8
“...ควรเร่งปลูกหญ้าแฝกให้มาก ๆ เพราะหญ้าแฝก มีคุณสมบัติพิเศษในการอนุรักษ์ดินและน�้าหลายประการ โดยเฉพาะดินที่มีโครงสร้างแข็ง หญ้าแฝกจะท�าหน้าทีเป็นเขื่อนที่มีชีวิตที่จะช ่วยท�าให้ดินมีความชุ่มชื้นและ อุดมสมบูรณ์มากขึ้น...” ๑๒ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน 58

NO - alro.go.th · ๖๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ และในมหามงคลสมัยท่ทรงเจรี ิญพระชนมพรรษา๘๐

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: NO - alro.go.th · ๖๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ และในมหามงคลสมัยท่ทรงเจรี ิญพระชนมพรรษา๘๐

“...ควรเร่งปลกูหญ้าแฝกให้มากๆ เพราะหญ้าแฝก

มีคณุสมบตัพิเิศษในการอนรัุกษ์ดนิและน�า้หลายประการ

โดยเฉพาะดินที่มีโครงสร้างแข็ง หญ้าแฝกจะท�าหน้าที่

เป็นเขื่อนที่มีชีวิตที่จะช่วยท�าให้ดินมีความชุ่มชื้นและ

อุดมสมบูรณ์มากขึ้น...”

๑๒โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

58

Page 2: NO - alro.go.th · ๖๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ และในมหามงคลสมัยท่ทรงเจรี ิญพระชนมพรรษา๘๐

ควำมเป็นมำ เนื่องในมหามงคลสมัยที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู ่หัวเสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติครบ

๖๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ และในมหามงคลสมัยที่ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา

ในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้จัดท�าโครงการปลูกหญ้าแฝกเฉลิมพระเกียรติ

ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๔๘ - ๒๕๕๐ โดยก�าหนดวันเริ่มปลูกหญ้าแฝก ในวันที่ ๑๑ พฤษภาคม

พ.ศ. ๒๕๔๘ (วันพืชมงคล) ถึง วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยกรมพัฒนาที่ดิน เป็น

หน่วยงานหลักในการจัดเตรียมพันธุ์กล้าหญ้าแฝก และมีหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและ

สหกรณ์เป็นหน่วยงานร่วมบูรณาการ

แนวพระรำชด�ำริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงศึกษาเรื่องการใช้หญ้าแฝกในการอนุรักษ์ดินและน�า้

และได้พระราชทานพระราชด�าริเกี่ยวกับการน�าหญ้าแฝกมาใช้ประโยชน์ครั้งแรก เมื่อวันที่ ๒๒

มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๔ และพระราชทานพระราชด�าริอย่างต่อเนื่อง ครอบคลุมการด�าเนินงาน

ทุกด้าน ทั้งด้านศึกษาวิจัย ด้านการอนุรักษ์ดินและน�า้ ด้านวิธีการปลูก ด้านการขยายพันธุ์ เป็นต้น

โดยมีหน่วยงานต่าง ๆ รับสนองพระราชด�าริด�าเนินการ และส�านักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อ

ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ (ส�านักงาน กปร.) เป็นหน่วยงานกลางในการ

บูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่างๆ

โครงกำรพัฒนำและรณรงค ์กำรใช้หญ้ำแฝก

อันเนื่องมำจำกพระรำชด�ำริ

๑๒โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ

สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน59

Page 3: NO - alro.go.th · ๖๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ และในมหามงคลสมัยท่ทรงเจรี ิญพระชนมพรรษา๘๐

พระราชด�ารสัตอนหนึง่ในการพฒันาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอนัเนื่องมาจากพระราชด�าริ

เมื่อปีพ.ศ.๒๕๓๕ความว่า

“...ควรเร่งปลูกหญ้าแฝกให้มาก ๆ เพราะหญ้าแฝกมีคุณสมบัติพิเศษในการอนุรักษ์ดิน และน�้าหลายประการ โดยเฉพาะดินที่มีโครงสร้างแข็ง หญ้าแฝกจะท�าหน้าท่ีเป็นเขื่อนท่ีมีชีวิต ที่จะช่วยท�าให้ดินมีความชุ่มชื้นและอุดมสมบูรณ์มากขึ้น...”

