19
อำ�เภอคีรีม�ศ จังหวัดสุโขทัย ตำ�บลบ้�นนำ้�พุ รวมองค์ความรู้ จากโครงการรักษ์ป่า สร้างคน ๘๔ ตำาบล วิถีพอเพียง พึ่งตนเอง มีคว�มรู้ และแบ่งปัน

ตำ บลบ้ นนำ้ พุ · พ.ศ.๒๔๕๐-๒๕๒๖ พ.ศ.๒๕๒๗-๒๕๔๐ พ.ศ.๒๕๔๑-๒๕๔๙ พัฒนาการตำาบล

  • Upload
    others

  • View
    8

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • อำ�เภอคีรีม�ศจังหวัดสุโขทัยตำ�บลบ้�นนำ้�พุ

    รวมองค์ความรู้ จากโครงการรักษ์ป่า สร้างคน ๘๔ ตำาบล วิถีพอเพียง

    พึ่งตนเอง มีคว�มรู้ และแบ่งปัน

  • ๐๓๐๒

    สารบัญ

    ๐๖ สภาพแวดล้อม๐๘ ความเป็นมา๑๔ ก้าวเดินด้วยความพอเพียง๑๖ กลไกการขับเคลื่อน๒๑ รูปธรรมความสำาเร็จในพื้นที่๒๘ แผนที่ความรู้๓๐ ลดรายจ่าย=เพิ่มรายได้๓๔ ภาคผนวก

    นิยามความพอเพียงของตำาบลบ้านนำ้าพุ“การพึ่งตนเอง การมีความรู้ และการแบ่งปัน”

  • กลุมวิสาหกิจชุมชนและกองทุนสหกรณ ระดับตำบล

  • บา้นนำา้พุเริม่มกีลุม่คนเขา้มาตัง้รกรากเม่ือประมาณ๑๐๐ปทีีผ่่านมาเริม่จากชาวอำาเภอเถนิจงัหวดั ลำาปาง ต่อมามีการขยายพื้นที่ทำาการเกษตรจากชุมชนใกล้เคียง ภายหลังเริ่มมีกลุ่มคนอีสานอพยพ เข้ามาตั้งถิ่นฐานโดยทำามาหากินด้วยการพึ่งพิงธรรมชาติและหาอาหารจากป่าเขาหลวงเป็นหลัก

    ปจัจุบนัตำาบลบ้านนำา้พุแบ่งการปกครองออกเปน็๘หมู่บา้นมีจำานวนประชากรประมาณ๕,๒๑๗คน มคีรวัเรอืน๑,๓๒๒ครวัเรอืนมพีืน้ทีท่ัง้หมด๔๑,๖๘๘ไร่โดยเปน็พืน้ทีเ่กษตรกรรม๑๐,๖๘๘ไร่ลกัษณะ ภมูปิระเทศเปน็ทีร่าบเชงิเขาชาวบา้นประกอบอาชพีเกษตรกรรมทำานามาตัง้แตอ่ดตีเนือ่งจากความสมบรูณ ์

    สภาพ แวดล้อม

    ของทั้งจากแหล่งนำ้าธรรมชาติและที่เกิดจากการพัฒนาแหล่งนำ้าส่วนทรัพยากรที่สำาคัญที่สุดคือป่าไม ้ที่มีความอุดมสมบูรณ์เพราะมีพื้นที่เชื่อมติดกับเขตป่าสงวนอุทยานแห่งชาติรามคำาแหงซึ่งเป็นแหล่ง พืน้ทีป่า่ใชส้อยทีช่าวบา้นใชป้ระโยชนไ์ด้วถิชีวีติของชมุชนจงึมคีวามผกูพนักบัธรรมชาติมกีารพึง่พงิระหวา่ง คนดนินำา้ปา่นอกจากนัน้มคีวามหลากหลายของวฒันธรรมจากคนหลายพืน้ถิน่ทัง้ภาคเหนอืภาคกลางและภาคอีสานที่สืบทอดมาจนทุกวันนี้

    ๐๗๐๖

  • ความเป็นมาชมุชนบา้นนำา้พเุกดิขึน้จากการอพยพเขา้มาตัง้ถิน่ฐานเพือ่เปน็แหลง่อาศยัและทีท่ำากนิและดำารงชวีติ

    แบบพ่ึงพงิธรรมชาติพรอ้มๆกบัการดแูลรกัษาทรพัยากรธรรมชาตแิละสิง่แวดลอ้มจนกระทัง่มีการสง่เสรมิ การผลิตมากขึน้ทัง้จากภาครฐัและเอกชนทำาใหเ้กดิการเปล่ียนแปลงวถิกีารผลิตส่งผลใหส้ภาพแวดลอ้มเสื่อมโทรมลงเมื่อชุมชนตระหนักถึงปัญหาจึงเรียนรู้เทคนิคและวิธีการที่จะฟื้นคืนชีวิตให้แก่ธรรมชาติจนสามารถเห็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและสามารถสรุปเป็นยุคของการพัฒนาได้ดังนี้

    ๐๙๐๘

  • พ.ศ.๒๔๕๐-๒๕๒๖

    พ.ศ.๒๕๒๗-๒๕๔๐

    พ.ศ.๒๕๔๑-๒๕๔๙

    พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๔ พัฒนาการตำาบล

    ยุคเร่ิมต้นการเรียนรู้เพ่ือจัดการปัญหาชุมชนเริ่มมีการพัฒนาทุนเดิมของชุมชนที่

    สูญเสียไปได้แก่ทรัพยากรดินนำ้าป่าสิ่งแวดล้อม และสขุภาวะหรอืวฒันธรรมโดยเฉพาะอยา่งยิง่การ แก้ปัญหาการเสื่อมสภาพของดินและสิ่งแวดล้อมโดยมีกล โฉมคุ้ม เข้าร่วมศึกษาดูงานด้านเกษตร อินท รีย์กับ โครงการกอง ทุน เ พ่ือการลง ทุนทางสังคม(Social InvestmenrFund :SIF) จนกระท่ังมีการก่อตัง้กลุม่เกษตรอินทรยีบ์า้นกว้าวหมู่๓ซึง่เชือ่ว่าชมุชนจะรอดจากวกิฤติดิว้ยการทำา เกษตรอินทรีย์แบบวิถีดั้งเดิมและได้เชื่อมโยงไปสู่ การจัดการปัญหาทรัพยากรดินนำา้ป่าและส่ิงแวดล้อม ในตำาบลบา้นนำา้พใุนเวลาตอ่มาโดยมกีารจดัทำาแผนแม่บทชุมชนและได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน

    ยุคการสร้างชุมชนตำาบลบ้านนำ้าพุเปน็ยคุทีม่กีารขยายประชากรในพืน้ที่จากการ

    อพยพเข้ามาของกลุ่มคนจากอำาเภอพรานกระต่ายจงัหวดักำาแพงเพชรและตำาบลศรคีรีีอำาเภอครีมีาศจงัหวดัสโุขทยักบักลุม่คนจากภาคอสีานโดยมกีาร ทำามาหากินอย่างเป็นอิสระด้วยการเพาะปลูกหาของป่า และมีวิถีชีวิตและวัฒนธรรมแบบเฉพาะตัวของคน แต่ละกลุ่ม ต่อมาเริ่มมีการทำาเกษตรเชิงพาณิชย์ มีการใช้สารเคมีและเทคโนโลยีต่างๆ แต่ยัง ไม่แพร่หลายมากนัก

    ยุคการเข้ามาของสารเคมีและหนี้สินเป็นช่วงเวลาท่ีมีการเปล่ียนแปลงท่ีสำาคัญในด้าน

    การก่อต้ังชุมชนจากระดับหมู่บ้านถูกยกข้ึนเป็นตำาบล และมีรูปแบบการปกครองที่ชัดเจนต่อมาได้มีการ เปล่ียนแปลงรูปแบบการทำาการเกษตรด้วยการ ส่งเสริมการเกษตรเชิงพาณิชย์ ส่งผลกระทบต่อ การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรที่มีอยู่ โดยเฉพาะ นำา้และดินท่ีได้รับผลกระทบจากการสารเคมีในการทำา การเกษตร ระบบนิเวศถูกทำาลายลงไปทีละน้อย ในขณะท่ีความเจริญแบบชุมชนเมืองเร่ิมเข้ามาไม่ว่า จะเป็นไฟฟ้าถนนรถและการค้าขายที่เริ่มมีความ สะดวกสบายวิถีชีวิตที่ปลูกอยู่ปลูกกินก็เริ่มเปลี่ยน มาเป็นการซ้ือและขายเป็นสาเหตุสำาคัญของการสูญเสีย ทรัพยากรภาวะและวัฒนธรรมการพ่ึงพาทำาให้คุณค่า และความสัมพันธ์ของคนในชุมชนเริ่มน้อยลง

    ยุครวมพลคนบ้านนำ้าพุด้วยความเพียรพยายามและทุ่มเทเสียสละ

    ของกล โฉมคุ้ม ทำาให้ชุมชนได้รับรางวัลลูกโลก สเีขียวครัง้ท่ี๙ประเภทบคุคลตอ่มานายกลไดข้ยาย ผลของการดำาเนนิงานและจดัตัง้เปน็เครือขา่ยดนินำา้ ปา่ทำาใหช้าวตำาบลบา้นนำา้พเุขา้มาร่วมขบัเคลือ่นงาน อย่างมีเป้าหมายและเป็นจุดเร่ิมต้นของการทำางานรว่มกันในระดับตำาบลและเกดิการตืน่ตวัของชมุชนในเวลาต่อมา

    ๑๑๑๐

  • ทุนตำาบลความเจริญที่เข้ามาทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในชุมชน รวมถึงความเสื่อมสภาพของสังคมและ

    สิง่แวดลอ้มทำาให้วิถีชวิีตของชาวบา้นนำา้พุเริม่เข้าสูก่ระแสการไหลกลบัจนเกิดกระบวนการสบืคน้คณุคา่ ดัง้เดมิแหง่การพึง่ตนเองของบรรพบรุษุเกดิการทบทวนบทเรยีนปญัหาและเกดิการบม่เพาะประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้นำาชุมชน ทำาให้ชุมชนเริ่มมองหาทางออกเพื่อแก้ไขวิกฤติิปัญหาท้ังระยะสั้นและ ระยะยาวอาทิ

