10
ตัวอย่าง

อตุโล จิต คือ พุทธะ เล่ม 2 (PDF)...๘๐. ถามป ญหาได ท กเม อ ๙๘ ๘๑. การถามป ญหาท

  • Upload
    others

  • View
    9

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: อตุโล จิต คือ พุทธะ เล่ม 2 (PDF)...๘๐. ถามป ญหาได ท กเม อ ๙๘ ๘๑. การถามป ญหาท

ตัวอย่าง

Page 2: อตุโล จิต คือ พุทธะ เล่ม 2 (PDF)...๘๐. ถามป ญหาได ท กเม อ ๙๘ ๘๑. การถามป ญหาท

สำรบัญ

ภาค ๑ ประวัติและปฏิปทา (ต่อ)

๖๑. ปรยิตัคิู่กบัปฏบิตัิ ๑๗

๖๒. ศลี สมาธ ิปัญญา แต่ละระดบั ๒๐

๖๓. ภาวนากบันมิติ ๒๒

๖๔. สามเณรขอลาสกึ ๒๘

๖๕. อุบตัเิหตุที่เขาพนมสวาย ๓๓

๖๖. ภูต ผ ีวญิญาณ และเทวดา ๓๘

๖๗. ความเชื่อถอืเรื่องอทิธฤิทธิ์ ๔๒

๖๘. วตัถุมงคลศกัดิ์สทิธิ์จรงิหรอื ๔๖

๖๙. ผู้เจรญิด้วยยถาลาภสนัโดษ ๔๙

๗๐. รสอาหารดอียู่ที่ใจ ๕๒

๗๑. พระอรหนัต์ไม่รบัรู้อะไรจรงิหรือ ๕๕

๗๒. ทุกหมู่เหล่าล้วนแสวงหานพิพาน ๕๘

๗๓. ผู้มตีนเป็นที่พึ่งตลอดกาล ๖๔

๗๔. สูตรอายุยนื ๖๘

๗๕. ไม่มงี่วงเหงาหาวนอน ๗๔

๗๖. สะอาดทั้งกายทั้งใจ ๗๙

๗๗. เข้าใกล้ร่มเยน็เป็นมงคล ๘๘

๗๘. ไม่หวั่นไหวในกาลทุกเมื่อ ๙๑

๗๙. ไม่พยากรณ์อรยิมรรคอรยิผล ๙๕

ตัวอย่าง

Page 3: อตุโล จิต คือ พุทธะ เล่ม 2 (PDF)...๘๐. ถามป ญหาได ท กเม อ ๙๘ ๘๑. การถามป ญหาท

๘๐. ถามปัญหาได้ทุกเมื่อ ๙๘

๘๑. การถามปัญหาที่น่าพศิวง ๑๐๔

๘๒. ตอบค�าถามเกี่ยวกับยกัษ์ ๑๑๐

๘๓. เรื่องจติเรื่องอทิธฤิทธิ์ ๑๑๗

๘๔. หลวงปู่แสดงอทิธฤิทธิ์บ้างไหม ๑๒๒

๘๕. หลวงปู่สามถูกท�าร้าย ๑๒๕

๘๖. หลวงตาแปะมรณภาพ ๑๒๘

๘๗. เรื่องเกี่ยวกบัฝนตก ๑๓๐

๘๘. แขกยามวกิาล ๑๓๓

๘๙. เรื่องของหลวงตายุทธ ๑๓๖

๙๐. เหตุเกดิที่ก�าแพงแสน ๑๔๐

๙๑. เรื่องแปลกเกี่ยวกบัฝน ๑๔๒

๙๒. เดาใจหลวงปู่ไม่เคยถูก ๑๔๔

๙๓. มายา กเิลสชนดิละเอยีด ๑๕๐

๙๔. กระโถนธรรม ๑๕๓

๙๕. อาพาธครั้งแรก ๑๕๖

๙๖. หลวงปู่หวัเราะกม็ี ๑๕๙

๙๗. ตาบอดใส่แว่น ๑๖๒

๙๘. ต้องตายให้เป็น ๑๖๔

๙๙. ร่วมงานศพหลวงปู่ฝั้น ๑๖๗

๑๐๐. ตอบพระราชปุจฉา ๑๗๐

๑๐๑. อาพาธหนกัครั้งที่สอง ๑๗๓

๑๐๒. ความโกลาหล ๑๗๘

ตัวอย่าง

Page 4: อตุโล จิต คือ พุทธะ เล่ม 2 (PDF)...๘๐. ถามป ญหาได ท กเม อ ๙๘ ๘๑. การถามป ญหาท