แนวทำงกำรด�ำเนินงำนและบทบำทของ ส.ป.ก. ส�านักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) รับสนองพระราชด�าริ ด�าเนินงาน

“โครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ” โดยยึดกรอบแนวทาง

การด�าเนินการภายใต้แผนแม่บทการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ

มาตัง้แต่ปีพ.ศ.๒๕๔๘ปัจจุบันใช้แผนแม่บทฯฉบับที่๕(พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙)ด้านการอนุรักษ์

ดนิและน�า้โดยประสานงานกับส.ป.ก.จังหวัดเพื่อประชาสัมพันธ์และส่งเสรมิให้เกษตรกรและชุมชน

เข้าร่วมโครงการพร้อมให้การสนับสนุนงบประมาณเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการด�าเนนิงานและประสาน

กรมพัฒนาที่ดินเพื่อขอรับการสนับสนุนพันธุ์กล้าหญ้าแฝกส�าหรับแจกจ่ายให้กับเกษตรกรที่เข้าร่วม

โครงการ ปัจจุบัน ส.ป.ก. ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกหญ้าแฝกแล้ว จ�านวน ๒๙,๔๔๐,๔๙๑ กล้า

(ข้อมูลณวันที่๓๐กันยายนพ.ศ.๒๕๕๗)

ปลูกหญ้าแฝกรอบบรเิวณสระน�า้

๑๒โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

60

Page 4: NO - alro.go.th · ๖๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ และในมหามงคลสมัยท่ทรงเจรี ิญพระชนมพรรษา๘๐

ตลอดระยะเวลาของการด�าเนินงาน ส.ป.ก. รณรงค์และส่งเสริมให้เกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดิน

ปลูกหญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน�้าอย่างต่อเนื่อง และในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้จัดท�าโครงการ

ติดตามและประเมินผลโครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ

เพื่อศึกษาผลการด�าเนินงาน ประเด็นปัญหาและอุปสรรค เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงและ

พัฒนางานให้บรรลุผลส�าเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ส.ป.ก. ได้ปรับแนวทางการด�าเนินงานโครงการ โดยจัดฝึกอบรม

เชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “หญ้าแฝกกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดิน”

เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องวิธีการปลูก การดูแลรักษา การขยายพันธุ์ และการใช้ประโยชน์

เพื่อการอนุรักษ์ดนิและน�า้ในพื้นที่ภาคเหนอืและภาคใต้ตอนบนรวม๒๔จังหวัดโดยประสานความ

ร่วมมอืกับบรษิัทปตท.จ�ากัด(มหาชน)และเครอืข่ายคนรักษ์แฝกแห่งประเทศไทยเพื่อให้ความรู้

ต่อมา ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ส.ป.ก. จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในหลักสูตรเดียวกันในพื้นที่

ภาคกลางภาคตะวันออกเฉยีงเหนอืและภาคใต้ตอนล่างโดยประสานความร่วมมอืกับกรมพัฒนาที่ดนิ

ศูนย์ศกึษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชด�าริกรมพัฒนาชุมชนศูนย์ศกึษาการพัฒนา

เขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชด�าริและเครือข่ายคนรักษ์แฝกแห่งประเทศไทย โดยเพิ่มเติม

องค์ความรู้และเทคนิคการพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑ์จากใบหญ้าแฝก (งานหัตถกรรมจากใบหญ้าแฝก)

เพื่อสร้างอาชพีเสรมิให้แก่เกษตรกรและพัฒนาสู่การรวมกลุ่มในรูปของวสิาหกจิชุมชน

ฝึกอบรมเกษตรกร หลักสูตรหญ้าแฝกกับ การพัฒนาคุณภาพชวีติเกษตรกรในเขตปฏริูปที่ดนิ

๑๒โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ

สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน61

Page 5: NO - alro.go.th · ๖๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ และในมหามงคลสมัยท่ทรงเจรี ิญพระชนมพรรษา๘๐

ในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ส.ป.ก. ได้จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “หญ้าแฝกกับการพัฒนา

คุณภาพชีวิตเกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดิน” โดยร่วมมือกับกรมพัฒนาที่ดินและเครือข่ายคนรักษ์แฝก

แห่งประเทศไทย เพื่อพัฒนาองค์ความรู้งานหัตถกรรมหญ้าแฝก และกิจกรรมหญ้าแฝกเพื่อการ

อนุรักษ์ดินและน�้าแก่กลุ่มเกษตรกรที่ผ่านการฝึกอบรมในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ และเกษตรกรผู้สนใจพื้นที่

จังหวัดกาญจนบุรีประจวบครีขีันธ์สตูลรวม๑๔๐ราย

ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ส.ป.ก. ได้ก�าหนดแนวทางการด�าเนินงานโครงการพัฒนาและ

รณรงค์การใช้หญ้าแฝกฯ ให้มีประสิทธิภาพและเกิดผลส�าเร็จอย่างเป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น โดยจัดท�า

“แปลงเรียนรู ้การใช้ประโยชน์ระบบหญ้าแฝก” ในพื้นที่น�าร่อง ๑๓ จังหวัด ประกอบด้วย

จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดก�าแพงเพชร จังหวัดเชียงใหม่

จังหวัดพะเยาจังหวัดพระนครศรอียุธยาจังหวัดราชบุรี จังหวัดลพบุรี จังหวัดกระบี่ จังหวัดสงขลา