    •การจัดตั้งเครือข่ายดินนำ้าป่าเพื่อฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนทำาแนวกันไฟป่าทำาฝายและขุดบ่อนำ้าเพื่อแก้ปัญหานำ้าแล้ง

    •การถ่ายทอดความรู้และรณรงค์การทำาเกษตรอินทรีย์เพ่ือช่วยลดต้นทุนการผลิตและสร้างผลผลิตที่มีคุณภาพ

    •กลุ่มอาชีพเสริมมีการรวมกลุ่มสตรีบางส่วนเพื่อหารายได้เสริมเช่นสานเข่งปลาทูทำาไม้กวาดดอกหญ้าทำาดอกไม้จันทน์ทำานำ้าพริกแกงและเย็บผ้าไหมเป็นต้น

    • เข้ารว่มโครงการรกัษ์ป่าสรา้งคน๘๔ตำาบลวิถีพอเพียงทำาให้ได้รบัการหนนุเสรมิดา้นการแกไ้ข ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติดินนำ้าป่ารวมทั้งการสนับสนุนให้ชุมชนขับเคลื่อนแผนงานพัฒนาด้านต่างๆด้วยตนเองโดยนำาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นหลักในการดำารงชีวิต

    ๑๓๑๒

  • ก้าวเดิน ด้วยความพอเพียง

    ตำาบลบา้นนำา้พุเขา้สูโ่ครงการรกัษป์า่สรา้งคน๘๔ตำาบลวถิพีอเพยีงในระยะที่๒เมือ่ปีพ.ศ.๒๕๕๑ โดยสบืเนือ่งจากการเปน็หนึง่ในเครอืขา่ยลกูโลกสีเขยีวผ่านทางกลโฉมคุม้โดยคณะกรรมการทีป่รกึษา โครงการฯไดช้กัชวนใหเ้ขา้รว่มโครงการฯมุง่เน้นการทำางานที่ใหช้มุชนมีส่วนรว่มและเปน็กลไกหลกัในการ กำาหนดแผนกิจกรรมและขับเคลื่อนด้วยชุมชนเอง

    เมือ่มกีารสนบัสนนุใหก้ลุม่แกนนำาตำาบลบา้นนำา้พุจงึตดัสนิใจเขา้รว่มขบัเคลือ่นวถิพีอเพยีงกบัโครงการฯ ได้มีการรวมกลุ่มไปศึกษาดูงานที่ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติสองสลึงจังหวัดระยองเพื่อเรียนรู้แนวคิดความพอเพยีงทีเ่ปน็วถิคีวามอยูร่อดอยา่งยัง่ยนืเปน็การจุดประกายใหค้ณะกรรมการโครงการฯเกดิการทบทวนตนเองในวถีิการผลติแบบพ่ึงพาภายนอกทำาใหเ้กดิความเขา้ใจในความหมายของคำาวา่“พอเพียง”จนมีคณะกรรมการโครงการฯบางส่วนนำาไปปรับใช้กับครัวเรือนของตนเองโดยเฉพาะเรื่องการจัดการ พลงังานทางเลอืกเตา๒๐๐ลติรจากนัน้ไดเ้ร่ิมเกบ็ขอ้มูลวิเคราะห์เพือ่เปน็ขอ้มูลทีท่ำาใหค้รวัเรอืนพอเพยีง อาสาเกิดความสนใจและตัดสินใจมาเข้าร่วมโครงการฯ

    ๑๕๑๔

  • คณะกรรมการโครงการฯเกดิจากการรวมตวักนัของ แกนนำาจากแตล่ะหมูบ่า้นผูน้ำาท้องท่ีผูน้ำาท้องถิน่อาสาสมคัร และครัวเรือนพอเพียงอาสา ที่เป็นผู้รับผิดชอบในการประสานงานการบรหิารจดัการงานและกิจกรรมโครงการฯให้ ดำาเนินไปตามแผนติดตามผลการดำาเนินงานรายงานผล และสรปุบทเรยีนโดยคณะกรรมการโครงการฯเปน็สว่นหนึง่ ที่ต่อยอดมาจากเครือข่ายที่เป็นกลไกขับเคลื่อนเดิมของตำาบลบา้นนำา้พุรวมถึงกลุม่คนรุน่ใหม่ท่ีเข้ามารว่มโครงการฯ รวมถึงการทำางานร่วมกับหน่วยงานภาคีต่างๆ

    การดำาเนินงานของโครงการฯ นับเป็นการเปิดโอกาสและสร้างพ้ืนท่ีให้แกนนำาชุมชนท่ีมีใจรักในงานพัฒนาชุมชนไดเ้ขา้มาขบัเคลือ่นงานอยา่งมเีปา้หมายรว่มกนัปจัจบุนัตำาบลบ้านนำ้าพุ มีคณะกรรมการโครงการฯ ๖๐ คน มีบทบาท ท้ังในด้านการบริหารโครงการ และด้านการขับเคล่ือน แผนงานต่างๆ ของตำาบล ได้แก่ แผนงานครัวเรือนพอเพียงอาสา แผนงานเกษตร แผนงานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมแผนงานเยาวชนและแผนงานส่งเสริมการเรียนรู้

    กลไกการขับเคลื่อน

    ๑๗๑๖

  • คณะกรรมการโครงการฯ ตำาบลบ้านนำ้าพุ

    นายกลโฉมคุ้ม

    นายสิทธิโชคกลิ่นนาค

    นางประทุมทิพย์ทะวิน

    นางประมาณจ่ายหนู

    นายธารินทร์บดีรัฐ

    นางนิตยาจันทักดี

    นางสาวมาลีถมทอง

    นายมานิตย์ชุ่มเชื้อ

    นางสาวพิกุลโพธิ์ศรี

    นางสงกรานวัตพงษ์

    ประธานคณะกรรมการโดรงการฯนายกล โฉมคุ้ม

    นายบุญสมเตจะนะตา

    นายศรีไพรฉิมงาม

    นางสมศรีสังคง

    นายพักศักดิ์ดี

    นายประดิษฐ์เนื้อไม้

    นางสัมฤทธิ์กมล

    คณะกรรมการฝ่าย เปิดบัญชี/การเงินกิจกรรม

    คณะกรรมการฝ่ายบริหารแผนงาน/กิจกรรม

    คณะกรรมการฝ่ายการเงินและบัญชี

    คณะกรรมการฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง

    คณะกรรมการฝ่ายติดตามและประเมินผล

    ๑๙๑๘

  • ทีมงานภาคสนาม ปตท.ในการดำาเนินงานโครงการฯ สามารถขับเคลื่อนงานได้อย่างมี

    ประสิทธิภาพทางโครงการฯจึงจัดให้มีทีมงานภาคสนามปตท.สนับสนุนการดำาเนินงานซึ่งประกอบด้วย

    ที่ปรึกษาภาค ทำาหน้าที่เป็นตัวแทนโครงการฯ ภาคเหนือ มีบทบาทในการใหค้ำาแนะนำาและวเิคราะหป์ญัหาทีเ่กดิจากการดำาเนนิงาน ของตำาบลตดิตามและประเมนิผลสมัฤทธิก์ารดำาเนนิงานตามแผนงาน ตำาบลบ้านนำา้พรุว่มกบัตำาบลเพือ่หาแนวทางแกไ้ขปญัหารว่มกนัรวมท้ังวิเคราะห์องค์ความรู้ จัดทำาและประเมินความเป็นไปได้ของแผนตำาบลวิถีพอเพียงร่วมกับอีก๒๓ตำาบลในภาคเหนือ

    เจ้าหน้าที่ประจำาภาค ทำาหน้าที่ เป็นผู้สนับสนุนการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมและแลกเปลี่ยนความรู้ในชุมชน เป็นที่ปรึกษา ให้แก่เจ้าหน้าที่ประจำาตำาบล ตลอดจนติดตามและวิเคราะห์ผลการดำาเนินงานโครงการฯภายในตำาบล

    เจ้าหน้าที่ประจำาตำาบล มีหน้าที่ประสานงานระหว่างโครงการฯและตำาบลเชื่อมโยงภาคีท้องถิ่น เข้ามามีส่วนร่วม และสามารถสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างหน่วยงานภาคีชุมชนและโครงการฯ ตำาบลนำา้พุเป็นตำาบลท่ีมีศกัยภาพในการทำางานพัฒนาเชือ่มโยงกับกิจกรรมเกษตรอนิทรยีก์บัการ

    อนุรักษ์ดินนำ้าป่าและการสร้างชุมชนเป็นสุขโดยเริ่มต้นด้วยการพลิกใจตนเองและค่อยๆพลิกฟื้น วิถีชีวิตและด้วยพื้นฐานของชุมชนที่มีวิถีผูกพันกับธรรมชาติมีการพึ่งพาอาศัยกันและกันในชุมชน

    กล โฉมคุ้ม อดีตผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ ๓ บ้านกว้าว เล่าถึงสถานการณ์อันเป็นวิกฤติสำาคัญและ เป็นจุดเปลี่ยนของชุมชนคือปัญหาเรื่องดินที่ขาดความสมบูรณ์จากการใช้สารเคมีอย่างหนักภาวะ ขาดแคลนนำ้าความไม่แน่นอนจากปัจจัยการตลาดและราคาผลผลิตตกต่ำาซึ่งกลเห็นว่าดินเป็นฐานของทุกสิ่ง นำ้าและป่าก็อยู่บนดิน ดินเป็นฐานของสิ่งมีชีวิตตั้งแต่เกิดจนตาย จากนั้น กลจึงเป็นผู้นำาทางความเปลี่ยนแปลงโดยใช้วิธีเรียนรู้ทดลองทำาให้ดูอยู่ให้เห็น เป็นหัวใจในการทำาเกษตรอินทรีย์ผ่านหน้าท่ีหมอดินอาสาประจำาตำาบลได้ศกึษาดูงานจากกรมพัฒนาท่ีดินและกองทนุเพือ่การลงทนุทางสังคม(SIF)นอกจากนั้นกลโฉมคุ้มและชาวบ้านยังได้ร่วมกันก่อตั้ง“กลุ่มเกษตรอินทรีย์บ้านกว้าว หมู่ ๓”ขึ้นมาในปีพ.ศ.๒๕๔๔

