21
การศึกษาระบบสารสนเทศ สําหรับงานบํารุงรักษาของการทางพิเศษแหงประเทศไทย โดย นายอิศรา ชูวิศิษฐ รหัส 4610722013 นายอนันต พลอยสมบูรณ รหัส 4610722007 นางสาวจงกล จูเมฆา รหัส 4610722026 นายชนะสันติ ทําพันธ รหัส 4610722023 เสนอ นาวาอากาศเอก ดร.บูรพา ชดเชย เปนสวนหนึ ่งของการศึกษาวิชา ทบ.602 ระบบสารสนเทศการบริหาร 1 ภาคเรียนที 2 ปการศึกษา 2546 โครงการบัณฑิตศึกษาเทคโนโลยีการบริหาร (ภาคพิเศษ) สํานักฝกอบรม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

ICT Paper Group5 - atspnida.tripod.comatspnida.tripod.com/at602/ICT_Paper_Group5.pdf · คํานํา ในโลกยุคโลกาภิวัตน ระบบสารสนเทศและการสื่อสารเป

Embed Size (px)

Citation preview

21

การศึกษาระบบสารสนเทศ สําหรับงานบํารุงรักษาของการทางพิเศษแหงประเทศไทย

โดย นายอิศรา ชูวิศิษฐ รหัส 4610722013 นายอนันต พลอยสมบูรณ รหัส 4610722007 นางสาวจงกล จูเมฆา รหัส 4610722026 นายชนะสันติ ทําพันธ รหัส 4610722023

เสนอ นาวาอากาศเอก ดร.บูรพา ชดเชย

เปนสวนหน่ึงของการศึกษาวิชา ทบ.602 ระบบสารสนเทศการบริหาร 1 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2546

โครงการบัณฑิตศึกษาเทคโนโลยีการบริหาร (ภาคพิเศษ) สํานักฝกอบรม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

คํานํา

ในโลกยุคโลกาภิวัตน ระบบสารสนเทศและการสื่อสารเปนหัวใจสําคัญประการหน่ึงของความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจ เน่ืองจากโลกไดเขาไปสูยุคท่ีปราศจากพรหมแดนของการดําเนินธุรกิจลง การดําเนินธุรกิจในที่ใดที่หน่ึงสามารถท่ีจะไดรับผลกระทบที่เกิดจากท่ีใดท่ีหน่ึงอยูเสมอและผลกระทบเหลาน้ีก็สามารถที่จะเกิดข้ึนโดยอยางทันทีทันใด ท้ังน้ีเน่ืองมาจากการหมดสิ้นไปของกําแพงในการติดตอสื่อสารระหวางกันน่ันเอง จึงจะเห็นไดวาองคการในยุคปจจุบันไมวาจะดําเนินงานอยูในภาครัฐหรือเอกชน ไมสามารถที่จะปฏิเสธการเขามาของเทคโนโลยีสารสนเทศเหลาน้ีไดเลย ดังน้ันความรูเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีความสําคัญย่ิงท่ีองคการตองพึงตระหนักในการพัฒนาบุคลากรใหทันกับการเปล่ียนแปลง

รายงานฉบับน้ีไดจัดทําข้ึน เพื่อศึกษาการพัฒนาระบบสารสนเทศขององคการภายในประเทศ

ไทย โดยคณะผูจัดทําไดเลือกทําการศึกษาระบบสารสนเทศของการทางพิเศษแหงประเทศไทย ซ่ึงมีการนําโปรแกรมระบบงาน MEXIMO มาใชเปนเคร่ืองมือดําเนินแผนยุทธศาสตร เพื่อสรางระบบสารสนเทศในงานดานการบํารุงรักษาทางพเิศษ ทั้งนี้ในการศึกษาครั้งนี้ถือเปนสวนหนึ่งของศึกษารายวิชา ทบ.602 ระบบสารสนเทศการบริหาร 1 หลักสูตรเทคโนโลยีการบริหาร (การจัดการประยุกต) สํานักฝกอบรม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร คณะผูจัดทํา - กลุมท่ี 5

นายอศิรา ชูวิศิษฐ นายอนันต พลอยสมบูรณ นายชนะสันติ ทําพันธ นางสาวจงกล จูเมฆา

สารบัญ การศึกษาระบบสารสนเทศสําหรับงานบํารุงรักษาของการพิเศษแหงประเทศไทย บทท่ี 1 บทนํา 1.1 ประวัติและความเปนมาขององคการ 1 1.2 วิสัยทัศนและนโยบายองคการ 1 1.3 พันธกิจของหนวยงาน 1 1.4 นโยบายของหนวยงาน 2 1.5 คณะกรรมการบริหาร 3 1.6 การแบงสวนงาน (Organization Chart) 4 1.7 โครงการในความรับผิดชอบ 5

บทท่ี 2 ยุทธศาสตรระบบสารสนเทศขององคการ 2.1 วิสัยทัศนดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของหนวยงาน 7

2.2 เปาหมายโดยรวมและยุทธศาสตรในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของ กทพ. 7

2.3 การบริหารจัดการแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร 8 2.4 สรุปยุทธศาสตรที่มีความสอดคลองกับยุทธศาสตรแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสารของประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549 9

บทท่ี 3 โครงการระบบสารสนเทศสําหรับงานบํารุงรักษาของ กทพ. 3.1 การริเร่ิมโครงการ 13