จังหวัดสตูล และจังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อส่งเสริมการปลูกหญ้าแฝกควบคู่การใช้ประโยชน์ที่ดิน

อย่างเหมาะสม เนื่องจากหญ้าแฝกเป็นพืชที่สามารถปลูกควบคู่กับพืชอื่นได้ โดยป้องกันการสูญเสีย

หน้าดินและสร้างความชุ่มชื้นในดินได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วม

และการขยายผลอันจะน�าไปสู่แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยนืต่อไป

นักเรยีนศกึษาดูงานหญ้าแฝกของเกษตรกรในพื้นที่เขตปฏริูปที่ดนิ

๑๒โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

62

Page 6: NO - alro.go.th · ๖๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ และในมหามงคลสมัยท่ทรงเจรี ิญพระชนมพรรษา๘๐

ควำมส�ำเร็จของโครงกำร ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ส.ป.ก. ด�าเนินงานรณรงค์และส่งเสริมการปลูกหญ้าแฝก

เพื่อการอนุรักษ์ดินและน�้าในเขตปฏิรูปที่ดิน รวม ๖๙ จังหวัด จ�านวน ๒๙,๔๔๐,๔๙๑ กล้า

เนื้อที่ประมาณ ๒,๕๐๐ ไร ่ เพื่อป้องกันการพังทลายของหน้าดิน และเพื่ออนุรักษ์ ฟื ้นฟู

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในเขตปฏิรูปที่ดิน ขณะเดียวกันได้มีการติดตามผลการ

ด�าเนินงานอย่างสม�่าเสมอเพื่อส่งเสริมการด�าเนินงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ควบคู่

การจัดฝึกอบรมให้ความรู้และการศึกษาดูงานในพื้นที่ที่ประสบผลส�าเร็จ ซึ่งที่ผ่านมามีเกษตรกร

และเจ้าหน้าที่ผ่านการฝึกอบรม จ�านวน ๓๕๑ ราย การด�าเนินงานที่ผ่านมานับว่ามีส่วนส�าคัญ

ในการปรับทัศนคติของเกษตรกรให้เห็นถึงประโยชน์ของหญ้าแฝกมากขึ้นโดยเฉพาะการพัฒนา

อาชพีและรายได้นอกเหนอืจากการอนุรักษ์ดนิและน�า้

เกษตรกรตัวอย่ำง “หญ้าแฝกที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงแนะน�าให้ปลูกนั้น แรกเริ่มนั้นผมไม่เคยเชื่อจนผม ได้ปลูกจริงและ ส.ป.ก. จัดหากล้าหญ้าแฝกมาให้ ท�าให้ผมเช่ือแล้วว่าหญ้าแฝกก่อประโยชน์อย่างยั่งยืนจริง ๆ ผมก็จะเป็นคนหนึ่งที่จะเดินตามวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงของพระองค์ท่านตลอดชีวิต”

นายนพรัตน์ ชุ่มชวย เดิมเป็นคนจังหวัด

นครปฐม เช่าพื้นที่ขนาด ๑ ไร่ เพื่อประกอบ

อาชพีเกษตรกรรม โดยเพาะปลูกพชืผักสวนครัว

ส่งขายตลาดทั่วไป ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๘

ได้แต่งงานมีครอบครัวและย้ายมาอยู ่จังหวัด

สุราษฎร์ธานี ในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้รับคัดเลือก

เป็นเกษตรกรรุ ่นใหม่ของ ส.ป.ก. พร้อมทั้ง

ได้รับจัดสรรที่ดินท�ากิน เนื้อที่ประมาณ ๑ ไร่

๓ งาน ในพื้นที่นิคมเศรษฐกิจพอเพียง ต�าบล

คันธุลีอ�าเภอท่าชนะจังหวัดสุราษฎร์ธานี

ปัจจุบันนายนพรัตน์ยังคงประกอบอาชีพเกษตรกรรมเช่นเดิม โดยปรับเปลี่ยนรูปแบบ

มาเป็นการท�าการเกษตรผสมผสานโดยปลูกพรกิมะเขอืยาวแตงล้านแตงกวากล้วยและไผ่หวาน

แต่เนื่องจากสภาพดนิในพื้นที่เป็นดนิทรายท�าให้การเพาะปลูกได้ผลผลติไม่ดเีท่าที่ควร

ต่อมาในปีพ.ศ.๒๕๕๒ได้รบัการจดัสรรกล้าหญ้าแฝกตามโครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้

หญ้าแฝกฯของส.ป.ก.ประกอบกับอุปนสิัยเป็นคนช่างสงสัยและต้องการทราบถงึคุณประโยชน์ของ

หญ้าแฝกจงึได้ทดลองปลูกรอบสระน�้าและสังเกตเห็นถงึความแตกต่างของดนิที่มลีักษณะชุ่มชื้นขึ้น