๑๐๓. เหนอืเอกซเรย์ ๑๘๒

๑๐๔. ถูกตวัหลวงปู่ได้ไหม ๑๘๔

๑๐๕. ผลการวนิจิฉยัโรค ๑๘๖

๑๐๖. ห้องพระราชทาน ๑๘๘

๑๐๗. อาการไข้ของหลวงปู่ ๑๙๐

๑๐๘. ผู้มาเยี่ยมนมสัการหลวงปู่ ๑๙๓

๑๐๙. ไม่มกีล็�าบาก มมีากกย็ุ่ง ๑๙๖

๑๑๐. ทรงเยี่ยมเป็นการส่วนพระองค์ ๑๙๙

๑๑๑. ก�าหนดออกจากโรงพยาบาล ๒๐๔

๑๑๒. เดนิทางกลบัวดั ๒๐๗

๑๑๓. งดกจินมินต์นอกวดั ๒๑๐

๑๑๔. ข่าวมรณภาพของหลวงปู่ขาว ๒๑๒

๑๑๕. ก�าหนดงานฉลองอายุ ๘ รอบ ๒๑๖

๑๑๖. อาการผดิปกตเิริ่มปรากฏ ๒๑๘

๑๑๗. นี่ไม่ใช่ครั้งก่อน ๒๒๒

๑๑๘. วนัแรกของงาน ๒๒๕

๑๑๙. เรารออย่างนี้อยู่แล้ว ๒๒๘

๑๒๐. สวดมนต์ให้ฟัง ๒๓๑

จิต คือ พุทธะ ๒๓๔ตัวอย่าง

Page 5: อตุโล จิต คือ พุทธะ เล่ม 2 (PDF)...๘๐. ถามป ญหาได ท กเม อ ๙๘ ๘๑. การถามป ญหาท

ภำค ๑ประวัติและปฏิปทา (ต่อ)

ตัวอย่าง

Page 6: อตุโล จิต คือ พุทธะ เล่ม 2 (PDF)...๘๐. ถามป ญหาได ท กเม อ ๙๘ ๘๑. การถามป ญหาท

๖๑

ปริยัติคู่กับปฏิบัติ

ในเล่มที่๑อตโุลไม่มใีดเทยีม ได้กล่าวถงึการสอนของ

หลวงปู่ดูลย์ อตุโล ว่า ท่านไม่ทิ้งทั้งปริยัติและปฏิบัติ ต้องมี

ประกอบกนั

หวัข้อนี้เป็นตวัอย่างการสอนของหลวงปู ่จากประสบการณ์

ของลูกศษิย์ของหลวงปู่ท่านหนึ่ง ขอยกข้อความมาดงันี้

การศึกษาความรู้กับ หลวงปู่ดูลย์ เมื่อครั้งที่ลูกศิษย์

ท่านนี้ยังเป็นสามเณรน้อย ได้รับการชี้แนะอบรมพร�่าสอนจาก

หลวงปู่ดูลย์อย่างใกล้ชดิ โดยท่านจะเน้นให้ศษิย์ของท่านมคีวาม

ส�านกึ ตรกึอยู่ในจติเสมอถงึสภาวะความเป็นอยู่ในปัจจุบนัว่า...

บดันี้ เราได้บวชกายบวชใจ เข้ามาอยู่ในบวรพุทธศาสนา

เป็นสมณะที่ชาวบ้านทั้งหลายให้ความเคารพบูชา ทั้งยังอุปัฏฐาก

อุปถัมภ์ค�้าจุนด้วยปัจจัย ๔ ควรที่จะกระท�าตนให้สมกับที่เขา

เคารพบูชา ถอืประพฤตปิฏบิตัติามศลีธรรม ตามพระวนิยัอย่าง

เคร่งครดั ไม่ฝ่าฝืนทั้งที่ลบัและที่แจ้ง

ตัวอย่าง

Page 7: อตุโล จิต คือ พุทธะ เล่ม 2 (PDF)...๘๐. ถามป ญหาได ท กเม อ ๙๘ ๘๑. การถามป ญหาท