    รูปธรรมความสำาเร็จในพื้นที่เกษตรอินทรีย์

    ๒๑๒๐

  • จากผลงานของกลุ่มทำาให้กลได้รับรางวัลลูกโลกสีเขียวประเภทบุคคลครั้งที่๙ในปีพ.ศ.๒๕๕๐เกดิการขยายงานจากระดบัหมูบ่า้นไปสู่ระดบัตำาบลทีร่ว่มกนัทำากจิกรรมในเรือ่งการจดัการดินนำ้าป่าซึ่งนายกลกล่าวถึงการได้รับรางวัลลูกโลกสีเขียวว่า เหมือนว่าปตท.ให้ไม้ขีดไฟจุดประกายการปลูกจิตสำานึกคนในการดูแลป่าทำาให้ชาวบ้าน๘หมู่บ้าน๔โรงเรียนและเจ้าหน้าที่

    อุทยานฯ เข้าร่วมกิจกรรม เริ่มต้นเป็นกิจกรรมดูแลป่า ปลู กป่ าทั้ ง ใน เขตอุ ทยานแห่ งชาติ และบริ เ วณ หัวไร่ปลายนา เพราะเชื่อม่ันว่าป่าสามารถเชื่อมโยงเรื่องเกษตรอินทรีย์ได้ ถ้าเรารักษาป่าไม่ให้ไฟไหม้ก็จะเกิดอินทรีย์วัตถุในป่า เม่ือถึงฤดูฝนนำ้าจะพัดพาอินทรีย์วัตถุลงในพ้ืนท่ีนาเป็นปุ๋ยจากป่าหลักการทำา ปุ๋ยหมักจึงเป็นหลักการเลียนแบบธรรมชาติใบไม้ในป่าทับถมกันย่อยสลาย เกิดอินทรีย์วัตถุเพียงแต่เราเร่งให้กระบวนการเร็วขึ้นเท่านั้น

    โครงการฯ ได้เข้ามาหนุนเสริมการทำางานเกษตรอินทรีย์ของกลุ่มต่างๆ เช่น กลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ กลุ่มข้าวปลอดสารกลุ่มปุ๋ยอินทรีย์และกลุ่มผู้สูงอายุเป็นต้น โดยหนุนเสริมให้เกิดการรวมกลุ่มเพื่อต่อยอดเรียนรู้ขยายผลอย่างกว้างขวางสู่ครัวเรือนพอเพียงอาสา ๑๖๐ ครัวเรือน เกิดศูนย์เรียนรู้ที่ถ่ายทอดความรู้ ให้กับเกษตรกรท้ังในและนอกชุมชนขึ้นท่ีหมู่ ๓ ดูแลโดยกล โฉมคุ้ม นอกจากนี้ ยังมีการส่งเสริมการปลูกผักตามฤดูกาลเพ่ือลดการใช้สารเคมีส่งเสริมการปลูกข้าวปลอดสารให้ได้คนละ ๑ ไร่ เพ่ือส่งจำาหน่ายท่ี โรงพยาบาลคีรีมาศมีการอบรมกลุ่มผู้สูงอายุเพื่อปลูกสมุนไพรผลิตยาสมุนไพรและออกกำาลังกายด้วยเคร่ืองออกกำาลังกายจากภูมิปัญญาเช่นฮูลาฮูปไม้ไผ่และการเดินบนกะลามะพร้าว ทำาให้เกิดทักษะชุมชนมีการถ่ายทอดความรู้ให้แก่กันและเกิดการพึ่งพาตนเองของชุมชนได้อย่างแท้จริง

    ๒๓๒๒

  • ได้เป็นแกนกลางในการขับเคลื่อนแผนงานต่างๆทั้งกิจกรรมเวทีการแลกเปลีย่นวธิคีดิและประสบการณ์การทำางานของคณะกรรมการโครงการฯกิจกรรมเรียนรู้จากการพัฒนาศักยภาพผ่านการอบรมแลกเปล่ียนและศึกษาดูงานกิจกรรมการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติทดลอง

    ระยะต่อมาแก๊งค์หมูหลุมและคณะกรรมการโครงการฯ ได้สรุป บทเรียนร่วมกันและจัดทำาแผนงานเป็นประเด็นการทำางาน ได้แก่แผนส่งเสริมครัวเรือนพอเพียงอาสา แผนงานเกษตร แผนงานการจัดการทรัพยากร แผนงานเยาวชน และแผนงานส่งเสริมการเรียนรู้ โดยมีกิจกรรมเด่น มากมาย เช่น กิจกรรมการอบรมให้ความรู้เร่ืองการวิเคราะห์ดินปุ๋ยอินทรีย์ นำ้าส้มควันไม้ และกิจกรรมเวทีการเรียนรู้เรื่องพันธุ์ข้าวเป็นต้นนอกจากนี้ยังมีการขับเคล่ือนงานในประเด็นอื่นเช่นแผนงานทรัพยากรโดยเริ่มที่ป่าชุมชนแล้วขยายไปสู่กิจกรรมอื่นๆ ในด้านพลังงานการปลูกสมุนไพรไว้ใช้ในบ้านการเรียนรู้เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นต้น

    แก๊งค์หมูหลุม

    การเข้ามาของโครงการฯ ทำาให้เกิดการตั้งคณะกรรมการโครงการฯ และไปศึกษาดูงานที่ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติสองสลึง จังหวัดระยอง ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของกลุ่มคนที่เริ่มรู้จักและสนิทสนมกัน จากการเดนิทางไปดงูานในครัง้นัน้และตัง้เปน็กลุม่ทีช่ือ่วา่“แกง๊คห์มหูลมุ”ทีม่คีวามตัง้ใจอยา่งแรงกลา้ในการเข้ามาเรยีนรูเ้รือ่งวถิพีอเพียงเพ่ือนำาพาตำาบลบา้นนำา้พไุปสูท่างออกของวกิฤตกิารณป์ญัหาทัง้ภายในและภายนอกทีเ่กดิขึน้และมจีดุหมายทีจ่ะรว่มมอืกนัสรา้งตำาบลวถิพีอเพยีงเพือ่ทลูเกลา้ฯถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯในปีพ.ศ.๒๕๕๔

    สมาชิกสว่นใหญ่ในแก๊งหมหูลมุเป็นแกนนำาและอาสาสมัครในตำาบลเชน่ผู้ใหญบ่า้นสมาชกิองคก์ารบรหิารสว่นตำาบลเป็นต้นไดร้ว่มกันเป็นแกนนำาในการขบัเคล่ือนโครงการฯโดยมีเปา้หมายหลักคอืการพึง่ตนเองการมคีวามรูแ้ละการแบ่งปันผา่นทางกจิกรรมตา่งๆคอืเกบ็ขอ้มูลและวเิคราะหเ์ศรษฐกจิและพลังงาน(ECEN)แล้วนำามาประมวลผลและคืนข้อมูลให้แก่ครัวเรือนพอเพียงอาสาต่อมาแก๊งค์หมูหลุม

    ๒๕๒๔

  • กระบวนการขับเคลื่อนของคณะกรรมการโครงการฯกับแก๊งค์หมูหลุม ได้ทำาให้เกิดผลสำาเร็จที่เป็นรูปธรรมของ การดำาเนินงานเกิดความรู้ในการจัดการตนเองและพัฒนาเป็น การขยายความรู้ในรูปศูนย์เรียนรู้ตำาบลบ้านนำ้าพุ จำานวน๔ ศูนย์ ในปัจจุบันจะเห็นว่ารูปธรรมความสำาเร็จของ “แก๊งค์หมูหลุม” เป็นการสะท้อนให้เห็นกลไกการพัฒนาท่ี เร่ิมจากการวิเคราะห์ชุมชนจนเกิดเป็นแผนงาน และผลักดันให้ตอบโจทย์ปัญหาของชุมชนท่ีเกิดข้ึนอย่างเก่ียวข้องสัมพันธ์กัน ทั้งด้านทรัพยากรชุมชนพลังงานสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะชุมชน รวมทั้งการฝึกฝนทักษะผ่านกิจกรรมต่างๆ เกิดเป็น ทักษะชุมชนในขณะเดียวกันการทำางานร่วมกันด้วยความรกัความเข้าใจและอยู่ในวถีิพอเพียงแบง่ปันเป็นการสง่เสรมิการพัฒนา จิตใจที่สืบทอดต่อเนื่องให้แก่คนรุ่นใหม่และเยาวชนรุ่นหลัง โดยมีเป้าหมาย “การพ่ึงตนเอง การมีความรู้ และการ แบ่งปัน”

    ๒๗๒๖

  • แผนที่ความรู้

    ๒๙๒๘

  • ล้านบาท

    ลดรายจ่าย=เพิ่มรายได้

    จากการเก็บรวบรวมข้อมูลเศรษฐกิจและพลังงานในภาพรวมของตำาบลระหว่างปี ๒๕๕๒-๒๕๕๓ พบว่ารายจ่ายรวมในปี๒๕๕๓ลดลง๔.๔๕ล้านบาทคิดเป็น๑๙%ของรายจ่ายรวมในปี๒๕๕๒ดังแผนภูมิ

    แผนภูมิเปรียบเทียบข้อมูลรายจ่ายรวมระหว่างปี๒๕๕๒-๒๕๕๓

    ๓๑๓๐

  • ปริมาณการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ที่ลดลงจากการทำากิจกรรม ตลอดระยะเวลาที่เข้าร่วมโครงการฯ

    ตำาบลบ้านนำ้าพุลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ลงได้๘๘,๘๔๘กิโลกรัมจากกิจกรรมปลูกต้นไม้พลังงานทดแทนท่ีใช้แทนแก๊สหุงต้ม กังหันลมสูบนำ้า การทำาปุ๋ยอินทรีย์ กิจกรรมรณรงค์การประหยัดพลังงานการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุธรรมชาติและการคัดแยกขยะ

    หมายเหตุ : เก็บข้อมูลจากกลุ่มครัวเรือนพอเพียงอาสาที่เข้าร่วมโครงการฯ

    ๓๓๓๒

  • เจ้าหน้าที่ประจำาตำาบล

    เจ้าหน้าที่ประจำาภาค

    ที่ปรึกษาภาค

    นายธนกรศักดิ์ดี

    นางสาวปานเนตรสุขสว่าง

    นายมงคลพนมมิตร

    ทีมงานภาคสนาม ปตท.

    รายชื่อคนต้นแบบ...บทสรุปความพอเพียง

    รายชื่อครัวเรือนพอเพียงอาสา

    ภาคผนวก

    ๑.นายดารากรสูขประเสริฐ

    ๒.นางสุวรรณสมคุ้ม

    ๓.นายอดิศักดิ์สุขแม้น

    ๔.นางประทุมทิพย์ทะวิน

    ๕.นายชวนเขาค่าย

    ๖.นายวิโรจน์เรียงสา

    ๗.นางจิตรภู่จีน

    ๘.นายสมพงษ์หอมขาว

    ๙.นายประวิทย์บัวบาน

    ๑๐.นายบุญเทืองคำาลือ

    ๑๑.นายดอกไม้ถาวร

    ๑๒.นางสาวสมพรสุขแม้น

    ๑๓.นางบุญทินเณรเสือ

    ๑๔.นางนิยมคล้ายบุญ

    ๑๕.นายไอ่นำ้าทิพย์อินนะปกุล

    ๑๖.นางบุญธรรมคำาลือ

    ๑๗.นางประจวบโตฉิม

    ๑๘.นายไพโรจน์หงษ์ทวี

    ๑๙.นางบัวทองกันทะ

    ๒๐.นางทองพลอยศรีสรรงาม

    ๒๑.นายวีระสังคง

    ๒๒.นายธารินทร์บดีรัฐ

    ๒๓.นางสวาทเสาวนิจ

    ๒๔.นางพิกุลโสภากุล

    ๒๕.นางน้องนุชกิ่งคำา

    ๒๖.นางสมจิตรรุกขชาติ

    ๒๗.นางลำาพูนพลเชี่ยว

    ๒๘.นายประถมม่วงเกตุ

    ๒๙.นางบุญเลยพุ่มพวง

    ๓๐.นางบานเย็นอุดมสุข

    ๓๑.นางอ้อยทิพย์ส่องแสง

    ๓๒.นางดอกรักรุกชาติ

    ๓๓.นางน้อยเนื้อไม้

    ๓๔.นางทองปลายเสาวนิจ

    ๓๕.นายลำาพาโพธิบัลลังค์

    ๓๖.นางดาหวันโพธิบัลลังค์

    ๓๗.นางข้าวซ้อมบดีรัฐ

    ๓๘.นางหวานใจหนูหอม

    ๓๙.นายเฉลิมถมทอง

    ๔๐.นางศรีนวลรุกชาติ

    ๔๑.นายศรีไพรฉิมงาม

    ๔๒.นายอนันต์โชคชัย

    ๔๓.นายสมพงษ์พลูเกษม

    ๔๔.นางมังกรชุ่มเชื้อ

    ๔๕.นางสำารวยสุ่มแก้ว

    ๔๖.นายรัตนศักดิ์กันหาพา

    ๔๗.นางทักษิณผลทิพย์

    ๔๘.นายสมจิตรพลูเกษม

    ๔๙.นางพงษ์น้อยภา

    ๕๐.นายจำารัสพลูเกษม

    ๕๑.นางกรรญาพูนเกษม

    ๕๒.นางอนุพิณกุลรัตน์

    ๕๓.นางกัลยาเฮ่าเพา

    ๕๔.นางนรินทร์กองกาญน์

    ๕๕.นางแปขวัญถาวร

    ๕๖.นางวันนาเปลี่ยนงาม

    ๕๗.นายยุพินหล้าคำาภา

    ๕๘.นางศศิประภานันชม

    ๕๙.นางละมัยมิรินทานย์

    ๖๐.นางสาครมีเป้า

    ๖๑.นายบุญสมเตจะนะตา

    ๖๒.นางม้วยสงคุ้ม

    ๖๓.นายมานิตย์ชุ่มเชื้อ

    ๖๔.นางเสถียนอินตะปกุล

    ๖๕.นางสายฝนศิลธรรม

    ๖๖.นางประณอมตันทะตุ่น

    ๖๗.นางสำาเภาฉัตรเงิน

    ๖๘.นางเจริญเตจะนะตา

    ๖๙.นายสาตุ๊กไชสง

    ๗๐.นางกิมรวยสมคุ้ม

    ๗๑.นางขาวเขาค่าย

    ๗๒.นางเรณูแก้วมาลี

    ๗๓.นายศิลธรรมคำาลือ

    ๗๔.นางทองสืบคำาลือ

    ๗๕.นายอินทร์จันทร์ตันทะตุ่น

    ๗๖.นางดอกฝ้ายเกิดนาค

    ๗๗.นางอัมพรยาสมุด

    ๗๘.นายสุเทพคำาลือ

    ๗๙.นายคนึงเปรมใจ

    ๘๐.นายณรงค์อินกรัด

    ๘๑.นางบัวหลวงพัดพ่วง

    ๘๒.นายสุวิทย์บุญชู

    ๘๓.นางประมาณจ่ายหนู

    ๘๔.นายบุญช่วยมะเรือง

    ๘๕.นางสาวเอื้องพัดพ่วง

    ๘๖.นางสาวพิกุลโพธิ์ศรี

    ๘๗.นายสมศักดิ์ขอนทอง

    ๘๘.นายบัญเย็นรักสิงห์

    ๘๙.นายวนอินกรัด

    ๙๐.นายเชิญขอนทอง

    ๙๑.นายชูชีพขอนทอง

    ๙๒.นางทวีคชสิทธิ์

    ๙๓.นายบรรเทาอุดมสุข

    ๙๔.นางมานีสุขแม้น

    ๙๕.นางประแมนสังคง

    ๙๖.นางสมบัติอินทพงษ์

    ๙๗.นางสมจิตรนาคเมฆ

    ๙๘.นางทานตะวันวัฒนะ

    ๙๙.นางไม้ข่อยเมฆี

    ๑๐๐.นางสมศรีพัดพ่วง

    ๑๐๑.นางลำาพันพลกล้า

    ๑๐๒.นางประทานอินกลัด

    ๑๐๓.นางสาวลำายองอินทพงษ์

    ๑๐๔.นายกลโฉมคุ้ม

    ๑๐๕.นายโกมลอินกลัด

    ๑๐๖.นายเฉลิมโฉมคุ้ม

    ๑๐๗.นายคำารณอินทพงษ์

    ๑๐๘.นายกาศโฉมคุ้ม

    ๑๐๙.นางชื่นอินทพงษ์

    ๑๑๐.นายทองหล่อเงินนา

    ๑๑๑.นางลำาไยสหชาติ

    ๑๑๒.นางสาวอารีรัตน์ศักดิ์ดี

    ๑๑๓.นางทองกอหอมรื่น

    ๑๑๔.นายแสวงรุกขชาติ

    ๑๑๕.นายประจวบแซ่จิว

    ๑๑๖.นายจันทร์พรมมี

    ๑๑๗.นายประจักษ์เนื้อไม้

    ๑๑๘.นายเปลื่องแสงสุก

    ๑๑๙.นายบำารุงเมฆี

    ๑๒๐.นายจรวนสมศักดิ์

    ๑๒๑.นายเฉลียวเทียนคำา

    ๑๒๒.นายนิวัฒน์ปานโต

    ๑๒๓.นางสนิจไพโรจน์

    ๑๒๔.นายเสาร์เตจะนะตา

    ๑๒๕.นายสมบูรณ์ทองราช

    ๑๒๖.นางวิเชียรจันทรแย้

    ๑๒๗.นายธราพรมลตรีชัย

    ๑๒๘.นางสมจิตรกาศสีมูล

    ๑๒๙.นางจรรยารัตนวัน

    ๑๓๐.นางนิตยาจันทักดี

    ๑๓๑.นางสัมฤทธิ์กมล

    ๑๓๒.นายพงศ์พัทธ์ปัตถาทาสูง

    ๑๓๓.นายอุทัยดลกุล

    ๑๓๔.นายชุมพรสุขชัยสงค์

    ๑๓๕.นางสมนึกมะลานันต์

    ๑๓๖.นายกรมเขาค่าย

    ๑๓๗.นางหนูพรรณเวียงสิมมา

    ๑๓๘.นางฉวีวงโคตร

    ๑๓๙.นางมนผ่องแผ้ว

    ๑๔๐.นางเตือนใจโพธิ์ศรีขาม

    ๑๔๑.นางสมควรพันพิพัฒน์

    ๑๔๒.นางคำาแปงผิวผ่อง

    ๑๔๓.นางจันทราตันสอน

    ๑๔๔.นางบัณฑิตโสระมัย

    ๑.นางสมศรีสังคง : คนต้นแบบด้านการเป็นผู้นำาคนรุ่นใหม่

    ๒.นายสาตุ๊กไธสงค์ : คนต้นแบบด้านสุขภาพ

    ๓.นายดารากรสุขประเสริฐ : คนต้นแบบด้านแกนนำาเยาวชน

    ๔.นางสาวญดาพรทาลุมพุก : คนต้นแบบด้านการพึ่งตนเองระดับครัวเรือน

    ๕.นายมานิตย์ชุ่มเชื้อ : คนต้นแบบด้านการทำาบัญชีครัวเรือน

    ๖.นายกลโฉมคุ้ม : คนต้นแบบด้านเกษตรอินทรีย์

    ๗.นางพิกุลโพธิ์ศรี : คนต้นแบบด้านพลังงานทางเลือกเตาเผาถ่าน๒ooลิตร

    ๓๕๓๔

  • บริษัท ปตท. จำากัด (มหาชน)๕๕๕ ถนนวิภาวดีรังสิต จตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐โทร. ๖๖(๐)-๒๕๓๗-๒๐๐๐www.pttplc.com

    ปกหน้าสารบัญโมเดลบ้านน้ำพุสภาพแวดล้อมความเป็นมาพัฒนาการตำบลทุนตำบล

    ก้าวเดินด้วยความพอเพียงกลไกการขับเคลื่อนรูปธรรมความสำเร็จในพื้นที่แผนที่ความรู้ลดรายจ่าย = เพิ่มรายได้ปริมาณการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ที่ลดลงจากการทำกิจกรรมตลอดระยะเวลาที่เข้าร่วมโครงการฯ

    ภาคผนวกปกหลัง