มไีส้เดอืนและเมื่อใส่ปุ๋ยหมักจะไม่ไหลไปกับน�้าเนื่องจากมหีญ้าแฝกเป็นก�าแพงกัน้

นายนพรัตน์ ชุ่มชวย

๑๒โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ

สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน63

Page 7: NO - alro.go.th · ๖๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ และในมหามงคลสมัยท่ทรงเจรี ิญพระชนมพรรษา๘๐

การใช้หญ้าแฝกในแปลงเกษตรสามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตได้เป็นอย่างดี เช่น การน�า

ใบหญ้าแฝกมาคลุมดินแทนฟางข้าวซึ่งจะย่อยสลายเป็นปุ ๋ยต่อไป ขณะเดียวกันใบหญ้าแฝก

สามารถปรับสภาพของดินท�าให้ดินมีความชุ่มชื้น ร่วนซุย ปริมาณน�้าที่ใช้รดพืชผักจึงลดลง และ

ที่ส�าคัญไม่จ�าเป็นต้องใช้สารเคมีเพราะเป็นการป้องกันวัชพืชทางอ้อมผลผลิตที่ได้จึงเป็นที่ต้องการ

ของตลาดและเป็นที่ยอมรับว่าปลอดสารพิษ สามารถจ�าหน่ายได้ราคาดี นายนพรัตน์กล่าว

ในตอนท้ายว่า “หญ้าแฝกที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู ่หัวทรงแนะน�าให้ปลูกนั้น แรกเริ่มนั้น

ผมไม่เคยเชื่อจนผมได้ปลูกจรงิและส.ป.ก.จัดหากล้าหญ้าแฝกมาให้ท�าให้ผมเชื่อแล้วว่าหญ้าแฝก

ก่อประโยชน์อย่างยั่งยืนจริง ๆ ผมก็จะเป็นคนหนึ่งที่จะเดินตามวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงของ

พระองค์ท่านตลอดชวีติ”

แปลงขยายพันธุ์หญ้าแฝก

ปลูกหญ้าแฝกรอบแปลงพชืผัก นักเรยีนและครูร่วมกันปลูกหญ้าแฝก

๑๒โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน

64

Page 8: NO - alro.go.th · ๖๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ และในมหามงคลสมัยท่ทรงเจรี ิญพระชนมพรรษา๘๐

แนวทำงกำรขับเคลื่อนโครงกำร เพื่อเป็นการลดการพึ่งพากล้าพันธุ์หญ้าแฝกจากกรมพัฒนาที่ดนิส.ป.ก.จงึได้จัดท�าแผนงาน

ระยะ๓ปี(พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๑)ดังนี้

ระยะที่ ๑ ปรบัเปลีย่นแนวคดิทศันคติโดยการสร้างความรู้ความเข้าใจเกีย่วกบัหญ้าแฝก

โดยให้เกษตรกรในเขตปฏิรูปที่ดินเห็นถึงประโยชน์ของหญ้าแฝกในด้านต่าง ๆ และ

เกดิการยอมรับเกดิการมสี่วนร่วมในการน�าหญ้าแฝกไปใช้ประโยชน์ด้วยตนเอง

ระยะที่ ๒ จัดท�าแปลงเรียนรู้การใช้ประโยชน์ระบบหญ้าแฝก (แปลงทดลอง) ส่งเสริม

ให้เกษตรกรปลูกหญ้าแฝกในพื้นที่ทดลองของชุมชนโดยชุมชนเป็นผู้ก�าหนดเอง

เพื่อสร้างกระบวนการมสี่วนร่วมของชุมชน

ระยะที่ ๓ จัดท�าแปลงเรียนรู้การใช้ประโยชน์ระบบหญ้าแฝก (แปลงรายบุคคล) ส่งเสริม

ให้เกษตรกรปลูกหญ้าแฝกในพื้นที่แปลงเกษตรกรรมของตนเอง มีการติดตาม

ผลการด�าเนนิงาน

ระยะที่ ๔ ขยายผล ส่งเสริมให้มีการขยายผลการปลูกหญ้าแฝกให้ครอบคลุมทุกชุมชน

หมู่บ้านโดยการมสี่วนร่วมของชุมชนและมกีารตดิตามอย่างใกล้ชดิ เพื่อสร้าง

ความยั่งยนืในพื้นที่การเกษตร

ระยะที่ ๕ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากใบหญ้าแฝก ส่งเสริมให้เกษตรกรใช้ประโยชน์จาก

ใบหญ้าแฝกในงานหัตถกรรมเพื่อสร้างอาชพีสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร

v

การใช้หญ้าแฝกในแปลงเกษตรกรรม

๑๒โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ

สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน65