเปนรูปตัววี ขอตอมีกลามเนื้อหอหุม ดังนั้นความสมสวนจึงข้ึนอยูกับโครงสรางทางธรรมชาติและมวลกลามเนื้อ (นพคุณ วันแตง 2542 : 14-20) ระยะเวลาในการฝกเพาะกาย

ชวงเวลาของการฝกสวนใหญนักเพาะกายที่มีความชํานาญหรือมีประสบการณสูงนิยมฝกเพาะกาย คือ ในตอนเชาในชวง 08.00 น. ถึง 12.00 น. หรือตอนเย็นในชวง 15.00 น. ถึง 18.00 น. แตสุดทายชวงเวลาฝกผูฝกก็ควรจะเลือกเอาชวงเวลาที่เหมาะสมและสะดวกที่สุด แลวยึดถือชวงเวลานั้นตรงกันทุกคาบฝก เพื่อรางกายจะไดปรับตัวไดทัน และเกิดความเคยชินตอการฝกหนัก การฝกเพาะกายจะมีการพักระหวางเซ็ต คือ การปลอยใหโอกาสใหกลามเนื้อสวนที่กําลังไดรับการฝกอยู ไดฟนฟูพลังงานบางสวนเพื่อฝกเซ็ตตอไป โดยปกติชวงพักระหวางเซ็ตกินเวลาประมาณ 60-120 วินาที อาจจะนานกวานี้ถาเปนการฝกกลามเนื้อกลุมใหญ เชน ตนขา หลังและอก และอาจจะส้ันกวานี้ถาเปนการฝกกลามเนื้อกลุมเล็ก เชน ตนขา และนอง แตไมควรพักนานเกิน 4 นาที เพราะการพักระหวางเซ็ตนานๆ ทําใหอุณหภูมิของรางกายต่ําลง ซึ่งอาจจะทําใหเกิดอาการบาดเจ็บเวลาฝกได เพราะฉะนั้นควรจะรักษาอุณหภูมิของรางกายใหอบอุนอยูเสมอในขณะฝก แนววิธีการหายใจขณะฝก แนววิธีการหายใจขณะฝก คือ อยากล้ันลมหายใจ เพราะการกล้ันลมหายใจขณะออกแรงหนัก เทากับไปขัดขวางการไหลเวียนของกระแสโลหิต กลาวอีกนัยหนึ่ง คือ เทากับเปนการปดกั้นการจราจรของกระแสโลหิตตามรางกายที่มีสมองเปนสถาน ีจนสมองอาจสลบหรือหมดสติเปนเวลา 2-3 นาที วิธีการหายใจที่ดีทีสุด คือ หายใจเขาเม่ือผอนแรงหรือกอนเร่ิมเคล่ือนไหวทาฝก และขณะเคล่ือนไหวทาฝกจากจุดส้ินสุดกลับสูจุดเร่ิมตน หายใจออกเม่ือออกแรงหรือขณะเคล่ือนไหวทาฝกจากจุดเร่ิมตนสูจุดส้ินสุด (นพคุณ วันแตง 2542 : 17-18)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

69

ประเภทอุปกรณท่ีใชในการฝกเพาะกาย การเลนเพาะกายตองอาศัยอุปกรณในการฝกฝนโดยจะใชอุปกรณที่อาศัยแรงกดดัน ซึ่งมี

ดวยกัน 2 ประเภท คือ 1. น้ําหนัก (free weights) คือ บารเบลล ดัมเบลล 2. อุปกรณออกกําลังกายที่เปนเคร่ืองกล (exercise machines) อุปกรณนี้จะทําใหระบบ

กลามเนื้อและระบบประสาทตองทํางานดวยการออกแรงตาน เม่ือระบบกลามเนื้อไดรับแรงกดดันจากน้ําหนัก ก็จะปรับตัวจนปรากฏผลเปนรูปธรรม สภาวะของพัฒนาการทางชีภาพเชนนี้เรียกวา “Hypertrophy” (รางกายแข็งแรงข้ึน กลามเนื้อมีมวลเพิ่มข้ึน และเปล่ียนรูปทรงใหสวยงามข้ึน) (นพคุณ วันแตง 2542 : 10)

อุปกรณหลักท่ีใชฝกเพาะกาย

1. บารเบลล (barbell) มี 2 ชนิด ไดแก 1.1 บารเบลลสําหรับออกกําลังกาย (exercise barbell) โดยปกติสามารถปรับน้ําหนัก

(poundage หรือ weight) ไดตามความประสงค ที่นิยมกันมีน้ําหนักประมาณ 20 ถึง 200 ปอนด 1.2 โอลิมปค บารเบล (Olympic barbell) นอกจากใชในการฝกและแขงขันยกน้ําหนัก

(weightlofting) กับพละกําลังและแขงขันจอมพลัง (powerlifting) แลว ยังใชกับทาฝกเพาะกายบางทาที่ตองฝกดวยน้ําหนักที่มากเปนพิเศษ (heavy bodybuilding exercises) ความยาวและน้ําหนักของบารเบลลชนิดนี้มีมาตรฐานเปนสากล คาน (bar) มีน้ําหนัก 20 กิโลกรัม หูบารเบลล (coolar) มีน้ําหนัก 22.5 กิโลกรัม คานบารเบลลมีเสนผานศูนยกลางประมาณ 1 นิ้ว ยาว 4 ถึง 6 ฟุต มีน้ําหนัก 5 ปอนด ตอ 1 ฟุต มีสวนที่เรียบ เม่ือเอามือจบัแลวไมสะดุดไมสากมือเรียกวา sleeve สวนบริเวณที่ทําเปนปุมเล็กๆ เวลาจับจะสากมือเรียกวา “Knurlings” ทั้งนี้เพื่อไมใหล่ืนเวลาเหงื่อออกมือ ชวยใหการจับคานม่ันคงข้ึน ที่ขันชะเนาะเรียกวา “หูบารเบลล” (collars) ทําหนาที่ยึดจานน้ําหนักใหติดกับคานอยางม่ันคง อนึ่งแผนเหล็กกลมที่ใชกับบารเบลล หรือดัมเบล เรียกวา จานน้ําหนัก (plates) สวนแผนเหล็กส่ีเหล่ียมที่ใชกับอุปกรณเคร่ืองกล หรือเรียกวา “แผนน้ําหนัก” (stacks)

2. ดัมเบลล (dumbbells) มีความแตกตางกับบารเบลลตรงที่คาน กลาว คือ ดัมเบลลมีคานส้ันประมาณ 14 นิ้ว ออกแบบมาเพื่อใชงานกับแขนขางเดียว โดยปกติจึงตองมี 2 ตัว ในขณะที่บาร

สำนกัหอ

สมุดกลาง

70

เบลลไดรับการออกแบบมาใชกับการฝกรางกายโดยทั่วราง (ทั้งสวนบนและสวนลาง) แตดัมเบลลนั้นถูกออกแบบมาใชกับรางกายสวนบน เชน แขก ไหล และอก เปนตน (นพคุณ วันแตง 2539 : 6)

3. มาฝก (bench) ขนาดนอนไดคนเดียว สูงเสมอระดับเขา มาฝกนี้หากออกแบบมาใหสามารถปรับมุมใหเอียงได ก็จะไดประโยชนมากข้ึน (นพคุณ วันแตง 2542 : 16) โภชนาการสําหรับนักเพาะกาย

โภชนาการ (Nutrition) เปนศาสตรที่วาดวยการกินอาหาร และรางกายจะนําเอาไปใชใหเกิดประโยชน อาหารที่ดีมีคุณคาจะตองมีสารอาหารสูง โดยเฉพาะสารอาหารที่ใหพลังงาน ซึ่งจะมีบทบาทมากตอกิจกรรมการออกกําลังกายหรือการทํางานของรางกาย สมาคมแพทยแหงสหรัฐอเมริกาไดใหขอคดิเกี่ยวกับอาหารของนักกีฬา สามารถสรุปไดดังนี้

1. ปริมาณของแคลอรีโดยเฉล่ียตอวัน ตองเพียงพอกับกิจกรรมประจําวัน นักกีฬาโดยทั่วไปหากไดแคลอรีจากอาหาร 3,000 – 5,000 แคลอรีตอวัน ก็นับวาเพียงพอ

2. ปริมาณคารโบไฮเดรตตองเพียงพอ เพราะเปนอาหารที่สําคัญที่ใหพลังงานไดเร็วและสูง 3. ปริมาณโปรตีนตองเพียงพอ เพื่อรางกายจะไดใชซอมแซม รักษาขนาดและน้ําหนักของ

กลามเนื้อ 4. ไขมันก็เปนส่ิงจําเปน เพราะเปนแหลงพลังงานที่รางกายจะตองใชกิจกรรมที่ยาวนาน

หรือใชความทนทาน 5. ปริมาณเกลือแรและวิตามินตองเพียงพอ เพื่อเรงปฎิกิริยาเคมีตางๆ ในรางกายใหดําเนิน

ไปดวยดี 6. ปริมาณน้ําในรางกายตองเพียงพอ เพราะจะชวยเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของ

รางกายและชวยรักษาดุลความรอนดวย (พิชิต ภูดิจันทร 2535 : 141) โดยเหตุผลประการสําคัญของโภชนาการเพาะกายนั้น คือ เพื่อการเสริมสรางรางกายเพื่อ

ซอมแซมสวนที่สึกหรอของรางกาย เพื่อใชเปนพลังงานในการดํารงชีวิต และเพื่อการดํารงชีวิตอยางเปนปกติสุขและแข็งแรง ดังนั้น ขอควรพิจารณาดานโภชนาการของผูฝกเพาะกายประการแรก คือ ส่ิงที่ผูฝกนําเขาไปในรางกายผานทางชองปากนั้นตองเปนโภชนาการที่มีคุณคาเพียงพอตอการสรรคสรางความสมบูรณของรางกาย จนปรากฏใหเห็นภายนอกดวยรูปรางที่สงางาม โดยปริมาณของโภชนาการที่ผูฝกบริโภคตองพอเพียงตอความตองการของรางกาย เพราะผูฝกจะมีน้ําหนักตัวเพิ่มข้ึน ถาผูฝกกินอาหารมาก ในทางตรงกันขาม ถาผูฝกกินอาหารนอยน้ําหนักตัวก็จะลดลง อีกทั้งกินอาหารมากม้ือเบาๆ ดีกวากินอาหารวันละ 2-3 ม้ือหนักๆ เพราะการกินอาหารวิธีนี้ชวยให

สำนกัหอ

สมุดกลาง

71

กระเพาะไมตองแบกภาระหนักเกินควร อีกทั้งอาหารที่กินเขาไปจะทําประโยชนตอรางกายไดเต็มที่ หลักการขอนี้ใชไดทั้งชวงที่ผูฝกกําลังเพิ่มน้ําหนักและลดน้ําหนัก

ดังนั้น นอกจากการออกกําลังกายดวยทาฝกในแตละสวนของรางกายแลว การรับประทานอาหารที่มีประโยชน ตามที่รางกายควรไดรับในแตละวัน คือ ตามหลักโภชนาการถือเปนเร่ืองที่มีความสําคัญดวยเชนกัน นักเพาะกายควรปฏิบัติควบคูไปกับการฝกออกกําลังในทาตางๆ เพื่อใหไดรูปราง มัดกลามเนื้อที่สวยงามนั่นเอง ประโยชนท่ีไดรับจากการฝกเพาะกาย

1. การฝกเพาะกาย คือ มรรควิธีในการปรับปรุงสุขภาพและพัฒนาความสมบูรณของรางกาย เปาหมายหลักของการออกกําลังกายทุกประเภท คือ รางกายที่มีสุขภาพดีมีความสมบูรณ การฝกเพาะกายทําใหมนุษยกาวสูเปาหมายดังกลาวไดอยางรวดเร็วกวาและมากกวาการออกกําลังกายประเภทอ่ืนๆ

2. การฝกเพาะกายชวยใหผูฝกมีน้ําหนักตัวที่พอเหมาะพอดี และเสริมสรางบุคลิกภาพใหมีเสนหประทับใจผูพบ ไมวาผูฝกเพาะกายจะมีน้ําหนักตัวมากหรือนอยเกินไปก็ตาม ผูฝกสามารถประสานการฝกเพาะกายอยางถูกวิธีเขากับการมีโภชนาการที่มีคุณภาพ จนกระทั่งน้ําหนักตัวลดหรือเพิ่มเขาสูสภาวะที่พอเหมาะกับขนาดโครงสรางของรางกายได การฝกเพาะกายทําใหรูปรางทรวดทรงที่สวยงาม มีหนาตาแจมใส ผิวพรรณเปลงปล่ัง กลามเนื้อแนนมีสปริง ไมเหลวนุม

3. การฝกเพาะกายทําใหมีพลังงานสํารองอันลํ้าคาและสามารถนํามาใชประโยชนไดอยางมีประสิทธิภาพเม่ือถึงคราวฉุกเฉิน ผูฝกเพาะกายยอมมีสภาพรางกายแข็งแรงข้ึนมากกวาเดิมอยางที่ไมเคยมีมากอน ในสภาวการณที่ผูฝกประสบกับอุบัติเหตุการบาดเจ็บทางรางกายจะชวยใหผูฝกเอาตัวรอดได การบาดเจ็บที่หนักหนาก็กลายเปนเบา

4. ผูฝกเพาะกายสามารถปรับปรุงทรวดทรงเฉพาะสวนได ผูฝกสามารถนําทาฝกแตละทามาปรับปรุงองคาพยพเฉพาะสวนได การศัลยกรรมไมสามารถเทียบกับการเพาะกายได เพราะนี่คือของจริง ของจริงที่เกิดจากกลามเนื้อหนุนเปนฐานภายใตไขมัน ของจริงที่ เกิดจากธาตุอาหารอันโอชะที่ถูกนําไปหลอเล้ียงเนินอกพรอมกับออกซิเจนและโลหิต รางกายจึงสดอยูเสมอ (นพคุณ วันแตง 2542 : 12-13)

สำนกัหอ

สมุดกลาง

ภาคผนวก ค

แบบสอบถามทัศนคติเกี่ยวกับการเพาะกาย

สำนกัหอ

สมุดกลาง

73

ภาคผนวก ค

แบบสอบถามทัศนคติเกี่ยวกับการเพาะกาย

1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง 2. อายุ .......... ป 3. การศึกษา ........................................................................................................................ 4.อาชีพ ................................................................................................................................ 5. ทานคิดวาผูเลนกีฬาเพาะกายมีวัตถุประสงคในการเลนเพื่อใหแข็งแรงหรือใหรูปรางด ีและเพราะอะไร แข็งแรง . รูปรางดี เพราะ .................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 6. ทานมีความคิดจะเลนเพาะกายหรือไม และเพราะอะไร .... เลน .... ไมเลน เพราะ ................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 7. ทานคิดวารางกายผูชายที่มีรูปรางดี มีลักษณะอยางไร ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 8. ทานคิดวา ผูหญิงที่เลนเพาะกาย มีกลาม เปนผูหญิงที่รูปรางดีหรือไม เพราะอะไร .... ดี .... ไมดี เพราะ ................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................

สำนกัหอ

สมุดกลาง

74

9. ใครคือดารา นักรองผูชายและผูหญิงที่ทานเห็นวารูปรางดี เพราะอะไร ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 10. ทานคิดวามีวิธีใดบางที่จะรักษารูปรางใหดี และทานทราบวิธีนั้นมาจากที่ใด ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 11. จากขอ 10 ทานไดนําวิธีดังกลาวมาปฏิบัติกับตัวทานเองหรือไม ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................

สำนกัหอ

สมุดกลาง

75

12. ถาใหทานเลือกได รูปรางของผูชายที่ทานคิดวาหุนดี เลือกไดเพียง 1 ขอ เทานั้น และเพราะอะไร

1 2

3 4 ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................

สำนกัหอ

สมุดกลาง

76

ประวัติผูวิจัย

ช่ือเร่ือง วาทกรรมเกี่ยวกับรูปรางดี ช่ือผูวิจัย นายอัคร มีสมโภชน วัน เดือน ป เกิด 12 ธันวาคม 2530 ประวัติการศึกษา จบมัธยมศึกษาตอนตนและตอนปลาย แผนกวิทย-คณิต จากโรงเรียน วัด

ราชบพิธ จบปริญญาตรี คณะโบราณคดี ภาควิชามานุษยวิทยา จากมหาวิทยาลัยศิลปากร

ท่ีอยูปจจุบัน 6/10 ถนนชัยพฤกษ แขวงตล่ิงชัน เขตตล่ิงชัน กรุงเทพฯ 10170 E-mail address [email protected]

สำนกัหอ

สมุดกลาง