๑8 อตุโล จิต คือ พุทธะ

พระเณรที่มาบวชกบัหลวงปู ่จงึได้ศกึษาทั้งในด้านปรยิตัิ

และปฏบิตัคิวบคู่กนัไป

ด้านปริยัติ ท่านให้เรียนนักธรรม บาลี ไวยากรณ์ ให้

เรยีนรู้ถงึเรื่องศลี ธรรม พระวนิยั เพื่อจะได้จดจ�า น�าไปประพฤติ

ปฏบิตัใิห้ถกูต้อง ไม่ออกนอกลูน่อกทางที่พระพทุธองค์ทรงวางไว้

ซึ่งจะท�าให้สามารถด�ารงตนอยู่ได้อย่างเหมาะสมเยี่ยงผู้ถือบวช

ที่ชาวบ้านเขาศรทัธากราบไหว้บูชา

ด้านปฏิบัติ ท่านเน้นหนักเป็นพิเศษให้พระเณรทุกรูป

ทุกองค์ปฏบิตักิมัมฏัฐาน เพราะการปฏบิตัพิระธรรมกมัมฏัฐานนี้

จะเป็นการฝึกกายฝึกจิตให้ผู ้ศึกษาธรรมได้รู ้ได้เห็นของจริง

โดยสภาพที่เป็นจริง อันเกิดจากการรู้การเห็นของตนเอง ไม่ใช่

เกดิจากการอ่าน จดจ�าจากต�ารบัต�ารา ซึ่งเป็นการรูด้้วยสญัญาแห่ง

การจ�าได้หมายรู้ คือรู้แต่ยังไม่เห็น ยังไม่แจ้งแทงตลอดอย่าง

แท้จรงิ

ข้อธรรมกมัมฏัฐานที่ หลวงปูด่ลูย์ท่านให้พจิารณาอยูเ่ป็น

เนอืงนติย์กค็อื หวัข้อกมัมฏัฐานที่ว่า สพเฺพสงขฺาราสพพฺสญญฺา

อนตตฺา

การพจิารณาตามหวัข้อธรรมกมัมฏัฐานดงักล่าวนี้ หากได้

พิจารณาทบทวนอย่างสม�่าเสมอแล้ว ในเวลาต่อมาก็จะรู้แจ้ง

สว่างไสว เข้าใจได้ชดัเจนว่า

ตัวอย่าง

Page 8: อตุโล จิต คือ พุทธะ เล่ม 2 (PDF)...๘๐. ถามป ญหาได ท กเม อ ๙๘ ๘๑. การถามป ญหาท

พระรำชวุฒำจำรย์ (หลวงปู่ดูลย์ อตุโล) ๑9

สังขาร ทั้งหลายทั้งปวงเป็นสิ่งไม่เที่ยงแท้

หาความจีรังยั่งยืนไม่ได้

มีการเกิดดับ เกิดดับ อยู่ตลอดเวลา

เมื่อพจิารณาเหน็อย่างนี้แล้ว จะท�าให้เลกิละจากการยดึถอื

ตวัตนบุคคลเราท่าน เพราะได้รู้ได้เหน็ของจรงิแล้วว่า สงัขารที่เรา

รกัหวงแหนนั้น ไม่ช้าไม่นาน มนักต้็องเสื่อมสญู ดบัไปตามสภาวะ

ของมนั ไม่อาจที่จะฝ่าฝืนได้

เมื่อสังขารดับได้แล้ว ความเป็นตัวเป็นตนก็จะไม่มี

เพราะไม่ได้เข้าไปเพื่อปรงุแต่งครั้นเมื่อความปรงุแต่งขาดหาย

ไปความทกุข์จะเกดิได้อย่างไร

ตัวอย่าง

Page 9: อตุโล จิต คือ พุทธะ เล่ม 2 (PDF)...๘๐. ถามป ญหาได ท กเม อ ๙๘ ๘๑. การถามป ญหาท

๖๒

ศีล สมำธิ ปัญญำ แต่ละระดับ

เนื้อหาในหัวข้อนี้คัดลอกมาจากประวัติของลูกศิษย์ของ

หลวงปู่ท่านหนึ่งเช่นเดยีวกบัตอนที่ผ่านมา ดงัต่อไปนี้

ค�าสอนของ หลวงปู่ดลูย์อตโุล อีกประการหนึ่ง ที่ท่าน

แนะน�าพร�่าสอนต่อผู้มาขอแนวทางการปฏิบัติจากท่าน ไม่ว่าจะ

เป็นพระภกิษุ สามเณร อุบาสก อุบาสกิา จะเป็นเดก็หรอืผู้ใหญ่

กด็ ีท่านจะให้ปฏบิตัโิดยแนวทางแห่ง ศลีสมาธิปัญญาเหมอืน

กนัหมด

ลูกศิษย์ท่านนี้ได้เล่าว่า สมัยที่ท่านยังเป็นสามเณร และ

อยู่กับหลวงปู่ดูลย์ ที่วัดบูรพาราม จังหวัดสุรินทร์ มีคนเคยมา

ถามหลวงปู่ถงึค�าสั่งสอนดังกล่าวของท่านว่า

“สอนเดก็ กส็อนศลี สมาธ ิปัญญา

สอนหนุ่มสาว กส็อนศลี สมาธ ิปัญญา

สอนผู้เฒ่าผู้แก่ กส็อนศลี สมาธ ิปัญญา

สอนพระเณร กส็อนศลี สมาธ ิปัญญา

ศีล สมาธิ ปัญญา ในระดับต่างๆ กันนั้น เหมือนกัน

หรอืแตกต่างกนัอย่างไร”

ตัวอย่าง

Page 10: อตุโล จิต คือ พุทธะ เล่ม 2 (PDF)...๘๐. ถามป ญหาได ท กเม อ ๙๘ ๘๑. การถามป ญหาท

พระรำชวุฒำจำรย์ (หลวงปู่ดูลย์ อตุโล) ๒๑

ขณะที่มผีูถ้ามนั้น ตอนนั้นหลวงปูด่ลูย์ก�าลงัปะชนุเยบ็จวีร

อยู่ เมื่อท่านฟังค�าถามนั้นจบลง ท่านกย็กเขม็ให้ดู แล้วกล่าวว่า

“คุณลองดูว่าเขม็นี้แหลมไหม”

ผู้ถามกต็อบว่า “แหลมขอรบัหลวงปู่”

หลวงปู่อธบิายว่า...

“ความแหลมคมของสตปิัญญาในระดบัเดก็ ระดบัผู้ใหญ่

กม็คีวามแหลมคมไปคนละอย่าง แต่ในระดบัความแหลมคมของ

สตปัิญญาพระอรหนัต์นั้น อยูเ่หนอืความแหลมคมทั้งหลายทั้งปวง

ความแหลมคมของเขม็นั้น เกดิจากคนเราท�าขึ้น แต่สติ

ปัญญาที่เกดิจากพระพทุธเจ้าและพระอรหนัต์ทั้งหลายนั้น เป็นศลี

สมาธ ิปัญญา ระดบัโลกตุรธรรม ที่ไม่มสีิ่งใดเสมอเหมอืน มคีวาม

มั่นคงไม่แปรเปลี่ยนอกีแล้ว

ส�าหรับสติปัญญาระดับปุถุชน ก็เป็นศีล สมาธิ ปัญญา

เช่นกนั แต่เป็นศลี สมาธ ิปัญญา ที่จะต้องระมดัระวงั เพราะยงั

อยู่ในขั้นโลกยีธรรม ยงัคงมคีวามเปลี่ยนแปลงผนัแปรได้เสมอ”

ค�าตอบของหลวงปูด่ลูย์ดงักล่าวนั้นชี้ให้เหน็ถงึไหวพรบิ

และปฏิภาณในการอธิบายข้อธรรมที่ลุ่มลึกได้อย่างฉับไว โดย

สามารถยกสิ่งเลก็ๆน้อยๆที่เราคดิไม่ถงึมาเป็นตวัอย่างประกอบ

ชี้ให้เหน็ปัญหาที่ไต่ถามได้อย่างแจ่มแจ้งซึ่งนบัว่าเป็นการอธบิาย

ข้อธรรมที่น่าอศัจรรย์ยิ่ง

ตัวอย่าง