38
I v " oL./ 0 <L./ 17t!il;J/(j (ffJUl7a1ff071 @7U007U6@1I7iJ!)7'J@j7WUnUr7idiJT v;;.? y mT. 0 lEbec'ce: 0 kllEce:ec' 0 lElEce:c( ®'bc:t(9)! http://www.parfiamenttJo.th/fi6rary

mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

I ~ v " oL./ ~ 0 <L./ ~

17t!il;J/(j 7'J{')J}@{J@!~J (ffJUl7a1ff071 @7U007U6@1I7iJ!)7'J@j7WUnUr7idiJTv;;.? y

mT. 0 lEbec'ce: 00c:'~J 0 kllEce:ec' <$)(iI)lE~J 0 lElEce:c( ®'bc:t(9)!

http://www.parfiamenttJo.th/fi6rary

Page 2: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร.

วารสารวิชาการ เปนสื่อความรูประเภทหน่ึงที่มีความสําคัญตอการศึกษาคนควา อางอิง ที่ทันตอ

เหตุการณ ทําใหทราบถึงความกาวหนา และผลงานใหมๆ ในแขนงวิชาตางๆ กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ

ไดคัดเลือกบทความที่นาสนใจจากวารสารที่มีใหบริการในหองสมุด มาจัดทําสาระสังเขปรายเดือนเพื่อชวย

อํานวยความสะดวกใหกับสมาชิกรัฐสภาและผูใช ไดเขาถึงวารสารและเปนคูมือในการติดตามเลือกอาน

บทความที่สนใจจากวารสารที่ตองการไดอยางรวดเร็วและมากที่สุด

สาระสังเขปบทความวารสาร ฉบับน้ีไดดําเนินเขาสูปที่ 6 หากผูใชทานใดมีความประสงคจะอาน

บทความ หรือวารสารฉบับใด โปรดติดตอที่เคานเตอรบริการสารสนเทศ หองสมุดรัฐสภา สํานักวิชาการ

สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร อาคารรัฐสภา 3 ช้ัน 1 ถนนอูทองใน เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300

หมายเลขโทรศัพท 0 2244 1287, 0 2244 1375 หรือ e-mail : [email protected], และ

[email protected]

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ

สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

มกราคม 2554

คํานํา

Page 3: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร.

ศิลปว ัฒนธรรม

คําชี้แจง

สาระสังเขปบทความวารสารเลมน้ี เปนการสรุปยอเน้ือหาของบทความจากวารสารตางๆ ทั้งวารสาร

ภาษาไทยและวารสารภาษาอังกฤษ โดยจัดเรียงตามลําดับช่ือวารสาร ภายใตช่ือวารสารจัดเรียงตามลําดับ

อักษรช่ือบทความ ต้ังแต ก-ฮ หรือ A-Z รายละเอียดประกอบดวย

ชื่อวารสาร

1. “จิตรกรเอกและนักอนุรักษศิลปะของแผนดิน”. / โดย กฤษณา หงสอุเทน. ว.ศิลปวัฒนธรรม. ปที่

32 ฉบับที่ 2 (ธันวาคม 2553) : 141-155.

บทความเรื่องน้ีนําเสนอประวัติชีวิตของเฟอ หริพิทักษ หรือ เฟอ ทองอยู จิตรกรที่มีฝมือทางเชิงชางและการ

เปนนักอนุรักษพุทธศิลปอันลํ้าคาของประเทศ วิถีชีวิตของศิลปนทานน้ีนาสนใจ คือ การมุงม่ันศึกษาแนวทางในการสรางสรรค

งานศิลปะ และเพื่อทดลองสรางงานศิลปะเทาน้ัน โดยไมไดมุงเนนเพื่อใหไดมาซ่ึงประกาศนียบัตรหรือปริญญาบัตร แมวาจะ

สามารถเขาศึกษาในสถาบันศิลปะทั้ง 4 แหงไดสําเร็จ ไมวาจะเปนโรงเรียนเพาะชาง โรงเรียนประณีตศิลปกรรม มหาวิทยาลัย

วิศวภารติ ประเทศอินเดีย หรือราชบัณฑิตสถาน กรุงโรม ประเทศอิตาลี แตกลับไมเคยไดรับประกาศนียบัตรเลยแมแตใบเดียว

ทั้งน้ีไมใชเพราะไมมีความสามารถแตมีแนวทางเพื่อการศึกษาหาความรูเทาน้ัน พรอมกันน้ีไดนําเสนอผลงานการสรางสรรคทาง

ศิลปะจํานวนมาก ซ่ึงลวนแลวแตสะทอนใหเห็นถึงรูปแบบที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของความมุงม่ัน ความจริงใจ ความรักและศรัทธา

ตองานศิลปะ

Page 4: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร.

หนา

คํานํา ............................................................................................................................................................... ก

คําช้ีแจงวิธีใช .................................................................................................................................................. ข

สารบัญ ........................................................................................................................................................ ค-ง

กรมบัญชีกลาง ................................................................................................................................................ 1

การเงินธนาคาร ............................................................................................................................................... 2

จุฬาลงกรณรีวิว ............................................................................................................................................... 3

ดอกเบี้ย .......................................................................................................................................................... 5

เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม ............................................................................................................................... 7

ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ ........................................................................................................................... 9

ธรรมนิติ ฉบับเอกสารภาษีอากร..................................................................................................................... 11

นโยบายพลังงาน ............................................................................................................................................ 13

บริหารธุรกิจ ................................................................................................................................................... 14

ผูสงออก ........................................................................................................................................................ .16

FOR QUALITY ............................................................................................................................................. .18

วิชาการศาลปกครอง ...................................................................................................................................... 20

ศิลปวัฒนธรรม .............................................................................................................................................. .22

สรรพากรสาสน .............................................................................................................................................. 24

สารคดี ........................................................................................................................................................... 25

อีคอนนิวส ...................................................................................................................................................... 27

ภาคผนวก

“พลังหินและอัญมณีบําบัดโรค”

สารบัญ

Page 5: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 1

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

กรมบ ัญชกีลาง

1. “การควบคุมคาใชจายในการรักษาพยาบาลขาราชการ : ในสถานการณพิเศษ (ปงบประมาณ

2553)”. / โดย มนัส แจมเวหา. ว.กรมบัญชีกลาง. ปที่ 51 ฉบับที่ 4 (กรกฎาคม-สิงหาคม 2553) : 10-19. กลาวถึงแนวทางการกํากับดูแลการใชจายดานการรักษาพยาบาลขาราชการทีดํ่าเนินการอยูพอสรุป

ไดดังน้ี 1) การพัฒนาระบบตรวจสอบการใหบริการการรักษาพยาบาลอยางเขมงวด 2) การดําเนินคดีกับผูมีสิทธิที่ทุจริตยาอยางเฉียบขาด 3) การทําบันทึกความรวมมือระหวางกรมบัญชีกลาง และสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (ป.ป.ท.) 4) การเดินสายช้ีแจงทําความเขาใจเกี่ยวกับสถานการณดานสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ 5) มาตรการดานยา 6) พบปะ แลกเปลี่ยน เพื่อทําความเขาใจในมุมมองตาง ๆ 7) ติดตามสถานการณเบิกจายเงินงบประมาณดานสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการอยางใกลชิด 8) ทําบันทึกความรวมมือในการทําระบบขอมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลมาใชรวมกัน

2. “ความรับผิดทางละเมิดของผูขออนุญาตใชรถยนตราชการ”. / โดย สิทธานต รัตนวงศ. ว.กรมบัญชีกลาง. ปที่ 51 ฉบับที่ 4 (กรกฎาคม-สิงหาคม 2553) : 35-38. ปจจุบันรถยนตถือเปนยานพาหนะที่ทุกหนวยงานตองใชในการปฏิบัติงานเปนประจําไมวาจะเปน

หนวยงานภาครัฐหรือเอกชน ก็จําเปนตองใชรถยนตเพื่อดําเนินการตามภารกิจหนาที่ของหนวยงาน จึงหลีกเลี่ยงไมไดที่ทุกหนวยงานจะตองเจอกับความเสียหายหรือปญหาตาง ๆ ที่เกิดข้ึนกับรถยนต โดยเฉพาะเรื่องอุบัติเหตุที่เกิดข้ึนระหวางการใชรถยนตในการปฏิบัติงาน ไมวาจะมีบุคคลภายนอกเปนคูกรณีหรือไมก็ตาม เมื่อมีความเสียหายเกิดข้ึน หัวหนาหนวยงานของรัฐมีหนาที่สอบสวนเพื่อใหไดขอเท็จจริงในเบื้องตนวาความเสียหายเกิดจากสาเหตุใดโดยการแตงต้ังคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงเบื้องตนเพื่อทําการสอบสวนขอเท็จจริงในเบื้องตนแลวมีเหตุอันควรเช่ือวาความเสียหายเกิดจากการกระทําของเจาหนาที่ใหหัวหนาหนวยงานของรัฐ ดังกลาวแตงต้ังคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดตามที่กําหนดในขอ 8 วรรคหน่ึง ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539

3. “หลักเกณฑกระทรวงการคลัง วาดวยวิธีการเบิกจายเงินสวัสดิการเก่ียวกับการรักษาพยาบาล”. / โดย รชตะ อุนสุข. ว.กรมบัญชีกลาง. ปที่ 51 ฉบับที่ 4 (กรกฎาคม-สิงหาคม 2553) : 20-25. กลาวถึงแนวปฏิบัติที่กําหนดข้ึนใหมในหลักเกณฑกระทรวงการคลังวาดวยวิธีการเบิกจายเงิน

สวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลตลอดจนแนวปฏิบัติที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เชน การใชสิทธิเบิกเงินคารักษาพยาบาลกรณีผูมีสิทธิไดรับเงินคารักษาพยาบาลจากหนวยงานอื่น และการใชสิทธิเบิกเงินค ารักษาพยาบาลสําหรับบุคคลในครอบครัวกรณีผูมีสิทธิมีหลายราย เปนตน

Page 6: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 2

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

การเงินธนาคาร

1. “มรดกเศรษฐกิจโลก 2011”. ว.การเงินธนาคาร. ฉบับที่ 344 (ธันวาคม 2553) : 97-98. นําเสนอการคาดการณเศรษฐกิจโลกในป 2011 โดยกลาวถึงผลพวงจากเศรษฐกิจในป 2010

ของกลุมยูโร จีน และสหรัฐอเมริกา ทั้งน้ี เศรษฐกิจของกลุมยูโรทียั่งมผีลพวงจากภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจในป 2010 ที่ทําใหวิกฤติการเงินในยุโรปยังคงมีปญหาตอเน่ืองในป 2011 สําหรับจีนซึ่งประสบความสําเร็จแทบทุกดาน ทําใหเศรษฐกิจจีนใหญเปนอับดับที่ 2 ของโลก แตยังมีปญหาเกี่ยวกับอัตราเงินเฟอทีอ่าจสูงกวาเปาหมายที่กําหนดไว โดยมีสาเหตุมาจากการเกิดอุทกภัยในจีนหลายแหง ทําใหราคาสินคาตาง ๆ มีราคาสูงอยางรวดเร็ว สําหรับสหรัฐอเมริกายังคงมีปญหาเกี่ยวกับอัตราการวางงานสูง ทําใหเศรษฐกิจดีข้ึนคอนขางชา ซึ่งเปนผลใหธนาคารกลางสหรัฐฯ ไดพยายามหามาตรการตาง ๆ เพื่อเพิ่มปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ และเพื่อชวยกระตุนใหเกิดการกูยืม การบริโภค และการลงทุน

2. “มหาอํานาจมือสอง”. ว.การเงินธนาคาร. ฉบับที่ 344 (ธันวาคม 2553) : 34-38. บทความเรื่องน้ีวิเคราะหสถานการณเศรษฐกิจของอินเดีย ภายหลังจากการเปนเจาภาพกีฬา

เครือจักรภพ 72 ชาติ ปรากฏถึงความไมพรอมในหลายดาน จนไดรับเสียงวิพากษวิจารณตอเน่ืองถึงการเขากลุมประเทศมหาอํานาจเศรษฐกิจเกิดใหม อินเดียคงไมสามารถกาวตามประเทศอื่น ๆ คือ บราซิล รัสเซีย และจีนได ขณะเดียวกันยังมีมุมมองอีกดานวาอินเดียยังมีปจจัยสําคัญที่อยูเบื้องหลังความสําเร็จ คือ จํานวนประชากรในวัยทํางานที่มีความพรอมจํานวนมาก มีภาคธุรกิจที่เขมแข็งโดยเฉพาะธุรกิจขามชาติและมีตลาดบริโภคขนาดใหญ สําหรับปจจัยดานลบที่เปนปญหาและอุปสรรคตอการเปนมหาอํานาจของอินเดีย คือ ความไมพรอมของระบบสาธารณูปโภค การขาดแคลนแรงงานฝมือ การคอรรัปช่ันและความไมสงบทางการเมือง

3. “ศักยภาพซอนเรนผูประกอบการไทยจุดแข็งท่ีรัฐบาลตองมอง”. / โดย สุวิทย เมษินทรีย. ว.การเงินธนาคาร. ฉบับที่ 344 (ธันวาคม 2553) : 54-62.

กลาวถึงจุดเดนของผูประกอบการไทย จากการที่สามารถผานบทเรียนวิกฤตเศรษฐกิจในป 2540 เปนขอพิสูจนวาเอกชนมีการบริหารความเสี่ยงและสามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบธุรกิจไดดี แมวาจะไมไดรับการสนับสนุนจากรัฐบาล และจากการที่ประเทศไทยตองพบกับวิกฤติการณทั้งภายในและภายนอกบอยครั้ง ทําใหมีประสบการณในการยืนหยัดตอสู และรูจักหาวิธีการตาง ๆ เพื่อใหฟนตัวใหเร็วที่สุด จนนักลงทุนตางชาติมักจะเรียกประเทศไทยวา “Resilient Country หรือ ประเทศที่ฟนไขเร็ว” และสิ่งที่ทําใหเกิดสถานการณดังกลาว คือ ศักยภาพซอนเรนของผูประกอบการไทย โดยดูไดจากประเทศไทยมีรัฐบาลไมมีเสถียรภาพแตเอกชนกลับยังคงเติบโตไดดี หากรัฐบาลมีเสถียรภาพและทําหนาที่สนับสนุนไดดีกวาน้ี จะทําใหผูประกอบการเอกชนดึงเอาพลังซอนเรนมาใชไดทันที ดังน้ันกลุมผูประกอบการเอกชนจําเปนตองขับเคลื่อนเพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดวยตัวเอง คือ 1) การแบงบทบาทที่ชัดเจนโดยใหเอกชนนําและรัฐบาลหนุน 2) การเห็นพอง ตองกันเกี่ยวกับความยุติธรรม 3) การใชชุมชนทองถ่ินมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศ และ 4) ภาครัฐตองเปนผูเบิกทางใหภาคเอกชนออกไปขยายธุรกิจในตางประเทศ

Page 7: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 3

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

จุฬาลงกรณ์ รีวิว

4. “5C : ขอคิดสําหรับธุรกิจครอบครัวไทย”. / โดย กิติพงษ อุรพีพัฒนพงษ. ว.การเงินธนาคาร. ฉบับที่ 344 (ธันวาคม 2553) : 234-237.

บทความเรื่องน้ีกลาวถึงขอคิดสําหรับการประกอบธุรกิจครอบครัว ซึ่งมักจะอยูไดไมเกิน 3 ช่ัวคน และสิ่งที่ทําใหธุรกิจครอบครัวตองลมสลายหรือไมสามารถเติบโตจากรุนสูรุนไดน้ันสามารถสรุปเปนหลัก 5C ดังน้ี 1) Corporate Structure หมายถึง การจัดโครงสรางของบริษัทธุรกิจครอบครัว 2) Compensation หรือ ผลประโยชนคาตอบแทนของสมาชิกในครอบครัวน้ัน 3) Communication คือ การสื่อสารประสานงานกันของสมาชิกในครอบครัว 4) Conflict Resolution หมายถึง กระบวนการการระงับขอพิพาทหรือขอขัดแยงระหวางสมาชิกในครอบครัว และ 5) Care and Compassion หมายถึง ความเอื้ออาทรและความกรุณา ความเห็นใจระหวางทายาทในครอบครัวกันเองและรวมถึงผูเกี่ยวของ 5. “500 เศรษฐีหุนไทย 2010”. ว.การเงินธนาคาร. ฉบับที่ 344 (ธันวาคม 2553) : 174-180.

นําเสนอการจัดอันดับเศรษฐีหุนไทยในป 2553 โดยการเงินธนาคารรวมกับคณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี ซึ่งโดยภาพรวมเปนการวัดผูถือหุนรายใหญประเภทบุคคลธรรมดาในประเทศที่ถือหุนสัดสวน 0.5 เปอรเซ็นตข้ึนไป ตามการปดสมุดทะเบียนผูถือหุนลาสุดกอนวันที่ 30 กันยายน 2553 จํานวน 5,495 ราย มีมูลคาหุนที่ถือครองรวมทั้งสิ้น 690,231 ลานบาท สําหรับเศรษฐีหุน อันดับท่ี 1 ไดแก นายทองมา วิจิตรพงศพันธ ประธานกรรมการบริหารและกรรมการผูจัดการ บมจ. พฤกษา เรียลเอสเตท อันดับท่ี 2 นายคีรี กาญจนพาสน ประธานกรรมการ บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลด้ิงส และอันดับท่ี 3 นายอนันต อัศวโภคิน ประธานกรรมการและกรรมการผูจัดการ บมจ. แลนด แอนด เฮาส

1. “กฎหลักสําคัญท่ีแผงอยูในความแตกตางทางดานความสามารถทางไวยากรณของผูเรียนภาษาอังกฤษ”. / โดย วไลพรรณ บึงพิพัฒนตระกูล. ว.จุฬาลงกรณ รีวิว. ปที่ 22 ฉบับที่ 88 (กรกฎาคม-กันยายน 2553) : 62-72. งานวิจัยจํานวนมากมุงประเด็นการศึกษาความสัมพันธในทางตรงระหวางคุณลักษณะของผูเรียน

ภาษาที่ดี เชน บุคลิกลักษณะและรูปแบบการเรียน กับการเรียนภาษาของผูเรียนที่ประสบผลสําเร็จและสงผลตอผลสัมฤทธ์ิทางภาษา อยางไรกต็าม ในทางปฏิบัติ คุณลักษณะของผูเรียนภาษาที่ดีน้ัน ไมไดยืนยันเสมอไปตามความสัมพันธทางตรงตามอุดมคติ บอยครั้งกลับเปนความสัมพันธเชิงผกผันระหวางคุณลักษณะของผูเรียนภาษาที่ดี และการเรียนภาษาที่สงผลตอความสามารถทางภาษาในภายหลัง ในทํานองเดียวกัน ความสามารถทางไวยากรณซึ่งยังไมเปนที่นาพอใจสําหรับคุณลักษณะของผูเรียนภาษาอังกฤษที่ดีน้ัน มีความสัมพันธกับการเรียนไวยากรณซึ่งสามารถอธิบายไดในเชิงลึกโดยผานทางทฤษฎีตนแบบตาง ๆ ทางไวยากรณ (Models of

Page 8: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 4

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

Grammar) และตนแบบทางการเฝาสังเกต (Monitor Model) บทความของผูเขียนมุงถายทอดและสรุปทฤษฎีทางไวยากรณที่เกี่ยวของตาง ๆ สําหรับผูสอนภาษาอังกฤษเปนภาษาตางประเทศ เพื่อเพิ่มความเขาใจ ในดานการเรียนการสอนไวยากรณภาษาอังกฤษของผูเรียนที่มีระดับความสามารถทางไวยากรณที่ตางกัน และ เพื่อชวยพัฒนาความสามารถทางไวยากรณและทักษะการเขียนภาษาอังกฤษของผูเรียนในที่สุด

2. “การศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมและความพึงพอใจ การเลือกใชสื่อออนไลนระหวาง Hi5 และ Facebook”. / โดย ศิริพงศ พฤทธิพันธุ และคณะ. ว.จุฬาลงกรณรีวิว. ปที่ 22 ฉบับที่ 88 (กรกฎาคม-กันยายน 2553) : 5-30. ปจจุบันเทคโนโลยีเครือขายสังคมออนไลน ไดเขามามีบทบาทสําคัญตอชีวิตอยางกวางขวาง Hi5

และ Facebook ถือเปนสื่อออนไลนเครือขายสังคมที่ทั่วโลกรูจักกันอยางแพรหลาย ดังน้ัน การวิเคราะหหาปจจัยที่มีผลตอการเลือกใช ตลอดจนความพึงพอใจตอสื่อออนไลนดังกลาว จึงเปนเรื่องสําคัญ เพื่อสามารถนําผลวิจัยมาพัฒนาสื่อออนไลนที่มีอยูในปจจุบัน และที่จะเกิดข้ึนในอนาคต บทความของผูเขียนและคณะ เปนงานวิจัยที่ศึกษาพฤติกรรมและความพึงพอใจของการเลือกใชสื่อออนไลนระหวาง Hi5 และ Facebook โดยสุมตัวอยางของผูใชสื่อออนไลน Hi5 และ Facebook อยางละ 200 คน ผลของการศึกษา พบวา ความพึงพอใจของผูใชแตกตางกันในปจจัยดานอายุและระดับของรายได การบริการของเว็บไซตในเรื่องความสะดวกรวดเร็วและการแจงขอความสามารถจําแนกพฤติกรรมชวงวันที่ผูใชบริการเปนประจํามากที่สุด สวนความพึงพอใจของผูบริการ ข้ึนอยูกับการบริการที่สะดวกรวดเร็วและปลอดภัยของเว็บไซต เปนตน

3. “แนวคิดใหมในเชิงการบริหาร : กรณีศึกษาสภาสถิติแหงชาติ”. / โดย ธีระพร วีระถาวร. ว.จุฬาลงกรณรีวิว. ปที่ 22 ฉบับที่ 88 (กรกฎาคม-กันยายน 2553) : 52-60. ในบทความน้ีกลาวถึงแผนแมบทระบบสถิติของประเทศไทย “ระบบสถิติของประเทศ หมายถึง

องคกร หนวยงาน เครื่องมือ อุปกรณตาง ๆ ที่ปฏิบัติงานรวมกันภายใตกระบวนการที่ถูกกําหนดอยางแนนอนและชัดเจน เพื่อใหเกิดการดําเนินงานในดานตาง ๆ อันเกี่ยวกับสถิติที่จําเปนสําหรับประเทศ” สวน “แผนแมบทระบบสถิติของประเทศ หมายถึง ขอกําหนดเกี่ยวกับทิศทางวัตถุประสงค เปาหมายหลัก องคประกอบ และกรอบแนวทางสําหรับการดําเนินงานของระบบสถิติของประเทศในระยะปานกลางและยาว” ซึ่ง “แผนแมบทฯ มีวัตถุประสงคเพื่อใหเปนองคความรูหรือขอมูลหลักสําหรับการตัดสินใจจัดสรรทรัพยากรและกํากับการดําเนินงานขององคการใหประสบความสําเร็จไดตามความตองการที่ต้ังใจ” องคกรทางสถิติควรมีบทบาทในการผลิตขอมูลใหสอดคลองกับความตองการของผูใชขอมูล ซึ่งการที่บรรลุวัตถุประสงคน้ีควรมีการจัดต้ังสภาสถิติแหงชาติ โดยที่สภาสถิติแหงชาติควรจะเปนคณะกรรมการหรือองคคณะที่ปรกึษาสําหรับสํานักงานสถิติแหงชาติ และองคคณะดังกลาวจะมีบทบาทในการรับประกันการตรวจสอบวาถูกตองแลวเชิงสถิติ (statistical visas) ซึ่งองคประกอบของสภาสถิติแหงชาติควรมีภาพของความสมดุลของทุกกลุมผูใชขอมูลสถิติ

Page 9: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 5

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

ดอกเบีย

4. “ปจจัยดานกลยุทธตอความสําเร็จในการประยุกตใช SAP : กรณีศึกษา การประปานครหลวง”.

/ โดย เขมวันต ปติวีรารัตน สินีรัชต พวังคะพันธุ และอรพรรณ คงมาลัย. ว.จุฬาลงกรณรีวิว. ปที่ 22 ฉบับที่ 88 (กรกฎาคม-กันยายน 2553) : 31-37. การศึกษาปจจัยสูความสําเร็จในการประยุกตใชโปรแกรมสําเร็จรูป System Application and

Products in Data Processing หรือ SAP ไดแพรหลายอยูในแวดวงนักวิจัยในชวงหลายปที่ผานมา อยางไรก็ตาม งานวิจัยโดยสวนใหญมุงเนนการศึกษาในภาคเอกชนมากกวาในภาคสวนของรัฐวิสาหกิจ งานวิจัยครั้งน้ี จึงไดทําการศึกษาวิจัยกรณีศึกษาของการประปานครหลวง (กปน.) ซึ่งเปนรัฐวิสาหกิจในภาคการผลิต โดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อศึกษาปจจัยดานกลยุทธที่สงผลตอความสําเร็จในการประยุกตใช SAP ทั้งน้ี ผลการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) บงช้ีวามี 4 ปจจัยที่มีอิทธิพลตอความสําเร็จในการประยุกตใช SAP ใน กปน. ไดแก การสนับสนุนจากผูบริหาร การรวบรวมปญหาและความตองการที่ถูกตอง การมีสวนรวมของผูใช และการทดสอบระบบ

5. “สมรรถนะหลัก (Core Competency) ความเปนไปในปจจุบันและกาวสําคัญสูอนาคต”. / โดย พยัต วุฒิรงค. ว.จุฬาลงกรณรีวิว. ปที่ 22 ฉบับที่ 88 (กรกฎาคม-กันยายน 2553) : 39-50. จากความลมเหลวของโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือความประพฤติสวนบุคคลของพนักงาน

นําไปสูการสรางสมรรถนะหลักของพนักงานขององคกรทั่วโลก เพื่อศึกษาลักษณะที่แบงพนักงานขององคกรทั่วโลก เพื่อศึกษาลักษณะที่แบงพนักงานที่มีผลงานสูงออกจากพนักงานที่มีผลงานปกติ แตเมือ่สภาพแวดลอมและโครงสรางธุรกิจเปลี่ยนแปลงไป สงผลตอความสําเร็จของการใชสมรรถนะในแบบเดิม คําถามสําคัญของผูบริหารดานทรัพยากรมนุษยในปจจุบัน คือ ทําอยางไรจึงจะใชสมรรถนะที่มอียูในปจจุบันเพิ่มผลการดําเนินงานขององคกร ผูเขียนไดระบุแนวโนม 5 ประการดานสมรรถนะ คือ ความตองการแนวคิดดานสมรรถนะที่เนนการมีสวนรวมมากข้ึน การปรับเปลี่ยนวงจรการสรางสมรรถนะใหสั้นลง การใหความสําคัญกับสมรรถนะที่ตองการในอนาคต การใหความสําคัญกับสมรรถนะของการทํางานเปนทีมและกระบวนการ และการเปลีย่นผานไปสูมุมมองการเรียนรูขององคกร ดังน้ัน หนวยงานดานทรัพยากรมนุษยจึงตองเปลี่ยนบทบาทเปนผูสรางระบบการเรียนรูสนับสนุนการปฏิบัติเชิงกลยุทธ อํานวยความสะดวกในกระบวนการเรียนรู เปนตน

1. “แงมกลยุทธป 2554 ตลาดหลักทรัพยฯ เสาหลักเศรษฐกิจไทย”. ว.ดอกเบี้ย. ปที่ 29 ฉบับที่ 353 (พฤศจิกายน 2553) : 78-83. ป 2554 ตลาดหลักทรัพยฯ ไดเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน เพื่อเตรียมการสําหรับการ

ปฏิรูปตลาดหลักทรัพยฯ ซึ่งขณะน้ีอยูในกระบวนการพิจารณาแกไขพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย โดยการวางกลยุทธทั้ง 4 ดาน ประกอบดวย 1) การขยายขอบเขตธุรกิจของตลาดหลักทรัพย หรือ Expand Coverage 2) การเพิ่มคุณคาและคุณภาพบริการ หรือ Enhance Value 3) การเพิ่มประสิทธิภาพ การดําเนินการ หรือ Increase Efficiency และ 4) การเพื่มขีดความสามารถของตลาดหลักทรัพยฯ หรือ Improve Capability

Page 10: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 6

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

2. “น้ําทวมใครวาดีกวาฝนแลง?”. ว.ดอกเบี้ย. ปที่ 29 ฉบับที่ 353 (พฤศจิกายน 2553) : 60-66.

นําเสนอขอมูลเกี่ยวกับผลกระทบจากปญหานํ้าทวมป 2553 พบวาสถานการณนํ้าทวมทั้งภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคกลาง และภาคใต มีจังหวัดที่ประสบภัยมากกวา 40 จังหวัด ในสวนพื้นที่การเกษตรไดรับความเสียหายทั้งสิ้น 6,316,156 ไร ศูนยวิจัยกสิกรไทยไดประเมินผลกระทบจากเหตุการณนํ้าทวมวาอาจสรางความเสียหายทางเศรษฐกิจเปนมูลคาสูงถึง 32,400 – 54,200 ลานบาท และคาดวาจะสงผลใหจีดีพีในป 2553 ลดลงรอยละ 0.15 – 0.31 ลงมาอยูที่รอยละ 6.8 – 6.9 จากที่คาดการณไวที่รอยละ 7.1 พรอมกันน้ีไดกลาวถึงผลกระทบตอธุรกิจทองเที่ยว และพื้นที่ทางการเกษตรกวา 6.9 ลานไร

3. “สหรัฐปลอย QE2 ปวนโลก? ถึงเวลาไทยปรับโครงสรางเศรษฐกิจ”. ว.ดอกเบี้ย. ปที่ 29 ฉบับที่ 353

(พฤศจิกายน 2553) : 68-77. เมื่อวันที ่3 พฤศจิกายน 2553 คณะกรรมการนโยบายการเงินของธนาคารกลางสหรัฐ หรือ เฟด

ไดประกาศใชมาตรการผอนคลายเชิงปริมาณ (Quantitative Easing : QE) รอบที่ 2 หรือ QE2 ดวยการคงอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นในระดับตํ่าที่ 0.0 – 0.25% และเตรียมอัดฉีดเม็ดเงินอีก 6 แสนลานดอลลารเพื่อซื้อพันธบัตรรัฐบาลระยะยาว หุนกูภาคเอกชน และตราสารที่คํ้าประกันดวยหลักทรัพยอื่น ซึ่งตราสารที่เขาไปซื้อน้ีมีตราสารที่มีความเสี่ยงสูงอยาง MBS (Mortgage Backed Securities) รวมอยูดวย ผลจากการออกมาตรการทําใหตลาดอัตราแลกเปลี่ยนขานรับดวยการออนตัวลงของเงินดอลลาร เน่ืองจากสหรัฐกําลังพิมพธนบัตรออกสูตลาด ซึ่งจะทําใหสหรัฐไดเปรียบดานราคาสินคาสงออก สวนจะกอผลกระทบตอคาเงินและเศรษฐกิจของประเทศใดในโลกบาง เปนหนาที่ของแตละประเทศไปแกไขปญหากันเอง เฟดมีหนาที่เพียงเพิ่มการจางงาน เพิ่มคาจางแรงงานและเพิ่มการเติบโตของเศรษฐกิจสหรัฐเทาน้ัน สําหรับประเทศไทย ศูนยวิจัยกสิกรไทยไดช้ีใหเห็นผลกระทบที่เห็นไดชัดเจน คือ การปรับตัวแข็งคาของเงินบาทในชวงหลายเดือนที่ผานมา ผลกระทบทางออมที่ตองเฝาระวัง คือ การกอตัวข้ึนของภาวะฟองสบูในสินทรัพยหลายประเภทของไทย ทั้งตลาดหุน ตลาดพันธบัตร และตลาดอสังหาริมทรัพย รวมไปถึงภาวะเงินเฟอ ที่อาจสรางแรงกดดันตอจุดยืนเชิงนโยบายของธนาคารแหงประเทศไทยเพิ่มมากข้ึนในชวงปหนา

Page 11: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 7

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม่

1. “การเลี้ยงปลาสวาย”. / โดย วิชาญ อาทากูล. ว.เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม. ปที่ 11 ฉบับที่ 123 (พฤศจิกายน 2553) : 32-34. ปลาสวายเปนปลานํ้าจืดประเภทไมมีเกล็ด มีแหลงกําเนิดในประเทศอินเดียและพมา ตอมาได

แพรเขามาในประเทศอินโดนีเซียและไทย โดยมีแหลงอาศัยอยูในแมนํ้าเจาพระยา ทาจีน ปาสัก และแมนํ้าโขง รวมทั้งคลอง บึง ตาง ๆ สําหรับการเลี้ยงปลาสวายในบอและในกระชังพบมากในจังหวัดอุทัยธานี และนครสวรรค ปลาสวายนับเปนปลาที่มีคุณคาทางเศรษฐกิจที่สําคัญชนิดหน่ึงจึงมีผูนิยมเลี้ยงอยางกวางขวาง ซึ่งผูเขียนไดนําเสนอวิธีการเลี้ยงไวครอบคลุมทุกดาน ไดแก วิธีการเลี้ยงปลาในบอดิน ขนาดของบอและที่ต้ัง การเตรียมบอ นํ้าที่เหมาะสําหรับการเลี้ยงปลา การคัดเลือกพันธุปลา จํานวนอัตราการปลอยในบอดิน อาหาร วิธีการจับปลา และการแกปญหากลิ่นสาบโคลนของปลา

2. “แกปญหาแมลงด้ือยาดวยจุลินทรียปองกันกําจัดแมลง”. / โดย เกษม สรอยทอง. ว.เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม. ปที่ 11 ฉบับที่ 123 (พฤศจิกายน 2553) : 92-93. กลาวถึงผลกระทบจากการใชสารเคมีกําจัดแมลงอยางตอเน่ืองทําใหแมลงด้ือยา จนไมสามารถใช

สารเคมีปองกันกําจัดแมลงไดอีก ทําใหหนวยงานที่เกี่ยวของสงเสริมการใชเช้ือราปองกันกําจดัแมลงแทนการใชสารเคมี ไดแก เช้ือรานิววีเรียซึ่งมีความสามารถเขาไปทําลายแมลงไดหลายชนิด นอกจากน้ียังสามารถนําไปใชเพื่อกําจัดเพลี้ยกระโดดสีนํ้าตาล เพลี้ยไฟและแมลงบั่ว ในภาวะที่มีการระบาดอยางตอเน่ืองไดดี ทําใหลดปญหาแมลงด้ือยาจากการใชสารเคมีไดอยางมีประสทิธิภาพ

3. “โครงการสหกรณเครือขายโคเนื้อ จํากัด”. / โดย สิทธิพร บุรณนัฏ. ว.เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม. ปที่ 11 ฉบับที่ 124 (ธันวาคม 2553) : 55-57. นําเสนอรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการสหกรณเครือขายโคเน้ือ จํากัด ซึ่งเกิดข้ึนเน่ืองจากการเปด

การคาเสรีกับประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด สงผลกระทบตออาชีพการเลี้ยงโคเน้ือของเกษตรกรไทย โดยเฉพาะเกษตรกรผูเลี้ยงโคเน้ือขุนคุณภาพ แมวาประเทศไทยจะมีศักยภาพทางความรูและความสามารถสูงเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศตาง ๆ ในเขตเอเซียตะวันออกเฉียงใต แตการสงเสริมและพัฒนาการเลี้ยงโคเน้ือที่ผานมายังประสบกับปญหาจากนโยบายภาครัฐที่ขาดความตอเน่ือง การดําเนินการในรูปแบบสหกรณจะทําใหสมาชิกผูเลี้ยงโคเน้ือรวมกลุมกันบริหารจัดการดานตาง ๆ ไดเขมแข็งย่ิงข้ึน รวมถึงการสรางความมั่นใจในเรื่องตลาดและการสงออกในเขตการคาเสรี AFTA

Page 12: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 8

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

4. “เติมเต็มครบวงจรสูพลังงานทดแทนจากโครงการปลูกปาลมน้ํามันลานนา”. / โดย พรชัย เหลืองอาภาพงศ. ว.เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม. ปที่ 11 ฉบับที่ 123 (พฤศจิกายน 2553) : 89-91. นําเสนอสาระสําคัญจากโครงการวิจัยความเปนไปไดของการปลูกพืชนํ้ามันและการพัฒนารูปแบบ

การผลิตพลังงานจากพืชแบบครบวงจรในพื้นที่ตัวอยางเขตภาคเหนือ โดยไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ทั้งน้ีการทดสอบวิจัยการปลูกปาลมนํ้ามันตามโครงการดังกลาวไดปลูกในพื้นที่จังหวัดลําพูน และเชียงใหม โดยมีการทดสอบในเรื่องของการเปรียบเทียบสายพันธุ การใหนํ้า การจัดการปุย และการจัดการตาง ๆ ในสวนปาลมนํ้ามันทั้งในที่สูงและที่ลุม

5. “ปลูกวันแม เก่ียววันพอ ภูมิปญญาชาวนาไทย วัฒนธรรมชีวิตท่ีสัมพันธกับธรรมชาติ”. ว.เทคโนโลยี เกษตรแนวใหม. ปที่ 11 ฉบับที่ 123 (พฤศจิกายน 2553) : 96-98.

กลาวถึงระยะเวลาที่เหมาะสมสําหรับการปลูกขาว อันเปนภูมิปญญาของบรรพบุรุษและไดถายทอดสูคนรุนตอมา โดยเฉพาะความรูเกี่ยวกับการปลูกขาวในเดือนกรกฎาคมถึงเดือนตุลาคม เพื่อใหไดผลผลิตดีเน่ืองจากเปนชวงที่ฝนตกชุก แตการปลกูขาวในปจจุบันเปลี่ยนแปลงไป เปนการปลูกเพื่อธุรกิจทําใหชาวนาอาจตองซื้อขาวตามหางสรรพสินคาบริโภค การกลับมาใชองคความรูทางวิชาการและเทคโนโลยีที่เหมาะสมบวกกับภูมิปญญาทองถ่ินในการผลิตขาวอยางถูกตองและเหมาะสมจะทําใหเกษตรกรไทยสรางชุมชนพึ่งพาตนเองไดอยางย่ังยืน

6. “ผลสําเร็จตามแนวพระราชดําริ 19 ผลสําเร็จจากภูพาน”. ว.เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม. ปที่ 11 ฉบับที่ 124 (ธันวาคม 2553) : 25-29.

นําเสนอผลสําเร็จจากการศึกษาทดลอง และวิจัยของศูนยการพัฒนาภูพานอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ ซึ่งไดดําเนินการศึกษามาอยางตอเน่ืองจนถึงปจจุบันกวา 200 เรื่อง และสามารถนําไปขยายผลเปนแนวทางในการดําเนินชีวิตและการประกอบอาชีพของเกษตรกรไดเปนอยางดี บทความน้ีไดรวบรวมงานวิจัยที่โดดเดน 19 เรื่อง ซึ่งเปนการสะทอนใหเห็นถึงความสําเร็จของโครงการตามแนวพระราชดํารขิองพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวในลักษณะสรางนํ้า เพิ่มปา พัฒนาชีวิตที่พอเพียง โดยมีงานวิจัยที่นาสนใจ เชน สายธารแหงชีวิต เปนการปลูกปาโดยไมตองปลูก การเลี้ยงโคเน้ือทาจิมะภูพาน การเลี้ยงไกดําภูพาน การเลี้ยงสกุรภูพาน การปลูกขาวพันธุสกลนคร การปลูกขาวพันธุดอกมะลิ 105 การเลี้ยงสัตวปกเพื่อควบคุมศัตรูพืชสวนผลไม การผลิตวุนเสนจากถ่ัวเหลือง เปนตน

7. “สบูดํา ทําของใช ไรของเสีย”. / โดย พรชัย เหลืองอาภาพงศ. ว.เทคโนโลยีเกษตรแนวใหม. ปที่ 11 ฉบับที่ 124 (ธันวาคม 2553) : 66-68.

บทความเรื่องน้ีอธิบายถึงประโยชนของสบูดํา สิ่งแรกที่เปนหัวใจสําคัญของสบูดํา คือ นํ้ามันที่อยูในเมล็ดจัดเปนนํ้ามันเกรดเอ สามารถนํามาผสมเปน B100 ใชในรถยนต รถแทรกเตอรและรถไถนา สําหรับเปลือกสบูดําสามารถนํากากของเมล็ดมาทําเปนปุย และเปลือกของลําตนทําเปนกระดาษสา ดังน้ันหากพิจารณาโดยละเอียดจะเห็นถึงประโยชนของสบูดําที่ไมใชเพียงสกัดเปนนํ้ามันเทาน้ัน

Page 13: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 9

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

ธรรมนิติ ฉบ ับกฎหมายธุรกิจ

8. “หมูบานเกษตรกรรมสรางงานสรางอาชีพท่ียั่งยืนแบบฉบับธนินท เจียรวนนท. ว.เทคโนโลยีเกษตร แนวใหม. ปที่ 11 ฉบับที่ 123 (พฤศจิกายน 2553) : 42-43.

นําเสนอหมูบานเกษตรกรรมตัวอยางในการสรางงานสรางอาชีพที่ย่ังยืน 2 หมูบาน คือ หมูบานเกษตรกรรมหนองหวา ตําบลบานซอง อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา และหมูบานเกษตรกรรมกําแพงเพชร ตําบลเทพนคร และตําบลคณฑี อําเภอเมือง จังหวัดกําแพงเพชร หมูบานดังกลาวต้ังมากวา 30 ป ตามแนวคิดของธนินท เจียรวนนท ประธานกรรมการและประธานคณะผูบริหารฯ เครือเจริญโภคภัณฑ (ซีพี) เพื่อสรางชุมชนเกษตรกรที่เขมแข็งสามารถพึ่งพาตนเองได ปจจุบันทั้งสองหมูบานกลายเปนแหลงศึกษาดูงาน แหลงเรียนรู และถายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงสุกรที่ทันสมัยและเปนมิตรตอสิง่แวดลอมใหกับประชาชนและหนวยงานที่สนใจไดเรียนรู

1. “การจัดสรรท่ีดินในเขตพ้ืนท่ีท่ีประกาศเปนนิคมอุตสาหกรรม (ตอนจบ)”. / โดย กองบรรณาธิการ. ว.ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ. ปที่ 8 ฉบับที่ 95 (พฤศจิกายน 2553) : 101-103.

บทความเรื่องน้ีกลาวถึง การจัดสรรที่ดินในเขตพื้นที่ที่ประกาศเปนนิคมอุตสาหกรรม โดยในการจัดสรรที่ดินเปนนิคมอุตสาหกรรม ผูจัดสรรที่ดินตองจัดสรางระบบสาธารณูปโภคข้ึนมาและทําหนาที่ดูแล บํารุงรักษาระบบสาธารณูปโภค รวมทั้งสิ่งอํานวยความสะดวกใหอยูในสภาพที่พรอมที่จะใชงานไดตามปกติแกผูประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรมรวมถึงการจดทะเบียนภาระจํายอมตามรายละเอียดดังน้ี 1) การดําเนินการใหบริการสิ่งอํานวยความสะดวกและบริการอื่นแกผูประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม 2) การจัดการดูแล บํารุงรักษาระบบสาธารณูปโภคและสิ่งอํานวยความสะดวก 3) การจัดเก็บคาใชจายในการบํารุงรักษาระบบสาธารณูปโภคและสิ่งอํานวยความสะดวก และ 4) การยกเลิกการจัดสรรที่ดิน 2. “เงินไดอะไรบางท่ีพนักงานหรือลูกจางไดรับยกเวนภาษ”ี. / โดย นิวัฒน อริยะ. ว.ธรรมนิติ

ฉบับกฎหมายธุรกิจ. ปที่ 8 ฉบับที่ 95 (พฤศจิกายน 2553) : 8-25. บทความเรื่องน้ี กลาวถึงกรณีเงินไดของพนักงานหรือลูกจางทีไ่ดรับการยกเวนภาษี ซึ่งโดยทั่วไป

แลวเมื่อพนักงานหรือลูกจางมีรายไดเกิดข้ึน จะตองนําไปหักคาใชจายและคาลดหยอน คงเหลือเทาใดจึงจะนํามาคํานวณอัตราภาษีที่ตองเสีย ตามมาตรา 39 แหงประมวลรัษฎากร แตยังมีเงินไดบางประเภทที่ประมวลรัษฎากรยกเวนไมตองนํามาคํานวณภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา จํานวน 22 ประเภทตามที่บัญญัติไวตามมาตรา 42 แหงประมวลรัษฎากร อาทิเชน 1) บํานาญพิเศษ บําเหน็จพิเศษ บํานาญตกทอดหรือบําเหน็จตกทอด 2) คาสินไหมทดแทนเพื่อละเมิด เงินที่ไดจากการประกันภัยหรือการฌาปนกิจสงเคราะห 3) เงินไดจากการขายหนวยลงทุนในกองทุนรวม เปนตน นอกจากน้ียังมีกฎกระทรวง ฉบับที่ 26 ไดกําหนดเงินไดที่ไดรับยกเวนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา จํานวน 70 ประเภทดวย

Page 14: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 10

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

3. “ปญหาใกลตัว ... ผูประกันตน คุณ! ... ขอมา”. / โดย ปรานี สุขศร.ี ว.ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ. ปที่ 8 ฉบับที่ 95 (พฤศจกิายน 2553) : 39-50.

บทความเรื่องน้ี อธิบายถึงสิทธิการคุมครองผูประกันตนในระบบประกันสังคม โดยอธิบายในรูปแบบการยกตัวอยางคําถามพื้นฐานที่มีแนวโนมจะเกิดข้ึนกับผูประกันตน จํานวน 15 คําถาม อาทิเชน 1) ไมไดใชประกันสังคมเลยปตอไปจะจายเบี้ยประกัน (เงินสมบท) ลดนอยลงไดหรือไม 2) กรณีผูประกันตนติดไวรัสตับอักเสบบี ประกันสังคมคุมครองอยางไร 3) การผาฟนคุดจะเบิกประกันสังคมไดหรือไม 4) การเบิกเงินคารักษาพยาบาล ผูประกันตนสามารถเบิกที่ใดไดบาง 5) การคุมครองผูประกันตนในกรณีชราภาพผูประกันตนสามารถเลือกรับประโยชนทดแทนไดหรือไม 6) สงเงินเขากองทุน 2 ป ตอมารับราชการ จะไดรับคืนเงินชราภาพหรือไม และหากตอมาคลอดบุตรจะสามารถเบิกไดหรือไม และ 7) ผูประกันตนสามารถเปลี่ยนโรงพยาบาลไดทันทีหรือไม เปนตน 4. “ปญหาคดีแรงงาน : กรณี “ลักษณะงาน 3 ประเภท” ไมตองจายคาชดเชย”. / โดย เพิ่มบุญ

เขียวแกว. ว.ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ. ปที่ 8 ฉบับที่ 95 (พฤศจิกายน 2553) : 35-38. บทความเรื่องน้ี กลาวถึงประเด็นปญหาคดีแรงงาน กรณีลักษณะงานที่ไมตองจายคาชดเชย

โดยทั่วไปแลวกฎหมายคุมครองแรงงานจะกําหนดใหนายจางจายเงินชดเชยใหแกลูกจางในกรณีเลิกจาง แตก็มีขอยกเวนที่ไมตองจายเงินคาชดเชย 3 ประเภท ดังน้ี ประเภทที่ 1 การจางงานโครงการเฉพาะที่มิใชงานปกติของธุรกิจหรือการคาของนายจาง (งานตามวัตถุประสงคที่จดทะเบียนไว) ซึ่งตองมีระยะเวลาเริ่มตนและสิ้นสุดของงานที่แนนอน ประเภทที่ 2 การจางงานอันมีลักษณะเปนครั้งคราวที่มีกําหนดการสิ้นสุดหรือความสําเร็จของงาน และประเภทที่ 3 การจางงานที่เปนไปตามฤดูกาล และไดจางในชวงเวลาของฤดูกาลน้ัน ๆ ทั้งน้ี ประเภทของงานตามที่กลาวมาทั้งหมด จะตองแลวเสร็จภายในเวลาไมเกิน 2 ป โดยนายจางและลูกจางไดทําสัญญาเปนหนังสือไวต้ังแตเมื่อเริ่มจาง (ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 118 วรรคสามและวรรคสุดทาย) 5. “เมรุเจาปญหา”. / โดย นองแบม. ว.ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ. ปที่ 8 ฉบับที่ 95 (พฤศจิกายน 2553) : 104-108.

บทความเรื่องน้ี กลาวถึงปญหาเกี่ยวกับกฎหมายปกครองในประเด็นที่เทศบาลตําบลไดกอสรางเมรุเผาศพแตมีชาวบานจํานวนหน่ึงคัดคาน เทศบาลตําบลจะสามารถดําเนินการไดหรือไม อยางไร โดยศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยแลวพบวา การที่เทศบาลตําบลเขาดําเนินการกอสรางเมรุเผาศพพิพาทในทีส่าธารณประโยชนจนแลวเสร็จ โดยที่ยังมิไดรับอนุมัติจากกระทรวงมหาดไทยใหมีการเปลี่ยนสภาพที่ดินบริเวณพิพาทตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการเปลี่ยนสภาพที่ดินอันเปนสาธารณสมบัติของแผนดินสําหรับพลเมืองใชรวมกันจากการใชเพื่อสาธารณประโยชนอยางหน่ึง เปนอีกอยางหน่ึง พ.ศ. 2543 จึงเปนการกระทําที่ไมชอบดวยกฎหมายตามมาตรา 9 วรรคหน่ึง (1) แหงพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 ดังน้ันหนวยงานใดจะทําการกอสรางเมรุเผาศพจึงตองปฏิบัติตามระเบียบของกระทรวงมหาดไทยใหถูกตองตามหลักกฎหมายและสรางไดอยางเรียบรอย

Page 15: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 11

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

ธรรมนิติ ฉบ ับเอกสารภาษีอากร 1. “กลยุทธการวางแผนภาษีเก่ียวกับสวัสดิการและสิทธิประโยชนของผูบริหารและพนักงาน

(ตอนท่ี 12)” / โดย ดุลยลักษณ ตราชูธรรม. ว.ธรรมนิติ ฉบับเอกสารภาษีอากร. ปที่ 30 ฉบับที่ 351 (ธันวาคม 2553) : 94-98. บทความตอนน้ี นําเสนอกลยุทธการวางแผนภาษีเกี่ยวกับการสมัครสมาชิกสนามกอลฟสโมสร

กีฬา ซึ่งมักจะมีคําถามขอหน่ึงที่นาสนใจ คือ บริษัทจายคาสมาชิกสนามกอลฟ สโมสรกีฬาใหกับกรรมการบริษัทไดหรือไม และจะมีผลทางภาษีอากรอยางไร ซึ่งสามารถหาคําตอบไดจากหนังสือตอบขอหารือของกรมสรรพากรที่ กค 0802/26920 ลงวันที่ 18 ธันวาคม 2538 วินิจฉัยไววาการที่บริษัทจายเงินคาสมาชิกใหกรรมการผูบริหารมีสิทธิในการเปนสมาชิกสโมสรกีฬา ถือเปนรายจายที่มีลักษณะเปนการสวนตัว และถือเปนเงินไดพึงประเมินของกรรมการผูบริหารรายดังกลาว อยางไรก็ตาม ถาบริษัทตองการใหกรรมการ ผูบริหาร หรือพนักงานของบริษัทเขาใชบริการสนามกอลฟ สโมสรกีฬาตาง ๆ เพื่อประโยชนของบริษัทน้ัน บริษัทตองปฏิบัติตามคําสั่งกรมสรรพากรที่ ป.56/2538 โดยจะตองเปนไปเพื่อใหการรับรองลูกคาหรือบุคคลตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ฉบับที่ 143 (พ.ศ. 2522) และในการรับรองดังกลาวเปดโอกาสใหกรรมการ พนักงาน ลูกจาง ที่ปรึกษา หรือบุคคลอื่นในตําแหนงในลักษณะทํานองเดียวกันของบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลเขาใชบริการไดเปนการทั่วไป จึงจะถือวารายจายดังกลาวเขาลักษณะเปนคารับรองที่ถือเปนรายจายในการคํานวณกําไรสุทธิได 2. “การบัญชีเพ่ือการบริหารคืออะไร”. / โดย เบญจมาศ อภิสิทธ์ิภิญโญ. ว.ธรรมนิติ ฉบับเอกสารภาษี

อากร. ปที่ 30 ฉบับที่ 351 (ธันวาคม 2553) : 44-49. ทุกองคกรไมวาจะมีขนาดเล็กหรือขนาดใหญ ดําเนินธุรกิจรูปแบบใด จัดต้ังองคกรในลักษณะใด

หรือมีวัตถุประสงคในการดําเนินงานอยางไรก็ตาม สิ่งที่เกิดข้ึนอยูตลอดเวลาในทุกวันคือผูบริหารในทุกองคกรเหลาน้ันมีหนาที่สําคัญที่ตองทําการตัดสินใจ ซึ่งผลของการตัดสินใจลวนสงผลกระทบตอความสําเร็จขององคกรทั้งสิ้น โดยในการตัดสินใจน้ันขอมลูหน่ึงที่ควรใหความสนใจอยูเสมอ คือ ขอมูลทางบัญชีของนักบัญชีบริหาร ซึ่งจะเปนขอมูลที่มีบทบาทตอการใหขอเสนอแนะแกฝายบริหารงานภายในองคกร เพื่อชวยใหการบริหารจัดการตามความรับผิดชอบของผูบริหารเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ 3. “เตรียมรับมือมาตรฐานการบัญชีใหม TFRS”. / โดย กองบรรณาธิการ. ว.ธรรมนิติ ฉบับเอกสารภาษี

อากร. ปที่ 30 ฉบับที่ 351 (ธันวาคม 2553) : 21-32. การจัดทําบัญชีของธุรกิจจะตองจัดทําบัญชีใหเปนไปตามมาตรฐานการบัญชี ทั้งน้ี เปนไปตาม

พระราชบัญญัติบัญชี พ.ศ. 2543 ในการจัดทําบัญชีตามมาตรฐานการบัญชีน้ัน จะตองอยูภายใตการกํากับดูแลของสภาวิชาชีพบัญชี ซึ่งในปจจุบันประเทศไทยไดมีการจัดต้ังสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ เพื่อควบคุมดูแลและสงเสริมวิชาชีพบัญชีสําหรับผูประกอบการวิชาชีพบัญชี โดยไดมีการปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีใหเปนไปตามมาตรฐานการบัญชีระหวางประเทศ (IAS) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2552 นอกจากน้ี สภาวิชาชีพ

Page 16: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 12

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

บัญชีไดออกมาตรฐานรายงานทางการเงิน (Thai Financial Reporting Standards, TFRS) เพื่อเปนแนวปฏิบัติใหแกกิจการในประเทศและเปนบรรทัดฐานเดียวกันทั่วโลก ดังน้ัน การจัดทําบัญชีใหเปนไปตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินอาจมีปญหาหรือขอจํากัดในบางประเด็นที่นักบัญชีจะตองทราบแนวปฏิบัติ เพื่อใหรายงานการเงินถูกตองและนาเช่ือถือ 4. “ปญหาการรับรูรายไดเพ่ือการเสียภาษีสรรพากร “กรณีเงินประกันความเสียหายจากการผิด สัญญา”. / โดย เพิ่มบุญ แกวเขียว. ว.ธรรมนิติ ฉบับเอกสารภาษีอากร. ปที่ 30 ฉบับที่ 351

(ธันวาคม 2553) : 89-93. เมื่อมีการตกลงทําสัญญาผูกพันระหวางกันแลว หากคูสัญญาปฏิบัติตามหนาที่ดวยดีซึ่งกันและ

กันในขอกําหนดของสัญญา ที่เรียกวาสัญญาตองเปนสัญญา บรรดาปญหาขอพิพาทจนถึงข้ันฟองรองเปนคดีความในศาลคงไมเกิดข้ึน แตปรากฏวาทุกวันน้ีการอยูรวมกันของผูคนในสังคมตางก็ชิงการไดเปรียบ มีการโกงและเบี้ยวกันตลอด ทําใหไวใจคนรอบขางไดยาก ดวยเหตุน้ี ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยจึงไดมีการกําหนดเรื่องมัดจําและเบี้ยปรับไว เพื่อใหคูสัญญาที่เสียหายจากการกระทําผิดสัญญาของอีกฝายหน่ึงสามารถริบเงินมัดจําหรือเรียกเบี้ยปรับเพื่อชดเชยได ทําใหมีประเด็นปญหาตามมาวา โดยปกติแหงจารีตประเพณีของการทําสัญญาแลว สัญญาประเภทใดที่ตองมีการวางมัดจําและคูสัญญาประเภทใดเปนผูวางมัดจําน้ัน หรืออาจมีการวางมัดจําทั้งสองฝาย อีกทั้งในการบันทึกหรือตัดจายทางบญัชี เพื่อการคํานวณและเสียภาษีตามประมวลรัษฎากร คูสัญญาจะปฏิบัติกันอยางไรจึงจะถูกตองตามกฎหมายภาษีและไมกลายเปนประเด็นปญหาถูกตรวจสอบจากเจาพนักงานประเมินของกรมสรรพากร

5. “ภาษีของคนทํางานตางประเทศ”. / โดย สุวรรณ วลัยเสถียร. ว.ธรรมนิติ ฉบับเอกสารภาษีอากร. ปที่ 30 ฉบับที่ 351 (ธันวาคม 2553) : 56-67. กฎหมายของไทยเก็บภาษีจากแหลงเงินได คือ ทํางานที่ไหนใหเสียภาษีที่น่ัน ดังน้ัน ถาแหลงที่

กอใหเกิดเงินได เชน ทํางานในประเทศไทย ผูน้ันก็ตองเสียภาษีไทย ไมวาเงินไดน้ันจะจายในหรือนอกประเทศ ในทางตรงขาม หากมีเงินไดจากแหลงนอกประเทศ กลาวคือ ถาทํางานตางประเทศใหแกนายจางที่อยูตางประเทศ ก็ไมตองเสียภาษีไทย โดยในขณะน้ีประเทศไทยไดทําอนุสัญญาเพื่อการเวนการเก็บภาษีซอน (Double Tax Agreement หรือ DTA) กับประเทศตาง ๆ รวม 54 ประเทศ และประเทศไทยกําลังเจรจากับประเทศตาง ๆ ตอไป ซึ่งตอไปในอนาคตก็จะมีจํานวนเพิ่มมากข้ึน สัญญา DTA น้ี จะชวยใหการตีความในเรื่องภาระการเสียภาษีชัดเจนข้ึน และทําใหไมมีการเก็บภาษีซ้ําซอน ไมวาจะเปนการยกเวนภาษีเงินไดของประเทศหน่ึง จะไมตองไปเสยีภาษีในอีกประเทศหน่ึง หรือใชวิธีใหเครดิตภาษี

Page 17: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 13

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

นโยบายพล ังงาน 1. “พลังงานชุมชน รูคิดรูใช จากทรัพยากรใกลตัว”. ว.นโยบายพลังงาน. ฉบับที่ 89 (กรกฎาคม-กันยายน 2553) : 17-19.

พลังงานที่มีบทบาทตอการดําเนินชีวิตประจําวัน เน่ืองจากประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรมที่มีศักยภาพสูงในการเพาะปลูกพืชพลังงานหลากหลายชนิด นอกจากน้ียังมีนํ้ามันเหลือใชจากครัวเรือนที่ถูกทิ้งไปอยางเปลาประโยชน สิ่งเหลาน้ีสามารถนํามาผลิตเปนไบโอดีเซลได ขยะอินทรียก็ยอยสลายตามธรรมชาติจนกลายเปนกาซชีวภาพเปลือกไม เศษไม เปลือกผลไมตาง ๆ นํามาอบแหงและเผาไหมจนสมบูรณจากน้ันจึงนําไปบดและอัดแทงเปนถานอัดแทงที่มีประสิทธิภาพสูง นํ้าสมควันไหมซึ่งเกิดจากการเผาไหมชวยในการกําจัดกลิ่นในพื้นที่ปศุสัตว และกําจัดแมลงในพื้นที่การเกษตรไดดวยและในตางประเทศก็มีการพัฒนาในสวนของพลังงานชุมชนเชนกัน เชน เดนมารก เยอรมนี 2. “มลพิษทางอากาศกับการใชพลังงานสําหรับประเทศไทย (ตอนท่ี 2)”. ว.นโยบายพลังงาน. ฉบับที่ 89 (กรกฎาคม-กันยายน 2553) : 55-63.

วารสารนโยบายพลังงานฉบับที่แลวไดกลาวถึงโครงสรางของระบบฐานขอมูลการปลอยมลพิษทางอากาศจากการใชพลังงานของไทย (EPPO-Emission Data base System : EPPO-EMS) ซึ่งเปนระบบประมาณการปริมาณมลพิษทางอากาศที่พัฒนาโดยสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) โดยสังเขปแลว ฉบับน้ีเพื่อใหเห็นชัดถึงความสําคัญของการประยุกตใชขอมูลจากระบบฐานขอมูล EPPO-EMS ตอการวางแผนพัฒนาพลังงานที่คํานึงถึงสิ่งแวดลอม จึงขอนําเสนอผลวิเคราะหการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) ซึ่งเปนสาเหตุสําคัญที่กอใหเกิดภาวะโลกรอน โดยมุงเนนประเด็นสําคัญ 3 ประเด็น ไดแก การปลอยกาซ CO2 จากการใชพลังงานในภาพรวมของประเทศเพื่อฉายภาพแนวโนมการบริโภคพลังงาน และการปลอยกาซ CO2 จากการใชพลังงานโดยรวมการปลอยกาซ CO2 จากการใชพลังงานแยกรายภาคเศรษฐกิจ เพื่อแสดงใหเห็นถึงปริมาณกาซ CO2 ที่เกิดจากการใชเช้ือเพลิงแตละชนิดของสาขาเศรษฐกิจภาคพลังงาน และตัวช้ีวัดการปลอยกาซ CO2 ภาคพลังงาน เพื่อเปรียบเทียบสถานการณการปลอยกาซ CO2 ของประเทศไทยกับตางประเทศเพื่อเปนขอมลูในการกําหนดทิศทางนโยบายพลังงานตอการลดการปลอยกาซ CO2 ของประเทศไดในอนาคต โดยบทความฉบับน้ีจะแสดงใหเห็นสัดสวนการเกิดกาซ CO2 จากการใชพลังงานของไทย 3. “รางบันทึกความเขาใจการรับซื้อไฟฟาโครงการเซเปยน-เซน้ํานอย”. ว.นโยบายพลังงาน. ฉบับที่ 89 (กรกฎาคม-กันยายน 2553) : 49-51.

รัฐบาลไทยและรัฐบาลสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ไดมีการลงนามในบันทึกความเขาใจ (Memorandum of Understanding : MOU) การรับซื้อไฟฟาจาก สปป.ลาว 7,000 เมกะวัตต ภายในป 2558 ปจจุบันภายใต MOU ดังกลาว มี 3 โครงการที่จายไฟฟาเชิงพาณิชยเขาระบบของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) แลว ไดแก โครงการเทิน-หินบุน (187 เมกะวัตต) โครงการหวยเฮาะ 126 (เมกะวัตต) และโครงการนํ้าเทิน 2 (920 เมกะวัตต) และอีก 3 โครงการที่ไดลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟาแลว ไดแก โครงการนํ้างึม 2 (615 เมกะวัตต) โครงการเทิน-หินบุนสวนขยาย (220 เมกะวัตต) และโครงการ

Page 18: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 14

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

บริหารธุรกิจ

หงสาลิกไนต (1,473 เมกะวัตต) ซึ่งมีกําหนดการจายไฟฟาเขาระบบเชิงพาณิชยในเดือนมีนาคม 2554 มีนาคม 2555 และป 2558 ตามลําดับ คณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2553 มีมติเห็นชอบตามมติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2553 โดยเห็นชอบรางบันทึกความเขาใจการรับซื้อไฟฟาโครงการเซเปยน-เซนํ้านอย ซึ่งเปนโครงการที่ต้ังอยูในแขวงจําปาสัก ทางตอนใตของ สปป. ลาว เปนเข่ือนชนิด Concrete Rock fill มีกําลังติดต้ัง 390 เมกะวัตต (3X130 เมกะวัตต) และมอบหมายให กฟผ. นํารางบันทึกความเขาใจการรับซื้อไฟฟาโครงการเซเปยน-เซนํ้านอยที่ไดรับความเห็นชอบแลวไปลงนามรวมกับผูลงทุนตอไป บทความเรื่องน้ีไดสรุปสาระสําคัญของราง Tarif MOU 4. “สถานการณพลังงานไทยในชวง 6 เดือน แรกของป 2553”. ว.นโยบายพลังงาน. ฉบับที่ 89 (กรกฎาคม-กันยายน 2553) : 20-39.

กลาวถึงภาพรวมทางเศรษฐกิจ อุปสงคพลังงาน อุปทานพลังงาน การใชพลังงานเชิงพาณิชยช้ินสุดทายและมูลคาการนําเขาพลังงาน นํ้ามันดิบและคอนเดนเสท กาซธรรมชาติ กาซโซลีนธรรมชาติ (NGL) ผลิตภัณฑนํ้ามันสําเร็จรูป ถานหิน/ลิกไนต ไฟฟา รายไดสรรพสามิตและฐานะกองทุนนํ้ามัน

1. “การรักษาผูมีผลสัมฤทธิ์สูงในองคการ : กรณีศึกษาขาราชการพลเรือนสามัญ”. / โดย ปฐมพงษ โตพานิชสุรีย. ว.บริหารธุรกิจ. ปที่ 33 ฉบับที่ 127 (กรกฎาคม-กันยายน 2553) : 35-47. การศึกษาน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปจจัยที่สงผลตอความผูกพันของผูมีผลสัมฤทธ์ิสูงในองคการ

ระดับความผูกพันและความสัมพันธของแตละปจจัยกับความผูกพัน ตลอดจนศึกษาความแตกตางระหวางคุณลักษณะสวนบุคคลแตละประเภทกับความผูกพัน กรณีศึกษาขาราชการพลเรือนสามัญที่เขารวมโครงการผูมีผลสัมฤทธ์ิสูง (High Performance and Potential System: HIPPS) ทั้ง 5 รุน โดยมีกลุมตัวอยางจํานวน 199 คน การเก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถาม วิเคราะหและประมวลผลดวยโปรแกรมทางสถิติ (SPSS for Windows) ผลการศึกษาพบวา ปจจัยที่สงผลใหเกิดความผูกพนัตอองคการ ทั้ง 8 ปจจัยมีความสัมพันธกับระดับความผูกพันของผูมีผลสัมฤทธ์ิสูงโดยเรียงลําดับคาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธจากมากไปนอย ไดแก ลักษณะงาน การฝกอบรมและการพัฒนาบุคลากร รางวัลและผลตอบแทน ระบบราชการ ความสัมพันธกับเพื่อนรวมงาน สภาพแวดลอมในการทํางาน ความสัมพันธกับผูบังคับบัญชาและโอกาสที่ไดรับจากการทํางาน รวมถึงคาตอบแทนที่เปนตัวเงินและไมเปนตัวเงินก็มีความสัมพันธกันและมีความสัมพันธในทิศทางเดียวกันกับระดับความผูกพัน การศึกษาครั้งน้ีไดคนพบสิ่งสําคัญอยางหน่ึงวา ชวงอายุราชการ 7-9 ป เปนชวงที่ผูมีผลสัมฤทธ์ิสูงมีความผูกพันตอองคการตํ่าที่สุดเมื่อเทียบกับชวงอายุราชการอื่น และผูมีผลสัมฤทธ์ิสูงที่จบการศึกษาระดับปริญญาเอกมีความผูกพันตอองคการตํ่าสุดเชนกัน เมื่อเทียบกับผูมีผลสัมฤทธ์ิสูงที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีและปริญญาโท สวนคุณลักษณะสวนบุคคลประเภทอื่นไมมีความแตกตางกัน

Page 19: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 15

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

2. “การสอนจริยธรรมในชั้นเรียนธุรกิจ : มุมมองของนักศึกษาและอาจารย”. / โดย พัชรา ตันติประภา และบัวรัตน ศรีนิล. ว.บริหารธุรกิจ. ปที่ 33 ฉบับที่ 127 (กรกฎาคม-กันยายน 2553) : 9-30.

การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา 1) วิธีการสอนจริยธรรมทางธุรกิจ 2) การรับรูของนักศึกษาและอาจารยดานบริหารธุรกิจตอระดับการสอนดานจริยธรรม ประเด็นปญหาดานจริยธรรมในช้ันเรียน และความแตกตางในการรับรูของอาจารยและนักศึกษา ทําการสําเร็จโดยใชแบบสอบถามอาจารยผูสอนวิชาจริยธรรมทางธุรกิจ จํานวน 44 ราย นักศึกษาดานบริหารธุรกิจช้ันปสุดทาย จํานวน 351 ราย และอาจารยดานบริหารธุรกิจ จํานวน 88 ราย ผลการศึกษาพบวา วิธีการที่อาจารยผูสอนวิชาจริยธรรมทางธุรกิจนิยมใชไดแก 1) การบรรยายยกตัวอยางเหตุการณที่เกี่ยวกับจริยธรรม 2) การบรรยายทฤษฎี 3) การใหนักศึกษาวิเคราะหกรณีศึกษา 4) การใหนักศึกษาคนควาหาขาวเหตุการณปจจุบันมาอภิปรายในช้ันเรียนและ 5) การยกกรณีตัวอยางเหตุการณที่เกิดข้ึนจริงและใหนักศึกษาอภิปรายในช้ันเรียน แมวาอาจารยผูสอนวิชาจริยธรรมทางธุรกิจสวนใหญจะใชวิธีการบรรยาย แตยังคงมีความเห็นวา การยกกรณีตัวอยางเหตุการณที่เกิดข้ึนจริงและใหนักศึกษาอภิปรายในช้ันเรียนเปนวิธีที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด นักศึกษาและอาจารยดานบริหารธุรกิจมีความเห็นวาหลักสูตรมีเน้ือหาครอบคลุมและมุงเนนถึงจริยธรรมในระดับปานกลาง ตํารายังมีเน้ือหาครอบคลุมถึงจริยธรรมทางธุรกิจไมมากพอ และควรเพิ่มการอภิปรายเกี่ยวกับจริยธรรมในช้ันเรียนตาง ๆ ดานบริหารธุรกิจ โดยนักศึกษามีความเช่ือมั่นมากกวาอาจารยดานบริหารธุรกิจอยางมีนัยสําคัญวาหลักสูตรที่เรียนจะสามารถเตรียมความพรอมของตนในการจัดการกับปญหาดานจริยธรรมที่จะพบในการทํางาน 3. “เทคนิคการวิเคราะหและตีความหมายของตัววัดผลการปฏิบัติงานองคกร”. / โดย นภดล รมโพธ์ิ. ว.บริหารธุรกิจ. ปที่ 33 ฉบับที่ 127 (กรกฎาคม-กันยายน 2553) : 6-8

เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดของตัววัดผล จึงขอนําเสนอเทคนิคการวิเคราะหและตีความหมายของตัววัดผลดังตอไปน้ี คือ การวิเคราะหหาสาเหตุของผลที่ไดรับเฉพาะในกรณีที่สําคัญเทาน้ัน การวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางตัววัดผล การวิเคราะหตัววัดผลในหลายมุมมอง 4. “Customer Perception Towards International Graduate Study in Thailand”. I by

Varapa Rakrachakam. ว.บรหิารธุรกิจ. ปที่ 33 ฉบับที่ 127 (กรกฎาคม-กันยายน 2553) : 59-77. ในขณะที่การศึกษาหลักสูตรนานาชาติในระดับบัณฑิตศึกษาในประเทศไทยมีการแขงขันกัน

สูงข้ึน บทบาทของการตลาดไดมีความสําคัญเพิ่มข้ึนอยางมากเชนกัน ดังน้ัน เพื่อที่จะเขาใจพฤติกรรมของผูบริโภคในการตัดสินใจเลือกเรียนตอในประเทศหรือตางประเทศ งานวิจัยน้ีจึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการรับรูของลูกคา (Customer Perception) ที่มีตอหลักสูตรนานาชาติระดับบัณฑิตศึกษาในประเทศไทย และสํารวจดูวาการรับรูเหลาน้ันรวมถึงปจจัยดานสถิติประชากร (Demographics) และปจจัยดานกลุมอางอิง (Reference Group) ที่เกี่ยวของ มีผลตอความนิยมในการเรียนตอของลูกคาอยางไรบาง ผลการวิจัยพบวาการมีเพื่อนอยูตางประเทศและการรับรูที่เกี่ยวกับความนาสนใจของหลักสูตรมีอิทธิพลสูงสุดตอความนิยมในการเรียนตอของลูกคา จากขอมูลผลการวิจัยทีไ่ด งานวิจัยน้ีอาจมีสวนในการเสนอแนะแนวทางตอมหาวิทยาลัยตาง ๆ ในประเทศไทยในการออกแบบหลักสูตรใหตรงกับความตองการของลูกคาและการสรางกลยุทธทางการตลาดใหมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึนได

Page 20: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 16

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

ผู ้ ส่งออก 1. “กุญแจแหงความสําเร็จของเศรษฐกิจสรางสรรค”. ว.ผูสงออก. ปที่ 24 ฉบับที่ 559 (ปกษหลัง พฤศจิกายน 2553) : 101-102.

เศรษฐกิจสรางสรรคของประเทศไทยมาจากวัฒนธรรม ภูมิปญญา ซึ่งประเทศไทยไดสะสมองคความรู ความคิด และความมั่งค่ังทางวัฒนธรรม ตลอดจนมีความหลากหลายทางชีวภาพที่สามารถนํามาพัฒนาตอยอดและผสมผสานกับเทคโนโลยีสมัยใหมเพื่อขับเคลื่อนประเทศไทยสูเศรษฐกิจยุคใหมที่มุงเนนการผลิตเชิงคุณภาพและสรางสรรค รวมทั้งสามารถตอบสนองความตองการของผูบรโิภคทั้งในประเทศและตางประเทศได โดยมีขอบเขตของเศรษฐกิจสรางสรรคในประเทศไทยแบงเปน 4 กลุม ดังน้ี 1) การสืบทอดทางมรดกและวัฒนธรรมที่รวบรวมความหลากหลายทางชีวภาพ เชน การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การแพทยแผนไทยสมุนไพร เปนตน 2) งานทักษะฝมือ อุตสาหกรรมวัฒนธรรม เชน ชางไม ชางแกะสลัก ชางเครื่องเงินเครื่องประดับ เปนตน 3) งานสรางสรรคและการออกแบบ ทั้งแฟช่ัน สถาปตยกรรม การโฆษณา และซอฟตแวร 4) สื่อสมัยใหม หรือเอ็นเตอรเทนเมนท และดิจิตอลคอนเทนต 2. “เงินบาทกลับมาแข็งคา ... แมคลังออกมาตรการลดผลกระทบ”. / โดย ศูนยวิจัยกสิกรไทย.

ว.ผูสงออก. ปที่ 24 ฉบับที่ 559 (ปกษหลัง พฤศจิกายน 2553) : 67-70. บทความเรื่องน้ีวิเคราะหถึงกระแสการแข็งคาเงินบาทและมาตรการแกไข โดยสรุปได ดังนี้

1) รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจเรงเบิกจายงบลงทุนและนําเขาสินคาทุนจากตางประเทศ เปนมูลคาประมาณ 4.89 หมื่นลานบาท เพื่อใหมีแรงซื้อเงินตราตางประเทศและเรงจองเงินตราตางประเทศลวงหนา 2) โครงการ 1 ป ในการชวยเหลือการทํา Forward Contract ใหกับเอสเอ็มอีที่สงออก ผานสถาบันการเงินของรัฐรายละไมเกิน 500,000 ดอลลารสหรัฐฯ โดยมีเปาหมายใหผูประกอบการรายเล็กสามารถทําการขายเงินตราตางประเทศลวงหนาในอัตราที่ดีข้ึนและรวดเร็วข้ึน 3) โครงการสนับสนุนหลักประกันในการทํา Forward กับธนาคารพาณิชย โดยบริษัทประกันสินเช่ืออุตสาหกรรมขนาดยอมคํ้าประกันต๋ัวสัญญาที่ใชเปนหลักประกันในการทํา Forward เพื่อใหผูสงออกมีหลักประกันเพิ่มเติมในการทํา Forward 4) โครงการสินเช่ือเพื่อเพิ่มสภาพคลองแกเอสเอ็มอีที่สงออกผานการดําเนินการของสถาบันการเงินของรัฐ และ 5) โครงการสินเช่ือเงินตราตางประเทศวงเงิน 200 ลานดอลลารสหรัฐ เพื่อเอสเอ็มอีสงออกไมเกินรายละ 300,000 ดอลลารสหรัฐ โดยคิดอัตราดอกเบี้ยที่ Libor+รอยละ 3 ระยะเวลา 1 ป และพรอมอนุมัติภายใน 5 ป 3. “Twitter กับ Strategic Management”. / โดย ลือศักด์ิ จักรพันธุ. ว.ผูสงออก. ปที่ 24 ฉบับที ่

559 (ปกษหลัง พฤศจิกายน 2553) : 106-108. กลาวถึงมุมมองเกี่ยวกับการนํา Twitter มาใชเปนเครื่องมือในการเสริมสรางศักยภาพทางการ

แขงขันในวงการธุรกิจ จุดเดนที่นํามาใช คือ การนํา Strategic Management มาแทนที่การติดตามขาวสารทั่วไป โดยเปนการยกระดับการติดตามความเคลื่อนไหวของผูคนใหเปนเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการวิเคราะหและติดตามสถานการณที่เปนปจจัยแวดลอม อันมีผลตอธุรกิจทั้งในเชิงยุทธศาสตรและภาคปฏิบัติ โดยอาศัย

Page 21: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 17

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

ความมีศักยภาพของ Twitter ในดานความหลากหลายของขอมูลและความรวดเร็วในการแสดงความคิดเห็นของผูคนอยางมาก และอาจจะเพิ่มเติมเครื่องมือวิเคราะหใหแยกแยะรายละเอียดข้ึนเปน PESTLIED ซึ่งประกอบดวยการติดตามและวิเคราะหขอมูลดานตาง ๆ ดังน้ี การเมือง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี กฎหมาย ตางประเทศ สิ่งแวดลอม และคุณสมบัติประจําตัวของผูคนในสังคมหรือประชากร 4. “เลือกพัฒนาระบบไอทีตามมุมมองของ Strategic Performance Management”. / โดย ลือศักด์ิ จักรพันธุ. ว.ผูสงออก. ปที่ 24 ฉบับที่ 560 (ปกษแรก ธันวาคม 2553) : 103-105.

ปจจุบันมีการแขงขันทางธุรกิจคอนขางสูง ทําใหองคกรทางธุรกิจตาง ๆ มีความจําเปนตองดําเนินธุรกิจอยางมีวิสัยทัศนและมีพันธกิจที่ชัดเจน และมีการกําหนดยุทธศาสตรครอบคลุมโอกาสและความเสี่ยงตาง ๆ ทําใหการติดตามและวัดการดําเนินงานจากตัวช้ีวัดไดรับความนิยมอยางแพรหลายในองคกรช้ันนําทั้งขนาดใหญและขนาดเล็ก โดยมีเครื่องมือประเภท Strategic Performance Management Tool ถูกนํามาใชงานอยางจริงจัง คือ Balanced Scorecard ดังน้ันการพัฒนาระบบตาง ๆ ดานไอทีเพื่อเปนเครื่องมือในการสรางคุณคา และชวยติดตามการวัดผลตัวช้ีวัดตาง ๆ ขององคกร จึงควรไดรับการวางแผนใหเกิดความสมดุลตามหลักของ Balanced Soorecard เชนกัน ไดแก การพัฒนาระบบไอทีตามมุมมองดานการเงิน การพัฒนาระบบไอทีตามมุมมองดานลูกคา การพัฒนาระบบไอทีตามมุมมองดานกระบวนการภายใน และการพัฒนาระบบไอทีตามมุมมองดานการเรียนรูและพัฒนา 5. “สรางธุรกิจเติบโตยั่งยืนดวย CSR”. ว.ผูสงออก. ปที่ 24 ฉบับที่ 560 (ปกษแรก ธันวาคม 2553) : 98-101.

กลาวถึงการนํา CSR หรือการดําเนินธุรกิจดวยความรับผิดชอบตอสังคมมาใชกับองคกรทางธุรกิจ ซึ่งแตละองคกรมีเหตุผลในการนํามาใชที่แตกตางกัน ไมวาจะเปนเพือ่การปองกันความเสี่ยงระหวางผูมีสวนไดสวนเสีย เพื่อสรางความแตกตางของแบรนดสินคา สรางมูลคาเพิ่ม รวมทั้งการสรางการยอมรับในสังคม และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันทางการคา เหตุผลดังกลาวลวนแลวแตเปนปจจัยในการสรางความแข็งแกรงและเพิ่มภูมิคุมกันใหกับองคกร โดยมีเปาประสงคเพื่อใหธุรกิจอยูในสังคมไปไดอยางย่ังยืน 6. “สถานการณน้ําทวม : กระทบตลาดไทยเท่ียวไทย คาดสูญรายได 2-4 พันลานบาท”. / โดย ศูนยวิจัย กสิกรไทย. ปที่ 24 ฉบับที่ 560 (ปกษแรก ธันวาคม 2553) : 67-70.

กลาวถึงผลกระทบจากการเกดินํ้าทวมรุนแรงในหลายพื้นที่ โดยกลาวถึงเฉพาะผลกระทบตอการทองเที่ยวของคนไทยในชวงไตรมาสสุดทายของป 2553 ซึ่งเปนชวงที่คนไทยนิยมทองเที่ยวภายในประเทศมากที่สุด แบงเปน 2 กรณี คือ 1) กรณีที่สามารถฟนฟูแหลงทองเที่ยวสวนใหญไดภายในเดือนพฤศจิกายน และ 2) กรณีที่สามารถฟนฟูแหลงทองเที่ยวสวนใหญไดภายในเดือนธันวาคม ซึ่งทั้งสองกรณีมีความเสียหายตอรายไดการทองเที่ยวที่แตกตางกัน แตถาหากไมสามารถฟนฟูแหลงทองเที่ยวไดภายในสองเดือนน้ี จะสงผลกระทบตอรายไดการทองเที่ยวในชวงไตรมาสสุดทายของป 2553 ลดลงจากที่คาดการณไวเดิมประมาณ 4,000 ลานบาท

Page 22: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 18

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

FOR QUALITY

7. “อนาคตการคาโลกเสรีตามขอตกลงการคาเสรีจริงหรือ”. / โดย เบญจวรรณ รัตนประยูร. ว.ผูสงออก. ปที่ 24 ฉบับที่ 560 ปกษแรก (ธันวาคม 2553) : 20-24.

บทความเรื่องน้ีเปนการวิเคราะหวาอนาคตการคาโลกเสรีตามขอตกลงการคาจริงหรือไม โดยผูเขียนไดศึกษาคนควาจากบทความตางประเทศ เพื่อใหเห็นภาพจากสภาวะความเปนจริงที่เกี่ยวของกับการคาเสรี โดยเฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกา จีน ยุโรป และอาเซียน ซึ่งเปนตลาดสําคัญตอการคาระหวางประเทศของไทย ทั้งดานการสงออกและนําเขา และประเทศเหลาน้ีก็มีขอตกลงเขตการคาเสรีจํานวนมากกับประเทศตาง ๆ รวมทั้งยังเปนประเทศผูนําในการออกกฎ ระเบียบบริหารการนําเขา-สงออกของประเทศตนเอง เพื่อเปนขอปกปองและสรางขีดความสามารถในการแขงขัน ทั้งดานการเกษตร อุตสาหกรรมและบริการ ซึ่งถือเปนปญหาตอระบบการคาเสรี จนเกิดคําถามวาการจัดทําเขตการคาเสรีเพื่อใหมีการเจรจาการคาภายใตภาวะเสรีน้ันจะเกิดข้ึนไดจริงหรือ เมื่อประเทศตาง ๆ ไดพยายามสรางมาตรการเพื่อกีดกันหรือปกปองมากข้ึน

1. “การจัดการภาวะวิกฤต”. / โดย นายคุณภาพ. ว.For Quality. ปที่ 17 ฉบับที่ 157 (พฤศจิกายน 2553) : 21-24.

การบริการจัดการภาวะวิกฤต คือ การบริหารจัดการและความรวมมือภายในองคกรเพื่อตอบสนองตอเหตุการณที่เปนอันตรายตอบุคลากรในองคกร สิ่งกอสราง ความสามารถในการดําเนินธุรกิจ และช่ือเสียง โดยการจัดการภาวะวิกฤตตองมีการวางแผนการตอบสนองตอภาวะวิกฤตอยางเปนระบบและทันตอเวลา และตองพรอมตอการจัดการปรับเปลี่ยนเมื่อสถานการณแพรขยายไปในทิศทางที่ไมเปนไปตามคาดการณ การบริหารจัดการในภาวะวิกฤตจึงเปนศิลปะในการตัดสินใจในการจัดการกอนลวงหนา หรือการบรรเทาผลกระทบของเหตุการณ โดยมีหลักสําคัญ คือ การวางแผน การฝกฝนปฏิบัติ เพื่อใหผูตัดสินใจอยูในสภาวะที่พรอมที่สุด ซึ่งจะมีผลตอกระบวนการจัดการในทุกข้ันตอนของการจัดการในสภาวะวิกฤต 2. “การบริหารเชิงสรางสรรคดวย Creative Economy ในอุตสาหกรรมทองเท่ียวและบริการ”. / โดย กองบรรณาธิการ. ว.For Quality. ปที่ 17 ฉบับที่ 157 (พฤศจิกายน 2553) : 63-75.

กลาวถึงการนําแนวคิดเศรษฐกิจสรางสรรคมาใชในการพัฒนาภาคธุรกิจทองเที่ยวของไทย โดยนําเสนอความรูความเขาใจเกี่ยวกับสถานการณการทองเที่ยวในประเทศ แผนระยะสั้นและระยะยาวของการทองเที่ยวแหงประเทศไทย พรอมทั้งการสรางสรรคนวัตกรรมเพื่อพัฒนาธุรกิจทองเที่ยวและบริการ แนวทางการบริหารเพื่อพัฒนาคน ปญหาและอุปสรรคจากผลของวิกฤตเศรษฐกิจของโลกตอการทองเที่ยวไทย 3. “การสื่อสารทักษะสําคัญสําหรับทุกคน”. / โดย ธํารงศักด์ิ คงคาสวัสด์ิ. ว.For Quality. ปที่ 17 ฉบับที ่

157 (พฤศจิกายน 2553) : 103-105. บทความเรื่องน้ีอธิบายทักษะสําคัญ ๆ ของการสื่อสารที่จะกอใหเกิดการทํางานรวมกันดวยดี ไดแก

ภาษากาย เปนการแสดงออกทางพฤติกรรม เชน การแสดงกิริยาอาการที่เปนมิตร การย้ิมแยมแจมใส ความ

Page 23: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 19

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

ราเริง เปนตน การพูด เชน การพูดเพื่อสัง่งาน หรือสอนงาน หรือมอบหมายงาน ควรใชคําพูดที่เขาใจงาย นํ้าเสียงไพเราะ เปนตน การเขียน เปนการสื่อสารที่มีความผิดพลาดไดงาย โดยเฉพาะการเขียนผิดหากมีการเผยแพรออกไปแลวจะแกไขไมได การสื่อสารดวยการเขียนจึงจําเปนตองตรวจสอบความถูกตองใหรอบคอบ และตองคํานึงถึงขอความ เน้ือหา และความหมายที่ตองการสื่อสารใหดี เพื่อใหเกิดความเขาใจระหวางผูสื่อสารและผูอาน การฟง ทักษะการฟงจําเปนตองมกีารฝกฝนใหเกิดข้ึนกับทุกคนที่ตองการจะสรางการสื่อสารที่ดี ด่ังเชนคําพูดวา “คนเราจะฉลาดมากข้ึนเวลาฟง แตจะฉลาดเทาเดิมเวลาพูด 4. “ความสุขในการทํางานของบุคลากรเชิงสรางสรรค”. / โดย สิรินทร แซฉ่ัว. ว.For Quality. ปที่ 17 ฉบับที่ 157 (พฤศจิกายน 2553) : 106-111.

บทความเรื่องน้ีไดรวบรวมแนวคิดเกี่ยวกับความสุขที่ทําใหสามารถอธิบายความหมายของความสุขออกเปน 3 ศาสตร คือ 1) ศาสตรความสุขในมุมมองดานปรัชญาและศาสนา 2) ศาสตรความสุขในมุมมองดาน จิตวิทยา และ 3) ศาสตรความสุขในมุมมองดานเศรษฐศาสตร พรอมกันน้ีไดนําเสนอถึงผลงานวิจัยซึ่งไดรวบรวมทฤษฎีที่เกี่ยวของกับความสุขในการทํางานเพื่อใชในการศึกษาหาตัวแปรหรือสาเหตุทีท่ําใหบคุคลน้ันเกิดความสุขในการทํางาน โดยมีกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษา คือ บุคลากรเชิงสรางสรรคในอุตสาหกรรมเชิงสรางสรรค ประกอบดวย 6 องคการ คือ อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ การกระจายเสียง เพลง การออกแบบผลิตภัณฑ แฟช่ัน และซอฟตแวร ผลการศึกษาพบวา บุคลากรเชิงสรางสรรคมคีวามสุขกับงานที่มีอิสระ ดังน้ัน ผูบริหารจึงควรเขาใจถึงลักษณะงานเชิงสรางสรรค และใหอิสระตอการตัดสินใจในการเลือกรูปแบบการทํางานได รวมถึงปริมาณงานที่เหมาะสม ก็จะชวยใหมีความสมดุลในชีวิตการทํางานและมีสุขภาพกายที่ดี 5. “เพ่ิมคาของเงินดวยบัตรเครดิต”. / โดย ณภัทร วิไลสกุลยง. ว.For Quality. ปที่ 17 ฉบับที่ 157 (พฤศจิกายน 2553) : 77-80.

กลาวถึงการใชบัตรเครดิตเพื่อเพิ่มคาของเงินสดในกระเปา ไดแก การชวยชะลอการจายเงินสดในปจจุบันออกไป ผอน 0 เปอรเซ็นตดวยระยะเวลาต้ังแต 3-12 เดือน ชวยเปนผูตรวจสอบรายจายที่ไมจําเปน เพิ่มคาเงินทุกครั้งเมื่อใชบัตรเครดิต และเลือกใชจายใหไดประโยชนสูงสุดของบัตรเครดิตแตละใบ ทั้งน้ีการใชบัตรเครดิตในรูปแบบดังกลาวจะชวยใหเราสามารถบริหารเงินสดไดอยางมีประสิทธิภาพมากข้ึน โดยไมตองกังวลวาจะเปนหน้ีบัตรเครดิตอีกตอไป และยังเปนการใหมุมมองดานสิทธิประโยชนของบัตรเครดิตที่ผูบริโภคไมควรมองขามไป 6. “ภายใตอิทธิพลของกระแสโลกาภิวัตนเกิดอะไรขึ้นกับวงการบริหารและธุรกิจ”. / โดย ประเวศน มหารัตนสกุล. ว.For Quality. ปที่ 17 ฉบับที่ 157 (พฤศจิกายน 2553) : 113-117.

กลาวถึงกระแสโลกาภิวัตนที่เกิดข้ึนกับวงการบริหารและธุรกิจ ซึ่งไมเพียงแตภาครัฐเทาน้ันที ่พยายามสรางความมั่งค่ังใหกับประเทศ แตภาคเอกชนและปจเจกชนก็ถือวาเปนกองกําลังที่มีอิทธิพลตอการสรางความมั่งค่ังใหกับประเทศ ซึ่งกระแสโลกาภิวัตนทําใหเกิดความคิดข้ึน 2 แนวคิด คือ ประเทศที่พยายามปฏิเสธกระแสโลกาภิวัตน และประเทศที่พยายามเรียนรูความเปนมาและเปนไปของกระแสโลกาภิวัตน และต้ังปณิธานที่จะแสวงหาโอกาสและประโยชนจากโลกาภิวัตนใหกับประเทศของตน ซึ่งอิทธิพลของกระแสโลกาภิวัตน

Page 24: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 20

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

วิชาการศาลปกครอง

ที่จะสงผลกระทบตอวงการบรหิารและธุรกิจสามารถสรุปเปนประเด็นหลัก ๆ ได ดังน้ี ภูมิรัฐศาสตร การเงินของโลก การคาและการลงทุนระหวางประเทศ การผลิต และการประกอบธุรกิจ 7. “เมื่อจีนออกลาทรัพยากรธรรมชาติท่ัวโลก”. / โดย สมภพ มานะรังสรรค. ว.For Quality. ปที่ 17 ฉบับที่ 157 (พฤศจิกายน 2553) : 81-83.

กลาวถึงการแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติในตางประเทศของจีน ดวยขนาดพื้นที่ 9.6 ลานตารางกิโลเมตรและจํานวนประชากรกวา 1,300 ลานคน ทําใหจีนตองพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติ ในการผลิตจํานวนมาก เฉพาะในป พ.ศ. 2552 เพียงปเดียว จีนไดออกไปลงทุนโดยการซื้อกิจการหรือรวมทุนกับตางประเทศในดานทรัพยากรธรรมชาติที่มีมูลคาสูงถึง 1,300 ลานดอลลารสหรัฐฯ ซึ่งสูงกวาป พ.ศ. 2548 ประมาณ 100 เทาตัว สําหรับในชวงครึ่งแรกของป พ.ศ. 2553 จีนไดลงทุนในดานทรัพยากรธรรมชาติในตางประเทศถึงประมาณ 70 โครงการ มีมูลคารวมกันประมาณ 8,300 ลานดอลลารสหรัฐฯ และมีแนวโนมวาภายใน 3-4 ปขางหนา (พ.ศ. 2557) คาดวาจีนจะลงทุนเพิ่มอีกถึงประมาณ 100,000 ลานดอลลารสหรัฐฯ สถานการณดังกลาวทําใหผูประกอบการของจีนสามารถออกไปซื้อกิจการหรือรวมทุนกับกิจการดานทรัพยากรธรรมชาติในภูมิภาคตาง ๆ ของโลกไดมากย่ิงข้ึน

1. “กิจกรรมทางอวกาศกับผลกระทบสิ่งแวดลอม : ศึกษากรณีคดีชิ้นสวนดาวเทียมคอสมอส 954 ตกท่ี แคนาดา”. / โดย สลิล กอวุฒิกุลรังษี. ว.วิชาการศาลปกครอง. ปที่ 10 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2553) : 19-33. บทความเรื่องน้ี นําเสนอประเด็นปญหาที่เกี่ยวกับการดําเนินคดี ขอจํากัดดานกฎหมาย และ

ความต่ืนตัวของผูที่เกี่ยวของในเหตุการณที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม โดยศึกษากรณีคดีช้ินสวนดาวเทียม คอสมอส 954 ตกที่แคนาดา ซึ่งเปนคดีที่ประเทศแคนาดาเรียกรองคาเสียหายจากสหภาพโซเวียตตามหลักกฎหมายระหวางประเทศใหรับผิดในความเสียหายอันเกิดจากวัตถุอวกาศ โดยแบงการอธิบายออกเปนหลายสวน คือ ขอเท็จจริงที่เกิดข้ึนอันเปนการนําเสนอสภาพการณทั่วไปของคดีกฎหมายที่เกี่ยวของทั้งหมดที่จะนํามาปรับใชในคดีพรอมขอสังเกตบางประการ บทวิเคราะหขอเท็จจริงของขอพิพาทกับหลักกฎหมายระหวางประเทศ และผลที่เกิดข้ึนภายหลังการระงับขอพิพาท ในการน้ีไดเสนอแนวทางซึ่งอาจนําไปเปนขอพิจารณาสําหรับการวางมาตรการกํากับดูแลกิจกรรมอวกาศของประเทศไทย และสามารถนํามาปรับใชกับการดําเนินคดีเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมในประเทศไดดวย 2. “ความเปนมาของระเบียบสํานักนายกรัฐมตรีวาดวยการจัดการเรื่องราวรองทุกข พ.ศ. 2552”. / โดย ลัคนา ลักษณศิร.ิ ว.วิชการศาลปกครอง. ปที่ 10 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2553) : 34-50.

บทความเรื่องน้ี กลาวถึงความเปนมาของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการจัดการเรื่องราวรองทุกข พ.ศ. 2552 ซึ่งถือเปนระเบียบที่กําหนดหลักเกณฑ ข้ันตอน วิธีการ ในการรับเรื่องราวรองทุกข และ

Page 25: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 21

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

กําหนดมาตรฐานข้ันตํ่าในการรับเรื่องราวรองทุกขของหนวยงานของรัฐ เพื่อใหหนวยงานของรัฐมีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนและเปนไปในแนวทางเดียวกัน โดยหลักเกณฑและวิธีการรวมถึงระยะเวลาที่นํามากําหนดไวในระเบียบฉบับน้ีจะเปนไปตามหลักการที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 และพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 นอกจากน้ีเพื่อใหการบังคับใชกฎหมายมีประสิทธิภาพไดกําหนดใหนําหลักเรื่องการบังคับบัญชาตามสายงานการปฏิบัติราชการของหนวยงานของรัฐ และการใชหลักการบริการงานภาครัฐมาใชดวย

3. “ความเห็นทางกฎหมายของคณะกรรมการกฤษฎีกา”. / โดย ฐิติพร ปานไหม. ว.วิชาการศาลปกครอง. ปที่ 10 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2553) : 110-120.

บทความเรื่องน้ี นําเสนอความเห็นทางกฎหมายของคณะกรรมการกฤษฎีกาในประเด็นขอกฎหมายที่เกี่ยวกับกฎหมายปกครอง จํานวนทั้งสิ้น 4 เรื่อง อันไดแก กรณีเกี่ยวกับความชอบดวยกฎหมายในการกําหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับการวางหลักประกันทางการเงินแกผูที่ไดรับคัดเลือกใหไดรับสัมปทานปโตรเลียม (เรื่องเสร็จที่ 89/2553) กรณีเกี่ยวกับการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ (เรื่องเสร็จที่ 110/2553) กรณีเกี่ยวกับการแตงต้ังคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดในกรณีเจาหนาที่ของรัฐผูทําละเมิดมิไดสังกัดหนวยงานของรัฐ (เรื่องเสร็จที่ 157/2553) และกรณีเกี่ยวกับการเริ่มนับระยะเวลาการใชสิทธิอุทธรณเงินคาทดแทนการเวนคืนที่ดินในกรณีมหีนังสือแจงสิทธิอุทธรณสองครั้ง (เรื่องเสร็จที่ 226/2553)

4. “คําพิพากษาศาลตางประเทศ”. / โดย ณัฐพร อรุณทอง. ว.วิชาการศาลปกครอง. ปที่ 10 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2553) : 90-95. บทความเรื่องน้ี กลาวถึงคําพิพากษาศาลสูงสุดของสหรัฐอเมริกา ในเรื่องที่เกี่ยวกับหนวยงานทาง

ปกครองของมลรัฐใชอํานาจพิจารณาออกใบอนุญาตโดยไมเปนไปตามหลักเกณฑการวิเคราะหอยางสมเหตุสมผล และหลักเกณฑที่กฎหมายกําหนดไว โดยในคดีน้ีมีประเด็นที่จะตองวินิจฉัยวา ตามกฎหมายวาดวยการควบคุมอากาศใหบริสุทธ์ิแลวองคการพิทักษสิ่งแวดลอมแหงสหรัฐอเมริกามีอํานาจพิจารณาทบทวนคําสั่งของหนวยงานทางปกครองที่อนุญาตใหมีการกอสรางโรงงานที่อาจกอมลพิษไดหรือไม เมื่อวินิจฉัยแลวสรุปไดวาองคกรพทิักษสิ่งแวดลอมแหงสหรัฐอเมริกาในฐานะหนวยงานของรัฐบาลกลางมีอํานาจเขาไปวางกฎระเบียบเพื่อใหมลรัฐ พิจารณาออกใบอนุญาตใหมีความเหมาะสมกับเทคโนโลยีปจจุบันและเปนไปตามกฎหมายวาดวยการควบคุมอากาศใหบริสุทธ์ิได

5. “ประเด็นทางกฎหมายมหาชนวาดวยสถานีรับสงสัญญาณโทรศัพทเคลื่อนท่ี : กรณีศึกษาของประเทศ สหพันธสาธารณรัฐเยอรมน”ี. / โดย เบญสุดา เฉลิมวิสุตมกุล. ว.วิชาการศาลปกครอง. ปที่ 1 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2553) : 1-18. บทความเรื่องน้ี กลาวถึงประเด็นทางกฎหมายมหาชนวาดวยสถานีรับสงสัญญาณโทรศัพทเคลื่อนที่

ของประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี โดยในกรณีของสถานีรับสงสัญญาณโทรศัพทน้ัน มีประเด็นพิพาททางกฎหมายจํานวนมากเพราะมีความกังวลเกี่ยวกับอันตรายตอสุขภาพอันอาจเกิดจากคลี่นความถ่ีวิทยุกําลังสูงของสถานีรับสงสัญญาณฯ ประเทศเยอรมัน จึงไดมีการกําหนดคามาตรฐานตาง ๆ ข้ึน เชนการกําหนดระยะหางที่นอยที่สุดในการติดต้ังสถานีรับสงสัญญาณฯ จากอาคารบานเรือนใหปลอดภัยจากอันตรายของคลื่นแมเหล็กไฟฟา และยังไดมีการบังคับใชกฎหมายโดยศาลรัฐธรรมนูญแหงสหพันธ เพื่อพิจารณาในประเด็นที่วาหนาที่ในการ

Page 26: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 22

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

ศิลปว ัฒนธรรม

คุมครองชีวิตและสุขภาพและศาลปกครองเพื่อพิจารณาในประเด็นสิ่งแวดลอม ที่เกี่ยวเน่ืองกับสถานีรับสงสัญญาณ โดยอาศัยอํานาจตามกฎหมายวาดวยการปองกันมลภาวะทางเสียงและอากาศรวมถึงกฎหมายวาดวยสิ่งกอสรางเพื่อแกไขปญหาเกี่ยวกับสถานีรับสงสัญญาณโทรศัพทเคลื่อนที่

1. “จิตรกรเอกและนักอนุรกัษศิลปะของแผนดิน”. / โดย กฤษณา หงสอุเทน. ว.ศิลปวัฒนธรรม. ปที ่ 32 ฉบับที่ 2 (ธันวาคม 2553) : 141-155.

บทความเรื่องน้ีนําเสนอประวัติชีวิตของเฟอ หริพิทักษ หรือ เฟอ ทองอยู จิตรกรที่มีฝมือทางเชิงชางและการเปนนักอนุรักษพุทธศิลปอันล้ําคาของประเทศ วิถีชีวิตของศิลปนทานน้ีนาสนใจ คือ การมุงมั่นศึกษาแนวทางในการสรางสรรคงานศิลปะ และเพื่อทดลองสรางงานศิลปะเทาน้ัน โดยไมไดมุงเนนเพื่อใหไดมาซึ่งประกาศนียบัตรหรือปริญญาบัตร แมวาจะสามารถเขาศึกษาในสถาบันศิลปะทั้ง 4 แหงไดสําเร็จ ไมวาจะเปนโรงเรียนเพาะชาง โรงเรียนประณีตศิลปกรรม มหาวิทยาลัยวิศวภารติ ประเทศอินเดีย หรือราชบัณฑิตสถาน กรุงโรม ประเทศอิตาลี แตกลับไมเคยไดรับประกาศนียบัตรเลยแมแตใบเดียวทั้งน้ีไมใชเพราะไมมีความสามารถแตมีแนวทางเพือ่การศึกษาหาความรูเทาน้ัน พรอมกันน้ีไดนําเสนอผลงานการสรางสรรคทางศิลปะจํานวนมาก ซึ่งลวนแลวแตสะทอนใหเห็นถึงรูปแบบที่ต้ังอยูบนพื้นฐานของความมุงมั่น ความจริงใจ ความรักและศรัทธาตองานศิลปะ 2. “ฉากหลังของเซอรจอหน เบาริ่ง ตอนท่ี 1 แผนยึดเมืองจีนโดยใชฝนครอบงํา”. / โดย ไกรฤกษ นานา. ว.ศิลปวัฒนธรรม. ปที่ 32 ฉบับที่ 2 (ธันวาคม 2553) : 116-139.

บทความเรื่องน้ีบอกเลาประวัติของเซอรจอหน เบาริ่ง ในแงมุมที่ไมคอยมีคนรูมากนัก โดยเฉพาะการเปดโปงภารกิจอื้อฉาวของเซอรจอหนโดยนักการเมืองอังกฤษ เกี่ยวกับความไมชอบมาพากลในสงครามฝน ครั้งที่ 2 (ค.ศ. 1857-1860) แผนของเซอรจอหน คือ การกระทําทุกวิถีทางใหไดมาซึ่งสิทธิพิเศษ การแสวงหากําไรและตักตวงผลประโยชน หากการเจรจาไมเปนผลก็จะบังคับขูเข็ญทุกรูปแบบ เพื่อบรรลุเปาหมายของตนเอง ผลของสงครามทําใหอังกฤษมีชัยชนะแบบเด็ดขาด แตชาวเอเชียกลับพายแพอยางยับเยิน และทําใหคนจีนจํานวนมากตองเสียชีวิตในการสูรบกับคนอังกฤษเพียงเพื่อตองการปลดปลอยตนเอง และยังถูกกลาวหาวาเปนกบฏ แมวาภายหลังเซอรจอหนจะถูกประณามอยางหนักในสภาวาไดกระทําเกินกวาเหตุ จนทําใหถูกถอดถอนออกจากตําแหนง แตเรื่องทั้งหมดก็ถูกปดบังไวเพื่อรักษาหนาคนอังกฤษที่มีผูมีอิทธิพลชักใยอยูเบื้องหลัง ขอมูลเชิงลึกดังกลาวอาจเปนเรื่องเหลือเช่ือในบริบททางประวัติศาสตร แตหากพิจารณาขอเท็จจริงที่เกิดเหตุ ก็จะไดภาพอีกดานหน่ึงของเหตุการณบานเมืองที่อาจนําไปเปนขอมูลรวมกับหลักฐานอื่น ๆ ในการศึกษาประวัติศาสตรไทยไดดีย่ิงข้ึน

Page 27: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 23

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

3. “พระนามทางการท่ีปลาสนาการของสมเด็จพระเจากรุงธนบุร”ี. / โดย สุทธิศักด์ิ ระบอบ สุขสุวานนท. ว.ศิลปวัฒนธรรม. ปที่ 32 ฉบับที่ 2 (ธันวาคม 2553) : 84-97.

ชาวไทยในปจจุบันนิยมเรียกพระนามสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีวา “สมเด็จพระเจาตากสนิ” ซึ่งเปนพระนามที่ปรากฏบนจารึกหนาฐานพระบรมราชานุสาวรียของพระองคที่วงเวียนใหญ บทความเรื่องน้ีไดวิเคราะหถึงเอกสารประวัติศาสตรภายใตการอุปถัมภของราชสํานักรัตนโกสินทรละเลยการเรียกขานพระนาม ทางการของสมเด็จพระเจาตากสิน และถือเปนการลิดรอนสิทธิในการข้ึนครองราชยสมบัติของพระองค สงผลใหพระนามทางการ “สมเด็จพระเจากรุงธนบุร”ี “ปลาสนาการ” ไปจากสํานึกทางประวัติศาสตรของผูคนในยุคน้ัน 4. “เรียก “พอ” ผิดตรงไหน”. / โดย ปรามินทร เครือทอง. ว.ศิลปวัฒนธรรม. ปที่ 32 ฉบับที่ 2 (ธันวาคม 2553) : 98-115.

นําเสนอมุมมองเกี่ยวกับการใชคําวา “พอ” เปนคําเรียกแทนพระนามมหากษัตริยของประชาชน อันเปนผลสะทอนถึงความสัมพันธอยางพิเศษระหวางราชสํานักกับราษฎร และมีการใชอยางกวางขวางในรัชกาลปจจุบัน โดยไมมีหลักฐานแนชัดวามีจุดเริ่มตนที่ใด โดยใคร และเพื่ออะไร ทั้งน้ีผูเขียนไดศึกษาถึงการเรียกพระนามของพระมหากษัตริยในรัชกาลตาง ๆ โดยพบวาการใชคําวา “พอ” เรียกพระมหากษัตริย เพิ่งจะมีรองรอยหลักฐานประมาณ 30 กวาป โดยเริ่มจากการกําเนิดวัน “วันพอแหงชาติ” ในป 2533 อันเปนเคาลางของการเริ่มตนเรียกพระมหากษัตริยวา “พอ” หลังจากน้ันก็มีการนําไปผสมกับคําอื่น ๆ เพื่อใชในวาระตาง ๆ ที่มีความหมายถึงการเทิดทูนพระเกียรติของพระมหากษัตริยมาจนถึงปจจุบัน 5. “หาดเจาสําราญ สถานท่ีประทับทรงพระสําราญในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว”. / โดย ศันสนีย วีระศิลปชัย. ว.ศิลปวัฒนธรรม. ปที่ 32 ฉบับที่ 2 (ธันวาคม 2553) : 38-39.

“... ที่น้ันกําลังเปนที่นิยมของประชาชนทั่วไป ไมอยากจะเขาไปรบกวนความสนุกสบายของเขา ...” เปนพระราชดํารัสในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงตอบผูที่กราบทูลแนะนําใหเสด็จฯ ไปประทับรักษาพระองคดวยพระโรครูมาติซั่มที่เมืองชายทะเลหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ ซึ่งเปนเมืองชายทะเลที่มีช่ือเสียง และผูคนนิยมไปพักผอนมากที่สุดในเวลาน้ันดวยทรงตระหนักพระทัยถึงความยุงยากทั้งปวงที่จะเกิดข้ึน จึงโปรดใหกระทรวงทหารเรือสํารวจหาที่ชายทะเลดานตะวันออกที่มีหาดทรายขาวและนํ้าทะเลใสสะอาดพอที่เสด็จลงสรงได เมื่อพบชายหาดที่มีลักษณะดังกลาวที่ตําบลบางทะลุ หางจากตัวเมืองเพชรบุรี ประมาณ 15 กิโลเมตร จึงโปรดใหสรางพระตําหนักพอเปนที่ประทับสบาย ๆ เทาที่จําเปน ไมหรูหรา เพราะมีพระราชประสงคจะประหยัดพระราชทรัพย งานกอสรางสําเร็จลงเมือ่ป พ.ศ. 2461 และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวเสด็จประทับแรมครั้งแรกเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2461 การเสด็จประพาสครั้งน้ันเปนที่พอพระราชหฤทัยถึงกับพระราชทานนามสถานที่แหงน้ันใหมวา “หาดเจาสําราญ” และเสด็จฯ อีกครั้งเมื่อ พ.ศ. 2464 เปนครั้งสุดทาย เพราะทรงทราบถึงความยากลําบากของขาราชบริพารในการตามเสด็จแตละครั้ง

Page 28: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 24

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

สรรพากรสาส์น 1. “ขอพิจารณาเก่ียวกับการเก็บภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาของสหรัฐอเมริกา ตามหลักสัญชาติและหลัก

ถ่ินท่ีอยู”. / โดย ชัยสิทธ์ิ ตราชูธรรม และดุลยลักษณ ตราชูธรรม. ว.สรรพากรสาสน. ปที่ 57 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2553) : 73-83. ในการศึกษาพิจารณาดังกลาวผูเขียนไดแบงการนําเสนอออกเปน 3 ขอ ดังน้ี 1) การเก็บภาษี

โดยใชหลักสัญชาติหรือหลักความเปนพลเมือง 2) การเก็บภาษีโดยใชหลักถ่ินท่ีอยู ซึ่งตามประมวลรัษฎากรสหรัฐอเมริกา มาตรา 7771 (6) ไดใหหลักในการพิจารณาวาเปนผูมีถ่ินที่อยูในสหรัฐอเมริกาหรือไม 3 หลัก ดังน้ี (1) หลักการไดรับใบสําคัญถ่ินที่อยูถาวร (Green Card Rule) (2) หลักการปรากฏตัวอยูในสหรัฐอเมริกาภายในระยะเวลาอันสมควร (Substantial Presence Rule) (3) หลักการเลือกปแรกเพื่อถือเปนผูมีถ่ินที่อยูในสหรัฐอเมริกา (First year Election to be Treated as a Resident Rule) และ 3) ภาระภาษีซ้ําซอนและวิธีขจัดหรือบรรเทา 2. “ความทาทายของการจัดเก็บภาษีทามกลางภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ (3)”. / โดย ฎาฏะณี วุฒิภดาดร. ว.สรรพากรสาสน. ปที่ 57 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2553) : 93-100.

ในบทความตอนที่ 3 น้ี ผูเขียนไดอธิบายถึงกลยุทธที่ 2 ในการสรางความสมัครใจในการเสียภาษีในภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ น่ันคือการใหความสําคัญกับการบังคับใชกฎหมาย ในกรณีที่มีความเสี่ยงที่สูงในการเกิดความไมสมัครใจในการเสียภาษี ซึ่งการควบคุมระดับความไมสมัครใจในการเสียภาษีในชวงวิกฤตตองเพิ่มการบังคับใชกฎหมายใน 6 ดาน ซึ่งแตละประเทศก็จะใหความสําคัญในแตละดานแตกตางกันไปดังน้ี 1) การรักษาระดับรายไดที่จะไดจากผูเสียภาษีขนาดใหญ 2) การรักษาระดับภาษีหัก ณ ที่จาย 3) การติดตามหน้ีคางใหเขมขนข้ึน 4) การใหความสําคัญกับธุรกิจที่มีการรายงานผลขาดทุนมากข้ึน 5) การเพิ่มการดูแลธุรกรรมระหวางประเทศ 6) การจํากัดการเติบโตของธุรกิจเงินสด 3. “สถานะทางการเงินการคลังของประเทศ : แนวโนมและทิศทางในปงบประมาณ 2554”. ว.สรรพากรสาสน. ปที่ 57 ฉบับที่ 9 (กันยายน 2553) : 29-42.

กลาวถึง สถานการณการคลังในปงบประมาณ 2553 1) คาดการณผลการจัดเก็บรายไดรัฐบาลปงบประมาณ 2553 จะเกินเปากวาสองแสนแปดหมื่นลานบาท 2) คาดวาจะมีเม็ดเงินกวา 2 ลานลานบาทถูกอัดฉีดเขาสูระบบเพื่อกระตุนเศรษฐกิจตลาดปงบประมาณ 2553 3) การขาดดุลงบประมาณสะทอนผลสัมฤทธ์ิในการกระตุนเศรษฐกิจของรัฐบาลภายใตความมั่นคงของฐานะการคลัง 4) หน้ีสาธารณะยังคงอยูภายใตกรอบความย่ังยืนทางการคลัง และแนวโนมและทิศทางสถานการณการคลังในปงบประมาณ 2554 1) รัฐบาลจะจัดเก็บรายไดปงบประมาณ 2554 เปนไปตามเปาหมายที่ต้ังไวในเอกสารงบประมาณ 2) ฐานะทางการคลังของรัฐบาลยังคงอยูในระดับที่เขมแข็ง และอยูภายใตกรอบความย่ังยืนทางการคลัง

Page 29: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 25

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

สารคด ี

1. “จักรยานทางเลือกของการเดินทางในเมืองใหญ”. / โดย สุเจน กรรพฤทธ์ิ. ว.สารคดี. ปที่ 26 ฉบับที่ 309 (พฤศจิกายน 2553) : 113-132.

กลาวถึงสถานการณการใชจักรยานในกรุงเทพมหานคร ซึ่งผูบริหารกรุงเทพมหานครไดมีความพยายามในการสราง “ทางจักรยาน” เพื่อแกปญหาการจราจรและปญหาโลกรอนในเมืองใหญ แมการดําเนินการจะไมชัดเจนและประสบอุปสรรคมาตลอด แตเมื่อเทียบกับจังหวัดอื่นซึ่งนโยบายจักรยานมักอยูในข้ันตอนศึกษาวิจัย ความพยายามของกรุงเทพฯ จึงถือวาเปนรูปเปนรางมากที่สุด สําหรับขอมูลเกี่ยวกับทางจักรยานของกรุงเทพฯ เกิดข้ึนครั้งแรกในป 2535 เปนทางยกระดับเลียบคลองประปาฝงตะวันตก ปจจุบันทางสายน้ีก็ยังคงอยู เพียงแตถูกเขาใจผิดวาเปนฟุตบาท อยางไรก็ดี การสรางทางจักรยานของกรุงเทพฯ ก็ข้ึนอยูกับนโยบายของผูวา ฯ กรุงเทพฯ ในแตละยุคสมัย โดยในสมัยผูวาฯ พิจิตร รัตตกุล (2539-2543) และผูวา ฯ อภิรักษ โกษะโยธิน (2547-2551) มีการกอสรางทางจักรยานถ่ีกวาสมัยอื่น ๆ สวนการทํางานเพื่อสงเสริมการใชจักรยานของกรุงเทพฯ น้ันในชวงของผูวาฯ อภิรักษ มีการบรรจุเรื่องการสงเสริมการใชจักรยานไวในนโยบายอยางชัดเจน สําหรับผูวาฯ คนปจจุบัน คือ ม.ร.ว. สุขุมพันธุ บริพัตร ไดออกนโยบาย “9 มาตรการ สูการขนสงอยางย่ังยืน” และ 1 ใน 9 มาตรการ คือ พัฒนาเสนทางจักรยาน ทัง้น้ีการจะทําใหคนเปลี่ยนรูปแบบการเดินทางใหม ๆ ข้ึนอยูกับการสรางแรงจูงใจใหประชาชนไดเรียนรูถึงประโยชนของจักรยานอยางแทจริง ท้ังตอสุขภาพของตนเองและระบบนิเวศโดยรวม 2. “จาก “ครูดออยส” ถึง “พลังงานสะอาด” เสนทางน้ํามันในโรงกลั่นบางจาก”. / โดย ฐิติพันธ พัฒนมงคล. ว.สารคดี. ปที่ 26 ฉบับที่ 309 (พฤศจิกายน 2553) : 190-191.

ในป 2501 ประเทศไทยไดกอสรางโรงกลั่นนํ้ามันกําลังการผลิต 5,000 บารเรลตอวัน บนพื้นที่ 600 ไร ริมแมนํ้าเจาพระยา เขตพระโขนง โดยกรมการพลังงานทหาร กระทรวงกลาโหม ซึ่งเห็นวาประเทศไทยจําเปนตองดําเนินกิจการผลิตนํ้ามันดวยตนเอง เพื่อสรางความมั่นคงทางพลังงาน การกอสรางแลวเสร็จในป 2507 การดําเนินการในชวงแรกประสบภาวะขาดทุน รัฐจึงเปดประมูลใหเอกชนเชาดําเนินการแตการบริหารงานขาดทุน กระทรวงกลาโหมจึงดําเนินการเองในช่ือโรงกลั่นนํ้ามันทหาร (บางจาก) ตอมาในป 2527 ไดมีการจดทะเบียนนิติบุคคลในช่ือบริษัทบางจากปโตรเลียม จํากัด และดําเนินธุรกิจการกลั่นนํ้ามันพรอมทั้งบริหารงานในรูปแบบบริษัทเอกชน ภายใตภารกิจสําคัญ คือ การดูแลความมั่นคงทางพลังงานและเปนเครื่องมือทํางานเพื่อผลประโยชนของประเทศไทยดวยแนวคิดการพึ่งพาตนเอง 3. “เปดใจและเปดทาง : บทเรียนตางแดนสูวิถีจักรยาน”. / โดย สรณรัชฏ กาญจนะวณิชย. ว.สารคดี. ปที่ 26 ฉบับที่ 309 (พฤศจิกายน 2553) : 95-108.

ปจจุบันเมืองใหญ ๆ ในประเทศแถบยุโรปและอเมริกาเหนือไดพยายามเปลี่ยนตัวเองเปน “เมืองจักรยาน” เพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจก บทความเรื่องน้ีไดนําเสนอถึงกระแสของสังคมที่หันมาใชจักรยานในการสัญจร ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยางเห็นไดชัดทั้งในยุโรป ทวีปอเมริกา และญี่ปุน การใชจักรยานในแตละ

Page 30: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 26

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

เมืองไมวาจะมีปจจัยทางภูมิประเทศ ภูมิอากาศ สภาพจราจร และวัฒนธรรมตางกันอยางไร แตกลับมีบทสรุปที่ตรงกัน คือ เมืองที่สามารถปรับตัวสูวิถีจักรยานไดน้ันจะมีเครือขายเสนทางข่ีจักรยานไดสะดวกทั่วถึงเช่ือมโยงกันทั้งเมือง ทั้งในระดับเขตทองถ่ินถึงระดับขามเมือง พรอมปจจัยอํานวยความสะดวก เชน ที่จอดจักรยาน และเมืองที่เปนเขาชันอยางในประเทศนอรเวยจะมีลิฟตดึงจักรยานข้ึนมา เปนตน ในปจจุบันหลายเมืองกําลังพยายามเปนเมืองจักรยาน ซึ่งไมไดหมายความวาทุกคนตองข่ีจักรยาน แตหมายถึงเมืองทีม่ีวัฒนธรรมและวิถีที่เอื้อตอการข่ีจักรยาน เอื้อตอการเดินถนน และเอื้อตอการสัญจรที่หลากหลาย เพื่อเปนทางเลือกในการสัญจร พรอมกันน้ีไดนําเสนอสถานการณจักรยานตามเมืองตาง ๆ ทั่วโลก เชน แคนาดา โคลอมเบีย เดนมารก เยอรมนี เนเธอรแลนด จีน เกาหลีใต ญี่ปุน เปนตน 4. “เมืองจักรยานท่ีดานซาย”. / โดย สุเจน กรรพฤทธ์ิ. ว.สารคดี. ปที่ 26 ฉบับที่ 309 (พฤศจิกายน

2553) : 134-141. กลาวถึงเมืองจักรยานที่อําเภอดานซาย จังหวัดเลย ซึ่งในชวง 3-4 ปที่ผานมาไดมีคนกลุมเล็ก ๆ

ซึ่งเปนบุคลากรของโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชดานซาย เริ่มตนเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมการเดินทาง แมวาถนนจะไมมีทางจักรยานแมแตสายเดียว โดยมจีุดเริ่มตนจากกิจกรรมภายในโรงพยาบาล ที่มีเปาหมายเพื่อสงเสริมการใชจักรยานของบุคลากรในโรงพยาบาลใหแพรหลายย่ิงข้ึน และมีการจัดกิจกรรมรวมกับชุมชนอยางตอเน่ืองเพื่อใหเห็นถึงประโยชนที่แทจริง เชน กิจกรรมการแขงจักรยาน กิจกรรมปนจักรยานทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และการสงทีมจักรยานเสือภูเขาไปแขงขันในพื้นที่อื่น เปนตน ปจจุบันอําเภอดานซายมีประชากรรวม 4,618 คน และมีประชากรจักรยานไมตํ่ากวา 500 คัน คิดเปนสัดสวนราว 1 ใน 8 ของจํานวนประชากรนับวามีปริมาณที่สูงมาก และทําใหเห็นภาพการใชจักรยานเปนสวนหน่ึงของวิถีชีวิตคนดานซาย 5. “สํารวจ “ไลเคน” ตรวจสุขภาพเมืองกับนักสืบรุนจ๋ิว”. / โดย ฐิติพันธ พัฒนมงคล. ว.สารคดี. ปที่ 26 ฉบับที่ 309 (พฤศจิกายน 2553) : 42-46.

กลาวถึงการสํารวจ “ไลเคน” ในสวนลุมพินีของกลุมนักสืบสายลม ซึ่งเปนกลุมนักเรียนจากโรงเรียนทั่วกรุงเทพฯ การสํารวจไลเคนในครั้งน้ีเพื่อศึกษาคุณภาพอากาศของกรุงเทพมหานคร เน่ืองจากการปรากฏตัวของไลเคนสามารถใชเปนดัชนีบงช้ีถึงคุณภาพอากาศได ดังตัวอยางเมื่อป ค.ศ. 1866 มีรายงานวา ไลเคนที่เคยพบจากตนไมในสวนในลักเซมเบิรกหายไปเน่ืองจากมีการเพิ่มข้ึนของกาซซลัเฟอรไดออกไซด นอกจากน้ียังมีรายงานในยุโรปหลายช้ินระบุวาความหลากหลายในการกระจายตัวของไลเคนมีความสัมพันธกับจํานวนผูปวยโรคมะเร็งปอด และโรคระบบทางเดินหายใจ สําหรับการสํารวจในกรุงเทพฯ แบงไลเคนออกเปน 3 กลุม คือ ไลเคนกลุมทนทานตอมลภาวะสูง ไลเคนกลุมทนทาน และไลเคนกลุมอากาศดี ทั้งน้ีจากการสํารวจไลเคนของกลุมนักสืบสายลมปรากฏวา ไมพบไลเคนในกลุมอากาศดี พบเพียงกลุมทนทานและทนทานสูงน้ันคือพื้นที่ประมาณครึ่งหน่ึงของกรุงเทพฯ มีคุณภาพอากาศระดับ “แย” ถึง “แยมาก” และมีแนวโนมสงผลกระทบตอสุขภาพของประชาชน

Page 31: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 27

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

อีคอนนิวส ์ 1. “ธปท. หวงฟองสบูอสังหาฯ ออกมาตรการคุมสินเชื่อ”. ว.อีคอนนิวส. ปที่ 21 ฉบับที่ 521 (พฤศจิกายน 2553) : 32-33.

บทความเรื่องน้ีวิเคราะหถึงสถานการณการแขงขันในตลาดอสังหาริมทรัพยที่สูงข้ึนอยางตอเน่ืองจนอาจทําใหการปลอยสินเช่ือมีความเสี่ยงสูงข้ึน สงผลใหธนาคารแหงประเทศไทยออกมาตรการคุมการปลอยสินเช่ือเพิ่มเติมสําหรับคอนโดมิเนียมที่มีราคาตํ่ากวา 10 ลานบาทลงมา โดยคํานึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดข้ึนกับทุกฝายที่เกี่ยวของ ไดแก ผูซื้อที่อยูอาศัย ผูประกอบการ และธนาคารพาณิชย เพื่อปองกันความเสี่ยงที่อาจเพิ่มสูงข้ึนในอนาคต พรอมกันน้ีไดนําเสนอบทวิเคราะหจากศูนยวิจัยกสิกรไทยถึงผลกระทบจากการออกมาตรการดังกลาว ซึ่งถือเปนการสรางความสมดุลและเสถียรภาพในตลาดอสังหาริมทรัพยใหเติบโตอยางมั่นคง เพราะถาหากไมออกมาตรการใด ๆ ความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะฟองสบูในภาคอสังหาริมทรัพยอาจจะขยายตัวเพิ่มข้ึนไดในอนาคต

2. “ธุรกิจปรับตัวอยางไรในวิกฤตคาเงินบาท ดร.ประสาร ไตรรัตนวรกุล ผูวาการ ธปท.”. ว.อีคอนนิวส. ปที่ 21 ฉบับที่ 521 (พฤศจิกายน 2553) : 26-28.

นําเสนอสาระสําคัญจากการจัดเสวนาในหัวขอ “ธุรกิจปรับตัวอยางไรในภาวะวิกฤตคาเงินบาท : ปญหาระยะสั้น หรือความทาทายระยะยาว” จัดโดยสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) จากการเสวนาทําใหเห็นถึงแนวทางและมาตรการรองรับของหนวยงานที่เกี่ยวของ โดยธนาคารแหงประเทศไทยไดออกมาตรการตาง ๆ เพื่อรองรับความผันผวนของคาเงินบาทที่แข็งคาข้ึน โดยภาครัฐไดผอนคลายกฎระเบียบเพื่อเพิ่มความคลองตัวใหกับผูประกอบการในการบริหารจัดการเงินตราตางประเทศ และเพื่อชวยลดตนทุนในการทําธุรกรรมเงินตราตางประเทศดวย สําหรับคําแนะนําแกภาคเอกชนยังมีความจําเปนตองเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน โดยพัฒนาคุณภาพและรูปแบบของสินคาใหมีความหลากหลายและตรงความตองการของตลาด รวมทั้งการหาตลาดใหมมาทดแทนตลาดที่กําลังซื้อออนแรงลง ตลอดจนการปรับปรุงการบริหารจัดการดานการเงินและการจัดทําบัญชีใหไดมาตรฐานสากล ซึ่งจะชวยเพิ่มโอกาสในการเขาถึงแหลงเงินทุน ทั้งเงินทุนเพื่อการขยายธุรกิจหรือการวิจัยและพัฒนา ซึ่งเปนการสงเสริมโอกาสทางธุรกิจในอีกทางหน่ึง 3. “เปดยุทธศาสตรใหม ECIT ป 2554 ตอยอดโครงการสนับสนุนธุรกิจดวยไอที”. ว.อีคอนนิวส. ปที่ 21 ฉบับที่ 520 (ตุลาคม 2553) : 33-35.

กลาวถึงโครงการพัฒนาขีดความสามารถการแขงขันอุตสาหกรรมไทยดวยเทคโนโลยีสารสนเทศ(ECIT) ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม ซึ่งมีการตอยอดจากเดิมที่เปนแคแผนโครงการสนับสนุนภาคธุรกิจระยะ 3 ป ใหเปนหน่ึงในหนวยงานมีหนาที่รับผิดชอบการผลักดันศักยภาพธุรกิจดวยเทคโนโลยี พรอมเปดยุทธศาสตรใหมขยายจํานวนธุรกิจที่ไดรับการสนับสนุนใหกระจายออกไปทั่วประเทศ และในป 2554 จะทดลองโครงการ

Page 32: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 28

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

เสริม 2 ประเภท คือ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชวยประหยัดพลังงาน และการสงถายขอมูลระหวางสายการผลิตในภาคอุตสาหกรรมเปนระบบดิจิทัล 4. “เปดยุทธศาสตร “แผนฯ 11” อยูรวมกันอยางมีความสุข เสมอภาค เปนธรรม มีภูมิคุมกันตอการ เปลี่ยนแปลง”. ว.อีคอนนิวส. ปที่ 21 ฉบับที่ 521 (พฤศจิกายน 2553) : 18-25.

บทความเรื่องน้ีเสนอกรอบแนวคิดของแผนพัฒนาฯ ฉบับที ่11 (ป 2555-2559) ซึ่งมีหลักการ สําคัญ ดังน้ี พัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยึดคนเปนศูนยกลางของการพัฒนา ใหความสําคัญกับการสรางกระบวนการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในสังคม พฒันาประเทศสูความสมดุลในทุกมิติอยาง บูรณาการและเปนองครวม พรอมกันน้ีไดนําเสนอการกําหนดวิสัยทัศน “แผนฯ 11” คือ สังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข ดวยความเสมอภาค เปนธรรม และมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง ภายใต 6 ยุทธศาสตรการพัฒนา ดังน้ี 1) ยุทธศาสตรการสรางความเปนธรรมในสังคม 2) ยุทธศาสตรการพัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตอยางย่ังยืน 3) ยุทธศาสตรการสรางความสมดุลและมั่นคงของอาหารและพลังงาน 4) ยุทธศาสตรการสรางเศรษฐกิจ 5) ยุทธศาสตรการสรางความเช่ือมโยงทางเศรษฐกิจและความมั่นคงในภูมิภาค และยุทธศาสตรการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางย่ังยืน 5. “แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟา PDP 2010 เปนทางออกของวิกฤตพลังงานจริงหรือ? เมื่อประชาชนไมม ี สวนรวม”. ว.อีคอนนิวส. ปที่ 21 ฉบับที่ 520 (ตุลาคม 2553) : 20-24.

แผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟาป 2553-2573 (PDP 2010) กําหนดใหภายในป 2573 มีกําลังการผลิตไฟฟาในประเทศ 65,547 เมกะวัตต ในจํานวนน้ีเปนกําลังการผลิตที่ตองพัฒนาข้ึนใหม 54,005 เมกะวัตต โดยไฟฟาที่ใชเช้ือเพลิงจากกาซธรรมชาติถูกลดสัดสวนลงมาอยูที่ไมเกินรอยละ 40 จากที่ผลิตอยูที่รอยละ 70 โดยมีพลังงานที่มาทดแทน ไดแก พลังงานนิวเคลียร ถานหิน รวมถึงการซื้อไฟฟาจากตางประเทศ และพลังงานหมุนเวียนประเภทตาง ๆ ทั้งน้ีในแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟาป 2553-2573 (PDP 2010) กําหนดใหมีโรงไฟฟานิวเคลียร 5 โรง รวมกําลังการผลิต 5,000 เมกะวัตต แตการกอสรางโรงไฟฟาที่ลาชาไมไดเปนไปตามแผน ทําใหแนวโนมกําลังไฟฟาสํารองจะลดตํ่าลงถึงขีดสุดในป 2557 ซึ่งแผนการพัฒนากําลังการผลิตไฟฟาในอนาคตจําเปนตองใหประชาชนมีสวนรวมต้ังแตเริ่มตนและตองทําอยางโปรงใส เพื่อใหเกิดการยอมรับรวมกัน การพัฒนาการผลิตไฟฟาก็จะไมประสบปญหาอยางที่เปนอยูในปจจุบัน 6. “3G สะดุด ประเทศไทยก็แคเสียโอกาส”. ว.อีคอนนิวส. ปที่ 21 ฉบับที่ 521 (พฤศจิกายน 2553) : 34-35.

นําเสนอมุมมองเกี่ยวกับผลกระทบจากความลาชาของระบบ 3G ในประเทศไทย ทั้งน้ี กทช. ไดพยายามออกใบอนุญาต 3G มาเปนระยะเวลาไมนอยกวา 4-5 ปที่ผานมา เริ่มต้ังแตการประกาศแผนแมบทในกิจการโทรคมนาคม ฉบับที่ 2 (ป 2551-2553) : เพื่อวางยุทธศาสตรการพัฒนาโทรคมนาคมในระยะเวลา 3 ป โดยที่กําหนดใหมีการออกใบอนุญาตดําเนินธุรกิจในเทคโนโลยีใหม รวมถึง 3G ดังน้ันความลาชาในการออกใบอนุญาต 3G ยอมกอใหเกิดผลกระทบเน่ืองจากวัฏจักรของการพัฒนาเทคโนโลยีกาวหนาไปอยางไมหยุดย้ัง และคงความคาดหวังที่มีตอบริการโทรคมนาคมในยุค 3G คือ การบริการสาธารณะที่จะเปนถนนขอมูลเสน

Page 33: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

กลุ ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ทนราษฎร. 29

สาระสังเขปสาระสังเขป บทความวารสารบทความวารสาร

ใหญรับ – สงขาวสารจากเมืองใหญไปเมืองเล็ก จากในเมืองไปสูชนบทซึ่งจะทําใหประชาชนไดรับขอมูลขาวสารที่เทาเทียมกัน ถือเปนการกาวกระโดดทางเทคโนโลยีที่มีผลใหเกิดการพัฒนาประเทศในภาพรวม 7. “FTA สหภาพยุโรป-เกาหลีใต”. ว.อีคอนนิวส. ปที่ 21 ฉบับที่ 520 (ตุลาคม 2553) : 37.

สหภาพยุโรปและเกาหลีใตประสบความสําเร็จในการจัดทําความตกลงเขตการคาเสรีเมื่อ 6 ตุลาคม 2553 และจะทําใหมูลคาการคาทั้งสองฝายเพิ่มข้ึนกวา 2 เทาตัวในอีก 20 ปขางหนา ทั้งน้ีการคาของทั้งสองประเทศป 2551 มีมูลคารวม 98.8 พันลานเหรียญสหรัฐฯ และป 2552 มีมูลคารวม 78.8 พันลานเหรียญสหรัฐฯ โดยเกาหลีใตเปนฝายเกินดุล และการเปดเสรีการคาระหวางกันยังเปนการขยายโอกาสเขาสูตลาดภาคบริการของทั้งสองฝายดวย โดยเฉพาะ EU ที่คาดวาจะขยายธุรกิจบรกิารในเกาหลีใตไดมากข้ึน และยังตานการขยายตัวของสหรัฐฯ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกหาก FTA สหรัฐฯ-เกาหลีใตมีผลบังคับใชในระยะตอไป และ EU จะไดประโยชนจากการสงออกสินคาอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมหลายรายการไปเกาหลีใต ดวยภาษี รอยละ 0 หลัง FTA มีผลบังคับใช 8. “69 วัน ปฏิบัติการเหลือเชื่อ”. ว.อีคอนนิวส. ปที่ 21 ฉบับที่ 520 (ตุลาคม 2553) : 14-19

วันที่ 5 สิงหาคม 2553 เปนวันที่อุโมงคเหมืองทองและทองแดง “ซานเอสเตบัน” (San Esteban) ในซานโอเซ ซึ่งต้ังอยูทางเหนือของชิลี ถลมปดทางเขาออกของคนงานโดยสิ้นเชิง และมรีะยะหางจากปากทางเขาอุโมงคไปยังที่พักคนงานช่ัวคราวใตเหมอืงประมาณ 700 เมตร ทําใหการชวยเหลือชีวิตคนงานเปนไปดวยความยากลําบาก จนกระทั่ง 22 สิงหาคม ไดมีสัญญาณที่บงบอกวาคนงานยังมีชีวิตอยูและเปนแรงกระตุนสําคัญในการเรงรีบเดินหนาปฏิบัติการชวยชีวิตคนงานทั้ง 33 ชีวิต ทางการชิลีไดวางแผนกูภัยในครั้งน้ีอยางไมยอมสิ้นหวังทั้งกลางวันกลางคืน รวมทั้งการประสานกับหนวยงานตาง ๆ ในการสรรหาเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับแผนการกูภัย ปฏิบัติการ 69 วันกูชีวิตคนงานจึงไดเริ่มข้ึนอยางจริงจังในเชาวันที่ 13 ตุลาคม 2553 โดยใชเครื่องเจาะลงไปใตดินเพื่อขยายปลองใหกวางกวา 70 เซนติเมตร เพื่อใชเปนเสนทางลําเลียงคนงานข้ึนสูพื้นดินทีละคนโดยอุปกรณที่สรางข้ึนเปนพิเศษที่เรียกวา “แคปซูล ฟนิกซ 2” ปฏิบัติการกูชีวิตครั้งน้ีเปนที่เฝารอคอยเอาใจชวยจากคนทั่วโลก และเปนปฏิบัติการเหลือเช่ือที่คนงานมีชีวิตรอดภายหลังเหมืองถลมผานไปกวา 69 วัน

Page 34: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

- 1 -

รวบรวมโดย พจพิณ พรมเอี่ยม

ศาสตรแหงการบําบัดดวยหินและอัญมณ ี

พลังของหินและอัญมณี เปนสิ่งท่ีเรนลับและไมใชสิง่ท่ีนาเช่ือของคนในยุดปจจุบัน แตคน

โบราณกลับเช่ือวาหินเปนสิ่งท่ีสามารถนํามาชวยเยียวยา รักษา เสริมและเพิ่มความสมดุลภายใน

ของรางกายไดอยางไมนาเช่ือ ซึ่งนอกจากนํามาเปนเคร่ืองประดับแลว ยังนํามาใชเพื่อเสริมเพิ่ม

ความสมดุลใหกับรางกายและจิตใจ หรือท่ีเรียกวา “หินบําบัด” ซึ่งหมายถึง การบําบัดโรคโดยใช

หินหรืออัญมณีท่ีอาศัยพลังจากธรรมชาติ ทําปฏิกิริยากับคลื่นแมเหล็กไฟฟาท่ีมีอยูในรางกายของ

เรา โดยใชผลึกควอตซคริสตัล หรือผลึกหินสีและอัญมณีชนิดตาง ๆ บางตําราเรียกวา คริสตัล

ฮีลลิ่ง (Crystal Healing) หรือ เจม เธอราพี (Gem Therapy) มาเปนเคร่ืองมือสื่อสารและ

เคลื่อนยายพลังงานมาสูตัวเรา โดยมีจุดประสงคเพื่อการบําบัดเยียวยาอาการตาง ๆ ท้ังทางกาย

และทางใจ

การบําบัดโรคดวยหินสีตาง ๆ

หินและอัญมณีแตละชนิดมีคุณสมบัติและประโยชนท่ีแตกตางกัน สิ่งสําคัญตองเลือกใชท่ี

เหมาะสมกับตัวเองหรือกับโรคภัยท่ีตองการบําบัดและยังตองเลือกอยางละเอียดวาหินและอัญมณี

น้ันตองไมมีรอยราว หรือตําหนิใด ๆ ท่ีเน้ือใน เพราะหากมีรอยราวจะทนรับแรงสั่นสะเทือนของ

คลื่นแมเหล็กไฟฟาไมได จะกลายเปนผลรายมากกวาผลดีและไมควรมีขนาดใหญเกินไป คนใน

ยุดปจจุบันอาจเกิดขอสงสัยวาทําไมหินและอัญมณีจึงนํามาใชบําบัดโรคได มีทฤษฎีท่ีกลาวถึง

เหตุผลของการบําบัดโรคดวยหินและอัญมณีไวหลายทฤษฎี ดังน้ี

Page 35: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

- 2 -

1. ทฤษฎี คลื่นสั่นสะเทือน (Vibrational Theory) รางกายคนเราประกอบข้ึนจากคลืน่

สั่น สะเทือนท้ังสิ้น เชน การวัดคลื่นไฟฟาหัวใจ คลื่นสมอง หรือคลื่นไฟฟากลามเน้ือ และเมื่อใดท่ี

คลื่นตาง ๆ ทํางานผิดปกติขาดความสมดุล ก็จะเกิดอาการไมสบายข้ึน การนําพลังหินและอัญมณี

ท่ีเหมาะกับโรคจะชวยใหรูสึกดีข้ึน เชน มีอาการแนนหนาอก ใหใชหยกมาวางบริเวณหนาอก คลื่น

พลังจากหยก จะไปปรับคลื่นสั่นสะเทือนหัวใจ อาการเจ็บแนนหนาอกจะคอยๆ หายไป

2. ทฤษฎีจักระ (Chakra Theory) เปนทฤษฎีของอินเดียโบราณท่ีเช่ือวา พลังแหงชีวิต

ของคนเรา จะเคลื่อนอยูในรางกายข้ึนลงเปนสองแนว และมีจุดตัดกันตรงตําแหนงกลางของลําตัว

ซึ่งถือวาเปนจุดตัดของแนวเคลื่อนของพลังแหงชีวิต 7 แหง คือ จุดกนกบ จุดสะดือ จุดกลาง

ระหวางลิ้นปกับสะดือ จุดกลางทรวงอก จุดลําคอ จุดกลางหนาผาก และจุดกลางกระหมอม จุดจักระ

ท้ังหมดทํางานควบคุมอวัยวะตาง ๆ ภายในรางกายใหสมดุล หากจุดดังกลาวผิดปกติจึงทําใหเกิด

โรคข้ึนมาได

3. ทฤษฎีการถายเทพลังงาน (Exchange Energy Theory) สิ่งมีชีวิตทุกประเภทสราง

พลังออกมาตลอดเวลาท่ีมีชีวิต รางกายของคนเราจึงมีพลังออกมาครอบคลุมรอบตัว บางคร้ัง

รางกายทํางานผิดปกติไป มีการสรางพลังงานออกมามากบางนอยบาง ทําใหสมดุลของพลังงาน

เปลี่ยนไปและจะทําใหรูสึกไมสบายเกิดข้ึน หินและอัญมณีมีพลังตามธรรมชาติท่ีสามารถนํามา

เสริมพลังใหรางกายมีความสมดุลข้ึนได

4. ทฤษฎีดูดพิษ (Toxic Deduction Theory) มีหินและอัญมณีหลายประเภทมี

ความสามารถดูดพลังลบได โดยเฉพาะคริสตัลตระกูลควอตซ ท่ีมีความสามารถดูดซับพลังลบ หรือ

ความเจ็บปวยออกจากรางกายไดดี โดยการวางไวในตําแหนงท่ีมีอาการเจ็บปวดหรือมีอาการ

อักเสบประมาณ 10 นาที จะทําใหรูสึกสบายข้ึน

5. ทฤษฎีเหมือนรักษาเหมือน (Like Cures Like Theory) ทฤษฎีน้ีไดรับอิทธิพลจาก

ตะวันตก โดยเฉพาะในเยอรมันและอังกฤษนิยมนํามาใช เชน การนําพลอยตาเสือมาใชรักษา

อาการท่ีเกี่ยวของตา หรือนําหินหยดเลือดมารักษาโรคท่ีเกี่ยวของกับเลือด เปนตน

Page 36: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

- 3 - การรักษาดวยพลังหินและอัญมณีตองอาศัยแนวทางและหลักเกณฑท่ีถูกตองจึงจะไดผลดี

หากวางผิดสีผิดจุดก็จะไดผลไมเต็มท่ี หรือไมสามารถบําบัดรักษาได โดยท่ัวไปนิยมวางไวตรงจักระ

ท้ัง 7 ในรางกาย ดังน้ี

1. จุดอยูที่กนกบ หินและอัญมณีสีท่ีสัมพันธ คือ สีแดงและสีดํา เชน โกเมน ทับทิม

โมราแดง และ บลัดสโตน เปนตน มีหนาท่ีทําใหรางกายแข็งแรง มีสัญชาตญาณการตอสูเพื่อ

ตนเอง มีภูมิตานทานดี สัมพันธกับตอมหมวกไต กระดูกสันหลัง ลําไสใหญ ขาท้ังสองขาง กระดูก

ท้ังหมด

2. จุดอยูที่สะดือ หินและอัญมณีสีท่ีสัมพันธ คือ สีสม เชน คารเนเลียน อําพันสีสม ซิทริน

สีสม โมรา ไพไรต และออเรนต เปนตน มีหนาท่ีใหความรูสึกทางเพศ นําอาหารไปหลอเลี้ยง

รางกาย ชวยลางพิษ สัมพันธกับรังไข อัณฑะ ตอมลูกหมาก อวัยวะเพศ มาม มดลูก กระเพาะ

ปสสาวะ

3. จุดอยูกลางระหวางลิ้นปกับสะดือ หินและอัญมณีสีท่ีสัมพันธ คือ สีเหลือง เชน

บุษราคัม อําพัน พลอยตาเสือ แคลไซต ซันสโตน และเยลโล ควอตซ เปนตน มีหนาท่ีชวยระบบ

ประสาททํางานไดดี ชวยระบบยอยอาหาร ดูดซึมอาหาร เผาผลาญอาหาร ความคุมอารมณไดดี

ตอมท่ีเกี่ยวของไดแกตับออน ตอมหมวกไต ตับ ถุงนํ้าดี ระบบประสาทกลามเน้ือ

4. จุดกลางทรวงอก หินและอัญมณีท่ีสัมพันธ คือ สีเขียวและสีชมพู เชน โรสควอตซ คัน

ไซต หยก มาลาไคท เขียวสอง มรกต และโรโดไนต เปนตน ชวยบําบัดประสาทสวนบนและ

สวนลางใหเกิดสมดุล อวัยวะท่ีเกี่ยวของ ไดแก หัวใจ ปอด ตอมไทมัสท่ีเกี่ยวของกับภูมิตานทาน

ยังสัมพันธกับแขนท้ังสองขาง

5. จุดกลางลําคอ หินและอัญมณีท่ีสัมพันธ คือ สีฟา เชน เทอรควอยส อความารีน ซิลิกา

บลูเซอรคอน และคริสโซโคลลา เปนตน สัมพันธกับตอมไทรอยดและพาราไทรอยด ลําคอ และ

ปาก มีหนาท่ีเกี่ยวกับการหายใจ การแสดงออก การพูด และการสื่อสาร

6. จุดกลางหนาผาก หินและอัญมณีท่ีสัมพันธ คือ สีนํ้าเงิน สีคราม เชน ไพลิน โซดาไลต

ลาพิส ลาซูลี และอซูไรต เปนตน จุดน้ีมีหนาท่ีเปนตาดวงท่ีสาม ชวยบําบัดอาการท่ีสัมพันธกับ

ระบบประสาท ตอมใตสมอง ตอมฐานสมองเกี่ยวกับตาขางซาย จมูก และหูท้ังสองขาง จักระน้ีมี

อานุภาพใหเขาสมาธิงาย จิตใจสงบสุข

7. จุดกลางกระหมอม หินและอัญมณีท่ีสัมพันธ คือ สีมวงทุกเฉดสี และสีขาว เชน เพชร

อเมทิสต ซารอยต คริสตัล ควอตซ เปนตน ชวยบําบัดอาการท่ีสัมพันธกับตอมไพเนียลและศูนย

รวมประสาทของตาขางขวา

Page 37: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

- 4 - คุณสมบัติของหินและอัญมณใีนการบําบัดโรค

เพชร บําบัดโรคลมชัก อาการนอนไมหลับ ปองกันอาการอักเสบของผิวหนัง สรางความ

อบอุนแกรางกาย เพิ่มภูมิคุมกันโรค เปนตน

มรกต บําบัดอาการอักเสบ ลดไข ปวดศีรษะ เสริมสรางกระดูกและฟน ชวยยอย

อาหาร ชะลอความแก บรรเทาอาการตกเลือด ฟอกเลือด ความดันเลือดสูง เปนตน

โกเมน บําบัดอาการทางจิตท่ีกระทบหัวใจ ปวดประจําเดือน เลือดจาง ใหความอบอุน

แกรางกาย และเสริมการทํางานของระบบไหลเวียนเลือด เปนตน

หยก บําบัดอาการทางไต หอบหืด อารมณฟุงซานต่ืนเตน ระงับอาการเกี่ยวกับตา ลด

ความเครียด ชวยระบบยอยอาหาร สวมใสติดตัวจะชวยปรับภูมิคุมกันรางกายและตานโรค

ไขมุก รักษาโรคท่ีเกิดจากความรอน หรือสูญเสียนํ้าในรางกาย และโรคเกี่ยวกับไต

ทับทิม เสริมการทํางานของระบบไหลเวียนเลือด บําบัดโรคเกี่ยวกับอวัยวะเพศ กระตุน

การทํางานของหัวใจ สรางเม็ดเลือด ฟอกเลือด และชวยในการหมุนเวียนโลหิต

ไพลิน บรรเทาโรคเกี่ยวกับระบบประสาท เยียวยาอาการทางสมอง และผิวหนังอักเสบ

พลอยตาเสือ สวมใสเปนสรอยคอบรรเทาอาการปวดศีรษะ และคลายเครียด

เพทาย บําบัดโรคท่ีเกิดจากความรอนหรือไดรับรังสีอุลตราไวโอเล็ตมากเกินไป

บุษราคัม ทํางานกับตอมใตสมองไดดี ชวยระงับประสาท สรางความสมดุลฮอรโมนใน

รางกาย ปองกันโรคหวัด และชวยใหปอดทํางานไดดี

เทอรควอยซ บําบัดเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ ภูมิแพ ไขขออักเสบ คลายเครียด

เหมาะสําหรับผูชายมากกวาผูหญิง สวมเปนสรอยเพื่อลดอาการต่ืนกลัว

อําพัน มีคุณสมบัติในการปองกันการติดเช้ือไดดีเมื่อมีแผลอักเสบ บรรเทาอาการปวดเมื่อ

ชวยระบาย และชวยผอนคลายความตึงเครียดไดดี

การนําหินและอัญมณีตาง ๆ มาใชเพื่อการบําบัดโรคน้ัน เปนศาสตรและศิลปท่ีเช่ือกันวา

มีมาต้ังแตสมัยโบราณแลว ปจจุบันถูกจัดใหอยูในการบําบัดทางเลือก หรือการแพทยนอกระบบ

โดยผูใชตองศึกษาคุณสมบัติและพลังของหินและอัญมณี ท่ีจะนํามาบําบัดอยางละเอียดวาแตละ

ชนิดมีพลังในการบําบัดอยางไรและเลือกใชใหเหมาะสมกับโรค การบําบัดจะไดผลดีหรือไมก็ข้ึนอยู

กับความเช่ือของแตละบุคคลวาจะยอมรับหรือเขาใจศาสตรดานน้ีมากนอยแคไหน

บรรณานุกรม

จุฑามาศ ณ สงขลา. มหัศจรรยพลังหินบําบัด. พิมพครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ : ดับเบิ้ลนายน, 2546

ลลิตา ธีระสิร.ิ รัตนชาติบําบัด. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : รวมทรรศน, 2548.

Page 38: mT. · 2011-06-08 · เพื่อช วยกระตุ นให เกิดการกู ยืม การบริโภค และการลงทุน 2. “มหาอํานาจมือสอง”

คณะผู ้จัดทํา

ทีปรึกษา

นายจเร พันธุ ์เปรือง รองเลขาธิการสภาผู ้แทนราษฎร

นางวิจิตรา วัชราภรณ์ ผู ้ อํานวยการสํานักวิชาการ

นางสาวอารีรัตน์ วิชาช่าง ผู ้ อํานวยการกลุ่มงานห้องสมุด

จัดทําสาระสังเขป

นางณิชานี ฉุนฉลาด บรรณารักษ์ ๘ ว.

นางสาวสุนิดา บุญญานนท์ บรรณารักษ์ ๘ ว.

นางสาวพจพิณ พรมเอียม บรรณารักษ์ ๖

นางสาววัชราพร ยอดมิง นิติกร ๕

นางสาวรติกร เจือกโว้น นิติกร ๔

ออกแบบปก

นายบัณฑิต อุทาวงค ์ บรรณารักษ์ ๕

จัดพิมพ์

นางสาววศินี มันกลัด เจ้าหน้าทีบันทึกข้อมูล ๖

จัดทํารูปเล่ม

นางสาวญานิกา เฟืองฟุ ้ ง เจ้าพนักงานธุรการ ๖

นางสาวสุพัณดา สุภาพ เจ้าหน้าทีธุรการ ๓

กลุ่มงานห้องสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผู ้แทนราษฎร

พิมพ์ที สํานักการพิมพ์ สํานักงานเลขาธิการสภาผู ้แทนราษฎร