3.2 แนวทางการพัฒนาระบบ 14 3.3 ชนิดของระบบสารสนเทศจากระบบ 15 3.4 การเปล่ียนแปลงและระดับข้ันการเปล่ียนแปลงองคการ 15

3.5 ปญหาและอุปสรรค 18 3.6 ขอเสนอแนะ 18

1

บทท่ี 1 บทนํา

1.1 ประวัติและความเปนมาขององคการ

สืบเน่ืองจากปญหาการจราจรติดขัดไดเกิดความสูญเสียและความสูญเปลาทางดานเศรษฐกิจของประเทศอยางใหญหลวงและมีแนวโนมทวีความรุนแรงข้ึนเปนลําดับรัฐบาลจึงไดพิจารณาจัดตั้งหนวยงานเฉพาะขึ้นมาเพื่อศึกษารูปแบบ จัดสรางและบริหาร และกอตั้งการทางพิเศษแหงประเทศไทย (กทพ.) ข้ึน โดยใหทําหนาท่ีกอสราง "ทางพิเศษ" เพื่อบรรเทาและแกปญหาการจราจรดังกลาว

การทางพิเศษแหงประเทศไทย (กทพ.) เปนรัฐวิสาหกิจท่ีกอตั้งข้ึนตามวัตถุประสงคขางตน โดยประกาศของคณะปฏิวัติฉบับท่ี 290 ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2515 ใหดําเนินการในรูปของรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงมหาดไทยโดยมีวัตถุประสงคท่ีจะดําเนินการกอสรางหรือจัดใหมีทางพิเศษ บํารุงรักษาทางพิเศษ จัดดําเนินการหรือควบคุมธุรกิจเกี่ยวกับระบบการขนสงมวลชน ตลอดจนดําเนินงานตาง ๆ ท่ีเกี่ยวกับทางพิเศษเพื่ออํานวยความสะดวกและความรวดเร็วในการจราจรและการขนสงเปนพิเศษ ชวยขจัดปญหาและอุปสรรคในสวนท่ีเกี่ยวกับเสนทางคมนาคม โดยเฉพาะอยางย่ิงในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

"ทางพิเศษ" หมายถึง ทางหรือถนนซ่ึงจัดสรางข้ึนใหม ไมวาในระดับพื้นดิน เหนือพื้นดินหรือพื้นนํ้า เพื่ออํานวยความสะดวกในการจราจรเปนพิเศษ และหมายความรวมถึงทางซ่ึงใชสําหรับรถรางเดียวหรือรถใตดิน สะพานอุโมงคเรือสําหรับขนสงรถขามฟาก ทาเรือสําหรับข้ึนลงรถ ทางเทา ท่ีจอดรถ เขตทาง ไหลทาง เข่ือนกั้นนํ้า ทอทางระบายน้ํา กําแพงกันดิน ร้ัวเขต หลักระยะ สัญญาณจราจร เคร่ืองหมายจราจร และอาคารหรือสิ่งอื่นอันเปนอุปกรณเกี่ยวกับงานทางพิเศษ

1.2 วิสัยทัศนและนโยบายองคการ “มุงไปสูการเปนองคการที่ใหบริการทางพิเศษ อยางมีคุณภาพ และปลอดภัย บนรากฐานการบริหาร และดําเนินงานอยางโปรงใส มีประสิทธิภาพ ตรวจสอบได และมีศักยภาพแขงขันเชิงธุรกิจได โดยคํานึงถึงความคุมทุนทางธุรกิจ ความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม และการเอื้อประโยชนตอสังคม”

1.3 พันธกิจของหนวยงาน 1) พัฒนาทางพิเศษและพ้ืนท่ีในเขตทางพิเศษใหมีประสิทธิภาพและปลอดภัย 2) ใหบริการท่ีมีคุณภาพและคุณคาเพิ่ม (Value Added) โดยตระหนักอยูเสมอวา “ผูใช

บริการ คือคนสําคัญ” 3) พัฒนาองคการใหมีความเปนองคการเชิงธุรกิจ มีสถานะการเงินม่ันคง และมีการ

กํากับดูแลบริหารจัดการท่ีดี

2

4) จัดการและควบคุมคุณภาพสิ่งแวดลอมบริเวณรอบทางพิเศษใหเปนไปตามมาตรฐานท่ีกฎหมายกําหนด

1.4 นโยบายของหนวยงาน

นโยบายที่ 1 ดําเนินการดูแลรักษาความปลอดภัยจากการดําเนินงาน ทางพิเศษ และควบคุมคุณภาพการบริการอยางตอเนื่อง โดยการลดความสูญเสียจากอุบัติเหตุ และเพิ่มความสะดวก รวดเร็วในการใหบริการ

นโยบายที่ 2 ดําเนินการบํารุงรักษาทางพิเศษ รวมทั้งอาคาร สถานที่อุปกรณ และเคร่ืองมือตางๆใหมีสภาพใชงานไดดีและเปนไปตามมาตรฐาน โดยการปองกันมิใหชํารุดเสียหาย และติดตามตรวจสอบซอมแซมแกไขอยางรวดเร็ว และตอเน่ืองเม่ือมีการชํารุดเสียหาย

นโยบายที่ 3 ดําเนินการหาและเพิ่มรายไดดวยวิธีการ และกิจกรรมตางๆ ท่ี กทพ. มีความสามารถและมีอํานาจท่ีจะทําได โดยการเพิ่มคุณคาการใหบริการ ขยายความหลากหลายของบริการ อํานวยความสะดวกในการใชบริการ และประชาสัมพันธการบริการอยางตอเน่ือง

นโยบายที่ 4 ดําเนินการพัฒนาระบบบริหารการเงินและการลงทุนใหมีความคลองตัวและเหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจของประเทศ โดยการรักษาสภาพคลองทางการเงิน บริหารหน้ีอยางมีประสิทธิภาพ และกระจายการลงทุนมิใหเกิดภาระหนักในปใดปหน่ึง

นโยบายที่ 5 ดําเนินการพัฒนาระบบบริหารจัดการองคการและบริหารทรัพยากรบุคคลใหสามารถแขงขันทางธุรกิจและสามารถปฏิรูปองคการไดสอดคลองกับแนวนโยบายของรัฐโดยการควบคุมคาใชจาย บริหารองคการตามแนวคดิการบริหารแบบมีสวนรวมและแนวคดิการสรางองคการแหงการเรียนรู

นโยบายที่ 6 ดําเนินการดูแลรักษาและควบคุมคุณภาพสิ่งแวดลอมบริเวณรอบทางพิเศษ ใหเปนไปตามมาตรฐานท่ีกฎหมายกําหนด โดยการตรวจติดตาม และแกไขอยางตอเนื่อง

3

1.5 คณะกรรมการบริหาร

นายอดิศักด์ิ ภูวราวุฒิพานิช รองปลัดกระทรวงคมนาคม

นางพรรณี สถาวโรดม ผูอํานวยการสํานักงานบริหารหน้ีสาธารณะ

นายประพันธ นัยโกวิท รองอัยการสูงสุด

นายคํารบลักข์ิ สุรัสวดี ผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนการขนสง

และจราจร

นายสุรชัย ธารสิทธิ์พงษ อธิบดีกรมทางหลวงชนบท

นายโสภณ ดวงแข รองอธิบดีกรมทางหลวงฝายวิชาการ

4

พลตํารวจตรี พิทักษ จารุสมบัติ ผูบังคับการอํานวยการ สํานักงานตํารวจสันติบาล

นายวรศักด์ิ กนกนุกุลชัย ศาสตราจารยและคณบดี สํานักวิชาวิศวกรรมโยธา

1.6 การแบงสวนงาน (Organization Chart)

ฝายบริหารท่ัวไป

ฝายการเงินและบัญชี

ฝายวางแผนโครงการ

ฝายสารสนเทศ

ฝายกฎหมาย

ฝายกรรมสิทธิ์ที่ดิน

ฝายโครงการ ทางดวน

ฝายบํารุงรักษา

ฝายจัดเก็บคาผานทาง

ฝายควบคุมจราจร

5

1.7 โครงการในความรับผิดชอบ การทางพิเศษแหงประเทศไทย (กทพ.) ไดกําหนดแผนแมบทของระบบทางพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมท้ังระบบทางพิเศษระหวางเมือง ประกอบดวยโครงการตาง ๆ ซ่ึงแบงไดดังน้ี ทางพิเศษ ท่ีเปดบริการแลวมี 5 สายทาง รวมระยะทาง 171.2 กิโลเมตร ดังน้ี

1. ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ระบบทางดวนข้ันท่ี 1) ระยะทางรวม 27.1 กิโลเมตร ประกอบดวย สายดินแดง - ทาเรือ ระยะทาง 8.9 กิโลเมตร เปดใหบริการ 29 ตุลาคม 2524 สายบางนา - ทาเรือ ระยะทาง 7.9 กิโลเมตร เปดใหบริการ 17 มกราคม 2526 สายดาวคะนอง - ทาเรือ ระยะทาง 10.3 กิโลเมตร เปดใหบริการ 5 ธันวาคม 2530 การปรับปรุงแกไขทางข้ึน - ลง ทางพิเศษเฉลิมมหานคร เพิ่มเติม 3 บริเวณ เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ

ในการใหบริการ ไดแก บริเวณทางแยกตางระดับคลองเตย เปดใหบริการ 19 เมษายน 2539 บริเวณสุขุมวิท เปดใหบริการ 7 พฤศจิกายน 2539 บริเวณถนนเพชรบุรี เปดใหบริการ 15 กุมภาพันธ 2540

2. ทางพิเศษศรีรัช (ระบบทางดวนข้ันท่ี 2) ระยะทางรวม 38.4 กิโลเมตร ประกอบดวย สวน A เร่ิมจากถนนรัชดาภิเษกผานทางแยกตางระดับพญาไทถึงถนนพระราม 9 ระยะทาง 12.4

กิโลเมตร เปดใหบริการ 2 กันยายน 2536 สวน B สายหลัก มีแนวเชื่อมตอกับสวนเอที่บริเวณทางแยกตางระดับพญาไท แลวไปเชื่อมตอกับ

ทางพิเศษเฉลิมมหานคร ที่บริเวณบางโคล ระยะทาง 9.4 กิโลเมตร เปดใหบริการ 6 ตุลาคม 2539 สวน C เชื่อมกับทางพิเศษสวน A โดยเร่ิมจากถนนรัชดาภิเษกถึงถนนแจงวัฒนะ ระยะทาง 8.0

กิโลเมตร เปดใหบริการ 2 กันยายน 2536 สวน D เร่ิมจากถนนพระราม 9 ถึงถนนศรีนครินทร ระยะทาง 8.6 กิโลเมตร เปดใหบริการ 1

เมษายน 2543

3. ทางพิเศษฉลองรัช (ทางดวนสายรามอินทรา - อาจณรงค) มีจุดเร่ิมจนจากถนนรามอินทรา กิโลเมตรที่ 5.5 ถึงอาจณรงค ระยะทาง 18.7 กิโลเมตร โดยมีถนนประดิษฐมนูธรรมขนานขนาบจากรามอินทราไปถึงเอกมัย ทางพิเศษฉลองรัชไดเปดใหบริการตลอดสาย เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2539

4. ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางดวนสายบางนา - ชลบุรี) ระยะทาง 55.0 กิโลเมตร มีจุดเร่ิมตนท่ี บริเวณบางนา-ตราด (กม. 2 + 500) ไปถึงชลบุรี (กม. 55 + 350) เปดใหบริการตลอดสาย เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ 2543

5. ทางพิเศษอุดรรัถยา (ทางดวนสายบางปะอิน - ปากเกร็ด) ระยะทางรวม 32 กิโลเมตร เร่ิมตนจากถนนแจงวฒันะ - บางไทย โดยระยะท่ี 1 จากถนนแจงวฒันะ - เชียงราก และตอเช่ือมกับถนนทาง

6

เขามหาวทิยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต ระยะทาง 22 กิโลเมตร เปดใหบริการ 2 ธันวาคม 2541 ระยะท่ี 2 จากเชียงราก - บางไทร ระยะทาง 10 กิโลเมตร เปดใหบริการ 1 พฤศจิกายน 2542

7

บทท่ี 2 ยุทธศาสตรระบบสารสนเทศขององคการ

2.1 วิสัยทัศนดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของหนวยงาน

“เปนหนวยงานท่ีนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารท่ีเหมาะสมไดมาตรฐาน และมีความปลอดภัยมาประยุกตใชเพื่อใหการบริการทางพิเศษมีคุณภาพ และเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการใหเปนองคการเชิงธุรกิจท่ีดี” 2.2 เปาหมายโดยรวมและยทุธศาสตรในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของ กทพ.

2.2.1 เปาหมายโดยรวมของการพัฒนาระบบไอซีทีของการทางพิเศษแหงประเทศไทย

- ใชไอซีทีในการเพ่ิมประสิทธิภาพการใหบริการท่ีมีคุณภาพ ปลอดภัย สะดวก และเปนที่ไววางใจ เพ่ือนําไปสูการเพ่ิมจํานวนผูใชบริการทางพิเศษ

- ใชไอซีทีในการเพ่ิมประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ใหมีความสะดวก รวดเร็ว รวมท้ังมีสารสนเทศ ที่เพียงพอ ทันสมัย และถูกตอง สําหรับการตัดสินใจ กําหนดนโยบาย และแกปญหาใน การปฏิบัติงานและบริหารจัดการ

- ยกระดับความสามารถของบุคลากรในการประยุกตใชไอซีที

2.2.2 ยุทธศาสตรในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของ กทพ.

ยุทธศาสตรที่ 1 การเพ่ิมศักยภาพทรัพยากรบุคคลของการทางพิเศษแหงประเทศไทยในการใชไอซีที

พัฒนาบุคลากรท้ังในและนอกสวนงานไอซีที ใหมีศักย

ภาพสูงข้ึนในการใชไอซีทีเพ่ือการปฏิบัติงาน การศึกษา การเรียนรู และเปนการยกระดับบุคลากรใหเปนผูปฏิบัติงานท่ีทรง

ความรู (Knowledge worker)

8

ยุทธศาสตรที่ 2 การนําไอซีทีมาใชประโยชนในการบริหารและการใหบริการของการทางพิเศษแหงประเทศไทย

2.3 การบริหารจัดการแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

ผังโครงสรางการบริหารจัดการงานดานไอซีที ของการทางพิเศษแหงประเทศไทย

ผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (CIO) ของ

การทางพิเศษแหงประเทศไทย

คณะทํางาน เทคโนโลยีสารสนเทศของ

การทางพิเศษแหงประเทศไทย

ฝายบํารงุรักษา

กองบํารงุรักษาอุปกรณ

ฝายสารสนเทศ

กองระบบงาน คอมพิวเตอร

กองปฏบัิติการ คอมพิวเตอร

พัฒนาเครือขายการส่ือสารขอมูลใหมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล และบริหารจัดการการใชเครือขายใหมีประสิทธิภาพและมีความม่ันคง พัฒนาระบบคอมพิวเตอร ระบบงานและฐานขอมลูโดยใชเทคโนโลยีท่ีเปนมาตรฐานเปด เพ่ือใหสามารถเช่ือมโยงแลกเปล่ียนและใชขอมูลรวมกันไดท้ังภายในและภายนอก รวมท้ังสงเสริมการใชไอซีทีเพ่ือใหการบริการและการบริหารมีความสะดวก

รวดเร็วโปรงใส และมีประสิทธิภาพ

9

2.4 สรุปยุทธศาสตรท่ีมีความสอดคลองกับยุทธศาสตรแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549

ยุทธศาสตรของแผนแมบท ไอซีที กทพ. พ.ศ. 2547-2549

ยุทธศาสตรของแผนแมบทไอซีที กระทรวงคมนาคม พ.ศ. 2547-2549

ยุทธศาสตรของแผนแมบทไอซีทีประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549

หมายเหตุ

1. ยุทธศาสตรการเพิ่ม ศักยภาพทรัพยากรบุคคลของการทางพิเศษแหงประเทศไทย ในการใชไอซีที

1.1 ดําเนินการพัฒนาความรู ความสามารถและทักษะทางดานไอซีทีเพื่อการปฏิบัติงาน

1. ยุทธศาสตรการใชไอซีทีเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยและสังคมไทย

1.1 พัฒนาและเตรียม

ความพรอมดานทรัพยากรบุคคลของกระทรวงใหสามารถใชประโยชนจากไอซีทีไดอยางเต็มที่

2. สงเสริมใหประชาชนใชประโยชนจากสารสนเทศที่เหมาะสม โดยเรงรัดการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานใหทั่วถึงและเทาเทียมกัน เพ่ือเปนเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู สรางภูมิปญญา ใหเกิดมูลคาเพิ่มแกผลิตภัณฑพื้นฐานทางการเกษตรและตสาหกรรมชุมชนตาง ๆ โดยเฉพาะที่เกี่ยวของกับภูมิปญญาไทย และเพ่ิมรายไดกับยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทย ทําใหเกิดสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู ควบคูกับการสรางภูมิคุมกันภัยคุกคามและผลกระทบในทางลบที่มากับยุคโลกาภิวัฒน

2.8 การพัฒนาและการเตรียมความพรอมดานทรัพยากรมนุษยใหใชประโยชนไอซีทีในการพัฒนาสังคมไทยใหเปนสังคมการเรียนรูท่ีมีศักยภาพตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยีงและ วัฒนธรรมอันดีงาม

10

ยุทธศาสตรของแผนแมบท ไอซีที กทพ. พ.ศ. 2547-2549

ยุทธศาสตรของแผนแมบทไอซีที กระทรวงคมนาคม พ.ศ. 2547-2549

ยุทธศาสตรของแผนแมบทไอซีทีประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549

หมายเหตุ

1.2 ดําเนินการพัฒนาความรูความสามารถและทักษะทางดานไอซีทีเพื่อการบริหารจดัการเทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสาร

2. ยุทธศาสตรการนําไอซีทีมาใชประโยชนในการบริหารและการใหบริการของการทางพิเศษแหงประเทศไทย

3. ยุทธศาสตรการนําไอซีทีมาใชประโยชนในการบริหารและการใหบริการของภาครัฐ

7. การนํา ICT มาใชประโยชนในการบริหารและการใหบริการของภาครัฐ โดยใหรัฐจัดต้ังองคกรกลางระดับชาติรวมรับผิดชอบการพัฒนาและสงเสริมการใช ICT ในภาครัฐเพื่อใหเกิดบูรณาการและเอกภาพในระบบขอมูล การวางแผน การประสานงาน การจัดสรรงบประมาณ และการจัดซื้อจัดจางที่โปรงใส ใหตรงความตองการและลดการ ซ้ําซอนในการลงทุน เพ่ือใหภาครัฐสามารถรวบรวม แลกเปลี่ยน และใชขอมูลรวมกันไดดวยมาตรฐานเปดและมีระบบที่มีความมั่นคงปลอดภัยสูงสําหรับการบริหารของหนวยงานภาครัฐ และการใหบริการประชาชนอยางมีประสิทธิภาพ

11

ยุทธศาสตรของแผนแมบท ไอซีที กทพ. พ.ศ. 2547-2549

ยุทธศาสตรของแผนแมบทไอซีที กระทรวงคมนาคม พ.ศ. 2547-2549

ยุทธศาสตรของแผนแมบทไอซีทีประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549

หมายเหตุ

2.1 ดําเนินการพัฒนาระบบสารสนเทศเพือ่การใหบริการทางพิเศษที่มี คุณภาพ โดยใชระบบ ICT ที่เปนมาตรฐาน สามารถแลกเปลี่ยนขอมูลและใชรวมกับหนวยงานอ่ืนได

2.2 ดําเนินการพัฒนาระบบ

สารสนเทศเพื่อการพัฒนาทางพิเศษและพื้นท่ีในเขตทางพิเศษ โดยใหมีการพัฒนาระบบงานและฐานขอมูลใหเปนแบบบูรณาการ

2.3 ดําเนินการพัฒนาระบบ

สารสนเทศเพื่อการบริหารงานภายใน โดยใหมีการพัฒนาระบบงานและฐานขอมูลใหเปนแบบ บูรณาการ

2.4 ดําเนินการจัดหาระบบ

สารสนเทศเพ่ือเพ่ิม ประสิทธิภาพ และรองรับการใชงานที่เพิ่มขึ้นของหนวยงานตาง ๆ

2.5 ดําเนินการพัฒนาระบบ

เครือขายการสื่อสาร ขอมูลใหทั่วถึง มีประสิทธิภาพ สามารถ

3.2 การพฒันาระบบฐาน

ขอมูลของหนวยงาน

โดยกําหนดมาตรฐาน

ที่เกี่ยวกับขอมูลและการ

สื่อสารขอมูล เพื่อใหทุกหนวยงานแลกเปล่ียนขอมูลกันไดอยางมีเอกภาพ เพือ่รองรับการบริการประชาชนทางอิเล็กทรอนิกสอยางครบวงจร

3.2(2) พัฒนาระบบเชื่อมโยงขอมูลภายในกระทรวงใหทําหนาที่สนับสนุนการ ตัดสินใจของผูบริหาร(MIS) การบริหารงานของสวนราชการ (back office) และการใหบริการแกประชาชน (front office)

3.4 ใหมีการจัดการบริหาร

การใชโครงขาย

7.3 การพัฒนาและกําหนดมาตรฐานขอมูลและการสื่อสารขอมูลของหนวยงานภาครัฐ เพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลกันไดอยางมีเอกภาพ ใชรองรับการบริการประชาชนทางอิเล็กทรอนิกสอยางครบวงจร (e-Citizen)

7.3(3) พัฒนาระบบเชื่อมโยงขอมูลภายในกระทรวงสําหรับการตัดสินใจของ ผูบริหาร (MIS) การบริหารงานของสวนราชการ (back office) และการใหบริการแกประชาชน (front office)

12

ยุทธศาสตรของแผนแมบท ไอซีที กทพ. พ.ศ. 2547-2549

ยุทธศาสตรของแผนแมบทไอซีที กระทรวงคมนาคม พ.ศ. 2547-2549

ยุทธศาสตรของแผนแมบทไอซีทีประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549

หมายเหตุ

รองรับการสื่อสารขอมูลไดหลายรูปแบบและปริมาณมาก มีความเร็วในการรับ-สงขอมูลสูง มีความมัน่คงและปลอดภัย

2.6 จัดต้ังศูนยปฏิบัติการ

สารสนเทศ (DOC) การทางพิเศษแหงประเทศไทย เพื่อรวบรวมขอมูล สารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจของผูบริหาร และเชื่อมโยงกับศูนยปฏิบัติการสารสนเทศ (MOC) กระทรวงคมนาคม

สารสนเทศอยางมี

ประสิทธิภาพและมี

ความมัน่คงโดยหลีก เลี่ยงการลงทุนซ้ําซอน

3.6 จัดต้ังศูนยปฏิบัติการ

สารสนเทศระดับ

กระทรวง(MOC) ของ

กระทรวงคมนาคม เพ่ือ

ทําหนาที่รวบรวมขอมูล

สารสนเทศของหนวยงาน

ในสังกัดและสนับสนุนการ

บริหารขอมูลขาว

สารสนเทศและการ

บริหารอิเล็กทรอนิกส

ของประเทศ

13

บทท่ี 3 โครงการระบบสารสนเทศสําหรับงานบํารุงรักษาของ กทพ.

3.1 การริเร่ิมโครงการ

โครงการระบบสารสนเทศเพื่อการบํารุงรักษาทางของ กทพ. เร่ิมตนจากแผนแมบทสารสนเทศของหนวยงานตามท่ีกลาวมาแลวในขางตน ประกอบกับยุทธศาสตรการดําเนินงานของหนวยงานไดบรรจุการเพิ่มประสิทธิภาพในงานบํารุงรักษาไวในแผนวิสาหกิจโดย กทพ. ไดวาจาง เนคเทค ทําการศึกษาแนวทางการพัฒนางานทางดานบํารุงรักษาของ กทพ. ซึ่งเนคเทคไดเสนอผลการศึกษาพรอมแนวทางการปรับปรุงกระบวนการการทํางานดานบํารุงรักษาแก กทพ. ซ่ึงแนวทางกระบวนการทํางานดังกลาวไดถูกนํามาจัดทําเปนขอกําหนดในการจัดหาระบบสารสนเทศสําหรับงานบํารุงรักษา โดยทําการศึกษาโปรแกรมสําเร็จรูปที่จะมีคุณลักษณะตามขอกําหนดดังกลาว แลวไดทําการประกวดราคาตามระเบียบของ กทพ. ซ่ึงผลของการประกวดราคาดังกลาว โปรแกรม MAXIMO เปนผูชนะการประกวดราคา ข้ันตอนการทํางาน ผูเก่ียวของ

ภาพที่ 3.1 แผนภาพแสดงข้ันตอนการทํางานและผูเก่ียวของ

แผนแมบทสารสนเทศ

การศึกษาแนวทางปรับปรุงงานบํารุงรักษา

ขอกําหนดระบบสารสนสนเทศงานบํารุงรักษา

ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจาง

โปรแกรม MAXIMO

คณะกรรมการบริหาร,ผูวาการ,รองผูวาการฝายวิชาการ

ฝายวิชาการ, ฝายบํารุงรักษา, เนคเทค

ฝายบํารุงรักษา, ฝายสารสนเทศ, ฝายบริหารท่ัวไป

ฝายบริหารท่ัวไป, คณะกรรมการเปดซอง

คณะกรรมการเปดซอง, คณะกรรมการตรวจการจาง, ผูควบคุมงาน, ผูเช่ียวชาญการใชงาน, ตัวแทนผูใชงาน

14

3.2 แนวทางการพัฒนาระบบ ระบบสารสนเทศเพื่องานบํารุงรักษาของ กทพ. จัดไดวาเปนการพัฒนาระบบโดยการซ้ือโปรแกรมสําเร็จรูป (Application Software Package) ซ่ึงจะชวยใหองคการประหยัดเวลาและคาใชจายดานบุคลากรท่ีเกี่ยวของกับระบบไดมากกวาวิธีอื่นๆ ท้ังน้ีผูแทนจําหนายโปรแกรมยังสามารถใหความชวยเหลือท้ังในเร่ืองการบํารุงรักษา การสนับสนุนการใชงาน การฝกอบรม รวมไปถึงการขยายขีดความสามารถ (Upgrade) โปรแกรมอีกดวย โดยมีกระบวนการพัฒนาระบบเปนไปตามแผนภาพกระบวนการพัฒนาระบบงานของ Laudon ดังน้ี

ภาพที่ 3.2 กระบวนการพัฒนาระบบ

โดยเปรียบเทียบผูเก่ียวของตามแผนงานกับผูเก่ียวของกับระบบงาน MAXIMO ไดดังน้ี Speccialist ไดแก ผูเช่ียวชาญในการใชงาน ซ่ึง กทพ. แตงตั้งบุคลากรในฝายบํารุงรักษาซ่ึงตอง

ใชงานระบบและเปนผูมีความรูทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศดีข้ึนมา 2 ทาน ทํางานประสานความตองการของผูใชงานกับโปรแกรมเมอร

โปรแกรมเมอรของ กทพ. ที่ตองทําหนาที่ดูแลระบบตอไป Contractor ไดแก บริษัทผูแทนจําหนายโปรแกรม MAXIMO ท่ีทําหนาท่ีออกแบบและติดต้ังระบบ Users ไดแก บุคลากรในฝายบํารุงรักษา ซ่ึงไดเสนอตัวแทนผูใชงานจํานวน 9 ทาน เขามา

ทํางานในโครงการรวมกับผูเก่ียวของอ่ืนๆ

ผูเก่ียวของในโครงการ

Figure 1-5

Specialist +Contractor + User

Contractor + User

Contractor

•Contractor + User

Specialist +Contractor + User

Specialist + User

กรรมการตรวจการจางกรรมการควบคุมงาน

15

ซ่ึงวงจรการพัฒนาระบบจะอยูภายใตการควบคุมดูแลใหเปนไปตามสัญญาจางและขอกําหนดการจัดซ้ือจัดจางโดยคณะกรรมการตรวจการจางและกรรมการควบคุมงาน

3.3 ชนิดของระบบสารสนเทศจากระบบ โปรแกรม MAXIMO จะทําหนาท่ีรวบรวมและผลิตสารสนเทศไปสูผูปฏิบัติงานและผูบริหารในระดับตางๆ แตกตางกันไปตามแตอํานาจและหนาท่ีของบุคคลน้ันๆ ซ่ึงจะแยกเปนชนิดสารสนเทศตามการแยกประเภทของ Laudon ในแตละระดับการบริหารไดดังน้ี

ภาพที่ 3.3 ชนิดของสารสนเทศในแตระดับผูปฏิบัติงาน

3.4 การเปล่ียนแปลงและระดับข้ันการเปล่ียนแปลงองคการ โปรแกรม MAXIMO ประกอบดวยโมดูลการทํางานจํานวน 8 โมดูลซ่ึงจะแยกกลุมกระบวนการการทํางานเปน 8 กลุม ไดแก Work Order Module ประกอบดวย 5 โปรแกรมการทํางาน ซ่ึงจะใชในการแจงซอมความเสียหาย บันทึกใบงาน ออกใบประเมินความเสียหายงานซอมของงานอบัุตเิหตุ

computer23

MAXIMO

ORACLE

KNOWLEDGEWORKER

SENIORMANAGER

computer232

computer233

MIDDLEMANAGER

OPERATIONALMANAGER

INFORMATION

BUDGET ANALYSIS, WORKCOST ANALYSIS, KPI

WORK PERFORMANCE, KPIs, WORK COST SUMMARY

FAILURE & DOWNTIME ANALYSIS

WORK PRDER, WORK PLAN, PURCHASE ORDER

16

PM Module ประกอบดวย 1 โปรแกรมการทํางาน เปนการวางแผนงานบํารุงรักษาเชิงปองกันไวลวงหนา ซ่ึงโปรแกรมจะผลิตและแจงเตือนใบงานตามแผนงานท่ีต้ังไวน้ี Inventory Module ประกอบดวย 4 โปรแกรมการทํางาน ท่ีเกี่ยวของกับพัสดุคงคลังท่ีจะเปน Storeroom ไปตามหนวยงานยอยระดับแผนก รวมไปถึงโปรแกรมที่ทํางานเกี่ยวกับการสั่งจองวัสดุ การบริหารวัสดุคงคลัง Equipment Module ประกอบดวย 4 โปรแกรมการทํางาน ท่ีจะดาํเนินการเก่ียวกับทรัพยสินของ กทพ. ท้ังหมด ท่ีฝายบํารุงรักษาตองดูแลรับผิดชอบ โดยนํามาจัดเขารหัสและจัดไวเปนโครงสรางของรายการทรัพยสิน Purchasing Module ประกอบดวย 6 โปรแกรมการทํางาน ท่ีเก่ียวของกับกระบวนการจัดซ้ือจัดจางท้ังหมด Plans Module ประกอบดวย 6 โปรแกรมการทํางาน ท่ีจะเก็บกระบวนการการทํางานท้ังหมดไวในตัวโปรแกรม โดยสามารถเลือกนําไปใชไดทันที เปรียบเสมือนเปนคูมือในการปฏิบัติงาน Resources Module ประกอบดวย 6 โปรแกรมการทํางานท่ีเกี่ยวของกับการจัดการทรัพยากร ไมวาจะเปนบุคลากร เครื่องมือ เครื่องจักร Reports Module ประกอบดวย 2 โปรแกรมการทํางาน เปนสวนสําคัญในการผลิตสารสนเทศระดับตางๆ ตามที่กลาวไวแลวขางตน รวมท้ังการรายงานคา KPIs จากที่ตั้งไว

ภาพที่ 3.4 หนาจอหลักของโปรแกรม MAXIMO

17

จากโมดูลการทํางานท่ีกลาวมาท้ังหมดน้ัน MAXIMO ไดเปลีย่นแปลงกระบวนการทํางานดานการบํารุงรักษาทางพิเศษของ กทพ. ใหแตกตางไปจากเดิม สรุปไดดังน้ี

ภาพที่ 3.5 เปรียบเทยีบกระบวนการทํางานแบบเดิมกับระบบ

จากท่ีกลาวมาท้ังหมด ระบบสารสนเทศเพื่องานบํารุงรักษาของ กทพ . โดยโปรแกรม MAXIMO น้ัน ทําให กทพ . เปลี่ยนแปลงไปสูระดับข้ันของ Rationalization ตามระดับข้ันการเปลี่ยนแปลงของ Laudon 3.5 ปญหาและอุปสรรค ปญหาดาน HARDWARE ปญหาท่ี เกิดจากความเร็วของระบบ เน่ืองจากโปรแกรม MAXIMO เปน Web Base Application ความเร็วของการเช่ือมตอจึงมีสวนสําคัญตอประสิทธิภาพในการใชงาน โดยเฉพาะอยางย่ิงเม่ือผูใชงานเขามาใชงานพรอมกันเปนจํานวนมากในชวงเวลาเดียวกัน ปญหาดาน SOFTWARE โปรแกรม MAXIMO มีคุณลกัษณะท่ีสามารถปรับเปล่ียนการใชงานใหเปนไปตามท่ีผูใชงานไดดี แตในขณะเดียวกันลักษณะการใชงานท่ีหลากหลายจึงทําใหผูใชงานทําความเขาใจโปรแกรมไดคอนขางยาก โดยเฉพาะพนักงานในระดับปฏิบัติท่ีขาดความรูดานเทคโนโลยีในระดับที่ดี จะมีปญหาในการใชงาน ปญหาดาน USERS

computer

computer2computer22

MAXIMO

ORACLE

TRANSACTION INFORMATION

แผนงานซอมบํารงุ

พบความเสียหาย(ออกใบงาน)

การตรวจสอบรายวัน รบัแจงความเสียหาย

ความเสียหายจากอุบัติเหตุ ?

ตองตรวจสอบซํ้า

ตองจางเหมาซอมแซม?

ประมาณราคาและออกขอกําหนด

กระบวนงานจัดซ้ือจัดจาง

ควบคุมงาน, ตรวจการจาง

ตรวจรบังาน

วิธีซอมแซมตามคูมือการบํารงุรกัษาและ

ซอมแซม

การตรวจงานซอมและปดใบงาน

บันทึกใบงานเขาฐานขอมูล

แจง วท. ดําเนนิการ

พบความเสียหาย ประเมินความเสียหาย

YES

YES

YES

YES

NO

NO

NO

NO

18

เนื่องจากโปรแกรม MAXIMO จะเขามาเปลี่ยนแปลงกระบวนการทํางานไปสูรูปแบบใหม ดังน้ันผูใชงานและผูปฏิบัติจึงตองปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการทํางานบางประการท่ีไมเอื้อหรือขัดขวางกระบวนการการทํางานตามระบบ ซ่ึงหากผูใชงานและผูปฏิบัติงานไมสามารถปรับเปลี่ยนไดแลวก็จะเกิดการตอตานการนําระบบมาใช และนําไปสูความลมเหลวของโครงการอยางส้ินเชิง ปญหาดาน PROJECT IMPLEMENTATION โครงการนี้ใชเวลารวมของโครงการท้ัง 380 วัน ซ่ึงเปนระยะเวลาท่ีนานเกิดไป จนทําใหขีดคุณลักษณะบางประการของตัวโปรแกรมและหรืออุปกรณไดดอยสมัยไปเสียแลว

3.6 ขอเสนอแนะ 1. กทพ. ควรท่ีจะคํานึงถึงการเตรียมบุคลากร (ผูใชงาน) ใหพรอมสําหรับการนําระบบสาร

สนเทศมาใช เพื่อนําองคการไปสู Rationalization อยางเต็มท่ี ในการนําระบบจาก Software Package มาใช เพราะความลมเหลวของผูใชงานถือเปนความลมเหลวของระบบ และเปนความสูญเสียดานงบประมาณท่ีเปลาประโยชนดวย

2. ระยะเวลาโครงการที่นานเกินไป กทพ.จึงควรไปพิจารณาจัดทําแผนการพัฒนาปรับปรุงระบบใหตอเนื่องไปกับการดําเนินโครงการ เพราะเม่ือโครงการพรอมใชก็จะไดเขาไปสูการพัฒนาปรับปรุงในข้ันตอไปไดโดยทันที